Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TC1207

TC1207

Published by nattawan300941, 2020-03-23 01:45:12

Description: TC1207

Search

Read the Text Version

84 2. สถิตทิ ่ใี ช้ในกำรทดสอบสมมติฐำน 2.1 คา่ เฉล่ีย (Arithmetic Mean) ของคะแนน (อา้ งถึงใน วชิ ัย นภาพงศ์ , 2552) X X N เมื่อ X แทน ตัวกลางคณิตศาสตร์  x แทน ผลบวกของคะแนนทงั้ หมด N แทน จานวนคะแนนท้ังหมด 2.2 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใชส้ ูตรดังน้ี (อ้างถึงใน วิชัย นภาพงศ์ , 2552) S.D.  N  x2   x2 N N 1 เม่ือ S.D. แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของกล่มุ ตัวอย่าง X แทน ข้อมลู แต่ละชั้น N แทน จานวนขอ้ มลู ทัง้ หมดของประชากร n แทน จานวนขอ้ มูลทงั้ หมดของกลุ่มตัวอย่าง 2.3 การทดสอบที (t-test) ชนิดกลุ่มตวั อย่างไมเ่ ปน็ อิสระแกก่ ัน (Dependent Samples) เพ่ือทดสอบความแตกต่างของคะแนนแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการ เรยี นกอ่ นและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศัพทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้สตู ร (อ้างถึงใน ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538) t  D N  D2   D2 N 1

85 เมื่อ D แทน ผลต่างระหว่างคู่คะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น N แทน กลมุ่ ตัวอย่างหรือจานวนคูค่ ะแนน  D แทน ผลรวมของผลต่างของคะแนน  D2 แทน ผลรวมของผลตา่ งของคะแนนแตล่ ะคยู่ กกาลงั สอง 2.4 สถิตทิ ดสอบสมมุติฐานความคงทนในการเรียนรู้ โดยเปรยี บเทียบผลสัมฤทธกิ์ าร เรียนรูบ้ ทเรยี น AR CODE คาศพั ท์ภาษาจนี พ้นื ฐานของการทดสอบหลังเรียนกับผลสมั ฤทธท์ิ างการ เรยี นของการทดสอบหลงั จากผ่านไป 2 สปั ดาห์ วิเคราะห์โดยใชส้ ตู ร (อ้างถงึ ใน ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538) t D N D2   D2 N 1 เมื่อ  D แทน ผลรวมของคะแนนผลต่างท้งั หมด  D2 แทน ผลรวมของกาลังสองของคะแนนผลต่าง  D2 แทน ผลรวมของคะแนนผลตา่ งทั้งหมดยกกาลังสอง D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนแตล่ ะคู่ N แทน จานวนคู่ 6. วเิ คราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ทีเ่ รียนด้วยบทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจนี พนื้ ฐาน โดยหาค่าเฉลยี่ (Arithmetic Mean) สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสรปุ เป็นระดับความพงึ พอใจในแต่ละขอ้ (อา้ งถึงใน บุญชม ศรสี ะอาด, 2545) ค่าเฉล่ีย 4.51-5.00 หมายความว่าผเู้ รยี นมีพึงพอใจต่อบทเรยี น AR Code อยู่ในระดับ มากท่สี ดุ คา่ เฉล่ีย 3.51-4.50 หมายความวา่ ผเู้ รียนมีพงึ พอใจตอ่ บทเรยี น AR Code อยูใ่ นระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 2.51-3.50 หมายความวา่ ผเู้ รียนมีพึงพอใจต่อบทเรียน AR Code อยูใ่ นระดบั ปานกลาง คา่ เฉลีย่ 1.51-2.50 หมายความวา่ ผเู้ รียนมีพงึ พอใจตอ่ บทเรียน AR Code อยู่ในระดบั น้อย

86 คา่ เฉลยี่ 1.00-1.50 หมายความวา่ ผู้เรยี นมีพึงพอใจตอ่ บทเรียน AR Code อยู่ในระดบั นอ้ ยท่ีสุด กำรวิจยั เชิงคุณภำพ ในการวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ มรี ายละเอียดตามขน้ั ตอน ดงั น้ี ผใู้ หข้ ้อมลู สำคญั (Key informants) ผ้ใู หข้ อ้ มูลสาคัญ (Key informants) ไดแ้ ก่ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน เทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2558 ทไี่ ม่ใชก่ ลุ่มตัวอยา่ ง ท่นี ามาทดลอง แบบหนง่ึ ต่อหนง่ึ จานวน 3 คน ท่นี ามาทดลองแบบหน่งึ ต่อสาม จานวน 9 คน และท่ีนามาทดลอง ภาคสนาม จานวน 36 คน รวมทง้ั สิน้ 48 คน โดยการเกบ็ ข้อมูลโดยการสมั ภาษณแ์ ละสงั เกต โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นกำรวจิ ัยเชงิ คณุ ภำพ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล สาหรบั การวิจัยเปน็ แบบสมั ภาษณ์แบบกง่ึ โครงสรา้ ง (Semi-structured interview protocol) โดยผู้วิจยั สร้างจากแนวคดิ ท่ีได้ศึกษาจากเอกสารและ งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง มีเน้ือหาเก่ยี วกบั ความคดิ เห็นที่มีตอ่ บทเรียน AR Code คาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน ซึง่ ประกอบด้วย 1. ที่มาของการสัมภาษณ์ 2. วัตถปุ ระสงค์ของการสมั ภาษณ์ 3. ประเดน็ สมั ภาษณ์ 3.1 แบบสมั ภาษณด์ ้านสื่อ Augmented Reality Code 3.1.1 ภาพ ความคมชัดสื่อ Augmented Reality Code 3.1.2 การออกเสยี งทช่ี ัดสื่อ Augmented Reality Code 3.1.3 ความสวยงามของสื่อ Augmented Reality Code

87 3.2 แบบสัมภาษณด์ ้านบทเรียน Augmented Reality Code 3.2.1 บทเรยี น Augmented Reality Code สรา้ งความน่าสนใจในการเรยี นรู้ 3.2.2 บทเรียน Augmented Reality Code เกิดการเรียนรู้ในเนื้อหาได้เรว็ ขน้ึ 3.2.3 บทเรียน Augmented Reality Code มปี ระโยชน์สามารถนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวันได้ กำรสรำ้ งเคร่อื งมือในกำรวจิ ยั เชงิ คุณภำพ เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูลสาหรับการวิจยั เปน็ แบบสมั ภาษณแ์ บบกง่ึ โครงสร้าง (Semi-structured interview protocol) ซ่งึ ผ้วู จิ ัยได้ดาเนนิ การสร้างแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกบั ความ คิดเหน็ ท่มี ตี ่อบทเรยี น AR Code คาศัพทภ์ าษาจีนพืน้ ฐาน ซงึ่ มีขนึ้ ตอนในการดาเนนิ การดงั น้ี 1. ศึกษารปู แบบและวธิ ีการสร้างแบบสัมภาษณ์ที่ใชใ้ นการวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ต่างๆ เพื่อใหส้ ามารถสอ่ื ความหมายตามทตี่ ้องการได้ 2. นาผลการวิจัยเชิงปริมาณ มาเป็นขอบข่ายเพ่ือเป็นแนวทางในการสรา้ งแบบสมั ภาษณ์ กึง่ โครงสร้าง 3. ร่างคาถามในการสัมภาษณ์ เพื่อเป็นการหาแนวทางในการดาเนินงานเพ่ือให้ความ คดิ เห็นทม่ี ตี ่อบทเรียน AR Code คาศัพท์ภาษาจีนพ้นื ฐาน 4. นาแบบสมั ภาษณ์ทีส่ รา้ งแลว้ เสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพือ่ พิจารณาความ ถูกต้อง และให้คาแนะนาเพือ่ แกไ้ ขปรบั ปรุงแบบสัมภาษณใ์ หส้ มบูรณย์ งิ่ ข้ึน 5. นาแบบสมั ภาษณ์ทผ่ี ่านการตรวจสอบความถูกต้อง และแก้ไขปรับปรงุ เรยี บร้อยแลว้ นาไปใช้ กำรเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมลู ตามลาดับข้ันตอน ดังน้ี 1. เมื่อผ้เู รียนที่เปน็ กลุ่มทดลองแบบหนงึ่ ต่อหนึ่งและกลุ่มทดลองแบบหนึ่งต่อสามมีการ เรยี นรู้ดว้ ยบทเรยี น AR Code คาศพั ทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยดาเนนิ การเก็บข้อมลู ดว้ ยตนเอง โดยการสมั ภาษณ์ แบบกง่ึ โครงสร้าง (Semi-structured interview protocol) ผูใ้ ห้ ข้อมูลสาคัญ (Key informants) ได้แก่ นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2558 ที่ไม่ใชก่ ลุม่ ตัวอยา่ ง ท่ีนามาทดลองแบบ หนง่ึ ตอ่ หน่งึ จานวน 3 คน ที่นามาทดลองแบบหน่ึงต่อสาม จานวน 9 คน และทน่ี ามาทดลอง

88 ภาคสนาม จานวน 24 คน รวมทงั้ สิ้น 36 คนโดยการเกบ็ ข้อมูลโดยการสมั ภาษณแ์ ละสังเกต โดยวิธีการเลอื กแบบเจาะจง เพอ่ื ให้ได้บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศพั ทภ์ าษาจนี ท่ีมีคณุ ภาพตอ่ ไป 2. ระหว่างการสมั ภาษณผ์ ูว้ จิ ัยมีการจดบันทึกและสงั เกตผู้สมั ภาษณ์ เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล 3. บันทกึ ข้อมลู และอ่านทวนข้อมลู ที่ถูกบนั ทกึ ใหผ้ ใู้ หข้ ้อมลู ฟงั อีกคร้งั เพือ่ ความถูกต้อง กำรวเิ ครำะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยดาเนนิ การวิเคราะห์ข้อมลู โดยการวิเคราะหเ์ ชิงเน้อื หา (content analysis) ซง่ึ ดาเนินการตามขน้ึ ตอน ดงั น้ี 1. นาขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณ์มาวเิ คราะห์ เรยี บเรยี งและสรุปและจดบันทึกใหม่ 2. ตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลทผี่ ู้วจิ ัยได้ดาเนนิ การสัมภาษณ์ในหัวข้อตามแบบ สมั ภาษณ์กึง่ โครงสร้าง (Semi-structured interview protocol) ท่ีผวู้ จิ ยั สรา้ งขึ้น โดยนาส่งขอ้ มูลที่ ไดจ้ ากการสมั ภาษณใ์ หผ้ ้เู ชีย่ วชาญเพอ่ื ตรวจสอบอีกคร้งั หนึ่ง 3. ทาการวเิ คราะห์ข้อมลู โดยศกึ ษาข้อมลู เหล่านั้นอยา่ งละเอยี ด จับใจความหลักจาแนก ชนดิ ขอ้ มลู (Typological analytic) คือ จาแนกขอ้ มลู ที่ไดเ้ ปน็ กล่มุ ตามความเหมาะสมของข้อมูล โดยวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากส่วนย่อยๆ (Segment) กอ่ นแลว้ พิจารณาสว่ นย่อยท่คี ล้ายๆ กนั หรือประเภท เดยี วกนั มารวมกนั จดั เป็นประเด็นรวม (Topic) และหลายประเด็นรวมกนั เป็นกลุ่ม (Categories) และจัดระบบขอ้ มลู แตล่ ะประเภท พจิ ารณาเชือ่ มโยงความเหมือนและแตกต่างจากนั้นนาเสนอขอ้ คน้ พบในรปู แบบการบรรยาย (Descriptive) (อา้ งถึงในรตั นะ บัวสนธ,์ 2552) ของความคดิ เหน็ ท่มี ตี อ่ บทเรียน AR Code คาศพั ท์ภาษาจีนพน้ื ฐาน สาหรับนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียน เทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมอื งปตั ตานี จังหวดั ปตั ตานี

89 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครัง้ นี้เปน็ การวจิ ัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) มวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อพฒั นาบทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน สาหรับนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 เพ่อื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ของนักเรยี นก่อนและหลงั การจัดการเรียนรโู้ ดยใชบ้ ทเรยี น Augmented Reality Code เร่ือง คาศัพท์ภาษาจีนพืน้ ฐาน สาหรับนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผเู้ รยี นท่ี มีต่อบทเรยี น Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีนพ้นื ฐาน สาหรับนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐานของผู้เรียน ทเ่ี รียนดว้ ยบทเรียน Augmented Reality Code เร่ืองคาศพั ท์ภาษาจีนพ้นื ฐาน สาหรับนกั เรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 และเพ่ือรวบรวมความคดิ เหน็ ของผู้เรียนที่มตี ่อบทเรยี น AR Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน ดงั ตอ่ ไปน้ี ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลการวิจัยเชงิ ปริมาณ ผวู้ ิจัยไดด้ าเนนิ การวเิ คราะหข์ ้อมูลตามลาดับ ดังนี้ 1 วเิ คราะห์หาประสทิ ธิภาพของการจดั การเรียนรู้โดยใช้บทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ ภาษาจีนพื้นฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2 วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ของนกั เรียนกอ่ นและหลังการจดั การเรยี นรู้ ดว้ ยโดยใชบ้ ทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใชส้ ถิติ t-test (Dependent Samples) 3 วเิ คราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ทเ่ี รียนดว้ ย บทเรียน AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน 4 วเิ คราะหค์ วามคงทนในการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 (T3) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจยั เชิงคณุ ภาพ ผลการวเิ คราะห์ความคิดเห็นของผู้เรยี นที่มีตอ่ บทเรียนและการสร้างบทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน

90 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู การวิจยั เชิงปริมาณ ตอนท่ี 1 วเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจีน พื้นฐาน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ท่ีมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/ E2) ตาราง 1 ประสทิ ธิภาพของบทเรียน AR Code เรือ่ งคาศัพท์ภาษาจีนพื้นฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/ E2) แบบหน่ึงต่อหนง่ึ จานวน 3 คน เครือ่ งมอื ท่ีใช้วดั จานวนกลมุ่ คะแนนเต็ม คะแนนรวมท่ีได้ E ทดลอง (ทงั้ ฉบบั ) (ทุกคน) แบบทดสอบระหว่างเรียน (E1) 3 436 72.66 แบบทดสอบหลังเรยี น (E2) 3 200 70 77.76 30 จากตาราง 1 แสดงให้เห็นได้ว่าผ้เู รียนสามารถทาแบบทดสอบระหวา่ งเรียนถูกต้องได้คะแนน เฉลี่ยร้อยละ 72.66 และสามารถทาแบบทดสอบหลังเรียนได้คะแนนเฉล่ียร้อยละ 77.76 ตาราง 2 ประสิทธิภาพของบทเรียน AR Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่มี ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/ E2) แบบหนง่ึ ต่อสาม จานวน 9 คน เครอื่ งมอื ที่ใช้วดั จานวนกลมุ่ คะแนนเต็ม คะแนนรวมทไ่ี ด้ E ทดลอง (ท้ังฉบับ) (ทุกคน) แบบทดสอบระหว่างเรยี น (E1) 9 1382 76.78 แบบทดสอบหลงั เรยี น (E2) 9 200 213 78.89 30 จากตาราง 2 แสดงให้เห็นไดว้ ่าผู้เรียนสามารถทาแบบทดสอบระหว่างเรียนถูกต้องไดค้ ะแนน เฉลี่ยร้อยละ 76.78 และสามารถทาแบบทดสอบหลังเรยี นถูกต้องได้คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 78.89

91 ตาราง 3 ประสิทธิภาพของการจัดการเรยี นร้โู ดยใชบ้ ทเรยี น AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ทม่ี ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/ E2) แบบภาคสนาม จานวน 24 คน เครือ่ งมือที่ใชว้ ดั จานวนกลมุ่ คะแนนเต็ม คะแนนรวมท่ไี ด้ E ทดลอง (ทั้งฉบบั ) (ทกุ คน) แบบทดสอบระหวา่ งเรยี น (E1) 24 3702 77.13 แบบทดสอบหลังเรียน (E2) 24 200 580 80.56 30 จากตาราง 3 แสดงให้เหน็ ไดว้ ่าผ้เู รียนสามารถทาแบบทดสอบระหวา่ งเรียนถูกต้องได้คะแนน เฉล่ียร้อยละ 77.13 และสามารถทาแบบทดสอบหลงั เรยี นถูกต้องได้คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 80.56 ตาราง 4 ประสทิ ธภิ าพของบทเรยี น AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจีนพน้ื ฐาน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/ E2) ของกลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 30 คน เครื่องมอื ที่ใช้วัด จานวนกลุ่ม คะแนนเต็ม คะแนนรวมที่ได้ E ตวั อย่าง (ทั้งฉบบั ) (ทกุ คน) แบบทดสอบระหว่างเรยี น (E1) 4858 80.97 แบบทดสอบหลงั เรียน (E2) 30 200 729 81.00 30 30 จากตาราง 4 แสดงให้เหน็ ได้ว่าผูเ้ รียนสามารถทาแบบทดสอบระหวา่ งเรียนถูกต้องได้คะแนน เฉลี่ยร้อยละ 80.97 และสามารถทาแบบทดสอบหลงั เรยี นถูกต้องได้คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ 86.67 ซึ่งสงู ตาม เกณฑ์ 80/80 ตอนท่ี 2 วเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผ้เู รยี นก่อนและหลังการ จดั การเรียนรดู้ ้วยโดยใช้บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 โดยใช้สถติ ิ t-test (Dependent Samples)

92 ตาราง 5 เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผู้เรียนก่อนและหลงั การจัดการเรยี นรู้ด้วยโดยใช้ บทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศพั ท์ภาษาจนี พ้ืนฐานชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 รายการทดลอง คะแนนเฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน t Sig ก่อนเรยี น .000 หลงั เรยี น 8.1 2.59 -34.413 24.30 1.70 จากตาราง 5 แสดงให้เห็นว่า คา่ เฉล่ียของคะแนนกอ่ นการจัดการเรยี นรู้ที่ได้จากการทา แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นคาศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐานเท่ากบั 8.1 มีส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 2.59 และคา่ เฉล่ียของคะแนนหลงั การจัดการเรยี นรู้ทไ่ี ด้จากการทาแบบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นรู้คาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐานเท่ากับ 24.30 มสี ่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ1.70 เม่อื เปรียบเทยี บ ค่าเฉล่ยี ของคะแนนทดสอบระหว่างคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนกับคะแนนเฉล่ยี หลงั เรียน ผลการศึกษา พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นร้คู าศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐานหลงั การจดั การเรยี นรู้สงู กว่าก่อนการจัดการ เรียนรอู้ ยา่ งมีนยั สาคทั ทางสถิติทร่ี ะดบั .00 ตอนที่ 3 วเิ คราะหแ์ บบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใชบ้ ทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศพั ทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน ตาราง 6 คา่ เฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ที่มตี ่อการเรยี นโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เร่อื งคาศพั ท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมืองปตั ตานี ขอ้ ที่ รายการประเมิน  S.D. ระดับ 1 สือ่ มีคาแนะนาการใช้ 4.47 0.68 มาก 2 สื่อมคี าอธิบายชดั เจน 4.60 0.62 มากทส่ี ดุ 3 สอื่ บอกจดุ ประสงคก์ ารเรยี นชัดเจน 4.67 0.48 มากทส่ี ุด 4 การทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นสอดคล้องกับจดุ ประสงค์ 4.03 0.61 มาก 5 บทเรียนนาเสนอเนื้อหาไดน้ ่าสนใจ นา่ ศกึ ษา 4.77 0.57 มากทสี่ ดุ 6 การเรยี นจากบทเรียนทาให้เข้าใจเนอ้ื หาเร็วข้นึ 4.63 0.49 มากทส่ี ุด 7 ข้อความและภาพประกอบของบทเรยี นดี 4.90 0.31 มากทีส่ ุด

93 ตาราง 6 (ตอ่ ) ขอ้ ที่ รายการประเมิน  S.D. ระดับ 8 บทเรยี น AR Code ช่วยให้นักเรยี นไดเ้ รยี นไม่เครง่ เครยี ด 4.47 0.73 มาก 9 นักเรียนมโี อกาสได้ทราบผลการเรยี นทนั ที 4.67 0.48 มากทส่ี ุด 10 นักเรียนไดเ้ ขา้ กลุ่มสรุปความรู้ที่ไดจ้ ากบทเรียน AR Code 3.90 0.76 มาก 11 นักเรยี นสามารถนาบทเรียน AR Codeมาศึกษาเพิ่มเติมได้ 4.43 0.57 มาก 12 นกั เรยี นมโี อกาสได้แลกเปล่ยี นเรยี นรรู้ ว่ มกัน 4.70 0.47 มากท่สี ดุ 13 นักเรียนไดฝ้ ึกทักษะจากบทเรียน AR Code ไดม้ ากขน้ึ 4.63 0.72 มากทส่ี ุด 14 บทเรยี น AR Code ได้ช่วยให้การอภปิ รายในกลมุ่ ดีขนึ้ 3.83 0.83 มาก 15 นกั เรยี นอยากใหค้ รูใชบ้ ทเรียน AR Code น้กี บั เร่ืองอนื่ ๆด้วย 4.93 0.25 มากทสี่ ุด 4.51 0.49 มากทส่ี ดุ เฉล่ยี จากตาราง 6 แสดงให้เห็นว่าความพงึ พอใจของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ทีม่ ีต่อการ เรยี นบทเรยี น Augmented Reality Code เร่อื งคาศพั ท์ภาษาจีนพนื้ ฐานโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองปตั ตานี มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทสี่ ดุ (  = 4.51/S.D. = 0.49) และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า นักเรยี นมคี วามพึงพอใจต่อประเด็น ตา่ งๆ ในระดบั มากทส่ี ดุ เปน็ ส่วนใหท่ โดยขอ้ ที่มีคา่ เฉลยี่ สูงสดุ คอื ข้อ 15 อยู่ในระดบั มากที่สุด (  = 4.93/S.D. = 0.25) รองลงไปคือข้อ 7 ข้อความและภาพประกอบของสอื่ ดี อยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.90/S.D. = 0.31) ตอนท่ี 4 วิเคราะห์ผลการศึกษาความคงทนในการเรยี นรู้คาศัพทข์ องผเู้ รียนทเี่ รียนด้วย บทเรยี น Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน สาหรบั นักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร สงั กัดเทศบาลเมืองปัตตานี

94 ตาราง 7 ผลการศึกษาความคงทนในการเรยี นรู้คาศัพท์ของผู้เรยี นที่เรียนโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน สาหรับนักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร ปรากฏผลดังนี้ รายการทดลอง คะแนนเฉลยี่ สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน t Sig .00 หลงั เรียน 8.1 2.59 -34.249 หลงั เรียน 2 สัปดาห์ 24.93 1.66 จากตาราง 7 แสดงใหเ้ ห็นวา่ คา่ เฉล่ียของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนร้คู าศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน หลังเรียนทีไ่ ด้จากการทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรูค้ าศัพทภ์ าษาจนี พ้ืนฐานเทา่ กับ 8.1 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.59 และคา่ เฉลี่ยของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรู้คาศพั ท์ภาษาจีน พื้นฐานหลังเรียน 2 สัปดาหท์ ่ีได้จากการทาแบบทดสอบวัดความคงทนในการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐานเทา่ กับ 24.93 มสี ว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 1.66 เมอ่ื เปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาจีนพื้นฐานเฉลีย่ หลังเรยี นกับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรคู้ าศัพท์ภาษาจีน พื้นฐานเฉลี่ยหลังเรียน 2 สปั ดาห์ ผลการศึกษาพบว่า ผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรู้ ของผู้เรียนท่เี รยี นโดยใชบ้ ทเรียน AR Code คาศพั ท์ภาษาจีนพื้นฐาน หลงั ผา่ นไป 2 สัปดาห์เพม่ิ ขึ้น ไม่แตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคัททางสถติ ิ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู การวิจยั เชิงคุณภาพ หลงั จากเกบ็ ข้อมลู และวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจยั เชงิ คุณภาพ ผ้วู ิจยั พิจารณาสังเกตและ สมั ภาษณ์ความคดิ เห็นของผเู้ รียนทม่ี ตี อ่ บทเรียนและการสรา้ งบทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพท์ ภาษาจีนพน้ื ฐาน สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สังกัดเทศบาลเมอื งปัตตานี ด้านบทเรยี นและการสร้างบทเรยี น แล้วนาผลวิจยั ดังกล่าวไป สร้างแบบสมั ภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ผลการสมั ภาษณ์ผูใ้ หข้ ้อมูลเก่ียวกบั ความคดิ เห็นของผเู้ รียนทม่ี ตี ่อบทเรยี นและการสร้าง บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจีนพืน้ ฐานปรากฏดังนี้ 1. แบบสงั เกตและสัมภาษณ์ดา้ นการสร้างสอ่ื บทเรียน Augmented Reality Code

95 จากการสังเกตและสมั ภาษณ์ นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 กลมุ่ ทดลอง ในด้าน การสร้างบทเรียนผลการสัมภาษณ์พบวา่ ความคิดเห็นของผู้เรียนทีเ่ รียนโดยใชบ้ ทเรยี น Augmented Reality Codeเร่ืองคาศพั ทภ์ าษาจนี พน้ื ฐาน มี 3 สว่ น ดงั นี้ 1.1 ภาพ ความคมชัดของบทเรยี น Augmented Reality Code ดงั ปรากฏในคาสัมภาษณต์ อ่ ไปนี้ กลุ่มทดลองแบบหน่งึ ตอ่ หนึง่ จานวน 3 คน คนที่ 1 ได้กลา่ ววา่ “…ภาพสวย ชดั แตเ่ ป็นภาพจริง ชอบภาพการต์ นู ...” คนท่ี 2 ได้กล่าวว่า “…ชอบ ภาพสวย สีสวย ชัด แต่แบบทดสอบไม่มีสไี มส่ วย...” คนที่ 3 ได้กลา่ วว่า “…ภาพชดั สีสวย ภาพสวย แต่อยากให้เปน็ ภาพการ์ตูน...” หลังทาการสัมภาษณก์ ลมุ่ ทดลองแบบหนึ่งต่อหนึง่ ผ้วู จิ ัยได้ นาความคดิ เหน็ ของผเู้ รยี นจากการสัมภาษณไ์ ปปรบั แก้แลว้ นามาทดลองใหม่ในกล่มุ ทดลองแบบหนงึ่ ตอ่ สาม จานวน 9 คน คนท่ี 1 ไดก้ ล่าวว่า “…ชอบภาพการ์ตนู สวย ชัดดว้ ย...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความ คดิ เหน็ ของคนที่ 5, 7, 8 ทไี่ ด้กล่าวไว้ในลกั ษณะเดยี วกัน คนที่ 2 ได้กล่าวว่า “…ชอบ สสี วย ภาพสวย ชัดเจน...” ซ่งึ สอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 6, 9 ท่ีได้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดยี วกัน และคนท่ี 3 ไดก้ ลา่ วว่า “…ภาพชัดสวย...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 4 หลังทาการสัมภาษณ์กลมุ่ ทดลองแบบหนึ่งตอ่ สาม เรยี บรอ้ ยแล้วผู้วิจัยได้นาความคิดเหน็ ของผูเ้ รยี นจากการสัมภาษณ์ไปปรบั แก้ แล้วนามาทดลองใหม่ในกลุ่มทดลองภาคสนาม จานวน 24 คน คนท่ี 1 ได้กลา่ ววา่ “…ชอบ สสี วย ภาพสวยชดั ...” ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ความคิดเหน็ ของคนท่ี 3, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 19, 20 และ คนที่ 2 ได้กล่าววา่ “…ภาพชัด ภาพก็สวยเป็นการต์ ูน...” ซึ่งสอดคล้องกับความคดิ เห็นของคนที่ 4, 5, 6, 15, 18, 22, 23 และคนท่ี 7 ไดก้ ลา่ วว่า “…ชอบ ภาพชัด การ์ตูนน่ารกั ...” ซงึ่ สอดคล้องกบั ความ คดิ เห็นของคนท่ี 16, 17, 21, 24 1.2 การออกเสยี งทชี่ ัดของตัวบทเรียน Augmented Reality Code ดังปรากฏในคาสัมภาษณต์ ่อไปน้ี กลมุ่ ทดลองแบบหนึง่ ต่อหนึ่ง จานวน 3 คน คนที่ 1 ได้กล่าววา่ “…เสียงไม่ชัด...” คนท่ี 2 ได้กลา่ วว่า “…เสียงชัด...” ส่วนคนท่ี 3 ไดก้ ล่าววา่ “…เสยี งชดั แต่ต้องฟังหลายคร้งั จึงพดู ได้...” หลงั ทาการสัมภาษณ์กลุ่มทดลองแบบหน่ึงต่อหนงึ่ ผูว้ ิจยั ไดน้ าความคิดเหน็ ของผู้เรยี นจากการสมั ภาษณ์ไปปรับแกแ้ ล้วนามาทดลองใหม่ในกลมุ่ ทดลอง แบบหนึ่งตอ่ สาม จานวน 9 คน คนที่ 1 ได้กล่าวว่า “…เสียงชัด...” ซง่ึ สอดคล้องกับความคิดเห็นของ คนท่ี 5, 6, 9 ทีไ่ ด้กล่าวไวใ้ นลักษณะเดยี วกนั คนท่ี 2 ได้กล่าววา่ “…เสียงชัด แต่ตอ้ งฟงั หลายรอบถึง จะพูดไดถ้ ูกต้อง...” ซ่งึ สอดคลอ้ งกับความคิดเห็นของคนท่ี 3, 4, 7, 8 ท่ีได้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะน้ี เดยี วกนั หลงั ทาการสมั ภาษณ์กลุม่ ทดลองแบบหนึ่งต่อสาม เรียบร้อยแล้วผู้วจิ ยั ได้นาความคดิ เห็นของ ผู้เรยี นจากการสัมภาษณ์ไปปรับแกแ้ ลว้ นามาทดลองใหม่ในกล่มุ ทดลองภาคสนาม

96 จานวน 24 คน คนที่ 1 ได้กล่าวว่า “…เสยี งชดั ...” ซงึ่ สอดคล้องกับความคิดเห็นของคนที่ 2, 3, 6, 8, 9, 10, 15, 16, 17, 21, 22, 23 ท่ไี ด้กล่าวไวใ้ นลกั ษณะเดียวกนั ละคนท่ี 4 ได้กล่าวว่า “…เสยี งชดั แตต่ อ้ งฟังหลายคร้ังจึงพดู ได้...” ซง่ึ สอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 5, 7, 11, 12, 13, 14, 18, 19, 20 ทไี่ ด้กล่าวไว้ในลกั ษณะเดียวกัน 1.3 ความสวยงามน่าอ่านของบทเรียน Augmented Reality Code ดงั ปรากฏในคาสัมภาษณต์ ่อไปน้ี กลุ่มทดลองแบบหนึง่ ต่อหนึง่ จานวน 3 คน คนท่ี 1 ได้กล่าวว่า “…สวยงาม น่าอา่ น...” ซง่ึ มีความสอดคล้องกับ 3 คนที่ 2 ไดก้ ลา่ วว่า “ชอบสวยงามมาก นา่ อ่าน” หลังทาการสมั ภาษณก์ ลุม่ ทดลองแบบหนึง่ ต่อหน่ึง ผ้วู ิจยั ได้นาความคดิ เห็นของผู้เรยี นจากการสัมภาษณไ์ ปปรบั แก้แลว้ นามาทดลองใหม่ในกลุ่มทดลอง แบบหนงึ่ ต่อสาม จานวน 9 คน คนที่ 1 กลา่ วไวว้ ่า คนท่ี 1 ได้กลา่ วว่า “…สวยงาม น่าอา่ น...” ซึง่ สอดคล้องกับความคิดเหน็ ของคนที่ 5, 9 ท่ไี ด้กล่าวไว้ในลักษณะเดียวกนั คนท่ี 2 ได้กลา่ ววา่ “…สีสวย ภาพสวย น่าอ่าน...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคดิ เห็นของคนท่ี 3, 8 ทไ่ี ดก้ ลา่ วไวใ้ นลกั ษณะ เดยี วกนั คนที่ 4 ได้กล่าวว่า “…สวยงาม น่าอ่าน ชอบ...” ซงึ่ สอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 6, 7 ทีไ่ ดก้ ล่าวไว้ในลกั ษณะนเี้ ดยี วกนั เชน่ เดียวกัน และหลังทาการสมั ภาษณก์ ลมุ่ ทดลองแบบหนง่ึ ตอ่ สาม เรยี บร้อยแลว้ ผวู้ ิจัยได้นาความคดิ เห็นของผู้เรียนจากการสัมภาษณไ์ ปปรับแก้แลว้ นามาทดลองใหม่ ในกล่มุ ทดลองภาคสนาม จานวน 24 คน คนท่ี 1 ได้กลา่ วว่า “…สวยงาม นา่ อ่าน...” ซึง่ สอดคลอ้ งกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 7, 8, 13, 16, 21, 22 ทีไ่ ด้กลา่ วไว้ในลักษณะเดยี วกนั คนที่ 2 ได้กล่าววา่ “…สสี วย ภาพสวย น่าอ่าน...” ซึง่ สอดคล้องกับความคดิ เห็นของคนที่ 10, 14, 18, 24 ที่ไดก้ ลา่ วไวใ้ น ลักษณะเดียวกนั คนท่ี 3 ได้กลา่ วว่า “…ชอบ สวยงาม น่าอ่านมาก...” ซงึ่ สอดคล้องกับความคดิ เหน็ ของคนที่ 4, 11, 12, 17 ท่ีได้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดยี วกัน คนท่ี 5 ไดก้ ลา่ ววา่ “…การต์ ูนสวย น่าอ่าน ชอบ...” ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ความคิดเหน็ ของคนท่ี 5, 6, 9, 15, 19, 20 ท่ไี ดก้ ล่าวไว้ในลักษณะเดียวกนั 2. แบบสงั เกตและสัมภาษณ์ด้านบทเรียน Augmented Reality Code จากการสงั เกตและสัมภาษณ์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลมุ่ ทดลอง ในด้าน บทเรยี นผลการสัมภาษณ์พบวา่ ความคิดเหน็ ของผ้เู รียนที่เรียนโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Codeเรื่องคาศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐาน มี 3 ส่วน ดงั น้ี 2.1 บทเรยี น Augmented Reality Code สรา้ งความนา่ สนใจในการเรียนรู้ ดังปรากฏในคาสัมภาษณต์ อ่ ไปนี้ กลุ่มทดลองแบบหนงึ่ ต่อหนง่ึ จานวน 3 คน คนที่ 1 ได้กลา่ ววา่ “…น่าสนใจ สสี วย แต่เป็นภาพจริง ชอบภาพการต์ ูน...” คนท่ี 2 ได้กล่าววา่ “…ชอบ น่าสนใจ ภาพสวย สสี วย มีแบบทดสอบสนุก แต่แบบทดสอบไม่มีสีไม่สวย...” คนท่ี 3 ได้กล่าวว่า “…น่าสนใจ สีสวย ภาพสวย แต่อยากใหเ้ ปน็ ภาพการ์ตูน...” หลงั ทาการสมั ภาษณก์ ลุ่ม

97 ทดลองแบบหนึ่งตอ่ หนึ่ง ผวู้ ิจยั ไดน้ าความคดิ เห็นของผู้เรยี นจากการสัมภาษณไ์ ปปรับแก้แล้วนามา ทดลองใหม่ในกลุ่มทดลองแบบหนึ่งตอ่ สาม จานวน 9 คน คนท่ี 1 ได้กล่าววา่ “…น่าสนใจ สสี วย ชอบ ภาพการ์ตูนสวย...” ซ่ึงสอดคล้องกับความคดิ เหน็ ของคนที่ 2 ท่ีได้กล่าวไวใ้ นลักษณะเดยี วกัน คนท่ี 3 ได้กล่าวว่า “…สวย สสี วย การ์ตนู สวย ชอบ น่าสนใจ...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคดิ เหน็ ของคนท่ี 8 ที่ไดก้ ล่าวไวใ้ นลักษณะเดยี วกัน คนที่ 4 ได้กล่าวว่า “…สสี วย น่าสนใจ...” คนท่ี 5 ได้กลา่ วว่า “… การ์ตนู สวย น่าสนใจ...” คนท่ี 6 ไดก้ ล่าวา่ “…นา่ สนใจ สสี วย การ์ตูนนา่ รกั ...” ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ความ คิดเห็นของคนท่ี 7 ท่ีไดก้ ล่าวไว้ในลักษณะเดยี วกนั คนที่ 9 ไดก้ ลา่ ววา่ “…ชอบ สีสวย ชอบภาพ การ์ตูน ชอบแบบทดสอบมีสีสวย สนุก...” หลงั ทาการสมั ภาษณ์กลุ่มทดลองแบบหน่ึงต่อสาม เรยี บร้อยแล้วผู้วิจัยได้นาความคิดเห็นของผู้เรียนจากการสัมภาษณ์ไปปรับแก้แล้วนามาทดลองใหม่ใน กลุม่ ทดลองภาคสนาม จานวน 24 คน คนที่ 1 ไดก้ ลา่ ววา่ “…นา่ สนใจ ชอบ สสี วยงาม...” ซึง่ สอดคล้องกับความคิดเหน็ ของคนที่ 7, 11, 12, 22, 24 ทไ่ี ดก้ ลา่ วไว้ในลักษณะเดยี วกัน คนที่ 2 ได้กลา่ วว่า “…ชอบ นา่ สนใจ การ์ตูนสวย...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเห็นของคนที่ 9, 14, 18, 20, 21 ทไ่ี ดก้ ล่าวไวใ้ นลกั ษณะเดียวกนั คนท่ี 3 ได้กล่าวว่า “…การต์ นู สวย สีสวย เกมสนุก...” ซ่ึงสอดคล้องกับความคิดเห็นของคนท่ี 4, 8, 15, 19 ทไ่ี ด้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดียวกัน คนที่ 5 ไดก้ ล่าววา่ “…ชอบ น่าสนใจ ภาพสวย เกมสนุก ...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคดิ เห็นของคนที่ 6, 10, 13, 16, 17, 23 ที่ได้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะนเี้ ดยี วกัน 2.2 บทเรยี น Augmented Reality Code เกิดการเรียนรู้ในเนือ้ หาไดเ้ รว็ ข้นึ ดงั ปรากฏในคาสัมภาษณ์ต่อไปน้ี กลุ่มทดลองแบบหนงึ่ ต่อหน่ึง จานวน 3 คน คนท่ี 1 ได้กล่าวว่า “…คาศัพทง์ ่าย เรยี นสนุก เข้าใจงา่ ย...” คนที่ 2 ได้กลา่ ววา่ “…สนุก จาคาศัพท์ ง่ายเร็ว...” คนท่ี 3 ได้กล่าววา่ “…ตน่ื เต้น เรียนสนุก จาคาศพั ท์เรว็ ...” หลงั ทาการสมั ภาษณ์กลมุ่ ทดลองแบบหนึ่งต่อหน่ึง ผู้วจิ ัยได้นาความคิดเหน็ ของผู้เรียนจากการสมั ภาษณ์ไปปรับแก้แล้วนามา ทดลองใหมใ่ นกลุ่มทดลองแบบหนึง่ ต่อสาม จานวน 9 คน คนท่ี 1 ได้กลา่ ววา่ “..สนุก เขา้ ใจงา่ ยเร็ว..” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนท่ี 4, 8 ทีไ่ ดก้ ลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดียวกนั คนที่ 2 ได้กล่าวว่า “…คาศัพทง์ ่าย เข้าใจงา่ ย แบบทดสอบสนกุ ...” ซึ่งสอดคล้องกับความคดิ เห็นของคนที่ 5, 6 ที่ไดก้ ล่าวไว้ในลกั ษณะเดยี วกัน คนที่ 3 ได้กล่าววา่ “…เรยี นสนกุ ตื่นเตน้ เข้าใจง่าย จาคาศพั ท์เร็ว...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 7, 9 ท่ีได้กล่าวไว้ในลกั ษณะเดียวกนั หลงั ทาการสมั ภาษณ์ กลมุ่ ทดลองแบบหน่งึ ต่อสาม เรยี บรอ้ ยแล้วผูว้ จิ ัยไดน้ าความคดิ เห็นของผเู้ รียนจากการสัมภาษณ์ไป ปรบั แกแ้ ลว้ นามาทดลองใหม่ในกลมุ่ ทดลองภาคสนาม จานวน 24 คน คนท่ี 1 ได้กลา่ ววา่ “…คาศัพทง์ ่าย เรยี นสนุก เขา้ ใจง่าย...” ซึง่ สอดคลอ้ งกับความคิดเหน็ ของคนท่ี 6, 12, 14, 15, 22, 24 ทไ่ี ด้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดียวกนั คนท่ี 2 ได้กลา่ วว่า “…คาศัพท์งา่ ย เรียนสนุก เข้าใจง่าย จางา่ ย ...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนท่ี 5, 13, 16 ทีไ่ ด้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดยี วกนั คนท่ี 3 ได้

98 กล่าวว่า “…เรยี นสนุก จาคาศัพทเ์ ร็ว...” ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั ความคิดเหน็ ของคนท่ี 7, 11, 12, 22, 24 ทีไ่ ด้กล่าวไว้ในลักษณะเดียวกัน คนที่ 4 ได้กลา่ วว่า “…ต่นื เตน้ เรยี นสนุก จาศพั ท์เร็วมาก...” ซง่ึ สอดคล้องกับความคิดเห็นของคนท่ี 8, 9, 10, 17, 20, 21 ท่ีได้กล่าวไวใ้ นลกั ษณะเดยี วกัน 2.3 บทเรียน Augmented Reality Code มปี ระโยชน์สามารถนาไปใช้ใน ชวี ิตประจาวนั ได้ ดังปรากฏในคาสมั ภาษณต์ อ่ ไปนี้ กลุ่มทดลองแบบหนึง่ ต่อหนึง่ จานวน 3 คน คนท่ี 1 ได้กล่าววา่ “…คาศัพท์ง่าย สามารถเอาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้...” คนที่ 2 ได้กลา่ ววา่ “…คาศัพท์งา่ ย สนุก สามารถเอากลบั ไปสอนน้องที่บ้านได้...” คนที่ 3 ไดก้ ลา่ ววา่ “…คาศพั ท์งา่ ย สามารถสอนเพอ่ื นๆ ได้ ใชพ้ ูดกับคณุ ครไู ด้ดว้ ย...” หลังทาการสมั ภาษณ์กลุ่มทดลองแบบหนึ่งตอ่ หนง่ึ ผวู้ จิ ัยไดน้ าความคดิ เหน็ ของผูเ้ รียนจากการสัมภาษณ์ไปปรับแก้แล้วนามาทดลองใหมใ่ นกลุ่มทดลอง แบบหนง่ึ ต่อสาม จานวน 9 คน คนที่ 1 ได้กลา่ วว่า “…คาศัพท์งา่ ย กลับไปสอนน้องได้...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนท่ี 8, 9 ที่ได้กลา่ วไวใ้ นลกั ษณะเดียวกนั คนท่ี 2 ได้กลา่ ววา่ “…สามารถพูดประโยคง่ายๆ กบั คุณครู และเพือ่ นได.้ ..” ซง่ึ สอดคลอ้ งกับความคิดเห็นของคนท่ี 4, 7 ที่ไดก้ ล่าวไวใ้ นลักษณะเดยี วกัน คนที่ 3 ได้กล่าววา่ “…คาศัพทง์ า่ ย ประโยคพูดส้ันๆ สามารถพดู ได้ กบั เพ่ือนๆ ในโรงเรยี น...” ซึง่ สอดคล้องกบั ความคดิ เหน็ ของคนท่ี 5, 6 ทไี่ ด้กล่าวไว้ในลักษณะ เดยี วกัน หลังทาการสมั ภาษณ์กลมุ่ ทดลองแบบหนงึ่ ตอ่ สาม เรียบร้อยแลว้ ผู้วจิ ยั ไดน้ าความคดิ เหน็ ของ ผู้เรียนจากการสมั ภาษณ์ไปปรบั แก้แลว้ นามาทดลองใหม่ในกลุ่มทดลองภาคสนาม จานวน 24 คน คนท่ี 1 ได้กล่าววา่ “…สามารถพดู ประโยคง่ายๆ กบั เพ่ือนได้...” ซ่งึ สอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคน ท่ี 8, 13, 18, 19, 23 ที่ไดก้ ล่าวไวใ้ นลักษณะเดียวกนั คนท่ี 2 ไดก้ ล่าววา่ “…เรียนเสร็จกลับบ้าน สามารถไปสอนน้องไดด้ ว้ ย...” ซงึ่ สอดคล้องกับความคดิ เห็นของคนที่ 6, 12, 20, 24 ที่ได้กล่าวไวใ้ น ลกั ษณะเดยี วกัน คนท่ี 3 ได้กลา่ วว่า “…เม่อื พบคุณครู คุณครูถามสามารถตอบได้ในประโยคงา่ ยๆ...” ซึง่ สอดคล้องกบั ความคิดเห็นของคนที่ 7, 9, 10, 15, 22 ทไ่ี ด้กล่าวไว้ในลักษณะน้ีเดียวกัน คนท่ี 4 ได้ กล่าววา่ “…สามารถนามาบอกความชอบของตวั เองให้คุณครู เพ่ือน เป็นภาษาจีนแบบง่ายๆ ได้...” ซึ่งสอดคล้องกบั ความคิดเหน็ ของคนที่ 5, 11, 14, 16, 17, 21 ท่ไี ดก้ ลา่ วไวใ้ นลักษณะเดียวกัน

99 บทท่ี 5 สรปุ และอภิปรายผลการวจิ ัย การวิจัยครง้ั นีไ้ ด้กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ สมมติฐาน วิธดี าเนนิ การวิจัยเครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย การวเิ คราะห์ขอ้ มูล สรุปผลการวิจัย การอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะในการวจิ ัย ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังต่อไปน้ี วัตถุประสงคข์ องการวิจัย 1. เพ่อื พัฒนาบทเรียน AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พื้นฐาน สาหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ให้มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพอื่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นก่อนและหลงั การจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน สาหรับนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อบทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน สาหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 4. เพอ่ื ศึกษาความคงทนในการเรยี นรคู้ าศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐานของผเู้ รยี นทีเ่ รียนโดยใช้ บทเรยี น AR Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 5. เพอื่ รวบรวมความคิดเห็นของผเู้ รียนทีม่ ีต่อบทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐาน สมมติฐานของการวิจัย 1. บทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรู้ของนักเรียนหลังการจดั การเรียนรู้สูงกวา่ กอ่ นการจดั การ เรียนรู้โดยใช้บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจีนพ้นื ฐาน สาหรบั นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 3. ผู้เรยี นทเี่ รียนโดยใช้บทเรยี น AR Code เร่อื งคาศพั ท์ภาษาจีนพืน้ ฐาน มีความพึงพอใจ ในการเรยี นรคู้ าศพั ท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน อยใู่ นระดับมากถงึ ที่สุด 4. ผเู้ รยี นท่เี รียนโดยใช้บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพืน้ ฐาน จะมคี วามคงทน ในการเรียนร้คู าศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐานสูงการกลุ่มทเี่ รียนแบบปกติ

100 ขอบเขตของการวิจยั 1. ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คือ ผเู้ รียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2558 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกดั เทศบาลเมืองปัตตานี จานวน 66 คน 2. กลมุ่ ตัวอย่าง กลุม่ ตวั อย่างทใี่ ช้ในการวิจัย คือ ผเู้ รียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2558 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร สังกัดเทศบาลเมอื งปัตตานี จานวน 30 คน ทไ่ี ด้มาโดยการเลือกแบบสมุ่ ตวั อยา่ งแบบง่าย (Simple Random Sampling) 3. แบบแผนการวิจยั รูปแบบการวิจยั ในคร้งั น้ีเป็นการวจิ ยั แบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ประกอบด้วยการวิจยั เชงิ ปริมาณและการวจิ ัยเชิงคุณภาพ ในการวิจยั เชิงปริมาณดาเนนิ การวิจัยแบบ One - group Pretest – Posttest Design (ลว้ น สายยศและองั คณา สายยศ, 2538) ในส่วนการ วิจัยเชิงคุณภาพจะใช้แบบสงั เกตและสัมภาษณ์ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4. ตวั แปรที่ใช้ในการศึกษา 4.1 ตัวแปรท่ีใชใ้ นการวจิ ัยเชิงปริมาณ ประกอบด้วย 4.1.1 ตวั แปรอสิ ระ คือ บทเรยี น Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพท์ ภาษาจีนพ้ืนฐาน 4.1.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ 4.2.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรายวชิ าภาษาจีนหลงั เรียนโดยใช้บทเรียน Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจีนพืน้ ฐาน 4.2.1.2 ความพึงพอใจในการเรยี นโดยใช้บทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน 4.2.1.3 ความคงทนในการเรียนรคู้ าศัพท์ภาษาจีนของผ้เู รียนหลงั เรียน ด้วยบทเรยี น Augmented Reality Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจนี พนื้ ฐาน

101 4.2 ตวั แปรทีใ่ ช้ในการวจิ ัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย 4.2.1 ความคดิ เหน็ ของผู้เรยี นหลังเรยี นดว้ ยบทเรยี น Augmented Reality Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ในดา้ นการสรา้ งส่ือบทเรียน 4.2.1.1 ภาพ ความคมชดั ของบทเรียน Augmented Reality Code 4.2.1.2 การออกเสยี งที่ชัดของตัวบทเรยี น Augmented Reality Code 4.2.1.3 ความสวยงาม น่าอา่ นของบทเรยี น Augmented Reality Code 4.2.2 ความคดิ เห็นของผเู้ รยี นหลงั เรียนดว้ ยบทเรยี น Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีนพืน้ ฐาน ในดา้ นบทเรยี น 4.2.2.1 บทเรียน Augmented Reality Code สร้างความน่าสนใจ ในการเรยี นรู้ 4.2.2.2 บทเรยี น Augmented Reality Code เกดิ การเรียนรูใ้ นเน้อื หา ไดเ้ ร็วข้นึ 4.2.2.3 บทเรยี น Augmented Reality Code มปี ระโยชน์สามารถ นาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้ เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย วจิ ยั เชิงปรมิ าณ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั เชงิ ปรมิ าณ ประกอบดว้ ยเครอื่ งมอื ที่ใช้ในการทดลองและเคร่ืองมือท่ี ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยมรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี 1. แผนการจัดการเรยี นการสอนเพื่อใช้ประกอบการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ บทเรยี น AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน จานวน 4 แผน ใช้เวลาสอนแผนละ 3 ชั่วโมง รวม 12 ชว่ั โมง โดยผ่าน ผ้เู ชย่ี วชาญตรวจสอบ จานวน 3 ทา่ น ในการประเมินบทเรียน AR Code เรอื่ งคาศพั ท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน 2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เปน็ แบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรยี น มลี ักษณะเปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนดิ 4 ตวั เลือก จานวน 30 ข้อ

102 2.2 แบบทดสอบระหว่างเรียน มลี กั ษณะเปน็ แบบทดสอบอัตนัย แบ่งออกเป็น 4 หมวดๆ ละ 5 ชุดๆ 10 ขอ้ 2.3 บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พน้ื ฐาน ซง่ึ ใชเ้ กณฑ์การประเมินแบบ Rubric โดยผ่านผเู้ ชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา จานวน 3 ท่าน ในการประเมนิ บทเรียน AR Code เร่อื งคาศพั ทภ์ าษาจีนพ้ืนฐาน 2.4 แบบทดสอบแบบทดสอบวดั ความคงทนในการเรยี นร้คู าศัพทภ์ าษาจีน เป็น แบบทดสอบฉบับเดียวกันกับแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาจีน แต่นามาจัดเรียงลาดับใหม่ 2.5 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่เี รยี นด้วยบทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศพั ท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน จานวน 15 ขอ้ วิธีดาเนินการวจิ ยั ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการวจิ ยั โดยแบ่งเปน็ 2 ส่วน คอื ส่วนที่ 1 เป็นการทดลองเพ่ือหาประสทิ ธภิ าพ ของบทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสรใหอ้ ยูใ่ นเกณฑ์ 80/80 ส่วนที่ 2 เป็นการ ทดลองเพ่อื เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรู้คาศพั ทภ์ าษาจีนพนื้ ฐานท่เี รียนดว้ ยบทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน กอ่ นเรียนและหลังเรยี น เพื่อศกึ ษา ความสามารถในการเรียนรู้คาศพั ท์และความคงทนในการเรียนรคู้ าศพั ท์ภาษาจีนพ้ืนฐานของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 ที่เรยี นดว้ ยบทเรยี น Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจีน พนื้ ฐาน และเพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจในการเรียนด้วยบทเรียน Augmented Reality Code เรื่อง คาศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐาน โดยสรุปการดาเนนิ การทดลองได้ดงั นี้ 1. ดาเนนิ การทดลองเพ่ือหาประสทิ ธิภาพของบทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื ง คาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐานใหไ้ ด้ตามเกณฑ์ 80/80 1.1 ขน้ั เตรียมการ 1.1.1 จดั เตรยี มส่ือ อปุ กรณ์และความพรอ้ มของการใชง้ าน 1.1.2 จดั เตรยี มสอนทีส่ าหรับการสอนดว้ ยบทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน 1.2 ขน้ั ดาเนนิ การพัฒนา 1.2.1 ทาการสอนคาศัพท์ภาษาจนี พ้นื ฐานด้วยบทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน เป็นการทดลองแบบหนง่ึ ต่อหน่ึง เพือ่ ตรวจสอบหา

103 ข้อบกพร่องของบทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจีนพื้นฐานในด้านตา่ งๆ โดยดาเนินการทดลองกับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีไมใ่ ชก่ ลมุ่ ตัวอยา่ ง จานวน 3 คน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2558 โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สงั กัด เทศบาลเมืองปัตตานี ดาเนินการสอนตามข้ันตอนซงึ่ ระบุไวใ้ นแผนการสอน 1.2.2.นาข้อมลู ท่ีไดม้ าทดลองแบบหน่งึ ตอ่ หน่ึง มาปรับปรุงแกไ้ ข ขอ้ บกพร่องของบทเรียน Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจีนพ้นื ฐาน 1.2.3 ทาการสอนคาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐานด้วยบทเรยี น Augmented Reality Code เรือ่ งคาศพั ท์ภาษาจีนพื้นฐาน เป็นการทดลองแบบหนงึ่ ต่อสาม เพือ่ หาประสิทธภิ าพ ของบทเรยี น Augmented Reality Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจนี พนื้ ฐานให้ไดต้ ามเกณฑ์ 80/80 โดย ดาเนินการทดลองกับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ท่ีไมใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อยา่ งทีเ่ ปน็ ตวั แทนของกลุ่มประชากร จานวน 9 คน โดยเลือกนักเรียนท่ีเรยี นอยู่ในระดบั เรยี นเก่ง 3 คน ปานกลาง 3 คน และอ่อน 3 คน โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาล เมอื งปัตตานี ดาเนนิ การสอนตามขั้นตอนซึง่ ระบไุ ว้ในแผนการสอน 1.2.4 นาขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการทดลองแบบหนึง่ ต่อสาม มาวเิ คราะหผ์ ลเพอ่ื หา ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 หากไมผ่ า่ นให้ปรบั ปรงุ 1.2.5 นาขอ้ มูลท่ีได้จากการทดลองแบบภาคสนาม โดยมีกลมุ่ ทดลอง จานวน 24 คน ซึ่งเป็นนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ไมใ่ ช่กลุม่ ตัวอย่าง เพ่ือมาวเิ คราะหผ์ ลเพ่ือหา ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 1.3 ขัน้ การดาเนินการทดลอง ดาเนนิ การทดลองกับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2558 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมืองปัตตานี ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างและเป็น ตัวแทนของกลมุ่ ประชากร จานวน 30 คน ตามขน้ั ตอนดังต่อไปนี้ 1.3.1 จดั เตรียมเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการทดลอง คือ บทเรยี น Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจีนพื้นฐาน 1.3.2 กาหนดระยะเวลาในการทดลองเพ่อื การนัดหมายกบั กลุ่มประชากร และตดิ ต่อขอความอนุเคราะหก์ ับผอู้ านวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมอื งปัตตานี เพือ่ อนุญาตใช้หอ้ งเรียนในการทดลอง 1.3.3 ดาเนินการจัดเตรยี มสถานที่ ที่จะใช้รวมถึงอปุ กรณ์ท้ังหมดใหพ้ ร้อมท่ี จะใชง้ าน และติดต้ังบทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พนื้ ฐานท่ีใชใ้ นการ ทดลอง ดาเนินการสอนตามขั้นตอนซ่งึ ระบุไว้ในคู่มือการใช้ส่ือ

104 1.3.4 ดาเนนิ การสอนคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐานด้วยบทเรียน Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน เพอ่ื หาประสิทธภิ าพของบทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศพั ท์ภาษาจนี พ้นื ฐานให้ได้ตามเกณฑ์ 80/80 โดยดาเนินการทดลองกับ นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/1 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร สังกดั เทศบาลเมืองปัตตานีซ่ึง เป็นกลมุ่ ตัวอย่าง จานวน 30 คน ดาเนินการสอนตามขัน้ ตอนซงึ่ ระบุ ไว้ในแผนการสอน 1.4 ขั้นหลังการทดลอง 1.4.1 นาขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการทดลอง มาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของ บทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศพั ท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน 1.4.2 นาข้อมลู ท่ีได้จากการทดลองมาวเิ คราะห์เพือ่ หาประสิทธภิ าพให้ได้ ตามเกณฑ์ 80/80 2. การดาเนนิ การวจิ ัยเพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์กิ ารเรียนรู้คาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐานของ นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 ท่เี รียนดว้ ยบทเรยี น Augmented Reality Code เรอื่ งคาศพั ท์ ภาษาจีนพืน้ ฐานระหวา่ งก่อนเรยี นและหลงั เรยี น เพ่ือศึกษาความสามารถในการเรยี นรู้คาศพั ท์ ภาษาจนี พืน้ ฐานและความคงทนในการเรียนรู้คาศัพทภ์ าษาจนี ของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรยี น Augmented Reality Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐาน และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ท่เี รียนด้วยบทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐาน โดยดาเนนิ การ ทดลองกับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร ทเ่ี ปน็ กลมุ่ ตัวอยา่ งซึ่งเปน็ ตวั แทนของประชากร จานวน 30 คน ดงั นี้ 2.1 หลังสน้ิ สดุ การเรยี นการสอน ให้นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ที่เป็นกลุ่ม ตวั อยา่ งทาแบบทดสอบผลสมั ฤทธก์ิ ารเรยี นรู้ทันที จานวน 30 ขอ้ นาข้อมูลทไี่ ด้มาวิเคราะห์ ผลทางสถติ ิ 2.2 วดั ผลการเรยี นรอู้ ีกคร้ังหลงั เสร็จการวัดผลการเรยี นในขอ้ ท่ี 2.1 โดยทิ้งชว่ ง 2 สัปดาห์ เพอ่ื วัดความคงทนในการเรยี นรขู้ องนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาที่ 3 ทีเ่ รยี นดว้ ยบทเรียน AR Code คาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ดว้ ยแบบทดสอบวัดความคงทนในการเรียนรู้คาศัพท์ภาษาจีน พ้ืนฐาน 2.3 วดั ความพึงพอใจของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทเี่ รยี นด้วยบทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน ด้วยแบบสอบถามวดั ความพงึ พอใจของผู้เรียนท่ีมีตอ่ การ เรียนโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจนี พืน้ ฐาน โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สงั กดั เทศบาลเมืองจงั หวดั ปตั ตานี 2.4 หลงั จากให้นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทาแบบทดสอบวัดความคงทนในการ เรยี นรูค้ าศพั ท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐานท่ีได้จากการ

105 ทดลองมาเปรยี บเทียบกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรูค้ าศพั ท์ภาษาจนี พ้นื ฐานของการทดลองหลังเรยี น เพอ่ื ดผู ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรู้คาศพั ทภ์ าษาจนี พืน้ ฐานของการทดสอบหลงั เรยี นวา่ เพม่ิ ขึ้นหรือลดลง การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากการดาเนินการวจิ ัย ผูว้ จิ ัยดาเนินการวิเคราะหข์ ้อมูลดงั น้ี 1. หาประสทิ ธภิ าพของบทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน โดยหาร้อยละของคะแนนระหวา่ งเรยี นเฉลยี่ เม่ือเปรียบเทียบกับคะแนนเตม็ แล้วนาไปเปรยี บเทยี บ กับเกณฑร์ ้อยละ 80 2. หาความกา้ วหน้าทางการเรยี นร้ขู องนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยเปรยี บเทยี บ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐานที่ไดจ้ ากการทดสอบระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรยี น โดยการทดสอบคา่ ที (t-test) เพอื่ ทดสอบสมมติฐานข้อที่ 2 3. หาความพงึ พอใจในการเรียนรูค้ าศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน โดยใช้แบบสอบถามความพงึ พอใจ ของผู้เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองจงั หวดั ปัตตานี ทม่ี ีต่อการเรียนโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เรือ่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพ้นื ฐาน 4. หาความคงทนในการเรียนของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ทเ่ี รยี นดว้ ยบทเรยี น Augmented Reality Code เรื่องคาศพั ทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน โดยการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนร้คู าศพั ท์ภาษาจนี พืน้ ฐานจากการทดสอบหลงั เรียนกับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรูค้ าศัพท์ภาษาจีน พื้นฐานทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบหลังเรยี นเวน้ 2 สปั ดาห์ โดยการทดลองค่าที (t-test) เพ่ือทดสอบ สมมติฐานขอ้ ท่ี 4 วจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ ข้อมลู สาคัญ (Key informants) ไดแ้ ก่ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 ทไ่ี มใ่ ชก่ ลุ่มตัวอยา่ ง ทนี่ ามาทดลองแบบ หนึ่งตอ่ หน่งึ จานวน 3 คน ท่ีนามาทดลองแบบหนึ่งต่อสาม จานวน 9 คน และท่นี ามาทดลอง ภาคสนาม จานวน 24 คน รวมท้งั ส้ิน 36 คน ซ่งึ ไดม้ าโดยการเลอื กแบบเจาะจง เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยวิธีการสังเกตและสัมภาษณ์

106 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ผู้วิจัยเก็บรวบรวมขอ้ มูลตามลาดับข้ันตอน ดังนี้ 1. เม่อื ผเู้ รยี นทีเ่ ป็นกลุ่มทดลองแบบหน่งึ ต่อหนึ่งและกลมุ่ ทดลองแบบหนึ่งต่อสามมกี าร เรยี นรู้ดว้ ยบทเรยี น AR Code คาศพั ท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน เรียบรอ้ ยแล้ว ผู้วิจยั ดาเนนิ การเก็บข้อมูล ด้วยตนเอง โดยการสมั ภาษณ์ แบบก่ึงโครงสร้าง (Semi-structured interview protocol) ผู้ให้ ข้อมูลสาคัญ (Key informants) ไดแ้ ก่ นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2558 ท่ไี มใ่ ช่กลุ่มตวั อย่าง ทีน่ ามาทดลองแบบ หนงึ่ ต่อหนึ่ง จานวน 3 คน แบบหน่ึงตอ่ สาม จานวน 9 คน และแบบภาคสนาม จานวน 24 คน รวมทง้ั ส้นิ 36 คน 2. ระหว่างการสมั ภาษณ์ผวู้ จิ ัยมกี ารจดบันทึก เพ่ือเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3. บันทึกข้อมลู และอ่านทวนขอ้ มลู ที่ถกู บันทึกให้ผใู้ หข้ อ้ มูลฟังอีกครง้ั เพ่ือความถูกต้อง การวิเคราะหข์ อ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วจิ ัยดาเนนิ การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการวิเคราะหเ์ ชิงเน้ือหา (Content analysis) ซง่ึ ดาเนินการตามขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. นาขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสมั ภาษณม์ าวเิ คราะห์ เรยี บเรียงและสรุปและจดบนั ทึกใหม่ 2. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ทผี่ ู้วจิ ัยได้ดาเนนิ การสัมภาษณ์ในหัวข้อตามแบบ สัมภาษณ์กง่ึ โครงสรา้ ง (Semi-structured interview protocol) ทผ่ี ู้วิจัยสรา้ งข้ึน โดยนาส่งข้อมลู ที่ ไดจ้ ากการสมั ภาษณใ์ หผ้ ู้เชยี่ วชาญเพื่อตรวจสอบอีกครงั้ หนึ่ง 3. ทาการวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยผู้วจิ ยั ไดศ้ กึ ษาข้อมลู ในการสัมภาษณ์อยา่ งละเอยี ด โดยมีการ จบั ใจความหลักๆ และจาแนกชนดิ ข้อมูล (Typological analytic) คือ จาแนกขอ้ มูลท่ไี ดเ้ ป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมของข้อมลู โดยผู้วจิ ัยทาการวเิ คราะห์ข้อมูลจากส่วนย่อยๆ (Segment) กอ่ นแล้ว จึงพจิ ารณาส่วนย่อยที่คล้ายๆ กันหรือประเภทเดียวกนั มารวมกนั จัดเป็นประเด็นรวม (Topic) และ เมื่อหลายประเดน็ รวมกันเป็นกล่มุ (Categories) จากน้นั ผู้วิจยั มีการจัดระบบข้อมูลแต่ละประเภท เพ่อื พิจารณาเช่ือมโยงความเหมอื นและแตกต่างของความคิดเห็นจากน้ันมีการนาเสนอข้อคน้ พบใน รปู แบบการบรรยาย (Descriptive) ของความคิดเห็นท่ีมตี ่อบทเรียน AR Code คาศัพท์ภาษาจีน พนื้ ฐาน สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

107 สรุปผลการศกึ ษา การวิจัยเรือ่ งผลของการใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพท์ ภาษาจีนพืน้ ฐานสาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สรปุ ผลได้ดังน้ี ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเรื่องผลการใช้บทเรียน Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพท์ ภาษาจนี พน้ื ฐาน สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สงั กดั เทศบาลเมอื งปัตตานี ปรากฏผลดังนี้ 1. ผลการพฒั นาบทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีน พื้นฐาน สาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สังกดั เทศบาล เมอื งปัตตานี มปี ระสิทธิภาพเทา่ กบั 80.97/81.00 ซ่งึ สงู กว่าเกณฑ์ 80/80 ท่ีตง้ั ไว้ 2. ผลการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้ความสามารถในการเรียนด้วย บทเรยี น Augmented Reality Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐาน สาหรับนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาลเมอื งปัตตานี ผลการศึกษาพบวา่ คา่ เฉลีย่ ของผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรู้ก่อนเรียนคาศัพทภ์ าษาจนี พ้นื ฐานเทา่ กบั 8.1 มีส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากบั 2.59 และคา่ เฉลย่ี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรูห้ ลังเรยี นคาศัพท์ ภาษาจนี พ้ืนฐานเท่ากับ 24.30 มสี ว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 1.70 เม่ือเปรียบเทยี บค่าเฉล่ยี ของ ผลสมั ฤทธิก์ ารเรียนร้คู าศพั ท์ภาษาจีนพน้ื ฐานเฉลย่ี ก่อนเรียนคาศัพทภ์ าษาจนี กับผลสัมฤทธท์ิ างการ เรยี นรู้คาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐานเฉล่ียหลังเรยี นคาศัพท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน สรุปได้วา่ ผลสมั ฤทธิท์ างการ เรียนรคู้ าศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐานหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .000 ซึง่ สอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจัย 3. ผลความพงึ พอใจของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ท่ีมีตอ่ การเรยี นโดยใช้แบบ ฝกึ เสริมทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมืองปตั ตานี โดยภาพรวมแลว้ นกั เรียนมคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สุด โดยมีค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 4.51 4. ผลการศกึ ษาความคงทนในการเรียนรู้คาศัพท์ของผ้เู รียนท่เี รยี นดว้ ยบทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศพั ท์ภาษาจนี พื้นฐาน สาหรบั นักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรู้ คาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐานหลังเรียนที่ไดจ้ ากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นรู้คาศัพท์ ภาษาจีนพน้ื ฐานมีค่าเฉล่ยี เทา่ กบั 8.1 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 2.59 และผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนรู้คาศพั ท์ภาษาจีนพื้นฐานหลงั เรียน 2 สัปดาห์ที่ได้จากการทาแบบทดสอบวัดความคงทนในการ

108 เรยี นรูค้ าศพั ท์ภาษาจีนพืน้ ฐานมีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 24.93 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 1.66 เมือ่ เปรยี บเทียบค่าเฉล่ยี ของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรคู้ าศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐานเฉลี่ยหลงั เรียนกบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรู้คาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐานเฉล่ียหลังเรียน 2 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบวา่ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ของผู้เรียนทีเ่ รียนโดยใชบ้ ทเรียน AR Code คาศัพท์ ภาษาจีนพื้นฐาน หลงั ผ่านไป 2 สปั ดาห์เพมิ่ ข้นึ ไม่แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติ 5. ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ท่เี รยี นโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เรือ่ งคาศพั ทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน ท่ไี ด้จากการสังเกตและสมั ภาษณ์ ในด้านสอื่ พบว่า นักเรียนมคี วามคดิ เหน็ ว่า ชอบ ภาพสวย มีความชัด การ์ตนู สวย เสยี งชัดเจน สีสนั สวยงาม น่าอา่ น นกั เรยี นมีสีหน้าย้มิ แย้ม มีความสขุ มคี วามตืน่ เตน้ ในส่วนการสงั เกตและสมั ภาษณ์ แสดงความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 ทเ่ี รียนโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พื้นฐาน ในดา้ นบทเรียนพบว่า นักเรยี นมคี วามคิดเหน็ ว่า บทเรียนมคี วาม นา่ สนใจ สสี วยงาม การต์ ูนสวย เรยี นสนุก คาศพั ทง์ า่ ย เข้าใจง่าย จาคาศัพท์ได้ง่ายและรวดเรว็ เร็ว แบบทดสอบสนุก นกั เรียนสามารถเอาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ บางคนสามารถเอากลบั ไปสอนนอ้ งท่ี บ้านได้ นักเรียนสามารถสอนเพ่อื นๆ ได้ สามารถพูดประโยคงา่ ยๆ กบั คุณครู และเพอ่ื นในโรงเรยี นได้ เม่ือพบคุณครู คณุ ครถู ามสามารถตอบไดใ้ นประโยคงา่ ยๆ นักเรียนสามารถบอกความชอบของตวั เอง เป็นภาษาจนี แบบง่ายๆ ได้ การอภิปรายผล การวิจัยในครง้ั นมี้ ีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการเรียนรคู้ าศัพท์ภาษาจีนพื้นฐาน ความคงทนในการจาศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐานและความพึงพอใจในการเรียนด้วยบทเรยี นบทเรียน Augmented Reality Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐานสาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 วเิ คราะห์ข้อมลู และสามารถอภปิ รายผลไดด้ งั น้ี 1. บทเรยี น Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน มปี ระสทิ ธิภาพตาม เกณฑ์ 80/80 ผลการศึกษาพบว่า บทเรียน AR Code เรือ่ งคาศพั ท์ภาษาจีนพ้นื ฐานมีประสิทธภิ าพตาม เกณฑ์ 80/80 ซ่ึงสอดคล้องกับสมมตฐิ านที่ต้ังไว้ ทเ่ี ป็นเช่นนีอ้ าจเป็นเพราะการพฒั นาบทเรียน AR Code เรือ่ งคาศพั ท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน ไดค้ านึงถงึ การเรียนร้ตู ามทฤษฎขี อง Bruner (1963 อ้างถึงใน สมุ าลี ชัยเจริญ, 2551) ท่ีว่ามนษุ ย์ทุกคนต่างมพี ัฒนาการความรู้ ความเข้าใจ โดยผ่านกระบวนการทเ่ี รียกวา่ Acting, Imagine และ Symbolizing ซึ่งอยใู่ นขน้ั พัฒนาการทาง ปัญญาคือ Enactive, Iconic และ Symbolic Representation ซึง่ เป็นกระบวนการท่เี กิดขนึ้ ตลอด

109 ชวี ติ มใิ ชเ่ กิดข้นึ ชว่ งใดชว่ งหนงึ่ ของชีวติ เทา่ นน้ั Bruner กลา่ วอีกว่าการพฒั นาทางสมองด้วย การกระทาดว้ ยตนเอง การพัฒนาทางความคิด จะเกดิ จากการมองเห็นและการใช้ประสาทสัมผัสแล้ว ผเู้ รยี นสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ต่างๆ เหลา่ น้ันดว้ ยการมีภาพในใจแทน ผูเ้ รยี นทีโ่ ตขึน้ ก็จะ สามารถสรา้ งภาพแทนใจได้มากขน้ึ ละเอยี ดขึ้นตามประสบการณ์ ดงั บทเรยี น AR Code เรือ่ งคาศพั ท์ ภาษาจนี พ้นื ฐาน สาหรบั นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 สามารถสร้างแรงจงู ใจให้แก่ผู้เรียน ด้วยสีสนั และภาพทีส่ วยงาม ทาใหผ้ ู้เรียนเกิดความสนใจในการเรยี นรู้ กอ่ ใหเ้ กิดความรสู้ กึ ชอบ มีเจตคติทด่ี ีต่อ การเรียนรายวชิ าภาษาจีน บวกกบั การนาเทคโนโลยี AR Code เข้ามาใชเ้ ปน็ ส่ือการเรยี นการสอน ซ่งึ ยงั เปน็ ส่ิงใหม่สาหรับผ้เู รียน ทาใหผ้ เู้ รยี น สนกุ สนานกบั การเรยี นรู้ เกดิ ความประทับใจในการเรยี น สง่ิ เหล่าน้เี ปน็ สญั ญาณที่ดี เพราะนน้ั หมายถึงผ้เู รียนได้ทาการเปดิ ใจรับและพร้อมทจ่ี ะเรียนรู้คาศพั ท์ ภาษาจีน เมอื่ ผู้เรยี นไดเ้ รยี นบทเรยี น AR Codeเร่อื งคาศัพทภ์ าษาจีนพืน้ ฐาน ท่ีมีภาพและข้อความให้ ผเู้ รียนเกดิ ภาพแทนใจในเกดิ การเรยี นรู้ ความเขา้ ใจทด่ี ี ซ่งึ นาไปสคู่ วามคงทนในการเรียนรู้ เกิด ความจาจากการมองเห็น เป็นความจาที่เกิดจากการเรียนรู้ รบั รู้ และสมั ผัสทางสายตาซง่ึ ความจาท่ี เกิดขน้ึ นี้เปน็ เพียงความจาระยะสนั้ ผู้เรียนจะสามารถรบั รู้ขอ้ มลู ไดเ้ กือบทั้งหมดท่ีได้เรียนรู้และสัมผัส แต่จะไมส่ ามารถเกบ็ ข้อมูลไวไ้ ด้ทงั้ หมด จะเลือกเกบ็ ข้อมลู ที่ผเู้ รียนสนใจเท่านัน้ ถา้ ไม่มกี ารยา้ ทวน ความจาท่ไี ดจ้ าคาศพั ทก์ จ็ ะเลอื นหายไปจากความจาระยะส้นั เน่ืองด้วยในบทเรียน AR Code คาศัพทภ์ าษาจีนพ้นื ฐานมีแบบทดสอบระหว่างเรียนเพื่อเป็นการย้า ทวนคาศัพท์ทไ่ี ดเ้ รยี นไปแลว้ การไดล้ งมอื ทาแบบทดสอบระหวา่ งเรยี น มีการคดิ เอง ฝกึ ให้ผู้เรยี นอ่านและฟงั มากๆ ส่ิงเหลา่ น้ีจะ ชว่ ยไปยา้ และกระตนุ้ ความจา ระลกึ ได้ถึงสง่ิ ท่เี รยี นมา เกิดการเชื่อมโยงความรจู้ ากความร้ใู หมท่ ีไ่ ด้ทา แบบทดสอบระหว่างเรียนและความร้เู กา่ ทม่ี ีอยู่ ทาให้ผเู้ รียนเกิดการระลึกได้ นาไปสู่ความจาระยะ ยาวทเ่ี กิดข้นึ แก่ผู้เรียน สาหรับบทเรียน AR Code เรื่องคาศพั ทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน ทผี่ ูว้ จิ ัยได้พฒั นาขนึ้ มปี ระสทิ ธิภาพเทา่ กับ 80.97/86.67 ซ่งึ สงู กว่าเกณฑ์ 80/80 ทตี่ ัง้ ไว้ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยของ กณั ฑรี วรอาจ (2557) จฑุ ามาศ ธัญญเจริญ (2557) วศกร เพ็ชรช่วย (2557) และ ปัญจรัตน์ ทับเปีย (2555) การทบทวนสง่ิ ท่ีจาได้อยู่แล้วซา้ ๆ จะชว่ ยทาให้ผูเ้ รียนเกดิ ความจาถาวรมาก ยิ่งขน้ึ ถ้าได้ทบทวนอยสู่ มา่ เสมอ ความจาระยะยาวกจ็ ะมีการฝ่ังตวั เปน็ ความคงทนในการเรียนรู้ และ สงิ่ เหลา่ นี้สง่ ผลให้บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐานมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผู้เรียนทเ่ี รยี นดว้ ยบทเรียน Augmented Reality Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี น ผลการศึกษาพบวา่ นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ที่เรียนด้วยบทเรยี นAR Code เรื่อง คาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน มผี ลการเรยี นรคู้ าศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐานสงู กวา่ กอ่ นเรียน ซึง่ สอดคล้องกบั สมมตฐิ านทต่ี งั้ ไว้ ท่เี ป็นเชน่ นี้อาจเป็นเพราะผลการเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรู้คาศัพท์ ภาษาจีนพื้นฐานท่เี รยี นด้วยบทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พ้นื ฐานระหวา่ งก่อนเรยี นและ

110 หลังเรยี น ผลการศึกษาพบวา่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนรู้คาศพั ทภ์ าษาจนี พน้ื ฐานหลงั เรียนสงู กวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .00 แสดงวา่ การเรียนดว้ ยบทเรียน AR Code เรื่องคาศพั ท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ชว่ ยใหผ้ ู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนทส่ี ูงขน้ึ นอกจากนีย้ ังพบว่า ผเู้ รียนมีความความสนุกสนาน มเี จตคติทดี่ ี มีความกระตือรอื ร้นในการเรียน มีความเข้าใจในเน้ือหาได้ งา่ ยและเร็วขึน้ นาไปสู่ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่ดี โี ดยใช้บทเรยี น AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจีน พ้นื ฐาน ทาใหผ้ เู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นที่สูงข้นึ สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ กัณฑรี วรอาจ (2557) จฑุ ามาศ ธญั ญเจริญ (2557) วศกร เพ็ชรชว่ ย (2557) ปัญจรัตน์ ทบั เปีย (2555) ซง่ึ ตรงกบั อานาจ ชดิ ทอง (2555) ซึ่งจากผลการศึกษาท่ีกลา่ วมาในข้างตน้ สามารถสรุปได้วา่ บทเรียน AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พื้นฐาน สามารถสรา้ งแรงจงู ใจให้แก่ผเู้ รยี น เนื่องด้วยบทเรียน AR Code มีลกั ษณะที่มีการตอบสนองต่อผู้เรียน ทาใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรยี นท่ีประทบั ใจ เกิดภาพแทนใจ เกิดประสบการณใ์ นการเรยี นรูแ้ ละถ่ายทอดเปน็ สัญลักษณ์จงึ เป็นการเรียนรแู้ ละความเข้าใจทีด่ ขี ึน้ 3. ผู้เรียนทเ่ี รียนด้วยบทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐานมี ความพงึ พอใจในการเรยี นรูค้ าศพั ท์ภาษาจนี พ้นื ฐาน อยู่ในระดบั มาก ผลการศึกษาพบวา่ กลุ่มตัวอย่างซง่ึ เปน็ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาลเมอื งปตั ตานี ทเ่ี รียนโดยใช้ บทเรยี น AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน พบว่านักเรยี นกลุม่ ตัวอย่างจานวน 30 คน มีความ พงึ พอใจในการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน ซงึ่ สอดคล้องกบั สมมติฐานที่ต้งั ไว้ ทเ่ี ปน็ เชน่ น้ีอาจเปน็ เพราะผู้เรียนมีความรู้สกึ ชอบต่อบทเรียน สนกุ สนานในการทาแบบทดสอบระหวา่ งเรียน มเี จตคตทิ ่ีดี ตอ่ การเรยี นภาษาจีน มกี ารเปิดใจรับการเรียนร้ภู าษาจีน ต้ังใจกับการเรยี นบทเรยี น AR Code คาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน อีกทั้งยังร่วมกจิ กรรมต่างๆ มีการแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ระหว่างผูเ้ รียนกับ ผ้เู รยี นและระหว่างผ้เู รียนกบั ผู้สอน ก่อใหเ้ กิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินในการเรียน และยงั ต้องการ ให้ผสู้ อนนาสอื่ การเรยี นการสอน AR Code มาใช้ในการเรียนการสอนเร่ืองอ่ืนๆ อกี ดว้ ย ผลการ วิเคราะห์แบบสอบถามวัดความพงึ พอใจของผู้เรียนทม่ี ตี ่อบทเรยี น AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจีน พน้ื ฐาน โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สังกดั เทศบาลเมอื งจังหวัดปตั ตานี พบว่านักเรยี นกลุม่ ตวั อย่างจานวน 30 คน มีความพงึ พอใจต่อการเรียนทเ่ี รยี นด้วยบทเรยี น AR Code ในการเรยี นรู้ คาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐาน อยใู่ นระดบั ความพึงพอใจมากทส่ี ุด มีคา่ เฉลี่ย 4.51 นอกจากนี้ยังพบวา่ ผ้เู รยี นมีความสนใจในการเรียนวชิ าภาษาจนี ด้วยบทเรียน AR Code มากกว่าการเรยี นแบบปกติ ซึ่งก่อนทผ่ี ู้วจิ ัยไดท้ าการวิจัยในเรอ่ื งนี้ ผู้เรยี นที่เรยี นในรายวชิ าภาษาจีนมคี วามรู้สกึ เบ่ือหนา่ ยไม่อยาก เรียน เนอื่ งจากภาษาจนี เป็นภาษาท่ียาก แตเ่ มื่อผวู้ ิจยั นาบทเรยี น AR Code เข้ามาสอนพบว่าผู้เรียน มวี ่ากระตือรือร้นและสนุกสนานต่อการเรยี นมาก ทาให้ผเู้ รียนมคี วามสุขกับการเรยี นรู้ นาไปสู่การ เรียนรูท้ ่ีดมี ากข้นึ ซ่ึงสอดคล้องกับ กัณฑรี วรอาจ (2557) จฑุ ามาศ ธัญญเจริญ (2557)

111 วศกร เพ็ชรชว่ ย (2557) ปญั จรตั น์ ทบั เปยี (2555) อานาจ ชดิ ทอง (2555) และ สพุ รรณพงศ์ วงษศ์ รเี พ็ง (2554) จากการทดลองขา้ งต้นทง้ั หมดทีก่ ล่าวมาพบว่า บทเรียน AR Code คาศัพทภ์ าษาจีนพืน้ ฐาน สามารถทาให้ผู้เรยี นมีความสนใจ ความพึงพอใจในการเรยี นรู้ ซึ่งทาให้เกิด การเรียนรู้ ความเข้าใจท่ดี ีข้นึ และนาไปสู่การเรียนร้อู ย่างมีความสขุ อีกดว้ ย 4. ผู้เรยี นท่ีเรยี นดว้ ยบทเรียน Augmented Reality Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจีนพ้นื ฐาน จะมคี วามคงทนในการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐานอยู่ได้อย่างน้อย 2 สปั ดาห์ ซึง่ สงู กว่ากลุ่มทีเ่ รียน ภาษาจนี แบบปกติ ผลการศึกษาพบวา่ เม่ือ 2 สัปดาหผ์ ่านไป นกั เรียนยังคงมีความคงทนในการเรียนรู้คาศพั ท์ ภาษาจนี พน้ื ฐาน ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานท่ตี ั้งไว้ ที่เปน็ เชน่ นอ้ี าจเป็นเพราะผลการเปรียบเทียบ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนทีเ่ รยี นดว้ ยบทเรียน AR Code คาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน หลังผา่ นไป 2 สปั ดาห์ ไมแ่ ตกตา่ งกนั ซง่ึ สอดคล้องกบั สมมติฐานท่ีต้ังไวซ้ ่ึงจดุ เดน่ ของบทเรยี น AR Code คาศัพท์ ภาษาจีนพื้นฐาน คือ ผเู้ รียนสามารถทบทวนหรือศึกษาได้อยา่ งสม่าเสมอด้วยตนเอง โดยการยา้ คิด ย้าทา การลงมือทาดว้ ยตนเอง และอาจเปน็ เพราะว่าบทเรียน AR Code เปน็ บทเรียนในรูปแบบใหม่ มีความนา่ สนใจ มีความสวยงาม สนกุ สนานในการเรียนรู้ เกิดการเรียนรใู้ นเนื้อหาไดเ้ ร็วขึ้น จนนาไปสู่ ความเขา้ ใจ จนเกิดการความประทับใจถา่ ยทอดมาเปน็ สัญลักษณ์ เกิดภาพแทนใจ การจาในการ มองเหน็ เปน็ ความจาแบบประสาทสัมผสั เป็นการเปรียบเทียบคาศัพทท์ ปี่ รากฏต่อการเรียนรูท้ าง สายตา เปน็ การเกบ็ ข้อมูลในการมองเหน็ ภาพ คาศพั ท์ภาษาจีนและแปลงรหัสสิง่ ท่มี องเห็น ผู้เรียน อาจแปลงภาพ สัญลักษณ์ รหัสหรอื การจาตัวอักษรจีน ความจาเกิดขึ้นได้จากการระลึกถึงส่งิ ที่เคยเห็น เกดิ จากความตัง้ ใจและความจาในคาศัพทภ์ าษาจนี การเพ่ิมความจาจากการมองเหน็ จะทาใหเ้ ด็ก จดจาได้มากและจะรายระเอียดได้ดีโดยผ่านการมองอย่างเป็นระบบ ซงึ่ ผูเ้ รียนตอ้ งพยายามจา รายละเอียดตัวอกั ษรจนี จากการมองเห็นให้มากขึน้ เพ่ือทีจ่ ะสามารถเปรียบเทยี บกับส่ิงท่ีเห็นซับซ้อน ขนึ้ ผเู้ รยี นบางคนมีความจาท่ีเรว็ และแมน่ ยา ทาใหผ้ เู้ รียนมีพัฒนาการ เกดิ การเรยี นรูเ้ ทคนคิ ต่างๆ ในเทคนิคต่างๆ ในการจาคาศัพท์ และความจาทเี่ กดิ ขน้ึ จะเปน็ ความจาระยะสนั้ เทา่ นน้ั แตก่ ารฝึกฝน ทาซา้ ทวน อย่บู ่อยๆ ในการจาคาศัพท์ และความจาที่เกดิ ขึ้นจะเป็นความจาระยะสน้ั เท่านัน้ แต่การ ฝกึ ฝนทาซ้าอยู่บ่อยๆ จะทาให้ความจาระยะส้นั ฝังตัวกลายเป็นความจาระยะยาวจนกลายเป็นความ คงทนในการเรยี นรู้ ระยะเวลาในการวัดความคงทนในการเรยี นรจู้ ะต้องมีการเวน้ ระยะห่างหลงั การ ทดสอบหลังการจัดการเรยี นการสอนไปแล้วอย่างน้อย 2 สัปดาห์ เพราะช่วงนเ้ี ป็นการฝังตวั ของ ความจาระยะสนั้ เปน็ ความจาระยะยาวและกลายเป็นความคงทนนน่ั เอง เมื่อผ้เู รยี นมีความคงทนใน การเรียนรู้ ผ้เู รียนก็จะสามารถนาส่งิ ท่ีเรียนรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันได้ 5. การรวบรวมความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้บทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน ทไี่ ด้จากการสังเกตและสมั ภาษณ์ ในดา้ น

112 บทเรยี น จากการสังเกตและสมั ภาษณ์การแสดงความคิดเห็นของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทเ่ี รียนโดยใช้บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน ในด้านบทเรยี นพบว่า นักเรียนมีความ คดิ เหน็ ว่าใหม้ กี ารปรบั แกบ้ ทเรียน AR Code เร่ืองคาศพั ท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน ใหม้ ีความต้องการของ ตามความต้องการของตนเอง มีการแสดงความคิดเหน็ เพื่อให้ผวู้ ิจัยไดข้ อ้ มูล เพ่อื จะนาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขในตัวสือ่ บทเรียน AR Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน ใหด้ ีขนึ้ จนเป็นที่น่าพอใจของผเู้ รียน ชอบ ภาพสวย มีความชัด การ์ตูนสวย เสยี งชดั เจน สสี ันสวยงาม นา่ อา่ น นักเรียนมีสหี น้ายม้ิ แยม้ มีความสขุ มีความตนื่ เตน้ เกิดความสุขในการเรยี นรู้ ส่ิงเหล่าน้ีล้วนเปน็ การสร้างแรงจูงใจ การสรา้ ง ส่ือให้น่าสนใจ ส่งผลทาให้ผู้เรียนมคี วามรู้สึกอยากเรียน มีแรงจูงใจในการเรียน นาไปสู่การเรียนรทู้ ่ีดที ่ี จะเกิดข้ึนตอ่ นักเรยี น ในส่วนสังเกตและสมั ภาษณแ์ สดงความคิดเห็นของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่เรยี นโดยใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน ในด้านบทเรียน พบว่า นักเรยี นมีความคิดเหน็ ว่า บทเรยี นมคี วามนา่ สนใจ สีสวยงาม การต์ นู สวย เรยี นสนุก คาศัพท์ ง่าย เขา้ ใจง่าย จาคาศัพท์ไดง้ ่ายและรวดเร็วเรว็ แบบทดสอบสนกุ นกั เรยี นสามารถเอาไปใชใ้ น ชีวิตประจาวันได้ บางคนสามารถเอากลับไปสอนนอ้ งทบี่ า้ นได้ นักเรยี นสามารถสอนเพอื่ นๆ ได้ สามารถพูดประโยคงา่ ยๆ กบั คุณครู และเพ่ือนในโรงเรียนได้ เม่ือพบคณุ ครู คุณครูถามสามารถตอบ ได้ในประโยคง่ายๆ นักเรยี นสามารถบอกความชอบของตัวเองเปน็ ภาษาจีนแบบงา่ ยๆ ได้ นักเรยี นมี ความสขุ ในการเรยี นกบั สหี น้าท่ีย้ิมแย้มแจม่ ใส อารมณด์ ี นักเรียนมีความชอบ สนกุ สนานในการเรยี นรู้ นาไปสู่การเรยี นรู้อยา่ งมีความสขุ และยังสง่ ผลต่อการเรยี นภาษาจนี จากที่เป็นวชิ าทน่ี า่ เบ่ือ เรียนไม่ สนกุ ยาก ไม่อยากเรยี น กก็ ลับกลายเป็นเรื่องงา่ ยสาหรับนักเรยี น เม่อื นักเรยี นเรยี นสนกุ มคี วามสนใจ มีความต้องการทจ่ี ะเรยี น นักเรียนจะมคี วามพยายามทจี่ ะเรียน ซ่ึงสง่ ผลต่อผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรยี นรู้ ของนักเรียนให้ดีขึน้ อีกดว้ ย โดยสรุปแลว้ จะเหน็ ไดว้ า่ การเก็บรวบขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ โดยใชก้ ารสังเกตและสมั ภาษณแ์ สดง ความคิดเหน็ ของผ้เู รยี น ทาให้ผ้วู ิจยั ได้รับความคิดเหน็ ทีเ่ ป็นประโยชนเ์ พื่อไปปรับปรุงแก้ไขสือ่ การ สอนจนออกมาเป็นทีน่ า่ พอใจตอ่ ผเู้ รยี น เม่อื ส่ือออกมาตามความพอใจของผ้เู รยี นแล้ว ผูเ้ รยี นจะมี แรงจูงใจในการเรียน และทาให้ผุ้เรยี นรูส้ ึกดี มเี จตคติทด่ี ีตอ่ บทเรยี น และเมื่อไดส้ ือ่ การเรียนรทู้ เ่ี ปน็ ที่ พึงพอใจของผู้เรียนแลว้ จะส่งผลถึงความสนใจในการเรียน การที่ส่ือมสี สี นั และภาพที่สวยงาม มีการ เรียนรทู้ สี่ นกุ สนาน แปลกใหม่ ส่งผลให้ผู้เรยี นเกดิ ความประทับใจ เรียนรูค้ าศัพทภ์ าษาจีนได้งา่ ยและ เรว็ ขึน้ มีใบหนา้ ทีย่ ้มิ แย้ม เกิดอารมณ์ที่ดี นาไปสู่ความจาที่เกิดจากความประทบั ใจ สนใจ สง่ ผลให้ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนท่ีดีขน้ึ เกดิ ความจาทดี่ ฝี ัง่ ตัวกลายเป็นความคงทนทางการเรยี นรูท้ ต่ี ดิ ทนและสามารถนาคาศพั ท์ที่ไดเ้ รียนมาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั

113 ข้อเสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 กอ่ นนาบทเรยี น Augmented Reality Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พ้นื ฐานไปใชใ้ น การสอน ตอ้ งทาความเข้าใจกับนักเรียนให้ชดั เจน โดยเฉพาะนักเรียนต้องอ่านคาแนะนาให้เขา้ ใจ และปฏิบัติตามคาแนะนา 1.2 ผ้บู รหิ าร ศึกษานิเทศก์ ควรส่งเสริมและสนับสนนุ ให้ครผู ู้สอนจดั กิจกรรมการเรียน การสอนโดยใช้บทเรียน Augmented Reality Code หรอื นวตั กรรมใหมๆ่ มากขนึ้ เพือ่ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อการเรยี นต่อไป 1.3 ครูผ้สู อนควรเตรียมสื่อการเรยี นการสอนท่จี าเป็นให้แก่นกั เรยี น และใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ ใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบระหว่างเรยี น ใหม้ ีจานวนเหมาะสมกับจานวนนักเรยี น 1.4 ครูควรเตรยี มแบบทดสอบระหวา่ งเรียนให้นักเรียนฝกึ ทามากๆ เพื่อเปน็ การทาซ้า ๆ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจมากยิ่งข้ึน 2. ข้อเสนอแนะในการการวจิ ัยคร้งั ตอ่ ไป 2.1 ควรนาแบบบทเรยี น Augmented Reality Code เรือ่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พ้นื ฐาน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สงั กดั เทศบาลเมอื งปัตตานี ไปทดลองหาประสิทธภิ าพกับโรงเรยี นอืน่ ๆ เพื่อจะได้ข้อสรุปผลการศกึ ษากวา้ งขวางมากยิง่ ขนึ้ 2.2 ควรมีการสร้างบทเรยี น Augmented Reality Code ในระดับช้นั ตา่ ง ๆ และเน้ือหา สาระการเรยี นรู้อนื่ ๆ เช่น คณติ ศาสตร์ ศลิ ปะ วทิ ยาศาสตร์ และการงานอาชพี และเทคโนโลยี เปน็ ต้น 2.3 ควรมกี ารเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นระหว่างการใชบ้ ทเรยี น Augmented Reality Code กับวิธสี อนแบบอื่นๆ เชน่ การเรียนโดยการใช้ชุดการสอน การเรยี นโดยใชเ้ กม การเรยี นโดยใชแ้ ผนผงั ความคิด เป็นต้น

114 บรรณานุกรม กณิการ์ พงศ์พนั ธุส์ ถาพร. (2553). พัฒนาการทางการพูดของเดก็ ปฐมวัยท่ีไดร้ ับการจดั กิจกรรม การแสดงประกอบการเลา่ นิทาน. คณะศึกษาศาสตร์ สืบคน้ จาก http://thesis.swu.ac.th/ swuthesis/Ear_Chi_Ed/ Kanika_P.pdf. สบื ค้นเมอ่ื 11 กุมภาพนั ธ์ 2557. กนกอร รน่ื ฤทยั . (2552). ผลการใชบ้ ทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนที่มีผลตอ่ การเรยี นคาศัพท์ ภาษาอังกฤษและความคงทนในการเรียนรู้ของเด็กออทสิ ติก. กรณศี ึกษาโรงเรียนสงขลา พฒั นาปัญญา. ปรญิ ญาศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและสอื่ สารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. กมลรตั น์ หลา้ สวุ งษ์. (2524). จิตวิทยาศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์มหากฎุ ราชวทิ ยาลยั . กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 คมู่ อื พัฒนาสอ่ื การเรยี นรู้. กรุงเทพฯ : คุรุสภา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ. โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กัณฑรี วรอาจ. (2557). การพัฒนาหนงั สืออ่านเพิ่มเติมที่มีความจรงิ เสมือน เร่ืองประเทศสงิ คโปร์ ผา่ น ไอแพด สาหรบั นกั เรียนช้ันมธยั มศกึ ษาปที ี่ 1. ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กาญจนา นาคสกลุ . (2524). การใชภ้ าษา. กรุงเทพฯ : เคลด็ ไทย. กง่ิ แก้ว ทรัพยพ์ ระวงศ์. (2551). จิตวิทยาท่วั ไป. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ. กิดานนั ท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวตั กรรม.กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.

115 เกษมศรี ภทั รภมู ริ ิสกลุ . (2544). การศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นความคงทนในการเรียนและ ความสนใจในการเรียนคณติ ศาสตร์ ของนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ที่ได้รบั การสอน ตามทฤษฎสี รรคนิยม. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร. โกศล มีคณุ . (2551). การวิจัยเชิงปริมาณ ทเ่ี สรมิ ดว้ ย การวิจยั เชิงคณุ ภาพ. วารสารพัฒนาสังคม. สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร ์. 10(1)27- 40. คมกฤช ทพิ ย์เกษร และ สยาม เจริญเสยี ง. 2550. ความจริงเสมือนสาหรับการปรากฏทางไกล. สืบค้นจาก http://www2.fibo.kmutt.ac.th/fiboweb/2013/images/upload/ research/perception_computerinterface/2007_Komkrit_Augmented% 20Reality%20for%20Telepresence%20System.pdf. สืบค้นเมือ่ 17 สงิ หาคม 2557. จติ ราภา กุณฑลบตุ ร. (2550). การวจิ ยั สาหรับนกั วิจยั รุ่มใหม่. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์บริษัท สหธรรมิก จากดั . จิรานวุ ัฒน์ สวัสดนิ์ ะที. (2556). เหลียวหลังแลหนา้ 37 ปี ความสมั พนั ธไ์ ทย-จีน : มุมมองทฤษฎี สรรค์สร้างนิยม-จากมิตรเปน็ ศัตรสู ูม่ ิตร. Veridian E-Journal 6(2). จริ าพร สุขกรง. (2553). ผลสมั ฤทธิ์ความคงทนและเจตคติทางการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาที่ไดร้ บั การสอนโดยใช้เกมและการสอนตามปกติ. สืบค้นจาก https://kb.psu.ac.th. สืบค้นเม่อื 25 มนี าคม 2557. จิราภรณ์ ตงั้ กติ ติภาภรณ์. (2556). จติ วทิ ยาทัว่ ไป. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย จริ าภา เต็งไตรรตั น์. (2542). จติ วิทยาทวั่ ไป. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ _____________. (2543). จิตวทิ ยาท่วั ไป. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. จฑุ ามาศ ธัญญเจริญ. (2557). การพัฒนาหนงั สือภาพความจริงเสมือนผา่ นไอแพด เรอื่ ง ทา่ ราวงมาตรฐาน สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาชั้นปที ่ี 6.ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

116 จฑุ ารัตน์ โตแทน. (2552). แก้ไขปัญหาการออกเสียงพินอินโดยใชช้ ุดฝึกทักษะการอา่ นออกเสยี ง พินอินของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนอัสสัมชญั ธนบรุ ี ปกี ารศึกษา 2552. สบื คน้ จาก http://swis.act.ac.th/html_edu/act/temp_emp_research/713.pdf สบื คน้ เม่ือ 1 ตลุ าคม 2556. ฉัตรสมุ น พฤฒภิ ิญโญ. (2553). เศรษฐศาสตรป์ ระยุกต์: งานสขุ ภาพและสาธารณสขุ . กรงุ เทพฯ : เจรญิ ดมี ัน่ คงการพิมพ์. ชม ภมู ภิ าค. (2526). จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ชวลิต ชูกาแพง. (2550). การประเมนิ การเรยี นรู้. มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ชวาล แพรัตกุล. (2516). เทคนิคการวดั ผล. กรงุ เทพฯ : วฒั นาพานิช. _____________. (2545). เทคนคิ การเขียนขอ้ สอบ. กรงุ เทพฯ : วัฒนาพานชิ . ชยั พร วชิ ชาวธุ . (2520). ความจามนษุ ย.์ กรงุ เทพฯ. แผนกวชิ าจติ วิทยา คณะครุศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ชดิ ชนก เชิงเชาว์. (2550). วธิ ีวิจยั ทางการศึกษา. ปตั ตานี : คณะศึกษาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี. ชตุ สิ นั ต์ เกิดวิบลู ย์เวช. (มปป.). โลกเสมอื นผสานโลกจริง. นิตยสารผจู้ ดั การ 360 องศา ตุลาคม 2544. สืบค้นจาก https://info.got.manager.com/news/printnen.aspx?d สืบคน้ เมือ่ 7 เมษายน 2557. ชชู าติ พ่วงสมจติ ร์. (2555). การวิจยั เชิงคุณภาพ ใน ชุดวชิ าการวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษา. นนทบุรี : โรงพมิ พม์ หาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. ชูศรี ตนั พงศ.์ (2546). ประเมินพัฒนาการ : มิตใิ หมแ่ หง่ การพฒั นาศักยภาพผ้เู รียน. กรุงเทพฯ. มลู นิธสิ ดศรีสมฤษดวิ์ งศ์.

117 ณฐั พล ปฐมอารยี ์. (2547). ระบบความจริงเสมือนสาหรบั ถา่ ยทอดทักษะการประกอบชิ้นงาน. วศิ วกรรมศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบุรี. ดรณุ ี เตชะวงศ์ประเสริฐ. (2549). การศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์และ ความคงทนในการเรียนรู้เรอ่ื ง คา่ ของข้อมูลของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ท่ีไดร้ บั การ สอนบรู ณาการแบบสอดแทรก. คณะศกึ ษาศาสตร์ สืบคน้ จาก https://www.thapra.lip.su.ac.th สืบคน้ เม่ือ 20 มีนาคม 2557. ดวงเดือน ศาสตรภัทร. (2529). พฒั นาการทางสติปญั ญาตามทฤษฎเี พยี เจต์. ภาควิชาจิตวทิ ยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมิตร. เดโช สวนานนท์. (2512). ปทานกุ รมจิตวทิ ยา. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดยี น. ทรงพล ภมู ิพัฒน์. (2540). จิตวิทยาทวั่ ไป. กรงุ เทพฯ : ศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ . ธรี เดช ชนื่ ประถานุสรณ์. (2552). การพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนแบบบรู ณาการการสื่อสาร ด้วยภาษาองั กฤษกบั คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับครูผดู้ แู ลเด็กภาคใตต้ อนล่าง: กรณีศกึ ษานักศึกษาหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดุสิต. สบื ค้นจาก https://research.dusit.ac.th. สืบคน้ เม่ือ 12 กุมภาพนั ธ์ 2557. นพพิชญ์ ประหว่ัน (2547). 3500 คาลาดับขดี อกั ษรจนี . กรุงเทพฯ : บริษัทตถาดา พับลเิ คช่ัน เนาวรัตน์ พลายน้อย. (2549). การติดตามประเมินผลการสงั เคราะหค์ วามรู้ : บทเรียนการพฒั นา นักจัดรายการความรทู้ ้องถิน่ ในโครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเปน็ สขุ . คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล. บุญชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ัยเบอ้ื งต้น. กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาสน์ _____________. (2552). การวิจยั เก่ียวกับการบรหิ ารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สรุ ีวริ ิยาสาสน์

118 บษุ กร เขจรภกั ด์ิ. (2548). การศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและความคงทนในการเรยี นรู้ เรื่อง ชวี ติ สตั วส์ าหรับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 โดยใชส้ ง่ิ ช่วยจัดมโนมตลิ ว่ งหนา้ . คณะศึกษาศาสตร์ สบื คน้ เม่ือ https://dric.nrct.go.th/bookdetail.php? book_id=215469 สืบคน้ เมือ่ 13 มนี าคม 2557. ประเทนิ มหาขันธ์. (2519). หลักการสอนภาษาไทยช้นั ประถมศึกษา. กรงุ เทพฯ : คุรสุ ภาลาดพรา้ ว. ปริวฒั น์ พศิ ิษฐพงศ์ และมนัสวี แก่นอาพรพนั ธ์. (2555). โปรแกรมเสริมเพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ในการใชง้ านเทคโนโลยเี สรมิ เสมือนจรงิ . สบื คน้ จาก http://tar.thailis.or.th/bitstream/ 123456789/522/1/ID24%20CIT-2012_Camera%20Ready.pdf. สบื ค้นเม่ือ 1 ตลุ าคม 2556. ปรีดา ยงั สุขสถาพร. (2552). จาแมน่ ไม่มลี ืม. กรงุ เทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชน่ั . ปรียาพร วงศอ์ นุตรโรจน์. (2540). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ศนู ย์ส่ือเสริมกรุงเทพฯ. ปัญจรตั น์ ทับเปีย. (2555). การพฒั นาชดุ ส่ือประสมแบบโลกเสมอื นผสานโลกจริงเรื่อง โครงสรา้ ง และการทางานของหัวใจ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5. ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศ์ ึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร. พนดิ า ตนั ศริ ิ. (2553). “โลกเสมือนผสานโลกจริง Augmented Reality.” วารสารวารสาร นักบรหิ าร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 30 (2): 169-175. พรรณี ชูทัย. (2550). จิตวทิ ยาการเรียนการสอน (จิตวิทยาการศึกษาสาหรับครูในชน้ั เรยี น). นนทบุรี : เกรท เอ็ดดูเคชนั่ . พวงแกว้ โคจรานนท์. บุคลิกภาพและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 และ 6 ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกดั กองการศึกษาเทศบาลเมอื งอดุ รธานี. วทิ ยานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

119 พวงรัตน์ ทวรี ตั น์. (2530). การสรา้ งและพฒั นาแบบทดสอบผลสมั ฤทธิ์. สานักทดสอบทางการศึกษา และจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. พะยอม วงศส์ ารคดี. (2526). จติ วิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์สารเศรษฐ์. พาณี ยอดรัตน์. 2555. ความม่งุ มั่นในการดาเนินงานเพ่ือให้เป็นองค์การแหง่ การเรียนรู้ของ สถานศึกษา สงั กัดเทศบาลในสามจังหวัดชายแดนภายใต้. สารนพิ นธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาการบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2545. หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : เฮ้าส์ ออฟ เคอรม์ ิสท์. พิมพันธ์ เดชะคุปตแ์ ละพเยาว์ ยนิ ดสี ุข. (2548). วธิ ีวทิ ยาการสอนวิทยาศาสตรท์ ั่วไป. กรุงเทพฯ : พฒั นคณุ ภาพวชิ าการ. สบื ค้นจาก http://tdc.thailis.or.th/tdc// สืบคน้ เมื่อ1 ตุลาคม 2556. เพญ็ พิไล ฤทธาคณานนท์. (2536). จิตวิทยาการเรยี นรู้ของเดก็ . กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พโ์ อเดียนสโตร์ ไพฑรู ย์ ศรีฟ้า. (2556). แนวคดิ ในการผลิตสื่อการเรยี นการสอนสาหรบั ศตวรรษท่ี 21. แนวคดิ ในการผลติ ส่ือการเรยี นการสอนสาหรบั ศตวรรษที่21. สบื ค้นจาก https://www.academia.edu/7198256/ สบื คน้ เมือ 16 มนี าคม 2557. ไพบลู ย์ เทวรกั ษ์. (2540). จิตวยิ าการเรยี นรู้. กรงุ เทพฯ. เอส ดี เพรส การพิมพ์. ไพศาล หวงั พานิช. (2536). การวัดผลการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ. ไทยวฒั นาพานิช. ภรณ์ ใจเที่ยง. (2544). หลกั การสอน. กรงุ เทพฯ. อักษรเจรญิ ทศั น์. ภัทรวดี พัฒนโพธิ์. (2554). การพัฒนาความพร้อมทางภาษาพูดของเดก็ ช้ันอนุบาลปที ่ี 1 โดยใช้ กิจกรรมการเล่านิทาน. สืบคน้ จากhttps://www.library.msu.ac.th/web/searching.php สบื ค้นเมือ่ 9 มกราคม 2557.

120 ภญิ ญตาพชั ญ์ เพช็ รรัตน์. (2551). การศึกษาความเข้าใจของผบู้ รหิ ารและครปู ฐมวยั เกี่ยวกับการ ปฏิบัติท่ี เหมาะสมกบั พฒั นาการทางภาษาแรกเริ่มของเด็กปฐมวยั ในจังหวัดลพบรุ ี. วารสารศึกษาศาสตร์. 19(3) สืบคน้ จาก https://www.edu.buu.ac.th./journal/ Journal%20Edu/19_3/05.pdf สืบคน้ เมื่อ 27 มกราคม 2557. มาลี จุฑา. (2544). การประยกุ ตจ์ ติ วิทยาเพ่ือการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ทพิ ยวิสทุ ธ์ิ. มง่ิ ขวญั ธรรม ฉา่ ชน่ื เมอื ง. (2537). คูม่ ือพฒั นาความจาเชิงปฏิบัตกิ าร. กรุงเทพฯ : ตน้ ธรรม ยนื ภู่วรวรรณ. (2551). การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี ินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีมลั ตมิ ีเดียเพื่อ การศกึ ษาและประเด็นการวจิ ัย. เอกสารประกอบการบรรยายท่ีมหาวิทยาลยั ขอนแก่น. เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). กจิ กรรมสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์. ระพนิ ทร์ โพธศิ์ รี. (2549). การสร้างและวเิ คราะหค์ ุณภาพเครื่องมือรวบรวมข้อมลู สาหรบั การวิจยั . คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ์. รกั ษ์สิริ แพงป้อง. (2554). การศกึ ษาผลสมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรยี นรู้ เรอ่ื ง สิ่งมชี ีวิตกบั กระบวนการดารงชีวติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5 ท่ีมีความ บกพร่อง ทางการได้ยินระดบั หูหนวกจากการสอนแบบ POSSE ร่วมกับวดี ที ัศน์. สบื คน้ จาก https://ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/ สืบค้นเม่ือ 4 มนี าคม 2557. รัชนี ป้องทัพไทย. (2551). การเปรียบเทียบผลการเรียนและการเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ เรอ่ื ง กาพย์ยานี 11 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ท่เี รยี นดว้ ยโปรแกรมบทเรียน. ศึกษาศาตร์ มหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. รัตนะ บวั สนธ์. (2552). การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการศึกษา. กรงุ เทพฯ : คาสมัย. เรวดี วงศ์พรหมเมฆ. (2526). จิตวทิ ยาการศึกษา. กรงุ เทพฯ : คณะครศุ าสตร์ วิทยาลยั ครสู วนดุสติ .

121 ลี หยาง. (2554). การพัฒนาแบบฝกึ ทักษะการเขียนตวั อกั ษรจนี สาหรบั นักเรียนมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ สามพราน จงั หวัดนครปฐม. สืบคน้ จาก http://dric.nrct.go.th/ bookdetail.php?book_id=270997. สืบคน้ เมอ่ื 6 เมษายน 2557. วนิดา จาปีพนั ธ์. (2544). ผลการใช้ชุดการสอนทใี่ ชก้ ิจกรรมตา่ งรูปแบบทมี่ ีต่อผลสัมฤทธ์ทิ างการ เรยี นเร่อื งเศษส่วน ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3. ปริญญาศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. วรรณวดี ชัยชาญกลุ . (2549). ความสาคญั ของ ภาษา. วารสารสารสนเทศปที ี่ 7(2)87-94. วศกร เพรช็ ชว่ ย. (2557). อุปราคา สาหรับนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3. การพัฒนาส่ือความจรงิ เสมือนบนเอกสารประกอบการเรยี น. ศกึ ษาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วชั ลี บวั ตา. (2550). ผลสัมฤทธ์ิและความคงทนทางการเรียนวชิ าภาษาองั กฤษ ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ทีเ่ รยี นตามสภาพจริง. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร สืบคน้ จาก http://www.pnru.ac.th/offi/arit/upload-files/uploadfile/34/ 2b7c0806af87920ba5c2353bc4e29d90.pdf สบื ค้นเม่ือ 27 มีนาคม 2557. วัฒนา พรหมอนุ่ . (2551). Virtual Reality Technology, สบื ค้นจาก https://www.docstoc. com/docs/28427384/Virtual-Reality-Technology. สบื คน้ เม่อื 7 เมษายน 2557. วารินทร์ รศั มีพรหม. (2531). ส่อื การสอน:เทคโนโลยีการศึกษาและการสอนรว่ มสมัย. กรุงเทพฯ : ชวนพมิ พ์ วิชัย นภิ าพงศ์. (2552). วิจัยทางเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศึกษา. ปตั ตานี : ปัตตานีการช่าง วิไลวรรณ ศรีสงคราม. (2549). จิตวิทยาทั่วไป. กรงุ เทพฯ : ทริปเพ้ลิ กรปุ๊ .

122 วิวัฒน์ มสี วุ รรณ์. (2554). การเรยี นร้ดู ้วยการสร้างโลกเสมอื นผสานโลกจริง. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร 13(2)119 – 127. ศรยี า นิยมธรรม. (2519). พัฒนาการทางภาษา. กรุงเทพฯ : เนอื่ งอกั ษร. ศรีเรอื น แกว้ กังวล. (2540). จติ วิทยาพฒั นาการชีวิตทุกชว่ งวยั . กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. ศิรพิ ร ศริ ิมานะกุล. (2545). การสรา้ งบทเรยี นผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เรอ่ื ง หลกั การออกเสยี งภาษาจนี เบ้ืองตน้ . ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยี และส่ือสารการศกึ ษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. ศภุ ชัย ตันศริ ิ. (2553). นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั รามคาแหง. สมทรง เหมวัล. (2549). การพัฒนาแผนการเรยี นรูภ้ าษาไทย เรอื่ งการเขยี นเชิงสร้างสรรค์ดว้ ย กลุ่มที่ใชแ้ ผนผังความคิด ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมนึก ภทั ทิยธนี. (2546). การวัดผลการศกึ ษา. กาฬสินธ์ุ : ประสานการพิมพ์. สมพร เชื้อพนั ธ์. (2547). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ของ นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี3 โดยใช้วธิ กี ารจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเองกับการจดั การเรยี นการสอนตามปกติ. (หลักสูตรและการสอน). พระนครศรีอยุธยา. คณะศกึ ษาศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา. สมศรี ภมู ชิ ยั . (2551). การพัฒนาความสามารถดา้ นการเขียนเชิงสรา้ งสรรคข์ องนกั เรียน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 โดยใชแ้ ผนผงั ความคดิ ประกอบกจิ กรรมกลมุ่ รว่ มมือแบบ NHT. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สร้อยสดุ า วิทยากร. (2554). กรอบการอา้ งองิ การรับรู้ทางสายตา. ภาควชิ ากจิ กรรมบาบดั คณะเทคนิคการแพทย์ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

123 สหวสั ส์. (2544). เทคนิคจาแมน่ . กรุงเทพฯ : ไพลิน. สายวลี วิทยาภคั . (2539). การใช้ชดุ กิจกรรมทางภาษาเพื่อพัฒนาความสามารถทางภาษาของ นักเรียนชาวเขาระดบั ก่อนประถมศกึ ษา. วทิ ยานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่. สิรอิ ร วชิ ชาวธุ . (2554). จติ วิทยาการเรยี นรู้. ซีเอด็ ยูเคชัน่ . กรงุ เทพ. สุกญั ญา เทยี นพิทักษ์กลุ . (2543). การศึกษาเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเจตคตติ ่อการ เรยี นและความคงทนในการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ เร่ืองโจทย์ปัญหาของนักเรียน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ท่เี รียนโดยหนังสือเรยี นเลม่ เล็ก. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒประสานมติ ร. สชุ า จันทรเ์ อม. (2533). จติ วทิ ยาท่ัวไป. ภาควชิ าจิตวทิ ยา คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . _______. (2536). จิตวิทยาท่วั ไป. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช. _______. (2540). จติ วทิ ยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช. สุชาดา พลาชัยภิรมย์ศลิ . (2554). แนวโนม้ การใชโ้ มบายแอพพลิเคชน่ั . วารสารนกั บริหาร มหาวิทยาลยั กรุงเทพ 31(4)110-111. สบื คน้ จาก http://www.bu.ac.th/ knowledgecenter/executive_journal/oct_dec_11/pdf/aw018.pdf สืบค้นเม่ือ 5 เมษายน 2557. สพุ รรณพงศ์ วงษ์ศรีเพ็ง. (2554). การประยุกต์ใชเ้ ทคนิคความจรงิ เสมอื นเพื่อใชใ้ นการสอนเรอื่ ง พยัญชนะภาษาไทย. วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. สุมาลี ชยั เจริญ. (2551). เทคโนโลยกี ารศึกษา หลกั การ ทฤษฎี สู่การปฏิบตั ิ. ขอนแก่น : โรงพมิ พ์คลงั นานาวทิ ยา.

124 สุมติ รา อังวฒั นกลุ . (2540). แนวคิดและเทคนคิ วิธีการสอนภาษาองั กฤษ. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สรุ ตั น์ ตรสี กลุ . (2546). หลักนเิ ทศศาสตร์. กรงุ เทพ : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา. สรุ างค์ โค้วตระกูล. (2544). จติ วทิ ยาการศึกษา. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. _______. (2548). จิตวทิ ยาการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ไสว เลีย่ มแกว้ . (2528). ความจามนษุ ย์ : ทฤษฎีและวธิ กี ารสอน. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์. หทยั รตั น์ เติมใจ. (2552). การพฒั นาสอ่ื การสอนวิชาภาษาจนี ด้วยเทคโนโลยมี ลั ติมเี ดียสาหรบั นักศกึ ษา มหาวิทยาลัยเชยี งใหมท่ ี่เรียนภาษาจีนระดบั กลาง. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/ สบื คน้ เมื่อ 9 เมษายน 2557. หยาง ตนั . (2553). การพฒั นาชดุ กจิ กรรมการเรยี นภาษาจีนข้ันพืน้ ฐาน สาหรบั นกั เรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4. สบื ค้นจาก http://www.edu.buu.ac.th/vesd/year6_1/ article4_2553_1.pdf. สบื ค้นเมอ่ื 9 เมษายน 2557. เหยิน จ่งิ เหวนิ . (2545). ภาษาจีนระดบั ต้น 2. กรงุ เทพฯ : ซเี อด็ ยูเคชน่ั . อรชมุ า หลิมศิริวงษ์. (2544). การส่งเสรมิ ความรู้คาศัพท์ ความคงทนในการจาคาศัพท์และ ความสามารถทางการเขยี นภาษาองั กฤษของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยใช้ สมดุ จดคาศัพท์. วิทยานิพนธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต. คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.

125 อัจฉรา สุขารมยแ์ ละอรพินทร์ ชชู ม. (2530). การเปรยี บเทียบนักเรียนท่ีมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ต่ากวา่ ระดบั ความสามารถกบั นกั เรียนทม่ี ีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นปกติ. มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร. สบื ค้นจาก http://www.nana-bio.com/ Research/image%20research/research%20work/. สืบคน้ เม่ือ 1 เมษายน 2557. อารีย์ คาสังฆะ. (2554). การส่งเสริมความเข้าใจภาษาของเดก็ ปฐมวัยโดยผปู้ กครองใช้ชุด กจิ กรรมเล่นกับลกู ปลาภาษา. สืบค้นจาก https://thesis.swu.ac.th/swuthesis/ Ear_chi_Ed/Aree_ka.pdf. สืบค้นเมื่อ 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2557. อานาจ ชิตทอง. (2555). การประยุกตเ์ ทคนคิ ความเป็นจริงเสรมิ เพื่อผลติ สอื่ การสอนสาหรบั โครงสร้างไม้. วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ. มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. สบื ค้นจาก http://library.cmu.ac.th/digital_collection/ etheses/index.php. สืบคน้ เม่อื 9 เมษายน 2557. อ่มิ จติ เลศิ พงษส์ มบตั ิ. 2550. รายงานการวิจยั เร่ือง “สาร สือ่ สู่สนั ติ” โครงการวิจัยเร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศและนเิ ทศศาสตร์เพ่อื สนั ตสิ ุขของชาติ. คณะวิทยาการสอื่ สาร มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์วิทยาเขตปัตตานี. อุษาวดี พรหมดรี าช. (2552). การพฒั นาผลการเรียนรภู้ าษาไทยด้านการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ดว้ ยกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ 4 MAT. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์. (2537). เทคโนโลยีการศกึ ษา หลักการและแนวคดิ สู่ปฏิบัติ. สงขลา : การผลติ เอกสารและตารา มหาวิทยาลยั ทักษิณ. Aurasma Inc. (2012). Aurasma Partner Guidelines. สืบค้นจาก http://www.aurasma.com/ wp-content/uploads/Aurasma-Partner-Guidelines.pdf. June 2013. สืบค้นเมื่อ 9 เมษายน 2557. Bett and Nicholas. (2002). Paper presented at The First IEEE International Augmented Reality Toolkit Workshop. Darmstadt. Germany.

126 Carol Rees. (2008). An Angmented Reality Game For Scientific Literacy. สบื คน้ จาก https://www.dc.msvu.ca:8080 สบื คน้ เมื่อ 26 เมษายน 2557. Chris W.Wasko. (2013). The Aurasma App and Augmented Reality in Education, สบื ค้นจาก https://jilloddictlearning.wordpress.com/the-aurasma-app- . สืบคน้ เมอ่ื 15 มีนาคม 2557. Enyedy (2012). Exploring the Changes in In-service Teachers Perceptions of Technological PedagogicalContent Knowledge and Eficacy for ICT Design Thinking. Nanyang Technological University, Singapore. สบื ค้นจาก http://icce2013bali.org/datacenter/workshopproceedings/w8.pdf. สืบคน้ เมื่อ 7 เมษายน 2557. Yoon Susan . (2012). “Using augmented reality and knowledge-building scaffolds to improve learning in a science museum.” สืบค้นจาก http://link.springer.com/article/10.1007%2Fs11412-012-9156-x#close สืบคน้ เมอ่ื 7 เมษายน 2557. 任启亮. (2007). 中国文化常识. 北京:国务院桥办公室.

127 ภาคผนวก

128 ภาคผนวก ก รายชื่อผ้เู ช่ียวชาญและผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

129 รายนามผ้เู ชยี่ วชาญและผู้ทรงคณุ วฒุ ิ รายนามผูเ้ ชย่ี วชาญประเมินคณุ ภาพสอื่ 1. ดร.กจิ ตพิ งษ์ ประชาชติ ภาควชิ าการออกแบบสื่อสิง่ พิมพแ์ ละสื่อแอนิเมชั่น 2. อาจารย์โพธ์พิ งศ์ ฉตั รนนั ทภรณ์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 3. อาจารย์จริ ะชยั แซต่ ั้ง มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ศรสี ะเกษ จังหวดั ศรีสะเกษ ภาควิชาการออกแบบส่ือสง่ิ พิมพ์และส่อื แอนิเมชัน่ คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ จงั หวัดศรสี ะเกษ ภาคตะวันออก (ภาษาจนี ) คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี รายนามผเู้ ชี่ยวชาญประเมนิ ความเทีย่ งตรงเชิงเนือ้ หาและแผนการสอน 1. อาจารย์จริ ะชัย แซ่ต้งั อาจารยป์ ระจาภาคตะวันออก (ภาษาจีน) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2. นางเรณู บบุ ผะเรณู มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี 2. นางปิยะภรณ์ ด้วงตดุ ศกึ ษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะศึกษานิเทศกช์ านาญการ กองการศึกษาเทศบาลเมืองปัตตานี จงั หวัดปตั ตานี รองผ้อู านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร สงั กดั เทศบาลเมอื งปัตตานี จังหวัดปัตตานี

130

131

132

133


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook