34 13. โครงสร้างเดย่ี ว เชน่ 丈、甲、且、我 14. โครงสรา้ งพเิ ศษ เชน่ 坐、爽、夹、噩 ท้งั น้ี การเขียนตามลาดบั ขีดจนเกดิ ความเคยชิน ลาดับขดี จะซึมสผู่ เู้ รยี นเองโดยอัตโนมัติ เพยี งแต่ คร้ังแรกท่ีเรมิ่ ฝกึ เขียนจาเป็นอย่างยิง่ ทจ่ี ะต้องเขียนตามลาดบั ขดี ให้ถูกต้อง การเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ด้วยความเจริญเตบิ โตทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม แล้ววฒั นธรรม ของสาธารณรฐั ประชาชนจนี สง่ ผลใหภ้ าษาจนี เปน็ ภาษาต่างประเทศทไี่ ดร้ บั ความสนใจจากผเู้ รยี น สาหรับการศึกษาภาษาจีนใน ประเทศไทยน้ัน เราจะเห็นได้วา่ ภาษาจนี ไดร้ บั ความนิยมเพ่ิมข้ึนอยา่ งตอ่ เน่ือง อนั เนือ่ งมาจากการที่ ภาษาจนี ไดเ้ ข้ามามีบทบาทต่อตลาดแรงงานของไทยในทุกระดบั ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของธรุ กิจค้าขาย อตุ สาหกรรมการท่องเท่ียว รวมถงึ การลงทุนของนักธุรกจิ ชาวจนี มีจานวนมากข้นึ เรื่อยๆ ทาให้มคี วาม ต้องการบุคลากรทม่ี คี วามรู้ทางภาษาจนี เพ่มิ มากข้ึนตามไปดว้ ย จากเหตผุ ลดังกลา่ วทาให้มกี ารจัดการเรยี นการสอนภาษาจีนในประเทศไทยเปน็ ไปอยา่ ง กว้างขวาง โดยจะเห็นไดว้ า่ มีการสอนภาษาจีนมอี ยใู่ นทุกระดับ ต้ังแต่ชน้ั อนุบาล ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา และในระดับมหาวทิ ยาลัย ตลอดจนสถาบันสอนภาษาจีนให้กับผ้ทู ่สี นใจ อย่างไรประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนนั้นยังไม่ สามารถเรยี กว่าประสบความสาเรจ็ เทา่ ใดนัก ท้ังนเี้ พราะเหตปุ ัจจยั ท่เี ปน็ อุปสรรคหลายประการ อัน ได้แก่ การขาดครูผ้สู อนที่มคี วามรคู้ วามเชี่ยวชาญ การขาดหลกั สตู รและนโยบายในการจัดการการ เรยี นการสอนภาษาจนี ทชี่ ัดเจนและดีเพียงพอ และปจั จยั ทีเ่ กีย่ วกบั ความพร้อมของตวั ผู้เรียนเอง ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเป็นความสามารถของผู้เรยี นในด้านตา่ งๆ ซ่ึงเกิดประสบการณ์ จากกระบวนการเรียนการสอนของผ้สู อน โดยผ้สู อนจะต้องศกึ ษาแนวทางในการวัดและประเมินผล การสรา้ งเครื่องมือวัดใหม้ ีคณุ ภาพ เดโช สวนานนท์ (2512) กลา่ ววา่ ผลสมั ฤทธิ์ คอื ความสาเรจ็ ที่ ไดร้ บั จากความพยายาม เพอ่ื ให้บรรลุเป้าหมายทตี่ ้องการ หรือระดบั ของความสาเรจ็ ที่ได้รบั ในแตล่ ะ ดา้ น โดยเฉพาะหรือโดยทัว่ ไป และพวงแก้ว โคจรานนท์ (2530) กล่าวว่าผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
35 คือ ความรู้ความเขา้ ใจ ความสามารถ และทักษะทางด้านวิชาการ รวมทัง้ สมรรถภาพทางสมองดา้ น ตา่ ง ๆ ได้แก่ ระดบั สติปัญญา การคิด การแก้ปญั หาต่าง ๆ ของเด็ก พวงรตั น์ ทวรี ัตน์ (2530) กล่าววา่ ผลสัมฤทธค์ิ อื คุณลักษณะและรวมถึงความรู้ความสามารถอันเปน็ ผลมาจากการเรียนการสอน ทาให้บุคคลเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในด้านตา่ งๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ยังได้กลา่ ววา่ ผลสัมฤทธิ์ คือ ความสามารถของบุคคลที่ไดร้ บั จากการได้เรยี นรู้ ได้รับการฝึกฝน และได้รบั การอบรม สั่งสอน อจั ฉรา สุขารมณ์ และ อรพนิ ทร์ ชูชม (2530) ชศู รี ตนั พงศ์ (2546) และพิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดสี ุข (2548) กลา่ วว่าผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง ระดบั ความสาเร็จทไี่ ด้รบั จาก การเรียน ส่วน ไพศาล หวงั พานชิ (2536) กลา่ วเพิม่ เติมดว้ ยว่า ผลสัมฤทธ์ิ หมายถึง คุณลักษณะและ ความสามารถของบุคคลอนั เกิดจากการเรียนการสอนเป็นการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมและ ประสบการณ์การเรียนท่เี กดิ ขึ้นจากการฝึกอบรมหรือการสอบ จึงเป็นการตรวจสอบระดับ ความสามารถของบุคคลวา่ เรียนแล้วมคี วามรูเ้ ท่าใด พชิ ิต ฤทธ์จิ รูญ (2545) กลา่ วว่า แบบทดสอบวัด ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง แบบทดสอบท่ใี ชว้ ดั ความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการที่ นักเรียนไดเ้ รยี นรมู้ าแลว้ วา่ บรรลผุ ลสาเร็จตามจุดประสงคท์ ี่กาหนดไว้เพยี งใด สานกั วชิ าการและ มาตรฐานการศึกษา (2544) ใหค้ วามหมายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นว่า ความรู้และทักษะท่ีได้รบั กอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนามาจากการเรยี นการสอน การฝึกฝน และได้รับการอบรมสั่งสอน โดยครูอาศยั เครอ่ื งมอื วดั ผลชว่ ยในการศึกษาว่านักเรียนมีความร้แู ละทกั ษะมากน้อยเพียงใด ดังนน้ั กล่าวโดยสรปุ แลว้ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน คือ การวัดระดับของความสาเร็จ ดา้ นคณุ ลักษณะและความสามารถของบุคคลซง่ึ เกิดจากการเรยี นการสอน การฝึกฝน โดยสามารถวดั ระดับไดเ้ ป็นแบบทดสอบที่มุ่งวดั ความสาเรจ็ ในดา้ นต่างๆ ของผ้เู รยี นวา่ บรรลุผลสาเร็จตาม จุดประสงค์การเรียนรู้น้นั หรือไม่ ความพงึ พอใจ ความหมายของความพึงพอใจ ระพินทร์ โพธศ์ิ รี (2549) กล่าวว่าความพึงพอใจ คอื ความร้สู ึกชอบหรอื ไม่ชอบของแตล่ ะ บคุ คลทีม่ ตี ่อสง่ิ แวดล้อมตา่ งๆ เป็นความรูส้ ึกท่ีอาจดารงอยู่ไดน้ านพอสมควรและอาจมากหรอื นอ้ ยก็ได้ สมทรง เหมวลั (2549) กลา่ ววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู้ ึกของแตล่ ะบุคคลท่ี แสดงออกต่องานหรือส่งิ ท่ีไดร้ ับการกระทาน้ันๆ หรือกิจกรรมของบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์ต่อสงิ่ เร้า และทัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ งาน
36 รัชนี ปอ้ งทัพไทย (2551) ได้กลา่ วว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู้ กึ ทีชอบหรือเจตคติ ของบุคคลที่มตี ่องานในเชิงบวก ดังนัน้ ความพึงพอใจในการเรียนรู้จงึ หมายถงึ ความรู้สกึ พอใจ ชอบใจ ในการร่วมปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนการสอนและต้องการดาเนินกจิ กรรมน้นั ๆ จนบรรลุผลสาเรจ็ สมศรี ภมู ชิ ัย (2551) ไดก้ ลา่ ววา่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้ชอบความชนื่ ชมยนิ ดีต่อ งานหรือกจิ กรรมที่ปฏิบตั ิเมื่องานหรอื กิจกรรมนน้ั บรรลผุ ลตามเป้าหมายทกี่ าหนดไว้ ดังน้นั ความพงึ พอใจในการเรียนรู้จึงหมายถึง ความร้สู ึกชอบ มีความชื่นชมยินดี มคี วามพอใจต่อกจิ กรรมการเรยี นรู้ และผลการปฏิบตั ิงานท่ีบรรลผุ ลตามท่ตี ้องการของตนเองและบคุ คลที่เกีย่ วข้อง อษุ าวดี พรหมดีราช (2552) ไดก้ ล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรู้สึกนึกคิดความชอบ หรอื เจตคติของบุคคลที่มีต่อกิจกรรมเพื่อให้ได้รบั ผลสาเร็จ ดงั นน้ั ความพึงพอใจในการเรียนรจู้ ึง หมายถงึ ความรสู้ ึกพอใจ ชอบใจในการร่วมปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนการสอนและต้องการดาเนิน กจิ กรรมน้นั ๆ จนบรรลผุ ลสาเรจ็ ในการจัดการเรียนการสอน ผู้วจิ ยั สรปุ ได้วา่ ความพงึ พอใจ คือ ความรูส้ กึ ของบคุ คลต่อสิ่งต่างๆ ในเชิงบวก เช่น ความรู้สกึ ชอบ ประทบั ใจซึ่งจะมกี ารเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ตา่ งๆ ทเ่ี กิดข้นึ ท่มี ีต่อการไดร้ ว่ ม กจิ กรรมการเรียนรจู้ นบรรลุจุดประสงค์ท่ีตงั้ ไว้ ทฤษฏที เ่ี กย่ี วกบั ความพึงพอใจ การศกึ ษาเกี่ยวกับความพงึ พอใจเปน็ การศึกษาตามกฎทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ทเ่ี ก่ียวกบั ความต้องการของมนษุ ย์ Maslow (อ้างถึงใน สมศรี ภมู ชิ ัย, 2551) ได้อธิบายถึงทฤษฎลี าดบั ความต้องการของตน เป็นลาดับขน้ั ของความตอ้ งการ นับวา่ เปน็ ทฤษฎหี น่ึงท่ีได้รับการยอมรับอย่างกวา้ งขวางซึง่ ตงั้ อยู่บน สมมติฐานทว่ี า่ “มนษุ ยม์ คี วามต้องการท่ีไมม่ ีสิ้นสุดเมอ่ื ความต้องการไดร้ บั การตอบสนองหรือพงึ พอใจ อย่างใดอยา่ งหนงึ่ แลว้ ความต้องการสงิ่ อืน่ ๆ ก็จะเกดิ ตามมาอกี ความตอ้ งการของคนเราอาจจา ซา้ ซอ้ นกัน ความต้องการอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งยงั ไม่ทนั หมดไป ความต้องการอีกอย่างหนึง่ อาจเกิดขึ้นได้” ความตอ้ งการของมนุษย์มีลาดับขน้ั ดงั นี้ 1. ความต้องการทางด้านร่างกาย เปน็ ความต้องการพืน้ ฐานของมนษุ ย์ เนน้ สิ่งที่ จาเปน็ ต่อการดารงชีวติ ได้แก่ อากาศ ท่อี ยู่อาศยั เครอื่ งนุ่งหม่ และยารกั ษาโรค ความต้องการพักผอ่ น 2. ความต้องการความปลอดภัย ความมัน่ คงในชวี ติ ทัง้ ทเ่ี ป็นอยใู่ นปัจจุบนั และ อนาคต ความเจรญิ ก้าวหนา้ อบอนุ่ ใจ 3. ความต้องการทางสงั คม เป็นส่งิ จูงใจที่สาคัญในการเกดิ พฤติกรรมต้องการให้ สังคมยอมรับตนเองเขา้ เปน็ สมาชิก ตอ้ งการมิตร ต้องการความรกั จากเพอื่ น
37 4. ความตอ้ งการมฐี านะ เปน็ สง่ิ ทีม่ คี วามโดนเด่นในสังคม มชี ื่อเสยี งอยากให้บุคคล ยกย่องสรรเสรญิ ตนเอง อยากมีความเปน็ อิสรเสรภี าพ 5. ความต้องการท่ีจะประสบความสาเรจ็ ในชีวติ เปน็ ความต้องการในระดับสูง อยากให้ตนเองประสบผลสาเรจ็ ทกุ อยา่ งในชีวติ ซงึ่ เป็นไปไดย้ าก ผวู้ ิจัยสรปุ ไดว้ ่า ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สกึ เชิงบวก ท่มี ตี อ่ กิจกรรมที่ได้ปฏบิ ัติ ทาใหไ้ ด้รับการตอบสนองความตอ้ งการทางดา้ นรา่ งกายและจิตใจ ซง่ึ เปน็ สว่ นสาคัญทจ่ี ะทาให้ เกดิ ความสมบรู ณ์ของชีวิตมากนอ้ ยเพยี งใด การวัดความพึงพอใจ ชวลิต ชกู าแพง (2550) อธบิ ายถงึ การวัดจิตพสิ ยั สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี ซงึ่ วิธีทนี่ ิยมทาใน ปจั จบุ นั คอื 1. การสงั เกต สงั เกตการพูด การกระทา การเขยี นของผูเ้ รียนท่ีมตี ่อสง่ิ ใดสงิ่ หนงึ่ ท่ผี ู้สอน ตอ้ งการวดั 2.การสมั ภาษณ์ เปน็ วธิ กี ารที่ครูใช้พดู คุยกับผเู้ รยี นในประเด็นทผี่ ูส้ อนอยากรู้ อาจเป็น ความร้สู ึก ทัศนคติของผเู้ รยี น เพ่ือนาส่ิงที่นกั เรียนพูดออกมาแปลความหมายเก่ยี วกับลกั ษณะจิตพสิ ยั ของผูเ้ รยี นได้ เชน่ ผูส้ อนอยากรวู้ า่ ผู้เรยี นสนใจที่จะเรยี นภาษาจนี หรือไม่ คาตอบของผเู้ รียนจะทาให้ ผู้สอนประเมนิ ไดว้ ่ามีความสนใจการเรียนวชิ าภาษาจีนมากน้อยเพยี งใด 3. การใช้แบบวดั มาตราสว่ นประมาณคา่ เปน็ เครื่องมือวดั ทัศนคติ วัดความสนใจ วดั คุณธรรม จริยธรรมไวม้ ากพอสมควร ซึง่ ครคู นอน่ื สามารถนาไปใช้ได้ ถา้ เปน็ แบบวัดทัศนคติหรือวดั ความสนใจ จะมีรปู แบบการวัด 3 รปู แบบ คอื แบบของLikert แบบวัดมาตราส่วนประมาณค่า แบบ Likert มลี ักษณะสาคัญ 4 ประการ ดงั น้ี 1) มรี ะดบั ความเข้มข้นใหผ้ ู้ตอบ เลือกตอบตามความคิดเห็น เหตุผลสภาพความเปน็ จริงต้ังแต่ 3 ระดับข้ึนไป 2) ระดบั ที่เลอื กอาจเป็นชนิดท่มี ที งั้ ด้านบวกดา้ นลบในข้อเดียวกันหรือมีเฉพาะด้าน บวกหรอื มเี ฉพาะลบ โดยทอี่ ีกด้านหนึ่งจะเปน็ ศูนยห์ รือระดับน้อยมาก 3) บางข้อมีลักษณะเชงิ นมิ าน บางข้อมีลักษณะเชิงนเิ สธ 4) สามารถแปลงผลตอบเปน็ คะแนนได้ จึงสามารถวัดความคดิ เหน็ คุณลักษณะด้าน จติ พสิ ัยออกมาในเชิงประมาณได้
38 หลักการและเกณฑ์ความพึงพอใจ แบบวดั (Scale) ใช้วัดคณุ ลักษณะบางอย่าง มีความลึกซึง้ กวา่ แบบสอบถามผลการตอบแต่ ละขอ้ จะได้คะแนนแนน่ อน (ไมม่ ีการตอบผดิ ) แตค่ ะแนนจะแตกตา่ งกันตามระดบั ทกี่ าหนดให้ เชน่ คะแนน 5 ระดบั เป็น 1 2 3 4 และ 5 คะแนน (สมนกึ ภทั ทิยธนี, 2546) แบบวัดทเ่ี ปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่าข้ึนกบั ว่า จะมีกร่ี ะดบั และเป็นข้อความ เชงิ นมิ าน (Positive Scale) หรอื ข้อความเชงิ นิเสธ (Negative Scale) กรณขี ้อความเชิงนิมาน เชน่ “วิชาสงั คมศกึ ษาเปน็ วิชาที่ชว่ ยพัฒนาสังคม” หรือ “วิชาสังคมศึกษาเปน็ วชิ าที่เรียนสนกุ ” (ในแบบวัดเจตคติทม่ี ตี ่อวิชาสังคม) จะตรวจให้คะแนนคาตอบดา้ นบวกเป็นค่าสงู ด้านลบเป็นค่าต่า ดงั นี้ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545) เหน็ ดว้ ยอย่างย่ิง ตรวจให้ 5 คะแนน เห็นด้วย ตรวจให้ 4 คะแนน ไม่แนใ่ จ ตรวจให้ 3 คะแนน ไมเ่ ห็นดว้ ย ตรวจให้ 2 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยอย่างย่ิง ตรวจให้ 1 คะแนน กรณีข้อความเชงิ นเิ สธ เชน่ “วชิ าสังคมศกึ ษาเป็นวชิ าทีน่ าไปใชป้ ระโยชนไ์ ดน้ ้อย” หรอื “พอจะถึงชว่ั โมงเรียนสงั คมศึกษาก็จะรสู้ กึ ไม่อยากเรยี น” (ในแบบวดั เจตคติทมี่ ีต่อวชิ าสังคมศึกษา) จะตรวจใหค้ ะแนนกลับกันกับคะแนนทีเ่ ปน็ แบบนิมาน กลา่ วคอื จะให้คะแนนคาตอบด้านบวก เป็นคา่ ตา่ ดา้ นลบเป็นค่าสงู เหน็ ดว้ ยอยา่ งยงิ่ ตรวจให้ 1 คะแนน เหน็ ดว้ ย ตรวจให้ 2 คะแนน ไมแ่ นใ่ จ ตรวจให้ 3 คะแนน ไม่เหน็ ดว้ ย ตรวจให้ 4 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ตรวจให้ 5 คะแนน มาตราสว่ นประมาณคา่ ทม่ี ีคาตอบในลักษณะอ่ืน เชน่ มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อย ที่สุด จะตรวจให้คะแนนโดยใชร้ ะบบนี้ ในการใชแ้ บบวดั ชนดิ มาตราส่วนประมาณคา่ น้ัน ผ้วู ิจัยอาจตอ้ งการรายงานผลของ การตอบของกลุ่มตัวอยา่ งทต่ี อบแตล่ ะข้อหรือแต่ละด้าน ว่ามคี วามเห็นอยู่ในระดบั ใด กรณีเช่นนี้ จะต้องหาคา่ เฉลีย่ ของกลมุ่ ในแตล่ ะข้อ แลว้ แปลความหมายคา่ เฉล่ยี อีกที ในการแปลความหมายนนั้ จะใช้เกณฑ์ ซึง่ เปน็ ระบบเดยี วกนั กบั ระบบการตรวจใหค้ ะแนน ถ้าระบบการให้คะแนนตรงกับอธิบาย มาแลว้ จะใชเ้ กณฑก์ ารแปลความหมายค่าเฉลี่ยของกลุ่ม ดังน้ี
39 5 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากท่สี ดุ 4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก 3 หมายถึง มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดับน้อย 1 หมายถึง มีความพึงพอใจอย่ใู นระดับน้อยทีส่ ุด ผูว้ ิจยั สรุปไดว้ ่า ความพงึ พอใจของผเู้ รียน หมายถึง ระดบั ความรสู้ ึกเชงิ บวกของผู้เรียน ท่ีมตี ่อบทเรยี น โดยมีการวัดความพึงพอใจโดยการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจแบบ (Scale) โดยใช้วัดคุณลักษณะบางอยา่ ง ทมี่ คี วามลึกซง้ึ กวา่ แบบสอบถาม ผลการตอบแตล่ ะข้อจะมีคะแนนที่ แน่นอน และคะแนนจะแตกต่างกนั ตามระดับท่ีกาหนดไว้ ความจาและความคงทน McConnell & Philipchalk (1992 อ้างถึงใน รกั ษส์ ิริ แพงปอ้ ง, 2554) กล่าววา่ ความจาเปน็ ความสามารถในการบันทึกประสบการณ์ในอดีตและสามารถทจ่ี ะระลกึ ถงึ การรบั รู้ อารมณ์ ความคิด และการกระทาในอดตี ได้ และสุรางค์ โค้วตระกลู (2544) กลา่ ววา่ ความจา หมายถึง ความสามารถท่จี ะเกบ็ สิ่งทเ่ี รียนร้ไู ว้ได้เป็นเวลานาน และสามารถค้นคว้ามาได้หรอื ระลึกได้ ซึ่งความจาประกอบด้วยสว่ นประกอบ 4 สว่ น คือ 1. การเรยี นรู้และประสบการณ์ เพอื่ จะได้รบั ข้อมูลข่าวสารและทกั ษะต่างๆ 2. การเกบ็ การเกบ็ ส่ิงทเี่ รียนรแู้ ละประสบการณ์ 3. การระลึกไดซ้ ึง่ ความรู้และประสบการณ์ 4. ความสามารถเลือกข้อมลู หรือความรทู้ ่ีมีไวม้ าใช้ไดเ้ หมาะสมกับสถานการณแ์ ละเวลา ความจา หมายถึง กระบวนการที่สมองสามารถเกบ็ สะสมสิ่งทไี่ ดร้ บั ไว้ และสามารถนาออกมา ใชไ้ ด้เมื่อถงึ ภาวะจาเป็นเปน็ ความหมายที่ มาลี จุฑา (2544) กลา่ วไว้ และได้ยกตวั อยา่ งให้เหน็ เช่น นักเรยี นท่ดี หู นังสือเพื่อเตรียมสอบ จะมีการรับรเู้ นื้อหาหรือสาระที่สาคญั ของความรู้ และเม่ือเข้าห้อง สอบแลว้ นกั เรียนสามารถดงึ ความรู้ทร่ี ับรมู้ าใช้ได้มากน้องเพยี งใด สิง่ ทน่ี ามาใชน้ ั้นก็คือ ผลของการจานั่นเอง สว่ นบษุ กร เขจรภกั ด์ิ (2548) กลา่ วว่า การจา หมายถึง กระบวนการท่สี มอง สามารถเกบ็ สะสมการเรียนรู้ และประสบการณ์ท่ีได้รบั รู้ไวโ้ ดยเก็บบนั ทึกไวเ้ ปน็ ความจา ซ่ึงความ จาเป็นคุณสมบัติของสมองท่สี ามารถสะสมไวแ้ ละบนั ทึกสิ่งต่างๆ ไวไ้ ด้ เพอื่ ใช้ในการหาเหตแุ ละช่วยใน การตัดสินใจกระทาสงิ่ ต่างๆ รวมถึงความสามารถในการคาดคะเนเหตุการณ์ในอนาคต และการท่ีสมองของบคุ คลทาการเก็บสะสมสง่ิ ท่ีไดร้ บั ประสบการณต์ า่ งๆ ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม ซ่ึงสมั ผัสได้ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 แลว้ สามารถระลึก และถ่ายทอดเรื่องราวเหล่านัน้ ออกมาได้อยา่ ง
40 ถกู ต้องแมน่ ยานั้นเป็นความหมายของความจาท่เี ปน็ การกล่าวของดรณุ ี เตชะวงศป์ ระเสริฐ (2549) ได้กลา่ ววา่ ความจา หมายถึง การที่สมองของบุคคลทาการเก็บสะสมสิ่งที่ได้รับประสบการณต์ ่างๆ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ซึ่งสามารถสัมผสั ได้จากประสาทสัมผัสท้ัง 5 แลว้ สามารถระลึกได้ และ ก่งิ แกว้ ทรัพยพ์ ระวงศ์ (2551) กลา่ ววา่ ความจาเป็นเรอ่ื งหนง่ึ ทเี่ ก่ยี วกับการเรียนรู้ เพราะมนุษย์ จะต้องมีการจาสง่ิ ทเ่ี รียนรู้มาแล้วได้ ไม่เช่นน้ันก็ถอื ว่าไมม่ ีการเรยี นรเู้ กิดขึน้ ความจาหมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลตา่ งๆ เพื่อนามาใช้ได้ภายหลัง ซง่ึ ประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ เก็บข้อมลู รักษาข้อมูล และนามาใช้ ตามคาจากดั ความน้พี บวา่ เครือ่ งบันทึกเทป วิดโี อเทป และ คอมพิวเตอรล์ ้วนมีความสามารถในการจา-ท้ังสิ้น แตส่ ิง่ เหลา่ นี้จะแตกตา่ งไปจากความจาของมนุษย์ เพราะเครื่องมอื เล่านเี้ ป็นเคร่ืองจักร มีเวลาในการทางานจากัดตามท่ถี ูกออกแบบไว้ แต่ความจาของ มนุษยน์ น้ั สามารถบันทกึ ข้อมูลได้ทุกอยา่ งที่สามารถรับสัมผัสได้ ไม่วา่ จะเป็นภาพ เสียง กลน่ิ รส อณุ หภูมิ ความสุขและความเจบ็ ปวด และมีการทางานตลอดเวลา ตลอดชวี ติ จงึ เป็นสิง่ ท่ีสาคญั ต่อ การดาเนนิ ชีวิตของบคุ คลเปน็ อยา่ งมาก และ รักษส์ ริ ิ แพงป้อง (2554) กลา่ วว่า การทสี่ มองไดบ้ นั ทึก เรอ่ื งราวตา่ งๆ ซงึ่ สัมผัสได้ด้วยประสาทสมั ผัสท้ัง 5 เป็นความสามารถท่ีจะเก็บสิ่งท่เี รียนรไู้ ว้ไดเ้ ป็น เวลานาน และสามารถคน้ คว้ามาได้หรือระลึกได้ ดงั น้ันจึงกลา่ วโดยสรุปว่า ความจา หมายถงึ ความสามารถในการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ เป็นการเกบ็ ขอ้ มูลไดด้ ้วยประสาทสมั ผสั ทั้ง 5 ซง่ึ ในแต่ละบุคคลมีความสามารถทีแ่ ตกต่างกนั ในการเกบ็ ข้อมลู และ การถา่ ยทอดเป็นเร่ืองราว การตอบคาถาม สามารถคน้ หาและระลึกได้ และนามาประยกุ ตใ์ ช้กบั ชีวิต ในปจั จุบนั ได้อย่างถูกต้อง แม่นยา ระบบความจา ความจาของมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ 1. ระบบความจาการรบั รสู้ ัมผสั เป็นระบบท่เี กบ็ ขอ้ มลู ตา่ งๆ โดยผา่ นประสาทสัมผสั ทงั้ ห้า ข้อมลู ตา่ งๆ ทร่ี ับนัน้ รับเข้ามาจัดเป็นขอ้ มูลดบิ ที่ยังไม่ไดม้ ีการวเิ คราะหค์ วามหมาย และอยู่ในระบบน้ี เปน็ เวลาสน้ั ๆ เชน่ ภาพท่เี หน็ จะอยใู่ นระบบความจา ร้สู กึ สัมผสั เปน็ เวลา 1 วนิ าที สว่ นเสียงทไี่ ด้ยนิ จะอย่ใู นระบบได้นานกว่า แต่ไมเ่ กนิ 4 วินาที ระบบนีม้ ีประโยชนใ์ นการเปรียบเทียบ หรือแยกแยะ สง่ิ ตา่ งๆ ท่ีรับสมั ผสั เขา้ มา 2. ระบบความจาสั้น เป็นความจาซงึ่ ไดร้ บั การวิเคราะห์ความหมายแลว้ วา่ ขอ้ มลู นน้ั คอื อะไร ยกตวั อยา่ งเช่น การเห็น “A” ระบบความจา การรสู้ ึก สัมผัสจะรับข้อมลู “A” เขา้ มา สมองจะทา หน้าที่วิเคราะห์โดยอาศยั การเรยี นร้แู ละแปลความวา่ ข้อมูลทเ่ี ห็นคอื อักษรเอ ซ่ึงจะถูกสง่ มายังระบบ ความจาระยะสัน้ ในระบบความจาการรู้สึกสมั ผัสของมนุษย์ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดเ้ กอื บทง้ั หมดทร่ี ับ
41 สัมผสั ได้ แต่จะไมส่ ามารถเก็บไดท้ ง้ั หมด จะเก็บไดเ้ ท่าทสี่ นใจเทา่ นัน้ George Miller (1956 อา้ งถึงใน ก่ิงแก้ว ทรัพย์พระวงศ์, 2551) พบว่าในระบบ STM สามารถเก็บความจาได้เป็นจานวน 7±2 หน่วย ในช่วงเวลา 20 วินาที ตวั เลขจานวนนี้เรียกวา่ magic number จงอา่ นตวั เลขชดุ น้ีอย่างช้าๆ หนึ่งคร้ัง 187919341529 จากน้นั เขียนตัวเลขท่จี าไดล้ งในกระดาษ คนสว่ นใหญ่จะจาได้ประมาณ 5-9 ตวั เท่านัน้ (คือช่วง 7±2 หน่วย) การทาให้จาได้มากขน้ึ จงึ ต้องทาใหห้ น่วยของสิ่งที่จาอยใู่ นวงจากดั เชน่ จบั ตวั เลขเหลา่ น้ีเปน็ กลุ่ม 1879, 1934, 1529 จะทาให้จาตัวเลขได้ถึง 12 ตัว ในชวี ิตประจาวัน การเขยี นหมายเลข โทรศพั ท์ เพอื่ ใหส้ ะดวกในการนาไปใช้ จึงเขียนเป็น 02-350-3526 หรือ 02-901-5764 เปน็ ต้น ความจาระยะสนั้ จะใช้ได้ช่ัวคราวเท่านนั้ หากใชบ้ ่อยๆ จะส่งต่อไปในระบบความจา ระยะยาว หากไมใ่ ชใ้ นขณะนั้นก็จะเกดิ การลืม 3. ความจาระยะยาว เป็นระบบความจาทีห่ มายถงึ การจาส่ิงต่างๆ ตั้งแตเ่ มอ่ื 5 นาทีท่ีแล้ว หรือตงั้ แต่วยั ต้นของชวี ิตได้ เปน็ ความจาท่ถี าวร วธิ ีศึกษาความจา จากงานวิจัยของกง่ิ แก้ว ทรัพยพ์ ระวงศ์ (2551) ได้กล่าวไว้ว่า วิธกี ารศึกษาความจาของ มนษุ ยท์ าได้ 3 วิธี คอื 1. การจาได้ (Recognition) เป็นการศกึ ษาความจาโดยการนาเอาสง่ิ เรา้ ที่บุคคลเคยมี ประสบการณ์มาแลว้ มาใหด้ ูอีกคร้งั แลว้ ถามว่าจาได้หรือไม่ จาได้มากน้อยแคไ่ หน จาถกู หรอื จาผดิ อยา่ งไร 2. การระลกึ (Recall) เปน็ การศึกษาความจาโดยบคุ คลตอ้ งนึกถงึ สิง่ เรา้ ทีม่ ปี ระสบการณ์ผา่ น มา เช่น การบรรยายลักษณะท่าทางของคนรา้ ยให้ตารวจฟังหรือสเก็ตภาพ หรอื การจาภาพยนตรท์ ี่ เคยดมู าเมื่อวานนี้มเี น้ือหาเกี่ยวกับอะไรบ้าง เปน็ ตน้ 3. การเรียนซ้า (Relearning) เป็นการศกึ ษาความจาอีกวิธีหน่งึ ซง่ึ จะทาใหท้ ราบว่าจาได้ หรอื ไม่ และจาไดม้ ากแค่ไหน โดยการเรียนซ้าสงิ่ ที่เคยจาได้ ถา้ ปรากฏวา่ การเรยี นครั้งใหม่มีความ พยายามหรือเวลาในการจาเท่ากัน แสดงว่าจาไม่ได้เลย โดยคดิ จากสตู รการประหยัดความจา ดังนี้
42 Saving Score = 100 เมอ่ื A = ความพยายามในการจาครง้ั แรก B = ความพยายามในการจาครง้ั หลงั วธิ ที ดสอบความจา วิธที ดสอบความจามี 3 วธิ ีซ่ึงชัยพร วชิ ชาวธุ , 2518 ได้กล่าวสรุปไวด้ งั นี้ 1. การจาได้ (Recognition) คือความสามารถที่จะบอกได้ว่า สงิ่ เร้าทีป่ รากฏอยู่ตรงหน้าน้ัน เป็นสงิ่ เร้าที่เคยเรยี นรู้ หรือเคยมปี ระสบการณ์มาก่อนหรือไม่ หรอื ความสามารถที่จะบอกไดว้ ่าสง่ิ เร้า ที่ปรากฏอย่ตู ่อหน้าหลายสงิ่ น้ัน สิ่งเรา้ ใดท่เี คยรับรหู้ รือเคยมปี ระสบการณ์มาก่อน 2. การระลึก (Recall) คือ ความสามารถท่จี ะบอกถึงสิ่งท่เี คยเรียนรมู้ าแล้วได้โดยที่ส่ิงนนั้ ไมไ่ ด้อยูใ่ นสนามสมั ผัสในขณะนั้น หรือความสามารถท่ีจะบอกได้ว่าสงิ่ เร้าท่ีกาลังปรากฏตรงหน้านน้ั คอื อะไร การเรียนซา้ (Relearning) เปน็ การทดสอบความจาโดยใชเ้ วลาหรือจานวนครง้ั ในการเรียน เปน็ เครอื่ งวดั ความสามารถที่จะจาส่ิงเรียนได้ ถา้ หากเรยี นซ้าโดยใช้ระยะเวลาเรยี นครง้ั หลังสั้นกวา่ ระยะเวลาทเ่ี รยี นครงั้ แรกมากเทา่ ใดก็แสดงวา่ สามารถจาได้มากเทา่ นั้น จติ วิทยาการเรียนร้แู ละการจา ในการเรยี นภาษา ความจา เป็นสงิ่ ทสี่ าคัญมาก เพราะต้องอาศัยความจาในการจดจาเสียง ตัวสะกดและความหมายของคาศัพทร์ วมถึงลักษณะโครงสรา้ งของประโยคด้วย ซ่ึงในทางจิตวทิ ยาไดม้ ี ผใู้ ห้ความหมายของความจาไวห้ ลายท่านดงั เช่น ไสว เลี่ยมแกว้ (2528) กลา่ วว่า ความจา หมายถึง ผลทค่ี งอยูใ่ นสมองหลังจากสง่ิ เร้าได้หายไปจากสนามสัมผัสแลว้ ผลในทนี่ จี้ ะคงอยู่ในรูปของรหัสใดๆ ท่ีเปน็ ผลจากการโยงใยสมั พันธ์ กมลรตั น์ หล้าสุวงษ์ (2524) กลา่ วว่า ความจา เป็นความสามารถในการสะสมประสบการณต์ า่ งๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมแล้วสามารถถ่ายทอด ออกมาในรูปของการระลึกได้ Ausubel (1963 อ้างถึงใน กมลรตั น์ หลา้ สวุ งษ์, 2524) ให้ความหมายของความจาว่า หมายถึง กระบวนการทจี่ ะเก็บความหมายใหม่ทีไ่ ด้จากการเรียนร้ไู ว้ใน ลกั ษณะเดิมและกลา่ ววา่ การลืมคอื การลดสิง่ ท่มี ีอยูใ่ นความจา ส่วน Deese, Jame. Et al. (1978 อ้างถึงใน พะยอม วงศส์ ารศรี, 2526) มคี วามเห็นว่า การจา หมายถงึ สิง่ ท่ไี ด้เรียนในตอนแรก
43 ซง่ึ ยังเหลอื อย่แู ละการลมื ก็คอื สว่ นทสี่ ญู เสียส่งิ ท่ไี ด้เรียนไป ซง่ึ สรุปก็คือ ปรมิ าณของส่งิ ที่เรยี น – ปรมิ าณของส่ิงทลี่ ืมไป = ปริมาณของสิง่ ที่เหลืออยู่ นอกจากนี้ Cermark (1972 อา้ งถึงใน จริ าพร สุขกรงุ , 2553) กบั นักจิตวิทยาและนกั การศึกษาทัง้ หลาย กล่าวว่า ความจาและการเรยี นรู้เป็นของค่กู ันและมีความสัมพันธก์ ันอย่างใกลช้ ดิ จนเราสามารถ กลา่ วได้วา่ การเรียนรู้คือความจาน่นั เอง โดยการที่สมองเก็บเอาเน้ือหาสาระและความรู้ไว้ แตก่ ารจะ จดจาสิ่งที่เรียนมาแล้วหรือเก็บประสบการณ์ที่ไดเ้ รียนรมู้ าไว้ในสมองมากหรอื น้อยเพยี งใดน้ันขึ้นอยู่ กับองคป์ ระกอบหลายประการ องคป์ ระกอบหนึง่ ท่สี าคัญคือกระบวนการเรยี นรู้ ซ่งึ Gagne (1974 อ้างถึงใน อ่ิมจิต เลิศพงษ์สมบัติ, 2555) อธบิ ายขน้ั ตอนของกระบวนการเรยี นรู้ 4 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. ขน้ั สร้างความรคู้ วามเข้าใจ (Apprehended) ผู้เรยี นต้องใช้ความสนใจ ใส่ใจรับร้สู ิ่ง ตา่ งๆ จากสถานการณส์ ง่ิ เรา้ ผ่านประสาทสัมผสั และแปลความหมายของสิ่งทร่ี ับรนู้ น้ั ๆ ท้ังนี้ ข้นึ อยู่ กับความสามารถและประสบการณ์เดมิ ของแตล่ ะบุคคลขนั้ การเรยี นรู้หรือขน้ั รบั เอาไว้ (Acquisition) ในขัน้ น้ีจะเกดิ การเปล่ยี นแปลงในระบบประสาท เกิดเป็นความสามารถใหม่ขึ้น 2. ขน้ั เกบ็ เอาไว้ในความจา (Storage) ระยะนีส้ ่งิ ท่รี ับเอาไว้จะถกู เก็บไว้ในสว่ นของ ความจาในสมอง ระยะเวลาของการเก็บเอาไว้น้ีแตกตา่ งกันแล้วแตบ่ คุ คล สถานการณแ์ ละสง่ิ แวดล้อม 3. ขนั้ รอ้ื ฟ้นื (Retrieval) เปน็ ขน้ั ท่ีนาเอาสิ่งที่เรยี นรทู้ ี่เก็บไว้ในสว่ นความจาของสมอง ออกมาใช้ ซง่ึ จะแสดงออกมาในรูปของพฤตกิ รรม หรือการกระทาทสี่ ังเกตได้หรือวดั ได้โดยบุคคลอน่ื การรือ้ ฟน้ื นอ้ี าจออกมาโดยพฤติกรรมท่ีอา้ งถึงหรือพาดพงิ ไปถงึ การใช้ความสามารถของสติปญั ญา เช่น การคดิ แกป้ ัญหา วิเคราะห์สถานการณ์ การประเมินค่าส่งิ ตา่ งๆ เป็นตน้ ความจาระยะสัน้ และความจาระยะยาวจะเกดิ ข้นึ หลังจากการรับรู้หรือการเรียนร้เู ราใช้ ความจาระยะสน้ั สาหรับการจาเพียงช่วั คราว ความจาระยะยาวเปน็ ความจาท่คี งทนกวา่ ความจา ระยะสน้ั เราจะรสู้ ึกในส่ิงที่จาอยู่ในความจาระยะยาว แตเ่ มื่อต้องการใช้ หรอื มีหนึ่งสิ่งใดมาสะกดิ ก็ สามารถรือ้ ฟนื้ ขน้ึ มาได้ ความจาระยะสน้ั คอื ระบบความจาทเี่ ก็บสิง่ ท่ีเรียนรูไ้ ว้เพียงระยะสั้นเพียง 1-2 นาที และจะเลือนหายไปเนื่องจากกระบวนการรับรเู้ กดิ ข้ึนในเวลาอันรวดเรว็ และมสี ิง่ ทตี่ ้องจดจามาก การจาไดจ้ ึงมีอยู่เพียงระยะสั้นๆ เทา่ น้ัน ผลจากการทดลองของนักจติ วทิ ยาหลายๆ คน พอสรุปได้ว่า ผเู้ รยี นจะสามารถจดจาสิ่งต่าง ๆ ไว้ในระบบความจาระยะส้ันไดเ้ พยี งไม่เกิน 7 อย่างในเวลาเดยี วกนั ถ้าไม่มีการย้าทวนสง่ิ ทจ่ี ดจาก็จะเลือนหายไปจากความจาเมื่อมีการทบทวนหรอื รับร้สู ่งิ น้ันบอ่ ย ๆ ส่วนความจาระยะยาว คือ ความจาที่เก็บสิง่ ที่เรยี นรหู้ รือรบั รไู้ วอ้ ย่างถาวร โดยสามารถระลกึ หรือ นาส่ิงนนั้ ๆ มาใชไ้ ด้ทกุ เวลาท่ีตอ้ งการ ระบบความจาระยะยาวนไ้ี ม่มีขีดจากดั ในการเก็บสิง่ ทเี่ รียนรู้
44 แตใ่ นบางคร้ังเราอาจไม่สามารถนาสิ่งที่เกบ็ ไว้ออกมาใชไ้ ดเ้ นอื่ งจากคน้ หาไมพ่ บ ซ่ึงอาการดงั กล่าว เรียกวา่ การลืม การจะจาไดน้ านหรือไม่น้ันยังมอี งคป์ ระกอบท่มี ีอทิ ธพิ ลอยู่หลายอยา่ ง เชน่ ระดับสติปญั ญา ประสบการณ์เดมิ การทบทวน อายุ ระดบั การเรยี นรู้ ความหมายของเน้ือหาทีม่ ีตอ่ ผู้เรยี น ระดบั การ จาได้ของผู้เรยี น อารมณ์ของผ้เู รียนทมี่ ีต่อเนื้อหา วธิ ีการเรียนรู้ กจิ กรรมของผูเ้ รียนที่กระทาระหวา่ ง การเรียนรู้ ชว่ งของระยะเวลาระหวา่ งการเรยี นรู้กับการทดสอบความจาและวธิ ีทดสอบความคงทนใน การจา เป็นตน้ กระบวนการเรียนร้แู ละการจา ความจา เป็นกระบวนการที่สลบั ซบั ซ้อนและมคี วามสัมพันธ์กับประสบการณแ์ ละ การเกบ็ ข้อมลู จากส่ิงแวดล้อม รักษส์ ิริ แพงป้อง (2554) ได้กล่าวไว้ว่า ความจาประกอบดว้ ย 3 ขัน้ ตอน คือ 1. การรับข้อมลู หมายถงึ การทีร่ ะบบประสาทรับส่งิ เร้าในรปู ของขา่ วสารหรอื ข้อมลู ทีเ่ ขา้ มา 2. การเกบ็ รักษาข้อมูล หมายถึง การเก็บรักษาข้อมลู ไวใ้ นสมองหลงั จากท่ีรับข้อมูล มาแล้ว โดยการเกบ็ รักษามักจะเกบ็ ตามลกั ษณะของการรับสมั ผัส เช่น ในรปู ของการมองเหน็ หรอื ได้ ยิน เป็นต้น 3. การระลึกได้ หมายถึง การสามารถระลึกไดเ้ ม่ือต้องการนาข้อมลู ทเี่ ก็บไว้มาใชโ้ ดยสิ่งท่ี ตอ้ งการระลึกอาจเปน็ ความจาระยะส้ัน หรือระยะยาวกไ็ ด้ โดยท่คี วามจาอาจจะสูญหายไประยะหน่งึ กระบวนการเรยี นรู้และความจานัน้ สาคัญตอ่ การเรียน เพราะถ้าหากมีการเรยี นรแู้ ละ ความจาทส่ี น้ั การเรยี นรทู้ เ่ี รยี นมาก็ไมส่ ามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นการดาเนนิ ชีวิตได้เช่นกันการท่ีจะ จาส่ิงท่เี คยเรียนมากหรอื น้อยเพยี งใด ขน้ึ อยู่กบั กระบวนการเรยี นรู้ของแตล่ ะคน Gagne (1974 อา้ งถึงใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2540) อธิบายขน้ั ตอนของกระบวนการเรยี นรู้ และการจา ดงั นี้ 1. การจงู ใจ เปน็ การชกั จงู ใจให้ผู้เรียนอยากเรยี นรู้ 2. การทาความเข้าใจ เป็นขน้ั ทผี่ ู้เรียนสามารถจะเขา้ ใจสถานการณ์ทีเ่ ปน็ ส่ิงเร้า
45 3. การเรยี นรปู้ รงุ แต่งรบั รสู้ ่ิงทีเ่ รียนรู้ไว้เปน็ ความจา ขั้นนม้ี ีการเปลี่ยนแปลงเกิดเป็น ความสามารถอยา่ งใหมข่ น้ึ 4. ความสามารถในการสะสมสิ่งเรา้ เก็บไวใ้ นความจา ข้ันนี้เป็นการนาสง่ิ ท่ีเรยี นไปเกบ็ ไว้ ในส่วนของความจาเป็นช่วงเวลาหนงึ่ 5. การรอื้ ฟน้ื ขนั้ นีเ้ ป็นการระลกึ ส่งิ ท่ีเรยี นไปแลว้ และเก็บเอาไว้ออกมาใช้ในลักษณะของ การกระทาทส่ี ังเกตได้ 6. การสรปุ หลกั การ ขั้นนเ้ี ปน็ ความสามารถใช้ส่ิงทีเ่ รียนรูม้ าแล้วไปประยุกต์กับสง่ิ เรา้ ใหม่ ทป่ี ระสบ 7. การลงมือปฏิบตั ิ เป็นการแสดงพฤติกรรมที่แสดงออกถงึ การเรยี นรู้ 8. การสรา้ งผลการยอ้ นกลับ ขน้ั น้ีใหผ้ ้เู รียนรับทราบผลการเรียนรู้ จากกระบวนการเรยี นร้แู ละการจานี้จะเหน็ ได้ว่า หากจัดได้ครบตามกระบวนการ ยอ่ มสง่ ผลให้ผูเ้ รยี นเกดิ การจาส่ิงทีเ่ รียนรู้ไปแล้วน้ันได้ ข้นั ท่ีสาคญั ที่สุดและสง่ ผลต่อการจาทเี่ พิ่มข้นึ หรือลดลงหรอื จาไม่ได้เลยคอื ขนั้ ทาความเข้าใจและข้นั การเรียนรู้ (ชยั พร วชิ ชาวุธ, 2520) Atkinson และ Shiffrin (1968 อา้ งถึงใน ชยั พร วชิ ชาวธุ , 2520) ได้สร้างทฤษฎีความจาเพอ่ื อธบิ าย กระบวนการต่างๆ ในระบบความจาระยะส้ันและระยะยาว ซึง่ มชี อ่ื เรียกวา่ ทฤษฎีความจาสองกระบวนการ ทฤษฎคี วามจาสองกระบวนการ (Two-process Theory of Memory) (ภาควชิ า จิตวิทยา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่,2540 อ้างใน อรชุมา หลมิ ศริ ิวงษ์, 2544) โดย สรุปดงั นี้ 1. ความจาระยะสน้ั เปน็ ความจาชวั่ คราว 2. สิง่ ทจ่ี าไวใ้ นความจาระยะสัน้ ตอ้ งไดร้ บั การทบทวนตลอดเวลา มิฉะน้ันความจานัน้ จะ สลายตัวไปอยา่ งรวดเร็ว 3. จานวนส่ิงของท่จี ะรบั การทบทวนครงั้ หน่งึ ๆ ในการจาระยะส้นั มีจานวนจากัด จะทบทวนไดเ้ พียง 5-6 สงิ่ ในขณะเดยี วกนั เท่าน้ัน
46 4. สงิ่ ใดก็ตามถ้าอยู่ในความจาระยะสนั้ ยิง่ นานเทา่ ใดก็จะมีโอกาสฝงั ตวั อยูใ่ นความจา ระยะยาวมากเทา่ นน้ั 5. การฝงั ตวั ในความจาระยะยาว เป็นกระบวนการสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งส่งิ ทอ่ี ยู่ใน ความจาระยะยาวกับส่งิ ที่ตอ้ งการจา ส่งิ สาคัญทจ่ี ะชว่ ยใหเ้ กดิ ความคงทนในการเรียนรู้ สรปุ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื ประการ แรกได้แก่ ลกั ษณะของความต่อเนอ่ื ง หรอื ความสัมพนั ธก์ ันของประสบการณ์ที่จะทาใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ประการทีส่ อง ไดแ้ ก่ การทบทวนสง่ิ ที่ไดเ้ รียนรู้ไปแลว้ อย่เู สมอ ผู้วิจยั สรุปไดว้ ่า การทบทวนในสิง่ ทจ่ี าได้อยแู่ ล้วซ้าๆ จะสามารถช่วยให้มคี วามจาถาวร มากย่งิ ขึน้ และหากมีการทบทวนอยูเ่ สมอ ช่วงระยะเวลาท่ีความจาระยะส้ันจะฝงั ตวั กลายเปน็ ความจาระยะยาวหรอื ความคงทนในการจา ประมาณ 14 วันหลังจากที่ไดผ้ ่านการเรยี นรู้ไปแล้ว สอดคล้องกบั ชวาล แพรัตกลุ (2516) กลา่ ววา่ ในการสอบซา้ โดยใชแ้ บบทดสอบฉบับเดียวกนั ไปสอบ กับบคุ คลกลุ่มเดยี วกันเวลาในการทดสอบคร้งั แรกและครั้งทส่ี องควรเวน้ ห่างกนั ประมาณ 2-4 สัปดาห์ ความจาจากการมองเห็น ความจาในการมองเหน็ เป็นความจาประสาทสมั ผัส สร้อยสุดา วทิ ยากร (2544) กลา่ ววา่ ความจาจากการมองเห็น หมายถงึ ความสามารถในการเปรียบเทยี บขอ้ มลู ที่ปรากฏต่อการรบั รู้ทาง สายตา กับประสบการณเ์ ดิมท่ีมอี ยู่และสามารถระลึกได้ การเกบ็ ข้อมลู ในการมองเหน็ ไว้ไดน้ น้ั ตอ้ งมี การแปลงรหัสสงิ่ ทม่ี องเหน็ โดยจะเกิดข้นึ ระหว่างกระบวนการควบคมุ ซ่ึงจะตัดสนิ ใจวา่ จะแปลง ขอ้ มูลท่ีเหน็ เปน็ รหสั อะไร รกั ษ์สริ ิ แพงป้าง (2554) ได้กล่าวว่า ความจาจากการมองเห็นเปน็ การจาท่เี กิดจากการ เรียนรู้ รับรู้ และเปรียบเทียบทางสายตาและการอาศัยประสบการณเ์ ดมิ เช่อื มโยงความรู้จากความรู้ ใหมไ่ ปส่คู วามรูเ้ ก่าท่ีมีอยู่และทาใหเ้ กิดการระลึกได้ ผูว้ จิ ัยสามารถสรุปไดว้ ่า ความจาหมายถงึ ความสามารถในการเชอ่ื มข้อมลู ใหมก่ บั เกา่ เข้า ดว้ ยกนั ความจาจะเกิดขนึ้ ได้จากการระลกึ ถงึ สิ่งท่ีเคยเห็นและเกิดการเก็บเป็นข้อมูลใหม่ซึง่ สามารถ นามาใชต้ อ่ ไป การเพ่มิ ความจาจากการมองเห็นจะจดจาได้มาก จารายละเอียดได้ดี โดยผา่ นการมอง อยา่ งเป็นระบบ
47 การปรับปรุงความจา จากการศึกษาวิจัยและทดลองของนักจิตวทิ ยาท่ีก่งิ แก้ว ทพั ย์พระวงศ์ (2551) พบวา่ วธิ กี าร ท่ีจะชว่ ยให้ความจาของมนษุ ย์มีประสทิ ธิภาพท้งั ด้านคุณภาพและปริมาณ ได้แก่ 1. การจดั ระเบยี บ หมายถึง การจัดส่ิงที่จะจาให้เป็นหมวดหมู่ คอื จัดเปน็ พวก หรอื จดั เป็น ประเภท เพื่อให้จาได้งา่ ย และจาได้มาก 2. การเรยี นเกิน เป็นการใชค้ วามพยายามหลายๆ คร้งั ในการเรยี นรูท้ ีจ่ ะจา เชน่ อ่านหนังสอื หลายๆ เที่ยวเพอื่ ใหจ้ าได้ วิธกี ารน้ีเหมาะสมกับการจาสิ่งท่ีไมล่ ึกซึ้ง เชน่ สูตรคณู สูตรอาขยาน ฯลฯ 3. การฝกึ ระลึก เม่ืออา่ นหนงั สอื ไปแลว้ ลองนึกดูว่าเร่อื งท่ีอ่านไปมเี รื่องอะไรบ้าง โดยไม่ต้อง เปดิ หนงั สือ จะทาใหจ้ าได้ดีขึ้น 4. การเลือก เปน็ การเลือกจาแตป่ ระเด็นสาคัญๆ ก่อนแลว้ ค่อยศึกษารายละเอยี ดทีหลงั 5. จดั ตาแหนง่ ในการจาสิ่งต่างๆ บคุ คลมักจะจาสิง่ ที่อยู่ในตาแหน่งแรกๆ และตาแหน่งท้ายๆ ได้ดกี วา่ ตาแหน่งกลางๆ ดงั นั้น อยากจาให้ได้ก็ตอ้ งจัดตาแหนง่ ของส่งิ ทจี่ ะจาให้อยใู่ นชว่ งแรกหรือช่วง หลังของการจา จะทาใหจ้ าได้ดขี ้ึน 6. การนอนหลับ เม่ืออ่านหนังสือเสรจ็ แล้ว ควรนอนหลับพักผอ่ น เพื่อป้องกนั ไมให้เกิดการ รบกวนจากสง่ิ ตา่ งๆ ท่จี ะทาให้การจาสง่ิ ทอ่ี ่านไปไดผ้ ลน้อย 7. การทบทวน ทุกครง้ั ที่เรยี นรู้บทเรยี นไป ต้องม่ันทบทวน โดยใช้การฝึกฝนตลอดเวลา เม่อื ตอ้ งการใช้ก็จะสามารถนามาใช้ได้รวดเร็ว 8. การทาความเข้าใจ เปน็ วธิ กี ารท่ีเหมาะสมท่ีสุดสาหรับการจาสง่ิ ตา่ งๆ โดยเฉพาะเน้ือหา สาระทางวิชาการ การเข้าใจทาใหเ้ ก็บความจาเหล่านั้นไวใ้ นระบบการจาระยะยาว (LTM) ซง่ึ จะพบ เสมอว่า ถา้ เข้าใจในเร่ืองใดๆ แล้วจะจาเรือ่ งเหลา่ นั้นอัตโนมัติ ความสนใจ ความสนใจของผ้เู รียนเปน็ ปัญหาสาคญั อีกหนงึ่ อย่างของการจัดการเรียนการสอนใน ปจั จบุ ันคือ ผเู้ รยี นไมค่ ่อยจะสนใจในการสอนของ เกดิ ความเบอื่ หนา่ ย และไมต่ ้ังใจเรยี นเท่าที่ควร สาเหตทุ ่ีสาคญั ก็คือ ครเู ปน็ สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ ด็กเกิดความเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูไม่สามารถใช้ แรงจูงใจใหเ้ ด็กเกิดความสนใจ ขาดเทคนคิ ในการจูงใจ ขาดนวัตกรรมที่แปลกใหม่ เนื่องจากเดก็ ระดบั ประถมศึกษามีชว่ งเวลาของความสนใจในส่ิงต่างๆ สัน้ มาก ดงั นน้ั จึงไม่ควรมองข้ามการเข้าใจ และร้คู วามหมายของความสนใจตามทส่ี ชุ า จันทนเ์ อม (2536) กล่าวไวด้ ังนี้ ความสนใจหมายถึง
48 ความรู้สึก หรือทัศนคติ ที่มตี ่อส่ิงสงิ่ ใดโดยเฉพาะ และความรู้สกึ นั้นทาใหบ้ ุคคลเอาใจใส่ และกระทา การจนบรรลถุ งึ ความมงุ่ หมายทีบ่ คุ คลต่อสงิ่ นัน้ อิทธิพลที่สรา้ งความสนใจ สชุ า จันทนเ์ อม (2536) กล่าวว่า อายุ และพัฒนาการของเดก็ ที่เพิม่ ขนึ้ ทาใหค้ วามสนใจของ เด็กกว้างขวางย่งิ ขนึ้ ความสนใจของเดก็ ย่อมเพิม่ ขน้ึ ตามความสามารถและวุฒภิ าวะที่พฒั นาข้ึน เช่นกัน ดงั นั้นความสนใจของเดก็ จงึ ขึ้นอยกู่ บั ส่งิ เหลา่ นี้ 1. ความสามารถ เดก็ ตอ้ งมพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกายดีพอ ถา้ เดก็ ไมม่ ีพัฒนาการทางร่างกายทด่ี ี พอ เด็กกจ็ ะยังไม่สามารถใชส้ ่วนตา่ งๆของร่างกายได้ไม่เต็มที่ เชน่ เด็กยังใชเ้ ท้าไมค่ ล่อง เด็กก็จะไม่ สนใจทจ่ี ะเลน่ ฟุตบอล จนกว่าจะใช้เทา้ คล่อง เป็นต้น 2. การศกึ ษา เดก็ ไดร้ บั การศึกษาอบรมทางใด เด็กก็จะสนใจทางนั้น ธรรมชาติของเดก็ นั้นดี อยูแ่ ล้ว ครูสามารถสรา้ งความสนใจในเร่ืองใดๆ ก็ได้ เช่น เด็กสอบวิชาประวตั ศิ าสตร์ไดค้ ะแนนดกี ็ แสดงวา่ เด็กสนใจในวิชาประวัติศาสตร์ 3. ความถนัดตามธรรมชาติ เดก็ จะมีความสนใจในส่งิ ที่คนมีความถนัดตามธรรมชาติ เชน่ ถนดั วาดภาพ กส็ นใจเกีย่ วกบั อปุ กรณ์การวาดภาพ ดินสอ สี สีนา้ สีเทยี น เป็นต้น 4. บุคลิกภาพ บุคลิกภาพสามารถจะสง่ เสรมิ ความสนใจ เช่น การเลน่ กีฬาท่ีต้องใช้แรงกาย เด็กท่ีรา่ งกายไมแ่ ข็งแรงก็สนใจกฬี าในร่มแทน เป็นตน้ 5. ความคล่องแคล่ว เด็กมีความคล่องแคลว่ ทางใดก็สนใจในสิง่ น้นั เดก็ มีความคลอ่ งแคล่ว ทางใช้เทา้ ก็มักจะสนใจการเล่นทีเ่ กยี่ วกบั ใชเ้ ทา้ เชน่ วิ่งเร็ว วงิ่ เกบ็ ของ และวงิ่ ไล่จบั เป็นต้น 6. ความแปลกประหลาดของสิง่ ที่ได้พบเห็น เชน่ เดก็ ที่ไม่เคยไปสวนสตั ว์ เมอ่ื ไปครัง้ แรกกจ็ ะ สนใจส่งิ เรา้ ต่างๆ ท่ีไดพ้ บเห็นอยา่ งมาก 7. การเอาอย่าง ส่ิงใดท่คี นในหมคู่ ณะนิยม หรือสนใจทาให้คนทเ่ี ขา้ รว่ มเกดิ ความสนใจตาม ไปด้วย เช่น เดก็ ส่วนมากเห็น พอ่ แม่ ครู หรือเพ่ือน ชอบหรือสนใจสง่ิ ใดก็พลอยสนใจหรอื เอาใจใส่ ตามไปด้วย 8. ความตอ้ งการ เชน่ เมือ่ เด็กอยากเป็นคนเรียนเก่ง ก็จะพยายามสนใจเรยี นเพื่อใหไ้ ด้ท่ี 1 เป็นต้น
49 สาเหตทุ ี่ทาให้ความสนใจของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน จากงานวิจยั ของสุชา จันทนเ์ อม (2536) พบว่า โดยทั่วไป คนเรามีความสนใจในสิ่งต่างๆ ไม่ เหมอื นกนั สาเหตุท่ีทาให้ความสนใจของแตล่ ะคนแตกตา่ งกนั น้มี ีหลายประการ ได้แก่ ส่ิงแวดลอ้ มท่ี อยรู่ อบตัว เช่น การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจและสงั คม บุคลกิ ภาพของบุคคลก็สาคญั คือ อายุ เพศ ระดับปัญญา ความสามารถทางร่างกาย ความถนัดตามธรรมชาติ สุขภาพ เป็นตน้ ความสนใจของเด็กวยั กอ่ นเข้าเรียนจะเป็นความสนใจในสภาพแวดล้อมรอบตัวเด็ก พัฒนาการของเดก็ วยั นีเ้ ด็กสามารถใชก้ ล้ามเนอ้ื ตา่ งๆ ได้ดี เดก็ จะมีความสนใจการเล่น ท่ีมักเล่น คนเดียวมากกว่าจะเลน่ กับเพ่ือนเป็นกลมุ่ การเลน่ ของเด็กนอกจากเลน่ ของเล่นแล้ว เด็กยังชอบสมมติ ในการเลน่ เช่น เลน่ เปน็ พอ่ แม่ ลกู ครูกบั นักเรยี น เป็นต้น มีความสนใจรปู ภาพในหนงั สือซ่ึงภาพที่ เด็กสนใจจะต้องมีสีสนั ที่ชดั เจน สนใจฟงั วทิ ยุ ดูโทรทศั น์ ชอบฟงั นิทาน สนใจฟังเพลงท่มี ีจงั หวะง่ายๆ คารอ้ งสนั้ ๆ สนุกสนาน สนใจสงิ่ รอบตวั ชอบซกั ถาม สนใจในเสื้อผา้ สที ่ีเดก็ ชอบมกั เป็นสีสว่างสดใส มากกวา่ สีมืดทบึ เดก็ วยั น้สี นใจหนงั สอื การต์ นู ชอบใหผ้ ู้ใหญ่อา่ นให้ฟงั เพราะเด็กยังไมส่ ามารถอา่ นได้ ชอบเร่อื งราวเก่ียวกับสตั ว์ ธรรมชาติ นิทานมภี าพประกอบ วิธสี ง่ เสรมิ ความสนใจของเด็กวัยน้ีคือ หาของเลน่ ท่ีสง่ เสรมิ พัฒนาการด้านต่างๆ ให้แก่เด็ก หาหนังสอื สาหรับเด็กให้ดู โดยเลา่ เรื่องในรูปภาพ หรืออา่ นให้ฟงั สนับสนุนใหเ้ ด็กฟงั เพลง ฟังวทิ ยุ ดโู ทรทัศน์ ควรเลือกรายการใหเ้ หมาะสมกบั เด็ก การสอนเด็กในวยั น้คี วรใชว้ ธิ ีสอนแบบเรียนปนเล่น และมีเคร่ืองเล่นต่างๆ ให้เดก็ ได้ฝึกฝน การใช้มือ การคิด และการเรยี นรสู้ ่งิ แปลกๆ ใหม่ๆ ความสนใจของเด็กตอนกลาง อายุ 6-9 ปี คอื เริ่มสนใจในบุคคลอนื่ ๆ นอกครอบครัว เชน่ เพื่อนรว่ มชนั้ เรียน ครู โรงเรยี น และสภาพแวดล้อมต่างๆ รอบตวั เด็กในวัยนส้ี นใจทจ่ี ะเล่นกบั เพ่ือนๆ เป็นกลุ่มๆ สนใจกีฬา สนใจเล้ียงสตั ว์ อา่ นหนงั สือ เน่อื งจากเริม่ มีความสามารถท่จี ะอ่านหนงั สือได้ แลว้ ชอบดโู ทรทัศน์ โฆษณาต่างๆ ท่เี ปน็ สงิ่ ดงึ ดูดใจเป็นอย่างดี วธิ ีส่งเสริมความสนใจของเดก็ วยั นคี้ ือ ควรใหเ้ ด็กคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ไดล้ งมือกระทาเอง คดิ เอง ฝึกให้เดก็ เปน็ คนอา่ นมาก เห็นมาก ฟงั มาก โดยการจัดหาหนงั สือทดี่ ีมปี ระโยชนแ์ ละเหมะสมกับวยั ส่งเสริมให้เดก็ เลน่ ของเลน่ ทชี่ ว่ ยเสรมิ ประสบการณ์ กระตุน้ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ และเกิดความรู้สกึ เช่อื มั่นในตนเอง ส่วนในวยั เดก็ 10-12 ปี ซึง่ เป็นวยั เด็กตอนปลาย เด็กเร่มิ มีสตปิ ญั ญากว้างขวาง สามารถคิด และแก้ไขปัญหาได้มากขน้ึ มีความเช่อื มัน่ ในตนเอง มคี วามสนใจส่วนตวั ในเร่ืองรปู รา่ งลักษณะ การแต่งกาย ชอบแต่งกายสวยงาม สนใจการเขยี นบันทึกประจาวนั สนใจอสิ รภาพ สนใจการประกอบ อาชีพในอนาคต สนใจกฬี าทเี่ พ่อื นสนใจ มีความสนใจในภาพยนตร์หรอื ดาราท่ีชน่ื ชอบ สนใจสังคม การพูดคยุ งานเลยี้ ง เหตกุ ารณ์บา้ นเมือง งานวจิ ารณ์ต่างๆ การช่วยเหลือบุคคลในสงั คม วิธกี าร สง่ เสริมความสนใจของเด็กวยั นค้ี อื ให้ความอบอนุ่ และใหก้ าลงั ใจแกเ่ ด็ก หากมีการมอบงานให้ทาควร
50 ใหท้ าเป็นกลุ่มตามทีเ่ ขาสนใจและถนัด แนะนาให้ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และควรฝึกใหเ้ ด็ก สามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กับสงิ่ แวดล้อมใหม่ๆ เพอื่ เปน็ การวางรากฐานการดาเนนิ ชีวิตท่เี หมาะสม ความสนใจของเด็กนน้ั จะแตกตา่ งกนั ไปตามวัย ซง่ึ ข้นั อยู่กับบุคลิกภาพสว่ นบุคคลและ สิง่ แวดลอ้ ม พ่อ แม่ ครู หรือ ผ้ทู เ่ี กีย่ วขอ้ งกับเด็ก จะส่งเสริมให้เด็กมีพฒั นาการในด้านใดนัน้ จาเปน็ ต้องร้ถู ึงความสนใจของเด็กว่ามีต่อสงิ่ นัน้ อย่างไร และมมี ากนอ้ ยเพียงใด โดยการสังเกตหรอื พดู คุยกับเด็ก แลว้ หาทางส่งเสรมิ พัฒนาการทางนน้ั ถา้ หากพบว่าเด็กอย่างไม่มีความสนใจ ก็อาจจะมี การสร้างความสนใจใหเ้ กิดกับเด็กได้ โดยพยายามสรา้ งทศั นคติของเด็กเสยี ใหม่ให้เขาหนั มาสนใจเรื่อง ท่ีปลูกฝัง ความคงทนในการเรยี นรู้ ความหมายของความคงทนในการเรยี นรู้ การเรียนร้ทู ุกอย่างต้องมีการคงทนในส่งิ ท่ีเรียนมาแล้ว เพราะถา้ เราลืมส่งิ ทเ่ี คยเรยี นรู้และ ประสบการณ์ท่ผี ่านมาทัง้ หมด กเ็ หมอื นกับวา่ ไม่มีการเรยี นรูเ้ กดิ ข้นึ เน่อื งจากสิ่งทเี่ รยี นรูค้ ือส่งิ ท่ี ผูเ้ รยี นสามารถจาได้ และค้นคว้ามาใช้ได้ ดงั นนั้ การเรียนรจู้ ึงมคี วามสาคัญไม่น้อย คานยิ ามและ ความหมายของการเรยี นรู้ ที่ Adam (1967 อ้างถงึ ใน วชั ลี บวั ตา, 2550) กล่าวว่า ความคงทน ในการเรยี นรู้ คอื การคงไว้ซ่งึ ผลการเรยี นหรอื ความสามารถที่จะระลกึ ไดต้ ่อส่ิงเรา้ ทเ่ี คยเรียนหรือ เคยมีประสบการณ์การรบั รมู้ าแล้ว หลงั จากทีท่ งิ้ ระยะเวลาไว้ระยะเวลาหนึ่ง นักวชิ าการของไทย หลายทา่ น เชน่ กมลรตั น์ หลา้ สวุ งษ์ (2524) ให้ความหมายวา่ ความคงทนในการเรยี นรู้ หมายถงึ ความสามารถสะสมประสบการณต์ า่ งๆ ท่ีได้รับจากการเรยี นรู้ท้งั ทางตรงและทางอ้อม แลว้ สามารถ ถา่ ยทอดออกมาในรปู ของการระลึกได้หรือจาได้ สรุ างค์ โค้วตระกลู (2541) ให้ความหมายวา่ การเรยี นรู้ หมายถงึ การเปลี่ยนพฤติกรรม ซ่ึงเป็นผลเน่อื งมาจากประสบการณ์ท่ีคนเรามีปฏสิ ัมพันธ์ กับสิง่ แวดล้อมหรือจากการฝึกหัด รวมท้งั การเปลยี่ นปริมาณความรขู้ องผู้เรยี น จริ าภา เตง็ ไตรรตั น์ (2543) ได้ใหค้ วามหมายไวว้ ่า ความคงทนในการเรียนรู้ หมายถึงการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมท่ี ค่อนข้างถาวร ซึ่งเป็นผลสบื เนือ่ งจากประสบการณแ์ ละการฝกึ หดั สกุ ัญญา เทยี นพิทักษก์ ุล (2543) ได้ใหค้ วามหมายไว้วา่ ความคงทนในการเรยี นรู้ หมายถึง ความสามารถในความจา และการระลกึ ได้ ตอ่ ประสบการณ์ทรี่ บั รู้มาแลว้ หลังจากไดท้ ้ิงเวลาไวช้ ่วงระยะหนึ่ง อรรคพล คาภู (2543) ไดใ้ หค้ วามหมายไวว้ า่ ความคงทนในการเรยี นรู้ หมายถึง การที่รา่ งกายสามารถทีจ่ ะแสดงอาการหรือ พฤติกรรมท่เี คยเรยี นมาแลว้ หรือมปี ระสบการณร์ ับรู้มาแล้วหลังจากที่ทอดท้ิงไว้ชวั่ ระยะเวลาหน่ึง โดยไมม่ ีการกระทาเลยในชว่ งเวลาท่ที ้ิงไป เกษมศรี ภัทรภูรสิ กลุ (2544) ไดใ้ ห้ความหมายไว้ว่า
51 ความคงทนในการเรยี นรู้ หมายถงึ ความสามารถในการสะสม ระลึกถึงเน้อื หาหรือส่ิงต่างๆ ที่นักเรยี น ไดร้ ับการเรียนรูห้ รือได้รับประสบการณ์มาก่อนในระยะที่ทิ้งช่วงหา่ งกนั ออกไประยะหนงึ่ และ อาภรณ์ ใจเทยี่ ง (2544) กล่าววา่ การเรียนรู้ คือ กระบวนการท่บี คุ คลเกดิ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม อย่างค่อนข้างถาวร อนั เนอ่ื งมาจากประสบการณ์หรือการฝึกหัดการเรียนรแู้ ละการจามีความสัมพันธ์ กนั อย่างใกลช้ ดิ ไมอ่ าจจะแยกออกจากกันได้ กลา่ วคอื ในการศึกษาเรอ่ื งการเรียน เราใหผ้ ูเ้ รียนกระทา อะไรสกั อย่าง แลว้ เราดูผลการกระทานน้ั ว่าได้เปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผูเ้ รียนไปอยา่ งไรบา้ ง การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมน้ี คือ การเรยี นรู้ และในการประเมินผลวา่ การเปลยี่ นแปลงเกดิ ข้ึนหรอื ยัง หรอื การเปล่ยี นแปลงเปน็ ไปมากนอ้ ยเพียงใด ถา้ เราประเมินผลทนั ทที ี่ผู้เรียนทาในสงิ่ ทีเ่ ราตอ้ งการได้ สาเรจ็ ผลท่ีไดจ้ ะเป็นผลการเรยี น แล้วถา้ เราคอยใหเ้ วลาล่วงเลยไป อาจเปน็ 2 นาที หรอื 5 นาที หรือหลายๆวัน แล้วคอ่ ยประเมนิ การเปล่ียนแปลงที่ได้จะเปน็ ผลการเรียนและการจา ดงั นน้ั ความ คงทนในการเรยี นรสู้ ามารถสรุปไดด้ งั น้ี จากข้อความที่กล่าวมาในขา้ งต้นสรุปได้วา่ ความคงทนในการเรียนรู้ คอื ความสามารถในการ จาได้ในสงิ่ ทเ่ี รียนรู้มาแลว้ หลงั จากผ่านมาในชว่ งระยะเวลาหนง่ึ และสามารถนาประสบการณเ์ ดิมมา ประยกุ ต์ใช้กบั ประสบการณใ์ หมท่ เี่ กิดขนึ้ ในชีวิตประจาวนั การทดสอบความคงทนในการเรยี นรู้ รักษ์สิริ แพงป้อง (2554 ) กล่าวว่า การวัดความคงทนในการเรียนรู้ เปน็ การสอบซ้าโดยใช้ แบบทดสอบฉบบั เดยี วกนั ไปทดสอบกบั ทุกกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดยี ว เวลาในการทดสอบครง้ั แรกและ ครง้ั ท่สี องควรเวน้ ห่างกันประมาณ 2 สัปดาห์ โดยมีวธิ ีการทดสอบ 2 วธิ ี คอื 1. การจาได้ หมายถึง การจาในสงิ่ ทีพ่ บเห็นโดยการแสดงส่ิงของหรือเหตกุ ารณ์ ซึง่ เป็นส่ิงทผ่ี ู้ ถูกทดสอบเคยประสบมาแลว้ ไดเ้ หน็ ตอ่ หนา้ ผู้ถูกทดสอบก็จะเปรยี บเทียบการบั รูข้ องตนในอดตี และ เลอื กตอบตามความคดิ เหน็ หรือจะตอบวา่ จาได้หรือไมไ่ ด้เท่านน้ั 2. การระลึก ผรู้ ะลึกจะสรา้ งเหตุการณต์ า่ งๆ จากความจา อาจเขยี นหรือเลา่ ในสงิ่ ทเ่ี รียนรู้ ผา่ นไปแลว้ โดยไม่ให้โอกาสทบทวนกอ่ นการทดสอบ การทดสอบประเภทนี้มี 3 วธิ ี คอื 2.1 การระลึกเสรี เปน็ การระลกึ สง่ิ เร้าใดๆ ก่อนหรอื หลงั โดยไมต่ ้องเรยี งลาดับ 2.2 การระลึกตามลาดบั เป็นการระลกึ ส่ิงเรา้ ตามลาดบั เช่น หมายเลขโทรศพั ท์ 2.3 การระลึกซ้า หมายถงึ การทาซา้ ๆ หรอื การเสนอส่ิงเรา้ ซ้าๆ ในการเรียนรู้ การ เรยี นรแู้ บบน้มี ักใชว้ ดั ดว้ ยเวลาหรือจานวนครัง้ (รักษส์ ิริ แพงป้อง, 2554)
52 กลา่ วโดยสรปุ คอื การทดสอบความคงทนในการเรยี นรจู้ ะต้องใชข้ ้อสอบฉบับเดยี วกนั มา ทดสอบกับกลมุ่ ตัวอย่างกลุ่มเดมิ โดยการทดสอบจะต้องมีการท้ิงระยะเวลาใหห้ ่างจากการทดสอบใน ครงั้ แรกอยา่ งน้อย 2 สัปดาห์ ระยะเวลาในการวดั ความคงทนในการเรียนรู้ มีนกั การศึกษาหลายท่านไดท้ าการศึกษาเก่ียวกับชว่ งเวลาในการทดสอบความคงทนในการ เรยี นรไู้ ว้ Atkinson and Shiffin (1986 อา้ งถงึ ใน รักษส์ ริ ิ แพงป้อง, 2554) มีความเหน็ วา่ ในการทดสอบความคงทนในการจา ควรเวน้ ระยะเวลาห่างจากการทดสอบคร้ังแรกประมาณ 1 วนั เพราะเป็นชว่ งระยะเวลาท่ีความจาสนั้ ฝังตัวกลายเปน็ ความจาระยะยาวหรือความคงทนในการจา และการทดสอบวดั ความคงทนนัน้ จะต้องมกี ารทดสอบท่ีใช้ขอ้ สอบฉบับเดียวกัน โดยมีการเว้นระยะ ครัง้ แรกครง้ั ท่ีสอง ประมาณ 2 สัปดาห์เปน็ อยา่ งต่า เพราะช่วงนี้เป็นการฝงั ตวั ของความจาระยะสัน้ เป็นระยะยาวหรือความคงทนนนั่ เอง กลา่ วโดยสรุป คอื ระยะเวลาในการวดั ความคงทนในการเรียนรจู้ ะต้องมกี ารเว้นระยะหา่ ง จากการทดสอบในครัง้ แรกอย่างนอ้ ย 2 สปั ดาห์ เพราะช่วงน้เี ป็นการฝังตวั ของความจาระยะสนั้ เป็น ความจาระยะยาวหรอื เรยี กว่าความคงทนน้นั เอง การวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) ความหมายของการวิจยั แบบผสมผสาน นกั วชิ าการหลายท่านไดใ้ หค้ วามหมายของการวิจับแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ไว้ดังน้ี เนาวรัตน์ พลายนอ้ ย (2549) ได้ใหค้ วามหมายของการวิจยั แบบผสมผสานไว้ว่า เป็นการ ผสานวธิ ีคดิ ระเบียบวิธีเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ใชก้ ารสังเกตกิจกรรม การร่วมกจิ กรรม การเก็บ รวบรวมข้อมลู เป็นระยะๆ จิตราภา กณุ ฑลบุตร (2550) กลา่ ววา่ การวจิ ัยแบบผสมผสาน หมายถงึ การวิจยั ทใ่ี ช้เทคนคิ การวิจัยเชิงปริมาณและเทคนิคการวจิ ัยเชิงคุณภาพมาผสมผสานกันในการวจิ ัยเรื่องเดียวกนั เพื่อทาให้ งานวจิ ัยมคี วามสมบรู ณย์ ่ิงข้นึ โดยมพี นื้ ฐาน แนวคดิ จากการรวมปรชั ญาของกลมุ่ ปตฐิ านนิยมและกลุ่ม ปรากฏการณน์ ยิ มเขา้ ดว้ ยกัน
53 โกศล มีคณุ (2551) ได้กลา่ ววา่ ปจั จบุ ันการวิจัยโดยใช้รปู แบบวิธีการวจิ ยั เชงิ ปริมาณหรอื เชิง คณุ ภาพแบบใดแบบหนึ่ง อาจไมส่ ามารถให้คาตอบทางการวิจัยทเี่ ป็นท้งั ความคลอบคลุมและละเอียด ได้ นกั วิชาการสมัยใหมจ่ งึ ได้มีการใชร้ ปู แบบการวิจัยแบบผสมผสานมากข้นึ โดยใชร้ ปู แบบวจิ ยั ที่ ผสมผสานระหวา่ งวิธวี ิจัยเชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ บุญชม ศรีสะอาด และสุริทอง ศรีสะอาด (2552) ได้กลา่ วไว้ว่า การวจิ ยั แบบผสมผสาน หมายถงึ กระบวนการวิจยั ทผี่ สมผสานรปู แบบหรอื ใชเ้ ทคนิควิธกี ารเก็บรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูล หลายวิธีหรอื เป็นกลยุทธ์ทเี่ ชื่อมโยงระหว่างวจิ ยั เชิงปริมาณกับงานวิจยั เชงิ คุณภาพเพ่ือชว่ ยให้นกั วจิ ยั เขา้ ใจถึงคาตอบทเ่ี ปน็ จรงิ อยา่ งครอบคลุมมากยิ่งข้ึน และมีความชัดเจนในหลายมติ ิ การวเิ คราะหห์ รอื เก็บข้อมลู ทง้ั ในเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพอาจเกดิ ข้ึนพร้อมกนั หรอื เกดิ ขนึ้ ลาดับก่อนหลังกไ็ ด้ รัตนะ บัวสนธ์ (2552) การวจิ ยั เชงิ ผสมผสาน หมายถงึ การใชเ้ ทคนคิ วิธกี ารเชงิ ปรมิ าณและ เชงิ คณุ ภาพมารว่ มกนั ศึกษาหาคาตอบของงานวิจยั ในข้ันตอนใดขนั้ ตอนหน่ึงหรือในระหว่างขั้นตอน ภายในเร่อื งเดียวกัย หรือใช้เทคนคิ วธิ ีการเชงิ ผสมในเรื่องเดียวกัน แต่ดาเนนิ การวจิ ัยต่อเน่ืองแยกจาก กนั แล้วนาผลการวิจยั มาสรุปรว่ มกนั ท้งั น้ีวิธีการวิจัยเชิงผสมผสานเกดิ ข้ึนได้บนพ้ืนฐานของกลมุ่ สานกั คดิ ปฏิบัตนิ ิยม และสถานการณ์นยิ ม ซ่ึงสนับสนุนว่า การใชเ้ ทคนคิ วิธีการเชงิ ปริมาณและเชิง คุณภาพ สามารถท่ีจะนามาร่วมกนั ศกึ ษาหาคาตอบในปัญหาวจิ ัยเดยี วกันได้ พาณี ยอดรัตน์ (2556) ไดก้ ล่าววา่ การวิจยั แบบผสมผสาน เปน็ เทคนคิ วิธวี จิ ัยท่ีนาเทคนิค วิธีการวจิ ัยเชงิ ปริมาณและเทคนคิ วิธีวิจยั คุณภาพมาผสมผสานกันในการทาวจิ ัยเรอื่ งเดยี วกัน เพ่ือทจ่ี ะ ตอบคาถามได้สมบูรณย์ ิ่งข้ึน ชชู าติ พว่ งสมจติ ร์ (2557) ได้กล่าววา่ การวจิ ยั แบบผสมผสานเป็นการนาวธิ วี จิ ยั ท้ังเชิง ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพมาใช้ในการวิจยั เรื่องเดยี วกนั เพ่ือให้ได้ผลการวจิ ัยทรี่ อบคอบ รดั กมุ โดยใช้จดุ แขง็ ของงายวิจัยเชิงปริมาณมาแกไ้ ขจดุ อ่อนของงานวิจัยเชิงคณุ ภาพ และใช้จดุ แข็งของงานวิจยั เชิง คณุ ภาพมาแก้ไขจุดอ่อนของงานวจิ ัยเชงิ ปริมาณ การวิจยั แบผสมผสาน หมายถึง การวจิ ยั ท่ผี ู้วิจยั ใชเ้ ทคนิค แนวทาง ความคิดรวบยอด หรือ ภาษาผสมผสานรว่ มกัน ระหว่างการวิจัยเชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพในการวจิ ัยเรือ่ งเดียวกนั มีการ เกบ็ ข้อมูลหรือวิเคราะห์ข้อมูลทัง้ ทเ่ี ปน็ เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ ซ่ึงอาจจะเกดิ ขึน้ ในเวลาเดียวกนั หรอื เปน็ ลาดับขั้นตอนก่อนหลังก็ได้ โดยผวู้ ิจัยใหค้ วามสาคัญกับข้อมูลเป็นอนั ดับแรก และเกี่ยวข้อง กบั การบรู ณาการข้อมูล ณ จุดใดจุดหนึง่ ของกระบวนการวิจยั (Ivankova, Creswell และ Stick, 2006 อ้างถงึ ใน ฉตั รสุมน พฤฒภิ ญิ โญม, 2553) ลักษณะของการวิจยั เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คุณภาพในเชิงเปรยี บเทียบ สรปุ สาระสาคญั ได้วา่ โดยทว่ั ไปงานวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณใช้เพือ่ ตอบคาถามท่ีเป็นความสมั พนั ธ์ระหว่างตวั แปร โดยมีเปา้ หมายที่ จะอธิบายที่น่าสนใจ ในด้านงานวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพน้ัน ใชเ้ พ่ือตอบคาถามเกี่ยวกบั ปรากฏการณ์ทาง
54 ธรรมชาตทิ ซ่ี ับซ้อน มักใช้เพื่อเป้าหมายในการสรา้ งความเข้าใจหรอื บรรยายปรากฏการณ์จากทศั นะ ของผู้อยู่ในเหตกุ ารณ์ การวิจัยเชงิ ปริมาณ มักจะเร่ิมตน้ ด้วยการมีสมมติฐานท่ีต้องทดสอบ มีตวั แปรที่สนใจศึกษา ชดั เจน มีการควบคมุ ตัวแปรภายนอกไมใ่ ห้มาเกีย่ วข้องกบั ผลวจิ ยั ทีก่ าลงั ศึกษา ใช้วิธกี ารมาตรฐานใน การรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณในรปู แบบต่างๆ ใช้วธิ กี ารทางสถิตใิ นการวิเคราะห์และหาข้อสรุปจาก ขอ้ มูล ส่วนการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ มักเร่ิมต้นดว้ ยคาถามวจิ ัยทั่วๆ ไปมากกว่าจะเปน็ สมมติฐานท่ี เฉพาะเจาะจง ทาการรวบรวมขอ้ มูลที่เปน็ คาพูดบรรยายจากผรู้ ่วมเหตกุ ารณ์ซึ่งเป็นกลุ่มขนาดเล็ก มี การจัดการกบั ข้อมูลโดยการตีความเพื่ออธิบายสถานการณ์ท่ศี ึกษา การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ มกั จบด้วย การสนับสนุนหรือไมส่ นับสนุนสมมติฐานที่ทดสอบ ขณะที่เชิงคุณภาพ ซง่ึ มักจบลงดว้ ยคาตอบทเ่ี ป็น แนวโนม้ หรอื ขอ้ เสนอสมมติฐานทตี่ ้องการทดสอบต่อไป ในแนวทางดงั กล่าววิธวี จิ ยั เชงิ ปริมาณและ เชิงคุณภาพ จงึ มลี ักษณะของการเสริมเตมิ เต็มในกระบวนการวจิ ยั ซงึ่ กนั และกัน แบบแผนการวจิ ัยแบบผสมผสาน แบบแผนวจิ ัยแบบผสมผสาน (Mixed Methodology) ประกอบด้วย 4 แบบแผนหลกั โดยท่ี แต่ละแบบแผนกย็ ังประกอบไปด้วยแบบแผนย่อยๆ ซ่งึ มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไปดงั น้ี (รัตนะ บัวสนธ์, 2552) 1. แบบแผนแบบสามเสา้ (Triangulation Design) เป็นแบบแผนการวิจัยแบบผสมผสาน เพือ่ ศกึ ษาหาคาตอบให้กับปัญหาวิจยั ในเรอื่ งเดียวกัน โดยแยกวิธดี าเนินงานในนา้ หนักความสาคญั ของวิธีวิจัยท้งั สองเท่าเทยี มกัน ใชช้ ว่ งเวลา ระยะเวลาในการดาเนินงานระยะเดยี วกนั และดาเนินการ วิจัยไปพรอ้ มๆกนั ปัญหาและคาถามมักจะมลี ักษณะเอ้ือต่อกนั ท้ังวิธวี ิจัยเชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ มกี ารเก็บขอ้ มูลและวเิ คราะห์ข้อมูลในประเด็นเดียวกนั เพ่ือนาผลการวเิ คราะห์ข้อมลู นั้นมา เปรยี บเทียบความเหมอื นและความแตกต่างและสรุปตีความ ตอบปัญหาการวิจัยรว่ มกนั ในลักษณะ ส่งเสริมเตม็ กนั และกันใหง้ านวจิ ัยออกมาสมบรู ณ์ แบบแผนการวจิ ัยเชิงผสมผสานแบบสามเส้ายังแบ่งเปน็ แบบแผนยอ่ ยๆ อกี 3 แบบแผน ได้แก่ 1) แบบการแปลงข้อมูลเชงิ คุณภาพสูข้ ้อมูลเชิงปริมาณ 2) แบบการตรวจสอบความตรงของขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ 3) แบบพหุระดับ ซึ่งทง้ั 3 แบบแผนมีลักษณะของการผสมผสานที่แตกต่างกันออกไป แตย่ ังคงมลี ักษณะหนงึ่ ท่ี เหมอื นกันคือ มวี ธิ ดี าเนนิ งานในน้าหนักความสาคญั ของวธิ วี ิจยั ทง้ั สองเท่าเทยี มกนั ระยะเวลาในการ
55 ดาเนนิ งานระยะเดียวกนั และดาเนินการวจิ ัยไปพร้อมๆกัน ปญั หาและคาถามมกั จะมีลกั ษณะเอ้ือตอ่ กัน มกี ารเกบ็ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมลู ในประเดน็ เดยี วกนั เพอ่ื นาผลการวเิ คราะห์ข้อมลู นั้นมา เปรยี บเทียบและสรปุ ตีความร่วมกนั ในลักษณะสง่ เสรมิ เตม็ กันและกนั ให้งานวิจยั ออกมาสมบูรณ์ 2. แบบแผนแบบรองรบั ภายใน (Embedded Design) เปน็ แบบแผนการวิจัยแบบผสมผสาน ท่มี ลี ักษณะทั้งเปน็ การศึกษาระยะเดยี วและสองระยะต่อเน่ืองกนั แบบแผนวิจยั แบบนจ้ี ะมกี ารจดั ให้ วธิ ีการวจิ ยั อย่างใดอย่างหน่งึ เปน็ หนกั และอีกวิธกี ารวิจยั หน่ึงเป็นวิธกี ารรอง น่ันหมายถึงการให้ น้าหนักความสาคัญไม่เท่ากัน และศึกษาหาคาตอบในปัญหาวจิ ัยเดียวกนั แตป่ ระเด็นทศี่ กึ ษา ไม่ใช่ ประเด็นเดียวกนั นั้นคือประเด็นตา่ งกนั ใช้วธิ กี ารตา่ งกัน แบบแผนการวิจัยแบบรองรับภายในจะ แตกต่างจากแบบแผนสามเสา้ คือ มีนา้ หนักความสาคญั ไมเ่ ท่ากันข้ึนอยกู่ ับประเดน็ ที่ใช้ในการศกึ ษา แบบแผนการวจิ ยั เชงิ ผสมผสานแบบรองรบั ภายใน ยงั แบ่งเป็นแบบแผนย่อยๆ อีก 4 แบบแผน ได้แก่ 1) แบบแผนรองรบั ภายในรูปแบบการทดลองระยะเดียว วิธกี ารเชิงปริมาณเปน็ หลัก 2) แบบแผนรองรับภายในรปู แบบการทดลองระยะเดยี ววธิ กี ารเชงิ คุณภาพเปน็ หลกั 3) แบบแผนรองรบั ภายในรูปแบบการทดลองสองระยะ วธิ กี ารเชงิ ปรมิ าณเป็นหลกั 4) แบบแผนรองรับภายในรูปแบบการทดลองสองระยะ วธิ กี ารเชิงคุณภาพเปน็ หลกั ซึ่งทั้ง 4 แบบแผนย่อยก็มีความเหมาะสมสาหรบั นาไปใช้ศกึ ษาหาคาตอบให้กับปัญหาและ วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั ตลอดจนมีข้ันตอนการทางานทแี่ ตกต่างกัน 3. แบบแผนเชงิ อธิบาย (Explanatory Design) เป็นแบบแผนการวิจยั แบบผสมผสานทมี่ ี ลกั ษณะการดาเนินงานวจิ ยั สองระยะ โดยเริม่ ต้นการวจิ ยั ดว้ ยวธิ ีการเชิงปรมิ าณกอ่ นเสมอ และใช้ ผลการวจิ ยั ท่ีไดเ้ พ่ือพิจารณาคัดเลอื กประเดน็ ปญั หาและผูใ้ ห้ข้อมลู สาหรับดาเนินงานวิจัยดว้ ยวิธีการ วิจยั เชิงคุณภาพต่อไป แบบแผนการวจิ ยั เชิงผสมผสานแบบเชิงอธิบาย 4. แบบแผนเชิงสารวจบกุ เบิก (Exploratory Design) เป็นแบบแผนการวิจัยแบบผสมผสาน ทมี่ ลี ักษณะการดาเนนิ งานวจิ ยั สองระยะเช่นเดยี วกัน แต่แบบแผนการวิจยั แบบนจี้ ะเริ่มตน้ ด้วยการใช้ วธิ กี ารวจิ ยั เชิงคุณภาพก่อนเสมอ นอกจากน้นั ยังใหน้ า้ หนักความสาคญั ของวธิ ีการวิจัยทง้ั สองวิธีไม เท่ากันอกี ดว้ ย แบบแผนการวิจยั เชิงผสมผสานแบบนนี้ ิยมใชส้ าหรับการคน้ หาตัวแปรใหมๆ่ หรอื เพื่อ สรา้ งเครอ่ื งมือวดั ตวั แปรตลอดจนใช้สาหรับพัฒนาสารบบ แนวคดิ ทฤษฎีใหม่ๆ
56 ข้อดีและข้อจากัดของวจิ ัยแบบผสมผสาน ขอ้ ดีและข้อจากัดของวจิ ัยแบบผสมผสาน (รตั นะ บวั สนธ,์ 2552) ข้อดี 1. ทาให้ได้คาตอบหรือสามารถท่ีจะตอบคาถามของการวิจัยหรอื ประเมินทวี่ ิธกี าร เชิงปริมาณและวิธกี ารเชงิ คุณภาพไม่สามารถตอบได้อย่างครอบคลุม 2. ทาให้ได้คาตอบท่ีกอ่ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจในประเด็นท่ีศกึ ษาอย่างกว้างขวาง 3. ทาให้นักวิจัยหรือนกั ประเมินมโี ลกทัศน์ทางวิชาการกว้างขวางสอดคล้องกับความ เปน็ จริงของศาสตร์ทางสังคมหรือการศึกษามากกวา่ การที่ยึดม่นั เพียงโลกทัศน์เชิงปริมาณและ เชงิ คุณภาพเพียงอยา่ งเดียว 4. ช่วยใหน้ ักวจิ ัยหรอื นักประเมินตงั้ คาถามและวตั ถุประสงค์ของการศึกษาหา คาตอบได้อย่างหลากหลายและยังสามารถใช้เทคนิควิธีการอยา่ งหลากหลาย ในการหาคาตอบให้กับ คาถามและวตั ถุประสงค์การวิจยั ข้อนนั้ ๆ อีกดว้ ย ข้อจากดั 1. ยากในการดาเนินงานวิจยั โดยเฉพาะนกั วิจัยท่ีถูกฝึกฝนมาโดยวิธีได้วิธีหนึง่ เพยี ง อย่างเดยี ว 2. สิ้นเปลืองทรัพยากรในการดาเนินงานมากทั้งระยะเวลาและงบประมาณ ในการวิจยั 3. การเขียนรายงานไมม่ รี ปู แบบทช่ี ดั เจน 4. ผลการศึกษาหรือข้อค้นพบขดั แย้งกนั ทาให้ยากแกก่ ารนาไปใชแ้ ละสรา้ งความ เข้าใจต่อผ้อู ่าน วธิ ีการวิจยั แบบผสมผสาน องคป์ ระกอบหลักของการออกแบบแผนการวิจัยเชิงผสมผสาน (รัตนะ บัวสนธ์, 2552) 1. วัตถุประสงค์ คือ เปา้ หมายทีแ่ ท้จริงของการศึกษาวจิ ัย 2. กรอบความคดิ การวจิ ัย คือ ทฤษฏีหรอื ความเชอื่ เก่ียวกบั การศกึ ษาปรากฏการณ์ ท่จี ะใชเ้ ปน็ แนวทางในการศึกษาวจิ ัย 3. คาถามการวจิ ยั คือ ต้องการสรา้ งความเข้าใจในประเดน็ ข้อสงสยั และคาถาม สาคญั ทน่ี กั วจิ ยั มุ่งหาคาตอบ
57 4. วธิ ีการ คือ ลกั ษณะความสัมพันธข์ องนกั วจิ ยั ท่จี าเปน็ ตอ้ งมีกบั ผู้ใหข้ ้อมูลสาคัญ อกี ท้ังการเลือกสถานการณ์ ผู้เขา้ รว่ มการวิจัย ระยะเวลา สถานทีท่ ใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล รวม ไปถึงเทคนิควธิ ีการเกบ็ รวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมลู 5. ความตรง คอื นักวจิ ัยจะเลือกตีความ สรปุ อธบิ ายผลการวจิ ยั วตั ถุประสงค์ กรอบ ความคิดการ คาถาม การวจิ ัย วิจยั วิธกี าร ความตรง ภาพประกอบ 3 ความสัมพนั ธ์ขององคป์ ระกอบหลกั ในการออกแบบแผนการวิจัย ทมี่ า รัตนะ บัวสนธ์, 2552 สญั ลักษณข์ องวิธีการเชงิ ผสมผสาน (รัตนะ บัวสนธ,์ 2552) 1. QUAL หมายถงึ วิธีการเชิงคณุ ภาพเปน็ วิธีการหลัก 2. QUAN หมายถงึ วิธกี ารเชิงปรมิ าณเป็นวิธกี ารหลกั 3. qual หมายถึง วธิ ีการเชงิ คณุ ภาพเป็นวธิ กี ารรอง 4. quan หมายถึง วธิ ีการเชงิ ปริมาณเป็นวิธีการรอง 5. หมายถงึ การดาเนนิ งานวิจัยหรอื ประเมินทีด่ าเนนิ การตามลาดบั ต่อเน่ืองกัน 6. + หมายถึง การดาเนินงานวจิ ยั หรอื ประเมนิ ทีด่ าเนินการไปพร้อมๆ กนั ซงึ่ ผู้วจิ ยั สามารถสรุปได้วา่ การวิจยั แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) เป็น เทคนิควธิ ีการวจิ ัยที่นาเทคนคิ การวิจัยเชงิ ปรมิ าณและเทคนิควจิ ยั เชิงคณุ ภาพ มาผสมผสานกันในการ ทาวจิ ัยเรอื่ งเดยี วกนั หาคาตอบให้กับปญั หาวจิ ยั ในเร่ืองเดียวกนั ซง่ึ มีการศกึ ษาระยะเดียวหรือสอง ระยะต่อเนื่องกนั ข้ึนอยู่กับวตั ถปุ ระสงค์ของงานวจิ ัยน้นั ๆ เปน็ การเก็บข้อมลู และวิเคราะห์ข้อมลู เพือ่ ท่ีจะตอบคาถามการวิจัยให้งานวจิ ัยออกมาสมบูรณ์ยิง่ ขึ้น และในงานวิจยั ฉบับนีผ้ ู้วจิ ยั ไดเ้ ลอื กทา การวิจัยแบบผสมผสานแบบแผนแบบรองรับภายใน โดยผู้วจิ ยั มีการใช้แบบแผนรองรับภายในรปู แบบ การทดลองสองระยะ ซึ่งใชว้ ิธกี ารเชิงปรมิ าณเป็นหลัก โดยมีสัญลักษณ์ของวิธีการวิจัยท่ผี ูว้ จิ ยั เลอื กทา คอื QUAN qual
58 รูปแบบการทดลองสองระยะวิธีการเชิงปริมาณเป็นหลัก Interpret qual QUAN treatment QUAN QUAN Result Base On pretest posttest Follow up QUAN (quan) qual ภาพประกอบที่ 4 รปู แบบการทดลองสองระยะวิธีการเชงิ ปริมาณเปน็ หลกั ที่มา รัตนะ บวั สนธ์, 2552 หลักการออกแบบประยกุ ต์ Alessi and Trollip หลักการออกแบบประยุกต์ Alessi and Trollip (1991 อ้างถึงใน กนกอร ร่นื ฤทัย, 2552) ซึ่งประกอบไปดว้ ยข้นั ตอนการออกแบบ 7 ขั้นตอน ดงั นี้ ขน้ั ตอนที่ 1 : ขั้นตอนการเตรียม - กาหนดเปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงค์ - เก็บข้อมูล - เรียนร้เู นื้อหา - สร้างความคิด ขัน้ ตอนท่ี 2 : ข้ันตอนการออกแบบบทเรยี น - ทอนความคิด - วิเคราะห์งานและคอนเซป็ - ออกแบบบทเรียนขั้นแรก - ประเมินและแก้ไขการออกแบบ ขัน้ ตอนท่ี 3 : ขนั้ ตอนการเขยี นผงั งาน
59 ข้ันตอนที่ 4 : ขั้นตอนการสร้างสตอร่ีบอร์ด ขัน้ ตอนท่ี 5 : ขนั้ ตอนการพฒั นาบทเรยี น AR Code ขัน้ ตอนท่ี 6 : ข้นั ตอนสร้างบทเรยี น AR Code ขน้ั ตอนที่ 7 : ขน้ั ตอนการประเมินและแก้ไขบทเรียน ขั้นตอนท่ี 1 ขั้นตอนการจดั เตรียม -การกาหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ข้ันตอนที่ 2 ขนั้ ตอนการออกแบบบทเรียน -เก็บข้อมลู -เรียนรูเ้ น้อื หา ข้ันตอนที่ 3 ข้นั ตอนการเขียนแผนผงั -สรา้ งความคิด ขั้นตอนท่ี 4 ข้ันตอนการสร้างสตอร่ีบอร์ด -ทอนความคิด ขัน้ ตอนท่ี 5 ข้นั ตอนการพัฒนาบทเรียน AR code -วเิ คราะห์งานและคอนเซ็ป ขนั้ ตอนท่ี 6 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรยี น -ออกแบบบทเรยี นขนั้ แรก ขน้ั ตอนท่ี 7 ข้นั ตอนการประเมนิ และแก้ไขบทเรยี น -ประเมนิ และแก้ไขการออกแบบ -คมู่ อื การใช้ของผเู้ รยี น -คมู่ อื การใชข้ องผูส้ อน ภาพประกอบ 5 ขน้ั ตอนการออกแบบสอื่ ใหเ้ กดิ แรงจงู ใจและมผี ลต่อความคงทน ตามทฤษฎี Alessi และ Trollip ข้ันตอนที่ 1 : ขนั้ ตอนการเตรียม (Preparation) ในข้ันตอนแรกของการออกแบบเป็นข้ันตอนในการเตรียมพรอ้ มก่อนทจ่ี ะทาการ ออกแบบบทเรยี น ในข้ันตอนการเตรียมนผี้ อู้ อกแบบจะตอ้ งกาหนดเป้าหมายและวตั ถุประสงคใ์ ห้ ชัดเจน หลงั จากน้นั เตรยี มการในการรวบรวมข้อมูล ข้นั การเตรียมน้ีถือวา่ เปน็ ข้ันตอนท่ีสาคัญมาก ตอนหนง่ึ ท่ผี ู้ออกแบบต้องใชเ้ วลาให้มาก เพราะการเตรยี มพร้อมในส่วนน้ีจะทาให้ขน้ั ตอนต่อไปในการ ออกแบบเป็นไปอย่างต่อเน่อื งและมปี ระสทิ ธภิ าพ กาหนดเป้าหมายและวัตถปุ ระสงค์ (Determine Goal and Objectives) การกาหนดเป้าหมายและวตั ถุประสงคข์ องบทเรียน คือ การตง้ั เป้าหมายวา่ ผ้เู รียน จะสามารถใชบ้ ทเรยี นน้ีเพ่ือศึกษาในเร่ืองใดและลกั ษณะใด นอกจากน้ีก่อนท่ีจะกาหนดวัตถุประสงค์ ในการเรยี นไดน้ ั้น ผ้อู อกแบบควรจะทราบถึงพืน้ ฐานของผู้เรยี นที่เปน็ กลุม่ เปา้ หมายเสียก่อน เพราะ ความรู้พน้ื ฐานของผูเ้ รียนมีอิทธิพลตอ่ เปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงค์ของบทเรียน ดงั นนั้ ในกรณีท่ีไมม่ ี
60 ขอ้ มลู เกีย่ วกับความรู้พ้นื ฐานของผเู้ รียนข้ันตอนการกาหนดเปา้ หมายน้ีอาจครอบคลมุ ถึงการทดลอง ความรูพ้ น้ื ฐานก่อนเรยี นของผู้เรียนรวมไปถึงข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะ และความตอ้ งการของ กลุ่มเปา้ หมายด้วย รวบรวมขอ้ มูล (Collect Resources) รวบรวมข้อมูล หมายถึง การเตรยี มพร้อมทางด้านของทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมด ทเ่ี กย่ี วข้อง ทง้ั ในส่วนของเน้ือหา การพฒั นาและออกแบบบทเรียนและส่ือในการนาเสนอบทเรยี น ทรพั ยากรในสว่ นของเน้ือหาได้แก่ ตารา หนังสือ วารสารทางวิชาการ หนงั สอื อ้างอิง เอกสาร ประกอบการเรยี น สไลด์ ภาพตา่ งๆ และทีส่ าคัญก็คือ ผเู้ ช่ยี วชาญด้านเน้อื หา เรียนรู้เนือ้ หา (Learn Content) ผู้ออกแบบบทเรยี น หากเป็นผเู้ ชี่ยวชาญด้านเน้อื หาก็จะต้องหาความรทู้ างด้านการ ออกแบบบทเรียน การเรียนรเู้ นือ้ หาอาจทาไดห้ ลายลักษณะ เชน่ การสมั ภาษณผ์ ู้เช่ียวชาญ การอา่ น หนงั สอื หรอื เอกสารอื่นๆ ที่เก่ียวกับเน้อื หาของบทเรียน เป็นตน้ การเรยี นรู้เนอ้ื หาเป็นสิ่งที่ควรอยา่ งย่งิ สาหรบั ผู้ออกแบบ เน่ืองจากความไมร่ ู้เนื้อหานจี้ ะทาให้เกิดขอ้ จากดั ในการออกแบบบทเรยี น สร้างความคิด (Generate Ideas) ขัน้ ตอนการสรา้ งความคิดนี้คือการระดมสมองนั่นเอง คือ การกระตุ้นให้เกดิ การใช้ ความคิดสร้างสรรค์ เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ คิดเหน็ ตา่ งๆ เปน็ จานวนมากจากทีมงานในระยะเวลาสน้ั ๆ โดย ความคดิ สรา้ งสรรค์ในขน้ั นจี้ ะยดึ ถือปรมิ าณมากกว่าการประเมนิ ค่าความถูกต้องเหมาะสม การระดม สมองมีความสาคัญมากเพราะจะทาใหเ้ กิดข้อคดิ เหน็ ต่างๆ อันจะนามาซ่ึงแนวคิดทีด่ แี ละนา่ สนใจใน ทส่ี ดุ ข้นั ตอนท่ี 2 : ขัน้ ตอนการออกแบบบทเรยี น (Design Instruction) ในขั้นน้เี ป็นขั้นตอนท่ีครอบคลุมถึงการทอนความคิด การวเิ คราะหง์ านและแนวคิด การออกแบบบทเรยี นขนั้ แรกและการประเมนิ และแกไ้ ขการออกแบบ ข้นั ตอนการออกแบบบทเรยี นน้ี เปน็ ขั้นตอนทส่ี าคญั ทส่ี ดุ ขนั้ ตอนหนึ่งในการกาหนดว่าบทเรียนจะออกมามีลักษณะใด ทอนความคดิ (Elimination of Ideas) หลงั จากการระดมสมองแลว้ นักออกแบบจะนาความคดิ ท้ังหมดมาประเมินดวู ่า ขอ้ คิดใดทนี่ ่าสนใจ การทอนความคิดเริม่ จากการคัดเอาข้อคดิ ท่ไี ม่อาจปฏบิ ัติได้ เน่ืองจากเหตุผลใดก็ ตามหรือข้อคิดเห็นที่ซ้ากันออกไปและรวบรวมความคิดท่นี ่าสนใจท่ีเหลอื อยู่มาพจิ ารณาอีกคร้ัง วิเคราะห์งานและแนวคดิ (Task and Concept Analysis) การวเิ คราะห์งาน (Task Analysis) เปน็ การพยายามในการวเิ คราะห์ขัน้ ตอนเน้ือหา ทผี่ เู้ รียนจะตอ้ งศึกษาจนทาให้เกดิ การเรียนรู้ท่ีตอ้ งการ และในส่วนการวิเคราะหแ์ นวคิด (Concept Analysis) ขน้ั ตอนในการวิเคราะหเ์ น้อื หา ซ่ึงผเู้ รียนจะตอ้ งศึกษาพิจารณาท้ังนเี้ พ่ือให้มา
61 ซ่ึงเนอ้ื หาท่ีเกย่ี วกบั การเรียนมาพจิ ารณาอย่างละเอยี ดและตัดเนอื้ หาในสว่ นท่ีไมเ่ ก่ยี วขอ้ งออกไปหรือ ทีท่ าให้ผูเ้ รยี นสับสนได้ง่ายออกไป ดังนั้นการวิเคราะห์ที่มีความสาคัญมาก ท้งั น้เี พอื่ หาหลกั การการ เรยี นรู้ (Principles of Learning) ทเี่ หมาะสมของเนอื้ หานั้นๆ และเพื่อให้ได้มาซึ่งแผนงานสาหรับ การออกแบบบทเรียนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ออกแบบบทเรยี นขนั้ แรก (Preliminary Lesson Description) หลงั จากท่ีมีการวิเคราะหง์ านและแนวคดิ ผู้ออกแบบจะต้องนางานและแนวคิด ทั้งหลายทไี่ ด้มาน้นั ผสมผสานใหก้ ลมกลนื และออกแบบใหเ้ ปน็ บทเรียนท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยการ ผสมผสานงานและแนวคิดเหล่านี้ตอ้ งทาภายใต้ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ Bruner เพอ่ื ช่วยในการผสมผสาน แนวคดิ นเี้ ขา้ ดว้ ยกนั ประเมนิ และแก้ไขการออกแบบ ( Evaluation and revision of The Design ) การประเมินและแก้ไขในข้นั ตอนการออกแบบเป็นสิ่งท่จี ะต้องทาอยู่เร่อื ยเปน็ ระยะๆ ระหว่างการ ออกแบบ หลงั จากออกแบบแล้วจึงควรท่จี ะมีการประเมนิ โดยผูเ้ ช่ียวชาญเนื้อหา ผูเ้ ชย่ี วชาญการ ออกแบบตรวจ แลว้ นากลบั มาแกไ้ ขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ ขน้ั ตอนท่ี 3 : ข้นั ตอนการเขียนงาน (Flowchart Lesson) ผังงาน คือ ชดุ ของสญั ลักษณ์ตา่ งๆ ซึ่งอธิบายข้ันตอนการทางานของบทเรยี น การเขยี น ผังงานเป็นส่ิงสาคัญ ส่อื ที่ดจี ะต้องมปี ฏิสัมพันธ์อย่างสมา่ เสมอ ปฏิสมั พันธ์น้ีจะสามารถถูกถ่ายทอด ออกมาได้อย่างชัดเจนทสี่ ุดในรปู ของสญั ลักษณ์ซงึ่ การเขยี นผงั งานจะไมน่ าเสนอรายละเอียดหน้าจอ เหมอื นการสร้างสตอรีบ่ อร์ด หากการเขียนผังงานนาเสนอลาดับขั้นตอน โครงสรา้ งของการเขียนผงั งานมไี ดห้ ลายระดบั แตกตา่ งกัน ขั้นตอนที่ 4 : ขน้ั ตอนการสร้างสตอร่บี อรด์ (Create Storyboard) การสร้างสตอร่ีบอร์ดเปน็ ข้นั ตอนของการเตรียมการนาเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้งส่ือใน รูปแบบมัลติมเี ดยี ต่าง ๆ ลงบนกระดาน เพ่อื ใหก้ ารนาเสนอข้อความและสื่อในรปู แบบเหลา่ นเ้ี ปน็ ไป อย่างเหมาะสม ขณะทผ่ี ังงานนาเสนอลาดับและข้นั ตอนของการตดั สินใจ สเตอรบ่ี อร์ดนาเสนอเนอื้ หา และลกั ษณะของการนาเสนอ ข้นั ตอนการสรา้ งสเตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคลปิ ต์ที่ผู้เรียนจะได้ เห็นบนหน้าจอ ซงึ่ ได้แก่ เน้ือหา ขอ้ มูล ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิง่ และภาพเคลอ่ื นไหว ในข้ันนีค้ วรจะมีการประเมนิ และทบทวนแก้ไขบทเรยี นจากสเตอร่ีบอรด์ จนกระทงั่ ผรู้ ่วมงานในทีมทุกฝา่ ยพอใจกบั คณุ ภาพของบทเรยี นเสยี ก่อน นอกจากผ้เู ช่ยี วชาญด้านเนอ้ื หาและ การออกแบบแลว้ ผเู้ รยี นทอี่ ยู่ในกล่มุ เป้าหมายซ่ึงไม่สนั ทดั ในเน้ือหาควรจะมีส่วนร่วมในการประเมนิ ท้ังนเี้ พ่ือชว่ ยในการตรวจสอบเนอ้ื หาท่ีอาจสับสน ไม่ชัดเจน ตกหล่นและเนื้อหาที่อาจจะยากหรือง่าย จนเกนิ ไปสาหรับผเู้ รียน
62 ขนั้ ตอนท่ี 5 : ขั้นตอนการสรา้ ง / พัฒนา (Program Lesson) ข้นั ตอนการสร้าง / พัฒนา น้เี ป็นกระบวนการเปลย่ี นสตอร่ีบอร์ดให้กลายเป็นบทเรยี น ซงึ่ ในขนั้ ตอนนีผ้ อู้ อกแบบบทเรียน จะตอ้ งร้จู ักเลือกใชท้ เ่ี หมาะสมกับผเู้ รยี น ขน้ั ตอนที่ 6 : ขัน้ ตอนการผลติ เอกสารประกอบบทเรยี น (Produce Supporting Materials) เอกสารประกอบบทเรียนเป็นส่งิ จาเป็นอยา่ งยงิ่ เอกสารประกอบบทเรียนอาจแบ่ง ได้เปน็ 4 ประเภท คือ คู่มอื การใชผ้ เู้ รยี น คู่มือการใชข้ องครูผู้สอน คูม่ อื สาหรบั การแก้ปัญหาเทคนิค ต่าง ๆ และเอกสารประกอบเพ่ิมเตมิ ท่ัวๆ ไป เช่น ใบงาน ผู้เรยี นและผสู้ อนย่อมมีความต้องการ แตกต่างกนั ข้ันตอนท่ี 7 : ขั้นตอนการประเมินและแกไ้ ขบทเรียน (Evaluate and Revise) ในชว่ งสดุ ทา้ ย ในการประเมนิ การทางานของบทเรยี น ผูอ้ อกแบบควรท่ีทาการสงั เกต พฤติกรรมของผู้เรยี นในขณะทีใ่ ช้บทเรยี นหรอื สัมภาษณ์ผู้เรียนหลังการใช้บทเรยี น นอกจากนี้ยังอาจ ทดสอบความรู้จากผเู้ รยี นในกลุม่ เป้าหมายขน้ั ตอนน้ีอาจครอบคลุมการทดสอบนารอ่ งและการ ประเมินจากผ้เู ช่ียวชาญได้ งานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง งานวิจยั ในประเทศ กณั ฑรี วรอาจ (2557) ได้ทาการวจิ ัยเกย่ี วกับการพัฒนาหนังสอื อ่านเพ่มิ เติมท่ีมคี วามจริง เสมอื น เรื่องประเทศสงิ คโปร์ ผา่ นไอแพด สาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ผลการวิจัยพบว่า หนังสืออา่ นเพม่ิ เตมิ ท่ีมีความจรงิ เสมอื น เร่อื งประเทศสงิ คโปร์ ผา่ น ไอแพด มีคุณภาพอยู่ในระดับดี และมีประสิทธิภาพ 92.14/91.42 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั จากเรยี นดว้ ยหนังสอื อ่านเพมิ่ เติมท่มี ี ความจริงเสมอื น เรื่อง ประเทศสิงคโปร์ ผ่านไอแพด สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมนี ยั สาคัญทาง สถติ ิท่ีระดับ .05 นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 มีความพงึ พอใจต่อหนงั สืออ่านเพม่ิ เตมิ ทมี่ ีความจริง เสมือน เรอ่ื งประเทศสงิ คโปร์ ผา่ นไอแพด อย่ใู นระดับมาก จุฑามาศ ธัญญเจริญ (2557) ไดท้ าการวิจัยเก่ยี วกบั การพัฒนาหนงั สือภาพความจรงิ เสมือน ผา่ น ไอแพด เรื่อง ทา่ ราวงมาตรฐาน สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาช้นั ปที ่ี 6 ผลการวจิ ยั พบว่า หนงั สอื ภาพความจรงิ เสมือนผ่านไอแพด เรอ่ื ง ท่ารามาตรฐาน มคี ณุ ภาพในภาพรวมอยู่ในระดับดมี าก เม่ือพจิ ารณารายด้านพบวา่ ด้านเนื้อหาอยู่ในระดบั ดี และด้านเทคนคิ มคี ณุ ภาพอยู่ในระดับดมี ากและมี ประสิทธิภาพ 82.17/82.00 ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนหลงั จากเรยี นดว้ ยหนังสือ ภาพความจริงเสมือนผ่านไอแพด เรือ่ ง ท่ารามาตรฐาน สูงกว่าคะแนนก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสาคญั ทาง
63 สถิติทร่ี ะดบั .05 และมผี ลการปฏิบัตทิ ่าราวงมาตรฐานของนักเรยี นอยู่ในระดบั ดีมาก และนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพงึ พอใจต่อการใชห้ นังสือภาพความจริงเสมอื นผ่านไอแพด เรอื่ ง ท่าราวง มาตรฐาน อยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด วศกร เพ็ชรช่วย (2557) ไดท้ าการวิจยั เก่ียวกบั การพัฒนาสื่อความจริงเสมือนบนเอกสาร ประกอบการเรียนเรื่อง อุปราคา สาหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนเศรษฐบตุ รบารงุ ผลการวจิ ยั พบว่า สื่อความจริงเสมือนบนเอกสารประกอบการเรียน มีคณุ ภาพในระดบั ดีมาก และมี ประสิทธิภาพ 80.50/79.83 คะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนกลุ่มตวั อย่าง สงู กวา่ คะแนน ทไ่ี ด้จากการทาแบบทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 ดัชนีประสทิ ธผิ ล ของการเรียนของกลมุ่ ตัวอยา่ ง เทา่ กบั 0.64 กลุม่ ตัวอยา่ งมคี วามพึงพอใจต่อการ เรียนดว้ ยสอื่ ความจรงิ เสมือนบนเอกสารประกอบการเรียนในระดบั มากทีส่ ุด ( x = 4.66) ปัญจรตั น์ ทับเปีย (2555) ได้ทาการวิจัยเก่ยี วกับการพฒั นาชุดสื่อประสม แบบโลกเสมอื น ผสานโลกจรงิ เร่อื ง โครงสร้างและการทางานของหัวใจ สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจยั พบว่า ประสิทธภิ าพของชดุ สือ่ ประสม แบบโลกเสมอื นผสานโลกจรงิ เรื่องโครงสร้างและ การทางานของหวั ใจ มปี ระสิทธิภาพเท่ากบั 81.33/81.11 ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไวค้ ือ 80/80 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ท่ีเรยี นด้วยชุดสื่อ ประสม แบบโลกเสมือนผสานโลกจริง พบว่าผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นหลังเรยี นสงู กวา่ ก่อนเรียนอย่าง มีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 และ การประเมนิ ความคดิ เหน็ ของกลุม่ ตัวอย่างท่ีมตี ่อชดุ สอ่ื ประสม แบบโลกเสมอื นผสานโลกจริง พบวา่ ความสนใจของนกั เรียนท่มี ตี อ่ เนือ้ หา รปู แบบการนาเสนอ และ การใชง้ านชดุ สอ่ื ประสมมี ความคิดเหน็ โดยรวมในระดบั มากทส่ี ุด อานาจ ชดิ ทอง (2555) ทาการวจิ ัยเก่ียวกับการประยกุ ตเ์ ทคนิคความเปน็ จรงิ เสรมิ เพอ่ื ผลิต สื่อการสอนสาหรบั โครงสร้างไม้ ผลการศึกษาจากการประเมินการใชง้ านโดยผูใ้ ช้ ซึง่ แบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ คอื กลุ่มผ้สู อนและกลุ่มผู้เรยี น ผลการประเมนิ โดยสรปุ คือระบบที่พัฒนาข้นึ มีความน่าสนใจและ สามารถกระตุ้นให้เกดิ ความเรียนรู้ในระดบั มากท่สี ุดร้อยละ 76.00 และผใู้ ชง้ านมคี วามเข้าใจใน บทเรยี นภายหลังการใช้งานระบบมากข้นึ ถึงร้อยละ 68.00 สพุ รรณพงศ์ วงษศ์ รเี พ็ง (2554) ไดท้ าการวจิ ยั เกี่ยวกบั การประยกุ ต์ใช้เทคนิคความจริง เสมอื นเพื่อใชใ้ นการสอนเรื่องพยัญชนะภาษาไทย ผลจากการวิจัยพบว่า เมอ่ื นาระบบไปใชง้ านจรงิ พบว่าระบบมีความนา่ สนใจช่วยดงึ ดูดให้นกั เรยี นมีความสนใจในการเรยี นพยญั ชนะภาษาไทย และ อาจารยผ์ ู้สอนก็ได้มวี ธิ กี ารใหม่ๆในการเรยี นการสอนเพมิ่ ขึ้น ผลในการประเมินความพึงพอใจที่มี ต่อระบบทพี่ ฒั นาข้นึ อยใู่ นระดบั ดมี าก ซง่ึ มากกว่าสมมุติฐานทต่ี ง้ั ไวท้ ร่ี ะดับ ดี โดยมีค่าเฉล่ยี ของ ผเู้ ชย่ี วชาญเท่ากับ 4.58 และคา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.52 ในสว่ นของอาจารย์ผสู้ อนมี ค่าเฉลยี่ เทา่ กับ 4.56 และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.53
64 ลี หยาง (2554) ได้ทาวจิ ัยเกี่ยวกบั การพฒั นาแบบฝกึ ทักษะการเขียนตัวอักษรจนี สาหรับ นักเรยี นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นยอแซฟอปุ ถัมภ์ สามพราน จังหวดั นครปฐม พบว่า 1) นกั เรยี นและทกุ ฝ่ายท่เี กี่ยวข้องต้องการใหม้ ีการพฒั นาแบบฝกึ การเขียนตัวอักษรจีน โดยลกั ษณะ รปู ภาพที่มสี สี นั สวยงาม ภาษาทใี่ ช้อธบิ ายเข้าใจงา่ ย ตวั อักษรจนี มีเน้ือหาสาระ ความหมายและการ ออกเสยี งของตวั อักษรจนี ท่ีมาของตัวอกั ษรจีน คาอธิบายของตัวอักษรจีน โครงสรา้ งตัวอักษรจนี หมวดของตัวอกั ษรจนี 2) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนตวั อักษรจีน มีค่าเท่ากับ 90.00/89.29 ซ่ึงสงู กว่า 75/75 หยาง ตนั (2553) ได้ทาการวิจยั เกยี่ วกบั การพฒั นาชดุ กจิ กรรมการเรียนภาษาจนี ขัน้ พนื้ ฐาน สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 พบวา่ 1) ชุดกิจกรรมการเรียนภาษาจนี ขั้นพนื้ ฐาน สาหรับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ทสี่ ร้างขึน้ มีประสิทธภิ าพ 87.50/86.76 สูงกวา่ เกณฑ์ 80/80 2) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ทีเ่ รียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนภาษาจีน ข้นั พื้นฐาน หลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 3) นกั เรียนที่เรียนชดุ กจิ กรรมการเรียนภาษาจนี ขั้นพื้นฐาน มีเจตคตติ ่อการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนภาษาจีนพ้ืนฐาน สาหรับ นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ในระดบั มาก จฑุ ารัตน์ โตแทน (2552) ได้ทาการวิจยั ชัน้ เรยี นเรอ่ื งแกไ้ ขปญั หาการออกเสียงพินอินโดยใช้ ชุดฝกึ ทักษะการอา่ นออกเสียงพนิ อนิ ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นอสั สัมชัญธนบรุ ี พบวา่ ความสามารถในการอ่านออกเสยี งพนิ อนิ ในภาษาจีนของนักเรียนหลังการเรยี นการสอน โดยมี ชุดฝึกการอา่ นออกเสียงพนิ อนิ ในภาษาจนี มปี ระสิทธภิ าพผ่านเกณฑ์ 70/70 หลังจากท่ี นกั เรียนไดท้ ดลองอ่านโดยใช้ชดุ ฝึกการอา่ นออกเสียงพนิ อิน ในภาษาจนี แลว้ นักเรียนสามารถผ่าน เกณฑ์ผลสัมฤทธ์ริ อ้ ยละ 95% หทัยรตั น์ เตมิ ใจ (2552) ได้ทาการวิจยั เรอ่ื ง การพัฒนาสื่อการสอนวชิ าภาษาจนี ดว้ ย เทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดียสาหรบั นักศกึ ษามหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ทเี่ รียนภาษาจีนระดับกลาง พบวา่ การ วิเคราะหค์ ่าเฉลย่ี และคา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานรายข้อ ตามแบบประเมนิ คุณภาพส่ือการสอนวิชา ภาษาจีนด้วยเทคโนโลยมี ัลตมิ ีเดีย โดยผู้เช่ียวชาญทัง้ 3 ท่าน คา่ เฉล่ียโดยรวมของส่ือการสอนคอื 3.94 นั่นคือ ผ้เู ช่ียวชาญประเมนิ แลว้ มีความพงึ พอใจในระดับมาก และมคี ่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน โดยรวมเท่ากับ 0.57 แสดงใหเ้ ห็นวา่ ผเู้ ช่ียวชาญทกุ ท่านมีความพงึ พอใจทีค่ ่อนขา้ งคล้อยตามกัน พมิ ล ทองวิจารณ์ (2548) ได้ทาการวิจัยเรอ่ื ง ชดุ การสอนภาษาจนี เพ่ือส่อื สารระดับพ้ืนฐาน สาหรับนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 พบวา่ ชุดการสอนภาษาจีนเพื่อการส่ือสารระดับพ้ืนฐาน สาหรับนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ท่สี ร้างมปี ระสิทธภิ าพ 94.29/90.48 ซ่ึงสูงกวา่ เกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ทตี่ ั้งไว้
65 ณฐั พล ปฐมอารยี ์ (2547) ได้ทาการวจิ ัยเกยี่ วกบั ระบบความจริงเสมอื นสาหรับถ่ายทอด ทกั ษะการประกอบช้นิ งาน 2 มิติ และ 3 มติ ิ ผลการวิจัยปรากฏว่า ระบบท่พี ฒั นาขึน้ ชว่ ยลดเวลาและ จานวนครัง้ ทใ่ี ชใ้ นการประกอบช้นิ งานได้จรงิ โดยลดเวลาและจานวนครั้งท่ใี ชใ้ นการประกอบครง้ั แรก ลงได้ รอ้ ยละ 87.1 และ 85.5 ระบบมีการถ่ายทอดทักษะครั้งแรกได้ถงึ ร้อยละ 80 และ 94.2 ในการ ประกอบชิ้นงาน 2 มติ ิ และ 3 มิติ และมีประสิทธภิ าพในการถา่ ยทอดทกั ษะ 2.5 และ 8.73 เทา่ จาก ผลทก่ี ล่าวมาทาให้ผ้เู ข้ารบั การถ่ายทอดทกั ษะสามารถทางานได้อย่างรวดเรว็ และถูกต้อง ดว้ ยการ ฝึกฝนผา่ นระบบความจริงเสมือน งานวิจัยต่างประเทศ Enyedy (2012) ทาการวิจัยเกย่ี วกบั การเรยี นการสอนฟสิ ิกส์ โดยการเล่น ผ่าน สภาพแวดล้อมความจรงิ เสมือน กบั ผเู้ รียนอายุ 6 – 8 ปี ผลการศกึ ษาจากการทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรยี น พบวา่ ผู้เรยี นมคี วามเข้าใจและสามารถพัฒนาความคดิ รวบยอดของ แรง, แรงลัพธ์, แรง เสียดทาน และการเคลือ่ นทสี่ องมิติ หลังจากทาการเรียนดว้ ยหลักสตู รการเรยี นรูฟ้ สิ ิกสผ์ ่านการเล่น ผูว้ ิจัยยังไดเ้ สนอกรณีศกึ ษา 2 กรณที แ่ี สดงให้เห็นถึงการใช้หลกั การนี้ในทางปฏบิ ตั ิ โดยจาก กรณีศึกษา แสดงใหเ้ ห็นถงึ การเชื่อมโยง ระหว่างการใชค้ วามจรงิ เสมือน กับการเลน่ อย่างมีความหมาย และรแู้ บบของนิเวศเชงิ สญั ลักษณ์ของการเรยี นรูด้ ว้ ยวิธกี ารสบื เสาะทาง วิทยาศาสตร์ในตวั ผ้เู รียนอีกด้วย Yoon (2012) ไดท้ าการศึกษาเกยี่ วกบั การใชค้ วามจริงเสมือนและกระบวนการเสริมตอ่ ความรู้ เพ่ือพัฒนาการเรียนรใู้ นพิพิธภัณฑว์ ิทยาศาสตร์ ซงึ่ ไดท้ าการศึกษาเปรียบเทียบการเรยี นรู้ 4 รูปแบบของการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรใ์ นพพิ ิธภณั ฑ์วทิ ยาศาสตร์ โดยใช้ความจรงิ เสมือนและ กระบวนการเสริมต่อความรู้ ผลการศกึ ษาพบวา่ ผ้เู รยี นแสดงใหเ้ หน็ ถึงกระบวนการเรียนร้เู พ่ิมขน้ึ เมอื่ ใช้กระบวนการเสริมต่อความรู้ การศกึ ษาต่อเน่ืองชใ้ี ห้เห็นว่า สอ่ื ความจรงิ เสมือนมีผลตอ่ การเรียนรูใ้ น สภาพแวดลอ้ มเสมือนดว้ ย Rees (2008) ทาการวจิ ยั โดยใช้เกมความจรงิ เสมอื น ชื่อ “The Heat Game” เพื่อพัฒนา ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยการสรา้ งสถานการณ์จาลองให้ผู้เรยี นเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์รุ่นเยาว์ เพอ่ื ออกแบบบ้านประหยัดพลงั งาน ในการศกึ ษาขนั้ ต้น แสดงให้เหน็ ว่า หลังผู้เรียนได้เลน่ เกม ผเู้ รยี นมี การพัฒนาความเขา้ ใจและเจตคติ เกยี่ วกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์, การสร้างความรู้, การนา ความรู้ทางวทิ ยาศาสตรไ์ ปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยี และกระบวนการเลือกใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งชาญ ฉลาดเพื่อช่วยลดผลกระทบต่อสิง่ แวดลอ้ ม จากงานวิจยั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ จะเหน็ ไดว้ า่ การใช้เทคโนโลยคี วามจริงเสมือน ในการประยุกต์ใชใ้ นการเรียนการสอนรูปแบบตา่ งๆ สามารถทาให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ พัฒนาทกั ษะ
66 และความคิดรวบยอดของเรียนท่จี ะเรยี นรู้ได้จริง ผ้สู อนควรจะมีการออกแบบส่อื การเรียนการสอนท่ี เหมาะสมในรายวิชา เนอ่ื งจากส่ือจะชว่ ยสรา้ งความสนใจ และความอยากเรยี นรู้ใหผ้ ู้เรียน และ ภาษาจนี เป็นภาษาท่ีน่าสนใจ แต่มผี ู้วจิ ัยหลายท่าน พยายามแก้ปญั หาในการเรยี นภาษาจีนในดา้ น ตา่ งๆ เพ่ือให้ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่ดี ีขนึ้
67 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ การวิจยั ครั้งนี้เปน็ การวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ประกอบด้วยการ วจิ ยั เชิงปริมาณและการวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ กลา่ วคือ วิจัยเชิงปริมาณ ม่งุ ศกึ ษาผลการใช้บทเรยี น Augmented Reality Code เร่ืองคาศพั ทภ์ าษาจนี พื้นฐาน ของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมืองปัตตานี และการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ มงุ่ ศึกษา ความสนใจในการเรยี นรู้ การเรยี นร้ทู มี่ คี วามสนุกสนาน การเรยี นร้ภู าษาจีนทีไ่ ม่น่าเบ่ือ และ ความชอบบทเรยี น Augmented Reality Code คาศพั ท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน โดยผวู้ ิจยั นาเสนอ 2 ประเด็นดงั น้ี คือ การวิจยั เชงิ ปริมาณและวิจยั เชงิ คุณภาพ ซึง่ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี วจิ ยั เชงิ ปรมิ ำณ โดยนาเสนอตามลาดบั ประเด็น ต่อไปนี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. แบบแผนการวิจัย 3. เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย 4. การสรา้ งเคร่ืองมือในการวิจยั 5. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 6. การวเิ คราะห์ข้อมูล 7. สถิติทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ในการวิจยั เชงิ ปริมาณ ประกอบดว้ ยประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ดังน้ีคือ 1. ประชากรที่ใชใ้ นการวิจยั คือ ผเู้ รียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาลเมอื งปตั ตานี จานวน 66 คน 2. กลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตวั อยา่ งท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั คอื ผ้เู รยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สังกดั เทศบาลเมืองปัตตานี จานวน 30 คน ทไ่ี ดม้ าโดยการเลอื กแบบสมุ่ ตวั อย่างแบบงา่ ย (Simple Random Sampling)
68 แบบแผนกำรวิจยั รปู แบบการวิจยั ในครงั้ น้ีเปน็ การวิจัยกงึ่ วิจยั แบบผสมผสาน (Mixed method research) ในการวจิ ยั เชิงปรมิ าณดาเนนิ การวจิ ยั แบบ One - group Pretest – Posttest Design (อ้างถึงใน ล้วน สายยศและอังคณา สายยศ, 2538) ตำรำง 1 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pretest – Posttest Design กลมุ่ Pre-test Treatment Post-test Retention กลมุ่ ตัวอย่าง T1 X T2 T3 เมื่อ T1 หมายถึง การทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) X หมายถึง การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนดว้ ยบทเรยี น AR Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจนี พืน้ ฐาน T2 หมายถงึ การทดสอบหลังเรยี น (Posttest) T3 หมายถึง การทดสอบความคงทนในการเรยี นรู้ (Retention) เรอ่ื ง คาศัพทภ์ าษจนี พ้นื ฐาน หลกั การจดั การเรยี นการสอน 2 สัปดาห์ ตัวแปรท่ใี ช้ในกำรศกึ ษำ ตวั แปรท่ศี กึ ษา 1 ตัวแปรท่ีใช้ในการวิจยั เชิงปรมิ าณ ประกอบด้วย 1.1 ตวั แปรอสิ ระ คอื บทเรียน Augmented Reality Code เร่ืองคาศัพท์ ภาษาจีนพ้ืนฐาน 1.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 1.2.1 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวชิ าภาษาจนี หลังเรียน โดยใช้บทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจนี พ้นื ฐาน 1.2.2 ความพงึ พอใจในการเรียนโดยใช้บทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐาน 1.2.3 ความคงทนในการเรยี นรู้คาศัพท์ภาษาจีนของผเู้ รียนหลังเรยี นดว้ ย บทเรียน Augmented Reality Code เรอื่ งคาศพั ท์ภาษาจีนพืน้ ฐาน
69 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นกำรวจิ ยั เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั เชงิ ปริมาณในครั้งนี้ ประกอบดว้ ยเครื่องมือท่ีใชใ้ นการทดลองและ เครอื่ งมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ซึง่ มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการทดลอง ไดแ้ ก่ บทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน สาหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ซึง่ ใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ แบบ Rubric โดยผา่ นผ้เู ชยี่ วชาญดา้ น เทคโนโลยกี ารศึกษา จานวน 3 คน ในการประเมนิ บทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐาน 2. เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ไดแ้ ก่ 2.1 แบบทดสอบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น เปน็ แบบทดสอบก่อน – หลังการจัด การเรียนรู้มีลักษณะเปน็ แบบทดสอบปรนยั ชนดิ 4 ตวั เลอื ก จานวน 30 ข้อ ที่ไดผ้ า่ นการหาคา่ เช่อื มั่น โดยใช้สตู ร KR-20 ของ Kuder-Richardson (อา้ งถงึ ในวชิ ัย นภาพงศ์, 2552) 2.2 แบบทดสอบระหว่างเรียน มลี กั ษณะเปน็ แบบทดสอบอัตนัย แบง่ ตามหมวดคาศัพท์ 4 หมวดๆละ 5 ชุดๆละ 10 ข้อ 2.3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ที่เรียนโดยใช้บทเรียน AR Code เร่อื งคาศพั ทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน โดยมกี ารวัดความพึงพอใจโดยการตอบแบบสอบถามความ พงึ พอใจแบบ (Scale) 2.4 แบบทดสอบวัดความคงทนในการเรยี นรคู้ าศัพท์ภาษาจีน เป็นแบบทดสอบ ฉบบั เดยี วกันกับแบบทดสอบวัดผลการเรยี นรู้คาศพั ท์ภาษาจีน แต่นามาจัดเรียงลาดับใหม่ กำรสร้ำงเครื่องมือในกำรวจิ ยั การสรา้ งเครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจยั แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน คือ ส่วนท่ี 1 การสร้างเคร่อื งมือท่ีใช้ ในการทดลองและสว่ นที่ 2 คือการสรา้ งทใี่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ส่วนท่ี 1 กำรสรำ้ งเครือ่ งมือท่ีใชใ้ นกำรทดลอง ขน้ั ตอนการพฒั นาบทเรียน Augmented Reality : AR CODE สอนคาศพั ท์ภาษาจนี สาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ผวู้ ิจยั พัฒนาข้ึนโดยมหี ลักการออกแบบประยกุ ต์ Alessi and Trollip (1991 อ้างถึงใน กนกอร รน่ื ฤทยั , 2552) ซง่ึ ประกอบไปด้วยขน้ั ตอนการ ออกแบบ 7 ขั้นตอน ดงั น้ี
70 ข้ันตอนที่ 1 ขั้นตอนการจัดเตรยี ม ขั้นตอนท่ี 2 ข้ันตอนการออกแบบบทเรยี น ข้ันตอนท่ี 3 ขั้นตอนการเขียนแผนผัง ข้ันตอนที่ 4 ขนั้ ตอนการสรา้ งสตอรีบ่ อรด์ ขั้นตอนท่ี 5 ข้ันตอนการพฒั นาบทเรยี น AR code ขนั้ ตอนที่ 6 ขนั้ ตอนการผลิตเอกสารประกอบบทเรยี น ข้ันตอนท่ี 7 ข้นั ตอนการประเมินและแกไ้ ขบทเรยี น ภาพประกอบที่ 6 แบบจาลองข้นั ตอนการออกแบบส่อื AR CODE ของ Alessi and Trollip ขั้นตอนที่ 1 ขนั้ การเตรยี ม ศกึ ษาศกึ ษาหลกั สตู รภาษาจีนเกี่ยวกบั หลักการ จดุ หมาย โครงสร้าง (หลักสตู ร สถานศกึ ษาโรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร) ระดบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 เพอื่ กาหนดรปู แบบ การเขยี นแผนการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื ให้ไดส้ าระครบถว้ นสมบูรณ์ เช่น สาระสาคญั จดุ ประสงค์การ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ การวดั ผลและประเมนิ ผล บนั ทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ เม่ือเขยี นแผนการสอนเสร็จและ นาไปใหผ้ ู้เช่ียวชาญดา้ นเนื้อหา จานวน 3 ท่าน พิจารณาความถูกต้องและความเหมาะสมของเนอื้ หา พร้อมทัง้ ปรบั ปรุงแก้ไขตามคาแนะนา ของผู้เช่ียวชาญ เพ่ือเป็นแนวทางในการสรา้ งบทเรียน ขัน้ ตอนท่ี 2 ข้นั ตอนการออกแบบบทเรียน การออกแบบบทเรียน AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พ้นื ฐานในการวิจัยครั้งน้ี มีลักษณะ เป็นการนาเสนอเนื้อหาในแต่หมวดคาศัพท์ มาจดั กจิ กรรมใหเ้ ปน็ ลาดบั การเรียนรู้ 1. มีการให้ผู้เรยี นทาแบบทดสอบก่อนการจดั การเรยี นการสอนกอ่ น 2. มีการนาเข้าสู่บทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจีนพื้นฐานเพ่ือให้ผเู้ รียนมีความ พรอ้ มและความสนใจ โดยมอื เอกสารประกอบการเรียนทม่ี ีสสี นั สวยงาม เพ่ือเปน็ การเร้าความสนใจ 3. บอกชื่อเร่ือง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ และคาศัพท์ในแตล่ ะหมวดคาศัพท์ 4. นาเสนอบทเรยี น AR Code เรือ่ งคาศัพท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน โดยให้ผเู้ รยี นอา่ นและทา
71 ความเข้าใจวิธีใชบ้ ทเรยี นกอ่ น ส่วนเน้อื หาภายในบทเรียนประกอบด้วย ขอ้ ความ รูปภาพประกอบ เสียง วธิ เี ขยี นภาษาจนี เพ่ือให้ผู้เรยี นเหน็ ภาพและลาดับขีดในการเขียนภาษาจีนได้อย่างชดั เจน 5. ผเู้ รยี นสามารถเรียนรูแ้ ละทาแบบทดสอบระหว่างเรียน เพือ่ เป็นการทบทวนคาศัพท์และ เพ่มิ ความเข้าใจในการเรยี นรู้ได้ในทุกเน้ือหา 6. เมอ่ื ผูเ้ รยี นเรยี นคาศัพท์ครบทกุ คา ในคาศัพท์ 4 หมวดแล้ว ใหท้ าแบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรเู้ พื่อวัดความรขู้ องผูเ้ รยี นหลงั การจดั การเรียนการสอน ขน้ั ตอนที่ 3 ขนั้ ตอนการเขยี นผงั งาน การออกแบบบทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจนี พน้ื ฐานดงั กล่าวมาในข้างต้น นามา เขียนผังงานเรียนลาดับขน้ั ตอนการสรา้ งบทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน ขั้นตอนท่ี 4 ข้ันตอนการสร้างสตอร่บี อร์ด สรา้ งสตอรี่บอรด์ เสนออาจารย์ทป่ี รึกษา เพ่อื พจิ ารณาความถกู ต้องของการใช้ภาษา การใช้ ภาพประกอบ การเชอื่ มโยงของสว่ นประกอบอื่นๆ ตามที่ออกแบบไว้ แล้วนาไปใหผ้ ้เู ชยี่ วชาญดา้ น เทคโนโลยพี ิจารณาความถูกต้องด้านความสมั พันธ์ระหวา่ งภาพกบั เนื้อหาและเทคนิคการนาเสนอ ข้ันตอนที่ 5 ขน้ั การสรา้ งบทเรียน นาสตอรี่บอรด์ ทไี่ ดป้ รับปรุงแกไ้ ขถกู ต้องแลว้ มาสร้างเป็นบทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศัพท์ ภาษาจนี พื้นฐาน โดยใช้ Aurasma Application โดยการผลิตและพฒั นาผา่ นบนเวบ็ ไซต์ ที่ http://studio.aurasma.com ขั้นตอนท่ี 6 ขั้นตอนการผลิตเอกสารประกอบการเรยี น การผลิตเอกสารประกอบการเรยี น ประกอบด้วยค่มู ือประกอบการใช้บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจนี พื้นฐานและบทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พืน้ ฐาน ขั้นตอนที่ 7 ขั้นตอนการประเมินและแก้ไขบทเรียน การประเมนิ และแก้ไขบทเรยี น AR Code เร่อื งคาศพั ทภ์ าษาจนี พนื้ ฐานท่ีใชใ้ นการทดลอง ได้ดาเนินการดังน้ี 1. การประเมินผลของผู้เชย่ี วชาญ การประเมินของผ้เู ชยี่ วชาญ คือ การนาบทเรียน AR Code เรื่องคาศัพทภ์ าษาจีน
72 พืน้ ฐานให้ผเู้ ชยี่ วชาญด้านเทคโนโลยี จานวน 3 ท่าน ประเมินตามเกณฑก์ ารประเมิน Rubrics พรอ้ ม ท้งั นาข้อเสนอแนะหรือข้อแนะนาของผ้เู ช่ียวชาญมาทาการปรับปรงุ แก้ไขบทเรยี น AR Code เรือ่ ง คาศัพท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน ในการประเมินจากผูเ้ ชย่ี วชาญดา้ นเทคโนโลยี เพ่ือทาการประเมินประสทิ ธภิ าพของ บทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน โดยลงความคดิ เหน็ ในช่องแสดงความคิดเห็นเป็น แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) โดยผู้วจิ ยั กาหนดค่าคะแนนเปน็ 5 ระดบั ดังนี้ (อ้างถงึ ใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) คะแนน 5 หมายถึง มคี วามคดิ เหน็ ถงึ เหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุด คะแนน 4 หมายถึง มีความคดิ เห็นถงึ เหมาะสมอยู่ในระดบั มาก คะแนน 3 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ ถงึ เหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง มีความคิดเหน็ ถึงเหมาะสมอยู่ในระดบั น้อย คะแนน 1 หมายถงึ มีความคดิ เหน็ ถงึ เหมาะสมอยู่ในระดับน้อยท่ีสดุ เกณฑ์การยอมรับประสทิ ธิภาพบทเรยี น AR Code เร่อื งคาศพั ทภ์ าษาจีนพน้ื ฐาน คะแนนเฉลยี่ รวมตอ้ งไมต่ ่ากว่าเกณฑ์ดจี งึ จะยอมรบั เละนาไปใชท้ ดลอง หาคา่ เฉล่ยี เพื่อใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการยอมรับคุณภาพของบทเรียน AR Code เรื่อง คาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐาน โดยกาหนดเกณฑด์ งั นี้ (อ้างถึงใน บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2545) 5 หมายถงึ มีความคิดเห็นถงึ เหมาะสมอยู่ในระดบั มากที่สุด 4 หมายถงึ มีความคิดเหน็ ถงึ เหมาะสมอยู่ในระดบั มาก 3 หมายถงึ มคี วามคิดเหน็ ถึงเหมาะสมอยู่ในระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามคดิ เหน็ ถงึ เหมาะสมอยู่ในระดบั น้อย 1 หมายถึง มีความคดิ เห็นถงึ เหมาะสมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยยดึ เกณฑ์การตดั สินคุณภาพของบทเรยี น คือ ระดบั ค่าเฉล่ยี 3.51 ขน้ึ ไป 2. การทดลองใช้ของผเู้ รียน การประเมนิ แก้ไขบทเรยี น AR Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน หลังจากปรับปรุง แกไ้ ขตามคาแนะนาของผู้เชย่ี วชาญด้านเทคโนโลยี จานวน 3 ทา่ น นาไปทดลองใชเ้ พื่อนาผลทไ่ี ดไ้ ป ปรับปรุง และเพ่ือหาประสิทธิภาพตามลาดับขัน้ ตอนดังน้ี การทดลองแบบหนงึ่ ต่อหนง่ึ ผ้วู ิจัยได้นาบทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจีน พน้ื ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 ท้งั 4 ชุด ไปทดลองสอนกับนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียน เทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สังกดั เทศบาลเมอื งปัตตานี จังหวดั ปัตตานี โดยทดลองกับนักเรยี น จานวน 3 คน ท่ไี มใ่ ช่กลุ่มตัวอยา่ ง ซึ่งมีระดบั ความรู้ความสามารถอยู่ในระดับอ่อน ปานกลางและเก่ง
73 เพ่อื ทดสอบดูความเหมาะสมของ ภาษา กิจกรรมและเวลาทีใ่ ช้ เพ่อื นาไปปรบั ปรุงแก้ไขประสทิ ธิภาพ ของบทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พื้นฐาน การทดลองแบบหนึง่ ต่อสาม ผวู้ จิ ยั ได้นาบทเรยี น AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจนี พ้นื ฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทัง้ 4 ชุด ท่ไี ดป้ รบั ปรุงแก้ไขจาการทดลองแบบเดี่ยวแลว้ นามาทาการ ทดลองสอนแบบกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกดั เทศบาลเมอื งปัตตานี จงั หวดั ปตั ตานี โดยทดลองกบั นักเรียน จานวน 9 คน ที่ไม่ใช่กลมุ่ ตัวอย่าง ซึ่งมรี ะดับความรคู้ วามสามารถอยู่ในระดบั อ่อน ปานกลางและเก่ง เพื่อหา ขอ้ บกพร่องทัง้ หมดของบทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน เพื่อนาไปปรบั ปรงุ แก้ไข การทดลองภาคสนาม ผวู้ จิ ัยไดน้ าบทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจีนพน้ื ฐาน ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ทง้ั 4 ชดุ ที่ได้ปรบั ปรงุ แล้วจากข้ันการทดลองแบบหนงึ่ ต่อสามแล้วนามาทา การทดลองภาคสนามกับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สงั กัดเทศบาลเมอื งปัตตานี จงั หวัดปตั ตานี โดยทดลองกบั นักเรยี น จานวน 24 คน ท่ไี ม่ใช่กลมุ่ ตัวอยา่ ง ซ่งึ มรี ะดับความร้คู วามสามารถอยู่ในระดบั อ่อน ปานกลางและเกง่ เพอ่ื หา ขอ้ บกพร่องทัง้ หมดของบทเรียน AR Code เรือ่ งคาศัพทภ์ าษาจีนพนื้ ฐาน เพือ่ นาไปปรับปรุงแกไ้ ข นาบทเรียน AR Code เรือ่ งคาศัพท์ภาษาจนี พืน้ ฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ไปทา การทดลองใช้กบั นักเรยี นกลุ่มตัวอยา่ งที่ทาการสอนทัง้ หมด 30 คน ซ่ึงเปน็ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 3/1 โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองปตั ตานี จังหวดั ปัตตานี แล้วนาผล การเรยี นมาวิเคราะห์ เพ่ือหาประสิทธภิ าพมปี ระสิทธิภาพ 80/80 ขัน้ ตอนที่ 1 ขน้ั ตอนการเตรยี ม ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัย กาหนดเปา้ หมายและรวบรวมขอ้ มลู ตา่ งๆ วเิ คราะห์จดุ ประสงค์ / เนื้อหา ก
74 ก เขยี นแผนการสอน เขียนแผนการสอน ผู้เชี่ยวชาญประเมินด้านเนื้อหา ไมผ่ ่าน ปรับปรงุ แก้ไข จานวน 3 คน ผา่ น ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน ข้ันตอนท่ี 3 ขน้ั ตอนการเขยี นแผนผัง ขัน้ ตอนที่ 4 ขั้นตอนการสรา้ งสตอร่บี อร์ด อาจารย์ท่ปี รึกษาตรวจสอบ ไมผ่ า่ น ผ่าน ปรบั ปรุงแก้ไข ข
75 ข อาจารยท์ ่ปี รึกษาตรวจสอบ ไมผ่ ่าน ปรับปรุงแก้ไข ผ่าน ผู้เช่ยี วชาญดา้ นเทคโนโลยี ไมผ่ า่ น ปรบั ปรงุ แก้ไข ประเมนิ โดยใช้ Rubrics จานวน 3 ท่าน ผ่าน ข้นั ตอนท่ี 5 ขน้ั ตอนการพัฒนาบทเรียน AR Code คาศัพท์ภาษาจีน พน้ื ฐาน ขั้นตอนที่ 6 ขั้นตอนการประกอบเอกสารประกอบบทเรียน ขน้ั ตอนท่ี 7 ขั้นตอนการประเมนิ และแกไ้ ขบทเรยี น ผูเ้ ช่ียวชาญดา้ นเทคโนโลยี ไมผ่ า่ น จานวน 3 ท่าน ปรบั ปรุงแก้ไข ผ่าน ข
76 ข ทดลองคร้ังท่ี 1 แบบหน่งึ ตอ่ หนง่ึ หาประสิทธภิ าพของบทเรยี นตามเกณฑ์ 80/80 ปรับปรงุ แก้ไข ผา่ น ปรบั ปรุงแก้ไข ปรับปรุงแก้ไข ทดลองคร้ังที่ 2 แบบหน่ึงต่อสาม หาประสทิ ธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์ 80/80 ผา่ น ทดลองครั้งท่ี 3 แบบภาคสนาม หาประสทิ ธิภาพของบทเรยี นตามเกณฑ์ 80/80 ผา่ น ทดลองกบั กลุ่มตัวอยา่ ง หาประสทิ ธภิ าพของบทเรยี นตามเกณฑ์ 80/80 ปรับปรุงแก้ไข ผ่าน ตรวจสอบสอ่ื ก่อนนาไปใช้ ภาพประกอบที่ 7 ผงั งานแสดงข้นั ตอนการสร้างบทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีนพนื้ ฐาน
77 สว่ นท่ี 2 กำรสร้ำงเครอื่ งมือท่ใี ช้ในกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนและหลังการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ บทเรียน AR Code เรื่องคาศัพท์ภาษาจนี พื้นฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 มลี าดับการสร้างตามลาดบั ข้ันดงั นี้ 1.1 ศึกษาหลักสตู รภาษาจนี (หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร) กล่มุ สาระภาษาต่างประเทศ(ภาษาจีน) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 เกย่ี วกบั สาระจานวนและการ ดาเนนิ การและมาตรฐานการเรียนรสู้ าระการเรยี นร้แู ละผลการเรยี นทค่ี าดหวัง เพอ่ื เปน็ แนวทางใน การทาตารางวิเคราะห์เน้ือหาและสาระกาเรียนรู้ 1.2 ศกึ ษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรู้ของ บุญชม ศรสี ะอาด (2545) 1.3 สรา้ งตารางวิเคราะหห์ ลักสูตร เพื่อกาหนดจานวนขอ้ คาถามให้ครอบคลุมเน้อื หา และสาระการเรยี นรู้ 1.4 สรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนและหลังการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้ บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พืน้ ฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เป็นแบบทดสอบปรนยั ชนิด เลอื กเติม 4 ตวั เลือก จานวน 40 ข้อ 1.5 นาแบบทดสอบทส่ี ร้างข้ึนเสนอผู้เชยี่ วชาญจานวน 3 คน เพอ่ื ตรวจสอบความ ถูกต้องเหมาะสมในส่วนของโครงสร้าง เน้อื หา ภาษาทีใ่ ช้ ขอ้ เสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญท้งั 3 ทา่ นคือ 1.5.1. ตรวจสอบความถกู ต้องของตวั อกั ษรภาษาจีน 1.6 ปรบั ปรงุ ขอ้ สอบตามข้อเสนอแนะของผเู้ ชี่ยวชาญ แล้วนามาเสนอผู้เช่ียวชาญ ประเมินความสอดคลอ้ งของจุดประสงค์การเรยี นร้กู บั ขอ้ ทดสอบแต่ละขอ้ โดยหาคา่ IOC ตามวิธขี อง (Index of Item Objective Congruence) (อ้างถึงในวชิ ัย นภาพงศ์, 2552) โดยกาหนดเกณฑ์ดังนี้ ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าข้อสอบนั้นสอดคล้องกับจุดประสงค์ ใหค้ ะแนน 0 เมื่อไมแ่ นใ่ จว่าขอ้ สอบนัน้ สอดคล้องกับจุดประสงค์ ให้คะแนน -1 เมอ่ื แน่ใจวา่ ข้อสอบน้ันไมส่ อดคล้องกับจุดประสงค์ 1.7 นาผลรวมของคะแนนของขอ้ สอบแตล่ ะข้อของผ้เู ชยี่ วชาญท้งั หมดมาหาคา่ เฉลย่ี เพ่ือพจิ ารณาดชั นคี วามสอดคล้อง โดยเลอื กข้อสอบท่มี ีค่าเฉล่ยี ตั้งแต่ 0.50 ขน้ึ ไป มาจัดพิมพ์ 1.8 นาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนและหลังการจดั การเรยี นรู้ โดยใช้
78 บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 มาทดลองใชก้ ับนักเรียนที่ ไม่ใช่กลุม่ ตวั อย่าง คือนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3/2 จานวน 36 คน โรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สังกดั เทศบาลเมืองปตั ตานี จังหวดั ปัตตานี 1.9 นากระดาษคาตอบมาตรวจใหค้ ะแนน เพอ่ื หาค่าความยากง่าย (Difficulty) และคา่ อานาจจาแนก (Discrimination) ของข้อสอบแต่ละข้อ 1.10 คดั เลือกข้อสอบทมี่ คี า่ ความยากง่ายต้งั แต่ .20 -. 80 และคา่ อานาจจาแนกต้ังแต่ .20 ข้นึ ไป จดั ทาเป็นแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู้ โดยใช้บทเรยี น AR Code เร่ืองคาศพั ท์ ภาษาจนี พน้ื ฐาน จานวน 30 ขอ้ 1.11 นาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อหาค่าความเชอื่ มนั่ (Reliability) โดยใช้สตู ร KR-20 (อ้างถึงใน วชิ ัย นภาพงศ์, 2552) 1.12 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังการจดั การเรียนรู้ โดยใช้ บทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจีนพ้ืนฐาน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ไปใชก้ ับกลมุ่ ตัวอย่างซง่ึ เปน็ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3/1 จานวน 30 คน ปีการศึกษา 2558 โรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองปตั ตานี จังหวดั ปตั ตานี 2. การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ท่ีมตี ่อการใช้ บทเรียน Augmented Reality Code เรอ่ื งคาศพั ท์ภาษาจีนพน้ื ฐาน โรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สงั กดั เทศบาลเมืองปตั ตานี มีขนั้ ตอนดงั น้ี 2.1 ศกึ ษาหลักสตู รภาษาจนี (หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร) ศึกษามาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงช้ัน การจัดสาระการเรยี นรแู้ กนกลางและโครงสร้าง หลกั สตู รภาษาจนี และผลการเรยี นท่ีคาดหวงั รายปีและสาระการเรยี นรู้พ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาจนี ) ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เพ่ือประกอบการสร้างแบบสอบถามความพึง พอใจของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ทเี่ รียนโดยใชบ้ ทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจีน พน้ื ฐาน 2.2 ศกึ ษาการสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจของ บญุ ชม ศรีสะอาด (2545) 2.3 สรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ทมี่ ีตอ่ การ เรียนโดยใช้บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐานโรงเรยี นเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโมสร สงั กัดเทศบาลเมอื งปตั ตานี ซ่ึงเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 20 ข้อ ตามวิธขี อง Likert กาหนดเกณฑก์ ารแปลความหมายของค่าเฉล่ียเปน็ 5 ระดับ โดยปรับปรงุ จากหนังสอื การวิจยั เบ้อื งตน้ (อา้ งถงึ ใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ดงั น้ี
79 เกณฑ์การพจิ ารณาความพึงพอใจของนักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 ทีม่ ีต่อการเรยี นโดยใช้บทเรียน AR Code เร่อื งคาศพั ท์ภาษาจนี พืน้ ฐานโรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานีนรสโมสร สงั กดั เทศบาลเมอื งปัตตานี ใช้คะแนนเฉล่ียตามเกณฑ์ของ บุญชม ศรสี ะอาด (2545) ดงั น้ี คา่ เฉลีย่ 4.51-5.00 แปลความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียน AR Code มากทส่ี ดุ คา่ เฉลยี่ 3.51-4.50 แปลความพงึ พอใจทม่ี ีต่อบทเรยี น AR Code มาก ค่าเฉลีย่ 2.51-3.50 แปลความพึงพอใจทมี่ ตี ่อบทเรียน AR Code ปานกลาง ค่าเฉลย่ี 1.51-2.50 แปลความพึงพอใจทมี่ ตี ่อบทเรียน AR Code น้อย คา่ เฉลี่ย 1.00-1.50 แปลความพงึ พอใจทีม่ ีต่อบทเรียน AR Code นอ้ ยท่ีสุด 2.4 นาแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ทีม่ ตี อ่ การเรยี น โดยใช้บทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีนพ้นื ฐานโรงเรยี นเทศบาล ๒ วัดตานนี รสโมสร สงั กัดเทศบาลเมืองปัตตานี ที่ผศู้ กึ ษาสร้างข้นึ เสนอผ้เู ชีย่ วชาญ จานวน 3 คน 2.5 ปรบั ปรุงแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ท่มี ตี อ่ การเรียนโดยใช้บทเรียน AR Code เร่อื งคาศัพท์ภาษาจนี พน้ื ฐานโรงเรียนเทศบาล ๒ วดั ตานนี รสโม สร สังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี ตามขอ้ เสนอแนะของผ้เู ชี่ยวชาญ 2.6 นาคะแนนแต่ละข้อคาถามของผเู้ ช่ียวชาญ จานวน 3 คน มารวมกนั แลว้ หาค่าเฉล่ีย เพื่อพิจารณาดชั นคี วามสอดคลอ้ ง โดยใช้สูตร IOC (อ้างถงึ ในวิชยั นภาพงศ์, 2552) โดยเลือกข้อท่ีมี ค่าต้งั แต่ 0.50 - ข้นึ ไป เปน็ ขอ้ คาถามที่อยูใ่ นเกณฑ์ความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหาทีใ่ ช้ได้ ผลการพจิ ารณา แบบสอบถามพบวา่ ได้ข้อคาถามท่ีอยูใ่ นเกณฑค์ วามเท่ียงตรงทงั้ หมด 15 ข้อ ซ่ึงมีค่า IOC ตง้ั แต่ 0.50 – ขึน้ ไป 1.7 จดั พมิ พ์แบบสอบถามความพึงพอใจฉบบั สมบรู ณ์ จานวน 15 ขอ้ นาไปใช้จริงกับ นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3/1 จานวน 30 คน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2558 โรงเรยี น เทศบาล ๒ วัดตานีนรสโมสร สังกัดเทศบาลเมืองปัตตานี ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างของการศกึ ษาในครงั้ นี้ 5. การศกึ ษาความคงทนในการเรยี นร้คู าศพั ท์ภาษาจีนพืน้ ฐานของผ้เู รียนทเี่ รยี นโดยใช้ บทเรียน Augmented Reality Code เร่อื งคาศพั ท์ภาษาจีนพ้นื ฐาน สาหรับนกั เรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3
80 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. ข้ันเตรียมกำรสอน 1.1 เตรียมเครอื่ งมือทใี่ ช้ในการทดลอง ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ก่อนและหลงั เรียนการจดั การเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ บทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศัพท์ภาษาจีน พืน้ ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 1.2 เตรยี มอปุ กรณ์การเรียน ได้แก่ แทบ็ เล็ต บทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 1.3 เตรียมห้องเรยี น โดยจดั บรรยากาศให้มคี วามเหมาะสม ไมม่ ีเสียงรบกวนมแี สงสว่าง เพียงพอ และอากาศถ่ายเทได้สะดวก 1.4 เตรียมนกั เรยี นที่เปน็ กลมุ่ ตวั อย่าง จานวน 30 คน โดยการทดสอบก่อนเรียน (Pretest) โดยใชแ้ บบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน AR Code เรอื่ งคาศพั ทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ที่ผวู้ ิจัยสร้างขนึ้ จานวน 30 ข้อ 2. ขัน้ ดำเนนิ กำรทดลอง 2.1 ทาการสอนโดยดาเนินการตามแผนการจดั กาเรียนรู้ 4 แผนการจัดการเรยี นรู้ ใช้ เวลาวันละ 1 ชัว่ โมง เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ 3. ขน้ั หลังกำรทดลอง 3.1 หลังจากการจัดการเรียนรสู้ ้นิ สดุ ลง ผู้วิจยั นาแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง การจดั การเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศพั ทภ์ าษาจนี พืน้ ฐาน จานวน 30 ข้อ ซง่ึ เป็นสุด เดียวกันกบั แบบทดสอบก่อนจดั การเรียนรู้ มาทดสอบหลงั การจดั การเรียนรู้ บนั ทึกคะแนนในแบบ บันทกึ คะแนน 3.2 หลังจากการจัดการเรยี นรู้สิน้ สุด ผวู้ ิจยั นาแบบทดสอบความพงึ พอใจของผู้เรียนท่มี ี บทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจนี พ้ืนฐาน จานวน 15 ข้อ บนั ทกึ คะแนนในแบบบันทึก คะแนน 3.3 หลงั จากการจัดการเรียนรสู้ น้ิ สดุ ลง อย่างนอ้ ย 2 สัปดาห์ ผู้วิจยั นาแบบวัดความ คงทนการเรียนรู้ โดยใช้บทเรยี น AR Code เรอื่ งคาศพั ทภ์ าษาจนี พื้นฐาน จานวน 30 ข้อ ซึ่งเปน็ สดุ เดียวกนั กบั แบบทดสอบก่อนและหลังจดั การเรยี นรู้สลบั ข้อกนั มาทดสอบวัดความคงทนหลงั การ จดั การเรยี นรู้ บันทึกคะแนนในแบบทันทึกคะแนน
81 3.4 นาข้อมูลทไ่ี ด้จาการทดลองมาทาการวิเคราะห์ โดยใช้วธิ ีการทางสถิตเิ พือ่ ทดสอบ สมมตฐิ านการวิจยั ตอ่ ไป 3.5 ประเมนิ ผลและสรุป กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู 4.1 วเิ คราะห์หาประสิทธิภาพของการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้บทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศพั ทภ์ าษาจนี พ้นื ฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ทม่ี ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (E1/ E2) 4.2 วิเคราะห์เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรยี นกอ่ นและหลงั การจดั การ เรยี นรู้ดว้ ยโดยใช้บทเรยี น AR Code เรือ่ งคาศพั ทภ์ าษาจนี พน้ื ฐาน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใชส้ ถิติ t-test (Dependent Samples) 4.3 วิเคราะหแ์ บบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้ บทเรยี น AR Code เรือ่ งคาศัพทภ์ าษาจนี พน้ื ฐาน 4.4 วิเคราะห์ความคงทนในการเรียนรูค้ าศัพท์ภาษาจนี พ้ืนฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สถิติทใ่ี ชใ้ นกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล สถิตทิ ใี่ ชใ้ นกำรตรวจสอบคุณภำพของเครอ่ื งมือ 1. สถิติท่ีใชใ้ นกำรหำคุณภำพของเครอื่ งมือ 1.1 ตรวจสอบความเท่ียงตรงตามเน้ือหา (Content Validity) โดยหาคา่ ดัชนคี วาม สอดคล้องระหว่างข้อคาถามแตล่ ะข้อกับจุดประสงค์ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกอ่ น และหลังการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้บทเรียน AR Code เร่ืองคาศัพทภ์ าษาจีนพื้นฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ใชส้ ูตรดังนี้ (อ้างถงึ ใน วชิ ัย นภาพงศ์, 2552) IOC R N เมือ่ IOC แทน ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง R แทน คะแนนการพจิ ารณาของผเู้ ชย่ี วชาญ R แทน ผลรวมคะแนนพิจารณาของผเู้ ชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จานวนผู้เชย่ี วชาญทงั้ หมด
82 1.2 หาค่าความยากงา่ ยของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนและหลังการ จัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรยี น AR Code เรอ่ื งคาศพั ทภ์ าษาจนี พน้ื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ใช้สูตรดงั น้ี (อ้างถงึ ใน วิชยั นภาพงศ์, 2552) P R N เมื่อ P แทน จานวนคนที่ทาขอ้ สอบทัง้ หมด R แทน จานวนผตู้ อบถูกทง้ั หมด N แทน จานวนผู้สอบทงั้ หมด 1.3 หาค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนและหลังการ จดั การเรียนรู้ โดยใช้บทเรียน AR Code เรือ่ งคาศัพท์ภาษาจีนพ้ืนฐาน โดยใช้สตู ร (อา้ งถงึ ใน วชิ ยั นภาพงศ์, 2552) D Ru R1 N 2 เม่ือ Ru แทน จานวนนกั เรยี นในกลุ่มสูงที่ตอบถูก R1 แทน จานวนนักเรียนในกล่มุ ต่าที่ตอบถูก N แทน จานวนผูส้ อบท้ังหมด 1.4 หาคา่ ความเชอื่ ม่นั ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นและหลงั การ จดั การเรียนรู้ โดยใช้บทเรยี น AR Code เรื่องคาศพั ท์ภาษาจนี พนื้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้สูตร KR-20 ดงั นี้ (อา้ งถงึ ใน วิชยั นภาพงศ์, 2552)
83 rtt n pq 1 1 n S 2 t เม่อื rtt แทน ความเชือ่ มน่ั ของแบบทดสอบ n แทน จานวนของข้อสอบทงั้ หมด p แทน สดั สว่ นผทู้ ท่ี าได้ในข้อหนงึ่ ๆ นั่นคือสัดส่วนของ คนทาถกู กับคนทาท้ังหมด q แทน สดั สว่ นของผ้ทู าผิดในขอ้ หนึ่งๆ (1 - p) st แ2ทน คะแนนความแปรปรวนของเครื่องมือฉบับน้นั 1.5 การหาประสิทธภิ าพของบทเรียน AR Code เรอ่ื งคาศัพทภ์ าษจีนพื้นฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้สตู ร T1 / T2 ดังนี้ (อา้ งถึงใน วิชยั นภาพงศ์, 2552) x T1 N x 100 A เม่อื T1 แทน ร้อยละของคะแนนเฉล่ยี ของผู้เรยี นจากการทาแบบทดสอบ ระหว่างเรียน x แทน คะแนนรวมของกล่มุ ตวั อยา่ งจากการทาแบบทดสอบระหว่างเรยี น A แทน คะแนนรวมของ N แทน จานวนผเู้ รยี น x T2 N x 100 B เมอื่ T2 แทน รอ้ ยละของคะแนนเฉลี่ยของผเู้ รยี นจากการทาแบบทดสอบ หลังเรียน x แทน คะแนนรวมของกลุ่มตัวอย่างจากการทาแบบทดสอบหลงั เรยี น B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน N แทน จานวนผูเ้ รียนท้งั หมด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246