98 ว 2.3 ม.3/13 , ม.3/15 (62) 30. ศึกษาเกย่ี วกบั แสง โดยใส่น้ำในตกู้ ระจกใส และฉายลำแสงใต้ผิวนำ้ ใหท้ ำมุมต่าง ๆ กับเส้นแนวฉาก เปล่ียนมุมของลำแสงจนกระทัง่ ไมเ่ หน็ ลำแสงผา่ นพน้ ผวิ น้ำ ผลการทดลองเปน็ ดังภาพท่ี 1 จากน้นั เปลีย่ นของเหลวเป็นนำ้ เกลอื ความเข้มขน้ 10% และ 20% พบว่า มุมท่ลี ำแสง เริ่มสะท้อนกลบั หมด เป็นดังภาพ ท่ี 2 และ 3 ตามลำดับ จากข้อมลู ขอ้ ความต่อไปน้ีถกู ต้องใชห่ รือไม่ ขอ้ ความ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ 30.1 จากภาพท่ี 1 มมุ 1 คือ มมุ ตกกระทบ มมุ 2 คือ มุมหักเห ใช่ / ไมใ่ ช่ 30.2 จากภาพท่ี 2 ถ้ามุมตกกระทบของลำแสงมีขนาดเล็กกวา่ มุมวิกฤต จะไม่พบลำแสงผ่านพน้ ผวิ น้ำ ใช่ / ไม่ใช่ 30.3 ถา้ เปลีย่ นของเหลวเปน็ นำ้ เกลือความเข้มข้น 15% จะมีมุมวกิ ฤต ขนาดใหญ่กว่ามุมวกิ ฤตของ ใช่ / ไมใ่ ช่ น้ำเกลือความเข้มขน้ 10% แตม่ ีขนาดเลก็ กวา่ มมุ วกิ ฤตของน้ำเกลือความเข้มข้น 20% ว 2.3 ม.3/15 (62) 31. วางวัตถไุ วห้ นา้ กระจกเวา้ หา่ งจากข้วั กระจก 20 เซนติเมตร เม่ือเขียนรังสขี องแสงจากวัตถุขนานกับแกนมุขสำคัญ แล้วตกกระทบกระจกเว้า พบว่า รงั สสี ะทอ้ นตัดผา่ นแกนมุข สำคัญที่ระยะห่างจากข้ัวกระจก 10 เซนตเิ มตร ดังภาพ กระจกเวา้ น้ีมีความยาวโฟกสั เทา่ ใด และภาพของวตั ถุมีขนาดเท่าใด เม่ือเปรยี บเทยี บกบั ขนาดของวัตถุ 1. 10 เซนตเิ มตร และ ขนาดเล็กกวา่ วตั ถุ 2. 10 เซนตเิ มตร และ ขนาดเทา่ วตั ถุ 3. 20 เซนตเิ มตร และ ขนาดเล็กกวา่ วตั ถุ 4. 20 เซนติเมตร และ ขนาดเท่าวัตถุ
99 ว 2.3 ม.3/17 (62) 32. เด็กชายเจใชก้ ลอ้ งโทรทรรศนป์ ระเภทหกั เหแสงสอ่ งดูกระจกุ ดาว A เมื่อเขาใชเ้ ลนส์ใกล้ตาท่มี ีความยาวโฟกัส 10 มิลลิเมตร และเลนส์ใกลว้ ตั ถท่มี ีความยาวโฟกัส 400 มลิ ลเิ มตร จะสังเกตเห็นกระจุกดาว A ประกอบด้วย ดวงดาว จำนวนมากมายและมีดวงดาวสว่างประมาณ 9 ดวง จากข้อมูล ถ้าเด็กชายเจต้องการสังเกตเหน็ รายละเอียดของกระจกุ ดาว 4 เพิม่ ข้นึ เขาควรใชเ้ ลนสใ์ กลต้ าและเลนส์ใกล้ วตั ถุท่ีมคี วามยาวโฟกัสใดต่อไปนี้ กาํ หนดให้ เลนสใ์ กลต้ าทง้ั สี่ช้ินมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากัน และเลนสใ์ กล้วตั ถทุ ้งั ส่ชี ิ้น มีขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง เทา่ กนั จงึ ให้พจิ ารณาจากความยาวโฟกสั ของเลนสเ์ ทา่ นนั้ ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา ความยาวโฟกสั เลนสใ์ กลว้ ตั ถุ (มลิ ลิเมตร) (มลิ ลเิ มตร) 1. 15 750 2. 20 800 3. 15 1,000 4. 40 1,200 ว 3.1 ม.3/3 (62) 33. ภาพแสดงตำแหน่งของโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ ขณะดวงจนั ทรโ์ คจรรอบโลกที่ตำแหนง่ ตา่ ง ๆ และทิศทางท่ี ดวงจันทรไ์ ด้รบั แสงจากดวงอาทิตย์ เป็นดงั น้ี กําหนดให้ ดวงจนั ทร์โคจรรอบโลกเป็นวงกลม หมายเหตุ ภาพไม่ได้สดั สว่ นตามความเปน็ จริง
100 จากข้อมูล ข้อสรปุ ต่อไปนถ้ี ูกตอ้ งใช่หรอื ไม่ ขอ้ ความ ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ 33.1 ในวันท่ีดวงจันทรโ์ คจรรอบโลกมาอยทู่ ตี่ ำแหนง่ B และตำแหนง่ D คนบนโลกจะ ใช่ / ไม่ใช่ สังเกตเห็นระดับน้ำทะเลข้นึ สูงสุดและลงตำ่ สุด ในท้ังสองวันดังกลา่ ว 33.2 ในวันทด่ี วงจันทร์โคจรรอบโลกมาอย่ทู ตี่ ำแหนง่ A จะมรี ะดับน้ำทะเลลงตำ่ กว่า ใช่ / ไมใ่ ช่ ในวนั ทด่ี วงจนั ทรโ์ คจรรอบโลกมาอยทู่ ่ีตำแหน่ง B 33.3 ในเดือนหน่งึ ถา้ วนั ท่ดี วงจันทรโ์ คจรรอบโลกมาอยทู่ ตี่ ำแหนง่ D ตรงกับวันท่ี 1 ใช่ / ไม่ใช่ ของเดือน วันที่ 8 ของเดือน จะเปน็ คืนจันทรเ์ พ็ญ ว 3.2 ม1/2 (62) 34. ทดลองเพอื่ ศึกษาความสัมพนั ธร์ ะหว่างอณุ หภมู แิ ละปรมิ าณไอน้ำอม่ิ ตวั ในอากาศ โดยวางขวดแก้วเปลา่ ขนาด เดียวกัน จำนวน 2 ใบ ไวใ้ นบริเวณเดียวกันเป็นเวลา 1 คืน แลว้ สังเกต ละอองนำ้ ในขวดแกว้ ทงั้ สองใบ พบวา่ ไมพ่ บ ละอองน้ำในขวดแก้วท้ังสองใบ จากนั้น ปิดปากขวดแก้วทั้งสองใบดว้ ยจุกยางเสยี บดว้ ยเทอรม์ อมเิ ตอร์ ดังภาพ แล้วนำขวดแก้ว ทงั้ สองใบไปวางไว้ใน พืน้ ท่ี 2 บรเิ วณ ท่มี ีอุณหภูมิต่างกนั เปน็ เวลาอีก 1 คนื สงั เกตละอองน้ำ ในขวดแก้วทงั้ สองใบ และบนั ทึกผลได้ดัง ตาราง จากข้อมลู เมอ่ื นำขวดแกว้ ทง้ั สองใบไปวางไว้ในพน้ื ท่ี 2 บรเิ วณ ทีม่ ีอุณหภมู ติ ่างกนั เป็นเวลาอีก 1 คนื แลว้ ข้อความใด ตอ่ ไปนี้ไม่ถูกต้อง ขวดแก้ว ผลการสังเกตละอองนำ้ ในขวดแก้ว A ไมพ่ บละอองนำ้ B พบละอองน้ำเลก็ ๆ เกาะอยู่ข้างขวดแกว้ และของเหลวท่กี ้นขวดแก้ว 1. อากาศในขวดแกว้ A มีอุณหภมู ิสงู กว่าอากาศในขวดแกว้ B 2. อากาศในขวดแกว้ A มีปริมาณไอน้ำอิม่ ตวั สงู กวา่ อากาศในขวดแกว้ B 3. อากาศในขวดแกว้ A มปี ริมาณไอน้ำในอากาศมากกวา่ ปริมาณไอน้ำอ่ิมตวั 4. อากาศในขวดแกว้ A มคี วามช้นื สมั พทั ธต์ ำ่ กว่าอากาศในขวดแก้ว B
101 ว 3.2 ม.2/5 (62) 35. พืน้ ท่บี ริเวณหนงึ่ มีโครงสรา้ งทางธรณีวิทยา ดงั ภาพ จากภาพ ข้อความใดตอ่ ไปนี้ไม่ถูกต้อง 1. หินอคั นี A จะมีเน้ือผลกึ ขนาดใหญก่ ว่าหนิ อคั นี C 2. บริเวณที่หินปนู สัมผัสกบั หินอัคนี C จะมีโอกาสพบหนิ อ่อน 3. ไม่มีโอกาสพบซากดึกดำบรรพใ์ นหินอัคนี B และหินอัคนี C 4. บรเิ วณท่หี ินทรายสัมผสั กบั หินอคั นี C จะมีโอกาสพบหนิ ควอรต์ ไซต์ ว 3.2 ม.2/6, ม.2/7 (62) 36. ขอ้ มูลแสดงปริมาณของอนภุ าคหลกั ของดนิ เหนยี ว เม็ดทรายแปง้ และเม็ดทราย ที่ใช้เป็นเกณฑ์ ในการจำแนกชนิดของดนิ เป็นดังนี้ ชนดิ ของดิน ปรมิ าณของอนภุ าคหลัก (ร้อยละโดยนำ้ หนัก) ดินเหนียว เมด็ ทรายแปง้ เมด็ ทราย เหนียวปนทรายแปง้ 40 - 60 40 - 60 0 - 20 ร่วนเหนียวปนทราย 20 -35 0 - 28 45 - 80 รว่ นเหนยี วปนทรายแป้ง 30 - 40 40 - 70 0 - 20 รว่ น 7 - 30 28 - 50 20 - 52 ร่วนปนทรายแป้ง 0 - 30 50 - 88 0 – 50
102 เกษตรกรคนหนง่ึ ต้องการเตรียมดินในแปลงเพาะปลกู สำหรบั ปลูกพืช A จึงนำตัวอยา่ งดิน มาวเิ คราะห์หาชนิดของดิน พบว่าเนื้อดินไมเ่ หมาะสมสำหรบั การปลกู พชื A เขาจึงได้ ปรบั ปรุงคุณภาพของดิน โดยนำดนิ ในแปลงเพาะปลูกมาผสม กับดินอีกชนิดหนง่ึ ในปรมิ าณ ทีเ่ ทา่ ๆ กัน เพอ่ื ปรับอัตราสว่ นปริมาณของอนุภาคหลกั ที่เป็นองคป์ ระกอบของดิน โดย ดนิ ในแปลงเพาะปลกู เดิมกบั ดินทนี่ ำมาผสมมปี ริมาณของอนุภาคหลักของดินแตล่ ะชนิด เปน็ ดังนี้ แหล่งของดิน ปรมิ าณของอนุภาคหลักต่อน้ำหนกั 100 กรัม ดินเหนียว เมด็ ทรายแปง้ เม็ดทราย ดินในแปลงเพาะปลูก 35 55 10 ดินที่นำมาผสม 5 5 90 จากข้อมูล ดนิ ในแปลงเพาะปลูกเดมิ เปน็ ดนิ ชนดิ ใด และดินทไ่ี ด้หลงั จากการปรบั ปรงุ คณุ ภาพ เปน็ ดินชนิดใด ตามลำดับ 1. ดินรว่ นเหนียวปนทรายแปง้ และ ดินร่วน 2. ดนิ ร่วนปนทรายแปง้ และ ดนิ เหนียวปนทรายแป้ง 3. ดนิ รว่ นปนทรายแป้ง และ ดินรว่ นเหนียวปนทราย 4. ดนิ รว่ นเหนียวปนทรายแป้ง และ ดนิ ร่วนปนทรายแป้ง ว 3.2 ม.2/8 (62) 37. พน้ื ทแ่ี หง่ หนึ่งมีบอ่ น้ำ 4 บอ่ โดยมภี าพตดั ขวางแสดงตำแหนง่ และความลึกของบ่อน้ำ ระดบั นำ้ ใตด้ นิ ชว่ งฤดฝู นและชว่ งฤดแู ล้ง เป็นดงั น้ี จากภาพ บ่อน้ำสองแห่งใดต่อไปน้ีที่มนี ำ้ ในฤดฝู น แต่นำ้ แห้งขอดในฤดูแลง้ 1. บอ่ น้ำ A และ B 2. บอ่ นำ้ A และ C 3. บ่อนำ้ B และ D 4. บ่อน้ำ C และ D
103 ว 3.2 ม.2/10 (62) 38. บา้ น 2 หลงั ต้งั อยรู่ ิมฝงั่ แม่นำ้ ซึ่งมลี ักษณะการไหลแบบคดเค้ยี วสายหนึ่ง โดยมขี ้อมลู ระยะหา่ ง จากริมตลงิ่ ของบ้านทงั้ สองหลัง เม่ือ 10 ปีทแี่ ลว้ และในปัจจบุ ันเป็นดังตาราง บา้ น ระยะหา่ งจากริมตลิ่ง (เมตร) เมอื่ 10 ปีท่ีแล้ว ในปจั จุบัน A 500 400 B 200 220 จากข้อมูล การระบุที่ตงั้ ของบ้าน และสาเหตุของการเปลย่ี นแปลงระยะห่างจากริมตล่ิง ในข้อใดต่อไปนีถ้ ูกตอ้ ง ทต่ี ้ังของบ้าน สาเหตขุ องการเปลยี่ นแปลง 1. บ้านหลงั A ต้ังอยบู่ รเิ วณฝง่ั โค้งดา้ นในของแม่น้ำ การกร่อนและการพาตะกอน 2. บ้านหลงั A ตั้งอย่บู รเิ วณฝง่ั โคง้ ด้านนอกของแม่นำ้ การพาและสะสมตวั ของตะกอน 3. บ้านหลัง B ต้งั อย่บู ริเวณฝั่งโค้งดา้ นในของแม่นำ้ การพาและสะสมตัวของตะกอน 4. บ้านหลัง B ตั้งอยู่บรเิ วณฝ่ังโค้งด้านนอกของแม่น้ำ การกร่อนและการพาตะกอน
104 เฉลย ขอ้ คำตอบ ขอ้ คำตอบ 1 4 26 4 2 4 27 3 3 1 28 3 4 2 29 4 5 ไมใ่ ช่-ไม่ใช่-ใช่ 30 ใช่-ไมใ่ ช่-ไมใ่ ช่ 6 4 31 2 7 2 32 1 8 2 33 ไม่ใช่-ใช่-ไมใ่ ช่ 9 4 34 3 10 3 35 1 11 4 36 1 12 4 37 3 13 2 38 3 14 1 39 - 15 3 40 - 16 2 41 - 17 1 42 - 18 ใช่-ไมใ่ ช่-ไม่ใช่ 43 - 19 1 44 - 20 4 45 - 21 4 46 - 22 1 47 - 23 3 48 - 24 1 49 - 25 2 50 -
105 ทีป่ รกึ ษา รายชอ่ื คณะทำงาน นายธนู อกั ษร นางกลุ ยา สอาดมว่ ง ศึกษาธิการจังหวัดสิงหบ์ ุรี นางประมวล ศรสี ุธรรมศกั ดิ์ ผ้อู ำนวยการกลมุ่ นิเทศ ติดตามและประเมินผล ศธจ.สงิ หบ์ ุรี นางสาววนิดา รองแก้ว ศึกษานเิ ทศก์ ชำนาญการพิเศษ ศธจ.สงิ ห์บุรี นายณฐั พล กองทอง นกั วิชาการ ชำนาญการ ศธจ.สงิ ห์บุรี ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการ ศธจ.สิงหบ์ ุรี คณะทำงาน ครโู รงเรียนพระกมุ ารเยซู สงิ หบ์ รุ ี นางสาวอธิชา ฉัตรยุทธนา ครโู รงเรยี นนาคประดิษฐว์ ิทยา นางพวงเงนิ นามเมอื ง ครูโรงเรียนสามคั คีวทิ ยา นางสาวสปุ ราณี เสือดาว ครูโรงเรียนอินโมลีประทาน นายประณต อินเจก๊ ครูโรงเรยี นอนิ โมลปี ระทาน นางธิดารัตน์ สถิตย์ ผรู้ วบรวมเปน็ รูปเล่ม เจา้ หน้าที่ธรุ การ กลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผล ศธจ.สิงหบ์ รุ ี นายสงิ หราช นิยมรส
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108