สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั กลมุ่ อานวยการ สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ คู่มอื การปฏิบัติงาน สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั
บทนำ ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี 1๙/๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๐ เรอ่ื ง การปฏิรูป การศกึ ษาในภูมภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้กาหนดให้ในแตล่ ะจงั หวัด มคี ณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัด (กศจ.) และสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและ การจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนดในระดับจังหวัด และประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศึกษาธิการภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ลงวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ ได้แบ่งกลุ่มภารกิจ 8 กลุ่มภารกิจ คือ กลุ่มอานวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่ม นโยบายและแผน กลุ่มพัฒนาการศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน และหน่วยตรวจสอบภายใน ซึ่งมีเจตนารมณ์สนับสนุนภารกิจ การปฏริ ูปการศึกษา ตามประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง แบ่งหน่วยงานภายในสานกั งานศึกษาธิการ ภาคและสานักงานศึกษาธิการจังหวัดสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ กาหนดภารกิจกลุ่มอานวยการ ประกอบด้วย งานธุรการของคณะกรรมการการศึกษาจังหวดั (กศจ.) ปฏิบตั ิภารกจิ เก่ียวกบั ราชการประจาทั่วไปของกระทรวงศึกษาธกิ ารและประสานงานตา่ งๆ ในระดับจังหวัด งานบริหารทั่วไป งานบริหารการเงิน บัญชีและพัสดุ ระบบบริหารงานและการควบคุมภายใน งาน ประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรมและผลงานของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดและหน่วยงานทางการศึกษาใน พ้ืนที่รับผิดชอบ งานเก่ียวกับอาคารสถานที่ ส่ิงแวดล้อมและยานพาหนะ งานบริหารงานบุคคล งานพัฒนา องค์กร งานราชการประจาทัว่ ไปของกระทรวงศึกษาธิการและประสานงานต่างๆ ในระดบั จงั หวดั คู่มือฉบับน้ี ได้จัดทาขึ้นการกิจกรอบงาน มีกระบวนงาน วิธีการปฏิบัติงาน เอกสารแบบฟอร์มท่ีให้ ยดึ ถือปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน และการปฏิบัติการส่ือสารบนช่องทางอิเลคทรอนิคส์ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ ตอ่ บุคลากรทางการศึกษาในสานักงานศึกษาธิการจังหวัดซ่ึงเปน็ ผู้มีหน้าท่รี ับผิดชอบในการดาเนินการหรือ ปฏิบัติงานช่วยกันปฏิบัติหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อองค์กรต่อไป อย่างไรก็ตาม วิธีการ ดาเนินงานอาจปรบั ใช้ไดต้ ามบรบิ ท และยึดกฎหมายหรอื แนวทางปฏิบัติภาครฐั อาทิ พระราชบัญญัตขิ ้อมูล ข่าวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 และแก้ไขเพ่ิมเติม พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติวิธีการปกครอง พ.ศ.2539 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 พระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยการบรหิ ารกจิ การบ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ. 2546 และระเบยี บกฎหมายแนวทางปฏบิ ัตทิ ่ดี ีอื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องด้วย ธันวาคม 2561
สำรบัญ หน้า งานธุรการของ กศจ. 1-5 งานราชการประจาทัว่ ไปและประสานงาน 6-7 งานบรหิ ารทว่ั ไป 8 - 10 งานบรหิ ารการเงนิ 11 - 41 งานบัญชี 42 - 49 งานพสั ดุ 50 - 61 การบริหารงานและการควบคุมภายใน 62 - 65 งานประชาสัมพันธ์ 66 - 80 อาคารสถานที่สิ่งแวดล้อมและยานพาหนะ 81 - 90 งานบรหิ ารงานบคุ คล 91 - 123 งานพฒั นาองค์กร 124 - 125 กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง 126 - 127
ภำรกจิ มติคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคในการประชุม ครั้งที่ 2/2560 วันท่ี 11 เมษายน 2560 กาหนดให้แบ่งหน่วยงานภายในของสานักงานศึกษาธิการภาค และศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพเกิดความสะดวกในการมอบหมายและควบคุม งานโดยได้แบง่ กลุ่มอานวยการมีหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ ดังน้ี ๑. รบั ผิดชอบงานธุรการของ กศจ. คณะอนุกรรมการและคณะทางาน รวมท้ังปฏบิ ัติราชการท่ี เปน็ ไปตามอานาจและหนา้ ท่ีของ กศจ.และตามท่ี กศจ.มอบหมาย 2. ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เกยี่ วกับราชการประจาท่วั ไปของกระทรวงศกึ ษาธิการและประสานงานต่างๆใน ระดับจงั หวัด 3. ดาเนินงานเกีย่ วกับงานบริหารทวั่ ไป 4. ดาเนนิ งานเก่ียวกบั งานบริหารการเงนิ บญั ชีและพสั ดุ 5. ดาเนินงานเกยี่ วกับการบริหารงานและการควบคมุ ภายใน 6. ดาเนนิ งานเกี่ยวกบั งานประชาสัมพนั ธเ์ ผยแพร่กจิ กรรมและผลงานของสานกั งานศกึ ษาธกิ าร จงั หวดั และหน่วยงานทางการศึกษาในพื้นท่รี ับผิดชอบ 7. ดาเนนิ งานเกยี่ วกบั อาคารสถานที่สิ่งแวดล้อมและยานพาหนะ 8. ดาเนินงานเกย่ี วกบั งานบริหารงานบุคคลของสานักงานศึกษาธิการจงั หวัด 9. ดาเนนิ งานเกี่ยวกับงานพัฒนาองค์กร 10. ปฏิบัตงิ านรว่ มกบั หรือสนับสนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอ่นื ทีเ่ ก่ียวขอ้ งทไ่ี ด้รับมอบหมาย
1 กลุ่มอานวยการ สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัด ๑. ชื่องาน งานธรุ การของ กศจ. ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานจดั ประชมุ กศจ. ตามบทบาทหน้าที่และเป็นไป ตามคาสั่ง หวั หน้ารักษาความสงบ แหง่ ชาติ ที่ 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภมู ภิ าคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560 ประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง การแบง่ หน่วยงานภายในสานักงานศึกษาธกิ ารภาคและ สานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ลงวันที่ 12 มถิ นุ ายน พ.ศ.2560 ๓. ขอบเขตของงาน กลุ่มอานวยการ สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด มีหนา้ ที่รับผิดชอบในการดาเนินการจดั ประชุม กศจ. รวมท้ัง อนุกรรมการ เพ่ือพจิ ารณาเรื่องต่าง ๆ เก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวดั (กศจ.) และ คณะอนุกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวัด (อกศจ.) ได้ใช้เปน็ แนวทางในการดาเนนิ งานให้เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพ มี ความชัดเจน และเป็นมาตรฐานเดยี วกัน ๔. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน ๔.๑ การเตรยี มการก่อนการประชุม ๔.๑.๑ จัดทาทะเบียบขอ้ มลู สารสนเทศ เกี่ยวกับกรรมการ ใน กศจ.ซง่ึ ประกอบดว้ ย รายชื่อ นามสกุล และท่ีอยู่ ทีส่ ามารถติดต่อได้ รวมท้งั หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล์ ตลอดจนการต้งั Line กลุม่ ของ กศจ. เพ่ือความ สะดวกในการติดต่อและประสานงาน ๔.๑.๒ จดั ทาแฟมู ระเบียบ กฎหมาย หนงั สอื ส่ังการ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารปฏบิ ัติ ประกาศ หรอื คาสั่งที่เกีย่ วข้องกบั การปฏิบัติหนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบและภารกจิ ของ กศจ.ไวใ้ ห้ครบถว้ น ถกู ต้องและเปน็ ปัจจบุ ัน อยู่เสมอ เพื่อใช้ประกอบพิจารณาวาระการประชมุ เพ่ือความถกู ต้องและเปน็ ธรรม ๔.๑.๓ ประสานและรวบรวมเร่ืองท่จี ะเสนอเขา้ ที่ประชุม จากการประชุม อกศจ. ๔.๑.๔ เสนอรา่ ง วาระการประชมุ ต่อศกึ ษธกิ ารจังหวดั เพื่อขอความเหน็ ชอบในเบ้ืองตน้ โดยอาจมี การเปลยี่ นแปลงแกไ้ ขวาระการประชมุ ตามความเห็นของ ศธจ.แลว้ แต่กรณี ๔.๑.๕ เสนอระเบียบวาระการประชมุ พรอ้ มขอเสนอวันประชมุ ทผ่ี ่านความเหน็ ชอบของ ศธจ.แล้ว ไปยัง ผู้วา่ ราชการจังหวัดในฐานะประธาน กศจ. - ในกรณีทม่ี รี ะเบยี บวาระการประชมุ ที่เปน็ ประเดน็ สาคญั หรอื เร่อื งลบั ศธจ.พร้อม
2 เจ้าหนา้ ที่ ที่เก่ียวข้อง ควรชแ้ี จ้งข้อมลู ให้ผู้ว่าราชการจงั หวัด ด้วยวาจาประกอบกันด้วย ๔.๑.๖ สง่ หนังสอื เชิญประชมุ ถึงกรรมการใน กศจ. ทุกคนทราบล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 วัน พรอ้ มส่ง ระเบยี บวาระการประชุมและรายงานการประชุมในครงั้ ท่แี ล้ว ให้ประสานเปน็ การภายใน เพือ่ ให้ทราบว่า กรรมการ ใน กศจ.ท่านใดมาประชมุ ไดห้ รือไมอ่ ย่างไร ครบองคป์ ระชมุ หรอื ไม่ หากพบว่ากรรมการ กศจ. มา ไมค่ รบองค์ประชมุ ให้รีบรายงาน ศธจ. และ ผวจ.ทราบทันที ๔.๑.๗ จัดเตรยี มเบีย้ ประชุมโดยทาบันทกึ เสนอขออนุมัตยิ ืมเงินในการดาเนินการประชมุ จากเงนิ งบประมาณของ กคศ. ตามจานวน กศจ.ท้งั คณะ โดยเบิกจ่ายตามกาหนดไว้ ๔.๑.๘ จัดทาข้อมูลและสารสนเทศ เกย่ี วกบั วาระการประชุม ให้ครอบคลมุ ครบถว้ นทกุ ระเบยี บวาระการ ประชมุ โดยจดั ทาเป็นรูปแบบเอกสารและข้อมลู ในรปู แบบของอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพ่อื นาเสนอข้อมูลบนจอฉายภาพ แลว้ แตก่ รณี โดยเฉพาะในระเบยี บวาระเพื่อทราบ ท้ังน้ี ให้เปน็ ไปตาม มตคิ ณะรัฐมนตรี การประหยัดพลังงานเปน็ วาระแหง่ ชาติ การลดการใช้กระดาษด้วย QR Code ๔.๑.๙ แจง้ ผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหัวหนา้ หนว่ ยงานทางการศึกษาที่เกย่ี วข้อง พรอ้ มเจ้าหน้าท่ีผรู้ ับผิดชอบของสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหน่วยงานทางการศึกษาอืน่ เขา้ รว่ มประชุมตาม ระเบยี บวาระที่เกย่ี วข้อง ๔.๑.๑๐ วางแผนและเตรยี มการ เพื่ออานวยความสะดวกแกก่ รรมการใน กศจ.และผรู้ ว่ มประชมุ อาทิ การเตรยี มอาหารว่าง เครื่องดื่ม ตดิ ต้ังปูาย เคร่ืองเสียงและสถานทีจ่ อดรถ ๔.2 การดาเนนิ การในระหว่างการประชุม ๔.2.1 จดั ทาบัญชี ลงเวลาสาหรับ กศจ.และผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ทุกคน เพื่อรักษาความปลอดภัยและ ประโยชนข์ องทางราชการ ๔.2.2 เป็นผู้ชว่ ยเลขานุการในระหวา่ งการประชมุ โดยจดบนั ทกึ การประชมุ ให้เป็นไปตามขอ้ คดิ เห็น และมตทิ ี่ประชุมของ กศจ. ในกรณีมีความจาเปน็ อาจมกี ารบนั ทกึ เสยี งของกรรมการ และผเู้ ข้ารว่ มประชุม ทงั้ นี้ ตอ้ งได้รับอนญุ าตจากประธาน หรอื กรรมการ แล้วแต่กรณี ๔.2.3 สาหรับระบียบวาระการประชุมที่เป็นเรอ่ื งลบั อาจจากัดผเู้ ข้าประชุมเทา่ ทจี่ าเปน็ ตามความเห็น ของประธานในท่ีประชมุ ทงั้ น้ี ตอ้ งเป็นไปตามระเบียบกฏหมายทเ่ี กยี่ วข้อง และถือปฏบิ ัติตามระเบยี บสานัก นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการรกั ษาความปลอดภยั แห่งชาติ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ ๔.2.4 จดั ระบบรักษาความปลอดภัย ดา้ นบุคคล ดา้ นเอกสาร ด้านอาคารสถานท่ี ตามระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรกั ษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๖๐ ๔.2.5 อานวยความสะดวกดา้ นเคร่อื งดืม่ แสงเสยี ง ตลอดระยะเวลาการประชมุ ๔.2.6 ขอคืนเอกสารข้อมลู หรอื สิ่งอื่นใด จาก กศจ.และผู้เข้าร่วมประชมุ ทุกคน ยกเวน้ เอกสารข้อมูลไม่ สาคญั ๔.2.7 จา่ ยค่าตอบแทนกรรมการและหรือผเู้ ข้าร่วมประชุมแล้วแตก่ รณี
3 ๔.๓ การดาเนนิ การหลังการประชุม ๔.๓.1 จัดทารายงานการประชุมเสนอศึกษาธิการจงั หวดั ลงนามในเอกสารการประชุม ๔.๓.2 แจ้งมตทิ ปี่ ระชุมให้แกก่ ลุม่ งานในสังกัด สนง.ศธจ. ท่เี กย่ี วขอ้ ง ถือปฏิบัตโิ ดยทนั ที โดยจดั ทา เปน็ บันทกึ ข้อความเป็นลายลกั ษณ์ เพอื่ ใช้อา้ งองิ ๔.๓.3 แจ้งมติทป่ี ระชมุ ให้สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา หรือหนว่ ยงานทางการศึกษาอ่นื ทีเ่ กย่ี วข้อง ทราบและถอื ปฏิบตั ติ ่อไป ๔.๓.4 มมี ติที่ประชุมแจ้งผูเ้ กย่ี วขอ้ งทราบเพื่อดาเนนิ การเป็นไปตามมตนิ ั้นๆ และเผยแพร่ใหท้ ราบโดย ทั่วกันตามระเบยี บของทางราชการ ๔.๓.5 ติดตามการดาเนินงานตามมติท่ีประชมุ และรวบรวมไวเ้ พื่อรายงานให้ที่ประชุมทราบผลการ ดาเนินงานในคร้ังต่อไป 5. Flow Chart ขน้ั ตอนการดาเนินงาน ผ้รู ับผดิ ชอบเร่ืองเสนอ ศธจ.ขอจดั ประชมุ กศจ.ตอ่ ประธาน งานเลขานกุ าร รวบรวมเรื่อง/ระเบยี บวาระทจี่ ะเสนอ กศจ./ จดั ทา ระเบยี บวาระการประชมุ /ทาหนงั สอื ขอเชิญ กศจ.เข้าร่วมประชมุ ดาเนนิ การประชมุ กศจ. มติ กศจ. / จดั ทารายงานการประชมุ / ทา หนงั สอื แจ้ง สพท. นามตแิ จ้งผ้เู ก่ียวข้องดาเนินการตามมติ
4 6. แบบฟอรม์ ทีใ่ ช้ ๗.๑ ระเบยี บวาระการประชุม กศจ. ๗.๒ รายงานการประชุม กศจ. ๗. เอกสารอ้างอิง /กฏหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง ๗.๑ พระราชบัญญตั ิ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ 2546 และที่แก้ไขเพมิ่ เตมิ ๗.๒ พระราชบัญญตั สิ ภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม ๗.๓ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และท่แี ก้ไข เพิ่มเติม ๗.๔ พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ 2545 ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ย งานสารบรรณ พ.ศ 2526 และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ ๗.๕ กฎกระทรวงคาสัง่ มอบอานาจ มติ ครม.ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง กฎ กคศ.ระเบยี บแนวปฏิบัตแิ ละอื่นๆ
๘. สรปุ มาตรฐานกระบวนงาน งานธรุ การของ กศจ. ชื่องาน งานธรุ การของ กศจ. ส่วนราชการ กล่มุ อานวยการ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้การดาเนินงานจดั ประชมุ กศจ. ตามอานาจหนา้ ท่ีได้ ตามตามคาสง่ั ห ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ลงวนั ท่ี 3 เมษายน พ.ศ.2560 ประกาศสานักงานปลดั กร สานกั งานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ 12 มิถ พระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ ลาดบั ที่ ผังข้นั ตอนการทางาน รายละเอยี ดงาน 1. ผู้รับผิดชอบเรื่องเสนอ ศธจ.ขอ กศจ.ตอ่ ประธาน 2. งานเลขานุการ รวบรวมเรอื่ ง/ร วาระท่จี ะเสนอ กศจ./ จัดทาระ การประชุม/ทาหนังสอื ขอเชิญ ร่วมประชมุ 3. ดาเนินการประชุม กศจ. 4. มติ กศจ. / จัดทารายงานการป ทาหนงั สอื แจง้ สพท. 5. นามตแิ จง้ ผ้เู ก่ียวข้องดาเนินการ
๕ รหสั เอกสาร หวั หน้ารกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี 19/2560 เรื่อง การปฏิรปู การศกึ ษาในภมู ภิ าค ระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ือง การแบ่งหนว่ ยงานภายในสานกั งานศึกษาธิการภาค และ ถนุ ายน พ.ศ.2560 และอาศยั อานาจตามความในมาตรา ๓๙ (๑) แห่ง เวลาดาเนนิ การ ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ เจา้ ของเรอื่ ง อจดั ประชมุ 1 วนั ระเบยี บ 2 วัน งานเลขาฯ ะเบียบวาระ 1 วัน ศธจ. กศจ.เขา้ ประชุม / 1 วัน ประธาน รตามมติ 3 วนั งานเลขาฯ
6 ๑. ช่ืองาน งานปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เกยี่ วกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวงศึกษาธกิ ารและประสานงานต่าง ๆ ในจงั หวัด ๒. วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้การปฏบิ ัตงิ านเกยี่ วกับการบริหารและการจัดการศกึ ษาในพ้นื ที่ ตามทกี่ ฎหมายกาหนด การ ปฏบิ ตั ิราชการตามอานาจหน้าท่ี นโยบาย และยทุ ธศาสตร์ของสว่ นราชการตา่ งๆ ท่มี อบหมาย รวมท้งั เพื่อการ ให้บรกิ ารดา้ นการศกึ ษาทีร่ วดเร็ว ท่วั ถงึ และเทา่ เทียม เกดิ ประโยชนต์ ่อผเู้ รียนเปน็ สาคญั ตลอดจนการสง่ เสริม การมสี ว่ นรว่ ม การสร้างเครือข่าย การเป็นภาคหี นุ้ สว่ นระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชน หรืองานอืน่ ซึ่งภาครัฐพึง ทางานรว่ มกบั ท้องถิน่ ภาค ประชาชน ภาคเอกชน หรือองค์กรสาธารณประโยชนอ์ นื่ ๓. ขอบเขตของงาน ในการดาเนินงานตามกรอบภารกิจเกี่ยวกับราชการประจาทั่วไปของกระทรวงศึกษาธิการและการ ประสานงานต่าง ๆ ในจังหวัด เป็นบทบาทหน้าท่ีของสานักงานศึกษาธิการจังหวัดในฐานะผู้แทน กระทรวงศึกษาธกิ าร ทจี่ ะตอ้ งอาศยั ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ เทคนิคการประสานงาน มนุษยสัมพันธ์ การใช้ภาวะผู้นา ในการผู้ดาเนินงาน วางแผนในการดาเนินงานทุกข้ันตอน ใช้ศักยภาพในการขับเคล่ือนการดาเนินงานด้วย จิตสานกึ ที่ดกี บั ภาคีสว่ นร่วมกลมุ่ เปาู หมายดว้ ยกัลยามิตร ๔. ขั้นตอนในการดาเนินงาน 4.1 รับเร่ืองเข้า ในทะเบียน 4.2 วเิ คราะห์ วางแผน กาหนดกิจกรรมนาเสนอเพ่ือการดาเนินงาน 4.3 กาหนดยทุ ธศาสตร์การประสานงาน สรา้ งกิจกรรม สร้างเครอื ข่ายเพ่ือการมสี ว่ นร่วม 4.4 ดาเนินงาน และประสานประโยชน์ โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยีแอพลเิ คชน่ั ชว่ ยการประสานงาน 4.5 ตดิ ตาม ประเมนิ ผล จัดทาเสนอรายงาน
7 5. Flow Chart ขนั้ ตอนการดาเนินงาน In put Process Out put งานสถาบนั ชาติ ศาสน์ วิเคราะหว์ างแผน ตดิ ตามประเมนิ ผล กษัตริย์ กาหนดดาเนนิ งาน จัดทารายงาน งานนโยบายหนว่ ยเหนอื เผยแพรแ่ นวทาง สป.ศธ เครอ่ื งมอื และ องค์ความรู้ ผลงาน องค์กรหนว่ ยเหนือ สป./ ภาค ช่องทางการสื่อสาร สร้างกระแสการ งานบูรณาการองคก์ รภาคี รบั รู้ ภาพลักษณ์ เครอื ข่ายภาคส่วนระดบั จงั หวัด องค์กร /ศธ./สพฐ/สป./ กศน./สช. วิเคราะห์ปรบั ปรงุ อาชีวศึกษา/อดุ มศกึ ษา/กศ ตามอัธยาศัย มูลนิธิ องค์กร อสิ ระ/องค์กรศาสนา งานระดมทรัพยากรเพ่ือการ พัฒนา 6. แบบฟอรม์ ท่ใี ช้ ๗.๑ แบบอนุโมทนาบัตร กรณที ร่ี ะดมทรัพยากรจากองค์กรภายนอก ๗.๒ แบบสารวจการร่วมกิจกรรมงานสถาบนั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๗.๓ ปฏทิ นิ กากับคณุ ภาพในการดาเนนิ งาน ๗.๔ สร้างเครอ่ื งมือ แบบสังเกต /แบบสารวจความพึงพอใจ Google drive 7. เอกสารอ้างอิง /กฏหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 1. พรบ.ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบ้านเมืองท่ีดี. พ.ศ. ๒๕๔๖ ๒. พรบ.ข้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐
8 1. ชื่องาน งานบรหิ ารทั่วไป ๒. วัตถปุ ระสงค์ งานบรหิ ารทว่ั ไป นับวา่ เปน็ งานที่มคี วามสาคัญเปน็ ฟันเฟืองสาคัญขององค์กรท่คี รอบคลุมงาน สารบรรณ การรับ ส่ง หนังสือราชการ งานธุรการ การการออกคาสั่งมอบหมายงานในหน้าที่งานเลขานุการ งานการจดั ประชมุ คณะกรรมการ และการสอื่ สารองค์กร ๓. ขอบเขตของงาน ตามระเบยี บงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 งานสารบรรณ หมายถึง งานสารบรรณงานทเี่ ก่ยี วกับการ บรหิ ารงานเอกสาร เรมิ่ ตั้งแต่การจดั ทา การรับ การส่ง การเก็บรกั ษา การยมื จนถึงการทาลาย ๔. ขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน ๔.1 งานสารบรรณ ข้นั ตอนการปฏิบัติงาน 1. เจ้าหน้าที่สารบรรณ หรือธรุ การกลมุ่ ภารกจิ เข้าสูร่ ะบบสารบรรณอเิ ลคทรอนิคส์องคก์ ร หรือ รบั จากการสง่ ทางตรงหรือไปรษณยี ์ 2. ลงทะเบยี นรับ ทะเบียนคุมการสง่ รับผดิ ชอบ ระยะเวลากาหนดส่ง/รายงาน 3. วเิ คราะห์งานตามกรอบภารกิจกลุม่ งาน จัดส่งไปยงั กล่มุ ผ้รู ับผดิ ชอบ 4. เจ้าหนา้ ทีว่ ิเคราะห์หนงั สือ กาหนดกระบวนงานการปฏบิ ัตติ ามนัยแห่งหนังสือทเ่ี กยี่ วข้อง’ กับการปฏิบัติ สถาบนั การศึกษาทกุ แหง่ การศกึ ษาภาครฐั เอกชน รวมทงั้ การศึกษาตามอัธยาศยั 5. จัดทารา่ ง หรอื หนังสือราชการ ตามระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และท่ีแก้ไขเพิ่มเตมิ 6. จดั ทาบันทกึ เสนอด้วยระบบการเสนอหนังสือออนไลนต์ ามขั้นตอน ผ่านการกลั่นกรองจาก ผอ.กล่มุ รองศกึ ษาธิการจังหวัด 7. เสนอศกึ ษาธิการจงั หวัดลงนาม แจ้งขอความรว่ มมือในการประสานหนว่ ยงาน 8. จดั ส่งหนว่ ยงานตามกาหนด และตดิ ตามประสานการดาเนนิ งานดว้ ยกัลยาณมติ รกรณีทีต่ ้อง ขอความร่วมมอื จนแล้วเสร็จ 9. จดั เกบ็ เอกสารเขา้ แฟูมเรื่อง หรือสรุปรายงาน ๔.2 การจดั เกบ็ หนงั สือราชการ ขัน้ ตอนการปฏิบัติงาน 1. วเิ คราะห์หนงั สอื และระยะเวลาในการจัดเก็บ ให้สอดคล้องกบั ระเบยี บงานสารบรรณ การเกบ็ ระหวา่ งปฏิบตั ิ เกบ็ หลังดาเนินการเสรจ็
9 2. จัดระบบการจดั เก็บตามสภาพทีเ่ หมาะสมของสภาพสานักงานหรือสแกนจัดเกบ็ ไวใ้ นระบบ อิเลคทรอนคิ ส์ ๔.3 งานทาลายหนงั สือราชการ ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงาน 1. หลงั สิน้ ปีปฏิทนิ ภายใน 60 วนั ให้เจ้าหน้าที่หน่วยงานสารบรรณกลางแจ้งสารวจหนังสือ การเกบ็ หนังสือผ่านระบบฐานขอ้ มูล 2. จัดทาบัญชหี นังสือขอทาลาย เสนอคณะกรรมการทาลายหนงั สือของสานักงานศึกษาธกิ าร จงั หวัด 3. ส่งบญั ชหี นงั สือขอทาลายให้กองจดหมายเหตุแห่งชาติ 4. ดาเนนิ การทาลายหนังสือด้วยวธิ กี ารท่ีถูกต้องเหมาะสม ๔.4 งานมอบหมายงานในหนา้ ท่ี ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงาน 1. วเิ คราะห์บทบาทหน้าที่ตามมาตรฐานตาแหน่ง ตามบทบาทหนา้ ที่ในการดาเนนิ งานแต่ละ ตาแหน่งในสานักงานศึกษาธิการจังหวดั ท้ังนี้ คานงึ ถงึ ความสามารถเหมาะสม กรณีท่ดี ารงตาแหนง่ ใหม่ ผบู้ ังคบั บัญชาควรสนบั สนนุ ให้มีการพฒั นา เรียนรู้สง่ เสริมทักษะในการทางาน 2. กาหนดภาระหนา้ ท่ีสานักงานสานกั งานศึกษาธิการจังหวดั โดยยดึ ตามกรอบงานหลกั ตาม ประกาศที่หน่วยเหนือกาหนด 3. จัดทาคาสัง่ มอบหมายงาน และประชุมชแี้ จง ๔.5 การควบคุมการมาปฏิบตั ริ าชการและการลา ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. ผู้ประสงค์ขอยน่ื ใบลาเสนอขอผา่ นผ้อู านวยการกลุ่มท่ีตนสงั กดั ผา่ นรองศึกษาธิการและ ศกึ ษาธิการจังหวัดอนุมัติ 2. ผเู้ สนอขอนาใบลาท่ีผ่านการอนมุ ัติย่นื แจ้งเจ้าหนา้ ทว่ี นั ลาลงทะเบียนคุม 3. แจง้ ผลการลาใหผ้ ูเ้ สนอขอทราบ 4. เจา้ หน้าทล่ี งทะเบยี นคมุ วันลา ๔.6 การรักษาเวรยามรักษาการณ์ ขั้นตอนดาเนินงาน ๑. เจ้าหนา้ ท่จี ดั วนั อยเู่ วรรักษาการณ์ ในสดั ส่วนจานวนวนั ทป่ี ฏิบัติ ๒. เสนอออกคาสง่ั ตอ่ ศึกษาธกิ ารจงั หวัดลงนาม ๓. สาเนาแจ้งผปู้ ฏบิ ัติ ลงชอ่ื รับทราบการปฏบิ ัติ โดยเสนอศึกษาธกิ ารจงั หวัดแจง้ ผอ.กลุ่มดาเนินการแจง้ ๔. ผไู้ ด้รับแต่งตง้ั ดาเนินการตามคาสง่ั และบนั ทึกเหตกุ ารณ์ในสมุดบนั ทกึ การอยเู่ วร
10 ๕. ผตู้ รวจเวร ลงบันทกึ การอยู่เวร ๖. กรณไี ม่สามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ทไี่ ดใ้ ห้บนั ทกึ เสนอขอเปลี่ยนแปลง ตอ่ ศึกษาธกิ ารจังหวัด ๗. กรณสี านักงานศึกษาธกิ ารไม่ไดจ้ า้ งเหมาบรกิ าร ใหส้ านักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดดาเนินการ ตามแนวทางดังกลา่ ว ๕. ระเบียบกฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง ๕.๑ พระราชบัญญตั ิระเบยี บสานักนายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการรักษาความปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 5.2 พระราชบญั ญัติระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และท่ี แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ 5.3 พระราชบญั ญัติระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 5.4 พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และท่แี ก้ไข เพิม่ เติม
11 ๑. ชื่องาน การเบกิ เงิน ๒. วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้การเบิกเงนิ ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย ถูกตอ้ ง เป็นไปตามท่ี ระเบยี บกาหนด ๓. ขอบเขตของงาน การเบิกเงิน ตามระเบียบการเบกิ จ่ายเงินจากคลงั การเก็บรักษาเงนิ และการนาเงนิ สง่ คลงั พ.ศ.2551 งานการเงนิ มีหนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบดงั ต่อไปนี้ 1. จดั ทาเอกสารและหลักฐานการจ่ายเงนิ งบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ เงินรับฝาก ดาเนนิ การด้านการเงนิ การเบิกเงนิ การจ่ายเงนิ การเก็บรักษาเงิน การนาฝากเงนิ การนาเงินส่งคลัง การถอน เงิน และการโอนเงิน ของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีเกี่ยวข้อง 2. รับและเบิกจ่ายเงนิ ตรวจสอบ รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวนั ของสานักงานศกึ ษาธกิ ารให้เปน็ ไป ตามระเบียบ 3. ควบคมุ การเบิกจ่ายเงินให้เปน็ ไปตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 4. เกบ็ รกั ษาเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ ไวเ้ พ่ือการตรวจสอบและดาเนินการทาลายเอกสารตาม ระเบยี บ 5. ใหค้ าแนะนา ชแี้ จงและอานวยความสะดวกแกบ่ คุ ลากรในสานักงานศึกษาธิการจังหวัดเกย่ี วกบั การเบกิ -จ่ายให้ถกู ต้องตามระเบยี บท่เี ก่ยี วข้อง 6. ประสานงานและให้ความรว่ มมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก 7. จัดทาปฏทิ ินการปฏบิ ัตงิ าน เสนอโครงการและรายการปฏบิ ัตงิ านตามลาดบั ข้ัน 8. ดแู ล บารุงรกั ษา และรบั ผิดชอบทรพั ยส์ ินของสานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั 9. ปฏิบัตงิ านอื่นตามท่ไี ด้รับมอบหมาย ๔. ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน 4.1 ไดร้ บั จดั สรรเงนิ ประจางวด 4.2 รบั แจ้งโอนเงนิ งบประมาณ ตรวจสอบเงินในระบบ GFMIS ลงทะเบยี นคมุ เงนิ ประจางวด 4.3 รับหลกั ฐานและเอกสาร/เอกสารทางการเงินจากงานพสั ดุและกลุม่ งานในสานักงานศึกษาธิการ 4.4 ตรวจสอบหลกั ฐานและเอกสาร ประกอบการเบิกจา่ ย เสนอขออนุมตั จิ ากศึกษาธกิ ารจงั หวัด 4.5 ลงทะเบียนคุมเอกสารขอเบิกในระบบ / ทะเบียนคุมลูกหน้ี / ทะเบยี นคุมงบประมาณ ฯลฯ 4.6 ดาเนนิ การเบกิ เงนิ ในระบบ GFMIS 4.7 ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบญั ชีของสานักงานศึกษาธิการจังหวดั 4.8 เขียนเชค็ เสนอ หรือ KTB Corporate Online อนุมัติจา่ ยเงิน ให้กับผมู้ ีสิทธริ ับเงิน 4.9 กรณไี ม่จ่ายตรง ส่งั จา่ ยเชค็ ใหก้ บั ห้าง / รา้ น / บริษัท หรือผมู้ ีสทิ ธิ 4.10 รวบรวมหลักฐานและเอกสาร ประกอบการเบิกจ่าย/ใบสาคัญ ส่งให้เจา้ หน้าท่ีบัญชี
12 บันทึกรายการ 4.11 จดั ทารายงานรับจ่ายเงนิ พรอ้ ม งบเดือน 4.12 เกบ็ หลกั ฐานทางการเงนิ ๕. Flow Chart ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน การเบิกเงิน รับหลกั ฐานเอกสารและบนั ทึก ทะเบียนคุมหลกั ฐานขอเบิก ตรวจสอบหลกั ฐานขอเบิก/ ตรวจสอบงบประมาณที่ไดร้ ับจดั สรร ไมถ่ ูกต้อง จดั ทางบหนา้ รายการขอเบิกและ บนั ทึกขออนุมตั ิเบิก ถูกตอ้ ง ศธจ.หรือผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมายอนุมตั ิ บนั ทึกรายการวางเบิกใน พิมพร์ ายงานขอเบิกเงิน ทะเบียนคุมฯบนั ทึกขอเบิกระบบ GFMIS จากระบบ GFMIS กรมบญั ชีกลางอนุมตั ิการเบิก กรณีการเบิกเงินประเภทใดซ่ึงโดย ลกั ษณะจะตอ้ งจ่ายประจาเดือนในวนั ตรวจสอบการโอนเงินเขา้ บญั ชีและ สิ้นวนั ทาการสิ้นเดือนใหส้ ่วนราชการ จ่ายเงินใหแ้ ก่ผมู้ ีสิทธิ ส่งคาขอเบิกเงินภายในวนั ที่สิบหา้ ของ เดือนน้นั หรือตามท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด
13 ๖. แบบฟอร์มที่ใช้ ๖.๑ แบบฟอร์มท่ีกระทรวงการคลงั กาหนด ๖.๒ ทะเบียนคมุ หลักฐาน ๗. เอกสารอา้ งองิ /กฏหมายที่เก่ยี วข้อง 7.1 พระราชบัญญัติวนิ ัยการเงนิ การคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 7.2 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนาเงนิ สง่ คลงั (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ 2561 7.3 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2554 7.4 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบกิ จ่ายคา่ ใช้จ่ายในการบรหิ ารงานของส่วนราชการ พ.ศ. 2553 7.5 ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550 7.6 พระราชกฤษฎกี าเงินสวสั ดิการเกย่ี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ.2553 7.7 พระราชกฤษฎกี าค่าใชจ้ า่ ยเดนิ ทางไปราชการ (ฉบับท่ี 9) 7.8 พระราชกฤษฎกี าค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบบั ท่ี 8 พ.ศ. 2553) ๗.9 ระเบยี บการเบิกจา่ ยเงินจากคลงั การเกบ็ รักษาเงินและการนาเงนิ ส่งคลงั พ.ศ. 2551
8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ช่อื งาน การเบิกเงิน มาตรฐานคุณภาพงาน : การเบกิ เงิน เรียบร้อย ถกู ต้อง เป็นไปตามขนั้ ตอนที่ระเบียบกา ตวั ชวี้ ัดท่สี าคญั ของกระบวนงาน : ร้อยละการปฏิบตั ทิ ่ีถกู ต้องของขนั้ ตอนการเบกิ เงินตา ลาดับท่ี ผังขัน้ ตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน 1 รับหลกั ฐานขอเบิกและบนั ทกึ ทะเบียน 2 ตรวจสอบหลกั ฐานขอเบิก/ตรวจสอบง จดั สรร 3 จดั ทางบหน้ารายการขอเบิกและบนั ทกึ 4 ศกึ ษาธิการจงั หวดั อนมุ ตั ิ 5 ถูกต้อง บนั ทกึ ทะเบียนคมุ การวางเบิกบนั ทกึ แ GFMIS 6 กรมบญั ชีกลางอนมุ ตั กิ ารจา่ ยและโอน ศกึ ษาธิการจงั หวดั 7 ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบญั ชีและจา่
14 าหนด เวลา ผู้รับผดิ ชอบ หมายเหตุ ามที่ระเบียบกาหนด ดาเนินการ เจ้าหน้าท่ีการเงิน น เจ้าหน้าที่การเงิน ระยะเวลาอาจ 3 นาที เปล่ยี นแปลง นคมุ หลกั ฐานขอเบิก เจ้าหน้าที่การเงิน ได้ตามความ งบประมาณทไ่ี ด้รับ 1 วนั เหมาะสมและ เจ้าหน้าท่ีการเงิน ปริมาณงานท่ี กขออนมุ ตั ิเบิกเงิน 1 วนั เจ้าหน้าที่การเงิน ได้รับ และขอเบิกเงินในระบบ 1 วนั 10 นาที นเงินเข้าบญั ชีสานกั งาน 2-3 วนั ทาการ เจ้าหน้าท่ีการเงิน ายเงินให้กบั ผ้มู สี ิทธิ์ 1 วนั เจ้าหน้าท่ีการเงิน
15 1. ช่อื งาน การจ่ายเงิน 2. วตั ถุประสงค์ เพอื่ ให้การจา่ ยเงนิ ของสานักงานศึกษาธกิ าร เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ถูกต้อง เปน็ ไปตามท่ี ระเบียบการเบิกจา่ ยเงนิ จากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 3. ขอบเขตของงาน 3.1 จา่ ยเงินเป็นเชค็ 3.2 การจ่ายเงนิ กรณีโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารของผู้มีสิทธิ 3.3 การจ่ายตรงผู้ขาย 3.4 ผ่านระบบ KTB Corporate Online ๔. ข้นั ตอนปฏิบัติงาน 4.1 การจ่ายเปน็ เช็ค 4.1.1 ตรวจสอบกรมบัญชกี ลางโอนเงินเขา้ บัญชีธนาคารสานกั งาน 4.1.2 จดั ทารายละเอียดการจ่ายเงนิ ใหเ้ จ้าหนห้ี รือผมู้ สี ิทธิ 4.1.3 เขยี นเชค็ สงั่ จ่ายใหก้ ับผูม้ สี ิทธิ 4.1.4 จดั ทาทะเบียนคุมเช็ค 4.1.5 เสนออนมุ ตั แิ ละลงนามสัง่ จา่ ยเชค็ 4.1.6 จ่ายเชค็ หรือโอนเงนิ ให้กบั ผมู้ สี ทิ ธิรับเงิน 4.1.7 แจง้ การโอนเงินใหผ้ ู้มสี ิทธิรบั เงิน 4.1.8 เก็บรวบรวมหลักฐานเอกสารการจ่ายเงินสง่ งานบัญชี 4.2 การจา่ ยเงนิ โอนเงินเข้าบัญชี 4.2.1 ตรวจสอบกรมบัญชกี ลางโอนเงนิ เข้าบัญชีธนาคารสานกั งาน 4.2.2 จดั ทารายละเอยี ดการจ่ายเงนิ ให้เจ้าหนีห้ รอื ผ้มู สี ิทธิในโปรแกรมทธ่ี นาคาร กาหนด 4.2.3 เขยี นเช็คสัง่ จ่ายให้กับธนาคาร 4.2.4 จดั ทาทะเบียนคุมเช็ค 4.2.5 เสนออนุมัตแิ ละลงนามสง่ั จ่ายเช็ค 4.2.6 แจ้งธนาคารโอนเงินให้กับผู้มีสิทธริ บั เงนิ 4.2.7 แจง้ การโอนเงนิ ใหผ้ ้มู ีสทิ ธริ ับเงิน 4.2.8 เก็บรวบรวมหลักฐานเอกสารการจา่ ยเงินส่งงานบัญชี
16 4.3 การจ่ายตรงผู้ขาย เมอ่ื ไดด้ าเนนิ การจัดซอ้ื จัดจ้างท้งั ผา่ นระบบ e-GP กรณียอดเกนิ 5,000 บาท หรือไม่ผ่าน ระบบ E-GP กรณยี อดไมเ่ กิน 5,000 บาท 4.3.1 ดาเนนิ การจัดทาสญั ญา/ใบสงั่ ซื้อ/สงั่ จ้าง 4.3.2 ผ้คู า้ ลงทะเบยี นเป็นผู้ค้าภาครฐั กับกรมบญั ชีกลาง 4.3.3 จดั ทาขอ้ มลู หลกั ผู้ขายกับคลังจงั หวัด (ในส่วนภมู ภิ าค) หรือ กรมบัญชกี ลาง (ในสว่ นกลาง) 4.3.4 จดั ทารายละเอียดขอเบกิ เงิน 4.3.5 อนมุ ตั ใิ ห้ดาเนนิ การเบกิ จ่าย 4.3.6 บันทกึ การเบิกเงนิ ผา่ นระบบ GFMIF โดยวิธจี า่ ยตรงผขู้ ายคูส่ ญั ญา 4.3.7 ตรวจสอบเงินเขา้ บัญชีผู้ขาย ในระบบ GFMIF 4.4 การจ่ายเงนิ ผา่ นระบบ KTB Corporate Online 4.4.1 เอกสารประกอบการเบิกจา่ ยไดร้ ับอนมุ ัตจิ ากผู้มีอานาจ 4.4.2 วางฎีกาเบิกเงนิ ผา่ นระบบ GFMIF เขา้ บญั ชีหน่วยงาน 4.4.3 เม่อื เงนิ เข้าบญั ชหี น่วยงานเรยี บร้อยแล้ว เจา้ หน้าท่ีการเงินจดั ทารายละเอยี ดจ่ายเงิน ในรูปแบบ EXCEL 4.4.4 เขา้ โปรแกรม KTB เพื่อแปลงไฟล์ (Extract file) จาก Excel file เปน็ Txt 4.4.5 เขา้ โปรแกรม KTB Corporate Online
17 ๕. Flow Chart การปฏิบัติงาน การจ่ายเงนิ ตรวจสอบการโอนเงินเขา้ บญั ชีธนาคาร ในทะเบียนฯ จดั ทารายละเอียดการจ่ายเงิน/ ผา่ นระบบ KTB Corporate Online เขียนเชค็ สงั่ จ่ายและบนั ทึกทะเบียนคุมเชค็ ไม่ถกู ต้อง เสนอ ศธจ. อนุมตั ิ ถูกตอ้ ง หรือผไู้ ดร้ บั มอบหมายจ่ายเงินผา่ นระบบ KTB Corporate Online และลงนามสง่ั จ่ายเช็ค จ่ายเชค็ /โอนเงินใหแ้ ก่เจา้ หน้ี/ ผมู้ ีสิทธิรับเงิน แจง้ การโอน/จ่ายเงินใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี/ผมู้ ีสิทธิ จดั ส่งทะเบียนคุมการจ่ายเชค็ และหลกั ฐานการจ่ายใหก้ บั จนท.บญั ชี
18 ๖. แบบฟอร์มทใ่ี ช้ 6.1 ใบเสรจ็ รบั เงินหรอื ใบสาคญั รับเงนิ หรือใบรบั รองการจา่ ยเงิน หรือเอกสารอื่นใดท่ี กระทรวงการคลงั กาหนด ๗. ระเบยี บหนังสอื สง่ั การ พรบ. ท่เี กย่ี วขอ้ ง 7.1 พระราชบัญญตั วิ นิ ยั การเงนิ การคลงั ของรัฐ พ.ศ. 2561 7.2 ระเบยี บการเบิกจ่ายเงินจากคลงั การเกบ็ รักษาเงินและการนาเงนิ สง่ คลงั (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561 7.3 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบิกจ่ายคา่ ใช้จ่ายในการบรหิ ารงานของส่วนราชการ พ.ศ.2553 7.4 พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบบั ที่ 8 พ.ศ. 2553) ๗.5 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเกบ็ รักษาเงินและการนาเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551
8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชอ่ื งาน การจ่ายเงิน มาตรฐานคุณภาพงาน : การจ่ายเงิน เรยี บร้อย ถกู ต้องตามขั้นตอนท่ีระเบียบกาหนด ตวั ชี้วดั ที่สาคัญของกระบวนงาน : รอ้ ยละการปฏิบัตทิ ี่ถกู ตอ้ งของขั้นตอนการจา่ ยเงนิ ต ลาดับที่ ผงั ขน้ั ตอนการดาเนินงาน รายล 1 ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบ ศึกษาธิการจังหวดั 2 จัดทารายละเอียดการจ่ายเ 3 ไม่ถกู ต้อง Corperate Online / เขยี 4 ทะเบยี นคุมเชค็ เสนอ ศธจ.หรือผู้ทไี่ ด้รบั มอ ผา่ นระบบ KTB Corperat ถูกต้อง จา่ ยเช็ค/โอนเงนิ ให้แกเ่ จ้าห 5 แจง้ การโอน/จา่ ยเงนิ ให้แก 6 จดั สง่ ทะเบยี นคุมการจา่ ยแ เจา้ หนา้ ทบี่ ัญชี
19 ตามทรี่ ะเบียบกาหนด เวลาดาเนินการ ผรู้ ับผิดชอบ หมายเหตุ ละเอยี ดงาน 10 นาที เจ้าหนา้ ที่การเงนิ ระยะเวลาอาจ บัญชธี นาคารของสานักงาน เปลี่ยนแปลง เจ้าหน้าทก่ี ารเงิน ได้ตามความ เงนิ ผา่ นระบบ KTB 1 วัน เหมาะสมและ ยนเช็คสง่ั จ่ายและบนั ทกึ 1 วนั ปริมาณงานทไ่ี ด้รบั อบหมายเพ่ืออนมุ ัตกิ ารจา่ ยเงนิ เจา้ หนา้ ที่การเงิน te Online / ลงนามสง่ั จา่ ยเชค็ หนี/้ ผมู้ สี ทิ ธิรบั เงนิ 1 วนั เจ้าหน้าทก่ี ารเงิน กเ่ จ้าหน้ี/ผมู้ ีสทิ ธิรับเงนิ 1 วนั เจ้าหน้าที่การเงิน และหลกั ฐานการจา่ ยให้ 30 นาที เจา้ หนา้ ท่กี ารเงนิ
20 ๑. ชื่องาน การยืมเงนิ ๒.วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ใหก้ ารยมื เงนิ ของสานักงานศกึ ษาธิการเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย ถกู ต้องตามข้ันตอน ๓. ขอบเขตของงาน การยมื เงิน ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงนิ จากคลัง การเก็บรกั ษาเงินและการนาเงนิ สง่ คลัง พ.ศ. 2551 (และแก้ไขเพ่ิมเตมิ ) ๔. ขัน้ ตอนปฏบิ ตั ิงาน ๔.๑ รับเอกสารการยืมเงิน (บันทกึ สัญญายมื เงิน โครงการ ฯลฯ) ๔.๒ ตรวจสอบรายการทข่ี อยืม และแหล่งเงนิ งบประมาณ ๔.๓ เสนอขออนุมตั ิต่อศึกษาธิการจงั หวัด ๔.๔ ลงทะเบยี นคมุ ลูกหนี้เงนิ ยืม ๔.๕ กรณยี มื เงินราชการบนั ทึกการขอเบิกเงินในระบบ GFMIF ๔.6 ตรวจสอบเงนิ โอนจากกรมบญั ชกี ลางเขา้ บัญชีส่วนราชการ ๔.7 จ่ายเงนิ ให้ผู้ยมื เงิน - กรณียืมเงินทดรองราชการเขยี นเช็คสั่งจ่าย - กรณียืมเงนิ งบประมาณเขยี นเชค็ สง่ั จ่าย หรอื KTB Corporate Online ๔.8 รวบรวมเอกสารลงบญั ชี 4.9 ตรวจสอบเอกสารเสนอขออนมุ ัติลกู หน้เี งินยืมส่งใชห้ ลกั ฐานเปน็ ใบสาคัญหรือเงนิ สด 4.10 บันทึกการรับคนื พร้อมทงั้ ออกใบรบั ใบสาคัญหรือใบเสรจ็ รบั เงิน 4.11 รวบรวมเอกสารสง่ เจ้าหนา้ ที่บญั ชี 4.12 ลูกหนีส้ ่งหลักฐาน/เงนิ สดเหลอื จ่าย จนท.ตรวจสอบเอกสารขออนุมตั ิ บันทึกการรบั คืนและออก ใบรับใบสาคัญ/ใบเสร็จรบั เงิน
21 ๕. Flow Chart ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ผขู้ อยมื เงิน รบั เอกสารขออนุมัติเงินยืม ไมถ่ ูกตอ้ ง จนท.ตรวจสอบรายการที่ขอยมื เสนอขออนุมัติยืม ต่อ ศธจ. ถูกต้อง ออกเลขทะเบียนคุมสญั ญาการยมื เงิน บนั ทึกรายการขอเบิกในระบบ GFMIF ตรวจสอบการโอนเงินจากกรมบญั ชีกลางเขา้ บ/ช ของ สนง.ศธจ. หรือผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย จ่ายเงินใหก้ บั ผยู้ มื เงินผา่ นระบบ KTB Corporate Online / เขียนเช็คโอนเขา้ บญั ชี รวบรวมเอกสารหลกั ฐานการเบิกจ่ายส่งเจา้ หนา้ ที่บญั ชี ลูกหน้ีส่งหลกั ฐาน/เงินสดเหลือจา่ ย จนท.ตรวจสอบเอกสารขอ อนุมตั ิ บนั ทึกการรับคืนและออกใบรับใบสาคญั /ใบเสร็จรับเงิน จนท.การเงินบนั ทึกการรับคืน พร้อมออกใบรับใบสาคญั / ใบเสร็จรับเงิน จดั ส่งหลกั ฐานการจ่ายใหเ้ จา้ หนา้ ที่บญั ชี
22 ๖. แบบฟอร์มทีใ่ ช้ 6.1 บนั ทกึ ขออนมุ ัติการยืมเงิน และประมาณการยมื เงิน 6.2 สญั ญาการยืมเงนิ 6.3 ทะเบยี นคมุ ลูกหนี้เงนิ ยืมราชการ 6.4 ใบรับใบสาคญั 6.5 ใบเสรจ็ รบั เงนิ 7. ระเบยี บหนงั สือสั่งการ พรบ. ท่เี ก่ียวขอ้ ง 7.1 พระราชบญั ญตั ิวินัยการเงนิ การคลังของรฐั พ.ศ. 2561 7.2 ระเบยี บการเบกิ จ่ายเงินจากคลัง การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาเงนิ ส่งคลงั (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561 7.3 ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบกิ จ่ายค่าใช้จ่ายในการบรหิ ารงานของส่วนราชการ พ.ศ.2553 7.4 พระราชกฤษฎกี าคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (แก้ไขเพ่ิมเตมิ ถึงฉบบั ท่ี 8 พ.ศ. 2553) ๗.5 ระเบียบการเบกิ จา่ ยเงนิ จากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนาเงินสง่ คลัง พ.ศ. 2551
8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชื่องาน การยมื เงนิ มาตรฐานคณุ ภาพงาน : การยมื เงิน เรียบร้อย ถูกตอ้ ง เป็นระบบตามขั้นตอนทรี่ ะเบียบกาหนด ตัวชว้ี ัดที่สาคัญของกระบวนงาน : ร้อยละการปฏบิ ัตทิ ถี่ กู ตอ้ งของข้ันตอน การยมื เงิน เป็นระบบตามทีร่ ะเบียบ ลาดับท่ี ผังข้ันตอนการดาเนินงาน 1 ผ้ขู อยืมเงนิ รบั เอกสารการขออนุมตั ิเงนิ ยืม 2 ตรวจสอบรายการที่ขอยืมเงิน 3 ไม่ถกู ต้อง ถูกต้อง เสนอขออนมุ ตั ิการยืมเงิน ตอ่ ศึก 4 ออกเลขทะเบียนคมุ สญั ญาการยมื 5 บันทกึ รายการขอเบกิ เงินในระบบ 6 ตรวจสอบการโอนเงินจากกรมบัญ 7 จ่ายเงินใหก้ บั ผยู้ มื เงินตามสญั ญาผ โอนเงนิ เข้าบญั ชีผยู้ ืม 8 รวบรวมเอกสารหลกั ฐานการเบิก 9 เมื่อลูกหนส้ี ่งหลักฐาน/เงนิ สดเหล หลักฐานและเอกสารใบสาคัญ 10 เจ้าหนา้ ทีก่ ารเงินบนั ทกึ การรับคนื 11 จัดสง่ หลกั ฐานการจา่ ยใหเ้ จา้ หนา้
23 บกาหนด เวลาดาเนินการ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ รายละเอยี ดงาน 5 นาที เจ้าหน้าที่การเงิน ระยะเวลาอาจ เปลยี่ นแปลงได้ กษาธกิ ารจงั หวดั 20 นาที เจา้ หนา้ ที่การเงนิ ตามความ มเงิน เหมาะสมและ 1 วนั เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงิน ปรมิ าณงานท่ี 20 นาที ได้รับ เจา้ หนา้ ที่การเงิน บ GFMIS กรณียืมเงินราชการ 20 นาที เจา้ หนา้ ท่กี ารเงนิ ญชกี ลางเข้าบญั ชีของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด 20 นาที เจา้ หนา้ ทก่ี ารเงิน ผา่ นระบบ KTB Corperate Online /เชค็ สง่ั จ่ายผู้ยมื / 1 วนั เจ้าหนา้ ที่การเงิน กจา่ ยสง่ เจ้าหน้าที่บญั ชี 20 นาที เจา้ หน้าทก่ี ารเงิน ลือจา่ ย (ถา้ มี)เจ้าหนา้ ที่ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของ นพรอ้ มท้ังออกใบรบั ใบสาคญั /ใบเสร็จรบั เงนิ ตามระยะเวลาทร่ี ะบุ เจ้าหน้าที่การเงนิ าทบ่ี ัญชี ในสัญญา เจา้ หน้าที่การเงนิ 30 นาที เจา้ หน้าที่การเงนิ 30 นาที
24 ตัวอย่าง แนวทางการเบกิ เงิน การฝึกอบรม ขั้นตอนปฏิบตั งิ าน 1. รับหลกั ฐานขอเบิกและบนั ทกึ คมุ หลกั ฐานขอเบกิ ในทะเบยี นคุมหลกั ฐานขอเบิก 2. ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานขอเบกิ ประกอบดว้ ย 2.1 หนังสอื แสดงการอนุมตั โิ ครงการ/หลักสูตรทจี่ ดั ฝึกอบรม - กาหนดการฝึกอบรม - จานวนผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม - สถานทจี่ ดั อบรม 2.2 หนังสอื อนุมตั กิ ารใช้เงนิ 2.3 คาสัง่ แต่งตงั้ คณะกรรมการ 2.4 บัญชแี สดงการลงลายมือของผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม รวมท้งั ผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง 2.5 กรณกี ารจ่ายคา่ เชา่ ทีพ่ กั ตอ้ งแนบใบเสร็จรับเงนิ ค่าเชา่ ท่ีพัก พร้อมรายละเอยี ด 2.6 กรณีมีการจ่ายค่าอาหาร อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม ตอ้ งแนบใบเสร็จรบั เงิน หรอื ใบสาคัญรบั เงนิ และสาเนาบัตรประจาตัวผรู้ ับเงิน 2.7 กรณีมกี ารจา่ ยเงินคา่ พาหนะ ต้องแนบใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) และใบรับรองการจา่ ย (แบบ บก 111) 2.8 หลักฐานการจ่ายเงินอนื่ ๆ เช่น คา่ ตอบแทนวิทยากร ค่าลงทะเบียน คา่ ใช้จ่ายพธิ ีเปดิ ปิด เป็นตน้ หมายเหตุ หลกั ฐานขอเบกิ ทั้งหมดนจ้ี ะตอ้ งเปน็ ฉบับจรงิ 2.9 ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการอัตราการเบิกจ่ายเงนิ ตามทร่ี ะเบียบ กาหนด โดย - ตรวจสอบวา่ เป็นการจดั ฝกึ อบรมตามความหมายท่กี ระทรวงการคลังกาหนดหรอื ไม่ - ตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการฝกึ อบรมได้แก่ คา่ เช่าท่ีพัก (1) กรณีระดับการฝึกอบรมเป็นระดับต้น ระดับกลาง หรือบุคคลภายนอก จานวนผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมและเจา้ หนา้ ทผ่ี ูจ้ ดั การฝกึ อบรม เป็นชายครบคู่ หรือหญิงครบคู่ ใหจ้ ัดใหพ้ ักรวมกนั สองคนตอ่ หนงึ่ หอ้ ง (2) ตรวจสอบใบเสรจ็ เงนิ คา่ เชา่ ทีพ่ ัก วา่ เป็นผูม้ ีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม หรอื ไม่ วนั ที่เขา้ พกั สอดคลอ้ งกับช่วงเวลาทไ่ี ดร้ ับอนมุ ัติใหจ้ ดั ฝึกอบรม (3) ตรวจสอบอัตราการเบิกจ่ายคา่ เช่าทพ่ี กั เปน็ ไปตามมาตรการท่ี สานักงานปลดั กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารกาหนด 3.1 อัตราการเชา่ ท่พี กั 1. การอบรมประเภท ก - พักเดีย่ ว เบิกไดไ้ ม่เกินคนละ 2,400 บาท/วนั - พกั คู่ เบกิ ไดไ้ ม่เกินคนละ 1,300 บาท/วัน
25 2. การอบรมประเภท ข และบคุ คลธรรมดา - พกั เดี่ยว เบกิ ไดไ้ มเ่ กนิ คนละ 1,450 บาท/วนั - พักคู่ เบิกได้ไมเ่ กนิ คนละ 900 บาท/วนั 3.2 ค่าอาหาร/อาหารวา่ งและเครื่องดมื่ 3.2.1 ตรวจสอบการจัดมื้ออาหาร/อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื รวมทง้ั จานวนผูเ้ ขา้ รับ การฝึกอบรมและผ้ทู ีเ่ ก่ียวข้อง 3.2.2 ตรวจสอบอตั ราการเบิกจา่ ยเงินคา่ อาหาร/อาหารวา่ งและเคร่ืองดม่ื ถกู ตอ้ งตาม มาตรการท่ี สานักงานปลัดกระทรวงศึกษา กาหนด 3.2.3 อัตราคา่ อาหาร ทกุ ประเภทการอบรม 3.2.3.1 จัดฝึกอบรมในสถานท่ีราชการ - เบิกไดไ้ ม่เกนิ คนละ 200 บาท/ม้อื 3.2.3.2 จัดฝกึ อบรมในสถานท่ีเอกชน - จัดอาหารกลางวัน เบกิ ได้ไมเ่ กนิ มือ้ ละ 300 บาทตอ่ คน - จดั อาหารเย็น เบกิ ได้ไมเ่ กนิ ม้ือละ 350 บาทต่อคน 3.2.4 อตั ราคา่ อาหารว่างและเคร่อื งดื่ม ทกุ ประเภทการอบรม 3.2.4.1 จดั ฝึกอบรมในสถานท่รี าชการ - เบิกไดไ้ มเ่ กนิ คนละ 35 บาท/มือ้ 3.2.4.2 จัดฝกึ อบรมในสถานที่เอกชน - เบิกได้ไม่เกนิ ม้อื ละ 50 บาทต่อคน คา่ สมนาคุณวทิ ยากร ของบคุ ลากรในสังกดั สป.ให้เบิกได้เฉพาะวิทยากรต่างสานกั /หนว่ ยงานกบั ผู้จัดการฝึกอบรม กรณีมีความจาเป็นให้บุคลากรในสานักผู้จัดการฝึกอบรมเป็นวิทยากรให้ขออนุมัติหัวหน้าส่วน ราชการหรือผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมายเปน็ กรณี ๆ ไป 1. ตรวจสอบการขอเบิกเงินค่าสมนาคุณวิทยากรว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ การนับเวลาบรรยายถูกต้อง ตรงกับท่ีกาหนดในตารางการฝกึ อบรม (ไม่หักเวลารับประทานอาหารว่างและเคร่ืองด่ืม) และอัตราการจ่ายเป็นไป ตามท่กี ระทรวงการคลงั กาหนด หลกั เกณฑ์การจ่ายคา่ สมนาคณุ วิทยากร 1.1 ชั่วโมงการฝึกอบรมทล่ี ักษณะเปน็ การบรรยาย ให้จ่ายค่าสมานาคุณวทิ ยากรได้ ไมเ่ กนิ 1 คน 1.2 ชั่วโมงการฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการอภิปรายหรือสัมมนาเป็นคณะ ให้จ่ายค่าสมนาคุณ วทิ ยากรได้ไม่เกิน 5 คน โดยรวมถึงผดู้ าเนนิ การอภปิ รายหรือสัมมนาที่ทาหน้าทเ่ี ช่นเดียวกับวิทยากรดว้ ย 1.3 ชั่วโมงการฝึกอบรมทม่ี ีลกั ษณะเปน็ การแบง่ กลมุ่ ฝึกภาคปฏิบัติ แบง่ กลุม่ อภปิ รายหรอื สมั มนา หรือแบ่งกลุ่มทากิจกรรม ซ่งึ ได้กาหนดไวใ้ นโครงการหรือหลกั สตู รการฝกึ อบรมและจาเป็นต้องมวี ทิ ยากร ประจากลมุ่ ใหจ้ า่ ยคา่ สมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกินกลมุ่ ละ 2 คนชวั่ โมง การฝึกอบรมใดมวี ิทยากรเกินกว่าจานวนที่ กาหนดไวต้ ามขอ้ 1.1 และ 1.2 ให้เฉลย่ี จ่ายค่าสมนาคณุ วิทยากรไม่เกนิ ภายในจานวนเงินท่ีจา่ ยไดต้ ามหลักเกณฑ์ เพ่อื ประโยชน์ในการเบิกจา่ ยค่าสมนาคุณวทิ ยากร การนับชัว่ โมงการฝึกอบรมใหน้ ับตามเวลาทก่ี าหนดในตาราง การฝกึ อบรม โดยไมต่ ้องหักเวลาท่ีพักรับประทานอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม แตล่ ะชั่วโมงการฝึกอบรมต้องมี กาหนดเวลาการฝึกอบรมไมน่ ้อยกว่าห้าสบิ นาที กรณกี าหนดเวลาการฝึกอบรมไม่ถึงห้าสิบนาทีแต่ไมน่ ้อยกว่ายี่สิบ ห้านาทใี ห้เบิกจา่ ยค่าสมนาคุณวิทยากรไดก้ ่งึ หน่ึง
26 อตั ราค่าสมนาคุณวิทยากร (ก) วิทยากรท่ีเป็นบุคลากรของรัฐ ใหไ้ ดร้ บั ค่าสมนาคุณวทิ ยากรสาหรับการฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกนิ ชว่ั โมงละ 800 บาท และการฝกึ อบรมประเภท ข และบคุ คลภายนอก ไม่เกินชั่วโมงละ 600 บาท (ข) วทิ ยากรท่ีมใิ ช่บุคลากรของรัฐ ให้ได้รับคา่ สมนาคณุ วทิ ยากร ในการฝึกอบรมประเภท ก ไมเ่ กินชั่วโมงละ 1,600 บาท และสาหรบั การฝึกอบรมประเภทขและบคุ คลภายนอก ไมเ่ กินชั่วโมงละ 1,200 บาท (ค) กรณที ่ีจาเปน็ ตอ้ งใช้วทิ ยากรที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์เปน็ พิเศษเพ่ือ ประโยชน์ในการฝึกอบรมตามโครงการหรือหลักสูตรที่กาหนด จะให้วิทยากรได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรสูงกว่า อัตราทกี่ าหนดตาม (ก) หรอื (ข) ก็ได้ โดยใหอ้ ยใู่ นดุลพินิจของหวั หน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ 1.4 กรณจี ่ายเงินค่าสมนาคุณวิทยากรในจานวนสงู กว่าอัตราทก่ี าหนด ต้องมหี ลักฐานแสดง การอนมุ ัติจากผู้มีอานาจ 1.5 กรณจี า่ ยเงินคา่ ตอบแทนวิทยากรให้กับวิทยากรในสังกัดของหน่วยงาน ต้องมีหลักฐานการ อนุมตั ิจากผมู้ ีอานาจ คา่ เบ้ียเลย้ี ง - ตรวจสอบระยะเวลาต้ังแตอ่ อกจากทพี่ กั หรือสานักงาน จนกลบั ถงึ ทพ่ี กั หรือสานกั งาน - ตรวจสอบการเบกิ จา่ ยเงินค่าเบี้ยเลย้ี ง ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และอตั ราทีก่ ระทรวงการคลงั กาหนดแลว้ แตก่ รณี ดงั นี้ - กรณีมีการจัดเล้ียงอาหาร ให้นาจานวนเมื้ออาหารที่จัดมาหักออกจากค่าเบี้ยเลี้ยงตาม หลักเกณฑ์และอตั ราท่กี ระทรวงการคลังกาหนด - กรณีไม่จัดอาหาร การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยเล้ียงเป็นไปตามสิทธิท่ีกาหนดไว้ใน พระราชกฤษฎกี าคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และทีแ่ ก้ไขเพ่มิ เตมิ คา่ พาหนะ - ตรวจสอบการขอเบิกเงินค่าพาหนะให้เป็นไปตามสทิ ธิแห่งพระราชกฤษฎีกา คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แกไ้ ขเพ่ิมเติม เว้นแต่ค่าพาหนะในการเดินทางระหว่างวันท่ี เข้ารบั การฝึกอบรม ให้เบกิ เป็นคา่ พาหนะประจาทาง - กรณีใช้ยานพาหนะส่วนตวั ไปราชการ ต้องแนบหนังสืออนุมตั ิให้ใชย้ านพาหนะ สว่ นตวั 3. ตรวจสอบงบประมาณท่ไี ดร้ บั จัดสรร 4. ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานขอเบิกเงินค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ตามกฎหมาย ระเบียบ หนังสือส่ังการและแนวปฏิบัติท่ีกาหนด รวมทั้งตรวจสอบเงินประจางวด จากนั้นเสนอขออนุมัติเบิกจ่ายจากผู้มี อานาจ 5. จัดทาหน้างบและเอกสารขอเบกิ 6. บันทกึ รายการขอเบกิ เงินในระบบ GFMIS 7. บันทึกรายการวางเบกิ ในทะเบียนคมุ เอกสารขอเบิก 8. นาเอกสารหลักฐานขอเบิกและรายงานการวางเบกิ สง่ ใหเ้ จ้าหนา้ ที่ผู้เกีย่ วข้องดาเนินการต่อไป
27 กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง 1.ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชุมระหว่าง ประเทศ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕ 2.หนังสอื กระทรวงการคลงั ด่วนท่สี ุด ที่ กค 0409.6/ว 51 ลงวันที่ 18 มีนาคม 2548 เรื่อง การเบิก คา่ ลงทะเบียน 3. บันทึกข้อความ สานักอานวยการ กลุ่มบริหารการคลังและสินทรัพย์ ที่ ศธ 0201.5/2973 ลงวันท่ี 12 มนี าคม 2556 เรือ่ ง มาตรการประหยดั งบประมาณรายจา่ ยของ สป คา่ ตอบแทนการปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ ขน้ั ตอนและวิธีดาเนนิ การตรวจสอบและเบกิ จา่ ยเงนิ คา่ ตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา ดังนี้ 1. รบั หลักฐานขอเบกิ และบนั ทึกคมุ หลักฐานขอเบิกในทะเบียนคุมหลกั ฐานขอเบิกมใิ ห้หลกั ฐาน สูญหายสามารถกากบั ติดตามใหม้ ีการวางเบกิ โดยเรว็ และเป็นไปตามลาดบั ก่อนหลงั 2. ตรวจสอบความครบถว้ นถูกตอ้ งของหลักฐานประกอบการขอเบกิ ประกอบดว้ ย 2.1 ได้รับอนุมัติใหป้ ฏิบัติงานนอกเวลาราชการของหัวหนา้ ส่วนราชการหรือผู้ไดร้ บั มอบหมายโดย - ระบคุ วามจาเป็นทตี่ อ้ งปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการ - กาหนดระยะเวลาท่ีแนน่ อนในการปฏบิ ตั งิ าน - รายชื่อผู้ขอปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการ - มีการอนุมัติให้ปฏิบัติงานก่อนเวลาปฏิบัติงาน กรณีจาเป็นเร่งด่วนท่ีต้องปฏิบัติงานก่อนได้รับ อนมุ ตั ิให้แจ้งเหตุผลความจาเป็นทไ่ี มส่ ามารถขออนุมัติก่อนการปฏบิ ัตงิ านไวด้ ว้ ย 2.2 มีผูร้ บั รองการปฏิบตั ิงาน ตามที่ระเบยี บกาหนด 2.3 รายงานผลการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายใน 15 วัน นับจาก วันเสรจ็ สิ้นการปฏิบตั งิ าน 2.4 ตรวจสอบความถูกต้องของการเบิกเงนิ โดย 2.4.1 ตรวจสอบรายช่ือผู้ขอเบิกเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ต้องเป็นผู้ท่ี ไดร้ ับอนมุ ตั ิใหป้ ฏบิ ตั งิ านตามขอ้ 2.1 2.4.2 ระยะเวลาที่ขอเบิกค่าตอบแทนไม่เกนิ จากท่ไี ด้รบั อนุมัติ 2.4.3 เบิกคา่ ตอบแทนไมเ่ กินอตั ราที่ระเบียบกระทรวงการคลังกาหนด อตั ราค่าตอบแทนทีก่ ระทรวงการคลงั กาหนด - ปฏิบัติราชการนอกเวลาราชการในวันทาการ เบิกค่าตอบแทนได้ไม่เกินวันละ 4 ช่ัวโมง ในอัตรา ชัว่ โมงละ 50 บาท (วันละไมเ่ กิน 200 บาท) - ปฏิบัติราชการนอกเวลาราชการในวันหยุดราชการ เบิกค่าตอบแทนได้ไม่เกินวันละ 7 ช่ัวโมง ใน อตั ราช่วั โมงละ 60 บาท (วันละไมเ่ กิน 420 บาท) 2.5 ผู้ขอเบิกเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการต้องไม่เบิกเงินซ้าซ้อนกันการเบิก ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ การฝึกอบรม และประชุมราชการ เช่น ค่าเบี้ยเล้ียง ค่าเบี้ยประชุม หรือได้รับ คาสัง่ ใหอ้ ยู่เวรรกั ษาการ เปน็ ต้น 2.6 กรณปี ฏบิ ัติงานรว่ มกันหลายคน ให้ผปู้ ฏบิ ัตงิ านคนใดคนหน่งึ เป็นผู้รบั รองการปฏบิ ัติงาน 2.7 กรณีปฏิบตั ิงานคนเดียว ให้ตนเองเปน็ ผรู้ บั รอง
28 3. ตรวจสอบงบประมาณทีไ่ ดร้ ับจัดสรร 4. ตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานขอเบิกเงินค่าตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ตาม กฎหมาย ระเบยี บ หนงั สอื สั่งการและแนวปฏิบตั ทิ ก่ี าหนด รวมท้ังตรวจสอบเงินประจางวด จากนั้นเสนอขออนุมัติ เบิกจา่ ยจากผ้มู ีอานาจ 5. จัดทาหนา้ งบและเอกสารขอเบิก 6. บนั ทกึ รายการขอเบกิ เงนิ ในระบบ GFMIS 7. บันทึกรายการวางเบิกในทะเบียนคมุ เอกสารขอเบิก 8. นาเอกสารหลกั ฐานขอเบิกและรายงานการวางเบิกสง่ ให้เจ้าหนา้ ท่ีผเู้ ก่ียวข้องดาเนนิ การต่อไป กฎหมายที่เก่ยี วขอ้ ง 1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจ่ายเงินตอบแทนว่าด้วยการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 2. หนงั สือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค 0409.6/ว 436 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2550 เร่อื ง ซ้อมความเข้าใจวิธีปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ พ.ศ. 2550 3. บันทึกขอ้ ความ สานกั อานวยการ กล่มุ บรหิ ารการคลงั และสินทรพั ย์ ท่ี ศธ 0201.5/2973 ลงวนั ท่ี 12 มีนาคม 2556 เร่ือง มาตรการประหยดั งบประมาณรายจ่ายของ สป คา่ รักษาพยาบาล ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิงาน ผู้ขอรับเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลย่ืนคาขอเบิกเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล โดยใช้แบบ 7131 ท่กี ระทรวงการคลงั กาหนด วิธีตรวจเอกสารหลักฐานการขอรับเงินสวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล 1. เจ้าหน้าทต่ี รวจสอบใบเบิกเงินสวสั ดกิ ารเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาล (แบบ 7131) 1.1 ตรวจสอบวา่ มสี ิทธหิ รอื ไม่ โดยตรวจสอบจาก - ทะเบียนบ้าน หรือบัตรประจาตัวข้าราชการหรือบัตรอื่น ๆ ท่ีแสดงว่ามีสิทธิ ทะเบยี น - สมรส สตู ิบัตร หนงั สือรับรองบตุ ร กรณเี บกิ เงินให้กบั บคุ คลในครอบครวั ดูจาก - บดิ าทจ่ี ะไดร้ ับการช่วยเหลือเก่ียวกับการรักษาพยาบาลจากทางราชการจะต้องเป็น บิดาทีช่ อบดว้ ยกฎหมาย - ค่สู มรสที่ชอบดว้ ยกฎหมาย - บุตรชอบด้วยกฎหมาย เป็นไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จะได้รับสิทธิ ช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาลตั้งแต่เกิดตลอดจนกระทั่งบรรลุนิติภาวะ คือ การสมรส หรืออายคุ รบ 20 ปีบรบิ ูรณ์ - บตุ รที่เกิดแก่หญิงที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกับชายผู้เป็นสามี บุตรย่อมเป็นบุตรชอบ ดว้ ยกฎหมายของหญิง
29 2. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู ในแบบ 7131 โดยตรวจสอบจาก - ชื่อ – นามสกลุ ของผรู้ บั เงินหรอื บคุ คลในครอบครัวถกู ต้องหรอื ไม่ - ปุวยเปน็ โรคอะไรสามารถเบกิ จากทางราชการได้หรือไม่ - เข้ารบั การรกั ษาในสถานพยาบาลท่ีนามาเบกิ ไดห้ รือไม่ - วนั เดือน ปี ทเ่ี ข้ารบั การรักษา - จานวนเงินท่ขี อเบิก - จานวนเงนิ ในใบเสร็จรับเงิน - ลายมือชื่อผู้รับเงิน - ตรวจสอบใบเสร็จรับเงินและเอกสารหลักฐานที่นามาประกอบการขอเบิกเงิน สวสั ดิการคา่ รกั ษาพยาบาล 1) ช่ือสถานพยาบาลเป็นสถานพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลเอกชน 2) ใบเสร็จรบั เงิน มีชือ่ – นามสกลุ ของผู้ปวุ ยถูกต้องหรอื ไม่ 3) วนั ทีเ่ ขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล หากเกนิ 1 ปี ไม่สามารถนามาเบิกได้ โดยนับต้ังแต่ วันทที่ ลี่ งในใบเสร็จรับเงนิ 4) ตรวจรายการคา่ รักษาพยาบาลเบกิ ไดห้ รือไม่ 5) ตรวจจานวนเงนิ ท้งั ตัวเลขและตวั หนงั สือใหต้ รงกนั 6) มลี ายมือช่อื ของผรู้ ับผิดชอบของสถานพยาบาล 7) หากใบเสร็จรับเงินระบุว่าเบิกไม่ได้หรือเป็นยานอกบัญชีหลักต้องมีหนังสือรับรอง ยานอกบัญชหี ลัก โดยมคี ณะกรรมการแพทย์รบั รอง 3. เจา้ หน้าท่ผี ู้รับผิดชอบตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ถกู ต้อง 4. เจ้าหนา้ ที่ผรู้ บั ผิดชอบเสนอขออนมุ ัตผิ ู้บงั คับบัญชา 5. จัดทาหนา้ งบสรปุ ค่ารักษาพยาบาล 6. บันทกึ ในระบบ GFMIS 7. ตรวจสอบการโอนเงินจากกรมบัญชกี ลางเข้าบัญชีส่วนราชการ 8. จา่ ยเงินคา่ รกั ษาพยาบาลให้กับผ้ขู อเบกิ ระเบยี บกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง 1. พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเก่ียวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2553 2. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545 3. ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบิกจ่ายเงนิ สวสั ดกิ ารเกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาล (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2553 4. บนั ทกึ ขอ้ ความ สานกั อานวยการ กลุ่มบรหิ ารการคลงั และสนิ ทรพั ย์ ที่ ศธ 0201.5/2973 ลงวั วันที่ 12 มีนาคม 2556 เรอื่ ง มาตรการประหยัดงบประมาณรายจา่ ยของ สป
30 ๑.ชื่องาน การรับเงิน 2. วตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้การรบั เงินของสานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง เป็นไปตาม ขนั้ ตอนทร่ี ะเบยี บกาหนด 3. ขอบเขตของงาน การรับเงินท่ัวไป การรับเงินจากกรมบัญชีกลางและการเก็บรักษาเงิน ตามระเบียบการเบิกจ่ายเงิน จากคลงั การเก็บรักษาเงนิ และการนาเงนิ สง่ คลงั พ.ศ. 2551 4. ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน ๔.1 การรบั เงินทว่ั ไป ๔.1.1 เจา้ หน้าท่กี ารเงิน ออกใบเสรจ็ รบั เงนิ เม่อื ได้รับเงนิ สด หรือไดร้ ับการแจ้งการโอน เงนิ เขา้ บญั ชธี นาคาร ๔.๑.๒ เจา้ หนา้ ท่สี รุปการรับเงนิ โดยสลักหลงั สาเนาใบเสร็จรับเงนิ ฉบบั สุดท้าย เม่ือสนิ้ เวลา รบั เงินในวันนนั้ ๆ ๔.๑.๓ เจ้าหน้าที่จัดทารายงานเงินคงเหลือประจาวัน และมอบเงินสดและหรือเอกสารแทนตัว เงินให้คณะกรรมการเก็บรกั ษาเงิน ๔.๑.๔ เจา้ หนา้ ท่ีบันทึกเสนอผบู้ งั คับบัญชารบั ทราบการรับเงิน ๔.๑.๕ เจ้าหนา้ ทีม่ อบใบเสร็จรบั เงินให้เจา้ หนา้ ทบ่ี ัญชีเพือ่ บันทกึ รายการทางบัญชี และ ทะเบยี นที่เกีย่ วขอ้ ง ๔.๑.๖ บันทกึ รับเงนิ ในระบบ GFMIS ๔.2 การรับเงนิ จากกรมบัญชีกลาง ๔.2.1 เจา้ หนา้ ทตี่ รวจสอบรายการรับเงนิ ในระบบ GFMIS ๔.2.2 เจา้ หน้าท่ีบันทกึ ทะเบยี นคมุ ฎกี าเบกิ เงิน ๔.2.3 เจ้าหนา้ ท่บี ันทึกเสนอผบู้ ังคับบัญชารับทราบการโอนเงนิ และสงั่ การ ๔.2.4 เจ้าหน้าทีร่ วบรวมคูฉ่ บบั ฎีกา/รายงานขอเบกิ ส่งเจา้ หน้าท่บี ญั ชเี พ่ือบนั ทึก รายการทางบญั ชีและทะเบียนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
31 5. Flow Chart ขนั้ ตอนการดาเนินงาน การรบั เงินทัว่ ไป จนท.การเงนิ ออกใบเสร็จรบั เงนิ จนท.การเงินสรปุ การรบั เงนิ สลักหลงั สาเนาใบเสร็จ จัดทารายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวัน มอบเงนิ สดและหรือเอกสาร แทนตวั เงนิ ให้คณะกรรมการเก็บรกั ษาเงนิ ไมถ่ ูกต้อง บนั ทกึ เสนอผบู้ งั คับบญั ชารับทราบการ รบั เงนิ ถูกตอ้ ง จนท.การเงินมอบใบเสรจ็ รบั เงินให้ เจา้ หน้าท่บี ญั ชี บันทึกรับเงินในระบบ GFMIS
32 การรบั เงนิ จากกรมบัญชกี ลาง จนท.ตรวจสอบรายการรับเงิน ในระบบ GFMIS จนท.บันทึกทะเบยี นคุมฎีกาเบิกเงนิ จาก กรมบญั ชีกลาง ไม่ถูกตอ้ ง จนท.บนั ทกึ เสนอ ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด รับทราบการรับเงินและสั่งการ ถูกตอ้ ง จนท.รวบรวมคฉู่ บับฎกี า/รายงานขอเบกิ สง่ เจ้าหน้าที่บญั ชเี พอ่ื บนั ทกึ รายการทางบัญชี และทะเบยี นทีเกย่ี วข้อง 6. แบบพิมพท์ ่ีใช้ ๖.1 ใบเสรจ็ รบั เงนิ ของสานักงานศึกษาธิการจงั หวัด ๖.2 รายงานเงนิ คงเหลือประจาวนั ๖.3 รายงานการโอนเงนิ จากระบบ GFMIS ๖.4 รายงานทางการเงินของธนาคาร (E-Banking) ๖.๕ ทะเบยี นคุมเบิกเงนิ จากระบบ GFMIS ๖.๖ รายงานขอเบกิ เงนิ จากคลัง ๖.7 บันทึกข้อความ 7. เอกสาร/ หลกั ฐานอ้างอิง 7.1 พระราชบัญญตั วิ นิ ัยการเงนิ การคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 7.2 ระเบียบการเบิกจา่ ยเงนิ จากคลัง การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงนิ ส่งคลัง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 7.3 ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ.2553 ๗.4 ระเบยี บการเบิกจ่ายเงินจากคลงั การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงินสง่ คลัง พ.ศ. 2551
8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชือ่ งาน การรับเงนิ มาตรฐานคุณภาพงาน : การรับเงนิ เรยี บร้อย ถูกต้อง เป็นไปตามขนั้ ตอนทร่ี ะเบีย ตวั ช้วี ดั ท่ีสาคัญของกระบวนงาน : รอ้ ยละการปฏบิ ัตทิ ่ีถูกตอ้ งของข้ันตอนการรับเงิน ลาดับที่ ผงั ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน รายล 1 ออกใบเสรจ็ รับเงินเมื่อไดร้ บั เขา้ บัญชธี นาคาร 2 สรปุ การรบั เงินโดยสลักหลัง 3 เมอ่ื สน้ิ เวลารบั เงนิ ในวนั นัน้ 4 ไมถ่ กู ต้อง จดั ทารายงานเงินคงเหลอื ปร 5 เอกสารแทนตัวเงินใหค้ ณะก 6 บนั ทกึ เสนอผบู้ ังคบั บัญชาท ถกู ต้อง มอบใบเสรจ็ รับเงนิ ให้เจา้ หน บญั ชแี ละทะเบยี นทเี่ ก่ยี วขอ้ บนั ทกึ รับเงนิ ในระบบ GFM
33 ยบกาหนด เวลาดาเนนิ การ ผู้รับผิดชอบ หมายเหตุ น ตามทร่ี ะเบยี บกาหนด 3 นาที เจ้าหน้าทก่ี ารเงิน ระยะเวลาอาจ ละเอียดงาน เปลย่ี นแปลง บเงินสด หรือไดร้ ับแจง้ การโอนเงนิ 20 นาที เจา้ หน้าที่การเงิน ไดต้ ามความ 20 นาที เจ้าหนา้ ที่การเงิน เหมาะสมและ งสาเนาใบเสร็จรับเงนิ ฉบบั สุดทา้ ย ปรมิ าณงานที่ ๆ ได้รบั ระจาวนั และมอบเงนิ สดและหรอื กรรมการเก็บรักษาเงิน ทราบ 20 นาที เจา้ หน้าท่ีการเงิน นา้ ทบี่ ญั ชีเพื่อบันทกึ รายการทาง 10 นาที เจา้ หนา้ ท่กี ารเงิน อง 20 นาที เจา้ หนา้ ทบ่ี ัญชี MIS
34 ๑. ชื่องาน การเกบ็ รกั ษาเงิน 2. วตั ถุประสงค์ เพ่อื ให้การเกบ็ รักษาเงนิ เปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ถูกต้อง เป็นระบบตามขนั้ ตอนทร่ี ะเบียบ กาหนด 3. ขอบเขตของงาน การเก็บรักษาเงิน ตามระเบียบการเบกิ จ่ายเงินจากคลัง การเกบ็ รักษาเงนิ และการนาเงนิ สง่ คลงั พ.ศ. 2551 4. ขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน การเก็บรกั ษาเงิน ๔.1 เจา้ หน้าทก่ี ารเงินเสนอแต่งตัง้ คณะกรรมการเก็บรักษาเงนิ และเจ้าหนา้ ทตี่ รวจสอบ การรบั จ่ายเงนิ ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ๔.2 ศึกษาธกิ ารจังหวัดลงนามแต่งตงั้ ๔.3 เจ้าหน้าทีก่ ารเงินมอบกุญแจให้คณะกรรมการเก็บรกั ษาเงนิ ๔.4 เจ้าหนา้ ทกี่ ารเงินนาเงนิ และรายงานเงนิ คงเหลือประจาวัน ส่งมอบคณะกรรมการ เก็บรักษาเงนิ ตรวจสอบ ๔.๕ เจา้ หนา้ ที่การเงนิ นาเงินและเอกสารแทนตัวเงินเกบ็ รักษาในตู้นริ ภัย กรรมการฯ ลง ลายมอื ชื่อในรายงานเงินคงเหลือประจาวนั ๔.๖ เจา้ หนา้ ท่ีการเงนิ บันทึก เสนอ ศกึ ษาธิการจังหวดั เพื่อทราบ ๔.๗ วันทาการถัดไปคณะกรรมการเกบ็ รักษาเงนิ สง่ มอบเงินให้เจ้าหนา้ ทก่ี ารเงินรับไปจ่าย และลงลายมอื ชอื่ ในรายงานเงนิ คงเหลือประจาวนั
35 5. Flow Chart การปฏิบัตงิ าน การเกบ็ รักษาเงนิ เสนอแต่งต้ังคณะกรรมการเก็บรักษาเงินและ เจา้ หน้าท่ตี รวจสอบการรับจ่ายเงนิ ของ ศธจ. ศธจ.ลงนามแต่งตง้ั จนท. การเงินมอบกญุ แจใหค้ ณะกรรมการรักษาเงิน จนท.การเงนิ นาเงินและรายงานเงนิ คงเหลอื ฯ สง่ มอบ คณะกรรมการเก็บรักษาเงินตรวจสอบ จนท.การเงินนาเงนิ และเอกสารแทนตัวเงินเก็บรักษาในตู้นิรภยั กรรมการฯ ลงลายมือชอ่ื ในรายงานเงนิ คงเหลือประจาวัน วนั ทาการถดั ไปคณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ มอบส่งเงนิ ให้ จนท.การเงินรับไปจา่ ยและลงลายมอื ชือ่ ในรายงาน เงินคงเหลอื ประจาวนั 6. แบบพิมพ์ท่ใี ช้ ๖.1 รายงานเงนิ คงเหลอื ประจาวนั ๖.2 บนั ทกึ ข้อความ 7. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง ๗.1 ระเบยี บการเบิกจา่ ยเงินจากคลัง การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการนาเงินสง่ คลัง พ.ศ. 2551
8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชอ่ื งาน การเกบ็ รักษาเงิน มาตรฐานคณุ ภาพงาน : การเกบ็ รักษาเงนิ เรยี บรอ้ ย ถูกตอ้ ง เป็นไปตามขนั้ ตอนทรี่ ะเบยี บกาหนด ตัวช้ีวดั ท่สี าคญั ของกระบวนงาน : รอ้ ยละของการปฏบิ ัตทิ ่ีถกู ตอ้ ง ตามขน้ั ตอนการเกบ็ รักษาเงนิ ตามขั้นตอน ลาดับท่ี ผังขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน รายล 1 แต่งต้งั คณะกรรมการเกบ็ รักษาเงนิ และแตง่ ต 2 ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด ลงนามแตง่ ต้ัง 3 มอบกญุ แจใหค้ ณะกรรมการเก็บรักษาเงิน 4 ตรวจนับเงนิ สดคงเหลือและบันทกึ ในสมุดรา 5 นาเงินสดและสมดุ รายงานเงินสดคงเหลือปร ตรวจสอบ 6 นาเงนิ สดและเอกสารแทนตัวเงินเก็บรักษาใ 7 จดั ทารายงานเสนอศกึ ษาธกิ ารจังหวดั เพอ่ื ท 8 คณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงินลงลายมอื ชอ่ื บน 9 วันทาการถดั ไปคณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ เ ไปจ่าย และลงลายมอื ชอื่ ในรายงานเงินคงเห
36 นทรี่ ะเบียบกาหนด เวลาดาเนินการ ผู้รบั ผิดชอบ หมายเหตุ ละเอียดงาน 10 นาที เจ้าหน้าทกี่ ารเงนิ ระยะเวลาอาจ เปลีย่ นแปลง ตงั้ เจา้ หน้าทีต่ รวจสอบเอกสารการรับจ่ายเงนิ 20 นาที เจ้าหน้าทีก่ ารเงิน ได้ตามความ เหมาะสมและ ายงานเงนิ สดคงเหลอื ประจาวัน 20 นาที เจ้าหนา้ ที่การเงิน ปรมิ าณงานท่ไี ด้รับ 30 นาที เจ้าหนา้ ทก่ี ารเงนิ ระจาวนั สง่ มอบให้กบั คณะกรรมการเกบ็ รกั ษาเงนิ 30 นาที เจา้ หน้าทก่ี ารเงิน ในตูน้ ิรภัย 30 นาที ทราบ 20 นาที คณะกรรมการเก็บ รักษาเงนิ เจา้ หนา้ ทก่ี ารเงนิ นกระดาษปิดทบั 20 นาที เจา้ หนา้ ทีก่ ารเงิน เจ้าหนา้ ทีก่ ารเงนิ เปิดตนู้ ิรภยั และสง่ มอบเงินใหเ้ จา้ หน้าท่กี ารเงนิ รบั 20 นาที หลอื ประจาวัน
37 1. ช่ืองาน การนาเงินสง่ คลัง 2. วัตถุประสงค์ เพ่ือให้การนาเงนิ สง่ คลงั ของ สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ถูกต้อง เปน็ ระบบตามข้นั ตอนท่รี ะเบียบกาหนด 3. ขอบเขตของงาน การนาเงินสง่ คลงั และฝากคลงั ตามระเบียบการเบกิ จา่ ยเงนิ จากคลัง การเก็บรกั ษาเงนิ และการนาเงินส่งคลงั พ.ศ. 2551 4. ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน การนาเงนิ สง่ คลัง ๔.1 เจา้ หน้าท่กี ารเงินรับหลักฐานและจานวนเงินจากคณะกรรมการเกบ็ รักษาเงิน ๔.2 เจา้ หน้าท่ีการเงินตรวจสอบความถูกต้องของประเภทและจานวนเงนิ ที่นาส่ง ๔.3 เจา้ หน้าทก่ี ารเงนิ บนั ทึกเสนออนมุ ัตศิ ึกษาธิการจงั หวัด เพอ่ื นาเงินส่งคลงั ๔.4 ศึกษาธิการจังหวัดหรือผไู้ ด้รบั มอบหมายนาเงินสง่ คลังโดยนาฝากบัญชี กระทรวงการคลงั ทธ่ี นาคาร ๔.5 เจา้ หน้าท่ีการเงนิ มอบหลกั ฐานการนาส่งใหเ้ จา้ หนา้ ที่บญั ชีบนั ทกึ ในทะเบียนและ เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง
38 5. Flow Chart ข้ันตอนการดาเนนิ งาน การนาเงนิ สง่ คลัง เจ้าหนา้ ทกี่ ารเงินรับหลักฐานและ จานวนเงนิ จากคณะกรรมการเกบ็ รักษาเงิน เจา้ หนา้ ทกี่ ารเงินตรวจสอบความถูกต้อง ของประเภทและจานวนเงินท่ีนาสง่ ไม่ถูกตอ้ ง จนท.บันทกึ เสนออนุมัติ ถูกตอ้ ง นาเงนิ สง่ คลงั โดยนาเงนิ ฝากเขา้ บญั ชี กระทรวงการคลังทธ่ี นาคารกรงุ ไทยฯ มอบเอกสารหลกั ฐานการนาส่งเงนิ ให้ เจ้าหนา้ ที่บญั ชี บนั ทกี รายการ 6. แบบพมิ พ์ท่ีใช้ ๖.1 ใบนาส่งเงนิ ๖.2 ใบนาฝากเงนิ (Pay-in slip) 7. เอกสาร/ หลกั ฐานอา้ งอิง ๗.1 ระเบยี บการเบิกจ่ายเงินจากคลงั การเกบ็ รกั ษาเงินและการนาเงินสง่ คลัง พ.ศ. 2551 - หมวด 8 การนาเงนิ สง่ คลังและฝากคลัง
8. สรุปมาตรฐานกระบวนงาน ชื่องาน การนาเงนิ สง่ คลงั มาตรฐานคณุ ภาพงาน : การนาเงนิ สง่ คลงั เรียบรอ้ ย ถกู ต้อง เป็นระบบตามข้นั ต ตวั ช้ีวดั ทีส่ าคัญของกระบวนงาน : ร้อยละการปฏบิ ตั ทิ ี่ถกู ต้องของขั้นตอนการนาเ ลาดบั ท่ี ผังข้นั ตอนการดาเนนิ งาน ราย 1 รับหลกั ฐานและจานวนเง 2 ตรวจสอบความถูกต้องขอ 3 ไมถ่ กู ต้อง ทน่ี าส่ง 4 5 บนั ทึกเสนอขออนมุ ตั ิ ศึก ถกู ต้อง นาเงนิ ฝากธนาคารกรงุ ไท ตามประเภทการนาสง่ เงนิ มอบหลักฐานการนาสง่ เง ทางบญั ชี
39 ตอนท่รี ะเบยี บกาหนด เวลา ผ้รู บั ผิดชอบ หมายเหตุ เงนิ สง่ คลัง ตามท่รี ะเบียบกาหนด ดาเนนิ การ ยละเอียดงาน 10 นาที เจา้ หนา้ ที่การเงิน ระยะเวลาอาจ งินจากคณะกรมการเกบ็ รักษาเงนิ เจา้ หน้าที่การเงนิ เปลยี่ นแปลง 20 นาที เจ้าหน้าที่การเงิน ไดต้ ามความ องประเภทและจานวนเงนิ เหมาะสมและ 30 นาที ปรมิ าณงานท่ี กษาธกิ ารจงั หวัด นาเงนิ ส่งคลัง ได้รบั ทย หรอื ธนาคารตามทีข่ อตกลง 1 วัน เจา้ หนา้ ท่กี ารเงิน น งนิ ให้เจา้ หนา้ ท่บี ญั ชบี ันทกึ รายการ 20 นาที เจ้าหนา้ ท่บี ัญชี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160