Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนรวม 4

แผนรวม 4

Published by นายปฏิภาณ ไชยเทพา, 2023-06-18 14:36:43

Description: แผนรวม 4

Search

Read the Text Version

1

ก คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และได้กำหนด มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นกรอบทิศทางในการพัฒนา หลักสตู รสถานศึกษา วางแผนจัดการเรยี นการสอนและจัดกิจกรรมการเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทีก่ ำหนดให้ พร้อมทั้งดำเนินการวดั ประเมินผลการ เรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา ไทย ดังนั้นขั้นตอนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้สอน จึงจัดเ ป็นหัวใจสำคัญของการ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนใหบ้ รรลุตามเป้าหมายของหลกั สตู ร บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด จึงจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 2 (ฉบับประกันฯ) เพื่อให้ครูผู้สอนใช้เปน็ แนวทางวางแผนจัดการเรยี นรู้แก่ผู้เรยี น โดยจัดทำเป็น หน่วยการ เรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ที่มุ่งเน้น กระบวนการคิดและการประกันคุณภาพผู้เรียน ช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพ การศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐานตรวจสอบ ผลการเรยี นรู้อย่างเป็นระบบ คณะผู้จัดทำหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ได้ดำเนินการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบที่สำนักวิชาการ และมาตรฐานการศกึ ษา (สวก.) กำหนดข้ึน เพื่อเป็นเอกภาพเดียวกนั ตามองค์ประกอบต่อไปน้ี

ข องคป์ ระกอบของหน่วยกำรเรียนร้อู ิงมำตรฐำน หน่วยการเรียนรูท้ ่ี เวลาเรียน ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชนั้ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ (ถา้ มี) 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 7. การวดั และการประเมินผล ) 7.1 การประเมินก่อนเรยี น ) (ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ประจำหนว่ ยการเรียนรู้ 7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 7.3 การประเมนิ หลงั เรยี น (ทำแบบทดสอบหลังเรยี น ประจำหน่วยการเรียนรู้ 7.4 การประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้

องคป์ ระกอบของแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ ค แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ช้นั เรอ่ื ง เวลาเรยี น 1. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด 2. ตัวช้ีวัด/จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ (ถ้าม)ี 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ คำถามกระตนุ้ ความคิด วิธีสอนและข้ันตอนการจัดกิจกรรม 7. การวัดและการประเมินผล 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

ง คำนำ (ต่อ) ผู้สอนสามารถนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็นคู่มือวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบ การใช้หนังสือเรียน รายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ฉบับประกันฯ) ที่ทางบริษัทจัดพิมพ์จำหน่าย โดยออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ตามหลักการสำคัญ คอื 1 หลกั การจัดการเรียนรอู้ ิงมาตรฐาน หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วย จะกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้เป็นเป้าหมายในการจัดการเรียนการ สอน ผู้สอนจะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานตวั ชี้วดั ทกุ ข้อวา่ ระบุให้ผูเ้ รยี นต้องมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และผลการเรียนรู้ที่ เกิดขึ้นกับผู้เรียน ตามมาตรฐานตัวช้วี ดั นี้จะนำไปสกู่ ารเสริมสรา้ งสมรรถนะสำคญั และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคด์ า้ นใดแกผ่ ู้เรยี น มำตรฐำนกำรเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วดั ผเู้ รยี นรอู้ ะไร นำไปสู่ ผเู้ รยี นทำอะไรได้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

จ 2 หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานตวั ชี้วัดและได้กำหนดเปา้ หมายการจดั การเรียนการสอนเรียบรอ้ ย แล้ว จึงกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ีออกแบบไวจ้ นบรรลุตัวชว้ี ัดทุกขอ้ มำตรฐำนกำรเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั เป้ำหมำย หลกั กำรจดั กำรเรยี นรู้ กำรเรยี นรู้ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และกำรพฒั นำ เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั คณุ ภำพ สนองควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบุคคล คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น เน้นพฒั นำกำรทำงสมอง ของผเู้ รยี น กระตนุ้ กำรคดิ เน้นควำมรคู้ คู่ ณุ ธรรม

ฉ 3 หลกั การบรู ณาการกระบวนการเรียนรู้สู่มาตรฐานตวั ชี้วดั เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกำหนด รูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ที่จะฝึกฝนผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้บรรลุผลตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมายในหน่วยนั้นๆ เช่น กระบวนการ เรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการ เผชิญสถานการณ์ และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อยา่ งมวี ิจารณญาณ กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ท่ีมอบหมายให้ผูเ้ รียนลง มือปฏิบัตินั้นจะต้องนำไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามสาระการ เรียนรู้ทก่ี ำหนดไวใ้ นแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ 4 หลักการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และกจิ กรรมการเรียนรู้ในแตล่ ะหนว่ ย ผสู้ อนตอ้ งกำหนดข้ันตอนและวิธีปฏิบัติ ให้ชดั เจน โดยเน้นใหผ้ ู้เรียนไดล้ งมอื ฝกึ ฝนและฝึกปฏิบัตมิ ากทส่ี ุด ตามแนวคิดและวธิ ีการสำคัญ คือ 1) การเรียนรู้ เป็นกระบวนการทางสติปัญญา ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้สมองคิดและทำความเข้าใจ ในสิ่งต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองคค์ วามรู้ที่เกิดข้นึ ในแตล่ ะหน่วยการเรียนรไู้ ด้ 2) การสอน เปน็ การเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ในหนว่ ยน้ันๆ และทส่ี ำคัญคือ ต้องเป็น วิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบการสอน อย่างหลากหลาย เพ่อื ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเรยี นรู้ได้อย่างราบรื่นจนบรรลตุ วั ชี้วัดทกุ ขอ้ 3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวธิ ีการและขนั้ ตอนฝึกปฏบิ ัตทิ สี่ ่งเสริมหรือกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนสามารถคดิ อย่างเป็น ระบบ เช่น รปู แบบการสอนตามวฏั จักรการสรา้ งความรู้แบบ 5E รปู แบบการสอนโดยใช้ การคิดแบบโยนิโส มนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักร การเรียนรู้แบบ 4MAT รปู แบบการเรียนการสอนแบบร่วมมอื เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT เปน็ ตน้ 4) วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพ ปัญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดีจะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดในระดับผลสัมฤทธิ์ที่สูง เช่น

ช วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้กรณี ตวั อยา่ ง การใช้สถานการณ์จำลอง การใชศ้ นู ย์การเรยี น การใชบ้ ทเรยี นแบบโปรแกรม เปน็ ต้น 5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาใน บทเรียนได้ง่ายขึ้น สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการใช้คำถาม เทคนิคการเล่า นิทาน การเลน่ เกม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคดิ การใชส้ อื่ การเรียนรทู้ ีน่ า่ สนใจ เปน็ ต้น 6) ส่อื การเรียนการสอน ควรเลอื กใชส้ ือ่ หลากหลายกระตนุ้ ความสนใจ และทำความกระจา่ งให้เนอ้ื หาสอดคล้อง กับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมอื ช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้บรรลตุ ัวชี้วัดอย่างราบรืน่ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เป็นตน้ ควรเตรยี มส่ือ ให้ครอบคลุมท้งั สอ่ื การสอนของครแู ละสื่อการเรียนรู้ของผ้เู รยี น

ซ 5 หลกั การจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบยอ้ นกลบั ตรวจสอบ เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำ เทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนำผู้เรียนไปสู่การ สร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะอันพึง ประสงคใ์ ห้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัดที่เป็นเปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้ ตามลำดับขั้นตอนการเรียนรู้ ทก่ี ำหนดไว้ ดังนี้ จำกเป้ำหมำยและหลกั ฐำน เป้าหมายการเรยี นรู้ของหนว่ ย คิดยอ้ นกลบั ส่จู ดุ เร่ิมต้น ของกิจกรรมกำรเรยี นรู้ หลักฐานชิ้นงาน/ภาระงาน แสดงผลการเรียนรขู้ องหน่วย 4 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ 3 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ จำกกิจกรรมกำรเรียนรู้ 2 กจิ กรรม คำถามชวนคดิ ทีละขนั้ บนั ไดส่หู ลกั ฐำน 1 กิจกรรม คำถามชวนคดิ และเป้ ำหมำยกำรเรียนรู้ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่มี ีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นไดล้ งมือปฏบิ ตั ิจริงแล้ว จะต้องฝึกฝน กระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้เทคนิคการต้ังคำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์ กับเนื้อหาการ เรียนรู้ตง้ั แต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมิน ค่า นอกจากจะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้ว ยงั เป็นการเตรียมความพร้อมเพ่ือสอบ O-NET ซ่ึง เปน็ การทดสอบระดบั ชาติท่ีเน้นกระบวนการคิดระดบั วเิ คราะห์ สงั เคราะหด์ ้วย และในแตล่ ะแผนการเรยี นรจู้ ึงมี การระบุคำถามเพ่ือกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไวด้ ว้ ยทุกกจิ กรรม ผูเ้ รยี นจะได้ฝึกฝนวธิ ีการทำข้อสอบ O-NET ควบคู่ไป กบั การปฏบิ ัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามตวั ชีว้ ัดที่สำคัญ

ฌ 6 การเตรียมความพรอ้ มรองรับการประเมนิ คณุ ภาพจากหนว่ ยงานภายนอก (สมศ. รอบท่ี 3) ในปีการศึกษา 2554 ถึง 2558 สถานศึกษาทุกแห่งต้องเตรยี มการรองรับการประเมนิ คุณภาพภายนอก จาก สม ศ. ในรอบที่ 3 ตามตารางเปรียบเทียบด้านคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ และมาตรฐานการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. มาตรฐานการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2553 มาตรฐานเพ่อื การประเมนิ กระทรวงศกึ ษาธิการ คุณภาพภายนอก รอบสาม (ดา้ นคุณภาพผู้เรียน 5 ตวั บ่งชหี้ ลัก) (ดา้ นคุณภาพผูเ้ รียน 6 มาตรฐาน) ตัวบ่งชี้ท่ี 1 ผู้เรยี นมีสุขภาพกาย มาตรฐานท่ี 1 ผู้เรยี นมีสขุ ภาวะทด่ี แี ละมีสนุ ทรียภาพ และสุขภาพจติ ทดี่ ี มาตรฐานที่ 2 ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม มาตรฐานท่ี 3 ทีพ่ ึงประสงค์ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2 ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม ผู้เรยี นมที ักษะในการแสวงหาความรู้ และค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ มาตรฐานท่ี 4 ดว้ ยตนเอง รกั การเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างตอ่ เนือ่ ง ตัวบ่งช้ีท่ี 3 ผ้เู รียนมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรู้ มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดอย่าง อยา่ งต่อเนือ่ ง มาตรฐานที่ 6 เปน็ ระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ตดั สินใจ แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีสติ สมเหตสุ มผล ตวั บง่ ชี้ที่ 4 ผูเ้ รียนคิดเปน็ ทำเปน็ ผูเ้ รยี นมคี วามรแู้ ละทักษะทจ่ี ำเป็น ตัวบ่งชที้ ี่ 5 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ตามหลกั สตู ร ผู้เรยี นมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน ของผเู้ รียน สามารถทำงานรว่ มกับผ้อู นื่ ไดแ้ ละมเี จตคติ ที่ดีตอ่ อาชีพสจุ รติ การออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอนในแต่ละหนว่ ยจะครอบคลุมกจิ กรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลด้าน ความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 2551 พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมินผล รวมทั้งแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน และตัวบ่งชี้ที่ต้องรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. เช่น แบบบันทึกผล ด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ตาม หลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบ การจัดทำรายงานการ ประเมินตนเอง (Self Assessment Reports) จงึ มน่ั ใจอยา่ งยง่ิ วา่ การนำแผนการจัดการเรียนร้ฉู บบั ปรับปรุงใหม่ไปเป็น แนวทางจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอนที่จัดทำเป็นรายคาบไว้อย่างละเอียด จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนใหส้ ูงขึ้นตามมาตรฐานการศกึ ษาและการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ คณะผจู้ ดั ทำ

สำรบญั ญ  การพัฒนาศักยภาพการคดิ ของผู้เรยี น หนา้  คำอธบิ ายรายวิชา  โครงสรา้ งรายวิชา 1-20  โครงสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ 21-38 39-58 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 รปู แบบทศั นธาตุและแนวคิดในงานทศั นศลิ ป์ 59-72 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปนิ 73-83 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 การวาดภาพสือ่ ความหมายและเรื่องราว 84-95 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 การวาดภาพถา่ ยทอดบคุ ลกิ ลักษณะของตัวละคร 96-110 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 งานทัศนศลิ ปใ์ นการโฆษณา 111-120 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 การประเมินและวจิ ารณง์ านทศั นศิลป์ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 ทศั นศิลป์ของไทยในแตล่ ะยคุ สมัย หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 วฒั นธรรมในงานทัศนศลิ ป์ปัจจบุ นั

ฎ กำรพฒั นำศกั ยภำพกำรคิดของผเู้ รยี น 1 การคดิ และกระบวนการคดิ การคิดเปน็ พฤติกรรมการทำงานทางสมองของมนุษย์ในการเรยี บเรียงขอ้ มลู ความรู้และความรสู้ ึกนกึ คิดที่เกิดจาก กระบวนการเรียนรู้ผ่านการดู การอ่าน การฟัง การสังเกต การสัมผัส และการดึงข้อมูลความรู้ที่บรรจุอยู่ในสมองเดิม ตามประสบการณ์การเรยี นรทู้ ่ีถกู ส่งั สมมา ทักษะการคิดจึงเป็นพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงการกระทำออกมาได้อย่างชัดเจนมองเห็นเป็นรูปธรรม เช่น พฤติกรรมการสังเกต แสดงออกด้วยการเพ่งดูอย่างพินิจพิเคราะห์ หรือพฤติกรรมการเปรียบเทียบ เป็นการนำลักษณะ ของส่งิ ของต้ังแตส่ องอย่างข้ึนไปมาเปรยี บเทียบกนั เพ่ือแสดงใหเ้ ห็นถึงสงิ่ เหมือนหรือสิ่งตา่ ง เป็นต้น ดังนั้น การคิดจึงเป็นพฤติกรรมซับซ้อนที่มีลักษณะแยกย่อยแตกต่างกันไป เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิด สรา้ งสรรค์ การคดิ ไตรต่ รองโดยใช้วิจารณญาณ ซงึ่ ล้วนเก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการทำงานของร่างกาย ประสาทสมั ผสั ทั้ง 5 และการเชอื่ มโยงระหว่างข้อมูลทีร่ บั รเู้ ข้ามาใหม่กับข้อมูลเก่าที่ถูกบรรจอุ ยู่ในคลังสมองของคนเราตลอดเวลา หากเปรยี บเทยี บการทำงานของระบบคอมพวิ เตอร์กบั สมองมนษุ ย์หรอื อาจเปรียบไดก้ บั สมองคนกบั สมองกลจะ พบว่า การทำงานของสมองคน ประกอบด้วยความชาญฉลาด 3 ลกั ษณะ คือ 1. ความสามารถในการเรียนรู้และสืบค้น (Tactical Intelligence) ทั้งในรูปแบบการสังเกต การค้นหา การ ซกั ถาม การทดลองปฏบิ ัติ เป็นตน้ 2. ความสามารถในการแยกแยะคุณค่า (Emotional Intelligence) ทั้งในรูปแบบการตัดสิน การลงมติ การ แสดงความคดิ เห็น วพิ ากษว์ ิจารณ์ ด้วยอารมณ์ความรู้สกึ ท่เี ห็นดว้ ย หรือต่อตา้ น หรือวางเฉย เปน็ ตน้ 3. ความสามารถในการประมวลเนอื้ หาสาระ (Content Intelligence) จากเรือ่ งราวทเ่ี รยี นรใู้ หม่ผสมผสานกับ ประสบการณ์เดิมทถี่ ูกจัดเกบ็ อยใู่ นสมอง โดยผ่านกระบวนการกลนั่ กรอง และสังเคราะหเ์ ป็นความรู้ใหม่ ท่ีมัก ประกอบไปด้วยความเข้าใจ เหตุผล และทัศนคติ ทั้งในเชิงบวกหรือเชิงลบ ซึ่งความรู้สึกนึกคิดต่อ เร่ืองราวต่างๆ นีเ่ อง ทส่ี มองกลของคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานไดเ้ หมือนสมองของมนุษย์ การฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้แก่ผู้เรียนจึงต้องกระตุ้นการทำงานและเสริมสร้างความสามารถของสมอง ทั้ง 3 ด้านที่กล่าวมา จึงจะบังเกิดผลการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ คือ บังเกิดความรู้ความเข้าใจที่มีความชัดเจนยิ่งขึ้น บังเกิดความ ชำนาญในทักษะและการปฏิบตั ิไดค้ ล่องแคล่วขึน้ และท่ีสำคัญบงั เกดิ คา่ นิยมคณุ ธรรมทง่ี อกงามข้นึ ในจิตใจของผเู้ รียน

ฏ 2 การสร้างศกั ยภาพในการคดิ ของสมอง การจัดการเรียนการสอนตามจุดหมายของการปฏิรูปการเรียนรู้ทศวรรษที่ 2 และเป้าหมายการเรียนรู้ของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีจุดมุ่งหมายสำคัญ คือ การฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความสามารถในการ คิดและการเรียนรู้ ผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับกระบวนการทำงานทางสมองของผู้เรียน ( Brain- Based Learning : BBL) โดยฝึกฝนพฤติกรรมการคิดระดับต่างๆ ตามลำดับทักษะกระบวนการคิดที่เป็นแกนสำคัญ (Core Thinking Processes) ดงั น้ี 1. การสงั เกตลักษณะของส่ิงต่างๆ 2. การสังเกตและระบุความเหมือน 3. การสังเกตและจำแนกความแตกตา่ ง 4. การจดั หมวดหมู่สงิ่ ของหรือตัวอยา่ งท่ีเข้าพวก 5. การระบุสง่ิ ของและจำแนกตัวอยา่ งท่ีไมเ่ ขา้ พวก 6. การเปรยี บเทียบและระบขุ อ้ มูลความรูไ้ ด้ถูกต้อง 7. การคน้ หาสิ่งของท่มี ลี ักษณะหมวดหมูเ่ ดียวกนั 8. การรวบรวมและจดั ลำดับส่ิงของตามขนาด 9. การรวบรวมและจดั ลำดบั เหตกุ ารณ์ตามกาลเวลา 10. การยกตัวอย่างและการกล่าวอา้ ง 11. การสรุปความหมายจากส่ิงท่ีอ่านหรือฟงั 12. การสรปุ ความหมายจากสิ่งทสี่ งั เกตและพบเหน็ 13. การวิเคราะหเ์ ชอื่ มโยงความสัมพนั ธ์ 14. การวเิ คราะหร์ ูปแบบและจดั ลำดบั ความสำคัญ 15. การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสรา้ งความรู้ความคิด 16. การนำเสนอข้อมูลความรคู้ วามคดิ เปน็ ระบบ 17. การแยกแยะข้อเท็จจรงิ และรายละเอียดทเ่ี ปน็ ความคดิ เหน็ 18. การนยิ ามและการสรุปความ 19. การค้นหาความเชือ่ พนื้ ฐานและการอ้างองิ 20. การแยกแยะรายละเอยี ดท่ีเชื่อมโยงสัมพันธ์กนั และการใช้เหตผุ ล 21. การคดิ วิเคราะห์ข้อมูลความรู้จากเรื่องท่ีอา่ นอยา่ งมีวิจารณญาณ 22. การต้งั สมมตฐิ านและการตัดสินใจ 23. การทดสอบสมมตฐิ าน อธบิ ายสาเหตุและผลที่เกดิ ข้ึน 24. การพนิ จิ พเิ คราะห์ ทำความกระจา่ ง และเสนอความคิดทแ่ี ตกตา่ ง 25. การคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ การจดั ระบบและโครงสรา้ ง 26. การออกแบบสรา้ งสรรค์และการประยกุ ต์ดดั แปลง

ฐ รูปแบบการคิดทั้ง 26 ประเภทนี้ ผู้สอนสามารถนำมาสร้างเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการ สอน มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติและแสดงพฤติกรรมการคิดตามลำดับเนื้อหาการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยและ จิตวิทยาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับช่วงชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ประถมศึกษาปีที่ 4-6 และระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 ซ่ึง จะสะท้อนออกมาได้อย่างชัดเจนว่า ผู้เรียนมีความสามารถคิดคล่อง คิดละเอียด คิดกว้าง คิดลกึ ซงึ้ คิดหลากหลาย และ คิดสร้างสรรค์แตกต่างกันไปตามคุณลักษณะและภูมิหลังประสบการณ์การเรียนรู้ที่สั่งสม อยู่ในสมองเดิมของ ผูเ้ รยี นแตล่ ะคน 3 การพฒั นากระบวนการคิด การคิดเปน็ คดิ คลอ่ ง คดิ ได้ชัดเจน จนสามารถคิดเป็น ปฏิบัตเิ ป็น และแกป้ ัญหาได้ จะมีลักษณะเปน็ กระบวนการ การพัฒนาการคิดแก่ผู้เรียน จึงเป็นการสอนกระบวนการและฝึกฝนวิธีการอย่างหลากหลายที่เป็นปัจจัยส่งเสริมเกื้อกลู กัน คอื 1. การสร้างความพร้อมด้านร่างกาย นับตั้งแต่การรับประทานอาหาร ดื่มน้ำ การหายใจ การผ่อนคลาย การฟัง เสยี งดนตรีหรอื ฟังเพลง การบรหิ ารสมองดว้ ยการบริหารร่างกายอย่างถูกวิธี 2. การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการคิด การเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และ พฒั นาตนเอง 3. การจัดกิจกรรมและการสร้างเนื้อหาการเรียนรู้ที่เหมาะสมต่อการฝึกฝนวิธีการคิดรูปแบบต่างๆ โดยใช้การ เรยี นรูก้ ระต้นุ ผา่ นการสอนและการฝึกทักษะการคิด 4. การจัดกิจกรรมและกระบวนการเรียนรูเ้ พื่อส่งเสรมิ การคิดตามทฤษฎีต่างๆ ที่ผ่านการวิจัยและพัฒนามาแล้ว เช่น ทฤษฎีพหุปัญญา ทฤษฎีการสร้างความรู้ หลักเสริมสร้างความเป็นพหูสูตและหลัก โยนิโส มนสิการของพุทธศาสนา การจัดกิจกรรมบรู ณาการการสอนกับการฝกึ ทักษะการคิดในกลุ่ม สาระต่างๆ และ การเรยี นรูผ้ ่านการทำโครงงาน เปน็ ต้น 5. การใชเ้ ทคนคิ วิธีการที่สง่ เสริมพัฒนาการคดิ ของผู้เรยี น สอดแทรกในบทเรียนตา่ งๆ เชน่ เทคนคิ การใช้คำถาม การอภิปรายโดยใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ การทำผังกราฟิก แผนภูมิความรู้ ผังมโนทัศน์ และการใช้กิจกรรม บริหารสมอง (brain gym) เป็นต้น ซึ่งมีผู้พัฒนาเทคนิควิธกี ารเหล่านี้และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายใน สถานศึกษาตา่ งๆ หมายเหตุ : การสร้างศักยภาพการคิดผ่านการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดให้แก่ผู้เรียนเป็นหัวใจ สำคัญอย่างยิ่งของการปฏิรูปการศึกษา และยังใช้เกณฑ์ประเมินวิทยฐานะครู รวมทั้งมาตรฐานการปฏิบัติงานของ วิชาชีพครู โปรดศกึ ษาวิธกี ารออกแบบการจัดการเรยี นรูท้ ี่เนน้ กระบวนการคดิ จากคู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้อิง มาตรฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละทุกรายวิชา ที่จัดพิมพ์เผยแพร่โดย บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกดั และศกึ ษาค้นคว้าจาก www.aksorn.com ได้ตลอดเวลา

ฑ จดุ เน้นกำรพฒั นำทกั ษะกำรคิดของผ้เู รียน ตามนโยบายปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษท่สี อง (พ.ศ. 2552-2561) ม.4-6 ทักษะการคดิ แก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ม.3 ทักษะกระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ม.2 ทกั ษะการสงั เคราะห์ ทกั ษะการประยุกต์ใชค้ วามรู้ ทกั ษะกำรคิด ม.1 ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ทกั ษะการประเมิน ขนั้ สงู ทกั ษะการสรุปลงความเห็น ทกั ษะกำรคิด ป.6 ทักษะการสรปุ อ้างอิง ทกั ษะการนำความรไู้ ปใช้ ขนั้ พื้นฐำน ป.5 ทกั ษะการแปลความ ทกั ษะการตีความ ป.4 ทักษะการตง้ั คำถาม ทักษะการใหเ้ หตผุ ล ป.3 ทักษะการรวบรวมข้อมลู ทกั ษะการเช่ือมโยง ป.2 ทกั ษะการเปรยี บเทียบ ทักษะการจำแนกประเภท ป.1 ทักษะการสงั เกต ทักษะการจดั กลุ่ม ทม่ี า : สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนำจดุ เนน้ การพัฒนาผเู้ รยี นสกู่ ารปฏิบตั .ิ กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

ฒ ทกั ษะกำรคิดท่ีนำมำใช้ในกำรพฒั นำผ้เู รียนในแต่ละระดบั ชนั้ กลมุ่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการคัดแยก ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะ ม.4-6 การนำความรู้ไปใช้ ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการตั้งเกณฑ์ ทักษะการ คิด วิเคราะห์ ทักษะการประเมิน ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ทักษะกระบวนการ คิด อยา่ งมวี ิจารณญาณ ทักษะการสำรวจ ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการรวบรวมข้อมูล ทักษะการคัดแยก ทักษะ ม.3 การแปลความ ทักษะการตีความ ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะการให้เหตุผล ทักษะ การวิเคราะห์ ทกั ษะการประเมิน ทกั ษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการคัดแยก ทักษะการระบุ ทักษะ การ ม.2 เชื่อมโยง ทักษะการนำความรู้ไปใช้ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการประเมิน ทักษะกระบวนการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการเปรียบเทยี บ ทกั ษะการเชอ่ื มโมง ทกั ษะการนำความรูไ้ ปใช้ ทกั ษะการ รวบรวม ม.1 ข้อมลู ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการจัดกลุ่ม ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการทำให้ กระจ่าง ทกั ษะการประเมนิ ทักษะกระบวนการคดิ สร้างสรรค์ ทีม่ า : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2553. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ระดบั มธั ยมศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

ณ จดุ เน้นกำรพฒั นำคณุ ภำพผ้เู รยี น ตามนโยบายปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ. 2552-2561) นโยบายปฏริ ูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) วสิ ัยทัศน์ คนไทยได้เรยี นรูต้ ลอดชวี ิตอยา่ งมคี ุณภาพ เปา้ หมาย ภายในปี 2561 มกี ารปฏิรปู การศกึ ษาและการเรยี นร้อู ยา่ งเป็นระบบ ประเดน็ หลกั ของเปา้ หมายปฏริ ูปการศกึ ษา 1. พฒั นาคณุ ภาพ มาตรฐานการศกึ ษา และการเรยี นรขู้ องคนไทย 2. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรู้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ 3. สง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการบริหารและการจัดการศึกษา กรอบแนวทางในการปฏริ ปู การศกึ ษา และการเรยี นรูอ้ ย่างเป็นระบบ 1. พัฒนาคุณภาพคนไทยยคุ ใหม่ 2. พฒั นาคุณภาพครูยุคใหม่ 3. พฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาและแหลง่ เรยี นร้ใู หม่ 4. พัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการใหม่ หลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำ จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ขนั้ พ้ืนฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 • เป้ำหมำยหลกั สตู ร/คุณภำพผเู้ รยี น • ดา้ นความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะของผเู้ รยี น • กำรจดั กำรเรยี นรู้ • กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรยี นรู้ โรงเรยี นจะตอ้ งประกันไดว้ ่าผูเ้ รียนทุกคนมคี วามสามารถ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะของผเู้ รยี น นโยบำยด้ำนกำรศกึ ษำของรฐั บำล ตามจุดเน้น มงุ่ เน้นให้ผเู้ รยี น แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน • มคี วำมสำมำรถในกำรรบั รู้ • รกั ทจ่ี ะเรยี นรใู้ นรปู แบบทห่ี ลำกหลำย • ด้านการจดั การเรียนรู้ • สนุกกบั กำรเรยี นรู้ • มโี อกำสไดเ้ รยี นรนู้ อกหอ้ งเรยี น 1. โรงเรยี นจะตอ้ งจดั การเรียนรู้ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามสามารถ ทักษะ และคณุ ลักษณะทเี่ ปน็ จดุ เนน้ อย่ำงสรำ้ งสรรค์ พร้อมทั้งผลกั ดนั สง่ เสริม ใหค้ รูผูส้ อนออกแบบและจดั การเรยี นรตู้ ามความถนดั ความสนใจ เตม็ ศักยภาพของผเู้ รียน 2. การจัดการเรยี นรูพ้ งึ จัดให้เชือ่ มโยงกบั วถิ ชี ีวิต เนน้ การปฏบิ ตั ิจรงิ ท้งั ในและนอกหอ้ งเรียน โดย จัดกจิ กรรมนอกห้องเรียนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 30 ของเวลาเรยี น 3. ใช้ส่อื เทคโนโลยีที่หลากหลาย เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นสนกุ กับการเรียน และเพม่ิ พนู ความรู้ ความ เขา้ ใจ 4. แสวงหาความร่วมมอื จากชุมชน จดั แหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ มาร่วมในการจัด การเรยี นรู้ 5. ผบู้ รหิ ารต้องเป็นผู้นำทางวิชาการ ตลอดจนกำกบั ดแู ล นิเทศการจัดการเรียนรู้ อยา่ ง สม่ำเสมอ และนำผลการนิเทศมาปรบั ปรุง พฒั นาการเรยี นการสอนของครู • ด้านการวดั และประเมนิ ผล ครูทุกคนวัดผลและประเมินผลผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลตามจุดเน้นดว้ ยวธิ กี ารและเคร่ืองมือ ท่ี หลากหลาย เนน้ การประเมนิ สภาพจรงิ ใช้ผลการประเมนิ พฒั นาผเู้ รียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง และ รายงานคุณภาพผูเ้ รยี นตามจุดเน้นอยา่ งเป็นระบบ

ด ที่มา : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนำจุดเน้นการพฒั นาผ้เู รียนสู่การปฏบิ ตั .ิ กรงุ เทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

ต การขบั เคล่ือนหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551 และการปฏิรปู การศกึ ษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ตามจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น โดยใหท้ ุกภาคสว่ นรว่ มกนั ดำเนนิ การ กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดจุดเน้นการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ดังนี้ ทกั ษะควำมสำมำรถ คณุ ลกั ษณะ จดุ เน้นตำมช่วงวยั คณุ ลกั ษณะตำมหลกั สตู ร ม.4-6 แสวงหำควำมรู้ เพอ่ื แกป้ ัญหำ  รกั ชำติ ศำสน์ กษตั รยิ ์ ใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื กำรเรยี นรู้  ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ  มุ่งมนั่ ในกำรศกึ ษำ ใชภ้ ำษำตำ่ งประเทศ (ภำษำองั กฤษ) และกำรทำงำน มที กั ษะกำรคดิ ขนั้ สงู ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะ กำรสอ่ื สำรอยำ่ งสรำ้ งสรรคต์ ำมช่วงวยั ม.1-3 แสวงหำควำมรดู้ ว้ ยตนเอง  อย่อู ยำ่ งพอเพยี ง  มวี นิ ยั ใชเ้ ทคโนโลยี เพอ่ื กำรเรยี นรู้  ใฝ่เรยี นรู้ มที กั ษะกำรคดิ ขนั้ สงู ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะ กำรสอ่ื สำรอยำ่ งสรำ้ งสรรคต์ ำมช่วงวยั ป.4-6 อำ่ นคล่อง เขยี นคลอ่ ง คดิ เลข  ใฝ่เรยี นรู้  อย่อู ย่ำงพอเพยี ง คล่อง ทกั ษะกำรคดิ ขนั้ พน้ื ฐำน  มงุ่ มนั่ ในกำรทำงำน ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะกำรสอ่ื สำรอยำ่ ง สรำ้ งสรรคต์ ำมช่วงวยั ป.1-3 อ่ำนออก เขยี นได้ คดิ เลขเป็น  ใฝ่ดี  รกั ควำมเป็นไทย มที กั ษะกำรคดิ ขนั้ พน้ื ฐำน  มจี ติ สำธำรณะ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะกำรสอ่ื สำรอยำ่ ง สรำ้ งสรรคต์ ำมช่วงวยั ท่ีมา : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนำจุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รยี นสู่การปฏบิ ตั .ิ กรงุ เทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

ถ แนวทำงกำรพฒั นำคณุ ภำพผเู้ รียน การดำเนินการตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในการขับเคลื่อนหลักสูตร และการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) สู่การปฏิบัติในสถานศึกษานั้น ครูเป็นบุคลากรสำคัญที่สุดในการดำเนินการใน ระดบั ห้องเรยี นในการจัดการเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล เพื่อใหผ้ ู้เรียนบรรลเุ ป้าหมายตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน ดังแผนภมู ิ แนวทางการปฏบิ ัตริ ะดบั สถานศกึ ษา   นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายการพัฒนาผเู้ รยี น ทำความเขา้ ใจให้กระจา่ ง  แนวทางการพัฒนาผเู้ รยี นตามจุดเน้น  บทบาทหน้าท่ีของผเู้ ก่ียวข้อง   การจัดการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลายท้งั ในและนอกหอ้ งเรยี น ตรวจสอบ ทบทวน วิเคราะหจ์ ุดเด่น จดุ พฒั นา  คุณภาพผเู้ รยี นในภาพรวมของสถานศึกษา  คณุ ภาพผเู้ รียนแยกเปน็ รายวิชาและระดบั ชัน้  จุดเด่น จดุ พัฒนาของสถานศึกษา  กำหนดเป้าหมาย  จดุ เด่น จุดพัฒนาของผ้เู รียน การพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน  ปกี ารศกึ ษา 2553 ระยะที่ 1  ปีการศกึ ษา 2554 ระยะที่ 2, 3 ตามจุดเน้น  ปีการศกึ ษา 2555 ระยะที่ 4, 5  กำหนดภาระงาน  ทบทวน ออกแบบหลักสตู รการเรยี นรู้ การพฒั นาคุณภาพ  ทบทวน ปรบั โครงสรา้ งเวลาเรยี น ตารางเรียน ตามจุดเนน้  ออกแบบการเรยี นรทู้ ง้ั ในและนอกห้องเรยี น  การวดั ผลและประเมินผลตามหลักสตู รและจดุ เนน้  ดำเนินการ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน  ดำเนนิ การพัฒนาผเู้ รยี นตามหลักสูตรทอี่ อกแบบ  นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมินระหวา่ งการปฏิบัติงานตามแผน ตามจดุ เนน้  วัดผลและประเมนิ ผลผเู้ รยี นตามจุดเนน้  ตรวจสอบ  ตรวจสอบ ปรบั ปรงุ พฒั นา  ปรับปรงุ พฒั นา  นำผลการตรวจสอบ ปรบั ปรุงไปใชพ้ ฒั นา สรปุ และรายงานผล  ผลการดำเนนิ งาน  ความภาคภูมิใจ และความสำเรจ็ การพฒั นาผเู้ รียน

ท  ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไ้ ข แนวทางการปฏิบัตริ ะดับสถานศึกษา ข้นั ที่ ประเด็นท่เี ก่ยี วขอ้ ง วิธกี าร ผลทไ่ี ด้รับ 1. ทำความเข้าใจให้ 1. นโยบาย จุดเน้น ยทุ ธศาสตร์ และ 1. ประชุมชแ้ี จง 1. ผู้ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมีความตระหนัก กระจ่าง เปา้ หมายการพฒั นาคณุ ภาพ 2. ประชาสมั พันธ์ผา่ น สือ่ เหน็ ความสำคญั ในบทบาทของ ผเู้ รยี นตามจุดเน้น ตนเอง ต่างๆ ทั้งใน 2. แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ระดบั สถานศกึ ษา 2. มคี วามเขา้ ใจในการนำจดุ เน้น ตามจดุ เนน้ และชมุ ชน การพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนไปสู่ การปฏบิ ัติ 3. บทบาทหน้าทีข่ องผู้เกีย่ วขอ้ ง ทง้ั ในและนอกโรงเรยี น 3. มีความรว่ มมือในระดบั องคก์ ร และชมุ ชน 4. แนวทางการออกแบบหลกั สตู ร และตารางการเรียนรทู้ ี่เหมาะสม 4. ครูมีความรู้ ความเข้าใจ กับการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ตาม ในการออกแบบหลกั สตู ร และ จดุ เน้น ปรับตารางเรียน ให้ เหมาะสมกบั จดุ เนน้ 5. มกี ารปรับพฤตกิ รรมการเรียน การสอนตามแนวทางปฏิรูป การศกึ ษารอบสอง 2. ตรวจสอบทบทวน 1. คณุ ภาพผู้เรยี นในภาพรวม ของ 1. ตรวจสอบเอกสาร 1. ขอ้ มลู สารสนเทศ วเิ คราะห์จุดเดน่ สถานศกึ ษาท้ังจดุ เดน่ และ จดุ ข้อมูลต่างๆ 2. จดุ เด่น จดุ พฒั นาด้านคณุ ภาพ จดุ พัฒนา พัฒนา เชน่ ผลการประเมนิ ใน ระดบั ชาติ สมศ. เขตพนื้ ที่ 2. วเิ คราะหข์ ้อมูลท่ี ผเู้ รยี น สถานศึกษา และ การศกึ ษา โรงเรยี น ฯลฯ เกี่ยวขอ้ ง ครูผสู้ อน 2. ผลการเรยี นของผเู้ รยี นแยกเป็น 3. ประชุมเชิงปฏิบตั กิ าร ระดบั ชน้ั และรายวิชา ระดับ 4. ประชุมสมั มนา สถานศึกษา เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษา ฯลฯ 3. กำหนดเปา้ หมาย 1. ตัวช้ีวัดภาพความสำเร็จของ 1. ประชุม วางแผน เปา้ หมายสถานศึกษา และมี การพฒั นาคุณภาพ สถานศึกษา ระยะท่ี 1 2. จดั ทำแผนพัฒนา แผนการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น ผเู้ รยี นตามจดุ เน้น ภาคเรยี นที่ 2/2553 ตามจุดเนน้ ในแตล่ ะระยะที่ 2. ตวั ชี้วดั ภาพความสำเร็จของ คุณภาพ สอดคล้องกบั บริบท และศักยภาพ สถานศกึ ษา ระยะท่ี 2 ของสถานศกึ ษา/ผเู้ รยี น ภาคเรยี นท่ี 1/2554

ธ 3. ตัวชวี้ ัดภาพความสำเรจ็ ของ สถานศกึ ษา ระยะที่ 3 ภาคเรยี นที่ 2/2554

น ขัน้ ท่ี ประเดน็ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง วิธีการ ผลทไี่ ด้รบั 4. ตัวช้วี ดั ภาพความสำเร็จของ สถานศึกษา ระยะที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1/2555 5. ตวั ช้ีวัดภาพความสำเรจ็ ของ สถานศึกษา ระยะที่ 5 ภาคเรยี นที่ 2/2555 4. กำหนดภาระงาน 1. ทบทวนจุดแข็ง จุดออ่ นของ 1. ประชุม ทบทวน 1. สถานศกึ ษามหี ลกั สตู รการ การพฒั นา องค์ประกอบ เช่น วิสัยทัศน์ หลักสตู รฯ และ เรียนรู้ทส่ี ่งเสริมการพัฒนา คณุ ภาพตาม โครงสร้างเวลาเรียน การจดั ปรับปรงุ หลกั สตู ร คณุ ภาพผู้เรยี นตามจดุ เนน้ จุดเนน้ รายวชิ า/กจิ กรรมเพิ่มเติม การ จัดตารางเรียน ฯลฯ 2. ประชุม ปฏิบตั ิการปรับ 2. ตารางเรยี นใหม่ โครงสร้าง เวลา 3. ครูผสู้ อนมีวธิ ีการจดั การเรียนรู้ 2. ออกแบบหลักสตู รการเรียนรูท้ ่ี เรียน และจัดทำ สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาคณุ ภาพ แผนการเรยี นรู้ ทห่ี ลากหลายตามจดุ เนน้ ผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ (พิจารณาได้ 4. สื่อ แหลง่ เรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย จากตวั อยา่ ง 4 ลกั ษณะ) 3. สำรวจ จดั หา พัฒนา 5. มีเคร่อื งมอื วิธีการวัดผล และ สอ่ื และแหลง่ การ 3. ปรับโครงสรา้ งเวลาเรียน และ เรียนรู้ ประเมนิ ผลตามจดุ เนน้ ตารางเรยี นใหส้ อดคลอ้ งกับ หลักสตู รการเรยี นรู้ท่อี อกแบบไว้ 4. ออกแบบการจัดการเรยี นรใู้ ห้ สง่ เสริมการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ตามจุดเนน้ ทั้งในและนอกหอ้ งเรยี น 5. จัดหา จดั ทำสอื่ แหลง่ เรยี นรู้ และ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่นท่เี หมาะสมกบั การจดั การเรยี นรู้ 6. ออกแบบการวัดและประเมนิ ผล ที่ หลากหลายและเหมาะสมกบั ผู้เรยี น โดยเนน้ การประเมนิ สภาพ จรงิ 5. ดำเนินการพัฒนา 1. จดั การเรียนรู้ตามหลกั สตู รและ 1. ครจู ดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ผูเ้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาตาม คณุ ภาพผเู้ รยี น ตารางเรียนทีอ่ อกแบบไว้ อยา่ งหลากหลาย ทัง้ ใน จดุ เน้น ตามจุดเนน้ โดยเนน้ การพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน และนอกห้องเรียน 2. ครูมีรปู แบบและนวตั กรรมการ ตามจุดเนน้ 2. ออกแบบการวดั และ จัดการเรียนร้ทู ่ีนำไปพัฒนา 2. วดั และประเมนิ ผลความก้าวหน้า ประเมนิ ผลที่สอดคลอ้ ง คุณภาพผู้เรยี นได้ตามจุดเนน้ ของผู้เรียนระหว่างเรยี น กบั จุดเน้น

บ 3. วดั และประเมินผลคณุ ภาพผู้เรยี น ตามตัวชว้ี ัดของจดุ เนน้

ป ขัน้ ท่ี ประเดน็ ท่ีเก่ียวขอ้ ง วธิ กี าร ผลท่ไี ด้รบั 6. ตรวจสอบ 1. ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการพัฒนา 1. ประชุมครเู พือ่ 1. หลกั สตู รและการจัดการเรยี นรู้ ปรับปรุง พัฒนา คุณภาพผเู้ รยี นตามจุดเนน้ ในข้ันท่ี ประเมินผลการนำ ได้รับการพฒั นา 5 หลกั สตู รไปใช้ - การใช้หลกั สตู รการเรยี นรูท้ ี่ 2. กระบวนการบรหิ ารหลักสตู รมี สง่ เสริมการพัฒนาคณุ ภาพ 2. ผู้ทเ่ี กยี่ วขอ้ งประเมิน การขบั เคล่ือน ผู้เรยี นตามจดุ เน้น ตนเอง - การใชโ้ ครงสรา้ งเวลาเรียนและ 3. ผเู้ รยี นมีการพัฒนาตามจดุ เนน้ ตารางเรียนตามรูปแบบของ 3. ตรวจสอบแผนการ หลักสตู รการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้ - การจัดการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย ทั้งในและนอกหอ้ งเรยี น - การวดั และประเมนิ ผลทเ่ี นน้ การ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตาม จดุ เน้น 2. นำผลการตรวจสอบปรบั ปรุง จุดอ่อน และพัฒนาจุดเด่น 7. สรปุ และรายงาน 1. สรปุ ผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 1. ประชุมสมั มนา 1. มผี ลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น ผลการพฒั นา ผูเ้ รียน ตามจุดเนน้ ในดา้ นการดำเนินงาน แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ตามจุดเนน้ ผลการดำเนนิ งาน ปญั หา อุปสรรค 2. นำเสนอผลงานคณุ ภาพ 2. มีแนวทางและนวตั กรรม การ และข้อเสนอแนะ ผู้เรยี น ตาม พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตาม 2. รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพ จดุ เน้น จดุ เนน้ ผู้เรยี นตามจดุ เนน้ เมอ่ื สน้ิ สดุ ตาม 3. จัดนทิ รรศการแสดงผล 3. มีหลักฐานและร่องรอยในการ ระยะที่ 1-5 งานหรอื ประชาสมั พันธ์ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นตาม 3. นำผลจากรายงานไปใช้ในการ ผลงานสสู่ าธารณชน จดุ เน้น วางแผนและพฒั นา 4. สรุป รายงานผล เสนอ 4. มคี วามภาคภูมใิ จใน ผู้ที่เกยี่ วขอ้ ง ความสำเร็จ 5. ไดข้ ้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา ที่มา : สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนำจุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รยี นสู่การปฏิบัต.ิ กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

ผ แนวทางการปฏิบัติระดับห้องเรยี น  ตรวจสอบ  โครงสรา้ งรายวชิ า ตารางเรยี น ทบทวนรายวชิ าและกิจกรรม  หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั กิจกรรม และโครงการ ในความรับผิดชอบ  สอื่ และแหล่งการเรียนรู้  วิเคราะห์ผูเ้ รียน  จัดทำข้อมลู สารสนเทศระดับชน้ั เรียน รายบคุ คล  จดั กลุ่มการพัฒนาผู้เรยี นตามจุดเนน้  กำหนดแนวทาง  รูปแบบกจิ กรรมในและนอกห้องเรยี น การจดั การเรยี นรู้  หนว่ ยการเรียนรู้ กิจกรรมโครงการ ท่ีสอดคล้องกบั จุดเน้น  แผนการจดั การเรียนรู้   จัดการเรียนร้ตู ามแนวทางท่ีออกแบบ  วดั และประเมินผลการพฒั นาผ้เู รยี น ดำเนนิ การจดั การเรยี นรู้  วิจยั และนวตั กรรมการเรยี นรู้  นิเทศ ติดตาม และแลกเปล่ยี นเรียนรู้  นำเสนอผล  รายงานผลการพฒั นาผเู้ รียนรายบคุ คล/กลมุ่ การพฒั นาผู้เรยี น  รายงานผลการพฒั นาตามจดุ เน้น ตามจุดเนน้  รายงานการพัฒนาวิจัย/นวัตกรรมการเรยี นรู้  รายงานภาพความสำเรจ็ อปุ สรรค และปญั หา

ฝ แนวทางการปฏบิ ตั ริ ะดับห้องเรยี น ขัน้ ท่ี ประเดน็ ท่เี ก่ยี วข้อง วธิ กี าร ผลทไี่ ด้รบั 1. ตรวจสอบ 1. โครงสรา้ งรายวชิ า โครงสรา้ ง 1. ศึกษาเอกสาร ข้อมลู ตา่ งๆ 1. ได้จดุ เด่น จดุ พัฒนาของ ทบทวนรายวชิ า และกจิ กรรมใน กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ท่เี กีย่ วขอ้ งกับการพัฒนา รายวชิ าและกจิ กรรมในความ ความรบั ผิดชอบ 2. ตารางเรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ คุณภาพผ้เู รยี นตามจุดเน้น รับผดิ ชอบ 2. วิเคราะหผ์ เู้ รียน เป็นรายบุคคล 3. แผนการจดั กิจกรรมพัฒนา 2. วเิ คราะหจ์ ดุ เดน่ 2. ได้แนวทางการปรับปรุง/ ผู้เรยี นและแผนปฏบิ ัตกิ าร จุดพฒั นาทุกด้าน พฒั นารายวชิ าและกิจกรรมให้ โครงการต่างๆ 3. นำขอ้ มูลของสถานศกึ ษา สอดคล้องกบั แนวทางการ 4. สื่อ แหล่งการเรยี นรู้ และ มาเปรยี บเทยี บกับ แนว พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นตาม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพ จุดเน้นของ สพฐ. และ 5. คุณภาพผู้เรยี นทุกระดับทั้ง ใน ผ้เู รยี นตามจดุ เนน้ ของ สถานศกึ ษา ภาพรวมและแยกรายวชิ า เช่น สพฐ. 3. มีข้อมลู พนื้ ฐานในการกำหนด NT, O-Net, สมศ., เขตพื้นท่ี 4. ตรวจสอบความสอดคลอ้ ง ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษา ของส่อื แหล่งการเรยี นรู้ ผู้เรยี นตามจุดเนน้ สถานศึกษา ทป่ี รบั ปรงุ ใหมแ่ ละสง่ิ ท่ีใช้ อย่เู ดมิ 1. ขอ้ มูลด้านสติปญั ญา ทกั ษะ 1. ศึกษา รวบรวมขอ้ มลู 1. มีขอ้ มลู พื้นฐานของผู้เรยี นเป็น ความสามารถ และคณุ ลกั ษณะ รายบุคคล โดยใช้วธิ กี าร รายบคุ คล ดงั นี้ 2. สขุ ภาพ ร่างกาย - ตรวจสอบจากขอ้ มลู 2. มีขอ้ มูลท่เี ป็นจดุ เดน่ จุดพัฒนา 3. พืน้ ฐานครอบครัว เศรษฐกิจ เอกสารของสถานศกึ ษา ของผู้เรยี นรายบุคคล และ ราย 4. สังคม เพือ่ น และผูเ้ ก่ยี วข้อง และ Portfolio กล่มุ 5. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น นักเรียน 6. ผลงานที่ภาคภูมิใจประสบ - สอบถาม 3. มีหลักฐาน รอ่ งรอยเพอ่ื นำไปสู่ - สมั ภาษณ์ การพัฒนาผ้เู รยี นเป็น ความสำเรจ็ - สงั เกต ฯลฯ รายบคุ คล รายกลมุ่ อย่างเปน็ 7. ผลกระทบท่เี ป็นปญั หา รูปธรรม 2. วิเคราะหจ์ ดุ เด่น จดุ ด้อย ของผ้เู รียนรายบคุ คล 3. จัดกลมุ่ ผ้เู รียน โดยใหแ้ ต่ ละกลมุ่ มคี วามสอดคล้อง ใกล้เคียงกนั ตามจุดเน้น ระดบั ช้ัน

พ ขน้ั ที่ ประเด็นที่เกย่ี วขอ้ ง วธิ กี าร ผลที่ไดร้ บั 3. กำหนดแนวทาง 1. หน่วยการเรยี นรู้ 1. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1. มแี นวทางในการพัฒนาผู้เรยี น การจดั การเรียนรู้ 2. แผนการจดั การเรยี นรู้ ท่ีสอดคล้องกับ 3. แผนการจดั กิจกรรมพฒั นา และการจัดกิจกรรมที่ เปน็ รายบุคคลและรายกลมุ่ จุดเนน้ ผู้เรยี น หลากหลายเหมาะสมกับ สอดคลอ้ งตามจดุ เน้น 4. แผนปฏบิ ตั ิการโครงการและ จุดเนน้ การพัฒนาผูเ้ รียน 2. มรี ปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ท่ี กจิ กรรมพิเศษต่างๆ 5. สอ่ื แหลง่ การเรยี นรู้ ภูมิปญั ญา และตารางเรยี นท่ีกำหนด เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นตามจดุ เน้น 6. การวัดและประเมินผล 2. จัดทำ จัดหาสือ่ แหลง่ การ 3. มสี ื่อ แหล่งการเรียนรู้ เรียนรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ท่ีหลากหลายสอดคลอ้ ง ตาม กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี จุดเนน้ ออกแบบ 4. มเี คร่ืองมือวดั และประเมิน 3. ออกแบบเครอื่ งมือวัดผล คุณภาพผู้เรยี นตามจดุ เนน้ และประเมนิ ผลที่ หลากหลาย โดยเนน้ การ ประเมนิ สภาพจริงใน ระดบั ชั้นเรียน 4. ดำเนนิ การจัดการ 1. การจดั การเรยี นรตู้ ามจดุ เน้นทง้ั 1. จัดการเรยี นรูใ้ นห้องเรยี น 1. ผู้เรยี นมที ักษะความสามารถ เรียนรู้ ในและนอกหอ้ งเรยี น ตามแผนการจดั การเรียนรู้ และคณุ ลกั ษณะตามจดุ เน้น 2. การประเมนิ ความกา้ วหน้าของ ผ้เู รยี น 2. จดั กจิ กรรมนอกห้องเรยี นที่ 2. ชมุ ชนมสี ่วนรว่ มในการจดั การ 3. การประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รยี นตาม สง่ เสรมิ จุดเน้นตาม เรยี นรู้ จดุ เน้น ศกั ยภาพผเู้ รยี น 3. มีการใชน้ วัตกรรมการเรียนรู้ 4. การพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ 5. การวิจัยเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพ 3. วัดและประเมนิ ตามจุดเน้น ผูเ้ รยี นในระดบั ช้นั เรียน ความก้าวหนา้ ของผเู้ รียน 4. ผเู้ รยี นไดแ้ สดงออกตาม 6. การนเิ ทศ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ และประเมินคุณภาพตาม ศักยภาพของตนเอง จุดเนน้ 5. มีการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 4. พฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัย ท่ีชว่ ยให้เกิดการพัฒนาเตม็ 6. มีการสรา้ งความรว่ มมือ ตามศกั ยภาพทง้ั รายบคุ คล ระหวา่ งครแู ละผู้ท่ีเก่ียวขอ้ ง และรายกลมุ่ 7. มกี ารนำหลักสตู รการเรยี นรู้ 5. นำผลการประเมนิ ไปใช้ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ พฒั นาและแก้ไขปญั หา ผ้เู รยี นตาม กระบวนการวจิ ยั 6. ครูผสู้ อนและผู้เกย่ี วขอ้ ง มี การนิเทศแลกเปลยี่ น เรียนรู้ โดยเนน้ การสร้าง ความร่วมมือ

ฟ ขน้ั ที่ ประเดน็ ทีเ่ กย่ี วข้อง วิธีการ ผลทไ่ี ดร้ บั 5. นำเสนอผลการ 1. ผลการพฒั นาผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ 1. ประเมนิ ผลการพัฒนา 1. มผี ลการพฒั นาผเู้ รียนตาม พฒั นาผเู้ รยี นตาม รายบคุ คลและรายกลมุ่ คุณภาพผู้เรยี นตาม จุดเนน้ ในทุกมติ ทิ ้ังรายบุคคล จุดเนน้ จดุ เนน้ ดว้ ยวิธกี ารต่างๆ รายกลมุ่ และระดับห้องเรยี น 2. ผลการพฒั นานวัตกรรม การ เรยี นรู้ 2. วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผลการ 2. มหี ลกั สูตรการเรยี นรรู้ ะดบั พัฒนาผู้เรียนทง้ั รายกลมุ่ ห้องเรยี นท่เี ป็นตวั อย่างในการ 3. ผลการวจิ ยั ในช้นั เรยี น และรายบุคคลตามจดุ เนน้ พัฒนาผู้เรียนตามจดุ เน้น 4. ผลการพัฒนาหลักสตู ร 3. นำผลการพัฒนาผเู้ รียนไป 3. มีการวิจัยในชัน้ เรยี นท่เี ปน็ การเรยี นรใู้ นระดบั หอ้ งเรยี น จดั ทำเปน็ ขอ้ มลู ในระดบั แนวทางในการพัฒนาผู้เรยี น หอ้ งเรียนเพอื่ ใช้ในการ ตามจุดเนน้ พัฒนาผเู้ รยี นตามจดุ เน้น 4. มีรูปแบบความรว่ มมือของครู 4. สรุปผลการนำนวัตกรรม และผทู้ เี่ กยี่ วข้อง การเรยี นรู้และการวจิ ยั ใน ช้นั เรยี น 5. มีเอกสารรายงานและขอ้ มลู สารสนเทศท่ีเปน็ รอ่ งรอย 5. จัดทำรายงานผลการ หลักฐานในการพฒั นาผ้เู รยี น พัฒนาผเู้ รยี นตามจดุ เน้น ตามจุดเน้น ระดับหอ้ งเรียนในความ รบั ผดิ ชอบ 6. จัดทำรายงานผลการ พัฒนาหลักสตู รการเรียนรู้ ระดบั ห้องเรยี นในความ รับผิดชอบ ที่มา : สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนำจุดเน้นการพฒั นาผเู้ รยี นสูก่ ารปฏิบัต.ิ กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

ภ แนวทำงกำรประเมินตำมจดุ เน้นคณุ ภำพผ้เู รยี น ทักษะการคิด จุดเน้น : ทกั ษะการคดิ ขน้ั พน้ื ฐาน ชนั้ ความสามารถ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล และทกั ษะ วธิ ีการ เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ป.1 ทักษะการสงั เกตและ 1. ใหผ้ ู้เรียนสังเกตรปู ภาพ - แบบทดสอบ ผ่าน : ทกั ษะการจดั กลมุ่ ผลไม้ หรือสัตว์ ฯลฯ แลว้ ให้ - แบบบันทกึ ผูเ้ รยี นจัดกลุ่ม และบอกเหตผุ ล ได้ ผเู้ รยี นจดั กลมุ่ รปู ภาพผลไม้ ถูกตอ้ งและเหมาะสม หรือสัตว์ ฯลฯ พร้อมบอก การสงั เกต หมายเหตุ เหตผุ ลในการ จดั กล่มุ หรือ จัดกลุ่มและบอก เกณฑก์ ารประเมินอาจจะจัดเปน็ เหตุผลการ ระดับคณุ ภาพก็ได้ ถา้ หากมีการ 2. จัดวสั ดหุ รอื ส่งิ ของใหผ้ เู้ รยี น จดั กล่มุ จดั กลมุ่ หรอื บอกเหตผุ ลหลายรายการ สังเกตแลว้ ใหผ้ เู้ รยี นจัดกล่มุ เชน่ วสั ดุหรือสิ่งของ พรอ้ มกบั บอกเหตุผลในการจดั กลมุ่ ถา้ หากมกี ารสังเกตแล้ว โดยมคี รคู อยสังเกตการณ์ สามารถจดั กลมุ่ และบอกเหตผุ ล การจัดกลุ่มและการอธบิ าย ได้ 6 รายการ อาจกำหนดเกณฑ์ เหตผุ ล ในการจดั กลมุ่ การประเมิน ดงั นี้ ของผู้เรียน ฯลฯ ระดับ 1 จดั กลุ่ม แต่บอกเหตผุ ล ไม่ได้ ระดบั 2 จัดกลมุ่ และบอกเหตผุ ล ได้ 1-2 รายการ (ผา่ น) ระดับ 3 จดั กล่มุ และบอกเหตผุ ล ได้ 3-4 รายการ ระดบั 4 จดั กล่มุ และบอกเหตผุ ล ได้ 5-6 รายการ

ม ชัน้ ความสามารถ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล และทักษะ วิธีการ เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ป.2 ทกั ษะการเปรยี บเทียบ 1. ให้ผเู้ รียนสงั เกตรปู ภาพวสั ดุ - แบบทดสอบ ผ่าน : และทกั ษะการจำแนก ผู้เรยี นเปรยี บเทียบ หรอื จำแนก หรือส่งิ ของ ฯลฯ ทม่ี ขี นาด - แบบบนั ทกึ และบอกเหตผุ ลได้ถูกต้อง เหมาะสม หมายเหตุ ต่างกันแล้วใหน้ ักเรยี น การสงั เกต เกณฑก์ ารประเมินอาจจะจดั เปน็ ระดบั คณุ ภาพกไ็ ด้ ถา้ หากมกี าร เปรียบเทยี บขนาดหรอื ความ การเปรยี บเทียบ เปรยี บเทยี บหรอื จำแนกแล้วบอก เหตุผลหลายรายการ เชน่ สงู และจำแนกรูปภาพ วัสดุ และการจำแนก ถา้ หากมกี ารสงั เกตแลว้ หรือสิ่งของ ฯลฯ ท่มี ี สามารถเปรยี บเทียบ หรือจำแนก แลว้ บอกเหตผุ ลได้ 8 รายการ ลักษณะเหมอื นกนั หรอื อาจกำหนดเกณฑ์การประเมิน ดังน้ี ระดบั 1 เปรียบเทยี บ หรือจำแนก คลา้ ยกนั พรอ้ มบอกเหตผุ ล แต่บอกเหตผุ ลไมไ่ ด้ หรอื ระดบั 2 เปรยี บเทยี บ หรือจำแนก 2. ให้นักเรียนสงั เกตวสั ดหุ รอื แล้วบอกเหตผุ ลได้ 1-3 รายการ (ผ่าน) สิง่ ของ ซ่ึงวัสดหุ รอื สิง่ ของ ที่ ระดบั 3 เปรียบเทยี บ หรือจำแนก แลว้ บอกเหตผุ ลได้ นำมาใหน้ ักเรียนสังเกตเป็น 3-4 รายการ ระดับ 4 เปรยี บเทยี บ หรอื จำแนก วัสดุหรือส่ิงของชนดิ เดียวกัน แล้วบอกเหตผุ ลได้ 5-6 รายการ เชน่ กอ้ นหนิ ใบไม้ ดนิ สอ ปากกา ฯลฯ แต่มขี นาด หรอื มคี วามสงู หรือความยาว ต่างกัน แลว้ ใหผ้ ู้เรยี น เปรยี บเทยี บขนาด หรือ ความสูงหรือความยาว จากน้นั ให้ ผูเ้ รยี นจำแนก ส่ิงของที่ ไม่เหมือนกัน หรอื แตกต่างกันไว้เปน็ หมวดหมู่ พร้อมกับอธบิ ายเหตผุ ล การจำแนก ครสู ังเกต การเปรยี บเทียบและ การจำแนกของผเู้ รยี น ฯลฯ

ย ชัน้ ความสามารถ วธิ กี ารวดั และประเมินผล และทักษะ วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน ป.3 ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู 1. ใหผ้ ้เู รียนวางแผน/ออกแบบ - แบบทดสอบ ผา่ น : และทกั ษะ การ กำหนดจุดประสงค์ วธิ ีการ สถานการณ์ ปฏบิ ัติ - ผเู้ รยี นวางแผน/ออกแบบ กำหนด เช่ือมโยง เกบ็ รวบรวมข้อมูล และ จรงิ จุดประสงค์ วธิ ีการเก็บรวบรวม นำเสนอขอ้ มูลจาก ข้อมลู และนำเสนอข้อมลู ได้ สถานการณ์ท่ีกำหนดให้ เหมาะสมตามประเด็น ท่กี ำหนด 2. ใหผ้ ูเ้ รยี นเลือกขอ้ มลู ที่ - ผู้เรยี นเลอื กขอ้ มลู ทเี่ ก่ยี วข้อง เก่ยี วขอ้ งสมั พันธ์กนั และ สมั พนั ธ์กัน และบอกความหมาย บอกความหมายของขอ้ มลู และอธบิ ายเหตผุ ลของขอ้ มลู ได้ โดยอาศยั ความรู้ และ เหมาะสม ประสบการณ์เดมิ ของตนเอง พร้อมกบั อธบิ ายเหตุผล ประกอบ ป.6 ทักษะการสรปุ อา้ งอิง 1. ประเมินทักษะการสรุป - แบบทดสอบ ผา่ น : และทักษะการนำความรู้ อา้ งอิงโดยการกำหนด การสรุปอา้ งองิ - สรปุ สถานการณ์ หรอื เรอื่ งราว ไปใช้ สถานการณ์หรือเรื่องราว - แบบทดสอบการนำ ตา่ งๆ และมีการอา้ งองิ ตา่ งๆ จากหนงั สอื พมิ พ์ ความรูไ้ ปใช้ แหล่งขอ้ มูลไดเ้ หมาะสม ข้อความจากโฆษณา แลว้ ให้ - สรุปและบอกวธิ กี ารนำขอ้ สรุป ผู้เรยี นสรุปความเป็นไปได้ จากสถานการณ์หรอื เรอื่ งราว พรอ้ มกับสรปุ ข้ออา้ งอิงจาก ต่างๆ ไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ แหลง่ ข้อมูลทีเ่ ชอื่ ถือได้ เหมาะสม 2. กำหนดเนอ้ื หาหรือเรอ่ื งราว ใหผ้ เู้ รยี นอ่าน แลว้ ให้ผเู้ รียน สรุป และบอก วธิ ีการที่จะนำไปใช้ใน ชีวติ ประจำวัน โดยการ ตอ่ ยอดจากเน้ือหาหรือ เรอ่ื งราวที่อา่ น

ร ช้ัน ความสามารถ วิธกี ารวดั และประเมินผล และทกั ษะ วิธีการ เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน ม.1 ทักษะการวิเคราะห์ 1. ประเมินทกั ษะการคดิ - แบบทดสอบ ผา่ น : - วิเคราะห์ข้อมลู จากสถานการณ์ ทกั ษะการประเมนิ วิเคราะห์ โดยการกำหนด สถานการณ์ ไดเ้ หมาะสม และทกั ษะการสรปุ ความ สถานการณ์ใหผ้ เู้ รยี น แลว้ - สรปุ และอธิบายเหตผุ ลได้ คิดเห็น ต้งั คำถามใหผ้ เู้ รยี นวิเคราะห์ เหมาะสม 2. กำหนดสถานการณห์ รือ คำถามแล้วใหผ้ ูเ้ รยี น ประเมนิ หรือตดั สนิ 3. กำหนดสถานการณ์ใหผ้ ู้เรียน แลว้ ต้งั คำถามใหผ้ ูเ้ รยี นสรปุ พรอ้ มกับอธบิ ายเหตุผล ม.4-6 ทกั ษะการคิดแกป้ ญั หา ประเมินทักษะการคดิ - แบบทดสอบ ผา่ น : อย่างสร้างสรรค์ แกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ สถานการณ์ท่เี น้น ผ้เู รยี นแกป้ ญั หาจากสถานการณ์ ท่ี โดยการกำหนดสถานการณ์ การคิดแก้ปญั หา กำหนดให้ได้เหมาะสมอย่าง ใหผ้ ้เู รียนแกป้ ัญหา โดยเน้นการ อย่างสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์และมคี วามเปน็ ไปได้ ใน แกป้ ญั หาเชิงบวกทเ่ี ป็นวิธีการท่ี การแกป้ ัญหาในชวี ิตจรงิ สรา้ งสรรค์ และมคี วามเป็นไป ได้ในการนำไป ใช้แก้ปัญหาในชวี ิตจริง ท่ีมา : สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนำจุดเนน้ การพัฒนาผ้เู รยี นสู่การปฏิบัต.ิ กรงุ เทพมหานคร : สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

ล คำอธิบำยรำยวิชำ รายวิชา ทศั นศิลป์ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 รหสั วชิ า ศ 22101 เวลา 40 ชั่วโมง/ปี ศึกษา อภิปราย เกี่ยวกับรูปแบบและแนวคิดของผลงานทัศนศิลป์ ฝึกปฏิบัติวาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย เพื่อแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ บรรยายความ แตกต่างของการใช้วัสดุ อุปกรณ์ของศิลปิน วิธีการใช้งานทัศน์ศิลป์ในการโฆษณา การเปลี่ยนแปลงแนวคิดและเนื้อหา ของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่า เปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจาก วฒั นธรรมไทยและสากลเพ่อื นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการพิจารณา เพ่ือใหเ้ กิดความร้คู วามเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบตั แิ ละประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ได้อย่างเหมาะสม ตวั ช้ีวดั ศ 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ศ 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 รวม 10 ตัวชีว้ ดั

ว โครงสร้ำงรำยวิชำ วิชำทศั นศิลป์ ม.2 ลำดบั ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้/ตัวชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน 1 รปู แบบทศั นธาตแุ ละแนวคดิ ศ 1.1 ม.2/1 ทัศนธาตุเป็นองค์ประกอบสำคัญตอ่ การ 6 ในงานทัศนศลิ ป์ ออกแบบและสร้างสรรคผ์ ลงานทศั นศิลป์ การวเิ คราะห์รูปแบบ ทัศนธาตแุ ละแนวคดิ ในงานทศั นศิลป์ จะชว่ ย ให้เขา้ ใจและสร้างสรรคผ์ ลงานทศั นศิลป์ได้ อยา่ งเหมาะสม สวยงาม 2 รปู แบบการใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์ ศ 1.1 ม.2/2 ศลิ ปนิ แตล่ ะทา่ นมรี ูปแบบการใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ 5 ในงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน ในงานทศั นศลิ ปท์ ี่เหมอื นและแตกตา่ งกนั ออกไปตามความถนดั เราจงึ ควรศกึ ษาทำความเข้าใจความเหมือน และความแตกตา่ งดังกล่าว เพ่อื จะไดเ้ ข้าใจใน ผลงานน้ันๆ มากย่ิงข้ึน และนำไปเป็นแนวทางประยุกตใ์ ช้ ในการสรา้ งสรรค์ผลงานทศั นศลิ ปข์ องตนเอง ใหด้ ยี ่ิงขึน้ 3 การวาดภาพ ศ 1.1 ม.2/3 การวาดภาพสอื่ ความหมายและเรอ่ื งราว ผู้ 6 สือ่ ความหมาย วาดตอ้ งใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ และเทคนคิ ตา่ งๆ และเรือ่ งราว อย่างถกู ตอ้ ง นอกจากนี้ยังตอ้ งมีความคิด สรา้ งสรรค์ เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลงานทส่ี วยงาม และ ส่อื ความหมายและเร่ืองราวไดต้ รงตาม วตั ถปุ ระสงค์ทวี่ างไว้

ศ ลำดับ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด (ชั่วโมง) คะแนน การวาดภาพถา่ ยทอดบคุ ลกิ ลักษณะของตัว 4 การวาดภาพถา่ ยทอด ศ 1.1 ม.2/6 ละคร ผูว้ าดตอ้ งรจู้ ักสังเกตและปฏบิ ัติตาม 5 วิธีการวาดโดยวิเคราะหล์ ักษณะเฉพาะของ บคุ ลิกลกั ษณะของ ตัวละครน้ันๆ นอกจากน้ยี งั ต้องใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเทคนคิ ตา่ งๆ อยา่ งถูกตอ้ ง และ ตัวละคร มคี วามคดิ สร้างสรรค์ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลงาน ทสี่ วยงาม ถกู ตอ้ งตามบคุ ลกิ ลกั ษณะของตัว ละคร 5 งานทศั นศิลป์ ศ 1.1 ม.2/7 การใชง้ านทศั นศิลป์ในการโฆษณานัน้ จะต้อง 4 ในการโฆษณา ปฏบิ ัติตามหลกั การออกแบบและขั้นตอนของ การออกแบบโฆษณา เพื่อโนม้ นา้ วใจผพู้ บเหน็ ให้เกิดความสนใจ 6 การประเมินและวจิ ารณง์ าน ศ 1.1 ม.2/4 การประเมินและวจิ ารณ์งานทศั นศิลป์ ผู้ 5 ทัศนศลิ ป์ ม.2/5 ประเมนิ จะตอ้ งสรา้ งเกณฑ์ท่ีมีความ สอดคล้องตามหลกั การ ถกู ตอ้ ง น่าเชอ่ื ถือ และนำผลการวิจารณ์ไปปรับปรงุ แกไ้ ข และ พัฒนาผลงาน จากนัน้ จดั เก็บรวบรวมผลงาน จัดเป็นแฟ้มสะสมผลงานอยา่ งเป็นระบบ เพ่อื เปน็ หลกั ฐานสำหรบั นำไปใชป้ ระโยชน์ใน โอกาสต่างๆ 7 ทัศนศิลป์ของไทย ศ 1.2 ม.2/2 งานทศั นศลิ ปข์ องไทยมีการเปลย่ี นแปลงไปใน 5 ในแต่ละยคุ สมยั แตล่ ะยุคสมัย โดยมีแนวคดิ และเน้ือหาของงาน ที่แตกตา่ งกนั ไป แสดงถึงคณุ คา่ และเอกลักษณ์เฉพาะตวั

ษ ลำดบั ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ท่ี เรยี นร้/ู ตวั ช้วี ดั (ชั่วโมง) คะแนน 8 วฒั นธรรมในงานทศั นศลิ ป์ ศ 1.2 ม.2/1 การศกึ ษาความร้เู กย่ี วกับวฒั นธรรม 4 ปจั จบุ ัน ม.2/3 ในงานทัศนศลิ ป์ จะช่วยให้เกดิ ความเข้าใจใน วัฒนธรรมต่างๆ ท่ีสะทอ้ น อย่ใู นงานทศั นศิลป์ และยังสามารถ ทำให้เปรยี บเทยี บแนวคดิ ในการออกแบบงาน ทัศนศิลป์ท่ีมาจากวฒั นธรรมไทยและสากลได้

ส โครงสรำ้ งแผนฯ วิชำทศั นศิลป์ ม.2 เวลา 40 ช่วั โมง หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั วธิ สี อน/กระบวนการจดั การ ทักษะการคดิ เวลา การเรยี นรู้ เรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ทักษะการจัดกลุ่ม (ช่ัวโมง) รูปแบบทศั นธาตุและ 1. ทัศนธาตแุ ละ - วธิ ีสอนโดยการจัดการ - แนวคดิ ในงาน พน้ื ฐานการรบั รู้ เรียนรแู้ บบร่วมมือ : เทคนคิ คูค่ ดิ 1 ทศั นศิลป์ ส่สี หาย 2. รปู แบบทศั น ธาตุ - วิธีสอนแบบสบื เสาะหา - ทกั ษะการจดั กลมุ่ 2 ในงานทศั นศิลป์ ความรู(้ Inquiry Method : 5E) 3. แนวคิดในงาน - วธิ ีสอนแบบ - ทกั ษะการจัดกลุ่ม 2 ทศั นศลิ ป์ กระบวนการ กลมุ่ สมั พนั ธ์ 4. การวิเคราะห์ - วธิ ีสอนโดยใชก้ ารสาธติ - ทกั ษะการจดั กลมุ่ 1 ทัศนธาตแุ ละแนวคดิ ใน งานทัศนศลิ ป์ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 1. ศิลปนิ - วิธีสอนโดยเน้น - ทกั ษะการ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ ทศั นศิลป์สาขา กระบวนการ : กระบวนการเรยี น เปรียบเทยี บ อุปกรณ์ในงาน จติ รกรรม ความรู้ ทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ ความเขา้ ใจ 2. ศิลปิน - วธิ สี อนแบบสืบเสาะหา - ทักษะการ 2 ทัศนศิลปส์ าขา ประตมิ ากรรมและ ความร(ู้ Inquiry Method : 5E) เปรยี บเทยี บ สื่อผสม

ห 3. ความเหมือน - วิธีสอนโดยการจัดการ - ทักษะการ 1 และความแตกตา่ งของ เรียนรแู้ บบรว่ มมือ : เทคนิคคคู่ ดิ เปรยี บเทยี บ รปู แบบการใชว้ สั ดุ อปุ กรณใ์ นงานทศั นศิลป์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 1. ขน้ั ตอนการ - วิธสี อนโดยการจัดการ 1. ทกั ษะการนำความรู้ 1 การวาดภาพส่ือ วาดภาพสื่อความหมาย เรยี นร้แู บบรว่ มมอื : เทคนคิ ค่คู ดิ ไปใช้ ความหมายและ และเร่อื งราว เรือ่ งราว 2. ทักษะกระบวนการ คดิ สร้างสรรค์ 2. เทคนิคการ - วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหา 1. ทกั ษะการนำความรู้ 2 วาดภาพดว้ ยสีน้ำ ความรู้ (Inquiry Method : 5E) ไปใช้ 2. ทกั ษะกระบวนการ คิดสรา้ งสรรค์

ฬ หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั วิธสี อน/กระบวนการจัดการ ทกั ษะการคดิ เวลา การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรยี นรู้ (ชัว่ โมง) 3. เทคนิคการ - วิธสี อนโดยเน้น 1. ทักษะการนำความรู้ 1 การวาดภาพสอ่ื วาดภาพดว้ ยสีโปสเตอร์ กระบวนการ : กระบวนการ ไปใช้ ความหมายและ ปฏิบตั ิ 2. ทักษะกระบวนการ เรอ่ื งราว (ตอ่ ) คิดสร้างสรรค์ 4. เทคนิคการ - วธิ สี อนโดยเนน้ 1. ทกั ษะการนำความรู้ 2 วาดภาพด้วยเทคนคิ กระบวนการ : กระบวนการ ไปใช้ ผสม ปฏิบตั ิ 2. ทักษะกระบวนการ คดิ สร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4การ 1. แนวทางการ - วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหา 1. ทกั ษะการนำความรู้ 1 วาดภาพถา่ ยทอด วาดภาพถา่ ยทอด ความรู้ (Inquiry Method : 5E) ไปใช้ บคุ ลิกลกั ษณะของ บคุ ลกิ ลกั ษณะของ 2. ทกั ษะกระบวนการ ตวั ละคร ตัวละคร คิดสรา้ งสรรค์ 2. วธิ ีวาดภาพตัว - วธิ ีสอนโดยเน้น 1. ทักษะการวิเคราะห์ 2 ละครแบบเสมอื นจรงิ กระบวนการ : กระบวนการ 2. ทกั ษะการนำความรู้ ปฏบิ ัติ ไปใช้ 3. วธิ ีวาดภาพตัว - 3. ทกั ษะกระบวนการ 2 ละครแบบการต์ ูน คดิ สร้างสรรค์ วธิ ีสอนโดยใชก้ ารสาธติ 1. ทักษะการวิเคราะห์ 2. ทักษะการนำความรู้ ไปใช้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 1. ความรู้ - วิธสี อนโดยการจัดการ 3. ทกั ษะกระบวนการ 1 งานทัศนศิลป์ เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั การ เรียนรแู้ บบร่วมมอื : เทคนิคกล่มุ คิดสร้างสรรค์ ในการโฆษณา โฆษณา สบื คน้ - ทักษะการนำความรู้ ไปใช้

อ 2. ทัศนศลิ ป์กบั - วธิ สี อนแบบ - ทกั ษะการนำความรู้ 1 งานโฆษณา กระบวนการ ไปใช้ ทักษะการนำความรู้ 2 กลมุ่ สมั พันธ์ ทกั ษะการวิเคราะห์ 1 ทักษะการประเมิน 3. หลักการ - วิธีสอนแบบสบื เสาะหา - ทักษะการวเิ คราะห์ 2 ทกั ษะการประเมิน ออกแบบโปสเตอร์เพือ่ ความรู้ (Inquiry Method : 5E) ไปใช้ การโฆษณา หน่วยการเรียนรู้ที่ 6การ 1. หลกั การ - วธิ สี อนแบบ 1. ประเมินและวจิ ารณง์ าน ประเมินและวจิ ารณง์ าน กระบวนการ 2. ทัศนศลิ ป์ ทัศนศิลป์ กลมุ่ สมั พนั ธ์ 2. การสรา้ ง - วิธสี อนแบบสืบเสาะหา 1. เกณฑก์ ารประเมินและ ความรู้ (Inquiry Method : 5E) 2. วิจารณง์ านทศั นศลิ ป์

ฮ หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัด วธิ ีสอน/กระบวนการจัดการ ทกั ษะการคดิ เวลา การเรียนรู้ เรียนรู้ (ชัว่ โมง) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6การ 3. ความสำคญั ใน - วธิ สี อนแบบ - ทักษะการนำความรู้ 1 ประเมินและวจิ ารณง์ าน การพัฒนางานทศั นศิลป์ กระบวนการ ไปใช้ ทศั นศิลป์(ต่อ) กลุ่มสมั พนั ธ์ 4. การจัดทำแฟ้ม - วิธีสอนโดยการจดั การ - ทักษะการนำความรู้ 1 สะสมผลงานทัศนศิลป์ เรียนร้แู บบร่วมมอื : เทคนคิ คู่คิด ไปใช้ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 7 1. ผลงาน - วธิ สี อนโดยการจดั การ - ทกั ษะการนำความรู้ 1 ทัศนศลิ ปข์ องไทยใน ทัศนศิลป์สมัยกอ่ น เรียนรู้แบบรว่ มมอื : เทคนคิ การ ไปใช้ แต่ละยคุ สมัย สโุ ขทยั ต่อเรื่องราว (Jigsaw) 2. ผลงาน - วิธีสอนโดยการจดั การ - ทกั ษะการนำความรู้ 1 ทศั นศิลป์ เรยี นรแู้ บบรว่ มมอื : เทคนคิ คู่คิด ไปใช้ สมยั สโุ ขทยั 3. ผลงาน - วิธีสอนแบบ - ทกั ษะการนำความรู้ 1 ทัศนศิลป์ กระบวนการ ไปใช้ สมัยอยุธยา กลุ่มสมั พันธ์ 4. ผลงาน - วธิ ีสอนโดยเน้น - ทกั ษะการนำความรู้ 1 ทัศนศิลป์ กระบวนการ : กระบวนการเรยี น ไปใช้ สมัยรตั นโกสนิ ทร์ ความรู้ ความเข้าใจ 5. ผลงาน - วิธสี อนโดยเน้น - ทกั ษะการนำความรู้ 1 ทัศนศิลป์ กระบวนการ : กระบวนการสร้าง ไปใช้ สมยั ต่างๆ ความคิดรวบยอด หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 8 1. วฒั นธรรมใน - วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหา - ทกั ษะการวิเคราะห์ 2 วฒั นธรรมในงาน งานทัศนศลิ ป์ ความรู้ (Inquiry Method : 5E) ทัศนศลิ ปป์ ัจจบุ นั 2. แนวคดิ ในการ - วธิ ีสอนแบบ 1. ทกั ษะการวิเคราะห์ 2 ออกแบบงานทัศนศลิ ป์ กระบวนการ 2. ทกั ษะการ กลมุ่ สมั พันธ์ เปรยี บเทยี บ

1 แผนการจัดการเรียนรู้ โรงเรยี นเหล่าหลวงประชานสุ รณ์ ตำบลเหล่าหลวง อำเภอเกษตรวิสัย จงั หวดั ร้อยเอด็ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง รูปแบบทศั นธาตุและแนวคิดในงานทศั นศลิ ป์ เวลา 6 ชวั่ โมง 1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด ศ 1.1 ม.2/1 อภปิ รายเกย่ี วกับทศั นธาตใุ นด้านรปู แบบและแนวคดิ ของงานทัศนศิลปท์ เ่ี ลือกมา 2 สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด ทัศนธาตุเป็นองคป์ ระกอบสำคญั ต่อการออกแบบและสร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์ การวเิ คราะห์รูปแบบ ทศั นธาตแุ ละแนวคดิ ในงานทัศนศลิ ป์ จะช่วยใหเ้ ข้าใจและสรา้ งสรรคผ์ ลงานทศั นศิลป์ได้อยา่ งเหมาะสม สวยงาม 3 สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - รูปแบบของทศั นธาตุและแนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ 3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการจัดกลุม่ 4.3 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 6 ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) การนำเสนอผลการอภปิ ราย เร่ือง รปู แบบทัศนศลิ ป์และแนวคิดในงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปินทฉ่ี ันช่ืนชอบ

2 7 การวัดและการประเมนิ ผล 7.1 การประเมินก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 เร่อื ง รูปแบบทัศนธาตแุ ละแนวคิดในงานทศั นศิลป์ 7.2 การประเมนิ ระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง ทัศนธาตแุ ละพื้นฐานการรบั รู้ 2) ตรวจใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง รูปแบบทศั นธาตุในงานทศั นศิลป์ 3) ตรวจใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง แนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ 4) ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น 5) ประเมินการนำเสนอผลงาน 6) สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบคุ คล 7) สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 8) สังเกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 7.3 การประเมินหลงั เรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรอ่ื ง รูปแบบทศั นธาตแุ ละแนวคดิ ในงานทัศนศิลป์ 7.4 การประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - สังเกตการนำเสนอผลการอภิปราย เรอื่ ง รปู แบบทศั นศิลป์และแนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ของศิลปิน ที่ฉนั ช่นื ชอบ 8 กิจกรรมการเรียนรู้ นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

3 เรอื่ งท่ี 1 ทศั นธำตแุ ละพนื้ ฐำนกำรรบั รู้ 1 ชวั่ โมง วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมอื : เทคนิคคคู่ ิดส่สี หาย ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครใู ห้นักเรียนดูภาพ แล้วใหน้ กั เรียนแสดงความคดิ เห็นในประเด็นทกี่ ำหนด 2. ครอู ธบิ ายเช่ือมโยงใหน้ กั เรียนเขา้ ใจเก่ยี วกบั การสร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศิลป์โดยการนำทัศนธาตุมาจัดวาง ตามหลักการจดั องค์ประกอบศลิ ป์ ขั้น สอน 1. ครูแบง่ นักเรยี นเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แล้วให้สมาชิกแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละครู่ ่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง ทศั นธาตุและพ้ืนฐานการรับรู้ จากหนังสอื เรียน โดยให้ครอบคลมุ ประเดน็ ที่ กำหนด 2. สมาชิกแต่ละคนู่ ำความรู้ทไี่ ด้จากการศึกษามาเลา่ ให้เพื่อนอกี คหู่ นง่ึ ภายในกลุ่มฟัง ผลัดกันซกั ถามขอ้ สงสัยและ อธิบายจนทกุ คนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน 3. ครอู ธบิ ายความร้เู ก่ียวกบั ทัศนธาตแุ ละพน้ื ฐานการรบั รู้ ใหน้ ักเรยี นฟงั พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพ่ือให้นักเรียนมี ความรู้ความเขา้ ใจชดั เจนมากย่ิงข้ึน 4. สมาชกิ แต่ละกลุม่ ชว่ ยกันทำใบงานที่ 1.1 เร่ือง ทศั นธาตุและพนื้ ฐานการรบั รู้ เมื่อทำเสร็จแลว้ ช่วยกันตรวจสอบ ความถูกต้อง และเติมเตม็ คำตอบใหส้ มบูรณ์ 5. ครูและนกั เรียนช่วยกันเฉลยคำตอบในใบงานท่ี 1.1 ขัน้ สรุป นกั เรียนร่วมกันสรปุ ความรเู้ รื่อง ทศั นธาตุและพน้ื ฐานการรับรู้ โดยให้ครอบคลมุ ประเด็นที่กำหนด

4 เรื่องท่ี 2 รปู แบบทศั นธำตใุ นงำนทศั นศิลป์ 2 ชวั่ โมง วิธีสอนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขนั้ ที่ 1 กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูให้นักเรยี นรวมกลมุ่ เดิม แลว้ ครูแจกภาพผลงานทศั นศิลป์ ให้แตล่ ะกลุ่ม กลุ่มละ 1 ภาพ (อาจมีบางกลุ่ม ได้ภาพซำ้ กัน) 2. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกนั พจิ ารณาและวิเคราะห์ภาพท่ีกล่มุ ของตนไดร้ บั ในประเด็นท่กี ำหนด แลว้ ครูสมุ่ นักเรยี น 2-3 กลุ่ม นำเสนอผลการวเิ คราะห์ ครูตรวจสอบความถูกต้องและอธบิ ายเพม่ิ เตมิ 3. ครอู ธิบายเช่อื มโยงให้นักเรยี นเข้าใจเก่ียวกบั ความจำเป็นในการนำเอาองค์ประกอบของทัศนธาตุมาใช้ใน การออกแบบผลงานทัศนศลิ ป์ ข้นั ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore) สมาชกิ แต่ละกลมุ่ จับคู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละครู่ ่วมกันศึกษาความรู้เรอื่ ง รูปแบบทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ จากหนงั สือเรยี น และจากใบความรู้ เรื่อง ทัศนธาตกุ ับการจดั องค์ประกอบศิลป์ ตามหัวขอ้ ที่กำหนดให้ ดังนี้ - ค่ทู ่ี 1 ศึกษาความรูเ้ ร่ือง รูปแบบของทศั นธาตุ - คู่ท่ี 2 ศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง หลักการวเิ คราะหท์ ัศนธาตใุ นงานทัศนศิลป์ ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกแตล่ ะคู่อธบิ ายความรู้ทีไ่ ด้จากการศึกษาให้เพื่อนอีกคหู่ นงึ่ ภายในกลุ่มฟัง ผลดั กนั ซักถามข้อสงสัย และอธบิ ายจนทุกคนมีความเขา้ ใจชัดเจนตรงกนั 2. ครูอธบิ ายความรู้เก่ียวกบั รปู แบบทัศนธาตุในงานทศั นศลิ ป์ ใหน้ กั เรยี นฟงั พร้อมยกตวั อย่างประกอบ ข้นั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. นกั เรียนแต่ละคนทำใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง รปู แบบทศั นธาตใุ นงานทัศนศิลป์ เมอ่ื ทำเสรจ็ แล้วตรวจสอบ ความถกู ต้องและเติมเต็มคำตอบให้สมบรู ณ์ จากนั้นนำสง่ ครูตรวจ 2. ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกับรูปแบบของทศั นธาตุ และหลกั การวิเคราะหท์ ัศนธาตใุ นงาน ทัศนศลิ ป์ ว่ามคี วามสำคัญต่อการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์อย่างไร แล้วเขยี นสรปุ ลงในกระดาษท่ีครแู จกให้ 3. ตวั แทนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอผลการอภปิ รายหน้าชน้ั เรียน แล้วใหเ้ พอื่ นกล่มุ อน่ื ไดน้ ำเสนอเพมิ่ เตมิ ในส่วนทแ่ี ตกต่างกันออกไป ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลนักเรียนจากการทำใบงานที่ 1.2

5 2. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้เร่ือง รปู แบบทศั นธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์ ครตู รวจสอบความถูกต้อง เร่ืองท่ี 3 แนวคิดในงำนทศั นศิลป์ 2 ชวั่ โมง วธิ สี อนแบบ กระบวนการกลุม่ สมั พันธ์ ขั้นที่ 1 นำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ครนู ำภาพผลงานทัศนศลิ ป์รูปแบบต่างๆ มาให้นักเรยี นดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั รปู แบบ การใชว้ ัสดุอุปกรณ์และแนวคิดในการสรา้ งสรรค์ผลงานของศิลปิน 2. ครูขออาสาสมัครหรือสุ่มนักเรียน 2-3 คน แสดงความคิดเห็น แล้วให้เพื่อนนักเรียนได้นำเสนอเพิม่ เติมในส่วนท่ี แตกต่างกันออกไป 3. ครูอธบิ ายเช่ือมโยงใหน้ กั เรียนเข้าใจเกยี่ วกับแนวคิดพ้นื ฐานในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ ขน้ั ที่ 2 จัดการเรียนรู้ 1. สมาชิกกลุ่มเดิมรว่ มกนั ศึกษาความรู้เร่ือง แนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ จากหนังสือเรียน โดยใหค้ รอบคลุมประเด็น ที่กำหนด จากนน้ั ร่วมกันสรุปสาระสำคัญ 2. ครอู ธบิ ายความรู้เกี่ยวกับแนวคิดในงานทัศนศิลป์ให้นักเรยี นฟัง พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ เพ่ือใหน้ ักเรยี น มคี วามรคู้ วามเข้าใจชดั เจนมากยิ่งขึ้น 3. นักเรียนแต่ละกล่มุ ช่วยกันทำใบงานที่ 1.3 เรื่อง แนวคดิ ในงานทศั นศิลป์ เมื่อทำเสรจ็ แล้วชว่ ยกัน ตรวจสอบความถูกต้องและเติมเต็มคำตอบให้สมบูรณ์ 4. ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลงานในใบงานท่ี 1.3 หน้าชน้ั เรียน ครูตรวจสอบความถูกต้องและให้ข้อเสนอแนะ ขน้ั ท่ี 3 สรปุ และนำหลกั การไปประยุกต์ใช้ 1. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันสรุปความรู้เรอื่ ง แนวคิดในงานทัศนศลิ ป์ ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 2. ครแู นะนำให้นักเรียนนำความรูท้ ่ีไดจ้ ากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาผลงานทศั นศิลป์ของศิลปิน ท่ีตนชืน่ ชอบ และผลงานทศั นศลิ ป์ของตนเองต่อไปในอนาคต ข้นั ท่ี 4 วัดและประเมนิ ผล ครูวดั และประเมินผลนักเรยี นจากการทำใบงานที่ 1.3

6 เรอ่ื งท่ี 4 กำรวิเครำะหท์ ศั นธำตุ และแนวคิดในงำนทศั นศิลป์ 1 ชวั่ โมง วธิ สี อนโดยใช้การ สาธติ ขนั้ ที่ 1 เตรยี มการสาธิต 1. ครตู ้งั คำถามเพ่ือประเมินความรู้ความเข้าใจของนักเรียน โดยครูคอยกระตุน้ ให้นักเรยี นทุกคนมีสว่ นร่วม ในการแสดงความคิดเห็น 2. ครูอธบิ ายเชอื่ มโยงใหน้ ักเรยี นเห็นความสำคัญของการวเิ คราะหร์ ปู แบบการใช้ทัศนธาตุ และการวิเคราะห์แนวคิดใน การสร้างสรรคผ์ ลงานทัศนศิลปข์ องศิลปินท่านต่างๆ เพ่ือเป็นแนวทางไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ทศั นศิลปข์ องตนเองต่อไป 3. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศึกษาความรเู้ รื่อง ตัวอยา่ งการวิเคราะห์ทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ จากหนังสือเรียน แล้วรว่ มกันสรปุ สาระสำคัญ ขัน้ ที่ 2 สาธติ 1. ครูชีแ้ จงจุดประสงค์การสาธติ การวเิ คราะหท์ ัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ใหน้ กั เรียนทราบ 2. ครนู ำตัวอยา่ งผลงานหรือภาพผลงานทัศนศลิ ป์ มาให้นักเรยี นดู แล้วใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั เลือกตัวอย่างผลงานหรือภาพ ผลงานทชี่ อบ 1-2 ชนิ้ 3. ครวู ิเคราะหท์ ัศนธาตุและแนวคดิ ในงานทัศนศิลปท์ ่นี ักเรยี นชว่ ยกนั เลือกมาตามหลักการวิเคราะห์ พรอ้ มอธบิ าย ประกอบ เพ่อื เปน็ ตัวอยา่ งให้นักเรยี นสามารถนำไปปฏิบตั ไิ ดอ้ ย่างถูกต้อง 4. สมาชิกแต่ละกลุ่มชว่ ยกันเลอื กผลงานหรือภาพผลงานทัศนศิลปท์ ่คี รูเตรียมไว้ให้ (ไมซ่ ำ้ กับทคี่ รสู าธติ ) กล่มุ ละ 1 ชิ้น แล้วร่วมกนั วเิ คราะหท์ ัศนธาตุและแนวคิดในงานทศั นศิลป์ตามหลักการวิเคราะห์ ตามแบบ ทีค่ รสู าธติ แลว้ เขียนสรุปผลการวเิ คราะหล์ งในกระดาษท่ีครูแจกให้ 5. ครูสังเกตและคอยใหค้ ำแนะนำเพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถวเิ คราะหท์ ัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ตามหลักการ วิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง 6. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลการวิเคราะห์ทศั นธาตุและแนวคิดในงานทัศนศลิ ปห์ นา้ ชน้ั เรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นท่ี 3 สรปุ การสาธิต 1. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกันสรุปแนวทางการวิเคราะหท์ ัศนธาตุและแนวคิดในงานทศั นศลิ ปต์ ามหลักการวิเคราะห์ 2. ครแู นะนำใหน้ ักเรียนนำความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษาไปประยุกตใ์ ช้ในการสรา้ งสรรค์ผลงานของตนเอง เพื่อใหผ้ ลงานมี ความสวยงาม ดึงดดู ใจผชู้ ม

7 ขนั้ ที่ 4 วดั ผลประเมินผล ครูวัดและประเมินผลนกั เรียนจากการวิเคราะห์ทัศนธาตแุ ละแนวคดิ ในงานทศั นศลิ ป์ท่นี ักเรียนชว่ ยกนั เลือกมา  ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกศิลปินที่กลุ่มชื่นชอบ มากลุ่มละ 1 ท่าน แล้วร่วมกันวิเคราะห์ และอภิปรายเกี่ยวกับทัศนธาตุและแนวคิดในผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินท่านดังกล่าว จำนวน 5 ช้ิน จากน้นั นำเสนอผลการอภิปรายหน้าชนั้ เรียน โดยใหค้ รอบคลุมประเดน็ ตามท่ีกำหนด นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 9 ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน ทศั นศลิ ป์ ม.2 2) ใบความรู้ เรื่อง ทศั นธาตุกับการจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ 3) ตัวอย่างผลงานทัศนศิลป์ 4) กระดาษขนาด A4 5) บตั รภาพ 6) ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ทศั นธาตุและพนื้ ฐานการรับรู้ 7) ใบงานท่ี 1.2 เรื่อง รูปแบบทัศนธาตใุ นงานทัศนศลิ ป์ 8) ใบงานที่ 1.3 เร่ือง แนวคดิ ในงานทศั นศลิ ป์ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมดุ 2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ - http://www.aksorn.com/LC/Va/M2/01 - http://www.aksorn.com/LC/Va/M2/02 - http://www.aksorn.com/LC/Va/M2/03 - http://www.aksorn.com/LC/Va/M2/04

8 ใบงานท่ี 1.1 ทศั นธาตแุ ละพ้ืนฐานการรับรู้ คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นเขยี นแผนผังความคดิ สรปุ ความรเู้ ร่ือง ทัศนธาตุและพ้นื ฐานการรบั รู้ ทศั นธำตุ ทศั นธำตแุ ละ พื้นฐำนกำรรบั รู้ พืน้ ฐำนกำรรบั รู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook