รายช่ือสมาชิก กล่มุ ที่ ......... ๑. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๒. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๓. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๔. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๕. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๖. ชอ่ื -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขที่ ............ ๗. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ๘. ชอื่ -สกลุ .........................................สพป/สพม./หนว่ ยงาน ....................................... เลขท่ี ............ ผลการประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา O มาตรฐานท่ี ๑ ด้านคณุ ภาพผเู้ รียน O มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ O มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ ส�ำคญั โดยวิทยากรก�ำหนดให้แต่ละกลุม่ ท�ำทกุ มาตรฐานและสรุปในภาพรวมของโรงเรียนO มาตรฐานท่ี ๑ ดา้ นคณุ ภาพผูเ้ รยี นผลการประเมนิ อยู่ในระดบั ....................... วิธดี �ำเนนิ การพัฒนา ผลการด�ำเนินการพฒั นา…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………144 หลกั สตู รการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
จุดเด่น จุดท่คี วรพัฒนา…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………O มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั .....................วธิ ดี �ำเนินการพัฒนา ผลการด�ำเนนิ การพฒั นา…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………หลักสตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 145 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
จดุ เดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………O มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นส�ำ คญัผลการประเมินอยใู่ นระดบั ....................... วธิ ดี �ำเนินการพฒั นา ผลการด�ำเนินการพัฒนา…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………146 หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
จดุ เด่น จดุ ทคี่ วรพฒั นา…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 147 และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หลักสตู รและกจิ กรรมหน่วยที่ ๔.๒ เรอื่ ง การให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ เพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา๑. สาระสำ�คัญ การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ด�ำเนินการเพื่อสร้างความเช่ือม่ันให้ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา มีความมั่นใจต่อผลท่ีเกิดขึ้นจากการศึกษาสภาพ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ แปลความหมายส�ำหรบั การประเมนิ และสรปุ ผลการประเมนิ ใหร้ ะดบั คณุ ภาพและเพอื่ ใหม้ ีการน�ำผลการประเมนิ คณุ ภาพไปใชใ้ นการพฒั นาจ�ำเปน็ ตอ้ งมกี ารใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาน�ำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาคุณภาพของการด�ำเนินงานได้อย่างเป็นระบบและมีความต่อเนื่องภายใต้การให้ค�ำปรึกษาช่วยเหลือให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาโดยเน้นความสอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทและความตอ้ งการทแี่ ตกตา่ งกันของแต่ละสถานศกึ ษา๒. วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การสมั มนามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจและสามารถใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั แกส่ ถานศกึ ษาในการด�ำเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา๓. รปู แบบการจัดกิจกรรม ๓.๑ ฟังการบรรยายความร้ปู ระกอบสื่อ ๓.๒ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ๓.๓ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามใบกิจกรรม ๓.๔ น�ำเสนอการปฏิบตั กิ ิจกรรมตามใบกิจกรรม148 หลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๔. ขั้นตอนการจดั กจิ กรรมข้นั ตอน ระยะเวลา ส่อื และเอกสารประกอบ๑. รบั ฟังการบรรยาย ๙๐ นาที ๑. power point เรื่อง การให้ข้อมูลย้อนกลับเพ่ือการประกัน๒. ศึกษาเอกสารเสริมความรู้ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา๓. ท�ำใบกจิ กรรม๔. น�ำเสนอ ๒. เอกสารเสริมความรู้ เรอ่ื ง การใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั เพอื่ การประกัน๕. สรปุ ความรู้ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ๓. ใบกิจกรรม เรื่อง การให้ข้อมูลยอ้ นกลับเพ่ือการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศกึ ษา (งานกลุม่ )๕. การวัดและประเมนิ ผล ๕.๑ การสังเกตพฤตกิ รรมการปฏบิ ตั งิ าน ๕.๒ การตรวจสอบผลการปฏบิ ัติงาน๖. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลกิจกรรมท่ี ๔.๒ ราย ปรบั ปรุง ระดบั คณุ ภาพ ดมี ากการประเมิน พอใช้ ดี๑. พฤตกิ รรมการ ผู้เข้าร่วมการสมั มนา ผู้เขา้ รว่ มการสัมมนา ผเู้ ขา้ ร่วมการสัมมนา ผเู้ ข้าร่วมการสมั มนาเข้าร่วมกิจกรรม สนใจ ตง้ั ใจ มีส่วน สนใจ ต้ังใจ มสี ่วน สนใจ ตัง้ ใจ มสี ่วน สนใจ ตงั้ ใจ มสี ว่ น ร่วมกิจกรรม และมี รว่ มกิจกรรม และมี รว่ มกิจกรรม และมี รว่ มกิจกรรม และมี ส่วนรว่ มในการแสดง สว่ นรว่ มในการแสดง สว่ นร่วมในการแสดง ส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นนอ้ ยกว่า ความคดิ เหน็ ร้อยละ ความคดิ เห็นร้อยละ ความคิดเหน็ ต้งั แต่ รอ้ ยละ ๕๐ ๕๐ - ๕๙ ๖๐ - ๗๙ รอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป๒. ตรวจสอบผล บนั ทึกขอ้ มูล บนั ทกึ ขอ้ มลู ได้ทุก บนั ทกึ ข้อมลู ไดท้ ุก บันทึกขอ้ มูลทกุการปฏิบัตงิ าน ไมก่ ระชับ รายการไดก้ ระชบั รายการไดก้ ระชับ รายการ ไดก้ ระชับ ไมค่ รอบคลมุ ประเด็น ครอบคลมุ ประเดน็ ครอบคลุมประเดน็ ครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำคญั และขาดขอ้ ส�ำคญั แตข่ าดข้อ ส�ำคัญ มขี ้อสงั เกต ส�ำคัญ มขี อ้ สงั เกต สังเกตเพ่ิมเตมิ สังเกตเพ่ิมเตมิ เพม่ิ เตมิ เล็กนอ้ ย เพม่ิ เตมิ ทนี่ า่ สนใจ๗. เกณฑ์การผ่านกิจกรรมท่ี ๔.๒ ผูเ้ ข้ารับการสมั มนาต้องได้รับการตัดสนิ คณุ ภาพกิจกรรมท่ี ๔.๒ ในระดับดขี น้ึ ไปทกุ รายการประเมินหลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 149 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หลกั สตู รและกจิ กรรมหน่วยท่ี ๔.๒ เรอ่ื ง การใหข้ อ้ มูลย้อนกลับ เพอ่ื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาสาระสำ�คัญ การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั (feedback) เปน็ ปจั จยั ส�ำคญั ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เนอื่ งจากผู้ที่ได้รับข้อมูลย้อนกลับสามารถน�ำข้อมูลไปปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดหรือน�ำไปพัฒนางานให้ดีย่ิงข้ึนการให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีเหมาะสมจะช่วยให้สถานศึกษาสามารถก�ำหนดทิศทางและกลยุทธ์ในการพัฒนาการปฏิบัติงานในสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายหรือวิสัยทัศน์ที่ก�ำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพและมปี ระสทิ ธิผล การน�ำเสนอเน้อื หาสาระในสว่ นนแี้ บง่ เปน็ ๕ หวั ขอ้ ได้แก่ ความหมายของการให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั หลกั การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ขอ้ ดขี องการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั เทคนคิ ในการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ และแนวทางการให้ขอ้ มูลย้อนกลบั เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ความหมายของการให้ขอ้ มูลย้อนกลับ การให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั เปน็ กระบวนการการทีผ่ ู้ประเมินใหข้ อ้ มูลที่สะทอ้ นถึงผลการด�ำเนนิ งานของสถานศึกษาทั้งในด้านจุดเด่น จุดท่ีควรพัฒนา รวมท้ังข้อเสนอแนะส�ำหรับสถานศึกษาในการปรบั ปรงุ พฒั นางานทสี่ ามารถน�ำไปปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง (ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา, ๒๕๕๙) การใหข้ ้อมลูย้อนกลับควรเป็นการด�ำเนินการที่สร้างแรงจูงใจในเชิงบวก ในลักษณะของการวิจารณ์ท่ีสร้างสรรค์เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงและน�ำไปสู่การพัฒนาหรือการแก้ปัญหาทั้งในระยะยาวและระยะสั้น(ไพศาล สุวรรณนอ้ ย, ๒๕๖๐)หลกั การใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั การให้ข้อมูลย้อนกลับท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนางานของสถานศึกษา ผใู้ หข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ตอ้ งแนใ่ จวา่ ขอ้ มลู นนั้ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นางานของสถานศกึ ษาในอนาคตการให้ข้อมลู ยอ้ นกลับท่ดี ีผู้ให้ข้อมูลจ�ำเปน็ ตอ้ งเข้าใจหลักการให้ข้อมลู ย้อนกลับดังนี้ ๑. ตอ้ งสรา้ งความไวว้ างใจ และความเชอ่ื ถอื ใหเ้ กดิ ขน้ึ กอ่ น เพราะการตชิ มดว้ ยความหวงั จะท�ำให้ผรู้ ับพรอ้ มทจ่ี ะรบั ฟงั และเต็มใจมากกว่า ๒. การใชค้ �ำพูด จังหวะ น�้ำเสียง สหี นา้ สง่ิ เหล่านจี้ ะช่วยสอื่ เจตนารมณข์ องผู้พูดได้อยา่ งดีคือจะต้องท�ำใหเ้ ขารับรูว้ ่าเราจริงใจกบั เขา 150 หลกั สตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๓. การให้ข้อมูลย้อนกลับ จะต้องจับประเด็นให้ตรงเรื่อง การให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดีจะต้องเป็นเฉพาะเจาะจง ไม่ใช่ติไปทุกเรื่อง จะต้องบอกให้ได้ว่า อะไรดี อะไรท่ีไม่ดี และอะไรที่ควรแก้ไขต้องท�ำใหเ้ ห็นว่าข้อมูลย้อนกลบั เปน็ สิง่ ส�ำคญั และจ�ำเปน็ ที่ผู้รับจะตอ้ งยอมรับเพือ่ น�ำไปสู่การปรับปรงุ ๔. การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ตอ้ งใหใ้ นรปู ของพฤตกิ รรมหรอื ลกั ษณะทเี่ ปน็ รปู ธรรม เปน็ ขอ้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ขหรอื ปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมหรอื การด�ำเนนิ งานแกผ่ รู้ บั ดว้ ย ตอ้ งมรี ปู แบบทชี่ ดั เจนส�ำหรบัการเปล่ียนแปลงหลงั จากได้รบั ขอ้ มูลย้อนกลับขอ้ ดีของการให้ข้อมูลยอ้ นกลบั การให้ข้อมูลย้อนกลับมีความส�ำคัญต่อการเรียนรู้มากและเม่ือพิจารณาในแง่จิตวิทยาพบว่าขอ้ มลู ยอ้ นกลบั มีบทบาทดงั น้ี ๑) การให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นแรงเสริมทางบวก (positive reinforce) การรู้ผลกระท�ำของตนท�ำให้ทราบว่า การกระท�ำของตนห่างจากเป้าหมายเพียงใด ก่อให้เกิดความพยายามที่จะปรับพฤตกิ รรมตนเองใหเ้ ป็นไปตามรปู แบบท่ถี กู ตอ้ งมากข้นึ เพ่ือไปส่เู ปา้ หมายทต่ี ้องการ (สมโภชน์เอ่ยี มสภุ าษติ , ๒๕๔๙:๓๖) ๒) การให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นแรงจูงใจ (motivation) การให้ผู้เรียนทราบความส�ำเร็จของตนอาจด้วยค�ำพูด หรือท่าทาง จะเป็นแรงจูงใจกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการกระท�ำหรือแสดงพฤติกรรมโตต้ อบ เพ่ือให้ไดม้ าซง่ึ ความภาคภมู ิใจในการกระท�ำของตนในคร้ังต่อไป ๓) การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั ชว่ ยใหก้ ารก�ำหนดพฤตกิ รรม เพราะขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ใหร้ ายละเอยี ดที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ ผู้เรียนจึงสามารถปรับปรุง พฤติกรรมของตนไปสู่วิธีการที่ถูกต้องหรือใกล้เคยี งได้ ๔) การให้ข้อมูลย้อนกลับช่วยลดความเครียด เนื่องจากผู้เรียนทราบว่าการกระท�ำของตนถกู ตอ้ งหรือผดิ อยา่ งไร และควรปรับปรุงแกไ้ ขอยา่ งไรเทคนคิ ในการใหข้ ้อมลู ย้อนกลับ การใหข้ อ้ เสนอแนะในการพฒั นาถอื วา่ เปน็ ภารกจิ ทส่ี �ำคญั ยง่ิ ในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตามระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ของส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้การให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาของผู้ประเมินประสบความส�ำเร็จจงึ ขอเสนอแนะเทคนคิ ทีร่ วบรวมและเรยี บเรียงจากเอกสารบางส่วน ที่คิดว่าสามารถน�ำไปประยกุ ต์ใช้ในสถานการณจ์ รงิ ได้ ดงั ตอ่ ไปนี้หลกั สูตรการสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 151 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๑. ใหข้ อ้ เสนอแนะทนั ทีเมอ่ื กระบวนการประเมนิ เสรจ็ สนิ้ การให้ข้อเสนอแนะทันทีหลังการประเมนิ เสรจ็ สิน้ จะส่งผลในทางทีด่ อี ยา่ งน้อย ๓ ประการ คอื ๑) การให้และรับข้อเสนอแนะจะเป็นที่เข้าใจตรงกันได้ง่ายเมื่อท้ังสองฝ่ายเพ่ิงผ่านกิจกรรมการประเมินคุณภาพร่วมกัน ต่างฝ่ายต่างเข้าใจถึง จุดเด่น และส่ิงท่ีต้องพัฒนาคืออะไรบ้างควรด�ำเนนิ การเพอ่ื เสรมิ จดุ เดน่ อยา่ งไร ควรด�ำเนนิ การเพอื่ แกป้ ญั หาหรอื ลดจดุ ดอ้ ยอยา่ งไร และมอี ะไรท่เี ปน็ ความคาดหวงั ในความส�ำเรจ็ ของการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาบา้ ง ๒) การให้ข้อเสนอแนะทันทีทันใด จะช่วยให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องยินดีรับฟังและพร้อมท่ีจะน�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ แตถ่ า้ ปลอ่ ยทงิ้ ไวน้ าน บางคนอาจจะไมเ่ หน็ ความส�ำคญั ของขอ้ เสนอแนะจากผปู้ ระเมนิ ๓) การให้ข้อเสนอแนะทันทีทันใดจะท�ำให้เกิดบรรยากาศการสนทนาท่ีเป็นการเสนอแนวคดิ การพัฒนาหรอื แกป้ ัญหาในฐานะพี่เลยี้ ง ไม่ใชเ่ ปน็ การชีจ้ ดุ บกพร่องจากผลการประเมิน ๒. คิดมากกว่าหนึ่งมุมมองเสมอ เหตกุ ารณเ์ รอ่ื งราวตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ มกั มมี ากวา่ หนง่ึ ความหมายเสมอ การวเิ คราะหจ์ ดุ เดน่และขอ้ ควรปรบั ปรงุ จากผลการประเมินก็เชน่ เดียวกัน อาจจะไมไ่ ดเ้ ปน็ ไปอยา่ งที่ผู้ประเมนิ คิดเสมอไปเมื่อการวิเคราะห์สรุปที่ไม่ครอบคลุมจะน�ำไปสู่การให้ข้อเสนอแนะที่ไม่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของสง่ิ ที่ก�ำลังประเมิน ซ่ึงอาจเกิดจากปัจจัยต่อไปนี้ ๑) การรบี สรปุ ผลการวเิ คราะห์ ในการประเมนิ กอ่ นทส่ี รปุ วา่ มขี อ้ เดน่ ขอ้ ทคี่ วรปรบั ปรงุและข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ อะไรบา้ งนนั้ ผูป้ ระเมนิ จะตอ้ งม่ันใจก่อนวา่ มขี ้อมลู และขอ้ เทจ็ จริงท่ีถูกต้องครบถ้วนหรือไม่ เรารีบด่วนสรุปเร็วเกินไปหรือไม่ อาจจะใช้วิธีตรวจสอบตนเองโดยการคิดว่าถา้ สถานศกึ ษาทกี่ �ำลงั ประเมินอยู่น้ันมชี ื่อเสยี งในทางทด่ี ี คุณจะสรปุ ผลการวิเคราะห์แตกตา่ งจากเดิมอย่างไร ๒) การสรุปผลการประเมินอาจจะถูกต้อง แต่อาจมีเหตุผลอ่ืน ๆ ซ่อนอยู่ ผู้ประเมินสามารถตรวจสอบตนเองโดยการพิจารณาจากค�ำถามต่อไปนี้ มีคนเคยตัดสินผลการประเมินอย่างนี้มากอ่ นหรอื ไมด่ ว้ ยเหตผุ ลอะไรบ้าง คนอ่นื จะคิดและพดู อยา่ งไรเก่ยี วกบั ผลการประเมนิ ของเรา เขาจะเปดิ ใจรบั ผลการประเมนิ และขอ้ เสนอแนะของเราหรอื ไม่ จากขอ้ มลู และขอ้ เทจ็ จรงิ ทมี่ อี ยสู่ ามารถสรปุผลการประเมนิ ส�ำคญั ๆ ท่แี ตกตา่ งกนั ได้อะไรอกี บา้ ง เพราะเหตใุ ด ๓) ผปู้ ระเมนิ เปน็ ผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มส�ำคญั ในการแกไ้ ขปญั หา การชว่ ยใหส้ ถานศกึ ษาแกป้ ญั หาหรอื ปรบั ปรงุ การด�ำเนนิ งานไดส้ �ำเรจ็ มากนอ้ ยเพยี งใด ขน้ึ อยกู่ บั วา่ ค�ำแนะน�ำของผปู้ ระเมนิ ชดั เจนหรอื ไม่ผปู้ ระเมนิ สามารถท�ำใหผ้ รู้ บั การประเมนิ เกดิ ความคดิ รเิ รม่ิ หรอื ความมนั่ ใจในตวั เองทจ่ี ะแกป้ ญั หาหรอืพัฒนาได้หรือไม่ มากนอ้ ยเพยี งใด152 หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๓. คดิ ใหน้ อกเหนือจากข้อเสนอแนะท่ีคดิ อยู่ ถึงแม้ผู้ประเมินจะมีความชัดเจนและมีความตั้งใจท่ีจะให้ข้อเสนอแนะท่ีสอดคล้องกับจดุ เดน่ และสภาพปญั หาทว่ี เิ คราะหจ์ ากผลการประเมนิ แลว้ กต็ าม ผปู้ ระเมนิ ควรคดิ ทบทวนใหแ้ นใ่ จวา่ตอ้ งการให้เกดิ อะไรขึน้ จากการให้ข้อเสนอแนะที่สร้างสรรค์ โดยถามตัวเองด้วยค�ำถามตอ่ ไปน้ี ๑) สถานศึกษาแห่งนี้มีอะไรบ้างที่ควรมีการเปล่ียนแปลงเพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพสงู ข้ึน ๒) จากการสนทนากบั ผรู้ ับการประเมนิ มีขอ้ เสนอแนะเชงิ สรา้ งสรรคอ์ ะไรบา้ งทีเ่ ราสรุปได้ ๓) ความสมั พนั ธใ์ นการท�ำงานของเรากบั สถานศกึ ษาควรเปน็ อยา่ งไร เพอื่ ชว่ ยใหก้ ารน�ำข้อเสนอแนะของเราไปสูก่ ารปฏบิ ัตไิ ด้อยา่ งประสบความส�ำเร็จ ๔) เราควรด�ำเนนิ การอะไรและอย่างไรถ้าต้องการให้เกดิ ผลตามข้อ ๑-๓ ดงั กลา่ ว ๔. ชนื่ ชมจดุ แข็งและผลงานของบคุ คลทีเ่ กี่ยวข้อง การชนื่ ชมยินดีในความส�ำเรจ็ กบั ใครคนใดคนหนงึ่ หรอื กบั สถานศึกษาหน่งึ ๆ บางคร้ังดูเหมอื นว่าเปน็ ค�ำหวานดังค�ำกล่าวท่ีวา่ “วาจาทเี่ คลอื บน้�ำตาล” กต็ าม แตก่ ารช่นื ชมน้นั เป็นส่ิงส�ำคญัอยู่ท่ีวิธีการพูดที่เหมาะสมเพ่ือให้ผู้รับการประเมินมีความรู้สึกว่าเราไม่ได้ยกย่องเกินความเป็นจริงการท�ำใหผ้ รู้ บั การประเมนิ ไดท้ ราบถงึ จดุ แขง็ และผลงานความส�ำเรจ็ ของเขาเปน็ สงิ่ ทมี่ คี ณุ คา่ ดว้ ยเหตผุ ลสองประการ ๑) คนเราเม่ือรู้สึกว่าผลงานหรือจุดแข็งได้รับการยอมรับจะส่งผลให้เกิดความรู้สึกยินดีทจ่ี ะรับค�ำวพิ ากษ์วจิ ารณ์ด้วยความเตม็ ใจมากกวา่ ท่จี ะได้รบั ทราบแตจ่ ดุ บกพร่องของตนเองเท่าน้ัน ๒) คนสว่ นใหญจ่ �ำเปน็ จะตอ้ งหาจดุ แขง็ ของตนเองเพอ่ื ใหส้ ามารถหาแนวทางการพฒั นาตนเองให้มคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพสูงขึน้ ๕. หลกี เลย่ี งค�ำ ถามที่เป็น “กับดัก” ของความไม่เขา้ ใจกนั การใหข้ อ้ เสนอแนะตอ้ งใหค้ วามส�ำคญั และระวงั ในการใชค้ �ำถาม เพราะค�ำถามทไ่ี มเ่ หมาะสมจะท�ำใหผ้ รู้ บั การประเมนิ เสยี ความรสู้ กึ และปฏเิ สธขอ้ เสนอแนะของผปู้ ระเมนิ ได้ การใชค้ �ำถามทใี่ หผ้ รู้ บัการประเมนิ ตอ้ งประเมนิ ผลการตดั สนิ ใจในแนวทางการปรบั ปรงุ และพฒั นาการด�ำเนนิ งานของตนเองซึ่งเปน็ ค�ำถามท่ีเน้นตวั บคุ คลท่เี กยี่ วข้องกบั การแกป้ ญั หา จะกลายเป็นการประเมินตัวบคุ คลไป เชน่ “คุณคิดว่าคุณจะวางแผนการพัฒนาได้อย่างไร” “คุณคิดว่ามีอะไรอีกไหมท่ีคุณน่าจะท�ำไดด้ กี ว่านี้” ถึงแม้ว่าบางคนคิดว่าให้ผู้รับการประเมินคิดเองจะเป็นส่ิงที่ดี เน่ืองจากเห็นว่าผู้รับการประเมินมีส่วนร่วมในการก�ำหนดแนวทางการพัฒนาด้วยตนเอง แต่ผู้รับการประเมินอาจไม่ทราบเจตนาของผปู้ ระเมนิ ในประเดน็ นี้ กเ็ ลยเกดิ ความรสู้ กึ ทไี่ มด่ ตี อ่ การรบั ฟงั ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาจากผู้ประเมินหลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 153 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ในทางตรงกนั ขา้ มในสถานการณท์ เี่ หมาะสม เมอื่ พบปญั หาหรอื สง่ิ ทตี่ อ้ งปรบั ปรงุ ชดั เจนแลว้การใชค้ �ำถามทมี่ งุ่ เนน้ คดิ หากระบวนการท�ำงานเพอื่ แกป้ ญั หาและพฒั นา แทนค�ำถามทม่ี งุ่ เนน้ ประเมนิความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาของแตล่ ะคน จะสง่ ผลใหผ้ รู้ บั การประเมนิ เกดิ ความรสู้ กึ ทดี่ แี ละพรอ้ มรบั ขอ้ เสนอแนะทค่ี ิดรว่ มกัน ซึง่ จะสง่ ผลใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลงในทางทีด่ ี ตัวอย่างค�ำถามทเี่ หมาะสมเชน่ “คณุ คดิ วา่ กระบวนการในการด�ำเนนิ การทผี่ า่ นมาเปน็ อยา่ งไรและเราควรท�ำอยา่ งไรตอ่ ไป” “ชว่ ยอธบิ ายความคดิ ในสง่ิ ทจ่ี ะด�ำเนนิ การตามแนวทางทว่ี า่ มาใหช้ ดั เจนมากกวา่ นไ้ี ดห้ รอื ไม”่ ๖. ใหค้ วามสำ�คญั กับปัญหาที่เกิดข้ึนและผลกระทบกับกระบวนการดำ�เนินงานมากกว่าตัวบุคคล โดยท่ัวไปคนเรามีแนวโน้มที่จะฟังค�ำวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ที่มุ่งเน้นไปท่ีกระบวนการด�ำเนนิ งาน ไมม่ ีใครที่จะยอมรบั การช้ีปญั หาและผลกระทบที่เกิดข้นึ ในตวั บคุ คล และมกั จะมปี ฏิกริ ยิ าตอบโตแ้ ละปฏิเสธหากข้อเสนอแนะนนั้ มงุ่ เน้นไปทพี่ ฤตกิ รรมเฉพาะเจาะจงตัวบคุ คล ตัวอย่างเทคนคิการพูดคุยท่เี น้นกระบวนการมากกว่าเน้นตวั บุคคล เช่น ๑) การอธบิ ายปญั หาและผลกระทบจากข้อเสนอแนะในมมุ มองของบุคคลอ่ืน “แนวทางการแกป้ ญั หานค้ี ิดว่าผบู้ ริหาร ครู และชมุ ชนจะมีความเหน็ อย่างไร” ๒) เปรียบเทียบผลงานกับมาตรฐานหรือวัตถุประสงค์การประเมินว่าข้อเสนอแนะหรือแนวทางแกป้ ญั หาหรอื แนวทางการพฒั นานนั้ สามารถบรรลผุ ลตามมาตรฐานหรอื วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมินทต่ี อ้ งการได้หรือไม่ ๓) ในฐานะผู้ประเมินต้องอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นและให้ข้อเสนอแนะอย่างอ่อนน้อมและด้วยใจเปน็ กลาง ๗. ให้ข้อเสนอแนะทีเ่ ป็นรูปธรรมและชดั เจนไม่ใช่ลกั ษณะทว่ั ไป ชี้ประเด็นปัญหาและสิ่งท่ีต้องปรับปรุงให้ชัดเจนอย่างเป็นรูปธรรม และให้ข้อเสนอแนะทต่ี รงประเดน็ และมคี วามเปน็ ไปไดใ้ นการปฏบิ ตั เิ พอ่ื แกป้ ญั หาไดจ้ รงิ เนอ่ื งจากวา่ คนเราจะมแี นวโนม้ ท่ีจะเขา้ ใจปญั หามากขน้ึ หากไดร้ บั ขอ้ เสนอแนะทสี่ ามารถท�ำได้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ขอ้ เสนอแนะทช่ี ว่ ยให้เหน็ แนวทางหรอื กระบวนการปฏบิ ตั งิ านทสี่ ามารถแกป้ ญั หาหรอื พฒั นาไดอ้ ยา่ งชดั เจน นอกจากนคี้ วามชดั เจนดงั กลา่ วยงั ชว่ ยใหผ้ รู้ บั การประเมนิ มแี นวโนม้ ทจี่ ะยอมรบั การวพิ ากษว์ จิ ารณด์ ว้ ยความเตม็ ใจถา้ผูป้ ระเมินสามารถชไี้ ปท่ปี ัญหาและแนวทางแก้ปัญหาไดอ้ ย่างเฉพาะเจาะจง ๘. ใหข้ อ้ เสนอแนะโดยการมองอนาคตทด่ี ีกว่า การใช้ข้อมูลเกี่ยวกับจุดเด่น ปัญหาหรือส่ิงท่ีต้องปรับปรุงในอดีตเพื่อให้ข้อเสนอแนะที่มงุ่ เนน้ ใหส้ ถานศึกษามีอนาคตที่ดีกว่าเดมิ เพ่ือมีคณุ ภาพในทกุ ๆ ดา้ นสงู ขนึ้ จะช่วยให้การให้ข้อเสนอแนะประสบความส�ำเร็จ ตัวอยา่ งการพดู คุยในระหวา่ งการให้ข้อเสนอแนะอาจเป็นดงั นี้154 หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
“เราจะแกป้ ัญหา/พัฒนา/ในเร่ือง...นี้ไดอ้ ย่างไร” “สงิ่ ท่ีเปน็ ไปได้ส�ำหรับ ... มอี ะไรบา้ ง” “มนั จะเป็นอยา่ งไรถ้าเราท�ำตามท่เี ราคิดและวางแผนร่วมกันเกย่ี วกบั ...ในวนั น”ี้ “เราท�ำงานดว้ ยกนั /คุยกนั ในส่ิงที่จะด�ำเนินการในเรอ่ื ง...ครัง้ ตอ่ ไปเมอ่ื ไหรด่ ี” ๙. การสนทนาเพ่ือรายละเอยี ดและความเขา้ ใจตรงกนั การใหข้ อ้ เสนอแนะเปน็ การสนทนากนั ไมใ่ ชแ่ คก่ ารบอกหรอื อธบิ ายความคดิ ของผปู้ ระเมนิเทา่ นัน้ การถามค�ำถาม และบทสนทนาจะช่วยให้การอธบิ ายและตรวจสอบมมุ มองของผู้ประเมินและผรู้ บั การประเมนิ ไดช้ ดั เจนขนึ้ นอกจากนย้ี งั ชว่ ยใหท้ กุ คนมคี วามชดั เจนและเขา้ ใจในขอ้ เสนอแนะทก่ี �ำลงัพดู คุยกนั เพอื่ เปา้ หมายในการน�ำไปสกู่ ารปฏิบตั ิไดอ้ ย่างเหมาะสมต่อไป ๑๐. ให้ข้อเสนอแนะท่เี ปน็ “วิธีการในสิ่งทค่ี วรปฏบิ ตั ิ” ขอ้ เสนอแนะทเี่ ปน็ ประโยชนแ์ ละน�ำไปสกู่ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมจะมคี ณุ คา่ ยงิ่ ตอ่ การเปลย่ี นแปลงเพอื่ การพัฒนาหรือแก้ปญั หา ดังนัน้ การใหข้ ้อเสนอแนะในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ผู้ประเมินควรเสนอวิธีการปฏิบัติที่ชัดเจนในสิ่งที่ควรพัฒนาหรือแก้ปัญหา ซ่ึงบางคร้ังจ�ำเป็นต้องมีการอธิบายถึงกระบวนการด�ำเนินงานมากกว่าการบอกว่าควรท�ำอะไรเท่าน้ัน นั่นคือ ข้อเสนอแนะทดี่ คี วรประกอบไปด้วย “เพื่อแก้ปัญหา/พัฒนาเกยี่ วกบั ........ควรท�ำอะไร อยา่ งไร” ๑๑. อธบิ ายความต้ังใจของคณุ ดว้ ยเทคนคิ “ไม่ต้องการ/ตอ้ งการ” (“Do not/Do”) เมอื่ อยใู่ นภาวะทรี่ สู้ กึ วา่ ผรู้ บั การประเมนิ ตอ่ ตา้ นหรอื ปฏเิ สธการใหข้ อ้ เสนอแนะ ผปู้ ระเมนิจ�ำเป็นต้องลดการต่อต้านหรือการปฏิเสธน้ันให้ได้เพ่ือให้ผู้รับการประเมินเข้าใจในความตั้งใจและความคาดหวังในการแก้ปัญหาและพัฒนาท่ีผู้ประเมินต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษา โดยใช้เทคนิค“ไม่ตอ้ งการ/ต้องการ” โดยใชร้ ูปประโยคว่า “ไม่ต้องการ/ไม่อยากให้...(ระบุข้อกังวล/ปัญหา)... แต่ต้องการให้/อยากให้...(ระบวุ ัตถุประสงคแ์ ละสิ่งทจ่ี ะท�ำ)...” ตวั อยา่ งเช่น “ไมต่ อ้ งการใหพ้ วกเรารสู้ กึ วา่ สง่ิ ทแี่ นะน�ำนเี้ ปน็ การไมเ่ คารพในความคดิ ของพวกเรา แต่ตอ้ งการใหท้ ราบวา่ สงิ่ ทเี่ สนอแนะใหน้ ไ้ี มไ่ ดม้ เี จตนาทจ่ี ะต�ำหนใิ ครหรอื ไมเ่ หน็ ความส�ำคญั ของความคดิของใครเลย เพียงแต่ต้องการให้แนวทางท่ีชัดเจนในการแก้ปญั หาน้รี ว่ มกนั เทา่ น้ัน” “ผมไมอ่ ยากใหพ้ วกเราคดิ วา่ ขอ้ เสนอแนะเหลา่ นจี้ ะท�ำใหผ้ มคดิ วา่ ตอ้ งเสยี เวลามาท�ำงานกับพวกเราอกี ครั้ง แต่อยากใหพ้ วกเราทราบวา่ ผมยนิ ดที ี่จะท�ำงานรว่ มกบั พวกเราเสมอ โดยเป้าหมายของผมคือช่วยใหพ้ วกเราพฒั นาสถานศึกษาของเราใหม้ คี ุณภาพในทุก ๆ ดา้ น”หลักสูตรการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 155 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๑๒. ใชก้ ารเปดิ เผยข้อมูลเพ่อื สง่ เสรมิ การเปิดเผยข้อมลู การใหข้ ้อมูล ค�ำอธบิ าย หรอื ค�ำช้ีแจงทช่ี ัดเจนของผปู้ ระเมนิ จะช่วยลดขอ้ สงสัย ความผิดพลาดและเปน็ บทเรียนที่สามารถน�ำไปส่กู ารพูดคุยเพ่ือการให้ข้อเสนอแนะทด่ี มี ากขนึ้ การเปิดเผยขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งจากผปู้ ระเมนิ ดว้ ยความจรงิ ใจจะสามารถสรา้ งความไวว้ างใจและสง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ความคิดเหน็ และความร้สู ึกร่วมกัน และในทสี่ ดุ ก็เกดิ การยอมรบั ข้อเสนอแนะท่ีดีต่อไป ๑๓. แสดงให้เหน็ ถึงความมุ่งมน่ั ของคุณตอ่ ผลประโยชน์สงู สุดของทุกคน ถ้าผู้ประเมินแสดงให้ทุกคนเห็นว่ามีความมุ่งม่ันที่จะช่วยให้ข้อเสนอแนะและเห็นความส�ำเร็จในการพัฒนาสถานศึกษา จะส่งผลให้ผู้รับการประเมินพร้อมรับข้อเสนอแนะและน�ำไปสู่การปฏบิ ัตอิ ย่างมีความสขุ การแสดงความมุ่งมัน่ ของผู้ประเมนิ อาจแสดงได้จากพฤติกรรมตอ่ ไปนี้ • การช่นื ชมยนิ ดี หรอื ยกย่องในความส�ำเรจ็ บคุ คลท้งั ต่อหนา้ และลบั หลัง • แสดงความสนใจในบคุ คลอื่นดว้ ยความเคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ • สามารถให้บุคคลอ่นื เข้าถงึ และให้เวลาในการท�ำงานกบั บุคคลอืน่ ได้ • ปฏบิ ัตติ ามค�ำสัญญาทเี่ กย่ี วข้องกับการพฒั นาของสถานศกึ ษา ๑๔. ถามค�ำถามสดุ ทา้ ยก่อนปดิ การให้ข้อเสนอแนะ การให้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาและพัฒนาอยู่บนพื้นฐานของปัญหาและส่ิงท่ีต้องปรบั ปรงุ ดงั นน้ั ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งทกี่ ลา่ วถงึ ในกระบวนการใหข้ อ้ เสนอแนะมที ง้ั สงิ่ ทดี่ แี ละสงิ่ ทไ่ี มด่ ที ก่ี ระทบตอ่ ความรสู้ กึ ของผเู้ ข้าร่วมรบั ฟงั โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งผบู้ ริหาร ครู ผ้เู รยี น และชมุ ชนท่เี กี่ยวข้องกับการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา เพอ่ื เปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ ทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ งไดแ้ สดงความคดิ เหน็ หรอื ความรสู้ กึ ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ การพัฒนาสถานศกึ ษาอยา่ งตอ่ เน่ืองและยั่งยืน รวมถงึ เป็นการปิดกจิ กรรมการใหข้ อ้เสนอแนะท่ีทกุ คนมคี วามสุข พรอ้ มท่จี ะร่วมกันคดิ ร่วมกันพัฒนาตอ่ ไป จงึ จ�ำเป็นตอ้ งใหโ้ อกาสในการแสดงความคดิ เห็นหรือระบายความรูส้ ึกออกมาก่อนท่ีจะปิดกจิ กรรม ซง่ึ ผูป้ ระเมินควรใชค้ �ำถาม ตอ่ ไปน้ี “ใครมคี วามคิดเห็นอะไรเพ่ิมเติมบา้ งครบั ” “ใครมีอะไรทีอ่ ยากจะพูดหรือแสดงความรู้สกึ กบั พวกเราอกี ไหมครบั ” 156 หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ส่ือรายการที่ ๔/๔ ใบกจิ กรรมท่ี ๔.๓เร่ือง การใหข้ ้อมูลย้อนกลับเพื่อการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา ค�ำชแี้ จง ให้ผู้เข้ารับการสัมมนา ศึกษาข้อมูลจากสรุปผลการ ประเมินตนเองของสถานศึกษาแห่งหนึ่ง แล้วสรุปข้อ เสนอแนะให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษาหลกั สูตรการสมั มนาเชิงปฏบิ ตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 157 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กรณศี ึกษาที่ ๑ สถานศึกษาระดบั ปฐมวัย โรงเรียนแห่งหน่ึง จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย มีนักเรียนช้ันอนุบาลปีท่ี ๒-๓ รวม๓๒ คน ครผู สู้ อน ๒ คน จดั ท�ำรายงานการประเมนิ คณุ ภาพของตนเอง (SAR) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ เสนอตอ่ หนว่ ยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานอน่ื ๆ ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมมคี ณุ ภาพอยใู่ นระดบั พอใช้มผี ลการด�ำเนนิ งาน ตามมาตรฐานการศึกษา ดังต่อไปน้ี เดก็ รา่ เรงิ แจม่ ใส แสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ไดเ้ หมาะสม ยมิ้ ไหวแ้ ละทกั ทาย ปฏบิ ตั ติ นตอ่ ผใู้ หญ่อย่างเหมาะสมกบั วยั มีความมนั่ ใจ กล้าพูด กลา้ แสดงออก ช่วยเหลอื แบง่ ปัน ชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจ�ำวัน หยิบจับสีเทียน อุปกรณ์และสิ่งของเคร่ืองใช้และดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนได้ดี อดทนอดกล้ันโดยการเข้าแถวรอรับบริการต่าง ๆ ชอบฟังและอ่านนิทาน ท�ำงานศิลปะสรา้ งสรรค์ สนกุ สนานเมอื่ ไดย้ ินเสียงเพลง ปฏิบตั ติ ามกฎขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี นได้ดี ในรอบปที ่ีผา่ นมาไมเ่ คยเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการเลน่ หรอื ท�ำกจิ กรรมตา่ ง ๆ มเี ดก็ หลายคนมนี ำ้� หนกั มากกวา่ เกณฑม์ าตรฐานของกรมอนามยั ท�ำใหเ้ ดก็ เคลอ่ื นไหวรา่ งกาย ไมค่ ลอ่ งแคลว่ โรงเรยี นจงึ จดั โครงการเดก็ ไทยไมก่ นิ หวานรณรงคใ์ หน้ กั เรยี นออกก�ำลงั กายและรว่ มมอื ผปู้ กครองเดก็ ดแู ลการบรโิ ภคอาหารของเด็กใหเ้ หมาะสมนอกจากน้ีสถานศึกษาโดยครูผู้จัดประสบการณ์ได้ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยให้สอดคล้องกับหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ และสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของท้องถ่นิครจู ดั กจิ กรรมตามตารางกจิ วตั รประจ�ำวนั บรู ณาการตาม ๖ กจิ กรรมหลกั นอกจากนย้ี งั น�ำใบกจิ กรรมตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย แห่งประเทศมาใช้ในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อสง่ เสรมิ พฒั นาการความสามารถในการคดิ รวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ลทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเร่ืองง่าย ๆ ได้ ท่ียังไม่ผ่านเกณฑ์ตามท่ีสถานศึกษาก�ำหนดสถานศกึ ษาก�ำหนดเปา้ หมายคณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั เปน็ เปา้ ประสงคช์ ดั เจน มโี ครงการพฒั นาความพรอ้ มของเดก็ ปฐมวยั ๑ โครงการ สว่ นดา้ นอน่ื ๆ บรู ณาการกบั โครงการ กจิ กรรมระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน สภาพแวดลอ้ มหอ้ งเรยี นจดั มมุ เสรมิ ประสบการณ์ ๓ มมุ มสี อ่ื ของเลน่ หนงั สอื นทิ านจ�ำนวนหนงึ่ เครอื่ งเล่นสนามจ�ำนวนหน่ึงทรุดโทรม ผูบ้ ริหารสถานศึกษาท�ำการนิเทศภายในเทอมละ ๒ ครงั้ 158 หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กรณศี กึ ษาที่ ๒ สถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน โรงเรียนแห่งหน่ึง จัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษา มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ถึงมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ รวม ๕๗๐ คน ครูผู้สอน ๔๕ คน จดั ท�ำรายงานการประเมนิ คณุ ภาพของตนเอง(SAR) ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ เสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานอ่นื ๆ ผลการประเมนิ ตนเองในภาพรวมมีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี มผี ลการด�ำเนนิ งาน ตามมาตรฐานการศึกษา ดังตอ่ ไปน้ี โรงเรียนมีการบรหิ ารและการจดั การอย่างเป็นระบบ โดยใช้เทคนิคการประชุมท่หี ลากหลายวธิ ี เชน่ การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมระดมสมอง การประชุมกลุม่ เพ่ือให้ทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วมในการก�ำหนดเปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกจิ ของสถานศกึ ษาทชี่ ดั เจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศกึ ษา มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษาทชี่ ดั เจน มกี ารปรบั แผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั กิ ารประจ�ำปที ี่สอดคลอ้ งกับผลการจดั การศกึ ษา สภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา และได้น�ำแผนไปเป็นเครื่องมือส�ำหรับน�ำทางในการบริหารจัดการ สามารถจัดท�ำโครงการและกจิ กรรมไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารนเิ ทศตดิ ตาม ประเมนิ รายงานผลและน�ำผลการประเมินไปใช้เป็นฐานในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ด�ำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ น โดยมกี ารปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทและสามารถพัฒนาผู้เรียนให้ไปตามมาตรฐานตามหลกั สตู รสถานศึกษาแกนกลาง มกี ารพัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพซ่ึงได้แก่ห้องพิเศษต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ แต่บางห้องยังขาดการปรับปรุงซ่อมแซมให้ทันสมัย มีสนามกีฬาที่ได้มาตรฐาน แต่ไม่ได้ปรับปรุงระบบระบายน�้ำ เวลาฝนตกน้�ำท่วมสนามใช้ไม่ได้ มีการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มีการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญตามแบบActive Learning มีรายวิชาเพ่ิมเติมกจิ กรรมชมุ นมุ ใหน้ กั เรยี นเลอื กตามความถนดั และความสนใจผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัดของหลกั สตู รสถานศกึ ษา และสามารถน�ำไปประยุกตใ์ ช้ในการด�ำเนินชวี ิตโดยใช้กระบวนการสะเต็ม (STEM)สร้างกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกัน (Integration) ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรูท้ ่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมาพัฒนาผู้เรียน มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก โดยจัดท�ำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน และน�ำผลท่ีได้ไปแก้ไขปัญหาจริง มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ โดยจดั กจิ กรรม open house ซ่งึนักเรียนและครูไดจ้ ดั นิทรรศการแสดงผลงานเพอ่ื แลกเปลย่ี นเรยี นรูก้ ับสถานศกึ ษาใกลเ้ คยี งหลักสตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 159 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร การคดิ ค�ำนวณ และผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาเป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษาก�ำหนด มีคะแนนเฉลี่ยจากผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ (O-NET) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ สงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ ไดแ้ ก่วชิ าวทิ ยาศาสตร์ สว่ นรายวชิ าท่ีมีพัฒนาการสงู ขนึ้ ของชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ได้แก่ วิชา ภาษาไทย และวชิ าภาษาองั กฤษ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหค์ ดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และแก้ปญั หาได้ ผเู้ รียนมคี วามรู้ และทกั ษะพืน้ ฐานในการสรา้ งนวัตกรรม ผู้เรยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัยโดยนักเรยี นชัน้ ม.๑ ถงึ .ม.๖ มีผลการประเมนิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการส่อื สาร เฉลีย่อยู่ในระดับดี ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ โดยชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓มีการศกึ ษาตอ่ ในสายสามญั ร้อยละ ๖๙ สายอาชพี รอ้ ยละ๒๒ และประกอบอาชพี รอ้ ยละ ๙ ส่วนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ศึกษาต่อมหาวิทยาลัยร้อยละ ๔๒ สายอาชีพร้อยละ ๒๑ และประกอบอาชีพร้อยละ ๒๑ ผูเ้ รียนมคี ุณลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ดี ีเป็นไปตามเปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษาก�ำหนด โดยมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดับ ๒ ขึน้ ไป ปีการศึกษา ๒๕๖๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๕.๕๗ ของนักเรยี นทง้ั หมด ผเู้ รยี นมีความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเป็นไทย ซ่ึงเหน็ ได้จาก การเข้ารว่ มกิจกรรมตามหลักสูตรทอ้ งถ่ินของโรงเรยี น ได้แก่ชมรมดนตรีไทย กจิ กรรมทศั นศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน เข้ารว่ มกจิ กรรมวนั ส�ำคญั ตา่ ง ๆ เชน่ วนั ส�ำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา และลอยกระทง เปน็ ตน้ ผเู้ รยี นยอมรบัท่จี ะอย่รู ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย และมสี ขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คมเปน็ ไปตามเปา้ หมายทส่ี ถานศกึ ษาก�ำหนดซงึ่ เหน็ ไดจ้ ากนกั เรยี นใหค้ วามรว่ มมอื ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามสขุท่ีได้เข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ ง ๆ เช่น กจิ กรรมกีฬาสภี ายใน กิจกรรมสง่ เสรมิ กฬี าสู่ความเปน็ เลิศ-กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพม่ิ เวลารกู้ จิ กรรมชมุ นมุ เชน่ ชมุ นมุ กฬี า ชมุ นมุ อย นอ้ ย เปน็ ตน้ รวมทง้ั การจดั กจิ กรรมให้ความรดู้ า้ นสขุ ภาพ เชน่ กจิ กรรมตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ เปน็ ตน้ และการสง่ เสรมิ สขุ อนามยั ภายในสถานศกึ ษา160 หลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ชื่อ-สกุล.............................................................................................................เลขท่ี ..........................สพป/สพม./หนว่ ยงาน .........................................................................................................................กรณีศึกษาที่ ๑สรุปข้อเสนอแนะให้ข้อมลู ย้อนกลับเพอ่ื การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................หลักสูตรการสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 161 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กรณศี ึกษาที่ ๒สรปุ ข้อเสนอแนะใหข้ ้อมลู ย้อนกลับเพอื่ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................162 หลักสูตรการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หนว่ ยที่ ๕ การวางแผนบริหารจดั การขยายผลการสมั มนาวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การสมั มนามีความเข้าใจ และสามารถวางแผนการขยายผลการสมั มนาในระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาเนอ้ื หาแผนการบริหารจัดการขยายผลการสัมมนากจิ กรรม (๙๐ นาท)ี- บรรยาย- ศกึ ษาเอกสารเสริมความรู้- กจิ กรรมใบงานเขยี นแผนการขยายผล- นำ�เสนอแผนและแลกเปล่ียนเรียนรู้หลกั สตู รการสมั มนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 163 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หลกั สูตรและกิจกรรมหน่วยท่ี ๕ เร่อื ง การวางแผนบรหิ ารจัดการขยายผลการสมั มนา๑. สาระส�ำ คญั กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ก�ำหนดให้การประกันคุณภาพการศึกษา เป็นการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษา โดยมกี ลไกในการควบคมุ ตรวจสอบระบบการบรหิ ารคณุ ภาพการศกึ ษาที่สถานศึกษาจดั ข้นึ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การพัฒนาและสรา้ งความเช่อืมน่ั ใหแ้ กผ่ มู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งและสาธารณชนวา่ สถานศกึ ษานนั้ สามารถจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และบรรลเุ ปา้ ประสงคข์ องหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทก่ี �ำกบั ดแู ล จากการเปลย่ี นแปลงขอ้ ก�ำหนดดงั กลา่ วนี้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดก้ �ำหนดใหจ้ ดั ท�ำแนวปฏบิ ตั สิ �ำหรบั การด�ำเนนิงานประกันคุณภาพการศึกษาและกรอบมาตรฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกบั นโยบายและกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ สว่ นการประเมนิภายนอกใหม้ อี งคป์ ระกอบของผปู้ ระเมนิ ๓ สว่ นไดแ้ ก่ ๑) ผแู้ ทนส�ำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) ๒) ผแู้ ทนหน่วยงานต้นสังกัด และ ๓) ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ส�ำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาในฐานะหนว่ ยงานทกี่ �ำกบั ดแู ลสถานศกึ ษา ควรด�ำเนนิ การพฒั นาผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาใหม้ คี ณุ สมบตั ผิ า่ นเกณฑ์ เปน็ ผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพภายนอกรว่ มกบั ส�ำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ต่อไป๒. วัตถปุ ระสงค์ เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การสมั มนามคี วามเขา้ ใจ และสามารถวางแผนการขยายผลการสมั มนาในระดบัเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา๓. รูปแบบการจดั กิจกรรม ๓.๑ ฟงั การบรรยาย ๓.๒ ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามใบงานเขียนแผนการขยายผล ๓.๓ น�ำเสนอแผนการขยายผล164 หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๔. ขั้นตอนการจัดกจิ กรรม ระยะเวลา สอ่ื และเอกสาร ประกอบ ขนั้ ตอน๑. รบั ฟงั การบรรยายจากวทิ ยากร เรือ่ ง แผนการด�ำเนนิ งานขับเคลื่อน ๓๐ นาที ๑. ใบความรู้ เพ่อื พัฒนาผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการ ๒. Power Point ประเมินใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑๒. ระดมความเห็นเพอื่ วางแผนในการด�ำเนนิ งานขับเคลือ่ นเพ่ือ ๖๐ นาที ใบกิจกรรมท่ี ๕ พัฒนาผูป้ ระเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการ ประเมินใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๙๐ นาที - พ.ศ. ๒๕๖๑ ระดบั ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา๓. สุ่มผู้แทนเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา เพ่อื น�ำเสนอแผนการขยายผลการ สัมมนา ตามใบกิจกรรมท่ี ๕ เขตพื้นทก่ี ารศึกษาละ ๕ นาที๕. การวดั และประเมินผล ๕.๑ ประเมนิ พฤติกรรมการมีส่วนร่วมกิจกรรมของผู้เข้าสมั มนา ๕.๒ ประเมินผลงานจากใบกิจกรรม๖. เกณฑก์ ารประเมินผลกิจกรรมท่ี ๕ ราย ปรบั ปรงุ ระดบั คุณภาพ ดมี ากการประเมิน พอใช้ ดี๑. พฤติกรรมการ สมาชิกไม่มสี ว่ นรว่ ม สมาชิกส่วนใหญร่ ว่ ม มีการก�ำหนดข้ันตอน มีการก�ำหนดขั้นตอนเขา้ รว่ มกจิ กรรม ในการท�ำงานและ กนั ท�ำงาน มีการรับ การท�ำงาน สมาชิก การท�ำงานท่ชี ดั เจน ฟังและแสดงความ ทกุ คนร่วมกนั ท�ำงาน สมาชกิ ทกุ คนใน แสดงความคิดเหน็ คดิ เห็นรว่ มกัน มกี ารรับฟงั และแสดง กลุ่มมีการรบั ฟงั และ ในกลมุ่ ความคิดเหน็ รว่ มกัน แสดงความคดิ เห็น และแสดงบทบาท ร่วมกัน และแสดง ของตนเองอยา่ ง บทบาทของตนเอง เหมาะสม อย่างเหมาะสม เมือ่ เกดิ ความขดั แย้งทาง ความคิด สมาชิก ในกลมุ่ ร่วมกันขจดั ความขดั แยง้ ทเี่ กดิ ขึ้น ได้ด้วยเหตผุ ลหลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 165 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ราย ปรับปรุง ระดับคุณภาพ ดมี าก การประเมนิ พอใช้ ดี๒. ผลงานในใบกิจกรรมท่ี ๕ ๑. ก�ำหนดช่วงเวลา ๑. ก�ำหนดช่วงเวลา ๑. ก�ำหนดชว่ งเวลา ๑. ก�ำหนดชว่ งเวลา กิจกรรมการ กิจกรรมการด�ำเนิน กิจกรรมการ กิจกรรมการด�ำเนิน ด�ำเนนิ งาน งานกลุ่มเปา้ หมาย ด�ำเนนิ งาน งาน กลมุ่ เปา้ หมาย กลมุ่ เปา้ หมาย และการรายงานผล กลมุ่ เปา้ หมาย และการรายงานผล และการรายงาน สอดคลอ้ งกับกรอบ และการรายงาน สอดคล้องกบั กรอบ ผลไมส่ อดคล้อง การด�ำเนินงานของ ผลสอดคล้องกบั การด�ำเนนิ งานของ กบั กรอบการ สพฐ. กรอบการ สพฐ. ด�ำเนินงานของ ๒. แผนการขยายผล ด�ำเนนิ งานของ ๒. แผนการขยายผล สพฐ. การสัมมนา มีความ สพฐ. การสมั มนามีความ ๒. แผนการขยายผล ชดั เจน ๒. แผนการขยาย ชดั เจน เห็นแนวทาง การสัมมนา ขาด ผลการสัมมนา การปฏบิ ัตอิ ยา่ งเปน็ ความชัดเจน มคี วามชดั เจน รูปธรรม เหน็ แนวทาง ๓. ผลงานเสร็จ การปฏิบตั อิ ย่าง ทนั เวลาทีก่ �ำหนด เป็นรปู ธรรม ๗. เกณฑก์ ารผ่านกจิ กรรมหน่วยท่ี ๕ ผู้เข้ารับการสัมมนาต้องได้รับการตัดสินคุณภาพกิจกรรมที่ ๕ ในระดับดีข้ึนไปทุกรายการประเมิน166 หลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
สอ่ื รายการท่ี ๕/๑ เอกสารเสรมิ ความรู้ เรอ่ื ง การขบั เคลอ่ื นระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑สาระสำ�คัญ ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้ปฏริ ูประบบการประเมินและประกนั คุณภาพการศึกษาท้ังภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป โดยให้มีการปรบั ปรงุ มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ใหน้ อ้ ยลง กระชบั และสะทอ้ นถงึ คณุ ภาพอยา่ งแทจ้ รงิ เนน้ การประเมนิสภาพจรงิ ไมย่ ุง่ ยาก ลดภาระการจัดเก็บข้อมูล ลดการจัดท�ำเอกสารทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ ปรบั กระบวนทัศน์ในการประเมนิ ท่ีมเี ป้าหมายเพอ่ื การพฒั นาบนพนื้ ฐานบรบิ ทของสถานศกึ ษานนั้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยส�ำนักทดสอบทางการศึกษา จึงได้มีการด�ำเนนิ งานพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งความเขม้ แขง็ ดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศึกษาใหก้ ับสถานศกึ ษาในสงั กัดทุกแห่งมาอยา่ งต่อเนอ่ื ง อาทิ เช่น การพัฒนามาตรฐาน ตัวชว้ี ัดคู่มือการประกันคุณภาพภายใน พัฒนาระบบการประเมินคุณภาพสถานศึกษาและพัฒนาระบบการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment) ของสถานศกึ ษา พฒั นาระบบ แนวทาง และวธิ กี ารประเมนิ คณุ ภาพภายนอกร่วมกับ สมศ. การทดลองใช้มาตรฐานและระบบการประเมินคุณภาพ ตลอดจนการจัดท�ำเอกสารชดุ แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา เอกสารมาตรฐานการศกึ ษาพ้ืนฐานและมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั ซง่ึ สามารถสรุปผลการด�ำเนินงานขับเคล่อื นการประกนัคุณภาพการศกึ ษา โดยส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันฐาน แบง่ ออกเป็น ๓ ช่วง คือ ชว่ งที่ ๑ผลการด�ำเนนิ งานทีผ่ ่านมา (พ.ศ. ๒๕๖๐) ช่วงที่ ๒ การด�ำเนินงานปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๑) และช่วงที่๓ แผนการด�ำเนนิ งาน (พ.ศ. ๒๕๖๒) รายละเอียดแต่ละชว่ งสรปุ ไดด้ ังน้ีหลกั สูตรการสมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 167 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ช่วงที่ ๑ ผลการดำ�เนนิ งานท่ผี ่านมา (พ.ศ. ๒๕๖๐) การด�ำเนนิ งานเพอ่ื ขบั เคลอื่ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา ในปีท่ีผ่านมา (พ.ศ.๒๕๖๐) มดี งั น้ี ๑. พัฒนามาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย วัตถุประสงค์ : เพ่ือพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยให้สอดคล้องกับระบบการประเมนิ ตามแนวทางนโยบายการปฏริ ปู ระบบการประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา และสามารถน�ำไปใชไ้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ และน�ำไปสู่การปฏบิ ัติไดอ้ ย่างมีประสิทธผิ ล ผลผลติ : รา่ งมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา จ�ำนวน ๑ ฉบบั ๒. วจิ ยั และพฒั นาระบบการประเมนิ และประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับเขตพื้นทกี ารศึกษา วัตถุประสงค์ : เพ่ือศึกษาวิจัยการพัฒนาระบบการประเมินและการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดบั เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา ผลผลติ : รายงานการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาระบบการประเมนิ และประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา ๓. สอ่ื สารและสรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ระบบการประเมนิ แนวใหมเ่ พอ่ื เตรยี มความพรอ้ มแก่สถานศึกษาทเ่ี ขา้ รับการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสี่ (รุ่นแรก) วัตถุประสงค์ : ๑. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั มาตรฐานการศกึ ษา และองคค์ วามรใู้ หม่ ๆเกย่ี วกับการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาแนวใหม่ตามระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา ให้แก่สถานศกึ ษา ๒. เพ่ือให้สถานศึกษาเตรียมการเพื่อการวางแผนการด�ำเนินงานขับเคลื่อนระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาให้บรรลุผลอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ผลผลติ : ส�ำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั จ�ำนวน ๗๔ แหง่ และสถานศกึ ษากลมุ่ ทจ่ี ะเขา้ รบัการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี รนุ่ แรก จ�ำนวน ๗,๐๙๘ แห่ง ไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจ เสรมิ สรา้ งองค์ความร้ใู หม่ ๆ เพ่อื วางระบบการเตรยี มความพรอ้ มเข้ารับการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบส่ี168 หลักสตู รการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๔. พฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา (การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื สอื่ สารและ สร้างความเข้าใจเก่ียวกับการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่ และเสริมสรา้ งศกั ยภาพดา้ นการประเมนิ ) จำ�นวน ๘ จดุ สมั มนา วตั ถปุ ระสงค์ : เพอ่ื เสริมสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การประเมนิ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษาแนวใหม่และเสริมสร้างศักยภาพด้านการประเมินให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรจากส�ำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาและหนว่ ยงานตน้ สังกัดทกุ สงั กัดทีจ่ ัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผลผลิต : ๑. หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพ่ือส่ือสารและสร้างความเข้าใจเก่ียวกับการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่และเสริมสร้างศักยภาพด้านการประเมินจ�ำนวน๘ จุด ๒. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และบคุ ลากรจากส�ำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาและหนว่ ยงานตน้สงั กดั ทกุ สงั กดั ทจี่ ดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เขา้ รว่ มสมั มนา หนว่ ยงานละ ๖-๑๒ คน รวมจ�ำนวนประมาณ๒,๕๔๐ คน ๓. ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด มีจ�ำนวนผู้ประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาท่ีเข้ารว่ มการสัมมนาผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผลการสัมมนา รวมจ�ำนวนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ๙๐ ของจ�ำนวนผเู้ ข้ารบั การพัฒนา ๔. บุคลากรที่เข้าร่วมการสัมมนาสามารถท�ำหน้าท่ีเป็นผู้ประเมินติดตามตรวจสอบคุณภาพสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถให้ค�ำช้ีแนะ ให้ค�ำปรึกษาแก่สถานศึกษาได้สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั บริบทการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาแตล่ ะแห่ง ๕. รายงานสรุปผลการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพสถานศึกษา หลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั กิ ารพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 169 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ช่วงท่ี ๒ การด�ำ เนนิ งานปัจจบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๖๑) การด�ำเนนิ งานเพอื่ ขบั เคลอื่ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา ในปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๑) มีดงั นี้ ๑. พัฒนามาตรฐานการประกนั คณุ ภาพการศึกษา วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนามาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ตามประกาศกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ผลผลิต : มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ๒. จดั ท�ำ แนวปฏบิ ตั กิ ารด�ำ เนนิ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาตามกฎกระทรวงการประกนัคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ จดั ท�ำแนวปฏบิ ตั กิ ารด�ำเนนิ การตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำหรบั เป็นแนวทางในการด�ำเนนิ งาน ระดับตน้ สงั กดั เขตพนื้ ท่ีการศึกษา และสถานศกึ ษา ผลผลิต : แนวปฏิบัติการด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๓. การสังเคราะห์ผลการติดตามตรวจสอบและผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาภายใน/ภายนอก ระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน วัตถุประสงค์ : เพื่อสงั เคราะห์ผลการติดตามตรวจสอบและผลการประเมนิ คุณภาพของสถานศึกษาภายใน/ภายนอก ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ผลผลิต : ๑. รายงานผลการสังเคราะห์ผลการติดตามตรวจสอบและผลการประเมินคุณภาพของสถานศึกษาภายใน/ภายนอก ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน จากเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา จ�ำนวน ๒๒๕ เลม่ ๒. รายงานการสังเคราะหภ์ าพรวมผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษา จ�ำนวน ๑ เลม่ ๔. การพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาแนวใหมต่ ามกฎกระทรวงการประกนัคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั มาตรฐานการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาแนวใหม่ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้แก่บุคลากรในส�ำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา และหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง170 หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ผลผลติ : ระยะท่ี ๑ ๑.๑) บุคลากรจากส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา และหน่วยงานตน้ สังกดั ทุกสังกดั ที่จดั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน จ�ำนวน ๕๒๕ คน ท่เี ขา้ รว่ มสมั มนามีผลการประเมนิ ตามกจิ กรรมสัมมนาผา่ นเกณฑ์ตามท่กี �ำหนดมากกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ๑.๒) ผู้เข้ารับการสัมมนาได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการด�ำเนินงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา รวมทั้งสามารถน�ำความรู้ไปใช้เป็นแนวทางในการท�ำหน้าท่ีประเมินคุณภาพสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล น่าเช่ือถือ และเป็นที่ยอมรับจากทุกฝ่ายที่เกย่ี วขอ้ ง ระยะท่ี ๒ ๒.๑) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา จ�ำนวน ๒,๒๕๐ คน ทเ่ี ข้าร่วมประชมุ มีผลการประเมินตามกิจกรรมผา่ นเกณฑต์ ามทกี่ �ำหนดมากกว่ารอ้ ยละ ๙๐ ๒.๒) ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามีข้อมูลท�ำเนียบบุคลากรและผู้บริหารสถานศึกษา ท่ีได้รับการพัฒนาผ่านเกณฑ์เป็นผู้ประเมินท่ีมีมาตรฐานการประเมิน ท่ีสามารถให้ค�ำช้ีแนะ ให้ค�ำปรึกษาแก่สถานศึกษาอ่ืนท่ีไปประเมินได้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาอันจะน�ำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๕. จัดทำ�ส่ือเสริมแนวทางการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนาระบบการประกันและการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา วัตถุประสงค์ : เพื่อจัดท�ำสื่อเสริมแนวทางการปฏิบัติงานเพ่ือพัฒนาระบบการประกันและการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ผลผลติ : ๑. เอกสารการสื่อสารการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒. ส่อื วิดที ัศน์ การประกันคณุ ภาพการศึกษา ๓. คมู่ อื การพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาหลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 171 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ช่วงที่ ๓ แผนการด�ำ เนนิ งาน (พ.ศ. ๒๕๖๒) แผนการด�ำเนนิ งานเพอื่ ขบั เคลอ่ื นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีดังน้ี ๑. พฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคณุ ภาพการศึกษาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (รอบที่ ๒) วตั ถปุ ระสงค์ : เพอ่ื พฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒(รอบท่ี ๒) ๒. แลกเปลย่ี นเรยี นรจู้ ากประสบการณก์ ารประเมนิ และผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา วตั ถปุ ระสงค์ : เพอื่ แลกเปลย่ี นเรยี นรจู้ ากประสบการณก์ ารประเมนิ และผลการประเมนิคณุ ภาพการศกึ ษา ๓. ส่ือสารและสร้างความเข้าใจเก่ียวกับระบบการประเมินคุณภาพแนวใหม่ให้กับหน่วยงานต้นสงั กัด วตั ถปุ ระสงค์ : เพือ่ ส่ือสารและสรา้ งความเข้าใจเกีย่ วกับระบบการประเมนิ คุณภาพแนวใหมใ่ ห้กบั หนว่ ยงานตน้ สังกัด ๔. ส่ือสารสร้างความรู้ความเข้าใจมาตรฐานการศึกษาและแนวปฏิบัติการดำ�เนินงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ แกส่ �ำ นกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องและผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา วัตถุประสงค์ : เพื่อสื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจมาตรฐานการศึกษาและแนวปฏิบัติการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ แก่ส�ำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งและผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา172 หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. สงั เคราะห/์ รายงานผลการศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาระบบการประเมนิ และประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ระดับเขตพ้นื ท่ีการศึกษา วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อสังเคราะห์/รายงานผลการศกึ ษาวิจัยและพัฒนาระบบการประเมนิและประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษาหลกั สตู รการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผ้ปู ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 173 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ส่อื รายการที่ ๕/๒ ใบกิจกรรมที่ ๕.๑ เร่อื ง การวางแผนการดำ�เนนิ งานขับเคลือ่ นเพื่อพฒั นาผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวง การประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ระดับสำ�นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา งานกลมุ่ ค�ำช้แี จง ๑. จบั คผู่ ูเ้ ข้าสัมมนาตามเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ๒. ใหแ้ ตล่ ะเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาระดมความคดิ เหน็ เพอ่ื เขียนโครงการดำ�เนินงานขับเคล่ือนเพื่อพัฒนา ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทาง การประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ระดบั ส�ำ นักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษา ๓. วทิ ยากรสมุ่ เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาเพอ่ื น�ำ เสนอผลงาน เขตละไม่เกนิ ๕ นาที ๔. กจิ กรรมน้ใี ช้เวลา ๔๕ นาที174 หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
รายชอ่ื สมาชกิ กลมุ่ ที่ ......... ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา....................................................................๑. ชอ่ื -สกลุ .............................................ต�ำแหนง่ ......................................................... เลขที่ ............๒. ช่อื -สกลุ .............................................ต�ำแหนง่ ......................................................... เลขท่ี ............ โครงการดำ�เนินงานขับเคล่อื นเพอื่ พฒั นา ผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ระดับส�ำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาช่ือโครงการ...............................................................................................................................................................หลกั การและเหตผุ ล......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................วัตถุประสงค์............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................เปา้ หมายเชิงปริมาณ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 175 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
กจิ กรรมด�ำ เนนิ การล�ำดบั ท่ี กจิ กรรม ระยะเวลา กลมุ่ เป้าหมาย ผ้รู บั ผิดชอบ..................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .......................................... .......................................................... ..................... ..................... .....................กลุม่ เป้าหมาย………………………………………………………………………………………………………………………………………………..............................................................................................................................................................……............................................................................................................................................................……ระยะเวลาดำ�เนนิ การ............................................................................................................................................................……............................................................................................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั............................................................................................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..............................................................................................................................................................……งบประมาณ............................................................................................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..............................................................................................................................................................……ผรู้ ับผิดชอบโครงการ............................................................................................................................................................……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..176 หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผูป้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ภาคผนวก
แบบสอบถามขอ้ มูลผเู้ ข้ารับการสัมมนาเชงิ ปฏิบัติการ วทิ ยากรแกนน�ำทางไกลเพอ่ื ขยายผลการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินใหมแ่ ละกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จดุ สัมมนาท่.ี ...............ระหว่างวันที.่ ...............................................................................ค�ำ ช้แี จง แบบส�ำรวจฉบับน้มี ที ้งั หมด ๒ ตอน ขอให้ผ้ตู อบแบบส�ำรวจตอบให้ครบทุกข้อ เพ่ือให้การด�ำเนินงานสมั มนาเป็นไปตามวัตถุประสงคแ์ ละเพื่อประโยชนใ์ นการน�ำไปใชต้ อ่ ไปตอนที่ ๑ ข้อมลู พืน้ ฐานของผู้เขา้ สัมมนา๑. เพศ m ๑) ชาย m ๒) หญงิ๒. อายุ .......................................................... ปี๓. ตำ�แหนง่ m ๑) รองผ้อู �ำนวยการส�ำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา m ๒) ผูอ้ �ำนวยการกลุ่มนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน m ๓) ผอู้ �ำนวยการกลุ่มสง่ เสรมิ การจัดการศึกษา m ๔) ศึกษานิเทศก์ m ๕) นักวิชาการศึกษา m ๖) ผอู้ �ำนวยการสถานศึกษา m ๗) อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ................................................................๔. วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ m ๑) ปริญญาตรี m ๒) ปรญิ ญาโท m ๓) ปรญิ ญาเอก m ๔) อน่ื ๆ (โปรดระบ)ุ ................................................................178 หลักสูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. สังกดั m ๑) สพป. ...............................................................เขต................. m ๒) สพม. เขต..................จงั หวดั ...................................................................................... m ๓) หนว่ ยงานอื่น ๆ (โปรดระบุ) .......................................................................................๖. ประสบการณก์ ารท�ำ งานในต�ำ แหนง่ m ผู้อ�ำนวยการสถานศกึ ษา .......... ปี .........เดือน m อนื่ ๆ (ระบ)ุ ....................... ป.ี ..........เดือน๗. ประสบการณใ์ นการท�ำงานประกันคณุ ภาพการศึกษา ...................................... ปีหลกั สูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 179 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ตอนท่ี ๒ สภาพความรคู้ วามเขา้ ใจ ความตระหนัก และศักยภาพของผู้ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา ในการด�ำ เนินการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของผู้เขา้ สมั มนาค�ำชีแ้ จง : ให้ทา่ นระบุสภาพท่เี ปน็ อยู่และสภาพทีค่ าดหวังให้ตรงกับความเปน็ จรงิ ระดบั ความคิดเห็น ข้อรายการ สภาพทเี่ ปน็ อยู่ สภาพทค่ี าดหวัง ๑๒๓๔๕๑๒๓๔๕๑. ความรคู้ วามเขา้ ใจ๑.๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาและการประกัน คณุ ภาพการศึกษา๑.๒ รปู แบบและแนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ของสถานศกึ ษาแนวใหม่๑.๓ มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดบั ตามประกาศกฎ กระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒. ดา้ นความตระหนัก ๒.๑ การเห็นความส�ำคัญของการประกนั คุณภาพการ ศึกษาของสถานศึกษา ๒.๒ ความตระหนักในบทบาทหน้าท่ีของผู้ประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา๒.๓ ความตระหนักในผลกระทบทีจ่ ะเกิดจาก การด�ำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษา๒.๔ ความตระหนักในการพัฒนาตนเองเก่ียวกับการ ประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา 180 หลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ระดบั ความคิดเห็นข้อรายการ สภาพที่เป็นอยู่ สภาพทค่ี าดหวัง ๑๒๓๔๕๑๒๓๔๕๓. ดา้ นศักยภาพของผู้ประเมินคณุ ภาพการศึกษา๓.๑ บทบาทหน้าที่และคุณลักษณะของผู้ประเมิน คณุ ภาพการศกึ ษา๓.๒ การวิเคราะห์กรอบประเด็นและการออกแบบ ประเมนิ คุณภาพสถานศกึ ษา๓.๓ การออกแบบการเก็บข้อมูลเพ่ือการประเมิน คุณภาพการศึกษา๓.๔ การตีความ การตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถือขอ้ มูล และการสรุปความ๓.๕ รายงานการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา๓.๖ การให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา๓.๗ การวางแผนบรหิ ารจัดการขยายผลการสมั มนา หลกั สูตรการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 181 และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
แบบสอบถามความคิดเห็นเพ่ือการประเมนิ ผลการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การพัฒนามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จุดสัมมนาท.่ี ...............ระหว่างวนั ท่ี................................................................................คำ�ช้ีแจง แบบสอบถามฉบบั น้ีมีท้ังหมด ๓ ตอน ขอใหผ้ ู้ตอบแบบส�ำรวจตอบใหค้ รบทุกขอ้ เพื่อให้การด�ำเนนิ งานสัมมนาเป็นไปตามวตั ถุประสงค์และเพ่อื ประโยชนใ์ นการน�ำไปใชต้ ่อไปตอนที่ ๑ ข้อมูลพ้นื ฐานของผเู้ ขา้ สมั มนา๑. เพศ m ๑) ชาย m ๒) หญงิ๒. อายุ .......................................................... ปี๓. ตำ�แหน่ง m ๑) รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา m ๒) ผูอ้ �ำนวยการกลุม่ นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการศึกษาข้นั พื้นฐาน m ๓) ผูอ้ �ำนวยการกลมุ่ สง่ เสริมการจัดการศึกษา m ๔) ศกึ ษานิเทศก์ m ๕) นกั วชิ าการศกึ ษา m ๖) ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา m ๗) อื่น ๆ (โปรดระบุ)................................................................๔. วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด m ๑) ปริญญาตรี m ๒) ปรญิ ญาโท m ๓) ปริญญาเอก m ๔) อื่น ๆ (โปรดระบุ)................................................................182 หลักสตู รการสมั มนาเชิงปฏิบัตกิ ารพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. สังกดั m ๑) สพป. ...............................................................เขต................. m ๒) สพม. เขต..................จงั หวดั ...................................................................................... m ๓) หนว่ ยงานอื่น ๆ (โปรดระบุ) .......................................................................................๖. ประสบการณก์ ารท�ำ งานในต�ำ แหนง่ m ผู้อ�ำนวยการสถานศกึ ษา .......... ปี .........เดือน m อนื่ ๆ (ระบ)ุ ....................... ป.ี ..........เดือน๗. ประสบการณใ์ นการท�ำงานประกันคณุ ภาพการศึกษา ...................................... ปีหลกั สูตรการสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 183 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ตอนที่ ๒ ความคดิ เหน็ ตอ่ ความคดิ เหน็ ตอ่ การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหมแ่ ละกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โปรดท�ำเคร่ืองหมาย 3ลงช่องให้ตรงกับความรู้สึกที่เป็นจริงของท่านมากที่สุด ท่ีมีต่อการสัมมนาปฏิบตั กิ ารครัง้ นี้ โดยก�ำหนดความหมายของตวั เลขในแตล่ ะระดับ ดงั นี้ ๑ หมายถึง ทา่ นมคี วามเห็นในรายการน้นั อยใู่ นระดับ น้อยทส่ี ดุ ๒ หมายถงึ ทา่ นมีความเห็นในรายการนน้ั อยู่ในระดบั น้อย ๓ หมายถงึ ทา่ นมีความเหน็ ในรายการนั้นอยู่ในระดบั ปานกลาง ๔ หมายถงึ ท่านมีความเห็นในรายการน้ันอยใู่ นระดบั มาก ๕ หมายถงึ ท่านมีความเหน็ ในรายการนัน้ อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด หวั ข้อกจิ กรรม/รายการประเมิน ระดบั ความคดิ เหน็ ๑๒๓๔๕ด้านที่ ๑ ความคดิ เห็นท่มี ตี ่อเนอื้ หาและการจดั กิจกรรมสมั มนา๑.๑ นโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษาและการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา๑. เนื้อหาการสัมมนาสอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ ๒. ความเหมาะสมของเนือ้ หากับระยะเวลาการจดั กิจกรรม๓. ความเหมาะสมของรปู แบบ ขน้ั ตอน และกระบวนการ๔. ความทนั สมยั ของเนื้อหา และเหมาะสมกบั ผเู้ ขา้ รบั การสมั มนา๕. การสรา้ งบรรยากาศในการจดั กจิ กรรม ๖. ความน่าสนใจในการถ่ายทอดความรูข้ องวทิ ยากร ๗. การมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู ้ 184 หลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ัติการพฒั นามาตรฐานผ้ปู ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หวั ข้อกิจกรรม/รายการประเมนิ ระดบั ความคิดเหน็ ๑๒๓๔๕๑.๒ รปู แบบและแนวทางการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาแนวใหม่๑. เน้อื หาการสัมมนาสอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องโครงการ ๒. ความเหมาะสมของเนื้อหากับระยะเวลาการจัดกจิ กรรม๓. ความเหมาะสมของรปู แบบ ข้ันตอน และกระบวนการ๔. ความทันสมัยของเน้อื หา และเหมาะสมกับผูเ้ ข้ารับการสมั มนา๕. การสรา้ งบรรยากาศในการจดั กิจกรรม ๖. ความน่าสนใจในการถ่ายทอดความรูข้ องวทิ ยากร ๗. การมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เห็นและการแลกเปลย่ี นเรียนร้ ู๑.๓ มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และมาตรฐานการศึกษาข้ันพืน้ ฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ตามประกาศกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑๑. เนื้อหาสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของโครงการ๒. ความเหมาะสมของเนอ้ื หากบั ระยะเวลาการจัดกิจกรรม๓. ความเหมาะสมของรปู แบบ ขัน้ ตอน และกระบวนการ๔. ความทนั สมยั ของเน้ือหา และเหมาะสมกับผ้เู ขา้ รับการสมั มนา๕. การสรา้ งบรรยากาศในการจัดกจิ กรรม๖. ความนา่ สนใจในการถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากร๗. การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการแลกเปล่ียนเรียนรู้๑.๔ เสริมสรา้ งศักยภาพด้านการประเมนิ๑. เนอื้ หาสอดคล้องกบั วตั ถุประสงคข์ องโครงการ๒. ความเหมาะสมของเนือ้ หากบั ระยะเวลาการจดั กิจกรรม๓. ความเหมาะสมของรูปแบบ ขัน้ ตอนและกระบวนการ๔. ความทนั สมยั ของเนือ้ หา และเหมาะสมกบั ผูเ้ ขา้ รับการสมั มนา๕. การสร้างบรรยากาศในการจดั กจิ กรรม๖. ความนา่ สนใจในการถา่ ยทอดความรขู้ องวิทยากร๗. การมสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ และการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผูป้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 185 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หวั ขอ้ กจิ กรรม/รายการประเมนิ ระดับความคดิ เห็น ๑๒๓๔๕๑.๕ การจัดท�ำรายงานผลการประเมนิ คณุ ภาพสถานศึกษา๑. เนือ้ หาสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ๒. ความเหมาะสมของเน้อื หากับระยะเวลาการจัดกจิ กรรม๓. ความเหมาะสมของรูปแบบ ขนั้ ตอนและกระบวนการ๔. ความทนั สมยั ของเนอื้ หา และเหมาะสมกับผเู้ ขา้ รบั การสมั มนา๕. การสรา้ งบรรยากาศในการจัดกิจกรรม๖. ความนา่ สนใจในการถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากร๗. การมสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็นและการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้๑.๖ การให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั เพือ่ การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา๑. เนอื้ หาสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของโครงการ๒. ความเหมาะสมของเนอื้ หากบั ระยะเวลาการจัดกิจกรรม๓. ความเหมาะสมของรูปแบบ ขน้ั ตอนและกระบวนการ๔. ความทนั สมัยของเนือ้ หา และเหมาะสมกับผเู้ ขา้ รับการสัมมนา๕. การสร้างบรรยากาศในการจัดกิจกรรม๖. ความน่าสนใจในการถ่ายทอดความรขู้ องวทิ ยากร๗. การมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้๑.๗ การวางแผนบรหิ ารจัดการขยายผลการสมั มนา๑. เนื้อหาสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ของโครงการ๒. ความเหมาะสมของเน้ือหากบั ระยะเวลาการจัดกจิ กรรม๓. ความเหมาะสมของรปู แบบ ขน้ั ตอนและกระบวนการ๔. ความทันสมัยของเนือ้ หา และเหมาะสมกบั ผูเ้ ข้ารับการสมั มนา๕. การสรา้ งบรรยากาศในการจัดกจิ กรรม๖. ความนา่ สนใจในการถา่ ยทอดความรขู้ องวิทยากร๗. การมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ 186 หลกั สตู รการสมั มนาเชิงปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพการศึกษาตามรูปแบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หัวข้อกจิ กรรม/รายการประเมนิ ระดับความคิดเหน็ ๑๒๓๔๕ด้านท่ี ๒ ความคดิ เห็นต่อประสิทธิภาพของการสัมมนา๑. คุณภาพของเอกสารประกอบการสมั มนา๒. ความเหมาะสมของเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ประกอบการสัมมนา๓. ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ใี ช้ในการสมั มนาตลอดหลกั สตู ร๔. ความรวดเร็วและความคลอ่ งแคลว่ ในการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหนา้ ท่ี๕. การประสานงานและการอ�ำนวยความสะดวกของเจา้ หน้าที่๖. เนื้อหาของหลกั สตู รทันสมยั และเหมาะสมกบั ผเู้ ข้ารบั การสัมมนา๗. ความรคู้ วามเขา้ ใจเนือ้ หาสาระในภาพรวม กอ่ น การสมั มนา๘. ความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระในภาพรวม หลงั การสมั มนา๙. ความมั่นใจที่จะน�ำความรทู้ ่ไี ดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในการด�ำเนนิ งาน๑๐. ความมนั่ ใจวา่ สามารถน�ำความรไู้ ปเผยแพร่/ถา่ ยทอดแก่บุคคลอน่ื หลกั สูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพฒั นามาตรฐานผูป้ ระเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 187 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ตอนที่ ๓ ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ๑. ส่ิงที่ประทบั ใจในการสัมมนาครั้งน้ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..........................๒. ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะในการสัมมนาครง้ั ต่อไป………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………๓. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… >>>>> ขอขอบคุณในความร่วมมือตอบความคิดเหน็ ในทกุ ข้อค�ำถาม <<<<<<188 หลกั สตู รการสมั มนาเชงิ ปฏิบัติการพัฒนามาตรฐานผ้ปู ระเมินคุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
แบบสังเกตพฤติกรรม และคณุ ลักษณะผปู้ ระเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา การสัมมนาเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นามาตรฐานผู้ประเมินคุณภาพการศกึ ษาตามรูปแบบแนวทาง การประเมินแนวใหม่และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จุดสมั มนาท่ี……….……….ระหวา่ งวนั ที่……………………………………….บุคลิกภาพ ๑. มบี ุคลิกภาพท่ีดี สุภาพ เรียบรอ้ ย ๒. มที ักษะมนษุ ยสัมพันธ์ ๓. มคี วามสขุ ุม รอบคอบ ๔. ย้มิ แยม้ แจม่ ใส ควบคุมอารมณ์ มองโลกในแง่ดีคุณลกั ษณะ ๕. มีเจตคติต่อการท�ำงานเป็นทีมและสามารถท�ำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น ๖. มคี ณุ ธรรม จริยธรรมท่ดี ี และอุทิศตนในการปฏิบตั ิงานได้เต็มศกั ยภาพ ๗. มีความเชื่อม่ันในระบบประกับคณุ ภาพการศึกษา และเปิดใจพร้อมรับการ เปลีย่ นแปลง ของวิธกี ารประเมนิ ความรแู้ ละความสามารถ ๘. เข้าใจบริบทและมที กั ษะการประเมนิ ตามสภาพจรงิ และประเมนิ แบบองคร์ วม (Holistic assessment) เป็นอยา่ งดี ๙. มีทักษะดา้ นการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และสรุปความ ๑๐. มีความสามารถในการตัดสนิ ใจได้อยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม ๑๑. มคี วามสามารถสรุปจดั ท�ำรายงานการประเมิน ๑๒. มที กั ษะในการตดิ ต่อสอื่ สารอย่างกัลยาณมิตร ๑๓. มที ักษะในการประเมนิ แบบกลั ยาณมติ ร หลกั สตู รการสัมมนาเชงิ ปฏิบตั กิ ารพฒั นามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ 189 และกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
190 ผลการ พฤตกิ รรม และคุณลักษณะผู้ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา จดั อันดับ หลักสตู รการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมนิ คุณภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ ที่ ช่อื -สกลุ บคุ ลิกภาพ คณุ ลักษณะ ความรแู้ ละความสามารถและกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ หมายเหตุ ดีมาก = ๔, ดี = ๓, พอใช้ = ๒, ปรับปรงุ = ๑ ลงชื่อ…………………………………………………....ผปู้ ระเมนิ (……………………………………………………) วนั /เดือน/ปี…………………………………..…………….
หลกั สูตรการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ แบบสังเกตพฤติกรรม และคุณลักษณะผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา กลุ่มท่ีและกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ การสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนามาตรฐานผปู้ ระเมินคณุ ภาพการศกึ ษาตามรปู แบบแนวทางการประเมินแนวใหม่ .............. และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ จุดสมั มนาท…ี่ …….……….ระหว่างวันท่…ี ……………………………………. ชือ่ -สกลุ ผู้เขา้ สัมมนา……………………………………………………สพป./สพม…………………………………… เลขท่ี……………….. บุคลิกภาพ (Personality) คุณลกั ษณะ (Trait) ความรูแ้ ละความสามารถ (Knowledge and ability) …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… หมายเหตุ บคุ ลิกภาพ หมายถึง ผ้เู ข้าสมั มนาแสดงออกถึงความสภุ าพ เรียบร้อย มมี นุษยสัมพันธ์ สขุ ุม รอบคอบ ยม้ิ แย้มแจ่มใส ควบคุมอารมณ์ มองโลกในแงด่ ี คณุ ลักษณะ หมายถึง ผ้เู ข้าสมั มนาแสดงออกถงึ การมเี จตคตติ ่อการท�ำงานเป็นทมี และสามารถท�ำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ มคี ุณธรรม จริยธรรมทด่ี ี และอทุ ิศตนในการ ปฏิบตั งิ านไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ และมคี วามเชอื่ มน่ั ในระบบประกับคุณภาพการศึกษา และเปดิ ใจพรอ้ มรบั การเปลีย่ นแปลงของวิธีการประเมนิ ความรู้และความสามารถ หมายถึง ผู้เข้าสัมมนาแสดงออกถึงความเข้าใจในบริบทและมีทักษะการประเมินตามสภาพจริงและประเมินแบบองค์รวม (Holistic Assessment) รวมไปถึงสามารถคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และสรุปความ จดั ท�ำรายงานการประเมนิ และสามารถติดตอ่ ส่ือสารและประเมินแบบกัลยาณมิตร ลงชอ่ื …………………………………………………....ผู้ประเมิน ลงช่ือ…………………………………………………....ผู้ประเมิน ลงชอ่ื …………………………………………………....ผ้ปู ระเมิน (……………………………………………………) (……………………………………………………) (……………………………………………………)191 วนั /เดอื น/ป…ี ………………………………..……………. วัน/เดอื น/ป…ี ………………………………..……………. วนั /เดอื น/ป…ี ………………………………..…………….
คณะทำ�งานทีป่ รึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานดร.บุญรกั ษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานนางสกุ ัญญา งามบรรจง ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักทดสอบทางการศึกษา ดร.วษิ ณุ ทรัพย์สมบัติ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานนางเพ็ญนภา แกว้ เขยี ว สำ� นกั ทดสอบทางการศกึ ษา นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษานางสอุ ารีย์ ชน่ื เจรญิ นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั ิการ ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษานายภัทรแสน แสนยะมูล พนกั งานจ้างเหมาบรกิ าร ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษานายสรานันต์ สงวนสัตย ์ พนกั งานจ้างเหมาบรกิ าร ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษนางสาวยลดา โพธสิ ิงห์ พนกั งานจ้างเหมาบริการ ส�ำนักทดสอบทางการศึกษานายสท้าน พวกดอนเคง็ ผู้กำ�หนดกรอบแนวคดิ การดำ�เนนิ งานนางเพญ็ นภา แก้วเขียว ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษานางสอุ ารยี ์ ช่นื เจริญ นกั วิชาการศกึ ษาช�ำนาญการพิเศษ สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษานายภทั รแสน แสนยะมูล นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ตั ิการ ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษาคณะผจู้ ัดทำ� ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ พัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานนางเพญ็ นภา แกว้ เขียว สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา นกั วชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษานางสุอารีย์ ชื่นเจรญิ นักวชิ าการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร ส�ำนักทดสอบทางการศึกษานายภทั รแสน แสนยะมูล นกั วชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการ สำ� นักติดตามและประเมนิ ผลการจดัดร.ฉตั รชัย หวังมจี งมี การศึกษาข้ันพื้นฐาน นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร ส�ำนักติดตามและประเมินผลการจัดนางอรอมุ า หวงั มจี งมี การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน 192 หลกั สูตรการสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ และกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
นางบวั บาง บญุ อยู่ ศกึ ษานเิ ทศกช์ �ำนาญการพิเศษ ชว่ ยราชการหน่วยศึกษานเิ ทศก์ สพฐ.ดร.ไพรวลั ย์ พทิ กั ษส์ าลี ขา้ ราชการบ�ำนาญนายมาโนช จันทรแ์ จ่ม ข้าราชการบ�ำนาญนายธัญญา เรอื งแก้ว ข้าราชการบ�ำนาญนายทรงเดช ขุนแท ้ ขา้ ราชการบ�ำนาญนางวราพร ขนุ แท ้ ข้าราชการบ�ำนาญรศ.ดร.สมบัติ ทา้ ยเรอื ค�ำ รองคณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคามผศ.ดร.ดวงใจ ชนะสิทธ ์ิ คณบดีคณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมดร.อรพรรณ ต้จู ินดา ผชู้ ว่ ยคณบดคี ณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐมผศ.ดร.อิทธิพัทธ์ สวุ ทันพรกูล อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒผศ.ดร.มนตา ตุลย์เมธาการ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒดร.พนิดา ศกนุ ตนาค อาจารย์คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒดร.วราภรณ์ แย้มทิม อาจารยค์ ณะศึกษาศาสตรแ์ ละพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ดร.อนุสรณ์ เกิดศร ี อาจารยส์ �ำนกั ทะเบยี นและวัดผล มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าชนางอพนั ตรี พูลพทุ ธา อาจารยค์ ณะศึกษาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคามดร.ธรี ยุทธ ภูเขา ผอู้ �ำนวยการกลุม่ นเิ ทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา ส�ำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอทุ ยั ธานี เขต ๒นางพติ รชาภรณ์ ชมุ่ กมลธนตั ย ์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ส�ำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๑๐ (เพชรบรุ )ีนางปัทมพร สรุ กิจบวร ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ นิเทศติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ส�ำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๒นายจงรกั ร่งุ เรอื งศิรินนท ์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มนิเทศตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ส�ำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรสาครนายสมบตั ิ เนตรสว่าง ศกึ ษานเิ ทศกช์ �ำนาญการพเิ ศษ ส�ำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสระบุรี เขต ๑วา่ ทีพ่ นั ตรเี ทพนา เครือค�ำ ศึกษานเิ ทศก์ช�ำนาญการพเิ ศษ ส�ำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาขอนแก่น เขต ๒ดร.รงุ่ นภา แสนอ�ำนวยผล ศกึ ษานิเทศกช์ �ำนาญการพเิ ศษ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๓นางสาวพรวมิ ล ระวนั ประโคน ศกึ ษานิเทศก์ช�ำนาญการพิเศษ ส�ำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต ๒ดร.ชนกนาถ วงษ์ค�ำจนั ทร์ ศกึ ษานเิ ทศกช์ �ำนาญการพิเศษ ส�ำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ขอนแกน่หลกั สูตรการสมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการพัฒนามาตรฐานผู้ประเมนิ คุณภาพการศึกษาตามรปู แบบแนวทางการประเมนิ แนวใหม่ 193 และกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202