Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IQA1-1

IQA1-1

Published by pracha1975, 2018-09-11 10:43:03

Description: IQA1-1

Search

Read the Text Version

ชว่ งเชอื่ มตอ่ หมายถงึ การจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รยี นจากโปรแกรมหนงึ่ ไปสอู่ กี โปรแกรมหนงึ่การเปล่ยี นจากระดบั หนึง่ ไปส่อู กี ระดบั หนง่ึ เชน่ การเปล่ียนแปลงสถานที่ สภาพแวดลอ้ ม ระยะเวลา จากทหี่ น่งึ ไปสทู่ ี่หนง่ึ โดยมเี ป้าหมายข้างหนา้ ทดี่ ีกว่าปจั จุบันทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา การส่งต่อ หมายถงึ การพฒั นาผ้เู รียนให้สามารถส่งต่อไปรับบรกิ ารอ่ืนทเ่ี หมาะสม เชน่บรกิ ารทางการแพทย์ บรกิ ารทางสงั คม บรกิ ารทางการศกึ ษา ไหแ้ กผ่ เู้ รยี นเมอ่ื มผี ลการพฒั นาศกั ยภาพผ่านตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนด สามารถส่งต่อเข้าสู่ระบบการศึกษาในช้ันเรียนท่ีสูงข้ึน หรือย้ายสถานศึกษา หรอื รบั บริการดา้ นอื่น ๆ ต่อไป ๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ของผูเ้ รยี น ๑) มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามท่สี ถานศึกษาก�ำ หนด ค�ำ อธิบาย ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมเปน็ ผทู้ ม่ี คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจติ ส�ำนกึ ตามทส่ี ถานศกึ ษาก�ำหนดโดยไมข่ ดั กับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดงี าม ๒) มคี วามภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คล คำ�อธบิ าย ผเู้ รียนแสดงออกถงึ ความภมู ใิ จในทอ้ งถ่ิน และความเปน็ ไทย มีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและประเพณี รวมทงั้ ภมู ิปัญญาไทย ตามศกั ยภาพของผู้เรียนแตล่ ะบคุ คลมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ค�ำ อธิบาย สถานศึกษาท่ีจัดการศึกษาให้แก่ผู้เรียนที่มีความต้องการจ�ำเป็นพิเศษ ท้ังที่เป็นแบบเรียนรวมในสถานศึกษาปกติ และแบบจัดการศึกษาท่ีออกแบบส�ำหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการจ�ำเป็นพิเศษโดยเฉพาะ มกี ระบวนการบรหิ ารและจัดการทม่ี คี ณุ ภาพ กลา่ วคือ มกี ารบรหิ ารและการจดั การทรัพยากรทางการศึกษาจัดท�ำและด�ำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา บริหารและจัดการข้อมูลสารสนเทศ การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา การใช้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา การนเิ ทศ ก�ำกบั ติดตาม ประเมนิ และตรวจสอบการด�ำเนนิ การบริหารและการจดั การ94 หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นามาตรฐานผูป้ ระเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

รายการพิจารณา ๒.๑ มเี ป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพันธกิจที่สถานศึกษาก�ำ หนดชดั เจน ค�ำ อธบิ าย สถานศกึ ษาก�ำหนดเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพันธกิจ ตรงกบั วัตถุประสงค์ของแผนการศกึ ษาชาติ และสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของชุมชนทอ้ งถิ่นอย่างชัดเจน รวมถึงการให้ความส�ำคัญแกก่ ารจดั การศกึ ษาแกผ่ เู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจ�ำเปน็ พเิ ศษในสถานศกึ ษานนั้ (กรณสี ถานศกึ ษาทมี่ กี ารจดั การศึกษาแก่ผเู้ รยี นทีม่ คี วามตอ้ งการจ�ำเป็นพเิ ศษ) ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ค�ำ อธิบาย สถานศึกษามีการวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบบรหิ ารอตั ราก�ำลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น สร้างการมสี ว่ นรว่ มของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย และการร่วมรับผิดรับชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานก�ำกับติดตามประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา ท้ังนี้ สถานศึกษาแบบเรียนรวมมีระบบบริหารจัดการเพ่ือให้คุณภาพของส่วนที่จัดการศึกษาส�ำหรับผู้เรียนท่ีมีความต้องการจ�ำเป็นพิเศษเท่าเทียมกับส่วนทจ่ี ัดให้แก่ผู้เรยี นปกติ และสถานศกึ ษาแบบจัดการศึกษาส�ำหรับผู้เรียนทม่ี ีความต้องการจ�ำเปน็ พเิ ศษโดยเฉพาะ มีระบบการจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาทมี่ ีมาตรฐานเดียวกบั สถานศกึ ษาปกติทจี่ ัดให้แกผ่ เู้ รียนปกตใิ นวัยเดยี วกัน ๒.๓ ด�ำ เนินงานพัฒนาวิชาการท่เี น้นคณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบด้านทุกกลมุ่ เป้าหมาย คำ�อธิบาย สถานศกึ ษาด�ำเนนิ การพฒั นาหลกั สตู รเนน้ คณุ ภาพของผเู้ รยี นตามศกั ยภาพของผเู้ รยี นแตล่ ะบคุ คล ตามสภาพและประเภทของความพกิ าร และให้ครอบคลุมทุกประเภทความพกิ าร ๒.๔ พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ค�ำ อธบิ าย สถานศกึ ษาพฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี และใชก้ ระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) มาใชใ้ นการพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รยี นหลักสตู รการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผ้ปู ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 95 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ค�ำ อธบิ าย สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา จัดและปรับสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากแหล่งเรียนรู้ตามศกั ยภาพของผู้เรยี นแตล่ ะบคุ คล ตามสภาพและประเภทของความพกิ าร ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้ คำ�อธบิ าย พัฒนาครูให้สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยี สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ส่อื บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื อน่ื ใดทางการศกึ ษาในการจดั การเรยี นรู้ และใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ข้าถงึ และใชป้ ระโยชนได้ตามศกั ยภาพของผ้เู รยี นแต่ละบุคคล ตามสภาพและประเภทของความพิการมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ คำ�อธิบาย เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล ตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลท่ีสอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล มีการบรหิ ารจดั การเรยี นรเู้ ชิงบวก สรา้ งปฏสิ ัมพันธ์ท่ดี ี รว่ มกันแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ด�ำเนนิ การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและน�ำผลมาพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพอย่างตอ่ เนื่อง รายการพิจารณา ๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถน�ำ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได ้ คำ�อธิบาย จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามท่ีระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกับหลกั สตู รของสถานศกึ ษา ทเ่ี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ โดยผเู้ รยี นไดร้ บัการฝกึ ให้มที ักษะ และการแสดงความคิดเหน็ ตามศกั ยภาพและประเภทของความพิการ96 หลักสตู รการสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการพัฒนามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๓.๒ ใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู ี่เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ คำ�อธิบาย มกี ารใชเ้ ทคโนโลยี สงิ่ อ�ำนวยความสะดวก สอ่ื บรกิ ารและความชว่ ยเหลอื อนื่ ใดทางการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ รวมทง้ั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ โดยน�ำมาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ และสรา้ งโอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรตู้ ามศกั ยภาพของผเู้ รยี นจากสอื่ ทหี่ ลากหลาย ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก คำ�อธบิ าย ครูผูส้ อนมีการบริหารจดั การผ้เู รียน โดยเน้นการมีปฏิสมั พนั ธ์เชงิ บวก ครรู กั เด็ก ใหเ้ ดก็ รกั ครูและรักทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรูร้ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข ๓.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนำ�ผลมาพัฒนาผูเ้ รียน ค�ำ อธบิ าย มกี ารตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ มขี นั้ ตอนชดั เจน โดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรยี น และผูป้ กครองเพอื่ น�ำผลไปใชพ้ ฒั นาการเรยี นรู้อย่างต่อเน่อื ง ๓.๕ มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับเพอื่ ปรบั ปรงุ และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ค�ำ อธิบาย ครแู ละผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งรว่ มกนั แลกเปลยี่ นความรแู้ ละประสบการณร์ วมทงั้ ใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบัเพ่ือน�ำไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นร ู้หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 97 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑



หนว่ ยท่ี ๓ เสริมสรา้ งศกั ยภาพด้านการประเมินกิจกรรมท่ี ๓.๑ วัตถุประสงค์เร่อื ง บทบาทหน้าทีแ่ ละคุณลักษณะของผู้ประเมิน ๑) เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณุ ภาพสถานศกึ ษา บทบาทหนา้ ทแ่ี ละคณุ ลกั ษณะของผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษากจิ กรรมที่ ๓.๒เรือ่ ง ทกั ษะของผู้ประเมนิ ๒) เพื่อพัฒนาความสามารถในการออกแบบการเก็บรวบรวมคุณภาพสถานศกึ ษา ขอ้ มลู เพอื่ การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา: ทกั ษะการสงั เกต การตง้ั คำ�ถามและสมั ภาษณผ์ มู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง ๓) เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการตคี วาม การตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู และการสรุปความ เน้ือหา ๑) บทบาทหนา้ ทแี่ ละคณุ ลกั ษณะของผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา ๒) ทกั ษะของผูป้ ระเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษา กจิ กรรม - แบง่ กลมุ่ ชมคลปิ ท�ำ กจิ กรรมใบงาน เสนอผล และวทิ ยากร สรุปองค์ความรู้ (๖๐ นาที) - ฟงั บรรยาย (๖๐ นาท)ี - แบง่ กล่มุ ชมคลปิ ท�ำ กจิ กรรมใบงาน เสนอผล แลกเปลย่ี น และสรปุ องค์ความรู้ (๑๒๐ นาที) - แลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั งิ าน (๓๕ นาท)ี รปู แบบกจิ กรรม - ตรวจสอบ มโนทศั นโ์ ดยใชส้ อ่ื ออนไลน์ - ฟงั บรรยาย/ชมคลปิ วีดีโอ - ศกึ ษาเอกสารเสรมิ ความรู้ - ท�ำ กจิ กรรม ใบงาน - แลกเปลย่ี นเรยี นรูแ้ ละสะท้อนผลการปฏบิ ัตงิ านหลกั สตู รการสมั มนาเชิงปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 99 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

หลกั สตู รและกจิ กรรมหน่วยท่ี ๓ เร่ือง บทบาทหน้าทแ่ี ละคณุ ลักษณะของผปู้ ระเมนิ คุณภาพสถานศึกษากจิ กรรม เนอื้ หา รูปแบบ เวลา สอื่ ประกอบ๓.๑ บทบาท การสัมมนา ๓๐ นาที - ฝึกปฏิบัติ ๑๕ นาที ๑. คลิป “การศกึ ษาไทย ท�ำรา้ ยครูอยา่ งไรบ้าง?” หน้าทีแ่ ละ - น�ำเสนอ ๑๕ นาที (๖.๓๐ นาท)ี คุณลักษณะ - สรุป ของผ้ปู ระเมิน ความรู ้ ๖๐ นาที ๒. ใบกจิ กรรมที่ ๓.๑ (กลุ่ม)บทบาทหนา้ ที่และ คณุ ภาพสถาน ๔๕ นาที คุณลกั ษณะของผปู้ ระเมินคุณภาพสถานศกึ ษา ศกึ ษา - บรรยาย ๑๕ นาที๓.๒ ทักษะของ ๓. powerpoint เรอื่ ง บทบาทหน้าที่และคุณลักษณะ ผู้ประเมิน - ฝึกปฏิบัต ิ ๓๐ นาที ของผปู้ ระเมินคุณภาพสถานศกึ ษา คณุ ภาพสถาน - น�ำเสนอ ๑๕ นาที ศึกษา ๒๕ นาที ๔. เอกสารเสรมิ ความร้กู ิจกรรมท่ี ๓.๑ เรื่อง บทบาท - ฝึกปฏบิ ตั ิ ๒๐ นาที หนา้ ทแี่ ละคุณลกั ษณะของผู้ประเมินคณุ ภาพสถาน - น�ำเสนอ ศกึ ษา - ฝึกปฏบิ ตั ิ - น�ำเสนอ ๕. powerpoint เร่ือง ทักษะของผู้ประเมินคุณภาพ และสรุป สถานศกึ ษา ความรู้ ๖. เอกสารเสริมความรู้กจิ กรรมท่ี ๓.๒ เรอ่ื งทักษะของ ผู้ประเมนิ คุณภาพสถานศกึ ษา ๗. ใบกิจกรรมท่ี ๓.๒.๑ (เดย่ี ว) การออกแบบการเก็บ รวบรวมเพอื่ การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา: ทกั ษะ การสงั เกต ๘. ใบกิจกรรมที่ ๓.๒.๑ (กลุ่ม) การออกแบบการเกบ็ รวบรวมเพอื่ การประเมนิ คุณภาพการศึกษา: ทักษะ การสงั เกต ๙. คลิปข้อมลู ครู (๑๑.๔๘ นาท)ี ๑๐. ใบกิจกรรมที่ ๓.๒.๒ (กลุ่ม)การออกแบบการเก็บ รวบรวมเพอื่ การประเมินคณุ ภาพการศึกษา: การตัง้ ค�ำถามและสัมภาษณ์ผ้มู สี ่วนเกี่ยวขอ้ ง ๑๑. ใบกิจกรรมท่ี ๓.๒.๓ (กลุ่ม) การออกแบบการเก็บ รวบรวมเพ่อื การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา: การตีความ การตรวจสอบความน่าเช่อื ถือของ ขอ้ มลู และการสรปุ ความ100 หลักสตู รการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

หลักสตู รและกจิ กรรมที่ ๓.๑เรื่อง บทบาทหน้าทแี่ ละคณุ ลักษณะของผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา๑. สาระส�ำ คัญ การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษามลี ักษณะส�ำคัญ ๔ ประการ คือ การตัดสนิ โดยอาศยั ความเชยี่ วชาญ (expert judgement) การตรวจทานผลการประเมนิ โดยคณะกรรมการประเมนิ ในระดบั เดยี วกนั (peer review)การประเมนิ ในภาพรวมของผลการด�ำเนนิ งานหรอื กระบวนการด�ำเนนิ งาน(holistic assessment) และการประเมนิ ตามหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ เ่ี กดิ จากการปฏบิ ตั งิ านตามสภาพจรงิ ของสถานศกึ ษา (evidence based) ซงึ่ บคุ คลส�ำคญั ทที่ �ำใหก้ ารประเมนิ บรรลตุ ามลกั ษณะดงั กลา่ วคือ ผู้ประเมินดังนั้น ผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษาจะต้องเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองเป็นอย่างดีทง้ั กอ่ น ระหวา่ ง และหลงั การประเมนิ รวมทงั้ จ�ำเปน็ ตอ้ งมคี ณุ ลกั ษณะทเี่ หมาะสมกบั การเปน็ ผปู้ ระเมนิโดยจะต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เก่ียวกับลักษณะของการประเมินและส่ิงที่จะประเมินมปี ระสบการณใ์ นการประเมนิ และมที กั ษะในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณเพอื่ ให้ไดข้ อ้ มลู และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ ส่ี ะทอ้ นคณุ ภาพของสถานศกึ ษาอยา่ งถกู ตอ้ ง เทย่ี งตรง และเชอื่ ถอืได้รวมท้ังมีบุคลิกภาพที่ดีและมีคุณลักษณะเป็นผู้ประเมินแบบกัลยาณมิตร ตลอดจนสามารถให้ค�ำชแี้ นะและใหค้ �ำปรกึ ษาแกส่ ถานศกึ ษาไดอ้ ยา่ งชดั เจนและตรงประเดน็ เพอื่ น�ำไปสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพของสถานศกึ ษาอยา่ งแท้จรงิ๒. วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และคุณลักษณะของผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา๓. รปู แบบการจัดกิจกรรม ๓.๑ การฝึกปฏิบัตใิ บกิจกรรม ๓.๒ การน�ำเสนอและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ๓.๓ การสรปุ ความรโู้ ดยการบรรยายจากวิทยากรหลกั สูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 101 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๔. ขั้นตอนการจดั กิจกรรม ขั้นตอน ระยะเวลา ส่อื และเอกสารประกอบ๑. แบง่ กลมุ่ จ�ำนวนกล่มุ ละ๓ - ๖ คน ๓๐ นาที ๑. คลิป “การศกึ ษาไทย ท�ำร้ายครูอยา่ งไรบา้ ง?” (๖.๓๐ นาที)๒. ชมคลปิ ๒. ใบกิจกรรมท่ี ๓.๑ (กล่มุ ) บทบาทหน้าที่และคุณลกั ษณะของ๓. ฝกึ ปฏิบตั ิกิจกรรมใบ ผปู้ ระเมินคุณภาพสถานศึกษากิจกรรมท่ี ๓.๑๔. น�ำเสนอและแลกเปลยี่ น ๑๕ นาที -เรียนรูต้ ามใบกจิ กรรมที่ ๓.๑๕. สรปุ ความรู้โดยวทิ ยากร ๑๕ นาที ๓. power point เรอ่ื ง บทบาทหน้าท่แี ละคณุ ลกั ษณะของ ผู้ประเมินคุณภาพสถานศกึ ษา ๔. เอกสารเสรมิ ความร้กู ิจกรรมท่ี ๓.๑ เรื่อง บทบาทหน้าท่แี ละ คณุ ลักษณะของผูป้ ระเมนิ คุณภาพสถานศึกษา๕. การวัดและประเมินผล ๕.๑ ประเมนิ พฤติกรรมการมีสว่ นรว่ มกิจกรรมของผูเ้ ข้าสมั มนา ๕.๒ ประเมินผลงานจากใบกจิ กรรม102 หลักสูตรการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๖. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลกิจกรรมท่ี ๓.๑ ราย ระดับคุณภาพ การประเมิน๑. พฤติกรรม ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมากการมสี ่วนรว่ ม สมาชกิ ไม่มสี ่วนร่วมกจิ กรรม ในการท�ำงานและ สมาชกิ ส่วนใหญ่ มีการก�ำหนดขั้นตอน มกี ารก�ำหนดขั้นตอน แสดงความคิดเหน็ ร่วมกนั ท�ำงาน การท�ำงาน สมาชกิ การท�ำงานท่ชี ัดเจน๓. ผลงานใน ในกล่มุ มีการรับฟังและแสดง ทุกคนรว่ มกันท�ำงาน สมาชกิ ทกุ คนในกล่มุใบกจิ กรรมที่ ความคิดเหน็ ร่วมกัน มกี ารรับฟังและแสดง มีการรบั ฟังและ๓.๑ มีการบนั ทึกข้อมูล ความคิดเหน็ ร่วมกัน แสดงความคิดเห็น ตามใบกจิ กรรม และแสดงบทบาท รว่ มกัน และแสดง ไม่ครบถ้วน ของตนเองอย่าง บทบาทของตนเอง เหมาะสม อยา่ งเหมาะสม เม่ือ เกิดความขดั แยง้ ทาง ความคิด สมาชกิ ในกลุม่ รว่ มกันขจัด ความขดั แยง้ ที่เกดิ ขึ้น ไดด้ ้วยเหตุผล มีการบันทกึ ข้อมูล มกี ารบันทึกข้อมลู มีการบนั ทกึ ขอ้ มลู ตามใบกิจกรรมครบ ตามใบกิจกรรมครบ ตามใบกจิ กรรมครบ ถว้ น และแนวทาง ถ้วน และแนวทาง ถ้วน และแนวทาง ในการพฒั นาไม่ ในการพัฒนามีความ ในการพฒั นามีความ สอดคล้องกบั ขอ้ ท่ี สอดคลอ้ งกบั ข้อท่ี สอดคลอ้ งและเปน็ ต้องการพัฒนา ต้องการพฒั นา ไปได้กบั ข้อท่ีต้องการ พฒั นา๗. เกณฑก์ ารผ่านกจิ กรรมท่ี ๓.๑ ผเู้ ข้ารบั การสัมมนาตอ้ งได้รับการตดั สนิ คุณภาพกิจกรรมที่ ๓.๑ ในระดับดขี ึน้ ไปทุกรายการประเมินหลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 103 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สื่อรายการท่ี ๓/๑ ใบกจิ กรรมท่ี ๓.๑ บทบาทหน้าท่ีและคณุ ลักษณะของผูป้ ระเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษา งานกลุ่ม ค�ำชแี้ จง ให้ผู้เข้ารับการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มเก่ียว กับบทบาทหน้าท่ีและคุณลักษณะของผู้ประเมินคุณภาพ สถานศกึ ษาแล้วเขยี นรายละเอียดลงในภาพที่ก�ำหนดให้104 หลักสตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

รายชอื่ สมาชิก กลุ่มที่ ......... ๑. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๒. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๓. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๔. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๕. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๖. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๗. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๘. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๙. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............๑ ๐. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............หลกั สตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 105 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

บทบาทหน้าท่แี ละคณุ ลักษณะของผูป้ ระเมนิ คุณภาพสถานศกึ ษา106 หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สอื่ รายการท่ี ๓/๒ เอกสารเสริมความรู้ เร่อื ง บทบาทหนา้ ท่แี ละคุณลักษณะของผ้ปู ระเมนิ คุณภาพสถานศกึ ษา การประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอย่างแท้จริง จ�ำเป็นต้องอาศัยผู้ประเมินที่มีความรู้ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ รวมท้ังบุคลิกภาพและเจตคติท่ีดีต่อการประเมนิ ซึ่งผูป้ ระเมนิ คุณภาพสถานศึกษาควรมบี ทบาทหนา้ ทีแ่ ละคุณลักษณะ ดงั นี้บทบาทหนา้ ท่ีของผ้ปู ระเมินคุณภาพสถานศึกษา ผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษามีบทบาทหน้าท่ีก่อนการประเมิน ระหว่างการประเมิน และหลงั การประเมนิ ดังน้ี ๑. กอ่ นการประเมิน ๑.๑ ศกึ ษาเอกสารแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจ�ำปี รายงานประจ�ำปี(Self-Assessment Report: SAR) และเอกสารอ่ืน ๆ ที่เกย่ี วข้อง ๑.๒ จัดท�ำก�ำหนดการตรวจเย่ียมสถานศึกษาร่วมกับคณะผู้ประเมินคุณภาพโดยการปรกึ ษาหารือกบั ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ๒. ระหว่างการประเมิน ๒.๑ ก�ำกบั ดูแลการตรวจเย่ยี มสถานศึกษาให้เป็นไปตามแผนท่กี �ำหนด ๒.๒ ประสานงานการประเมนิ ใหส้ อดคลอ้ งสมั พนั ธก์ นั ไมซ่ ำ้� ซอ้ นโดยเฉพาะกรณที ม่ี กี ารแยกย้ายกันประเมินเฉพาะเร่อื ง ๒.๓ ร่วมกับคณะผ้ปู ระเมินคณุ ภาพสรุปผลการประเมนิ เป็นระยะ ๆ ๒.๔ พจิ ารณาผลการประเมนิ รวบยอด ๒.๕ แจง้ ผลการประเมนิ อยา่ งไม่เป็นทางการดว้ ยวาจาตอ่ สถานศึกษา ๒.๖ ให้ค�ำแนะน�ำและชป้ี ระเดน็ ส�ำคัญในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขหรือพฒั นาแกส่ ถานศกึ ษา ๓. หลังการประเมนิ ๓.๑ ก�ำกับการจดั ท�ำและส่งรายงานผลการประเมนิ ให้ผู้เก่ยี วขอ้ ง ๓.๒ ร่วมรับผิดชอบผลการประเมนิ และรายงานการประเมินหลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 107 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

คณุ ลักษณะของผู้ประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษา ผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษาควรมีความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และทักษะ รวมทั้งบคุ ลกิ ภาพและเจตคติ ดังน้ี ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษาและระบบการประกันคุณภาพในตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ๒. มีประสบการณ์เก่ยี วกับการจดั การศึกษาและการประเมินคุณภาพสถานศึกษาเปน็ อยา่ งดี ๓. เขา้ ใจบรบิ ทของสถานศกึ ษาและมที กั ษะการประเมนิ ตามสภาพจรงิ และการประเมนิ แบบองค์รวม (holistic assessment) เปน็ อยา่ งดี ๔. มบี คุ ลกิ ภาพทดี่ สี ภุ าพเรยี บรอ้ ยยมิ้ แยม้ แจม่ ใสมมี นษุ ยสมั พนั ธท์ ดี่ ี มคี วามสามารถในการควบคมุ อารมณส์ ขุ ุมรอบคอบและมองโลกในแงด่ ี ๕. ตรงตอ่ เวลา และรักษาเวลา ๖. มที กั ษะในการติดตอ่ สือ่ สารอยา่ งเป็นกัลยาณมิตร ๗. มคี วามสามารถในการท�ำงานเป็นทีม ๘. มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ๙. มีทกั ษะในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เชงิ คณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณ ๑๐. มที ักษะดา้ นการคดิ วิเคราะหส์ งั เคราะห์และสรุปความ ๑๑. มคี วามสามารถในการใหข้ ้อเสนอแนะอย่างชดั เจนและตรงประเด็น ๑๒. มคี วามสามารถในการสรปุ และจดั ท�ำรายงานการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษาได้อย่างถกู ต้อง เชอื่ ถอื ได้ และทันเวลา ๑๓. มคี ุณธรรมจริยธรรมและอทุ ศิ ตนในการปฏบิ ตั ิงานไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ ๑๔. มคี วามเช่อื มัน่ ในระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา ๑๕. มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ สถานศึกษาและเจตคติทดี่ ีต่อการประเมนิ108 หลักสตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

หลกั การปฏิบัตติ นของผู้ประเมินคุณภาพสถานศึกษา ผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาเปน็ บคุ คลส�ำคญั ตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาโดยผู้ประเมินจะต้องปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มศักยภาพ เพ่ือให้ผลการประเมินมีความถูกต้อง เชื่อถือได้เท่ยี งธรรม และเกิดประโยชน์แกส่ ถานศกึ ษาและสว่ นรวมใหม้ ากท่สี ดุ ดงั นนั้ ผู้ประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษาควรปฏบิ ตั ติ น ดงั นี้ ๑. ปฏิบัติหนา้ ที่ประเมนิ คุณภาพการศึกษาด้วยตนเอง ๒. มีความเที่ยงตรงโปร่งใสมีความรับผิดชอบท่ีตรวจสอบได้รายงานสิ่งที่ค้นพบตามความเปน็ จริงอยา่ งชดั เจนมีเหตุผลมหี ลักฐานสนบั สนุน ๓. มีความซ่ือสัตย์สุจริตไม่ยอมให้อิทธิพลใด ๆ มาเบี่ยงเบนผลการตรวจสอบให้ผิดไปจากความเปน็ จรงิ และต้องไม่รายงานเทจ็ หรอื รายงานโดยปกปิดข้อความซึ่งควรตอ้ งแจ้ง ๔. ไมร่ ับและไม่เรยี กรอ้ งในสิง่ ทไ่ี ม่เกย่ี วข้องกบั การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาเชน่ อามสิ สินจ้างรางวัลของขวัญของก�ำนัลเป็นตน้ ๕. อทุ ศิ เวลาในการปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร้ บั มอบหมายอยา่ งเตม็ ก�ำลงั ครบถว้ นสมบรู ณต์ ามบทบาทหน้าท่ีและวตั ถุประสงค์ของงานท่ีไดร้ บั มอบหมายในการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา ๖. รกั ษาความลบั ของขอ้ มลู สารสนเทศสว่ นบคุ คลและขอ้ มลู ของสถานศกึ ษาทไี่ ดร้ บั ระหวา่ งการประเมินคุณภาพการศึกษา ๗. มีความอดทนอดกลนั้ และยดื หย่นุ ในการท�ำงาน ๘. ไมป่ ระพฤตติ นใหเ้ สอ่ื มเสยี แกช่ อ่ื เสยี งของตนหรอื แกช่ อื่ เสยี งของสถานศกึ ษาทไี่ ดร้ บั มอบหมายใหท้ �ำหน้าท่ปี ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ๙. ไมน่ �ำบุคคลที่ไมเ่ กีย่ วข้องกับการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาเข้าไปในสถานศึกษา ๑๐. มกี ารใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั แบบกลั ยาณมติ ร และเป็นประโยชนต์ อ่ การพฒั นาสถานศึกษาหลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 109 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

หลกั สตู รและกิจกรรมท่ี ๓.๒ เรื่อง ทกั ษะของผู้ประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษา๑. สาระสำ�คญั ทกั ษะของผปู้ ระเมนิ และการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพอื่ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษามี ๔ ประเดน็หลัก ได้แก่ ๑) ทกั ษะการสังเกต ๒) ทกั ษะการสมั ภาษณ์ ๓) การตคี วามและการตรวจสอบความนา่เชื่อถือของข้อมูลและการสรุปผลและ ๔) ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมูลตามมาตรฐานการศึกษา โดยข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการเก็บรวบรวมน้ันเพื่อให้ผู้ประเมินมั่นใจว่าเป็นข้อมูลที่ดีและมีความนา่ เชอ่ื ถอื ผปู้ ระเมนิ ควรมกี ารตรวจสอบคณุ ภาพของขอ้ มลู ดว้ ยวธิ กี ารตรวจสอบความเปน็ ตวั แทนของขอ้ มลู การตรวจสอบผลข้างเคียง ตรวจสอบขอ้ มลู แบบสามเสา้ (บุคคล เวลา สถานที่) แลว้ จงึ ประเมินคุณภาพของขอ้ มลู ทไ่ี ด้โดยสามารถตรวจสอบข้อมลู ทด่ี ีและขอ้ มลู ทีอ่ อ่ น๒. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.๑ เพอื่ พฒั นาความสามารถในการออกแบบการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื การประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา: ทักษะการสังเกตการตงั้ ค�ำถามและสัมภาษณผ์ ู้มีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง ๒.๒ เพอื่ พฒั นาทกั ษะการตคี วาม การตรวจสอบความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู และการสรปุ ความ๓. รปู แบบการจดั กิจกรรม ๓.๑ การรับฟงั การบรรยายจากวทิ ยากร ๓.๒ การศกึ ษาเอกสารเสริมความรู้ ๓.๓ การปฏิบตั ิกจิ กรรมใบงานและสะทอ้ นผลการปฏิบตั งิ าน ๓.๔ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้110 หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๔. ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมข้นั ตอน ระยะเวลา สื่อและเอกสารประกอบ๑. วิทยากรบรรยาย ๖๐ นาที ๑. powerpoint เร่อื ง ทกั ษะของผู้ประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษา๒. ศึกษาเอกสารเสริมความรู้ ๒. เอกสารเสรมิ ความรู้กจิ กรรมท่ี ๓.๒ เร่ืองทักษะของผูป้ ระเมินกิจกรรมที่ ๓.๒ คณุ ภาพสถานศึกษา๓. แบง่ กลุ่ม จ�ำนวนกลมุ่ ละ ๔๕ นาที ๓. ใบกจิ กรรมที่ ๓.๒.๑ (เด่ียว) การออกแบบการเกบ็ รวบรวม๓-๖ คน เพอ่ื การประเมนิ คุณภาพการศึกษา: ทักษะการสงั เกต๔. ชมคลปิ ๔. ใบกจิ กรรมที่ ๓.๒.๑ (กลุม่ ) การออกแบบการเกบ็ รวบรวม๕. ฝึกปฏิบตั กิ จิ กรรมใบ เพ่ือการประเมินคุณภาพการศึกษา: ทกั ษะการสงั เกตกจิ กรรมที่ ๓.๒.๑ ๕. คลิปข้อมูล (๑๑.๔๘ นาท)ี๖. น�ำเสนอใบกจิ กรรมที่ ๑๕ นาที -๓.๒.๑๗. ฝกึ ปฏิบัติกจิ กรรมใบ ๓๐ นาที ๖. ใบกิจกรรมท่ี ๓.๒.๒ (กลมุ่ ) การออกแบบการเก็บรวบรวมเพือ่กิจกรรมท่ี ๓.๒.๒ การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา:การตั้งค�ำถามและสัมภาษณ์ผ้มู ี สว่ นเกีย่ วขอ้ ง๘. น�ำเสนอใบกิจกรรมที่ ๑๕ นาที -๓.๒.๒๙. ฝกึ ปฏิบัติกจิ กรรมใบ ๒๕ นาที ๗. ใบกิจกรรมที่ ๓.๒.๓ (กลุ่ม) การออกแบบการเก็บรวบรวมเพอื่กจิ กรรมท่ี ๓.๒.๓ การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา:การตีความ การตรวจสอบ ความนา่ เช่ือถอื ของข้อมูลและการสรปุ ความ๑๐. น�ำเสนอแลกเปลย่ี น ๒๐ นาที -เรียนรู้๑๑. สรุปความรู้โดยวิทยากร๕. การวดั และประเมินผล ๕.๑ การสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานกลมุ่ ๕.๒ การตรวจผลงานกิจกรรมที่ ๓.๒.๑ - ๓.๒.๓หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 111 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๖. เกณฑ์การประเมนิ ผลกิจกรรมท่ี ๓.๒ ราย ปรบั ปรงุ ระดบั คุณภาพ ดีมากการประเมนิ พอใช้ ดี๑. พฤตกิ รรมการ สมาชกิ ไม่มสี ว่ นร่วม สมาชกิ ส่วนใหญ่ มกี ารก�ำหนดขน้ั ตอน มกี ารก�ำหนดข้นั ตอนเข้ารว่ มกจิ กรรม ในการท�ำงานและ รว่ มกันท�ำงาน การท�ำงาน สมาชกิ การท�ำงานทชี่ ดั เจน มีการรับฟงั และแสดง ทุกคนรว่ มกนั ท�ำงาน สมาชกิ ทุกคนใน แสดงความคิดเหน็ ความคดิ เห็นร่วมกัน มีการรับฟงั และแสดง กลุ่มมกี ารรับฟังและ ในกลุ่ม ความคดิ เหน็ ร่วมกัน แสดงความคดิ เห็น และแสดงบทบาท รว่ มกนั และแสดง ของตนเองอยา่ ง บทบาทของตนเอง เหมาะสม อยา่ งเหมาะสม เมอื่ เกิดความขัดแยง้ ทาง ความคิด สมาชิก ในกลุ่มร่วมกันขจัด ความขัดแยง้ ที่เกิดขึน้ ไดด้ ว้ ยเหตผุ ล๒. การจัดการ ท�ำงานเสร็จทนั ตาม มแี นวโนม้ ท่จี ะสง่ งาน มกั ใชเ้ วลาไดด้ ีตลอด ท�ำงานเสรจ็ ตามเวลา ก�ำหนดเวลาน้อย ชา้ แตม่ ักจะท�ำงาน ทั้งกิจกรรม แตอ่ าจ ก�ำหนดเวลา มาก และกลมุ่ ตอ้ ง ต่าง ๆ เสรจ็ ส้ินตาม มีการขยายเวลาใน สม�ำ่ เสมอ กลมุ่ ไม่ ปรับก�ำหนดเวลาสง่ ก�ำหนดเวลา กลุ่ม เรอื่ งใดเรอ่ื งหนึ่ง ต้องปรับก�ำหนด งานหรือความรบั ผดิ ไม่ต้องปรบั ก�ำหนด แตก่ ลุม่ ไม่ต้องปรบั เวลาหรอื ความรับผิด ชอบในการท�ำงาน เวลาหรือความรับผิด ก�ำหนดเวลาหรือ ชอบในการท�ำงาน เน่อื งจากการจดั การ ชอบในการท�ำงาน ความรับผิดชอบใน เนอ่ื งจากการการ เวลาไมเ่ พียงพอของ เนอ่ื งจากการการ การท�ำงานเนอ่ื งจาก ท�ำงานลา่ ชา้ ของ สมาชกิ กลุม่ บางคน ท�ำงานล่าชา้ ของ การการท�ำงานลา่ ชา้ สมาชิกกลุ่มบางคน สมาชกิ กล่มุ บางคน ของสมาชกิ กลุ่ม บางคน๓. ผลงานในใบ มรี อ่ งรอยการบนั ทกึ มีร่องรอยการบันทึก มรี อ่ งรอยการบนั ทึก มรี ่องรอยการบันทึกกจิ กรรมท่ี ๓.๒.๒ การสงั เกตอย่างน้อย การสังเกต การสังเกต การสงั เกต ๑ ประเดน็ ๒ ประเดน็ ๓ ประเด็น ๔ ประเด็นข้ึนไป112 หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ราย ปรับปรงุ ระดับคุณภาพ ดมี ากการประเมิน พอใช้ ดี๔. ผลงานในใบ ก�ำหนดผูใ้ ห้ขอ้ มลู ก�ำหนดผใู้ ห้ข้อมลู ก�ำหนดผู้ให้ขอ้ มลู ก�ำหนดผใู้ ห้ข้อมูลกจิ กรรมท่ี ๓.๒.๓ ประเดน็ ทีต่ อ้ งการ ประเดน็ ทต่ี อ้ งการ ประเดน็ ทีต่ ้องการ ประเด็นทต่ี ้องการ เกบ็ ขอ้ มลู และ เก็บข้อมลู และขอ้ เก็บข้อมูล และขอ้ เก็บขอ้ มูล และขอ้ ขอ้ ค�ำถามสมั ภาษณ์ ค�ำถามสมั ภาษณ์ ค�ำถามสัมภาษณ์ ค�ำถามสมั ภาษณ์ ได้สอดคลอ้ งกนั ทุก ได้สอดคล้องกันทุก ไดส้ อดคล้องกันทกุ ไดส้ อดคล้องกนั ทุก รายการ โดยก�ำหนด รายการ โดยก�ำหนด รายการ โดยก�ำหนด รายการ โดยก�ำหนด ๑-๒ รายการ และ ๓ รายการ และ ๔ รายการ และ อย่างน้อย ๕ รายการ บนั ทกึ ประเด็นส�ำคญั บนั ทึกประเด็นส�ำคัญ บันทึกประเดน็ ส�ำคญั ขนึ้ ไป และบันทึก จากการสมั ภาษณไ์ ด้ จากการสัมภาษณไ์ ด้ จากการสมั ภาษณ์ได้ ประเด็นส�ำคัญจาก การสัมภาษณ์ได้๕. ผลงานในใบ บนั ทกึ ขอ้ มลู ไม่ บนั ทกึ ขอ้ มลู ไดท้ กุ บันทกึ ข้อมลู ได้ทุก บนั ทึกขอ้ มูลทกุกจิ กรรมที่ ๓.๒.๔ กระชับ ไมค่ รอบคลมุ รายการได้กระชบั รายการไดก้ ระชับ รายการ ไดก้ ระชบั ประเด็นส�ำคญั ครอบคลุมประเด็น ครอบคลมุ ประเดน็ ครอบคลุมประเด็น และขาดขอ้ สังเกต ส�ำคญั แตข่ าดข้อ ส�ำคัญ มขี ้อสงั เกต ส�ำคญั มีข้อสงั เกต เพ่มิ เตมิ สงั เกตเพิม่ เตมิ เพมิ่ เติมเล็กน้อย เพมิ่ เตมิ ท่ีน่าสนใจ ๗. เกณฑ์การผ่านกจิ กรรมที่ ๓.๒ ผู้เขา้ รบั การสัมมนาตอ้ งได้รบั การตัดสินคณุ ภาพกิจกรรมที่ ๓.๒ ในระดับดขี นึ้ ไปทุกรายการประเมินหลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 113 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สอ่ื รายการที่ ๓/๓ เอกสารเสรมิ ความรู้ เรอ่ื ง ทกั ษะของผ้ปู ระเมินคุณภาพสถานศกึ ษา ทกั ษะของผปู้ ระเมนิ และการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษามี ๔ ประเดน็ หลกัไดแ้ ก่ ๑) ทักษะการสังเกต ๒) ทักษะการสมั ภาษณ์ ๓) การตคี วามและการตรวจสอบความน่าเช่ือถอืของขอ้ มลู และการสรุปผล และ ๔) ตัวอย่างการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามมาตรฐานการศกึ ษาโดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี๑. ทกั ษะการสังเกต การสงั เกตเปน็ การอาศยั การเฝา้ ดเู พอื่ ศกึ ษาเหตกุ ารณภ์ ายใตข้ อบเขตวตั ถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการศกึ ษาโดยมกี ารวางแผนและจดบนั ทกึ การสงั เกตอยา่ งมรี ะบบดว้ ยการสงั เกตแบบมสี ว่ นรว่ ม ปราศจากอคติ โดยสงั เกตกายภาพภายนอก การแสดงออก การใช้ภาษา บริบท เวลา ฯลฯ การจดบันทึกขอ้ มลู จากการสงั เกต ท�ำได้โดยบันทึกรายละเอยี ดเหตุการณต์ า่ ง ๆ และบันทกึความรูส้ ึกสว่ นตัวของนักวิจยั โดยบนั ทึกแยกออกจากกนั ระหวา่ งข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็น/ความรู้สกึส่วนตัวของนกั ประเมนิ ทัง้ นก้ี ารบนั ทกึ อาจเปน็ ลักษณะการจดบนั ทกึ ยอ่ จดบนั ทึกละเอยี ด โดยสิง่ ที่พงึ ระมดั ระวงั ในการสงั เกต คอื การขออนญุ าตกอ่ นการศกึ ษาภาคสนาม ความซอ่ื สตั ยก์ บั ความรสู้ กึ ของผสู้ ังเกตและต้องรบั ผิดชอบกบั ข้อมลู ที่ไดส้ งั เกต๒. ทักษะการสมั ภาษณ์ การสัมภาษณ์เป็นกระบวนการที่ผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์สามารถโต้ตอบ/ซักถามประเด็นข้อสงสัยต่าง ๆ โดยผู้สัมภาษณ์เห็นกิริยาท่าทาง ภาษา เพื่อน�ำมาใช้ในการตีความ อธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ อาจใช้เทคนิคการสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง (unstructured interview)การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (indepth interview) และการสนทนากลมุ่ (focus group interview)ในลกั ษณะการสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสรา้ ง/เปน็ ทางการ (structured interview formal) แบบไม่เป็นทางการ (informal interview) ขั้นตอนการสัมภาษณ์เร่ิมจากการเตรียมวิธีการซักถามและข้อค�ำถาม (ค�ำถามปลายเปิดค�ำถามปลายปิด) การเตรยี มเคร่อื งมือ (ปากกา กระดาษ กล้องถา่ ยรปู เคร่ืองอัดเสยี ง)114 หลักสตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

เทคนิคการสัมภาษณ์เร่ิมจากการบอกวัตถุประสงค์ ประโยชน์ท่ีจะได้รับ ขออนุญาตและอธิบายเหตผุ ลในการบนั ทกึ เสยี ง ให้ความมน่ั ใจเรอื่ งความลบั ของขอ้ มลู โดยท�ำการบนั ทึกขอ้ มลู ขณะสัมภาษณ์ บนั ทึกประเดน็ ทนี่ า่ สนใจ สังเกตปฏิกริ ยิ าของผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ (ท่าทาง ความสนใจ ทศั นคติ)และภายหลังการสมั ภาษณ์ ให้หยดุ คดิ ระลึกถึงการสมั ภาษณ์และบนั ทึกข้อมูล๓. การตคี วาม การตรวจสอบความนา่ เชอื่ ถือของข้อมลู และการสรุปผล ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการเก็บรวบรวมนั้นเพื่อให้ผู้ประเมินม่ันใจว่าเป็นข้อมูลที่ดีและมคี วามน่าเชอ่ื ถอื ผู้ประเมนิ ควรมีการตรวจสอบคุณภาพของข้อมลู ดว้ ยวิธีการ ดังนี้ (สภุ างค์ จันทวานิช,๒๕๕๙; อทิ ธพิ ัทธ์ สุวทนั พรกูล, ๒๕๖๑) ๑) ตรวจสอบความเป็นตัวแทนของข้อมูลว่าเป็นตัวแทนที่ดีของกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหรือไม่เพียงพอหรือครอบคลุมเพียงใด เช่น หากเป็นการศึกษาพฤติกรรมของนักเรียน นอกจากการสังเกตการสมั ภาษณจ์ ากนกั เรียนโดยตรงแล้ว อาจสอบถามเพ่ือนของนักเรียน ครูประจ�ำชั้น ครผู ู้สอนในวชิ าอนื่ ผปู้ กครอง เพอ่ื ใหไ้ ดม้ ติ ทิ ค่ี รอบคลมุ และครบถว้ น ซงึ่ อาจเปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั หรอื อาจมขี อ้ ขดัแยง้ กันเพือ่ ใหผ้ ู้ประเมินได้คน้ หาข้อเทจ็ จริงตอ่ ไป ๒) การตรวจสอบผลขา้ งเคยี งทอี่ าจเกดิ จากครผู วู้ จิ ยั วา่ มอี คติ ความล�ำเอยี ง ความเชอ่ื สว่ นตวัฯลฯ ซ่ึงเป็นส่ิงส�ำคัญที่ผู้ประเมินควรให้ความส�ำคัญ โดยการเก็บข้อมูลต้องเป็นไปอย่างไร้อคติ เช่นการศึกษาพฤติกรรมนักเรียนท่ีสร้างความไม่พอใจกับครูผู้สอน ท�ำให้ผู้ประเมินเกิดความรู้สึกไม่ชอบและมีแนวโน้มทที่ �ำให้ข้อมูลไมม่ ีความเป็นกลางเป็นตน้ ๓) ตรวจสอบขอ้ มลู แบบสามเสา้ (บคุ คล เวลา สถานท)่ี วา่ แหลง่ ทตี่ า่ งกนั จะใหผ้ ลการวเิ คราะห์ข้อมูลท่ีต่างกันหรือไม่ โดยพิจารณาจากแหล่งข้อมูลที่ต่างกันว่าให้ข้อมูลตรงกันหรือไม่ เป็นการสอบทานความเชอ่ื ม่ันของขอ้ มลู อาจเปน็ ไปในลักษณะของบุคคลหลายกลุ่มในการให้ข้อมูลเดียวกัน หรอืหากมีบคุ คลเดยี วในการใหข้ อ้ มูลก็พจิ ารณาจากช่วงเวลาทต่ี า่ งกัน หากข้อมูลมคี วามสอดคลอ้ งตรงกนักส็ ามารถยนื ยันข้อสรปุ ได้ หากตา่ งกัน ผู้วจิ ัยต้องด�ำเนินการตรวจสอบและหาข้อเทจ็ จรงิ ต่อไป ๔) ประเมนิ คณุ ภาพของขอ้ มลู ทไี่ ดโ้ ดยสามารถตรวจสอบขอ้ มลู ทดี่ แี ละขอ้ มลู ทอ่ี อ่ น รวมถงึแนวแนวปฏบิ ัตสิ �ำหรบั การเกบ็ ขอ้ มูล ดงั ตารางหลักสูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 115 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ตารางคุณภาพของข้อมลู เชงิ คณุ ภาพ ข้อมลู ดี ขอ้ มูลออ่ น แนวปฏิบตั ิส�ำหรับการเก็บข้อมลู๑) ได้ข้อมลู มาในระยะหลังของการ ได้ขอ้ มลู มาต้ังแต่ระยะแรกของการ ในการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาเกบ็ ข้อมลู หลังจากคุ้นเคยกับผู้ให้ เกบ็ ขอ้ มลู ในชว่ งเขา้ สนาม เกบ็ ขอ้ มลู เป็นระยะ ๆ เพ่ือใหผ้ ู้ให้ขอ้ มูลแลว้ ข้อมูลเกิดความไวเ้ นอ่ื เชื่อใจและ ยนิ ดที ี่จะให้ขอ้ มูล๒) เปน็ ขอ้ มูลท่ไี ด้เหน็ หรือไดฟ้ ังด้วย เปน็ ขอ้ มูลที่มีผูม้ าเล่าอีกทอดหนงึ่ เกบ็ ขอ้ มลู โดยตรงจากกลมุ่ เปา้ หมายตนเอง โดยตรง โดยอาจเก็บหลาย ๆ คร้ัง เพอ่ื ความม่นั ใจในขอ้ มลู ท่ีได้มา๓) เป็นข้อมูลของพฤติกรรมหรือ เปน็ ข้อมลู จากการรายงาน เก็บข้อมูลจากสถานการณ์จริงโดยเหตกุ ารณ์ที่สังเกตได้ ผสมผสานระหว่างการสังเกตและ การสมั ภาษณ์๔) นักประเมนิ ไดร้ บั ความไวว้ างใจ นักประเมินถูกหวาดระแวง ใหค้ วามเชอ่ื มนั่ กบั ขอ้ มลู และการเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู เป็นความลับ๕) ผใู้ หข้ ้อมลู มคี วามยินดีเต็มใจ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลถกู จ่โู จมจากผปู้ ระเมนิ เก็บข้อมูลอย่างค่อยเป็นค่อยไปและ สร้างบรรยากาศเปิดแกผ่ ู้ใหข้ ้อมลู๖) ผู้ให้ข้อมูลอยู่กับผู้ประเมินตาม ผู้ให้ข้อมูลอยู่ต่อหน้าคนอื่นขณะให้ พิจารณาจังหวะและโอกาสที่เหมาะล�ำพังขณะให้ข้อมูล ขอ้ มูล สมในการเก็บข้อมูล หลีกเลี่ยงการ ให้ผใู้ หข้ อ้ มลู ถูกครอบง�ำท่ีมา: อทิ ธพิ ทั ธ์ สุวทนั พรกูล (๒๕๖๑) ปรับและสงั เคราะหจ์ ากสุภางค์ จนั ทวานิช (๒๕๕๙) และ Gay,Mills and Airasian (๒๐๑๑) Check and Schutt (๒๐๑๒ อา้ งถงึ ใน อิทธิพัทธ์ สวุ ทันพรกลู , ๒๕๖๑) ไดเ้ สนอแนวทางท่ีจะชว่ ยใหผ้ วู้ เิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพอ่ื น�ำไปสกู่ ารไดม้ าซงึ่ ขอ้ มลู ทม่ี คี ณุ ภาพดงั น้ี ๑) รจู้ กั ตนเอง อคตขิ องตนเอง และการรบั รเู้ รอื่ งราวกอ่ นหนา้ ทอ่ี าจจะมผี ลตอ่ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู๒) รู้ค�ำถามของตนเองเพื่อให้เกิดความคิดที่ชัดเจนในการท�ำความเข้าใจในประเด็นท่ีท�ำการศึกษา๓) คน้ หาความหลากหลายของขอ้ มลู มกี ารปรกึ ษาผอู้ น่ื และใหค้ วามส�ำคญั กบั การตคี วามหลากหลายทางเลอื ก ๔) ยดื หยนุ่ กบั การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ๕) พยายามตคี วามและอธบิ ายขอ้ มลู ในขอ้ ความ ๖) สงั เกตความผดิ ปกตขิ องขอ้ มลู และผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทจี่ ะเปน็ หนา้ ตา่ งสกู่ ารตน้ หาขอ้ มลู เชงิ ลกึ ๗) ยอมรบั116 หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ข้อเสนอแนะที่ส�ำคัญจากผู้อ่ืนเพ่ือเป็นการทดความคิดในการปรับปรุงและแก้ไขการวิเคราะห์ข้อมูล๘) สรา้ งความชดั เจนของการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยการแบง่ ปนั รายละเอยี ดของขอ้ มลู กบั ผอู้ นื่ เพอ่ื เปน็ การแลกเปลย่ี นเรยี นรสู้ ่กู ารพฒั นาตอ่ ไป๔. ตัวอย่างการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามมาตรฐานการศกึ ษา ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (๒๕๕๙) ไดก้ �ำหนดตวั อยา่ งการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามมาตรฐานการศึกษา โดยในที่นี้ยกตัวอย่าง ๓ ประเดน็ ไดแ้ ก่๑) คุณภาพผู้เรยี น ๒) คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผ้เู รียน ๓) กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ผ้เู รยี นเป็นส�ำคัญ โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ีมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผูเ้ รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน ตวั อยา่ งการเก็บรวบรวมขอ้ มูล ๑) สังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ของผู้เรียนเช่นความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศพฤติกรรมท่ีสะท้อนคุณลักษณะและค่านิยมของผู้เรียนตามที่สถานศึกษาก�ำหนดเช่นการเข้าแถวการแสดงความเคารพการพูดจา กิริยามารยาทการไหว้ฯลฯและพฤตกิ รรมการท�ำงานรว่ มกนั การอภปิ รายแสดงความคดิ เห็นการร่วมกนั แกไ้ ขปัญหาฯลฯ ๒) ตรวจสอบเอกสารท่ีสะท้อนผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนจากข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์ เช่นแบบสรุปผลการอ่านการเขียนการสื่อสารและการคิดค�ำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับช้ันเอกสารการวัดและประเมินผลผู้เรียนทุกระดับชั้นช้ินงานผลงานนักเรียนบันทึกการอ่านแบบสรุปรายงานการประเมนิ ความสามารถในการอา่ นคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น โครงงานชน้ิ งานบนั ทกึ การท�ำงานรายงานสรปุผลการทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พ้ืนฐาน ร่องรอยการจดั กจิ กรรมโครงการเอกสารหลกั ฐานแสดงสขุ ภาวะทางรา่ งกายอารมณ์สงั คมแบบบันทึกพฤติกรรมทางสังคม ๓) สมั ภาษณผ์ เู้ รยี นเกยี่ วกบั ความภมู ใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทยเชน่ นกั เรยี นรสู้ กึ อยา่ งไรที่เกิดเป็นคนในท้องถิ่นน้ีนักเรียนภูมิใจส่ิงใดบ้างในท้องถิ่นนักเรียนชอบหรือไม่ชอบกับการเข้าร่วมกจิ กรรมวันส�ำคญั ถา้ ชอบ/ไมช่ อบเพราะอะไรฯลฯ ๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน ตัวอย่างการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ๑) สัมภาษณ์คณะกรรมการสถานศึกษาผู้บริหารครูบุคลากรผู้เรียนและผู้ปกครองนักเรียนเก่ียวกับการก�ำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษาเช่น กระบวนการได้มาของเป้าหมายวิสัยทัศน์พันธกิจท�ำอย่างไรบ้างมีข้ันตอนอย่างไร การก�ำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์พันธกิจด�ำเนินหลักสตู รการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 117 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

การอย่างไรใครมีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง สถานศึกษามีการด�ำเนินการสร้างความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้บริหารครูและผู้เก่ียวข้องอย่างไรสถานศึกษาน�ำแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างไรสถานศึกษาแบ่งบทบาทหนา้ ทผ่ี รู้ บั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ติ ามแผนอยา่ งไรผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งเขา้ มามสี ว่ นรว่ มตอ่ ผลการด�ำเนนิ การสถานศกึ ษาหรอื ไมอ่ ยา่ งไรสถานศกึ ษามเี ครอื ขา่ ยในการท�ำงานกบั ใคร/หนว่ ยงานใดบา้ งและมสี ว่ นรว่ มอยา่ งไรสถานศึกษามกี ารก�ำกับตดิ ตามและมีวิธีการประเมนิ ผลการด�ำเนินงานอย่างไรฯลฯ ๒) ตรวจสอบเอกสารเก่ียวกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา แผนปฏิบัติการประจ�ำปีแผนพัฒนาวิชาการแผนบริหารจัดการสารสนเทศแผนพัฒนาครู/บุคลากรแผนการก�ำกับนเิ ทศติดตามการประเมินผลของสถานศึกษาแผนการจัดสภาพแวดลอ้ มฯลฯมาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา ตวั อย่างการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ๑) ตรวจสอบเอกสารเก่ียวกับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจ�ำปี แผนพฒั นาวชิ าการ แผนบรหิ ารจดั การสารสนเทศ แผนพฒั นาคร/ู บคุ ลากร แผนการก�ำกับนเิ ทศ ตดิ ตามการประเมินผลของสถานศึกษา แผนการจดั สภาพแวดล้อม ฯลฯ ๒) สมั ภาษณค์ ณะกรรมการสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ าร ครู บคุ ลากร ผเู้ รยี น และผปู้ กครองนกั เรยี นเกี่ยวกับการก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษา เช่นกระบวนการได้มาของเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ ท�ำอย่างไรบ้าง มีข้ันตอนอย่างไรการก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจด�ำเนนิ การอยา่ งไร ใครมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งบา้ งสถานศกึ ษามกี ารด�ำเนนิ การสรา้ งความเขา้ ใจตรงกนั ระหวา่ งผบู้ รหิ าร ครู และผเู้ กยี่ วขอ้ งอยา่ งไร สถานศกึ ษาน�ำแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร สถานศกึ ษาแบง่ บทบาทหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผนอย่างไร ผู้มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมต่อผลการด�ำเนินการสถานศึกษาหรือไม่ อย่างไร สถานศึกษามีเครือข่ายในการท�ำงานกับใคร/หน่วยงานใดบ้างและมีสว่ นรว่ มอยา่ งไร สถานศกึ ษามีการก�ำกบั ตดิ ตามและมวี ิธกี ารประเมินผลการด�ำเนนิ งานอยา่ งไร ฯลฯมาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ ส�ำ คญั ตวั อยา่ งการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ๑) สังเกตกระบวนการเรียนการสอนพฤติกรรมการสอนของครูเช่นการใช้ค�ำถามที่หลากหลายระดับเพ่ือส่งเสริมการคิดข้ันสูงพฤติกรรมการดูแลเอาใจใส่การมอบหมายงานของครูปฎิสัมพันธ์ของครูกับผู้เรียนเช่นความเป็นกันเองของครูกับผู้เรียนการสนทนาโต้ตอบของครูกับผู้เรียนพฤติกรรมการเรียนของผเู้ รียนเชน่ ความกระตอื รอื รน้ ในการเรียนการมสี ่วนร่วมของผู้เรยี นความสนใจในการร่วมกจิ กรรมสภาพบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรกู้ ารจดั กจิ กรรมทใี่ หผ้ เู้ รยี นปฎบิ ตั จิ รงิกจิ กรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรขู้ องผเู้ รยี นกิจกรรมตอบสนองความสนใจของผูเ้ รยี นในแตล่ ะกลมุ่ ฯลฯ118 หลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผูป้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๒) ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานตา่ ง ๆ เชน่ หลกั สตู รสถานศกึ ษาแผนการจดั การเรยี นรู้ บนั ทกึผลหลงั สอนเอกสารหลกั ฐานการวดั และประเมนิ ผลเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรสู้ มดุ การบา้ นทแ่ี สดงใหเ้ หน็ การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ชนิ้ งานหรอื ผลงานของผเู้ รยี น/แฟม้ สะสมงานสอื่ การเรยี นการสอนและแหล่งเรียนร้ฯู ลฯ ๓) สมั ภาษณน์ กั เรยี นและครเู กยี่ วกบั การจดั การเรยี นการสอนเชน่ นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไรนกั เรียนไดร้ ว่ มก�ำหนด เกณฑก์ ารประเมินผลงาน/ชนิ้ งานตา่ ง ๆ หรอื รว่ มประเมนิ ผลการเรยี นหรอื ไมอ่ ยา่ งไร นกั เรยี นมโี อกาสไดไ้ ปเรยี นรจู้ ากชมุ ชนในเรอื่ งใดและจากแหล่งเรียนรู้ใดบ้างนักเรียนชอบเรียนวิชาอะไรเพราะเหตุใดครูใช้วิธีการวัดและประเมินผลความรู้ความเข้าใจของผูเ้ รยี นด้วยวิธีการใดบ้าง ฯลฯ หลักสูตรการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 119 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สื่อรายการที่ ๓/๔ ใบกิจกรรมที่ ๓.๒.๑การออกแบบการเก็บรวบรวมเพอ่ื การประเมินคุณภาพการศกึ ษา : ทกั ษะการสงั เกต งานเด่ยี ว ค�ำชแ้ี จง ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การสมั มนาศกึ ษาขอ้ มลู พนื้ ฐานของโรงเรยี น แล้วสังเกตข้อมูลเชิงประจักษ์ของกรณีตัวอย่างจาก ภาพนงิ่ และคลปิ วดิ โี อ แลว้ บนั ทกึ สงิ่ ทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกต ลงในใบกจิ กรรมตามประเด็นที่ก�ำหนดให้120 หลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ขอ้ มูลพนื้ ฐานโรงเรยี น สงั กดั ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เปน็ โรงเรยี นประจ�ำอ�ำเภอ มเี ขตพน้ื ทบ่ี รกิ าร๔ ต�ำบล ๔๖ หมูบ่ า้ นโรงเรยี นอยหู่ ่างจากตัวอ�ำเภอ ๓ กิโลเมตร และห่างจากตวั จงั หวดั ๔๗ กโิ ลเมตรมีเนอ้ื ท่ีทั้งหมด ๓๗ ไร่ วสิ ยั ทศั น์ มงุ่ สมู่ าตรฐานสากล พฒั นาตนอยา่ งมคี ณุ ธรรม นอ้ มน�ำปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พันธกจิ ๑. พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคุณภาพไดเ้ ทียบเคยี งมาตรฐานสากล ๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีทักษะชีวิต สมารถด�ำรงตนอยู่ในสังคมอยา่ งมคี วามสขุ บนพื้นฐานความเป็นไทย ๓. จัดกิจกรรมการเรียนรบู้ รู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงโดยใชแ้ หลง่ เรียนรู้ท่ีหลากหลาย ๔. พัฒนาศกั ยภาพครูใหเ้ ป็นครมู อื อาชีพ ๕. พัฒนาการบริหารจัดการดว้ ยระบบคุณภาพพืน้ ฐานการมีสว่ นร่วมทกุ ภาคส่วนเป้าหมาย ๑. ผเู้ รียนเปน็ เลิศทางวิชาการ ๒. ผเู้ รียนสามารถส่อื สารไดอ้ ยา่ งน้อย ๒ภาษา ๓. ผู้เรยี นลำ้� หนา้ ทางความคดิ ๔. ผู้เรียนผลติ ผลงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๕. ผู้เรยี นรว่ มกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก ๖. ครูสามารถจัดกระบวนการเรยี นรู้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเนน้ ผ้เู รียนเปน็ ส�ำคญั ๗. ครูสามารถส่ือสารได้อย่างนอ้ ย ๒ภาษา ๘. ผู้เรียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีความเปน็ ไทย ๙. ผู้เรียนมีทกั ษะชวี ิต มจี ติ อาสาสู่ชุมชน สามารถด�ำรงตนอย่างมีความสขุ ๑๐. ครจู ดั กจิ กรรมบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๑๑. ผู้เรยี นน�ำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจ�ำวัน ๑๒. โรงเรยี นเป็นศูนยก์ ารเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของชมุ ชน ๑๓. โรงเรยี นบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพบนพืน้ ฐานการมสี ่วนรว่ มทกุ ภาคสว่ นอัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา มที ักษะชวี ิต เน้นจติ อาสาสู่ชุมชนคติธรรม นตถิ ปญญา สมา อาภา แสงสว่างเสมอด้วยปญั ญาไมม่ ีปรชั ญา ประพฤตดิ ี มคี วามรู้ เชดิ ชูคุณธรรมหลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 121 และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา เขา้ วดั วันพระ นกั เรยี นไดเ้ รม่ิ ท�ำโครงงานจติ อาสาพฒั นาทอ้ งถนิ่ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๕๒แลว้ ไดร้ บั โอกาสเข้ารว่ มโครงการพัฒนาคุณธรรมเฉลมิ พระเกียรตเิ ยาวชนไทยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และโครงงานได้รับการพัฒนาเป็นล�ำดับ โดยโรงเรียนได้ริเริ่มกิจกรรม “เข้าวัดวันพระ” ข้ึนในปีการศึกษา ๒๕๕๓เพอ่ื หวงั ใหศ้ าสนากลอ่ มเกลาจติ ใจผเู้ รยี น โดยนกั เรยี นกลมุ่ อาสา และในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๓ โรงเรยี นได้รบั โลพ่ ระราชทานจากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และไดม้ กี ารปรบั ปรงุ พฒั นาโครงการจนกระทง่ั ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๖ ไดร้ บั โลพ่ ระราชทานเกยี รตคิ ณุ “ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชน”ตามโครงการพัฒนาโครงงานคุณธรรมเฉลิมพระเกียรติ “เยาวชนไทย ท�ำดี ถวายในหลวง” และในพ.ศ. ๒๕๕๗ รบั โลเ่ กยี รตยิ ศพระราชทานเกยี รตคิ ณุ แหง่ มหาชนจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จากนั้นส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้คัดเลือกเจาะจงมาที่โรงเรียนเพ่ือพัฒนาสู่การเป็นโรงเรียนคุณธรรม จรยิ ธรรม และด�ำเนินการอย่างจรงิ จงั ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ จากนั้นผบู้ ริหารได้เล็งเห็นความส�ำคัญจึงสนับสนุนให้เกิดกระบวนการขับเคลื่อนทั้งโรงเรียน โดยเร่ิมจากการน�ำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมท่ีวัดเรียนรู้ศาสนพิธี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน การเรียนรู้ระหว่างคนในแต่ละรุ่นโดยเฉพาะรุ่นเด็กกับรุน่ สูงวยั รวมถึงการสร้างจิตอาสาของนักเรียนให้เกิดแก่วดั และชุมชนตามสภาพความตอ้ งการของชุมชนและท้องถ่ิน ในลักษณะการประสานความร่วมมือซ่ึงกันและกัน โดยได้รับความร่วมมือจากวัดองค์การบริหารสว่ นทอ้ งถน่ิ บรษิ ัทเอกชน และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ซ่งึ ปรากฏผลตอบรับทด่ี ี ชุมชนให้ความส�ำคญั และให้ความรว่ มมอื โครงการจงึ ขยายไปทุกวดั ท้ังอ�ำเภอ 122 หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ภาพประกอบหลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 123 และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ชอ่ื -สกุล...........................................................................................................เลขที่ ............................สพป/สพม./หน่วยงาน .........................................................................................................................สาระส�ำ คัญ/ข้อมลู ที่ทา่ นได้รับ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ข้อสงั เกตเพิ่มเตมิ ของทา่ นเพ่ือการสะท้อนคิด (ท่นี อกเหนือจากข้อมลู ในคลิป)...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................124 หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สื่อรายการที่ ๓/๕ ใบกิจกรรมท่ี ๓.๒.๑การออกแบบการเก็บรวบรวม เพอ่ื การประเมินคณุ ภาพการศึกษา: ทกั ษะการสังเกต งานกลุ่ม ค�ำชแี้ จง ๑) แบง่ กลุ่มผ้เู ขา้ รว่ มสัมมนา กล่มุ ละ ๓ - ๘ คน ๒) ให้ผู้เข้ารับการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายใน กลุ่มเกี่ยวกับข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตกรณี ตัวอย่างจากภาพนิ่งและคลิปวิดีโอ แล้วสรุปสิ่งท่ี ได้จากการสังเกตลงในใบกิจกรรมตามประเด็นที่ กำ�หนดให้หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 125 และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

รายช่อื สมาชิก กลุ่มท่ี ......... ๑. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๒. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๓. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๔. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๕. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๖. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๗. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๘. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............สาระส�ำ คญั /ขอ้ มูลทไ่ี ดร้ บั.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ข้อสังเกตเพม่ิ เติมของท่านเพ่ือการสะท้อนคิด (ท่ีนอกเหนือจากข้อมลู ในคลปิ ).....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................126 หลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สื่อรายการที่ ๓/๖ ใบกจิ กรรมที่ ๓.๒.๒การออกแบบการเกบ็ รวบรวมเพือ่ การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา: การต้ังค�ำ ถามและสมั ภาษณผ์ ู้มสี ว่ นเกยี่ วข้อง งานกลุ่ม ค�ำช้แี จง ๑) แบง่ กลมุ่ ผ้เู ขา้ ร่วมสมั มนา กล่มุ ละ ๓ - ๘ คน ๒) ให้สมาชิกในกลุ่มระดมความคิดเพื่อคัดเลือก ประเดน็ ส�ำ คญั ทตี่ อ้ งการ และขอ้ ค�ำ ถามสมั ภาษณ์ ที่เปน็ ตวั แทนของผ้ใู หข้ ้อมูลแตล่ ะกลุม่หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 127 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

รายช่ือสมาชกิ กลุ่มท่ี ......... ๑. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๒. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๓. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๔. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๕. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๖. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๗. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๘. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ประเด็นที่ตอ้ งการ ผใู้ ห้ข้อมูล ข้อค�ำถามสมั ภาษณ์128 หลักสูตรการสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สอ่ื รายการท่ี ๓/๗ ใบกิจกรรมที่ ๓.๒.๓การออกแบบการเกบ็ รวบรวม เพอ่ื การประเมนิ คุณภาพการศึกษา: การตีความ การตรวจสอบความน่าเชือ่ ถอื และการสรปุ ความ งานกลมุ่ ค�ำชี้แจง ๑) แบ่งกลมุ่ ผเู้ ขา้ รว่ มสมั มนา กลุ่มละ ๓ - ๘ คน ๒) ให้ผู้เข้ารับการสัมมนานำ�ข้อมูลที่ได้รับจากการ สังเกต และข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ สรปุ ประเด็นสาระสำ�คญั ทไี่ ด้หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 129 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

รายชอื่ สมาชิก กล่มุ ที่ ......... ๑. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๒. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๓. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๔. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๕. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๖. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๗. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๘. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ จากการสัมภาษณ์ “...มมี าตรการวา่ ตอ้ งมาโรงเรยี นเชา้ กไ็ มส่ าย ท�ำตามทกุ อยา่ งทโ่ี รงเรยี นไดต้ ามนโยบายนน้ี ะท�ำตามแบบนแี้ บบนแี้ ลว้ เดก็ กโ็ อเคขน้ึ ค�ำวา่ โอเคขนึ้ คอื การเขา้ แถว เขาเหน็ วา่ ครไู ปเขา้ แถว เราตอ้ งไปขนาดครูยงั ไปเลย แล้วมนั เป็นภาพทีส่ วยงาม ในตอนเชา้ ทเ่ี ด็กเขา้ แถวเป็นระเบยี บ รอ้ งเพลงชาติ สวดมนต์เป็นภาพทีก่ อ่ นหนา้ นเ้ี ราไมเ่ คยเห็น...” (ครูคนท่ี ๑, สมั ภาษณ)์ “...ผมเห็นจากห้องของผม มาจากปญั หาเลย ปัญหาห้องเรามอี ะไรบ้างกเ็ ขียนลงมา ไปรวมกลุ่มกันบางกลุ่มก็ซัดมาสิบกว่าปัญหา เอาปัญหามาเรียงว่าเราจะท�ำอะไรที่เราท�ำได้ เช่นว่าจากการเดนิ เปน็ แถวต่าง ๆ ถ้าเราขาดการติดตาม นกั เรียนจะละเลย นเี่ ปน็ สงิ่ ทถ่ี ้าเราช่วยกันในส่ิงที่เปน็ ปญั หาของหอ้ ง มนั ก็จะท�ำใหพ้ ฤตกิ รรมของนกั เรยี นจะดีขน้ึ ...” (ครูคนที่ ๑, สมั ภาษณ)์ “...เราแคใ่ หแ้ นวคดิ เขา แตก่ ระบวนการในการแสวงหาปญั หานเ่ี รอ่ื งของเขา แลว้ การจบั ปญั หาเป็นเรอื่ งภายในกล่มุ ของเขา ๆ จดั การเองครับ เพราะฉะนั้นเราแคท่ ่ปี รกึ ษาให้เขาเท่านัน้ เพราะฉะนัน้เขาจะแกป้ ัญหาอะไรทีข่ องเขา เราจะให้แคค่ �ำปรกึ ษา...” (ครูคนที่ ๑, สัมภาษณ)์130 หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

“...ทดลองเปน็ ครง้ั แรกว่าเอาเดก็ ไปวัดวันพระเปน็ ครงั้ แรก ทดลองแลว้ คนในชุมชนให้ความร่วมมือดีมาก ชุมชนทุกคน ไม่ว่าจะผู้น�ำโดยต�ำแหน่งหรืออะไรก็แล้วแต่ มากันมากทั้งเด็ก ลูกหลานไปด้วยกัน ก็เลยคิดต่อว่า จะมีแค่คนรุ่นแก่ กับคนรุ่นเด็ก รุ่นกลางไม่อยู่ มักไปท�ำงานต่างประเทศเราขาดชว่ งนหี้ รอื เปลา่ กเ็ ลยเอาปมู่ าสอนหลานเกดิ ภมู ปิ ญั ญา เอาปยู่ า่ มาคยุ กบั หลานสอนสงิ่ ทขี่ าดหายเม่ือก่อนปู่มาสอนพ่อแล้วก็พ่อมาสอนลูก แต่ตอนน้ีให้ปู่สอนหลานเลย ตรงน้ีก็เกิดเป็นภูมิปัญญาข้ึนมานะครบั พอท�ำไปประมาณ๑เทอม ก็เหน็ ว่ามันดี ชุมชนมคี วามสุข และก็เอาเด็กท่ที �ำโครงการของครูมนสั เล็ก ๆ นนั้ มาเป็นแกนน�ำกค็ ยุ กับครู และก็ขยายไปทกุ วัดท้งั อ�ำเภอเลย...” (ครคู นท่ี ๒, สมั ภาษณ์) “...อาจจะจากทเ่ี ดก็ ไมเ่ คยเจอทวี่ า่ เขา้ มาเจอครคู นแรกเลยทห่ี นา้ ประตู ทงั้ ผอ. ทง้ั รอง ผอ.กบัรองทัง้ ๒ ท่านจะแบง่ วันกันในหน่งึ สัปดาห์ รองคนละ ๒ วัน ผอ. ๑ วนั ผมและทางหัวหนา้ ฝา่ ยจะแบ่งกันอยู่คนละวนั หัวหน้าฝา่ ยมี ๕คนคนละวัน แลว้ ก็จะมคี รมู าอยวู่ นั ละ ๒ คน แล้วฝ่ายกจิ การนักเรยี นเขาจะมคี รมู าชว่ ยอีก เพราะฉะนน้ั ครไู ม่ต่ำ� กวา่ ๕ คนมายืนเปน็ แถวหน้าประตเู ด็กเหน็ เดก็ ประทับใจเดก็ พอเจอครเู ขากไ็ หวค้ รรู บั ไหวเ้ ขา มกี ารปฏสิ มั พนั ธก์ บั เดก็ ตงั้ แตห่ นา้ ประตู ทเี่ ปน็ พบั หมวกใหก้ บั เดก็ทุก ๆ วัน เพราะเด็กเหน็ ตรงน้ี มนั เป็นก�ำลังใจใหเ้ ดก็ พอพูดอะไรกง็ า่ ยขนึ้ อะไรก็ท�ำกต็ าม ใจง่ายข้ึนเดก็ มนั กอ็ าจจะมบี ้างท่ี แต่พอเราพูดเขาจะฟงั ...” (ครูคนท่ี ๒, สมั ภาษณ์) “...คณะกรรมการโครงการหลักได้มาจากครูในโรงเรียนอย่างเช่น เอามาจากรอง จากฝ่ายบรหิ าร จากกล่มุ สาระฯ คดั ไดม้ าเหลือ ๑๔ คน ใน ๑๔ คนนีก้ ไ็ ปต้ังอนกุ รรมการข้ึนมาทจ่ี ะไปคิดไปท�ำกลน่ั กรอง แลว้ ทนี ค้ี ณะกรรมการชดุ นก้ี เ็ อามากลนั่ กรองอกี ทวี า่ จะท�ำยงั ไง เรยี บเรยี งสว่ นทเี่ ปน็ ประเดน็ส�ำคัญ ที่เปน็ จดุ เด่น ทจ่ี ะเปน็ ต้นแบบ เพราะว่าในการประชมุ ถา้ ประชุมทัง้ ๗๐ คนมนั ยาก ท่ีจะขบัเคลอื่ น ทีจ่ ะหาข้อสรุปได้ ๑๔คนนแ่ี หละทีจ่ ะมากล่นั กรองและตง้ั อนคุ ณะกรรมการข้ึนมา...” (ครคู นท่ี ๒, สัมภาษณ์) “...เราพฒั นาโรงเรยี นเราเรามแี มน่ ำ้� สามสาย คอื โครงการประจ�ำปี กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นและจติ อาสาพฒั นาทอ้ งถนิ่ อนั นใ้ี นสว่ นของสมาคมศษิ ยเ์ กา่ ผปู้ กครองเคา้ มารว่ มทงั้ โครงการประจ�ำปี เราไม่ไดใ้ ชก้ ารขบั เคลอื่ นกบั โครงงานอยา่ งเดยี วตามแผนแมน่ ำ้� สามสาย โรงเรยี นเราขบั เคลอ่ื นทง้ั ระบบตงั้ แต่โครงการประจ�ำปี หมายถงึ ไมว่ า่ วชิ าการกบ็ รู ณาการในแปดสาระ ไมว่ า่ วนั พอ่ วนั แมน่ นั้ สง่ เสรมิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเท่านัน้ สังเกตว่าเวลาโรงเรยี นเรามกี จิ กรรม ผูป้ กครองจะมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมใหก้ �ำลงั ใจในระหวา่ งทเี่ ขา้ มารว่ มกจิ กรรมในสว่ นผบู้ รหิ ารจะใหข้ อ้ เสนอแนะจะมกี ารแลกเปลยี่ นในกจิ กรรมของทางโรงเรียนทเ่ี ราเหน็ วา่ ส�ำคญั ตา่ ง ๆ” (รองผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา, สมั ภาษณ์)หลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 131 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

“...ในการประเมินในเร่ืองการด�ำเนินการเรามีคีย์แมน เราไม่ได้เอาครูทั้งหมดมาคุยทั้งหมดแต่ส่วนการคุยทั้งหมดเราแทรกในการประชุมประจ�ำเดือนทุกครั้งในวาระอื่นเราคุยเป็นประจ�ำก็คอื เปน็ โครงการท่ีขับเคลอื่ นหลักของโรงเรียน...” (รองผบู้ ริหารสถานศกึ ษา, สมั ภาษณ์) “คุณครู ผอู้ �ำนวยการอะครบั ก็จะไปรออยูห่ นา้ โรงเรยี น รอรับนกั เรยี นเขา้ มา…ผอ. เสนอเองว่าขอไปยืนหนา้ ประตู และยนื เข้าแถวกับนักเรียนเอง อย่างในคาบโฮมรูม ผอ. กจ็ ะเดินตดิ ตามแตล่ ะหอ้ งเรียน” (นกั เรยี นคนที่ ๑, สัมภาษณ)์ “คาบว่างเราจะจับคู่บัดด้ใี นหอ้ งครบั ใหน้ ่ังด้วยกนั อย่างเช่นคาบวา่ งเรากจ็ ะมีการจับคบู่ ดั ดี้ให้มาติวกันในเวลาว่าง ส่วนในห้องเรียนอย่างวิชาภาษาไทยก็จะมีเพ่ือนในห้องอยู่กลุ่มหนึ่งท่ีเรียนเก่งเขา้ ใจในเรอ่ื งทีเ่ รียน กับอกี กลมุ่ ที่ไมเ่ ก่งก็จะจบั คูก่ นั เราจะวนกนั ทกุ คาบ” (นกั เรียนคนที่ ๒, สมั ภาษณ)์ “อยา่ งเชน่ ปกตเิ ราจะมี ๒ แถวใชไ่ หมครบั แยกชาย-หญงิ ก็จะมีการคยุ ระหว่างแถวใชไ่ หมครับเราก็เลยจัดเป็นแถวยาวไปข้างหลังเลยครับ มันก็จะไม่มีการคุยกันระหว่างแถว อย่างเช่นเพ่ือนที่อยู่๒ ห้องไม่ได้สนิทกัน เวลาเจอก็ยิ้มให้กัน แต่ไม่ได้คุยกันแบบสนิท หรือโม้กัน ถ้าจัดเป็น ๒ แถวเขากจ็ ะคยุ กนั ตอนนี้พอจดั เปน็ แถวเดียวเรากเ็ ดนิ ง่ายขึ้น เพราะเราไม่ต้องจัดให้ ๒ แถวตอ้ งเดินพร้อมกันกเ็ ดนิ ตามสบายครับ” (นกั เรียนคนท่ี ๒, สมั ภาษณ์) “ทุกคนในห้องตอนเย็นกร็ วมกลุ่มกนั ออมเงนิ ออมเทา่ ไหรก่ ็ได้ครบั จะมเี จ้าหนา้ ทค่ี รับ อย่างเช่นหัวหน้าห้องครับ เก็บใส่ตู้เอาไว้ แล้วก็ออมแบบส่วนรวมจะออมเฉพาะวันเกิด สมมติเราเกิดวันจันทรก์ ็ออมแค่วนั จนั ทร์เกิดวันไหนกอ็ อมวนั นน้ั …ฝึกความมีวนิ ยั ครบั ตอ้ งออมทุกวัน วันละบาทก็ได้เก็บใส่ไวใ้ นบญั ชธี นาคารโรงเรยี นครบั ของสว่ นรวมกเ็ อาไปใชจ้ ่ายของส่วนตนก็ใสธ่ นาคารไว”้ (นกั เรียนคนท่ี ๓, สัมภาษณ์)132 หลักสตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

“ก็จะท�ำโครงงานขยะค่ะเป็นโครงงานแบบกลุ่มค่ะ ต่างห้องกัน แกนน�ำก็จะมี ม.๕/๒ตอนน้ันคอื หนอู ยู่ ม.๕/๒ แลว้ กม็ ีน้องอยู่ ม.๓/๑ รว่ มกันท�ำคะ่ เราเห็นปญั หาในโรงเรยี นค่ะ ขยะมันเยอะไม่มีการแยกขยะค่ะ ขวดน�ำ้ กท็ ิง้ ตามสถานท่ีต่าง ๆ ไม่มีการเกบ็ คะ่ ท้ัง ๆ ท่มี ีถังขยะให้ แต่เขาไมเ่ ดนิไปท้ิง เราจึงคิดจัดท�ำกิจกรรมขึ้นมา กิจกรรมที่ ๑ ก็คือขยะแห่งการเรียนรู้…คือตอนน้ันเราไปอบรมกับโครงงานใหญ่ค่ะ คือโครงงานเยาวชนท�ำดี ถวายในหลวงคะ่ ใหพ้ ระอาจารยจ์ าก มจร. จากทุกที่ ๆราชภฏั อะคะ่ เขาจะมกี ารเขา้ คา่ ยตรงนนั้ ดว้ ย กไ็ ดแ้ นวคดิ จากตรงนนั้ ดว้ ย...เรากต็ อ้ งท�ำกนั เอง ออกแบบกนั เองกอ่ น” (นกั เรยี นคนที่ ๔, สมั ภาษณ์) “เรียนนอกสถานที่ช่วงบ่ายเราก็จะฟังเทศน์ หลังบ่ายสองเป็นจิตอาสา กวาดลานวัดเชด็ กระจก แล้วแตจ่ ะท�ำ แลว้ แต่วดั บางคร้ังร่วมกับผนู้ �ำชุมชน ท�ำฝาย ฝายเก่า ฝายใหม่ ท�ำร่วมกบัชุมชน กิจกรรมมหี ลากหลาย ช่วยกันกวาดถนนหน้าวัด ท�ำความสะอาดรอบวดั ปลูกขา้ วโพด ร่วมกบัผนู้ �ำ ทางโรงเรียนกบั ชมุ ชนผูกพนั เหมือนกับบา้ น วดั โรงเรียน หรือ บวร ท่เี ขาว่ากันยิ่งมาท�ำกิจกรรมยิ่งท�ำให้เด็กรักท้องถิ่นมีครูเข้าไปด้วยรับผิดชอบก่ีคน ครู คณะกรรมการสถานศึกษาก็จะซุ่มตรวจให้ก�ำลังใจ ไปถาม ไปเห็น เขาท�ำอะไรบ้าง แต่ละวัดไม่เหมือนกัน๔ต�ำบลไม่เหมือนกัน แต่รู้สึกว่าทกุ วัดให้ความรว่ มมอื ดใี จ ว่าภมู ิปัญญาท้องถ่นิ เขาดใี จท่ีเด็กสนใจ สานกว๋ ยฉลาก ท�ำตุงแตล่ ะวัด ๆสานกลอ่ งขา้ ว ท�ำขนมจอก ท�ำข้าวต้ม พฒั นามาท�ำน�้ำถ่ัวเหลอื ง ผักเซียงดาขับลมท�ำได้หลายอยา่ ง” (นายกสมาคมผปู้ กครอง, สัมภาษณ์) “สมาคมผปู้ กครอง เราพงึ่ จะมาจดั ตั้งสภาได้ไมก่ ่ีปี ได้ ๒ ปี ได้ ๒ สมัย สมยั ท่ี ๒ พ่ึงจะไดม้ า๒สมัย เข้าปีที่ ๓..เราขอให้ทางผู้ปกครองได้มีส่วนช่วย ร่วมในการศึกษาของลูกหลานของเรา..เงินท่ีผู้ปกครองสนบั สนนุ เรา เราท�ำให้เด็กทั้งหมดเลย..แต่ถา้ ใครทม่ี ีปญั หาจนจรงิ ๆ หรอื อะไร เรามีคุณครูเข้ามาดูแลที่บ้าน ไปส�ำรวจล่ะก็ให้ท�ำเร่ืองให้คุณครู ให้ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชนได้เซ็นหนังสือมาว่าครอบครัวน้เี ปน็ ครอบครวั ที่ยากจน เสนอมาทางโรงเรยี น ทางโรงเรียนก็ได้มาเสนอกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษาเสนอมาทางนายกสมาคมรับการพิจารณาวา่ ครอบครัวนยี้ ากจนจรงิ ไหม เราไมเ่ อา เราหาทุนการศกึ ษาให้ เราไม่เกบ็ แตเ่ ราจะหาให้ เราจะยกเวน้ ทุกอยา่ ง ทกุ ส่ิงทุกอย่าง เราไดส้ นบั สนุนวา่ มีถนดั ไปทางไหน เรากใ็ หค้ ณุ ครทู ดี่ แู ลไดไ้ ปคน้ หา แลว้ เราจะไดส้ นบั สนนุ ทางถกู ตอ้ ง ถา้ หากวา่ เขาอยากจะเรยี นตอ่ ระดบั สงู ตอ่ ไป เรากจ็ ะสนบั สนนุ ในนามของครู คณะกรรมการสถานศกึ ษาเพราะวา่ ลกู หลานกเ็ หมือนพี่เหมือนน้องกันท้งั นัน้ ” (นายกสมาคมผ้ปู กครอง, สัมภาษณ)์หลกั สตู รการสัมมนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 133 และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

“...เรากใ็ หท้ างโรงเรยี นวางแผนการใชเ้ งนิ มาเลยปหี นงึ่ เนย้ี ทเ่ี ราไดร้ บั เงนิ บรจิ าคมาคนละพนัปีหนึ่งได้ก่ีแสนให้โรงเรียนเนี้ยท�ำโครงการมาเงินส่วนน้ีโรงเรียนจัดท�ำอะไรได้บ้างท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษา นายกอนุมัติให้ท้ังหมดแต่เราอยากดูแผน เพราะเงินได้มาแล้วต้องลงกับเด็กโดยตรงด้านการศกึ ษา...” (นายกสมาคมผปู้ กครอง, สัมภาษณ)์ “เราขอคนละพัน มันก็ได้ล้านกว่า เอามาจ้างครูภาษาไทย ท�ำกิจกรรมกับโรงเรียนที่ไม่มี..อย่างเขามีลูกมาเรยี นท่ีน่ี ๒ คนเราก็ขอคนเดยี ว ครอบครัวเดยี วกนั เราก็ขอคนเดียว” (ประธานกรรมการสถานศึกษา, สัมภาษณ)์  สรุปผลประเมินสภาพการดำ�เนนิ งานของสถานศึกษา.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................134 หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

หน่วยท่ี ๔การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินคณุ ภาพสถานศกึ ษา และการใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับเพื่อการพัฒนา คุณภาพสถานศึกษาวตั ถปุ ระสงค์๑) เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนามีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถเขยี นรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา๒) เพื่อให้ผู้เข้ารับการสัมมนามีความรู้ ความเข้าใจเทคนิค การให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั เพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา ภายใต้ขอ้ มลู และบรบิ ทของสถานศึกษาเนอ้ื หา- การเขยี นรายงานประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา- การให้ข้อมูลยอ้ นกลบั เพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษากิจกรรม- รับฟังการบรรยาย- ศกึ ษาเอกสารเสรมิ ความรู้- ท�ำ ใบกิจกรรม- น�ำ เสนอและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้- สะทอ้ นผลการปฏบิ ตั งิ านและสรุปความรู้รูปแบบกจิ กรรม- ตรวจสอบ มโนทัศนโ์ ดยใชส้ ือ่ ออนไลน์- ฟังบรรยาย/ชมคลิปวีดีโอ- ศึกษาเอกสารเสรมิ ความรู้- ทำ�กจิ กรรม ใบงาน- แลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละสะท้อนผลการปฏบิ ัติงานหลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 135 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

หลักสูตรและกจิ กรรมหนว่ ยท่ี ๔.๑ เร่ือง การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา๑. สาระสำ�คญั การรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เป็นการจัดท�ำเอกสารที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนและผลส�ำเร็จของการบริหารจัดการของสถานศึกษาท่ีเกิดจากการประเมนิ การรายงานผลประเมิน ประกอบด้วย วิธกี ารด�ำเนินการ ผลการด�ำเนนิ งาน จุดเดน่และจุดท่ีควรพฒั นาท่ีเกดิ จากการประเมนิ ตนเอง เพ่อื ใชเ้ ป็นข้อมลู สารสนเทศของสถานศึกษา ในการพฒั นาคุณภาพอย่างตอ่ เนอื่ ง และการเขยี นรายงานผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจและฝึกทักษะของผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา๒. วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการสัมมนามีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเขียนรายงานผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา๓. รปู แบบการจัดกิจกรรม ๓.๑ ฟังการบรรยายความรู้ประกอบส่อื ๓.๒ ศึกษาวดิ โี อคลปิ /กรณีศึกษา วิเคราะหแ์ ละแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ๓.๓ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามใบกจิ กรรม ๓.๔ น�ำเสนอผลการปฏิบัติตามใบกจิ กรรม136 หลกั สูตรการสมั มนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

๔. ข้ันตอนการจัดกิจกรรมขน้ั ตอน ระยะเวลา สือ่ และเอกสารประกอบ๑. รบั ฟังการบรรยาย ๙๐ นาที ๑. power point เร่ือง การจดั ท�ำรายงานการประเมนิ คุณภาพ๒. แบง่ กลุ่ม ๕ - ๖ คน สถานศึกษา๓. ศึกษาเอกสารเสรมิ ความรู้๔. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมที่ ๔.๑ ๒. คลปิ ตวั อย่างโรงเรียนตัวอยา่ ง เพือ่ ใช้ในการประเมนิ คณุ ภาพ๕. น�ำเสนอ สถานศกึ ษา๕. สรุปความรู้ ๓. ใบกจิ กรรมที่ ๔.๑ รายงานผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษา๕. การวดั และประเมนิ ผล ๕.๑ การสงั เกตพฤติกรรมการปฏบิ ัติงานกล่มุ ๕.๒ การตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานกลมุ่๖. เกณฑก์ ารประเมินผลกิจกรรมที่ ๔.๑ ราย ปรบั ปรุง ระดับคุณภาพ ดมี ากการประเมิน พอใช้ ดี๑. พฤติกรรมการ สมาชกิ ใหค้ วามใสใ่ จ สมาชิกให้ความใส่ใจ สมาชกิ กลมุ่ สว่ นใหญ่ สมาชิกกลุ่มทุกคนปฏบิ ตั ิงานกลุ่ม ต้ังใจ แสดงความ ตงั้ ใจ แสดงความ ให้ความใสใ่ จ ต้ังใจ ให้ความใส่ใจ ตั้งใจ แสดงความคดิ เหน็ แสดงความคดิ เห็น คิดเหน็ แลกเปลย่ี น คดิ เหน็ แลกเปลีย่ น รว่ มกันแลกเปลย่ี น รว่ มกับแลกเปล่ียน เรียนรูแ้ ละท�ำงาน เรยี นรู้ และท�ำงาน เรยี นรู้ สรุปผลการ เรียนรู้ ใหข้ ้อเสนอ ตามค�ำส่งั จนส�ำเร็จ ตามค�ำสัง่ จนส�ำเร็จ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ แนะ สรุปผลการ แต่เกนิ เวลาทก่ี �ำหนด ตามเวลาทก่ี �ำหนด และท�ำงานตามค�ำ ระดมความคิดเห็น สง่ั จนส�ำเรจ็ ตามเวลา และท�ำงานตามค�ำ ทีก่ �ำหนด มีความ ส่ังได้อยา่ งมรี ะบบ สมบูรณ์ จนเสร็จตามเวลา ทีก่ �ำหนด มคี วาม สมบรู ณ์ ถูกต้องตาม หลกั วชิ าการหลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 137 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ราย ปรบั ปรุง ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก การประเมนิ พอใช้ ดี ๒. ตรวจสอบผล มผี ลการปฏิบตั ิ มผี ลการปฏบิ ัติตาม มผี ลการปฏบิ ัตติ าม มีผลการปฏิบตั ิตาม การปฏบิ ตั ิงาน ตามวัตถปุ ระสงค์ท่ี วัตถปุ ระสงค์ตามท่ี วัตถุประสงคส์ ะทอ้ น วตั ถุประสงค์สะท้อน กลุ่ม ก�ำหนดไวบ้ างส่วน ก�ำหนดไว้ ผลการประเมินทม่ี ี ผลการประเมินท่ีมี ความถกู ตอ้ ง ชดั เจน ความถูกต้อง ชดั เจน เนื้อหาสาระในองค์ เนอื้ หาสาระในองค์ ประกอบสมบรู ณ์ ประกอบสมบูรณ์ และสามารถน�ำไป เป็นแบบอยา่ งได้ ๗. เกณฑ์การผ่านกิจกรรมที่ ๔.๑ ผูเ้ ขา้ รับการสมั มนาได้รบั การตดั สนิ คณุ ภาพในกิจกรรมท่ี ๔.๑ ในระดับดีขนึ้ ไป ทุกรายการประเมนิ 138 หลกั สูตรการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

ส่ือรายการท่ี ๔/๑ เอกสารเสรมิ ความรู้เร่อื ง รายงานผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาการวิเคราะห์ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ผปู้ ระเมนิ ผลคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ควรด�ำเนินการดงั นี้ ๑) ผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาอา่ นและวิเคราะห์ SAR อ่านให้เห็นภาพรวม โดยตรวจสอบกบั ขอ้ มลู พนื้ ฐานโดยทวั่ ไปและจบั ประเดน็ ในภาพรวม อาทิ เปา้ ประสงค์ แนวทางสเู่ ปา้ ประสงค์ ตวั บง่ ช้ีความส�ำเรจ็ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น ระบบกลไกควบคมุ ตรวจสอบ ประเมนิ และพฒั นาการด�ำเนนิ งานท�ำความเข้าใจการด�ำเนินงานรายตัวบ่งชี้ตรวจสอบข้อมูลหลักฐานในแต่ละตัวบ่งชี้ว่าครบถ้วนที่จะยืนยันการด�ำเนินงานทีร่ ะบุ สถานศกึ ษาจากรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ๒) ผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาเกบ็ และตรวจสอบขอ้ มลู แหลง่ ขอ้ มลู (ปรมิ าณและคณุ ภาพ)ขนาดและวธิ สี ุม่ ตวั อยา่ งข้อมลู ขอ้ มูลตรงกบั นิยามตัวบง่ ช้ี (ความหมาย วิธีนบั ฯลฯ)ขอ้ มูลตรงกับชว่ งเวลาประเมินการประมวลผลข้อมลู ไดร้ บั การตรวจสอบอยา่ งเข้มงวดว่าถกู ต้องตามหลักเกณฑ์ ๓) ผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาสมั ภาษณแ์ ละสงั เกตใชล้ กั ษณะและรปู แบบค�ำถาม: ปลายเปดิปลายปิด ยืนยนั เพ่อื ตอบตัวบ่งชีว้ ธิ ีการถาม: เปน็ ทมี ถกู คน ถูกเวลา ถูกตอ้ งภาษากายขณะสัมภาษณ์และสังเกต : ใหเ้ กยี รติ กระตอื รือรน้ จดบันทกึ ตรงตอ่ เวลา : โดยเฉพาะเวลาเร่มิ ต้นการมสี ว่ นร่วมของทีมประเมิน: ฐานะประธาน ฐานะกรรมการ ๔) ผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาด�ำเนนิ การประเมนิ ตามระบบ หลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และกรอบเวลาที่ก�ำหนด คณะกรรมการร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของผลการประเมินทุกตัวบ่งช้ีตรวจสอบข้อมลู ในกรณผี ลประเมินน่าสงสัย หรือขดั แย้งกับสภาพทน่ี ่าจะเปน็ วเิ คราะห์วา่ คณุ ภาพของหน่วยงานอยรู่ ะดบั ไหน ปญั หาหลกั คอื อะไร และตอ้ งเรง่ พฒั นาในประเดน็ ใด เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาบรรลเุ ปา้ ประสงค์ ๕) ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาให้ข้อมูลป้อนกลับสะท้อนสภาพจริงของสถานศึกษาให้ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ท่ีเป็นประโยชน์ รงกับปัญหาของสถานศึกษา ข้อเสนอแนะเป็นรูปธรรม และปฏิบตั ไิ ดข้ ้อเสนอแนะสอดคล้องกบั อตั ลกั ษณ์ และเปา้ ประสงคข์ องสถานศึกษา การเขยี นรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ใหร้ ายงานผลการประเมนิตามคุณภาพที่ยดึ มาตรฐานและประเด็นการพัฒนาของแตล่ ะมาตรฐาน ไมม่ ีรูปแบบตายตัว ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาสามารถก�ำหนดรปู แบบเขียนรายงานประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาท่ี สามารถสะท้อนการด�ำเนนิ งานทแี่ ทจ้ รงิ ของสถานศกึ ษา และมขี อ้ เสนอแนะทปี่ ฏบิ ตั ไิ ดเ้ ปน็ รปู ธรรมกอ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาคุณภาพการศึกษาทีต่ ่อเน่อื ง ย่งั ยืนหลักสูตรการสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 139 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑

การรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เปน็ การจดั ท�ำเอกสารทสี่ ะทอ้ นผลการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนและผลส�ำเร็จของการบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เกิดจากการประเมิน ผู้ประเมินใช้หลักการรายงานผลการประเมินตามคุณภาพที่ยึดมาตรฐานและประเด็นการพฒั นาของแต่ละมาตรฐานมโนทศั นเ์ กย่ี วกับการเขียนรายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ยึดหลักการ แนวทางด�ำเนินงานที่เป็นไปตามกฎกระทรวง ซงึ่ ก�ำหนดบทบาทหนา้ ทใ่ี หบ้ คุ ลากรทเี่ กยี่ วขอ้ งในสถานศกึ ษา ไดด้ �ำเนนิ การประเมนิคณุ ภาพ และการพัฒนาคุณภาพ ท่ียดึ มาตรฐานและประเดน็ การพฒั นาของแต่ละมาตรฐานเปน็ สาระส�ำคัญ กรอบมโนทัศน์เกี่ยวข้องของแต่ละมาตรฐานเม่ือเขียนรายงานการประเมินจึงต้องแสดงถึงร้องรอยหลักฐานท่ีชัดเจน ประกอบด้วย วิธีด�ำเนินการพัฒนา ผลการด�ำเนินงาน จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ซ่งึ มรี ายละเอยี ด ดังนี้มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรียน วิธีด�ำเนินการพัฒนา ผลการด�ำเนินงาน จุดเดน่ จุดควรพัฒนาหลักการ/แนวคดิ หลกั การ/แนวคดิ หลักการ/แนวคิด หลักการ/แนวคดิแสดงถึงวธิ กี าร ข้นั ตอน เทคนคิ แสดงถึงผลท่เี กดิ ขึน้ จาก แสดงถึงผลส�ำเร็จของ แสดงถงึ ประเดน็หรือกลยุทธ์ทเ่ี ป็นกระบวนการพฒั นา กระบวนการ พัฒนา การพัฒนาคณุ ภาพ หรอื ขอ้ ที่เปน็ ปัญหาผู้เรยี นท่มี ผี ลการเรียนรู้ท่ีเปน็ คุณภาพ คณุ ภาพผเู้ รียนทั้งในด้าน ด้านผูเ้ รียนท้ังใน ทจี่ ะต้องได้รบั การของผู้เรยี นท้งั ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทาง ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการ ด้านผลสัมฤทธ์ทิ าง เรง่ ด�ำเนนิ การแกไ้ ขวชิ าการ ประกอบดว้ ยความสามารถ และด้าน คุณลักษณะ วิชาการและด้าน ปรบั ปรงุ และพฒั นาในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร ทพ่ี งึ ประสงค์ โดยมี คุณลักษณะทพ่ี ึง คุณภาพผูเ้ รยี นท้งั ในการคิดค�ำนวณ การคดิ ประเภทตา่ ง ๆ การเปรียบเทียบผลท่ี ประสงค์ ดา้ นผลสัมฤทธทิ์ างการสรา้ งนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี เกิดข้นึ กบั ค่าเป้าหมาย วชิ าการและดา้ นสารสนเทศและการสือ่ สาร ผลสมั ฤทธิ์ ทกี่ �ำหนดไว้ในแตล่ ะ คณุ ลกั ษณะทพี่ งึทางการเรยี นตามหลกั สตู ร การมี ประเดน็ การพิจารณา ประสงค์ให้ดีขนึ้ความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดี กบั เกณฑท์ ่ีสถานศกึ ษาตอ่ วิชาชีพ และด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ก�ำหนดประสงค์ ที่เป็นคา่ นิยมท่ีดีตามที่สถานศึกษาก�ำหนด ความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่และความเปน็ ไทยการยอมรบั ท่จี ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย รวมท้งั สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสงั คม140 หลักสตู รการสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการวิธีด�ำเนนิ การพัฒนา ผลการด�ำเนินงาน จุดเดน่ จดุ ควรพัฒนา หลักการ/แนวคดิ หลกั การ/แนวคดิ หลกั การ/แนวคิดหลักการ/แนวคดิแสดงถึงวิธีการ ขนั้ ตอน เทคนิค แสดงถึงผลทีเ่ กิดข้ึน แสดงถึงผลส�ำเรจ็ แสดงถึงประเด็นหรอืหรือกลยุทธ์ที่เป็น การจัดระบบ จากการจดั ระบบบริหาร ของการจัดระบบ การจัดระบบบริหารบริหารจัดการคณุ ภาพของสถาน จัดการคุณภาพของ บริหารจัดการ จัดการคณุ ภาพของ สถานศกึ ษา คุณภาพของสถาน สถานศกึ ษาทีเ่ ป็นศึกษา มีการก�ำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอยา่ งชัดเจน ท่คี รอบคลมุ เป้าหมาย ศกึ ษา การบริหาร ปัญหาทจี่ ะตอ้ งได้สามารถด�ำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการ วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจ และการจัดการของ รบั การเร่งด�ำเนินทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตาม ท่สี ถานศึกษาก�ำหนด ผู้บริหารสถานศึกษา การแกไ้ ข ปรบั ปรงุหลกั สูตรสถานศึกษาในทกุ กลุ่มเปา้ และภาระงานของ ทีค่ รอบคลมุ เป้า และพัฒนาการจัดหมาย จดั ท�ำแผนพฒั นาคุณภาพ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หมาย วิสัยทศั น์ ระบบบรหิ ารจดั การการจัดการศึกษา ด�ำเนนิ การพฒั นา โดยมกี ารเปรยี บเทียบ และพนั ธกจิ ท่สี ถาน คณุ ภาพของสถานครูและบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญ ผลทเ่ี กิดข้ึนกบั คา่ เป้า ศึกษาก�ำหนดและ ศกึ ษา ทางวชิ าชพี และจดั ระบบเทคโนโลยี หมายท่ีก�ำหนดไวใ้ น ภาระงานของผู้สารสนเทศ เพอ่ื สนับสนุนการบริหาร แตล่ ะภาระงาน บรหิ ารสถานศกึ ษาจัดการและการเรียนรู้ รวมท้งั จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 141 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำ�คัญวธิ ดี �ำเนนิ การพัฒนา ผลการด�ำเนินงาน จดุ เดน่ จดุ ควรพัฒนาหลกั การ/แนวคิด หลกั การ/แนวคิด หลักการ/แนวคิด หลักการ/แนวคิดแสดงถึงวิธีการ กระบวนการ แสดงถงึ ผลทเี่ กิดขึน้ จาก แสดงถงึ ผลส�ำเรจ็ ของ แสดงถงึ ประเดน็จัดการเรยี นการสอนตาม กระบวนการจดั การเรียน กระบวนการจดั การเรียน หรอื ข้อท่เี ป็นปัญหามาตรฐานและตวั ช้ีวดั ของ การสอนตามมาตรฐานและ การสอนตามมาตรฐาน ของกระบวนการหลกั สตู รสถานศกึ ษา สรา้ ง ตวั ชีว้ ัดของหลกั สตู รสถาน และตวั ชว้ี ดั ของหลกั สตู ร จดั การเรียนการสอนโอกาสใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมใน ศกึ ษา ท่สี ร้างโอกาสใหผ้ ู้ สถานศกึ ษา ที่สร้างโอกาส ตามมาตรฐานและการเรยี นร้ผู ่านกระบวนการ เรียนทุกคนมีส่วนรว่ ม ผา่ น ใหผ้ ู้เรยี นทกุ คนมีสว่ น ตัวชี้วัดของหลกั สตู รคดิ และปฏิบตั ิจริงมีการ กระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิ ร่วม ผ่านกระบวนการ สถานศกึ ษา ท่ีจะบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ จรงิ มีการบริหารจดั การ คิดและปฏบิ ัติจรงิ มกี าร ต้องไดร้ บั การเรง่บวก สร้างปฏสิ ัมพนั ธท์ ดี่ ี ชั้นเรยี นเชิงบวก สรา้ ง บรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชิง ด�ำเนนิ การแก้ไขครูร้จู ักผูเ้ รียนเป็นรายบคุ คล ปฏิสมั พันธท์ ดี่ ี ครรู ้จู กั ผเู้ รียน บวก สร้างปฏิสมั พนั ธท์ ่ี ปรบั ปรุง เพื่อพฒั นาด�ำเนินการตรวจสอบและ เป็นรายบุคคล ด�ำเนนิ การ ดี ครูรจู้ ักผ้เู รยี นเป็นราย คณุ ภาพครแู ละประเมินผ้เู รียนอย่างเป็น ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี น บุคคล ด�ำเนินการตรวจ ผู้เรยี นให้ดีขึน้ระบบและน�ำผลมาพัฒนา อยา่ งเปน็ ระบบและน�ำผล สอบและประเมินผู้เรยี นผู้เรยี น รวมทงั้ ร่วมกันแลก มาพัฒนาผ้เู รยี น รวมท้งั ร่วม อย่างเป็นระบบและน�ำผลเปลยี่ นเรียนรแู้ ละน�ำผลที่ กนั แลกเปลีย่ นเรียนรแู้ ละ มาพฒั นาผ้เู รียน รวมทัง้ไดม้ าใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับเพอื่ น�ำผลท่ไี ดม้ าให้ข้อมูลป้อน ร่วมกันแลกเปลีย่ นเรียนรู้พัฒนาและปรบั ปรุงการ กลับเพ่อื พฒั นาและปรบั ปรงุ และน�ำผลทไ่ี ดม้ าให้ข้อมูลจัดการเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้ โดยมีการ ป้อนกลับเพือ่ พัฒนาและ เปรยี บเทยี บผลท่ีเกดิ ขน้ึ กบั ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ค่าเป้าหมายทกี่ �ำหนดไว้ ใน แต่ละภาระงานของครู  142 หลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑

สอื่ รายการท่ี ๔/๒ ใบกจิ กรรมที่ ๔.๑การจัดท�ำ รายงานการผลการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา งานกลมุ่ ค�ำชี้แจง๑. แบ่งกลมุ่ ผ้เู ข้ารว่ มสัมมนา กลมุ่ ละ ๖ - ๘ คน๒. ผรู้ บั การสัมมนาศกึ ษากรณศี ึกษา๓. วิเคราะหข์ อ้ มลู จากวิดิทัศนเ์ ก่ียวกับวธิ กี ารด�ำ เนนิ การพัฒนา ผลการดำ�เนินการพัฒนาจุดเด่นและ จุดทีค่ วรพฒั นา ตามมาตรฐานที่ ๑. ด้านคณุ ภาพ ผู้เรียน มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและ การจัดการ และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ โดย วิทยากรกำ�หนดให้แต่ละกลุ่มทำ�เพียงมาตรฐาน ใดมาตรฐานหนง่ึ เทา่ น้นั๔. สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถาน ศึกษาตามมาตรฐานที่วิทยากรกำ�หนดให้โดยทำ� เครือ่ งหมาย/ใน O หน้ามาตรฐานน้ัน และบนั ทกึ รายละเอยี ดของประเดน็ ทกี่ �ำ หนดใหเ้ ตรยี มน�ำ เสนอ แลกเปล่ยี นเรียนรู้๕. คดั เลอื กตวั แทนกลมุ่ เพอื่ น�ำ เสนอผลการสรปุ ของกลมุ่หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 143 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook