Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (33)O-NET วิทย์ ม.3 58 - 62

(33)O-NET วิทย์ ม.3 58 - 62

Published by singburiprovin, 2020-11-07 02:47:04

Description: (33)O-NET วิทย์ ม.3 58 - 62

Search

Read the Text Version

48 ว 3.2 ม.1/2(60) 34. พจิ ารณาการทดลองต่อไปนี้ การทดลองท่ี 1 ละลายสารประกอบ M ในนำ้ 50 กรัม ท่ีอุณหภูมิห้องจนอิม่ ตัว พบว่าสารประกอบ M ละลายได้ 8 กรมั และคายความร้อน 630 จูล การทดลองที่ 2 ละลายสารประกอบ M ในน้ำ 50 กรัม ท่อี ุณหภมู ิ 75 องศาเซลเซียส จนอิม่ ตวั จากข้อมลู ผลการทดลองท่ี 2 จะเปน็ ไปตามข้อใด 1. สาร M ละลายในน้ำไดม้ ากกวา่ 8 กรัม และคายความร้อนมากกว่าการทดลองที่ 1 2. สาร M ละลายในน้ำไดม้ ากกวา่ 8 กรมั และคายความร้อนนอ้ ยกวา่ การทดลองที่ 1 3. สาร M ละลายในนำ้ ไดน้ อ้ ยกวา่ 8 กรมั และคายความร้อนมากกว่าการทดลองที่ 1 4. สาร M ละลายในนำ้ ได้น้อยกว่า 8 กรัม และคายความร้อนนอ้ ยกวา่ การทดลองที่ 1 ว 3.2 ม.1/3(60) 35. ศึกษาสมบตั ขิ องสารบรสิ ุทธ์ิ A ทม่ี ีลักษณะเป็นผงละเอียด โดยทำการทดลอง ดงั นี้ การทดลองที่ 1 ให้ความร้อนกับสาร A วัดอณุ หภมู ิทุก ๆ 20 วนิ าที พบวา่ อุณหภมู ิของสาร A สูงข้นึ เรื่อย ๆ จนถึง 103 องศาเซลเซียส และสาร A เร่ิมหลอมเหลว การทดลองท่ี 2 ละลายสาร A ในนำ้ พบวา่ สาร A ละลายนำ้ เพียงบางส่วน และมสี าร A บางสว่ นไม่ละลายนำ้ นอนกน้ อยู่ เมื่อทำใหร้ ะบบร้อนขึน้ จนอณุ หภูมปิ ระมาณ 80 องศาเซลเซยี ส พบว่า สาร A ทีน่ อนก้นมีปริมาณ น้อยลง จากข้อมูล ข้อใดกลา่ วถูกต้องเกีย่ วกบั การทดลองที่ 1 และ 2 การทดลองที่ 1 การทดลองที่ 2 1. ตง้ั แตส่ าร A เรมิ่ หลอมเหลวจนหลอมเหลวหมด เมอ่ื ละลายสาร A ในน้ำ อุณหภมู ิของสารละลาย อณุ หภูมจิ ะสงู ขึ้นเร่ือย ๆ จะสูงกวา่ อุณหภมู นิ ำ้ 2. ตง้ั แต่สาร A เร่มิ หลอมเหลวจนหลอมเหลวหมด พลงั งานท่ีทำใหส้ าร A แยกตัวเป็นอนุภาคเลก็ ๆ อณุ หภมู ิจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ มีค่ามากกวา่ พลังงานขณะอนุภาคของสาร A รวมตวั กบั โมเลกลุ ของนำ้ 3. จุดเยือกแข็งและจุดหลอมเหลวของสาร A เทา่ กบั เมอ่ื ละลายสาร A ในน้ำ อณุ หภมู ขิ องสารละลาย 103 องศาเซลเซยี ส จะสงู กว่าอุณหภมู นิ ้ำ 4. จุดเยือกแขง็ และจุดหลอมเหลวของสาร A เท่ากับ พลงั งานท่ีทำให้สาร A แยกตัวเป็นอนภุ าคเล็ก ๆ 103 องศาเซลเซียส มคี ่ามากกวา่ พลังงานขณะอนุภาคของสาร A รวมตัวกับโมเลกุลของน้ำ

49 ว 3.2 ม.1/3 36. สภาพละลายได้ของโพแทสเซยี มไอโอไดดใ์ นนำ้ 100 กรัม ที่อณุ หภูมิตา่ ง ๆ เป็นดงั น้ี สภาพละลายได้ของสารในนำ้ 100 กรัม ท่ีอุณหภูมติ ่าง ๆ (g) 0 °C 20 °C 60°C 100 °C 124.5 144.0 176.0 208.0 นำโพแทสเซยี มไอโอไดด์ 300 กรัม มาละลายในน้ำเดอื ด 250 กรมั แลว้ ปล่อยใหส้ ารละลายมีอุณหภมู ลิ ดลงจนถงึ 20 องศาเซลเซยี ส จากข้อมลู เมอื่ สารละลายมีอุณหภมู ลิ ดลงจนถึง 20 องศาเซลเซยี สจะมีสารโพแทสเซยี มไอโอไดดต์ กผลึกกี่กรัม 1. 64 กรมั 2. 92 กรัม 3. 156 กรัม 4. ไม่มสี ารตกผลึก ว 3.2 ม.2/1(60) 37. จดั ชดุ การทดลอง ดังภาพ และทำการทดลองที่อุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซยี ส การเปลี่ยนแปลงที่สงั เกตได้ คือ เกดิ ฟองแก๊สไม่มสี ีไปแทนท่ีน้ำในกระบอกตวง และเมื่อเวลาผา่ นไปฟองแกส๊ จะเกดิ ชา้ ลง จนฟองแก๊สเต็มกระบอกตวง และขณะเกิดฟองแก๊ส พบว่า ขวดรูปชมพ่รู อ้ นขึ้น จากข้อมลู ข้อสรุปใดตอ่ ไปนี้ถูกตอ้ ง 1. ปฏกิ ริ ยิ าน้ีเป็นปฏิกริ ิยาดดู ความรอ้ นเน่ืองจากระบบร้อนข้ึน 2. สารละลาย X มสี มบัตใิ นการเปล่ยี นสกี ระดาษลิตมัสสแี ดงเทา่ น้ัน 3. ถา้ นำช้ินสังกะสีมาพับใหเ้ ป็นกอ้ นแนน่ ๆ จะทำให้ฟองแกส๊ เกิดไดเ้ ร็วขน้ึ และมีปริมาณมากขึ้น 4. มวลแก๊สทีเ่ กิดขน้ึ ท้ังหมดในกระบอกตวงน้อยกว่ามวลของสารละลาย X และสงั กะสีทที่ ำปฏกิ ริ ยิ ากนั

50 ว 3.2 ม.2/1 38. นำสาร A มาทำปฏกิ ริ ิยากบั สารละลาย B ทีม่ ีอุณหภมู ิ 20 องศาเซลเซียส เม่ือปฏกิ ิริยาสนิ้ สดุ จะใชเ้ วลา 20 นาที พบวา่ เกดิ ตะกอน C มวล 6 กรัม ดังสมการ A+B→C ทำการทดลองซำ้ อีกครง้ั โดยใชส้ ารตั้งตน้ ปริมาณเทา่ เดมิ แต่เปล่ียนอณุ หภมู ิของสารละลาย B เปน็ 55 องศาเซลเซยี ส จากข้อมลู ข้อใดกล่าวถูกต้องเกย่ี วกบั ผลการทดลองที่ได้จากการทดลองซ้ำ 1. ตะกอน C ทีเ่ กดิ ข้ึนมีมวลมากกว่า 6 กรัม 2. เวลาทใ่ี ชใ้ นการเกิดตะกอน C จนสมบรู ณ์ นอ้ ยกว่า 20 นาที 3. มวลของตะกอน C ท่เี กดิ ขึ้น ขึ้นอยกู่ ับมวลของสารละลาย B เทา่ นั้น 4. ชว่ งนาทแี รกของการเกิดปฏิกริ ิยา ตะกอน C จะเกดิ น้อยกวา่ การทดลองครั้งแรก ว 3.2 ม.2/2(60) 39. แปง้ จะถูกเปล่ยี นใหเ้ ป็นน้ำตาลกลูโคสได้ โดยการนำแป้งไปทำปฏิกิรยิ ากบั น้ำ และมเี อนไซมท์ ่ี เหมาะสมเป็นตัวเร่ง ปฏกิ ริ ิยา เมื่อนำน้ำตาลกลโู คสท่เี กิดขึน้ ไปหมักกบั ยสี ต์ จะทำใหไ้ ดผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ป็นเอทานอลและแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ และถา้ นำเอทานอลที่ไดไ้ ปทำปฏิกิรยิ ากับแก๊สออกซิเจนจะเกดิ ผลติ ภัณฑ์เป็นนำ้ ส้มสายชู ซึง่ นำมาใช้กำจดั ตะกรันที่ เกาะแนน่ อยู่กันภาชนะทใ่ี ชต้ ้มน้ำได้โดยจะเกิดสารประกอบแคลเซียมแอซเิ ตต นำ้ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ จากข้อมลู การเขียนสมการเคมขี องปฏกิ ิรยิ าใดต่อไปน้ีไม่ถกู ตอ้ ง 1. แปง้ + นำ้ เอนไซม์ กลูโคส 2. กลโู คส + ยสี ต์ เอทานอล + แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ 3. เอทานอล + แกส๊ ออกซเิ จน กรดนำ้ ส้ม 4. กรดน้ำสม้ + หินปูน แคลเซยี มแอซิเตต + น้ำ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ว 3.2 ม.2/2 40. ในการทดลองครงั้ หน่ึง ทำการทดลอง ดงั น้ี 1. ใสส่ ารละลาย A2E4 ลงในบกี เกอร์ 2. เตมิ สาร EB ลงไปผสมกบั สารในขอ้ 1 แล้วให้ความรอ้ นเป็นเวลา 30 นาที 3. วิเคราะห์ชนิดของสารหลงั เกดิ ปฏิกิรยิ า พบสาร A2E5B และสาร A2E4 เหลอื อยู่ จากข้อมลู ขอ้ ใดเขียนสมการเคมีแสดงการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีของการทดลองนี้ได้ถกู ตอ้ ง 1. A2E4 EB A2E5B 2. A2E4 A2E5B + A2E4 3. A2E4 A2E5B + A2E4 4. A2E4 + EB A2E5B

51 ว.4.1 ม.1/2 41. วัตถุชน้ิ หน่ึงเคลือ่ นทบี่ นพื้นโต๊ะทไ่ี ม่มแี รงเสยี ดทานด้วยอตั ราเรว็ คงตวั 20 เซนติเมตรต่อวินาที ผา่ นจุด A และจดุ B ซงึ่ ห่างกัน 30 เซนติเมตร แล้วตกกระทบพ้ืนท่ีจดุ C ดังภาพ (กำหนดให้ไมม่ ีแรงตา้ นอากาศกระทำต่อวัตถุ) ขอ้ ความใดกลา่ วถูกต้อง 1. วตั ถุเคล่ือนที่จากจุด A ไปจดุ B โดยใชเ้ วลา 0.67 วนิ าที 2. วัตถุเคลอ่ื นท่ีจากจุด A ไปจุด B ดว้ ยความเรง่ ที่มีทศิ ทางตามแนวระดับ 3. วตั ถุเคลอื่ นท่ีจากจดุ B ไปจดุ C ได้ระยะทางมากกวา่ ขนาดของการกระจดั 4. วตั ถเุ คล่ือนที่จากจุด B ไปจดุ C ด้วยความเร่งท่ีมที ิศทางท้ังแนวดิ่งและแนวระดับ ว 4.1 ม.2/1 42. วัตถุช้ินหนึ่งวางอยู่นิง่ บนพื้นท่ีไมม่ ีแรงเสียดทาน เม่ือออกแรงดงตวั F และ F, กระทำตอ่ วตั ถุพรอ้ มกนั ในทศิ ทางดัง ภาพ (เวกเตอรใ์ นภาพแสดงทิศทางของแรงเท่านนั้ ไม่ไดแ้ สดงถงึ ขนาดของแรง) ซึง่ การออกแรงแบง่ เป็น 2 ช่วงเวลาท่ี ต่อเน่ืองกัน ดงั ตาราง ช่วงเวลา ขนาดของแรง(N) (ทตี่ ่อเนื่องกนั ) F1 F2 ช่วงท่ี 1 90 100 ช่วงที่ 2 120 120 ในช่วงท่ี 1 และ 2 วัตถุจะมสี ภาพการเคล่ือนท่ีเปน็ อยา่ งไร ชว่ งที่ 2 หยุดนิง่ ชว่ งท่ี 1 เคล่ือนท่ดี ว้ ยความเรว็ คงตวั 1. เคลือ่ นท่ีดว้ ยความเร็วคงตัว หยุดนง่ิ 2. เคลื่อนท่ดี ้วยความเรว็ คงตวั เคลือ่ นท่ีด้วยความเรว็ คงตวั 3. เคล่อื นที่ดว้ ยความเรง่ คงตัว 4. เคล่ือนที่ดว้ ยความเร่งคงตัว

52 ว 4.1 ม.2/2 (60) 43. วัตถุกำลังเคลื่อนทดี่ ้วยความเรว็ คงตัวไปทางซ้ายมอื บนพน้ื ราบลื่น จากน้นั ถูกกระทำด้วยแรง 4 แรง พร้อมกัน ดังภาพ ถา้ วัตถุยงั คงเคลื่อนท่ีด้วยความเรว็ คงตัวไปทางซา้ ยมือ แรง F4 จะต้องมีขนาดเท่าใด 1. 6 นวิ ตนั 2. 8 นวิ ตัน 3. 10 นิวตัน 4. 14 นวิ ตนั ว 4.1 ม.3/2 44. วตั ถุ A B และ C ทรงสเ่ี หล่ยี มมุมฉาก ขนาดเทา่ กนั นำหนักเท่ากนั ถูกวางซ้อนกันบนพื้นดังภาพ ข้อใดระบุแรงคู่กิรยิ า - ปฏิกิริยาไดถ้ ูกต้อง 1. แรงท่วี ตั ถุ A กดวตั ถุ B และ แรงท่วี ัตถุ B กดวตั ถุ C 2. แรงทวี่ ตั ถุ C กดพน้ื และ แรงท่พี น้ื กระทำตอ่ วตั ถุ C 3. นำ้ หนกั ของวัตถุ A และ แรงท่วี ัตถุ A กระทำต่อวัตถุ B 4. แรงทีพ่ นื้ กระทำตอ่ วัตถุ C และ นำ้ หนกั รวมของวัตถุ A B และ C

53 ว 4.1 ม.3/3 (60) 45. ผกู เชอื กเสน้ เลก็ ๆ ที่มีมวลน้อยมากเขา้ กับแท่งเหล็ก แลว้ นำไปจุ่มในนำ้ ออกแรงดึงเชอื กใหแ้ ทง่ เหลก็ จมนิง่ ใต้ผิวนำ้ ดังภาพ ข้อใดระบแุ รงคกู่ ิรยิ า - ปฏกิ ิริยาได้ถูกตอ้ ง 1. แรงทีเ่ ชอื กดึงแทง่ เหล็ก และ น้ำหนกั ของแทง่ เหล็ก 2. น้ำหนกั ของแท่งเหล็ก และ แรงพยงุ ของน้ำ 3. แรงทมี่ ือดึงเชอื ก และ แรงที่เชอื กดงึ แทง่ เหล็ก 4. แรงที่มอื ดึงเชอื ก และ แรงทเี่ ชอื กดงึ มอื ว 4.1 ม. 3/3 (60) 46. ใช้เครอ่ื งชั่งสปรงิ ชั่งน้ำหนักของวัตถชุ ิ้นหน่ึง เม่ือช่ังในอากาศ ได้น้ำหนัก 14.0 นวิ ตัน และเมอ่ื ชั่ง ในของเหลว ไดน้ ้ำหนัก 8.0 นิวตัน

54 กำหนดให้ ความหนาแน่นของของเหลว เทา่ กบั 2.0 x 103 กโิ ลกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร ความเรง่ เนื่องจากแรงโนม้ ถ่วงของโลก เท่ากับ 10 เมตรต่อวนิ าที2 วัตถจุ มในของเหลวทง้ั ก้อน วตั ถนุ มี้ ีปริมาตรเทา่ ใด 1. 3.0 x 10-4 ลูกบาศกเ์ มตร 2. 4.0 x 10-4 ลกู บาศกเ์ มตร 3. 3.0 x 104 ลูกบาศกเ์ มตร 4. 4.0 x 104 ลูกบาศก์เมตร ว 4.1 ม. 3/3 47. ณ เวลาขณะหนงึ่ วตั ถุซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ลูกบาศก์ จนอยู่ในของเหลวชนิดหนึง่ ทง้ั ก้อน ดังภาพ โดยแรงท่ขี องเหลว กระทำต่อวัตถุในทศิ ทางต้ังฉากกบั พนื้ ผิวของวตั ถุ มีขนาดดังนี้ ● พนื้ ผิวดา้ นบน 5.00 นวิ ตนั ● พนื้ ผวิ ดา้ นล่าง 7.50 นวิ ตัน ● พน้ื ผิวด้านขา้ งทง้ั สี่ดา้ น ด้านละ 6.25 นวิ ตนั แรงพยุงของของเหลวทีก่ ระทำต่อวัตถุมีขนาดเท่าใด 1. 2.50 นิวตัน 2. 7.50 นวิ ตนั 3. 12.50 นิวตัน 4. 37.50 นวิ ตนั ว. 4.2 ม.3/1 48. วตั ถุกำลังเคลื่อนที่บนพน้ื โดยการลากดว้ ยแรง F ขณะวัตถุเคล่อื นท่ี เกดิ แรงเสียดทาน กระทำต่อ วัตถตุ ลอดเวลา ดังภาพ แรงเสียดทานทีเ่ กดิ ขน้ึ เป็นแรงเสียดทานประเภทใด และการกระทำใดทท่ี ำให้แรงเสยี ดทาน มีคา่ เพิ่มข้นึ ตามลำดบั 1. แรงเสียดทานสถติ เพ่ิมมวลของวตั ถุ 2. แรงเสยี ดทานสถิต เพ่ิมพนื้ ทผ่ี ิวสัมผัสของวัตถุ 3. แรงเสยี ดทานจลน์ เพ่มิ มวลของวัตถุ 4. แรงเสยี ดทานจลน์ เพ่ิมพ้ืนทผ่ี วิ สัมผสั ของวัตถุ

55 ว 4.2 ม.3/1 49. พจิ ารณาการเบรกอย่างกะทนั หนั ของรถยนตค์ นั หน่ึง ซึ่งล้อจะไถลบนพื้นและไม่หมนุ โดยเปรียบเทียบขณะแล่นบน ถนนเดียวกัน อตั ราเรว็ ก่อนเบรกเท่ากนั แรงในการเบรกเท่ากัน แตส่ ภาพของพืน้ ถนนตา่ งกนั คือ พนื้ แห้งและพื้นเปยี ก จากข้อมูล การเบรกบนพ้ืนถนนแบบใด ท่ีรถจะไถลได้ระยะทางส้ันกวา่ และแรงเสียดทาน ระหว่างล้อกบั พ้นื ถนนท่เี กดิ ขึ้นขณะเบรกเปน็ แรงเสียดทานประเภทใด สภาพของพืน้ ถนน แรงเสียดทานระหว่างล้อกับพ้ืนถนน 1. พนื้ แหง้ แรงเสียดทานจลน์ 2. พืน้ แห้ง แรงเสยี ดทานสถติ 3. พื้นเปยี ก แรงเสียดทานจลน์ 4. พื้นเปยี ก แรงเสยี ดทานสถิต ว 4.2 ม.3/2(60) 50. ใชเ้ ชือกเบาแขวนวัตถุ 3 ชน้ิ ไดแ้ ก่ วตั ถุ A วตั ถุหนัก 4 นิวตนั และวตั ถุหนัก 10 นิวตนั เขา้ กบั คานเบาท่ีมคี วามยาว 2 เมตร พบว่า คานอยู่ในสภาพสมดลุ ตามแนวระดบั ดังภาพ จากน้ัน นำวตั ถหุ นกั 10 นวิ ตันออก แลว้ แขวนวตั ถุ A และวตั ถหุ นกั 4 นิวตนั ท่ปี ลายแต่ละขา้ งของคานเดิม ผูกเชอื กท่ี ตำแหนง่ หน่งึ ซึง่ ทำให้คานสมดลุ ตามแนวระดับ ดงั ภาพ วตั ถุ A มนี ้ำหนักเท่าใด และระยะ D ยาวเท่าใด ตามลำดับ 1. A หนัก 6 นิวตนั และ D ยาว 0.4 เมตร 2. A หนัก 6 นวิ ตนั และ D ยาว 0.8 เมตร 3. A หนกั 14 นวิ ตนั และ D ยาว 0.2 เมตร 4. A หนัก 14 นิวตนั และ D ยาว 0.4 เมตร

56 ว. 4.2 ม.3/2 51. วางคานเบายาว 3.0 เมตร บนแท่นสามเหล่ียม ซ่ึงอยู่ท่ีตำแหนง่ ห่างจากปลายดานขา้ งหนง่ึ แลว้ วางวตั ถหุ นัก 2.0 นวิ ตนั ไวท้ ่ีปลายคาน พร้อมท้ังกดปลายอีกขา้ งของคาน ดว้ ยแรง F ขนาด 3.0 นวิ ตัน ดังภาพ จากภาพ โมเมนต์ของแรงในทิศตามเข็มนาฬิกามีขนาดเท่าใด และคานจะหมนุ ในทิศใด โมเมนตข์ องแรงในทศิ ตามเข็มนาฬิกา (Nm) ทศิ การหมนุ ของคาน 1. 3.0 ตามเขม็ นาฬิกา 2. 3.0 ทวนเขม็ นาฬิกา 3. 4.0 ตามเขม็ นาฬิกา 4. 4.0 ทวนเขม็ นาฬิกา ว 5.1 ม.1/1(60) 52. เทอร์มอมเิ ตอร์อันหนึ่งถูกแบ่งสเกลเปน็ 5 ช่องเท่ากัน โดยให้ ขดี 0 ตรงกบั อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ขดี 5 ตรงกับอณุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส เมือ่ ใชเ้ ทอร์มอมเิ ตอรน์ ว้ี ดั อุณหภมู ขิ องอากาศในห้อง A พบว่า ลำปรอทสงู ขึ้นถึงขดี 2 พอดี ดงั ภาพท่ี 1 จากนั้น นำไปวดั อณุ หภูมิของอากาศในห้อง B พบวา่ ลำปรอทค่อย ๆ ต่ำลง จนกระทง่ั หยุดน่ิงท่ีขีด 1 พอดี ดงั ภาพท่ี 2

57 อากาศในห้อง A และ B มีอุณหภูมติ า่ งกนั เทา่ ใด และเพราะเหตใุ ด ขณะวดั อุณหภมู ขิ องอากาศ ในหอ้ ง B ลำปรอทจงึ ค่อย ๆ ลดตำ่ ลง 1. 1 องศาเซลเซยี ส และ ความรอ้ นจากปรอทถกู ถ่ายโอนสู่อากาศภายนอก 2. 1 องศาเซลเซยี ส และ ความเยน็ จากอากาศภายนอกถกู ถา่ ยโอนสปู่ รอท 3. 20 องศาเซลเซยี ส และ ความร้อนจากปรอทถกู ถา่ ยโอนส่อู ากาศภายนอก 4. 20 องศาเซลเซียส และ ความเยน็ จากอากาศภายนอกถูกถ่ายโอนสูป่ รอท ว 5.1 ม.1/2(60) 53. จดั ชุดการทดลอง 2 ชดุ ตงั้ ไว้ในบรเิ วณเดียวกัน โดยครอบลูกโปง่ แบบเดยี วกัน เข้ากบั ปากของขวดเปล่าแบบ เดียวกนั 2 ใบ และวางขวดแต่ละใบลงในอ่าง ซึ่งใสน่ ำ้ ปรมิ าณเท่ากนั แตม่ ีอณุ หภูมิแตกต่างกนั พบวา่ ลูกโป่งมีการ เปล่ยี นแปลง ดงั ภาพ ขอ้ ใดเปรยี บเทยี บปรมิ าณต่อไปน้ไี ดถ้ ูกต้อง 1. อุณหภมู ิของนำ้ ในอ่างชุดท่ี 1 นอ้ ยกวา่ ชดุ ท่ี 2 2. อณุ หภมู ิของอากาศภายในลกู โป่งชุดที่ 1 น้อยกวา่ ชดุ ที่ 2 3. ความหนาแนน่ ของอากาศภายในลูกโป่งชุดที่ 1 มากกว่าชดุ ที่ 2 4. ระยะห่างโดยเฉล่ยี ระหวา่ งอนุภาคอากาศภายในลูกโป่งชดุ ท่ี 1 มากกวา่ ชุดท่ี 2 ว 5.1 ม.1/2 54. เทน้ำมนั ลงบนกระทะซง่ึ ต้ังอยู่บนเตาแก๊ส แลว้ เปิดเตาแกส๊ เพ่ือใหค้ วามร้อนการถา่ ยโอนความร้อนจากกระทะสู่ นำ้ มัน และจากน้ำมันด้านล่างสดู่ า้ นบนเปน็ การถ่ายโอนความรอ้ นวธิ ีใด กระทะส่นู ้ำมัน นำ้ มนั ด้านลา่ งสดู่ า้ นบน 1. การนำความร้อน การนำความร้อน 2. การนำความร้อน การพาความร้อน 3. การพาความร้อน การนำความร้อน 4. การพาความร้อน การพาความร้อน

58 ว 5.1 ม.1/3(60) 55. ฟ้าใสศึกษาการดูดกลืนแสงของวัตถสุ ีต่าง ๆ โดยใส่น้ำปรมิ าณเทา่ กนั ลงในขวดแบบเดียวกันขนาดเท่ากนั 4 ขวด และหมุ้ ขวดด้วยกระดาษสีต่าง ๆ ดังภาพและตาราง ขวดท่ี สีของกระดาษทห่ี มุ้ ขวด 1 สีดำ 2 สีขาว 3 สเี ขียว 4 สีเหลอื ง ก่อนเร่มิ การทดลอง ฟ้าใสวดั อุณหภูมิของน้ำทั้ง 4 ขวดได้ 28 องศาเซลเซยี ส ตอ่ จากนั้น นำขวดทง้ั 4 ใบ ไปวางไวก้ ลาง แดดเป็นเวลา 2 ชว่ั โมง เท่ากัน แล้วจงึ วัดอุณหภมู ขิ องนำ้ ในขวดอีกครัง้ ตามหลักการดูดกลืนแสง น้ำในขวดใดจะมีอุณหภมู เิ พมิ่ ขน้ึ น้อยทสี่ ดุ 1. ขวดที่ 1 2. ขวดที่ 2 3. ขวดที่ 3 4. ขวดที่ 4 ว 5.1 ม.1/4 56. ครอบลกู โป่งท่ยี ังไมพ่ องเข้ากับปากขวดใหส้ นทิ จากน้ันนำขวดไปแชใ่ นของเหลวชนิดหนงึ่ แล้วตงั้ ทิง้ ไว้ในห้อง พบวา่ ลกู โปง่ ขยายตวั ออกดังภาพที่ 1 เมอ่ื เวลาผา่ นไป ลูกโป่งมีขนาดเล็กลงดงั ภาพท่ี 2 จากภาพท่ี 1 ไปภาพท่ี 2 ความดันของแก๊สในลูกโปง่ และอุณหภมู ิของของเหลวเปลย่ี นแปลงหรอื ไม่ อย่างไร ความดนั ของแกส๊ ในลูกโป่ง อณุ หภูมิของของเหลว 1. ลดลง ลดลง 2. ลดลง เท่าเดมิ 3. เท่าเดิม ลดลง 4. เท่าเดมิ เท่าเดมิ

59 ว. 5.1 ม.2/1 (60) 57. ออ้ มต้องการสั่งเกตรายละเอียดของวัตถขุ นาดเลก็ ช้ินหนง่ึ เม่ือเธอคน้ อปุ กรณ์ภายในบา้ นกลับไม่พบแว่นขยาย แต่ พบกระจกนูน กระจกเวา้ แว่นสำหรับคนสายตาสน้ั และแวน่ สำหรบั คนสายตายาว อปุ กรณส์ องชนดิ ใด ท่ีอ้อมสามารถใช้ขยายขนาดของภาพเพื่อดูรายละเอยี ดของวตั ถุได้ 1. กระจกนนู และ แว่นสำหรบั คนสายตาส้ัน 2. กระจกนูน และ แวน่ สำหรับคนสายตายาว 3. กระจกเวา้ และ แว่นสำหรบั คนสายตาส้ัน 4. กระจกเวา้ และ แว่นสำหรบั คนสายตายาว ว 5.1 ม.2/1 58. เบริ ด์ วางวตั ถไุ วห้ นา้ กระจกเวา้ ทีร่ ะยะหา่ งจากข้วั กระจกมากกวา่ รศั มีความโคง้ เขาพบว่า ภาพทเี่ กดิ ข้นึ เป็นภาพหวั กลับ ขนาดเล็กกวา่ วตั ถุ เขาจึงเขียนแผนภาพดงั นี้ กำหนดให้ C คือ จดุ ศนู ยก์ ลางความโค้ง และ F คือ จดุ โฟกัส แผนภาพท่ีเบิร์ดเขียนขา้ งต้น ถกู ต้องหรือไม่ อย่างไร 1. ถกู ต้อง เพราะกระจกเวา้ ทำให้เกิดภาพเสมือนอยู่หลงั กระจก และขนาดเล็กกว่าวัตถเุ สมอ 2. ถกู ตอ้ ง เพราะรังสี 1 หักเหผา่ นกระจกไปตดั กับรงั สี 2 ท่ีตอ่ ออกจากหลงั กระจก เกดิ เป็นภาพท่ีตำแหน่ง ระหว่างจดุ F’ กบั จุด C’ 3. ไมถ่ ูกตอ้ ง เพราะรังสี 1 ควรจะสะท้อนที่กระจก ผ่านจดุ F แลว้ ไปตัดกบั รงั สี 2 ซึง่ สะท้อนทข่ี ัว้ กระจก 4. ไมถ่ กู ตอ้ ง เพราะภาพของวัตถคุ วรอยู่หลังกระจกทตี่ ำแหน่งระหว่างจดุ F’ กบั จดุ C’ และเป็นภาพจริงหวั กลับ ว 5.1 ม.2/1

60 59. อ้อมต้องการศึกษาการกระจายของแสง จึงจดั ชดุ การทดลองโดยฉายลำแสงสเี ขยี วให้เข้าสู่ปริซึมสี่เหลย่ี ม ผลคือ ปรากฏเพียงแสงสีเชยี วบนฉาก ดังแผนภาพ 2 มติ ิ ที่มองจากดา้ นบน อ้อมควรปรบั ชุดการทดลองอย่างไร เพ่ือให้ปรากฏการกระจายของแสงบนฉากขาวอย่างชัดเจน 1. 2. 3. 4. ว 5.1 ม.2/3 60. ฉายแสงสีแดง สนี ำเงนิ และสเี ขยี ว คร้ังละสี ด้วยปริมาณของแสงเท่ากัน ในห้องมดื สนทิ ให้ตกกระทบวตั ถชุ ิ้นหนึ่ง พร้อมทงั้ บนั ทึกผลการสังเกตวตั ถุ ไดผ้ ลดงั ตาราง แสงตกกระทบ ผลการสงั เกตวัตถุ แดง มองไมเ่ หน็ เขียว มองเห็นเป็นสีเขยี ว น้ำเงิน มองไมเ่ ห็น จากข้อมลู ขอ้ ความใดกล่าวถูกตอ้ ง 1. วตั ถุดดู กลืนแสงสเี ขยี วได้มากกวา่ แสงสีแดงและสีน้ำเงิน 2. วัตถุสะทอ้ นแสงสีแดงและสีนำ้ เงนิ ไดม้ ากกว่าแสงสีเขยี ว 3. ถา้ ฉายด้วยแสงขาว จะมองเหน็ วตั ถุเป็นสขี าว 4. ถา้ ฉายดว้ ยแสงสีแดงและสีนำ้ เงนิ พร้อมกนั วัตถจุ ะดูดคลน่ื แสงท้งั หมด

61 ว 5.1 ม.3/1 61. ปล่อยวตั ถใุ ห้เคล่ือนทลี่ งตามพืน้ เอียง เร่มิ จากตำแหน่ง A ผา่ นตำแหน่ง B ดังภาพ โดยขณะกำลงั เคลื่อนท่ีนัน้ พบว่า มีเสยี งของการเสียดสรี ะหว่างพน้ื ผิววัตถกุ บั พ้นื เอียงเกิดขึ้นด้วย จากตำแหนง่ A ไปตำแหน่ง B พลังงานศักยโ์ น้มถว่ งและพลังงารนกลของวตั ถเุ ปลี่ยนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร พลงั งานศักยโ์ นม้ ถ่วง พลังงานกล 1. ลดลง ลดลง 2. ลดลง เท่าเดมิ 3. เพม่ิ ขน้ึ ลดลง 4. เพมิ่ ขึ้น เท่าเดมิ ว 5.1 ม.3/3 (60) 62. บา้ นหลังหน่งึ เปลย่ี นเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าในบ้านดังนี้ 1) เปลย่ี นหลอดไฟฟา้ แบบไส้ กำลงั ไฟฟา้ 60 วัตต์ เปน็ หลอดแอลอดี ี กำลงั ไฟฟ้า 10 วตั ต์ โดยเปลี่ยนทง้ั หมด 20 หลอด 2) เปล่ียนเตารีดกำลังไฟฟ้า 800 วตั ต์ เป็นกำลงั ไฟฟ้า 1,000 วัตต์ จำนวน 1 เครอ่ื ง กำหนดให้ บา้ นหลังน้ีใชง้ านหลอดไฟฟ้า หลอดละ 100 ช่วั โมงตอ่ เดือน และใช้งานเตารีด 10 ชัว่ โมงต่อเดือน เมอ่ื เวลาผ่านไป 1 เดือน หลังเปลีย่ นเครื่องใช้ไฟฟ้า บ้านหลังนจี้ ะใช้พลังงานไฟฟ้าเปลย่ี นแปลงไปจากเดิมอย่างไร 1. นอ้ ยลง 98 กโิ ลวัตต์ชวั่ โมง 2. นอ้ ยลง 158 กิโลวตั ตช์ ัว่ โมง 3. มากขนึ้ 98 กโิ ลวัตต์ช่ัวโมง 4. มากขน้ึ 158 กโิ ลวัตต์ช่วั โมง

62 ว 5.1 ม.3/4(60) 63. ต่อวงจรไฟฟ้า ซ่ึงประกอบด้วยแบตเตอรี่ แอมมิเตอร์ และหลอดไฟฟา้ ดังแผนภาพ เมือ่ ใชแ้ บตเตอรีท่ ่ีมีความตา่ งศกั ย์ 6 โวลต์ พบวา่ วดั กระแสไฟฟ้าที่ผ่านวงจรได้ 4 แอมเแปร์ ล้าเปล่ียนแบตเตอรเ่ี ปน็ 3 โวลต์ กระแสไฟฟ้าผา่ นวงจรจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดมิ อยา่ งไร 1. ลดลง 2.0 แอมแปร์ 2. ลดลง 3.0 แอมแปร์ 3. เพิ่มขนึ้ 0.5 แอมแปร์ 4. เพิม่ ขน้ึ 4.0 แอมแปร์ ว 5.1 ม.3/4 64. นำ้ หวานพจิ ารณาเลือกซื้อหลอดไฟฟา้ ไว้ใช้งาน ขณะกำลังเปรยี บเทียบระหวา่ งหลอดแอลอีดีขนาด 7 วตั ต์ กบั หลอดไส้ขนาด 60 วัตต์ ซึง่ ให้ความสวา่ งเท่ากัน พนักงานขายได้แนะนำน้ำหวานดงั น้ี ผมแนะนำลกู ค้าใหซ้ ้ือหลอดไส้ดคี วา่ ครับ ถึงแมห้ ลอดทั้งสองประเภทจะให้ความสว่างเท่ากนั แต่เม่ือ เทียบการใชห้ ลอดทั้งสองเปน็ เวลา 1 ชว่ั โมงเท่ากันแล้วหลอดไสต้ ้องการพลังงานไฟฟ้าน้อยกว่าหลอด แอลอดี ี 53 วัตตช์ ัว่ โมง เลยท่เี ดยี วนะครบั คำแนะนำของพนักงานขายไม่ถกู ต้องตามหลักการของพลังงานไฟฟา้ เพราะเหตุใด 1. เพราะหลอดทั้งสองต้องการพลงั งานไฟฟ้าต่างกัน 67 วตั ต์ชั่วโมง 2. เพราะพลังงานต้องมหี น่วยเป็นจูล หลอดท้ังสองจึงตอ้ งการพลงั งานไฟฟา้ ในแต่ละช่วั โมงตา่ งกัน 53 จูล 3. เพราะหลอดไสม้ ีกำลังไฟฟ้ามากกวา่ หลอดแอลอดี ี จงึ ต้องการพลงั งานไฟฟ้ามากกวา่ หลอดแอลอีดี 4. เพราะหลอดทง้ั สองแปลงพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลังงานแสงไดเ้ ทา่ กนั จงึ ต้องการพลังงานไฟฟา้ เท่ากัน

63 ว 6.1 ม.1/2 65. กำหนดตารางหาค่าความชื้นสมั พัทธ์ เป็นดังนี้ ผลต่างของอณุ หภมู ิของ เทอร์มอมเิ ตอรก์ ระเปาะแห้งและคระเปาะเปียก (°C) ุอณหภู ิมของเทอร์มอ ิมเตอร์กระเปาะแห้ง (°C) 1234567 28 93 85 78 72 65 59 53 30 93 86 79 73 67 61 55 32 93 86 80 74 68 62 57 34 93 87 81 75 69 63 58 36 94 87 81 75 70 64 59 38 94 88 82 76 71 66 61 40 94 88 82 77 72 67 62 ข้อมูลความช้นื สัมพัทธ์ของอากาศ และการเปลีย่ นสขี องกระดาษชุบสารละลายโคบอลต์ (II) คลอไรด์ ในพ้นื ท่ี 5 บรเิ วณ เป็นดังน้ี พื้นที่ ค่าความชน้ื สัมพทั ธ์ (รอ้ ยละ) สขี องกระดาษชุบโคบอลต์ (II) คลอไรด์ A 85 ชมพมู ่วง B 78 ม่วง C 68 น้ำเงนิ ม่วง D 92 ชมพู E 73 มว่ ง จากข้อมูล หากใชไ้ ซครอมเิ ตอรต์ รวจวดั ความชน้ื สมั พทั ธข์ องอากาศในพื้นท่ี F พบว่าอา่ นคา่ อุณหภมู ขิ องเทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะแหง้ ได้ 34 องศาเซลเซียส และกระเปาะเปียกได้ 30 องศาเซลเซยี ส ผลการตรวจสอบอากาศในพ้ืนที่ F โดยใช้กระดาษชบุ โคบอลต์ (II) คลอไรด์ จะพบกระดาษเปน็ สีใด 1. มว่ ง 2. ชมพู 3. ชมพูมว่ ง 4. นำเงนิ ม่วง

64 ว 6.1 ม.1/3 66. ข้อมูลพายุหมุนเขตรอ้ นจำแนกตามอัตราเรว็ ลมรอบจุดศนู ยก์ ลาง เปน็ ดังน้ี อตั ราเร็วลมรอบจดุ ศูนย์กลาง ชนดิ ของพายุหมุนเขตรอ้ น (กิโลเมตร/ชวั่ โมง) ตำ่ กว่า 63 ดเี ปรสชั่น ตั้งแต่ 63 – 117 โซนร้อน มากกวา่ 117 ไตฝ้ นุ่ : เกดิ ในมหาสมุทรแปซิฟกิ ตอนเหนอื ด้านตะวนั ตก เฮอริเคน : เกดิ ในมหาสมุทรแปซฟิ กิ ด้านตะวนั ออกหรอื มหาสมุทร แอตแลนติก ไซโคลน : เกิดในมหาสมุทรอินเดีย หรอื มหาสมทุ รแปซฟิ ิกตอนใตด้ ้าน ตะวนั ตก พายหุ มนุ เขตร้อนหน่ึง กอ่ ตวั บริเวณมหาสมุทรแปซฟิ ิกดา้ นตะวนั ตก มีอัตราเร็วลมรอบจุดศูนย์กลางสูงสดุ 120 กโิ ลเมตรตอ่ ชัว่ โมง และมีทิศทางการเคลือ่ นที่ของอากาศพัดเวยี นเขา้ หาศนู ยก์ ลางของพายุ ดังภาพ จากข้อมลู พายุหมุนเขตร้อนน้ีเป็นพายุชนดิ ใด และเกดิ ในซกี โลกใด 1. พายไุ ตฝ้ นุ่ เกิดในซกี โลกเหนอื 2. พายไุ ตฝ้ ุ่น เกิดในซีกโลกใต้ 3. พายุเฮอรเิ คน เกิดในซีกโลกเหนือ 4. พายไุ ซโคลน เกดิ ในซกี โลกใต้ ว 6.1 ม.1/4 67. ขอ้ มูลผลการสำรวจปริมาณน้ำเพ่ือการใชป้ ระโยชน์ของบ่อน้ำ 2 บอ่ ท่ีต้ังอยู่บรเิ วณใกล้เคยี งกนั ในหมูบ่ า้ นแห่งหน่ึง เป็นดังน้ี บ่อนำ้ ฤดูฝน ฤดูแล้ง A ปรมิ าณนำ้ มาก ปริมาณนำ้ ในบ่อน้อยมาก B ปรมิ าณน้ำมาก บ่อแห้ง ไม่มีน้ำ

ภาพใดแสดงความลึกของบ่อนำ้ ไดถ้ ูกตอ้ ง 65 1. 2. 3. 4. ว 6.1 ม.1/6(60) 68. ข้อมูลแสดงตัวอยา่ งแหล่งกำเนดิ ของแกส๊ เรือนกระจก 4 ชนดิ เป็นดังน้ี ชนิดแกส๊ เรือนกระจก ตวั อย่างแหล่งกำเนิด มีเทน นาขา้ ว ของเสียจากสัตว์เลย้ี ง การเผาไหม้เช้ือเพลิงชีวภาพ กระบวนการหมกั อนิ ทรยี วัตถุแบบไม่ใชอ้ อกซเิ จนของจลุ ินทรีย์ ไนตรัสออกไซด์ ปยุ๋ ท่มี ใี นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ การเผาปา่ ไรน่ า หรือพื้นที่ เกษตรกรรม กระบวนการยอ่ ยสลายซากพืชซากสัตวข์ องแบคทีเรีย คาร์บอนไดออกไซด์ การเผาปา่ การเผาไหมเ้ ช้อื เพลิงฟอสซิล การหายใจของพชื และสตั ว์ คลอโรฟลูออโรคาร์บอน สารทำความเยน็ ตวั ทำละลายทางเคมี สารชว่ ยในการขยายตัวของ โฟม สารสำหรับการคับเพลิง จากข้อมูล แก๊สเรือนกระจกชนิดใดเกิดจากกจิ กรรมของมนุษย์เทา่ น้นั 1. มเี ทน 2. ไนตรัสออกไซด์ 3. คารบ์ อนไดออกไซด์ 4. คลอโรฟลูออโรคาร์บอน

66 ว 6.1 ม.2/2 (60) 69. เกษตรกรคนหนึ่งได้ตรวจสอบสมบัติของดนิ ในท่ดี ิน 2 แปลง เพื่อเตรียมเพาะปลูกพืชผลทางการเกษตร ไดผ้ ลดังน้ี ทดี่ ิน การทดสอบด้วยกระดาษลิตมัส ปริมาณอินทรียวตั ถุ ในดิน (%) ค่าการนำไฟฟ้า (dS/m) A ไม่เปล่ยี นสกี ระดาษลิตมสั ทั้งสีแดงและสี 2.2 4.6 นำ้ เงนิ B ไมเ่ ปลยี่ นสกี ระดาษลิตมัส 0.9 1.8 ทง้ั สแี ดงและสนี ำ้ เงนิ ขอ้ มลู ปริมาณอนิ ทรยี วตั ถุในดินและระดับความเค็มของดนิ ทีม่ ีผลกระทบตอ่ พชื เป็นดงั น้ี ปริมาณอินทรยี วัตถใุ นดิน (%) ระดับ น้อยกวา่ 1.5 ตำ่ 1.5 – 2.5 ปานกลาง มากกวา่ 2.5 สงู คา่ การนำไฟฟ้า ระดบั ความเคม็ ของดิน ผลตอ่ การเพาะปลูกพชื (dS/m) น้อยกวา่ 2 ไม่เค็ม ไม่มผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช 2–4 เคม็ เลก็ น้อย มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชไม่ทนเตม็ 4 – 8 เค็มปานกลาง มผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืชหลายชนดิ 8 – 16 เคม็ มาก พชื ทนเค็มเทา่ น้นั ท่เี จริญเตบิ โตได้ มากกว่า 16 เคม็ มากทส่ี ุด พชื ทนเค็มน้อยชนดิ ทเ่ี จรญิ เติบโตได้ หมายเหตุ การวัดความเค็มของดิน ทำได้โดยการวัดค่าการนำไฟฟา้ ของสารละลายเกลือในดินซ่งึ สกดั จากดนิ ท่ีอิ่มตวั ด้วยน้ำ ท่อี ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เน่อื งจากการนำไฟฟ้ามคี วามสมั พันธก์ บั ความเข้มข้นของเกลือในนำ้ จงึ ทำใหป้ ระมาณปริมาณเกลือท่ีละลายในน้ำทส่ี กัดออกมาจากดินได้ คา่ การนำไฟฟ้ามหี น่วยเป็นเดซิซีเมนต่อ เมตร (deci siemens/metre, dS/m) จากข้อมูล หากเกษตรกรต้องการปรบั ปรุงดินในท่ดี ินทงั้ 2 แปลงดังกล่าว เพื่อปลูกพชื ไม่ทนเค็มท่ีเจรญิ เตบิ โตได้ดีในดิน ท่ีเป็นกลางและมีปรมิ าณอินทรียวัตถปุ านกลางขึน้ ไป การปรับปรุงดนิ ในข้อใดต่อไปนถ้ี กู ต้อง 1. ที่ดนิ A ใส่ปูนขาว ที่ดิน B ไถกลบซากพืชทมี่ ีอยู่ในแปลง 2. ที่ดนิ A ใสป่ ุ๋ยซากพชื ซากสัตว์ ที่ดิน B ใส่กำมะฉนั ผงแลว้ ชะดินดว้ ยน้ำ 3. ที่ดนิ A ชะดว้ ยน้ำจดื แล้วระบายน้ำท้งิ ท่ีดนิ B ไถกลบซากพชื ที่มอี ยู่ในแปลง 4. ทด่ี ิน A ใสก่ ำมะถนั ผงแล้วชะดนิ ดว้ ยนำ้ ท่ดี ิน B ชะดว้ ยน้ำจืดแลว้ ระบายน้ำท้ิง

67 ว .1 ม.2/2 70. ขอ้ มูลแสดงปรมิ าณของอนุภาคหลักที่เปน็ องคป์ ระกอบของดินรว่ นเหนยี วปนทราย เปน็ ดังน้ี ประเภทเนอ้ื ดิน ปริมาณของอนุภาค (ร้อยละโดยนำ้ หนกั ) ดนิ เหนียว ทรายแปง้ ทราย ร่วนเหนียวปนทราย 20 – 35 0 – 28 45 – 80 จากข้อมูล หากพืชชนดิ หนงึ่ เจริญเตบิ โตได้ดีในดินร่วนเหนียวปนทราย ควรปลกู พชื ชนดิ น้ี ในทีด่ ินแปลงใดต่อไปน้ี ทีด่ นิ ปริมาณของอนุภาค (ร้อยละโดยนำ้ หนกั ) ดินเหนยี ว ทรายแปง้ ทราย 1. A 40 10 50 2. B 30 20 50 3. C 35 45 20 4. D 30 40 30 ว 6.1 ม.2/4 71. ถำ้ แห่งหนง่ึ พบโครงสร้างหนิ งอก หนิ ย้อย และแท่งเสา ลกั ษณะดังภาพ จากภาพ ข้อสรปุ ใดต่อไปน้ีถกู ตอ้ ง 1. หินงอก หินยอ้ ย และแท่งเสา จัดเปน็ หินแปร 2. หนิ งอก จ และหินย้อย ฉ มีองคป์ ระกอบเปน็ สารชนดิ เดียวกนั 3. โครงสร้างหินงอก หนิ ยอ้ ย และแท่งเสา จะพบภายในภูเขาหินแกรนิต 4. ภายใต้สภาวะเดียวกัน หินงอก ก และหนิ ย้อย ข ใชเ้ วลาในการก่อตัวยาวนานกวา่ หินงอก ค และหินย้อย ง

68 ว 6.1 ม. 2/4 (60) 72. ทดสอบความสามารถในการกกั เกบ็ น้ำของตะกอนชนิดตา่ ง ๆ ที่มีสตั ส่วนของอนภุ าคกรวดและทรายเปน็ สว่ นผสม แตกตา่ งกนั โดยจัดชุดการทดลองดงั ภาพ จากน้ันเทน้ำปริมาตรเท่ากนั ลงในภาชนะแลว้ วดั ความสูงของระดับนำ้ ใน หลอด จากการทดลอง การคาดคะเนผลการทดลองในข้อความใดไมถ่ ูกตอ้ ง 1. ตะกอนทม่ี ีชอ่ งว่างระหวา่ งตะกอนมาก ความสงู ของระดับนำ้ ในหลอดจะต่ำกวา่ ตะกอนที่มชี ่องวา่ งระหวา่ ง ตะกอนน้อย 2. หากเทนำ้ ปรมิ าตรท่ีเทา่ กนั ลงในตะกอนชนดิ ต่าง ๆ ตะกอนท่ีมีระดบั นำ้ ในหลอดสงู กว่าจะมีสมบตั ิในการเป็น ชั้นหินอุ้มน้ำดีกว่า 3. หากเทนำ้ ลงในตะกอนชนิดต่าง ๆ ใหน้ ำในหลอดมีระดับความสงู เท่ากนั ตะกอนทเ่ี ทน้ำลงไปมากกว่าจะมี สมบัตใิ นการเปน็ ชัน้ หินอุ้มน้ำดีกว่า 4. ตะกอนทม่ี ีลกั ษณะกลมมนและมขี นาดใหญ่ ความสงู ของระดับนำ้ ในหลอดจะต่ำกวา่ ตะกอนทมี่ ลี ักษณะเปน็ เหล่ยี มเปน็ มมุ และมีขนาดคละกนั ท้ังขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ว 6, 1 ม. 2/5 73. ข้อมูลแสดงค่าความแขง็ ของแร่ตามมาตรฐานความแข็งของโมส์ เปน็ ดังนี้ ชนดิ แร่ ความแข็ง ชนดิ แร่ ความแขง็ ทลั ก์ 1 ออรโ์ ทเคลส 6 ยปิ ซัม 2 ควอรต์ 7 แคลไซต์ 3 โทแพซ 8 ฟลอู อไรด์ 4 คอรนั ดมั 9 อะพาไทต์ 5 เพชร 10

69 และผลการตรวจสอบตวั อย่างแร่ 2 ชนดิ โดยการขดุ ดว้ ยแร่ควอรต์ และแรค่ อรันดมั เป็นดังตาราง ตวั อยา่ งแร่ ขดู ด้วยแรค่ วอร์ต ขดู ด้วยแร่คอรันดมั A ไม่เกิดรอยที่แร่ A เกิดรอยที่แร่ A แต่เกดิ รอยที่แร่ควอร์ต แต่ไมเ่ กดิ รอยทแ่ี ร่คอรนั ดมั B เกดิ รอยท้งั แร่ B และแรค่ วอร์ต เกดิ รอยท่ีแร่ B แตไ่ มเ่ กดิ รอยท่แี รค่ อรนั ดมั จากข้อมลู ถ้าตวั อย่างแร่ A และ B เปน็ ตวั อย่างแรต่ ามมาตรฐานความแข็งของโมส์ ขอ้ สรปุ ใดไม่ถูกต้อง 1. ตัวอย่างแร่ A มคี วามแขง็ มากกวา่ ตัวอยา่ งแร่ B แต่มคี วามแขง็ น้อยกว่าแร่คอรันดัม 2. หากขดู ตวั อย่างแร่ A ดว้ ยแร่โทแพซ จะเกดิ รอยในแร่ทง้ั สองชนดิ 3. ตวั อยา่ งแร่ B มีความแข็งมากกวา่ แรค่ วอรต์ แต่มีความแข็งน้อยกวา่ แรค่ อรันดมั 4. หากขูดตัวอย่างแร่ B ด้วยแร่ฟลูออไรต์ จะเกดิ รอยแร่ฟลูออไรต์ แต่ไมเ่ กดิ รอยทต่ี วั อย่างแร่ B ว 6.1 ม. 2/9 74. ข้อมลู การสำรวจการใช้ประโยชนพ์ น้ื ที่บรเิ วณริมฝงั่ แม่นำ้ สายหนึ่งจากต้นแมน่ ำ้ ไปยังปากแมน่ ้ำพบว่า โรงงาน อตุ สาหกรรมและพน้ื ท่เี กษตรกรรมมีการปล่อยนำ้ เสยี ลงสแู่ ม่น้ำตลอดเวลา และ หมู่บ้าน 4 แห่ง ท่ตี งั้ บา้ นเรือนอาศยั อยู่ รมิ น้ำมกี ารใชน้ ำ้ จากแม่นำ้ เพ่ือการอุปโภคและบริโภค ดงั ภาพ

70 จากภาพ หม่บู า้ นใดได้รับผลกระทบทั้งจากการกดั เซาะตล่ิงและมลพิษทางน้ำจากโรงงานอุตสาหกรรมและพ้ืนท่ี เกษตรกรรมมากทสี่ ุด 1. A 2. B 3. C 4. D ว 7.1 ม.3/1(60) 75. กราฟแสดงข้อมูลการทำนายระดบั นำ้ ทะเลขึ้นสูงสดุ และระดบั นำ้ ทะเลลงตำ่ สุดในแต่ละวันของเดือนหนง่ึ เปน็ ดังน้ี ตำแหน่งของดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และโลก ในภาพใดตอ่ ไปน้ี ท่ีสง่ ผลให้เกดิ นำ้ ข้นึ และน้ำลงดังกราฟในวันที่ 8 1. 2. 3. 4.

71 76. (ว7.1 ม. 3/1) แนวการขึ้นตกของดวงอาทิตย์ในชว่ งเวลาต่าง ๆ ในรอบปี ของประเทศไทย เป็นดงั ภาพ จากภาพ ข้อสรปุ ใดไม่ถูกต้อง 1. ในชว่ งเวลา B เป็นฤดูท่ีมอี ุณหภูมอิ ากาศเฉล่ยี สูงกวา่ ในชว่ งเวลา C 2. ในชว่ งเวลา C จะพบลมมรสุมพัดพามาจากทิศตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 3. ในช่วงเวลา A ของซกี โลกเหนือจะตรงกับชว่ งฤดูหนาวของซกี โลกใต้ 4. ในช่วงเวลา A เงาของเสาธงทีเ่ กดิ ในช่วงเที่ยงวนั จะมีความยาวน้อยกวา่ ในชว่ งเวลา B 77. ว 7.1 ม. 3/3 (60) นักเรียนคนหนึง่ สง่ั เกตท้องฟ้าเวลา 19.00 น. ดา้ นทิศใต้ พบกลุ่มดาว A ดงั ภาพ จากภาพ ในวนั เดยี วกันน้ี หากนักเรียนคนดังกล่าวสังเกตท้องฟ้าอีกครงั้ ในเวลา 22.00 น. จะมองเหน็ กลุ่มดาว A ดงั ภาพใด 1. 2. 3. 4.

72 ว 7.1 ม.3/3 78. ภาพแสดงตำแหน่งของโลกเปรียบเทียบกับตำแหนง่ ของตวงอาทติ ย์และกลมุ่ ดาวจักรราศีของเดือนหนึ่ง เมอ่ื มองจากเหนอื ระนาบเส้นสรุ ิยวิถี และทิศทางการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ เปน็ ดงั น้ี หมายเหตุ ภาพไมไ่ ด้สดั สว่ นตามความเป็นจริง ชว่ งเวลาท่โี ลกอยู่ ณ ตำแหน่งดงั ภาพ ตรงกับเดือนใด และในเวลากลางคนื จะเหน็ กลมุ่ ดาวจักรราศีใดอยู่บนท้องฟา้ ยาวนานทีส่ ุด 1. เดือนมิถนุ ายน และ กลมุ่ ดาวคนยิงธนู 2. เดือนธันวาคม และ กลุ่มดาวคนคู่ 3. เดือนมถิ ุนายน และ กลุ่มดาวแมงป่อง 4. เดอื นธนั วาคม และ กลุ่มดาวหญิงพรหมจารยี ์ ว 7.2 ม.3/1(60) 79. ขอ้ มลู แสดงความสูงจากผวิ โลกและคาบในการโคจรรอบโลกของดาวเทียม 3 ควง เป็นดังนี้ ดาวเทยี ม ความสงู จากผวิ โลก (km) คาบในการโคจรรอบโลก 1 รอบ A 160 1 ชัว่ โมง 27 นาที B 1,609 1 ชว่ั โมง 57 นาที C 35,786 24 ชัว่ โมง จากข้อมูล ข้อความใดไม่ถูกต้อง 1. แรงโน้มถ่วงของโลกต่อดาวเทียม A มากกวา่ ดาวเทยี ม B 2. ความเรว็ ในการโคจรของดาวเทียม B มากกวา่ ดาวเทียม C 3. เมอ่ื สังเกตจากพ้ืนโลกจะเห็นดาวเทยี ม A อยูต่ ำแหน่งคงทบี่ นท้องฟ้า 4. ดาวเทียม C เหมาะสำหรับใช้เป็นดาวเทียมสือ่ สาร เพราะสง่ สญั ญาณมายงั โลกไดต้ ่อเนอ่ื ง

73 ว.7.2 ม.3/1 80. ดาวเทยี มสอื่ สาร ควรมตี ำแหน่งคงที่อยู่บนท้องฟ้าตลอดเวลา เพ่อื ใหจ้ านสายอากาศของดาวเทียมหนั เข้าหาจาน สายอากาศของสถานีรบั สัญญาณบนพื้นผวิ โลกตลอดเวลาโดยไม่ต้องหมนุ ตาม ทำให้สามารถส่งสัญญาณติดตอ่ ส่ือสาร ระหวา่ งโลกกับดาวเทยี มได้อย่างต่อเนื่อง ข้อมลู ความสูงจากผวิ โลกและคาบในการโคจรรอบโลกของดาวเทยี ม 4 ดวง เป็นดงั น้ี ดาวเทยี ม ความสงู จากผวิ โลก (km) คาบในการโคจรรอบโลก 1 รอบ A 160 1 ชว่ั โมง 27 นาที B 1,609 1 ชั่วโมง 57 นาที C 10,000 6 ชว่ั โมง 30 นาที D 35,880 24 ชว่ั โมง จากข้อมูล ดาวเทียมดวงใดที่มวี งโคจรเหมาะสำหรับใช้ประโยชนเ์ ปน็ ดาวเทียมส่ือสาร 1. ดาวเทยี ม A 2. ดาวเทียม B 3. ดาวเทียม C 4. ดาวเทียม D ว 1.1 ม. 1/6 , ม. 2/5 81. นำพชื ต้นหนึง่ ท่ีมีใบสเี ขียวมาศึกษาตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี ขั้นตอนที่ 1 วางตน้ พืชไวใ้ นห้องมดื เป็นเวลา 2 วัน ข้นั ตอนท่ี 2 เมอื่ ครบ 2 วัน คลมุ ใบพืชท่มี ีขนาดเท่ากัน จำนวน 2 ใบ ด้วยกระดาษตา่ งชนดิ กัน ดังน้ี ใบท่ี 1 คลุมด้วยกระดาษทึบแสงสดี ำ ใบท่ี 2 คลุมด้วยกระดาษโปรง่ แสง จากน้ัน นำต้นพืชน้ีไปวางไวก้ ลางแดดเป็นเวลา 3 ช่ัวโมง ข้นั ตอนที่ 3 นำใบพืชท้ังสองใบมาดำเนินการตามข้นั ตอนทดสอบแปง้ ดว้ ยสารละลายไอโอดีน จากข้อมลู ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่ ขอ้ ความ ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ 81.1 พบการเปล่ียนสขี องสารละลายไอโอดนี ในพชื ใบท่ี 2 เทา่ นัน้ ใช่ / ไม่ใช่ 81.2 จากการศกึ ษาสามารถทดสอบได้ว่า แสงเป็นปจั จยั ทีท่ ำใหพ้ ชื สามารถสรา้ งอาหาร ใช่ / ไมใ่ ช่ เองได้ 81.3 ถา้ ไมไ่ ด้ทำการทดลองในขัน้ ตอนท่ี 1 ผลการทดสอบแป้งของใบพชื ท้งั สองใบจะ ใช่ / ไม่ใช่ ยงั คงเหมือนเดิม

74 ว 1.1 ม.2/1(60) 82. ผ้ปู ว่ ยโรคไตจะมกี ารทำงานของไตผดิ ปกติ ทำให้รา่ งกายไม่สามารถขบั ของเสยี และปรบั สมดลุ ของน้ำกบั แร่ธาตุได้ วิธหี นึง่ ในการรักษาผูป้ ่วยโรคไต คือ การฟอกเลือดโดยใชเ้ ครือ่ งไตเทยี มซึ่งใช้หลกั การแพรข่ องสารผ่านเย่ือเลือกผา่ นใน การกำจดั ของเสียเหมอื นกบั ท่อของหนว่ ยไตเปน็ ดังภาพ จากข้อมลู ข้อความต่อไปนีถ้ ูกตอ้ งใช่หรือไม่ ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ ข้อความ ใช่ / ไม่ใช่ 82.1 ความเข้มข้นของของเสียในเลอื ดที่จะนำมาฟอกจะต้องน้อยกว่าในเครื่องไตเทยี ม จงึ จะสามารถกำจดั สารน่นั ออกจากเลือดได้ ใช่ / ไม่ใช่ 82.2 เลือดบริเวณ A มีปริมาณยูเรียสูงกวา่ เลือดบรเิ วณ B ใช่ / ไม่ใช่ 82.3 ผู้ปว่ ยโรคไตควรหลีกเล่ยี งอาหารท่ีมีแรธ่ าตุสงู ว 2.1 ม.3/2 83. สิ่งมีชีวติ ในไรข่ ้าวโพดแห่งหนึง่ มคี วามสัมพันธก์ ัน ดังสายใยอาหารต่อไปนี้

75 จากข้อมูล ขอ้ ความต่อไปน้ีถกู ต้องใชห่ รอื ไม่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ ใช่ / ไม่ใช่ ข้อความ ใช่ / ไม่ใช่ 83.1 เหย่ียวจะได้รับการถา่ ยทอดพลังงานจากขา้ วโพดในปริมาณมากกวา่ นกกินพืชและหนู 83.2 หากเพล้ยี อ่อนเปน็ ศัตรูทำลายเกสรเพศผู้และทำให้ต้นข้าวโพดตายในช่วงที่เพล้ียอ่อน ใช่ / ไม่ใช่ ระบาดเปน็ เวลานาน ประชากรของหนแู ละนกกินพชื จะลดลงดว้ ย 83.3 เกษตรกรสามารถใช้เหยีย่ วและด้วงเตา่ กำจัดศัตรูพืชของข้าวโพดตามวธิ กี ารทาง ธรรมชาติ ว 3.1 ม. 2/1 84. ข้อมลู แสดงสมบัตบิ างประการของสารบรสิ ทุ ธิ์ 4 ชนิด เปน็ ดงั น้ี สาร จดุ หลอมเหลว จุดเดือด การนำไฟฟ้า การแยกสลายสาร (°C) (°C) โดยวธิ ีการทางเคมี A 631 1587 นำไฟฟา้ ได้ดีขึน้ แยกสลายไม่ได้ เมอ่ื อณหภูมสิ ูงขนึ้ แยกสลายไม่ได้ B -210 -196 ไม่นำไฟฟา้ แยกสลายได้ แยกสลายไม่ได้ C 81 218 ไมน่ ำไฟฟ้า D 727 1897 นำไฟฟา้ ได้ดี จากข้อมลู ข้อความต่อไปนี้ถกู ตอ้ งใชห่ รือไม่ ใช่ หรอื ไม่ใช่ ใช่ / ไมใ่ ช่ ข้อความ ใช่ / ไม่ใช่ 84.1 สาร A และสาร D เป็นสารประกอบทมี่ สี มบัตนิ ้ำไฟฟ้าได้ ใช่ / ไม่ใช่ 84.2 สาร B เป็นธาตุอโลหะ เมอ่ื อยู่ท่อี ุณหภมู หิ ้องสาร B จะมสี ถานะเป็นแกส๊ 84.3 สาร C ประกอบดว้ ยอะตอมของธาตุมากกว่า 1 ชนิด

76 ว 3.1 ม.2/3(60) 85. นำของแข็ง A ท่ีมลี ักษณะเป็นผงละเอยี ดสีฟ้า ไปทำการทดลองตามข้นั ตอนดังแผนภาพตอ่ ไปนี้ จากข้อมลู ขอ้ ความต่อไปน้ีกล่าวถกู ตอ้ งใช่หรือไม่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ ใช่ / ไม่ใช่ ข้อความ ใช่ / ไม่ใช่ 85.1 ของแขง็ A เปน็ สารประกอบ ที่ประกอบด้วยธาตุอย่างนอ้ ย 2 ชนิด คอื B และ C 85.2 ของผสมระหว่าง B กับ C สามารถแยกออกจากกันได้ดว้ ยวธิ ีการกลั่น ใช่ / ไม่ใช่ 85.3 ถา้ นำสาร A ไปแยกดว้ ยวธิ ีโครมาโทรกราฟี โดยใชน้ ำเป็นตัวทำละลายพบวา่ สารสี เขียวจะมคี ่า Rf มากกว่าสารสีเหลอื ง ว. 4.2 ม.3/3(60) 86. ศึกษาการเคลื่อนท่ีของวัตถุในแนวตรง โดยกำหนดให้ ตำแหน่งเริ่มต้นของการเคลื่อนทเี่ ป็นตำแหนง่ อา้ งองิ กราฟแสดงตำแหนง่ ของวตั ถุ ณ เวลาต่าง ๆ เป็นดงั น้ี

77 จากข้อมูลข้างตน้ ข้อความต่อไปน้ีกล่าวถูกตอ้ งใชห่ รือไม่ ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ ใช่ / ไมใ่ ช่ ขอ้ ความ ใช่ / ไม่ใช่ 86.1 ตลอดการเคลือ่ นทที่ ้งั หมด วัตถุมีการกระจดั เทา่ กับศูนย์ 86.2 การเคล่ือนทใี่ นช่วงวนิ าทีท่ี 0 - 15 วัตถมุ ีขนาดของความเร็วเฉล่ีย 0.1 เมตรตอ่ ใช่ / ไม่ใช่ วินาที 86.3 ภายในช่วงวนิ าทีที่ 0 - 10 วัตถเุ คลื่อนท่ีด้วยอตั ราเร็วเฉล่ียน้อยกวา่ ชว่ งวินาทที ี่ 10 - 30 ว 5.1 ม.3/1(60) 87. ปลอ่ ยวัตถุชิน้ หน่ึงใหเ้ คล่ือนทีต่ ามรางเรียบลื่น จากตำแหน่ง A แลว้ ผา่ นตำแหนง่ B C และ D ตามลำดบั ดังภาพ จากข้อมลู ข้างตน้ ขอ้ ความต่อไปนถี้ กู ต้องใชห่ รอื ไม่ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ ใช่ / ไม่ใช่ ข้อความ ใช่ / ไมใ่ ช่ 87.1 ท่ตี ำแหน่ง A วัตถุมีพลังงานศักยโ์ นม้ ถว่ งนอ้ ยกว่าท่ีตำแหน่ง B ใช่ / ไมใ่ ช่ 87.2 ท่ีตำแหนง่ C วัตถุมีพลงั งานจลน์มากกวา่ ที่ตำแหนง่ D 87.3 ทุกตำแหนง่ มีพลงั งานกลเท่ากัน

78 ว 5.1 ม.3/4 88. ตอ่ วงจรไฟฟา้ ซึ่งประกอบด้วยหมอ้ แปลงไฟฟ้า จ่ายไฟฟา้ กระแสตรง ตัวตา้ นทานท่มี ีคา่ ความต้านทานคงตัว และแอมมเิ ตอร์ ดังแผนภาพ ทดลองปรบั ความตา่ งศกั ยข์ องหมอ้ แปลงให้มคี ่าแตกต่างกัน พรอ้ มทัง้ อ่านค่ากระเสไฟฟา้ จากแอมมิเตอร์ แลว้ นำข้อมูลท่ีได้ไปเขียนกราฟ ดังนี้ จากการทดลอง ข้อความตอ่ ไปนี้ถกู ต้องใช่หรอื ไม่ ใช่ หรอื ไมใ่ ช่ ใช่ / ไม่ใช่ ข้อความ ใช่ / ไม่ใช่ 88.1 ความตา้ นทานของวงจรมีค่าประมาณ 2.0 โอห์ม 88.2 ถ้าปรับความต่างศักย์ไปท่ี 5.0 โวลต์ กระแสไฟฟ้าที่ผ่านวงจรจะมีค่าประมาณ ใช่ / ไม่ใช่ 10.0 มลิ ลิแอมแปร์ 88.3 การทดลองข้างตน้ ต้องการศกึ ษาปญั หาต่อไปน้ี “เม่อื ความตา้ นทานของวงจรเพมิ่ ขนึ้ กระแสไฟฟา้ จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร” ว 6.1 ม. 1/2 (60) 89. ข้อมูลการตรวจวดั อุณหภูมอิ ากาศโดยใชเ้ ทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแหง้ และกระเปาะเปียกของจงั หวดั 3 จังหวดั ในช่วงเช้า กลางวัน และกลางคนื ของวันเดยี วกัน ได้ผลดังนี้ กรุงเทพฯ ยะลา เชยี งใหม่ เช้า 26/25 26/20 20/17 กลางวัน 34/33 32/26 28/23 กลางคนื 24/21 26/24 22/21

79 กำหนดตารางหาคา่ ความช้นื สัมพทั ธ์ เปน็ ดงั น้ีุอณหภู ิมของเทอร์มอ ิมเตอร์กระเปาะแห้ง (°C) 13 ผลต่างของอุณหภมู ิของเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแหง้ และกระเปาะเปยี ก (°C) 6 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 11 14 90 79 70 60 51 42 34 26 18 10 15 16 90 81 71 63 54 46 38 30 23 15 8 19 18 91 82 73 65 57 49 41 34 27 20 14 7 22 20 91 83 74 66 59 51 44 37 31 24 18 12 25 22 92 83 76 68 61 54 47 40 34 28 22 17 28 24 92 84 77 69 62 56 49 43 37 31 26 20 30 26 92 85 78 71 64 58 51 46 40 34 29 24 33 28 93 85 78 72 65 59 53 48 42 37 32 27 30 93 86 79 73 67 61 55 50 44 39 35 30 32 93 86 80 74 68 62 57 51 46 41 37 32 34 93 87 81 75 69 63 58 53 48 43 39 35 36 94 87 81 75 70 64 59 54 50 45 41 37 จากข้อมลู ข้อสรุปต่อไปนถี้ ูกต้องใช่หรอื ไม่ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ ใช่ / ไม่ใช่ ขอ้ ความ ใช่ / ไม่ใช่ 89.1 ถา้ มีความชนื้ สัมพทั ธ์ 85% ขึน้ ไป จะมีโอกาสเกิดฝนแลว้ จ.กรุงเทพฯ ใช่ / ไม่ใช่ จะมโี อกาสเกดิ ฝนท้ังสามช่วงเวลา 89.2 ในช่วงเวลากลางวัน คนท่ีอาศัยอยู่ จ.ยะลา จะมีโอกาสตากผา้ แห้งไวกว่าคนทอ่ี าศัยอยู่ จ.กรุงเทพฯ และ จ.เชียงใหม่ 89.3 ในชว่ งเวลาเช้า คนท่วี ่ิงออกกำลังกายท่ี จ.เชยี งใหม่ จะรสู้ ึกตัวเหนียว เหนอะหนะ ไมส่ บายตวั กวา่ คนทีว่ ง่ิ ออกกำลังกายที่ จ.กรงุ เทพฯ

80 ว 6.1 ม.2/4 90. โครงสร้างชั้นหินของแหล่งกกั เก็บปิโตรเลียม และสารในแหล่งกักเกบ็ ปิโตรเลยี ม เรยี งลำดับช้นั เป็นดังภาพ สมบตั ขิ องโครงสรา้ งชัน้ หินของแหลง่ กักเก็บปิโตรเลยี ม เปน็ ดังน้ี ชน้ั หนิ สมบัติ มีสารอนิ ทรีย์สะสมอยู่มาก ซงึ่ สามารถเปลยี่ นสภาพไป หินตน้ กำเนดิ เป็นปโิ ตรเลียมภายใตส้ ภาวะความรอ้ นและความดนั ท่ี เหมาะสม หินกักเก็บปโิ ตรเลียม มีความพรนุ รอยแตกหรือโพรง ใหข้ องเหลวและแกส๊ ไหลผา่ นและสามารถกักเก็บปิโตรเลียมได้ หนิ ปดิ กั้น มเี นอ้ื ละเอียด ของเหลวและแกส๊ ซึมไดน้ ้อย จงึ ปิดกนั ไม่ใหป้ ิโตรเลยี มรั่วไหลออกไปได้ จากข้อมูล ขอ้ สรปุ ต่อไปน้ีถูกต้องใชห่ รือไม่ ใช่ หรือ ไม่ใช่ ใช่ / ไมใ่ ช่ ข้อความ ใช่ / ไมใ่ ช่ 90.1 หนิ ท่ีมสี มบัตเิ ป็นชน้ั หนิ ตน้ กำเนิด คือ หินตะกอน 90.2 หินทม่ี ีสมบัติเป็นช้นั หนิ ปดิ กัน้ คือ หนิ ทราย ใช่ / ไม่ใช่ 90.3 เรียงลำดบั ความหนาแน่นของสารในแหล่งกักเก็บปโิ ตรเลยี มจากมากไปน้อย คือ A B และ C ดามลำดับ

81 เฉลยชุดท่ี 2 ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย 1. 4 26. 2 51. 2 76. 4 2. 2 27. 2 52. 3 77. 2 3. 4 28. 3 53. 4 78. 2 4. 2 29. 4 54. 1,2 79. 3 5. 2 30. 1 55. 2 80. 4 6. 1 31. 4 56. 1 81. ใช่ / ใช่ / ไมใ่ ช่ 7. 2 32. 1 57. 4 82. ไม่ใช่ / ใช่ / ใช่ 8. 3 33. 1 58. 3 83. ไมใ่ ช่ / ใช่ / ใช่ 9. 1 34. 4 59. 4 84. ไมใ่ ช่ / ใช่ / ใช่ 10. 4 35. 4 60. 4 85. ไมใ่ ช่ / ไม่ใช่ / ใช่,ไม่ 11. 3 36. 4 61. 1 86. ใช่ / ใช่ / ไมใ่ ช่ 12. 3 37. 4 62. 1 87. ไมใ่ ช่ / ใช่ / ใช่ 13. 4 38. 2 63. 1 88. ไมใ่ ช่ / ใช่ / ไม่ใช่ 14. 2 39. 2 64. 3 89. ไม่ใช่ / ใช่ / ไม่ใช่ 15. 1 40. 4 65. 1 90. ใช่ / ไม่ใช่ / ไมใ่ ช่ 16. 4 41. 3 66. 1 91. 17. 3 42. 4 67. 3 92. 18. 3 43. 1 68. 4 93. 19. 4 44. 2 69. 3 94. 20. 2 45. 4 70. 2 95. 21. 3 46. 1 71. 2 96. 22. 2 47. 1 72. 2 97. 23. 3 48. 3 73. 3 98. 24. 2 49. 1 74. 3 99. 25. 4 50. 2 75. 3 100.

82 ชดุ ที่ 3 ปกี ารศึกษา 2562

83 ว 1.1 ม.3/1 (62) 1. แผนภาพแสดงวฏั จักรของคารบ์ อน เปน็ ดงั น้ี จากแผนภาพ ข้อใดกลา่ วถงึ ปรมิ าณแก๊สในบรรยากาศได้ถกู ต้อง 1. กระบวนการ A ทำใหป้ รมิ าณแก๊ส O2 และ CO2 เพิ่มข้ึน 2. กระบวนการ A ทำใหป้ รมิ าณแกส๊ O2 เพิ่มขึ้น แต่ CO2 ลดลง 3. กระบวนการ B ทำใหป้ ริมาณแก๊ส O2 และ CO2 ลดลง 4. กระบวนการ B ทำให้ปรมิ าณแก๊ส O2 เพม่ิ ขนึ้ แต่ CO2 ลดลง ว 1.1 ม.3/3 ม.3/4 (62) 2. ข้อมูลอาหารของสัตว์แต่ละชนิดในระบบนเิ วศแหล่งนำ้ แหง่ หน่ึง แสดงดังตาราง ชนิดของสัตว์ อาหารของสัตว์ A สาหรา่ ย B สตั ว์ A C สาหร่าย และ ผกั ตบชวา D สตั ว์ B และ E E สตั ว์ C จากข้อมูล ขอ้ ใดกล่าวถึงระบบนิเวศนี้ไมถ่ ูกต้อง 1. สายใยอาหารนี้ ประกอบด้วย 3 โซอ่ าหาร 2. ผบู้ ริโภคลำดบั สุดท้ายของสายใยอาหารน้ี คือ สตั ว์ D 3. สัตว์ B และ E มบี ทบาทเป็นทงั้ เหย่อื และผ้ลู า่ ในสายใยอาหารนี้ 4. ถา้ อตั ราการตายของสาหร่ายเพิม่ ข้นึ สัตว์ C จะไดร้ บั ผลกระทบมากกวา่ สตั ว์ A

84 ว 1.1 ม.3/6 (62) 3. วิธีการกาํ จดั ขยะของครวั เรือนในชุมชนหนึง่ มที ั้งการทิ้งตามท่ีสาธารณะ การทิง้ ลงแหล่งน้ำ และการฝังกลบ ซง่ึ ต่อมา พบวา่ วธิ กี ารเหลา่ นี้กอ่ ให้เกิดปัญหามลพษิ ในชุมชนตามมา ขอ้ ใดไม่ใช่ปัญหามลพิษท่ีอาจเกดิ ขน้ึ จากวิธกี ารกําจดั ขยะของครัวเรอื นในชมุ ชนน้ี 1. ปัญหาโรคทางเดินหายใจจากฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM 2.5 2. ปญั หาดนิ เสือ่ มคุณภาพและเกิดการสะสมสารเคมใี นโซ่อาหาร 3. ปัญหาการเน่าเสยี ของแหล่งน้ำสง่ ผลใหป้ ริมาณของสตั ว์น้ำลดลง 4. ปัญหาดา้ นสุขภาพของประชาชนเนอื่ งจากนำ้ ไหลซมึ ผา่ นกองขยะในทส่ี าธารณะ ว 1.2 ม.1/1 (62) 4. นักเรียนนำสไลด์ตวั อย่างที่เกบ็ ในกล่องสไลด์ตวั อยา่ งพืช มาศกึ ษาสว่ นประกอบของเซลลภ์ ายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ แล้ว บันทกึ ผล ดังตาราง สไลด์ สว่ นประกอบของเซลล์ ตวั อย่าง ผนงั เซลล์ เยอื่ หมุ้ เซลล์ คลอโรพลาสต์ แวควิ โอล นิวเคลยี ส A ไม่มี มี ไมม่ ี ไมม่ ี ไมม่ ี B มี มี มี ไม่มี มี C ไม่มี มี ไมม่ ี มี มี D มี มี มี ไม่มี มี สไลด์ตัวอย่างใดเป็นสไลด์ตวั อย่างของเซลล์สตั ว์ทปี่ นอยใู่ นกล่องน้ี 1. สไลดต์ ัวอยา่ ง A และ B 2. สไลด์ตวั อย่าง A และ C 3. สไลด์ตวั อยา่ ง B และ D 4. สไลดต์ วั อย่าง C เทา่ นั้น

85 ว 1.2 ม.1/5 (62) 5. นำน้ำแปง้ ท่มี ีความเข้มขน้ 20% ใสใ่ นถงุ เซลโลเฟน โดยทำใหม้ ีขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร จากน้ัน นำถุง เซลโลเฟนแช่ในบีกเกอรท์ ีบ่ รรจนุ ำ้ กลัน่ ดงั ภาพ เม่ือเวลาผา่ นไป 30 นาที พบวา่ ถุงเซลโลเฟนมขี นาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางเพ่มิ ขนึ้ เป็น 4 เซนติเมตร จากข้อมูล ข้อความ ต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่ ขอ้ ความ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ 41.1 หลงั การทดลอง ความเข้มขน้ ของน้ำแป้งในถุง ใช/่ ไมใ่ ช่ เซลโลเฟนจะลดลงเน่อื งจากโมเลกุลของแป้งจะเกดิ การแพร่ออกจากถงุ 41.2 หากนำตวั อยา่ งน้ำในบีกเกอรห์ ลงั การทดลอง ใช/่ ไมใ่ ช่ มาทดสอบด้วยการหยดสารละลายไอโอดนี สขี อง สารละลายจะเปล่ียนเป็นสีนำ้ เงนิ เขม้ 41.3 หากทำการทดลองอีกคร้งั โดยเปล่ยี นนำ้ กลน่ั ใช่/ ไมใ่ ช่ ในบกี เกอร์เปน็ น้ำแป้ง ทมี่ ีความเข้มขน้ 10% เม่ือ เวลาผา่ นไป 30 นาที ถงุ เซลโลเฟนจะมีขนาด เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางอย่รู ะหวา่ ง 2 - 4 เซนติเมตร

86 ว 1.2 ม.1/6 (62) 6. จดั ชดุ การทดลองเพอ่ื ศึกษาการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื โดยนำพชื ใสไ่ วใ้ นกรวยแก้วแล้วควำ่ ลงในบีกเกอร์ แลว้ นำ หลอดทดลองท่ีมีนำ้ เต็มหลอดครอบกรวยแก้วไว้ จากน้ันใช้โคมไฟส่อง ไปยังชดุ การทดลองเปน็ เวลา 20 นาที พบว่ามี ฟองแกส๊ เกิดข้ึนภายในหลอดทดลองท่ีมีนำ้ เตม็ ดังภาพ หากต้องการศึกษาเพิม่ เติมว่า “ความเข้มแสงสง่ ผลตอ่ อตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช หรอื ไม่” ควรปรบั ชดุ การ ทดลองและเปรียบเทียบผลการทดลองนี้อย่างไร 1. เพมิ่ ปริมาณนำ้ ในบีกเกอร์ แลว้ เปรยี บเทยี บจำนวนฟองแก๊สออกซิเจนท่ีเกิดข้ึน 2. เพ่ิมความสว่างของหลอดไฟ แล้วเปรยี บเทียบจำนวนฟองแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดท์ ี่เกิดขึ้น 3. เพม่ิ จำนวนของพชื น้ำที่ใช้ แลว้ เปรยี บเทยี บจำนวนฟองแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ท่เี กิดข้ึน 4. เพิ่มระยะหา่ งระหวา่ งบีกเกอรก์ ับหลอดไฟ แลว้ เปรียบเทยี บจำนวนฟองแกส๊ ออกซเิ จนท่เี กิดข้นึ ว 1.2 ม.1/9 (62) 7. จดั ชดุ การทดลอง 2 ชุดเพ่ือศกึ ษาการลำเลยี งนำ้ ของพืช โดยนำพชื ชนดิ หน่งึ ที่มขี นาด อายุ และจำนวนใบเท่ากนั แช่ ในกระบอกตวงท่มี ีน้ำปริมาตร 30 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร และเติมน้ำมันพชื ปรมิ าตร 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงในแตล่ ะ ชุดการทดลองเพ่ือป้องกันไมใ่ ห้มกี ารระเหยท่ผี วิ น้ำ ดงั ภาพ แลว้ นำชุดการทดลองที่ 1 และ 2 ไปวางไวใ้ นบริเวณ A และ B ที่มีความช้ืนสมั พัทธแ์ ละ อุณหภูมิต่างกัน โดยมีปจั จยั ภายนอกอ่ืน ๆ เหมือนกัน เมอื่ เวลาผ่านไป 24 ชั่วโมง สังเกตระดบั น้ำ ในกระบอกตวง แลว้ บันทกึ ปริมาตรนำ้ หลังการทดลอง ได้ผลดังตาราง บรเิ วณใดท่ที ำใหพ้ ชื มีการลำเลียงนำ้ มายงั ปากใบได้ดีกว่า เพราะเหตุใด 1. บริเวณ A เพราะมีความช้ืนสัมพทั ธ์สงู และมีอุณหภมู ติ ำ่ 2. บริเวณ 4 เพราะมีความชื้นสมั พทั ธ์ต่ำและมีอุณหภมู ิสูง 3. บริเวณ B เพราะมีความชนื้ สมั พทั ธ์ต่ำและมีอณุ หภูมิสงู 4. บรเิ วณ B เพราะมคี วามช้นื สมั พทั ธ์สงู และมีอุณหภูมติ ่ำ

87 ว 1.2 ม.1/1 (62) 8. ภาพแสดงผลของพืชชนดิ หนงึ่ เป็นดงั น้ี จากภาพ ข้อใดถูกต้อง 1. สว่ น A เจริญมาจากรงั ไข่ 2. ส่วน A มีเอมบรโิ ออยู่ภายใน 3. ผลของพืชชนดิ นีเ้ จริญมาจากออวลุ 4. พชื ตน้ ใหม่ทเี่ จริญจากส่วน A จะมีพันธุกรรมเหมือนเดิมเสมอ ว 1.2 ม.2/3 ม.2/7 (62) 9. นกั เรียนกลุ่มหนงึ่ ได้คน้ ควา้ บทความเก่ยี วกบั การศกึ ษาผลกระทบของฝนุ่ ละออง PM 2.5 ในหนูทดลอง พบวา่ ฝ่นุ ละออง PM 2.5 สง่ ผลให้ถุงลมปอดบางส่วนของหนูทดลองถูกทำลาย และหนูทดลองจะมจี ำนวนเมด็ เลอื ดขาวทีป่ อด ลดลง จำนวนแบคทเี รียทป่ี อดจึงเพมิ่ ขนึ้ นักเรียนแต่ละคนจึงวเิ คราะห์และอภิปรายผลกระทบของฝุ่นละออง PM 2.5 ในหนูทดลอง เพ่ือเปรียบเทียบกับ ผลกระทบท่ีอาจเกิดขึน้ ต่อรา่ งกายมนุษย์ ดงั น้ี นักเรยี น ก “ฝนุ่ ละออง PM 2.5 ทำให้เป็นภูมแิ พ้ เพราะจำนวนเมด็ เลอื ดขาวในหลอดเลือดท่ปี อดลดลง” นักเรียน ข “ฝุ่นละออง PM 2.5 ทำใหก้ ารแลกเปล่ียนแก๊สทป่ี อดน้อยลง เพราะถุงลมปอดถกู ทำลาย” นักเรียน ค “ฝุ่นละออง PM 2.5 ทำให้หวั ใจตอ้ งทำงานหนักขนึ้ เพื่อสูบฉีดเลอื ดไปยงั อวัยวะตา่ ง ๆ มากข้นึ เพราะถุง ลมปอดถูกทำลาย” จากข้อมลู นกั เรียนคนใดเสนอผลกระทบของฝ่นุ ละออง PM 2.5 ทอ่ี าจเกิดข้นึ ต่อรา่ งกายมนุษย์ ได้ถูกต้อง 1. นักเรียน ก เทา่ นั้น 2. นกั เรยี น ข เท่าน้ัน 3. นกั เรยี น ก และ ค 4. นักเรียน ข และ ค

88 ว 1.3 ม.3/2 (62) 10. เกษตรกรนำตน้ ถ่วั ชนดิ หนง่ึ ที่มีเมล็ดสเี หลอื งมาผสมพันธุก์ ับตน้ ถ่ัวทม่ี เี มล็ดสีเขียว โดยใช้รุ่นพอ่ แม่จำนวน 2 คู่ ทำ ให้ไดต้ ้นถั่วรุ่นลูกทีม่ ีลักษณะสีของเมล็ด ดงั ตาราง ต้นถว่ั รนุ่ พ่อแม่ ร้อยละของต้นถั่วรนุ่ ลกู (เมลด็ สเี หลอื ง X เมล็ดสเี ขียว) เมล็ดสีเหลือง เมล็ดสเี ขียว คทู่ ี่ 1 50 50 คทู่ ี่ 2 100 0 หากนำตน้ ถ่วั รนุ่ ลูกที่มเี มลด็ สีเหลอื งทไี่ ดจ้ ากตน้ ถั่วร่นุ พ่อแมค่ ทู่ ่ี 1 และ 2 มาผสมพันธุ์กัน จะไดต้ ้นถั่วทมี่ ีลักษณะอย่างไร 1. ตน้ ถั่วจะมเี มลด็ สเี ขยี วท้ังหมด 2. ตน้ ถว่ั จะมีเมล็ดสีเหลืองทง้ั หมด 3. ตน้ ถว่ั จะมีเมลด็ สีเหลอื งและเมลด็ สีเขยี ว ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 4. ต้นถ่วั จะมเี มล็ดสเี หลืองและเมลด็ สเี ขยี วในอตั ราสว่ น 1 ต่อ 1 ว 2.1 ม.1/5 (62) 11. จัดชดุ การทดลอง โดยนำวสั ดแุ ผน่ บางมาวางกันตรงกลางภาชนะจะได้ช่องใส่สาร 2 ชอ่ ง จากนั้นเทนำ้ ลงในช่องหนง่ึ และเทสารผสมท่ีมีอนุภาคเพียงชนิดเดยี วกระจายตัวอยใู่ นนำ้ ลงในอกี ช่องหนง่ึ ดงั ภาพ ทำการทดลอง โดยเปล่ียนชนดิ ของสารผสมและวสั ดกุ ันที่มีรูพรนุ ขนาดต่างกนั โดยวัสดุ A มีรพู รนุ ขนาด 10-8เซนตเิ มตร และวัสดุ B มีรูพรนุ ขนาด 10-4 เซนตเิ มตร เมือ่ เวลาผา่ นไป 20 นาที สังเกตและบนั ทึกผลการเปล่ียนแปลงของนำ้ ใน ชอ่ งใสน่ ำ้ และผลการฉายลำแสง ผ่านสารผสม ไดผ้ ลดงั ตาราง ผลการสงั เกต ชนดิ ของ สารผสม สขี องผา่ นสารผสม การเปลย่ี นแปลงของนำ้ เมื่อเปล่ยี นวสั ดุ การฉายลำแสง กน้ั สารผสม วัสดุ A วสั ดุ B M สแี ดง ไม่เปลยี่ นแปลง เปลี่ยนเปน็ สแี ดง ไมเ่ หน็ ลำแสง N สีเหลอื ง ไมเ่ ปลย่ี นแปลง เปล่ยี นเปน็ สีเหลือง เห็นลำแสง O สเี ขยี ว ไม่เปลยี่ นแปลง ไมเ่ ปลย่ี นแปลง ไม่เหน็ ลำแสง P สีฟ้า เปลยี่ นเปน็ สฟี า้ เปล่ยี นเป็นสีฟ้า ไมเ่ ห็นลำแสง

89 จากผลการทดลอง การจดั กลมุ่ สารตามอนุภาคในข้อใดเปน็ ไปได้มากท่ีสุด สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย 1. O M และ N P 2. P N M และ O 3. M และ O N P 4. M และ P N O ว 2.1 ม.1/9 (62) 12. พจิ ารณาข้อมลู จากแบบจำลองการจดั เรียงอนภุ าคของสารชนิดหน่งึ ทีเ่ กดิ การเปลีย่ นแปลงสถานะ ทอ่ี ณุ หภมู ติ ่าง ๆ ดังภาพ กําหนดให้ O แทนอนภุ าคของสาร จากข้อมูล ขอ้ ความใดถูกต้อง 1. ทีอ่ ณุ หภูมิ T1 สารมีอุณหภูมิสงู กว่าท่ีอุณหภูมิ T3 2. ทีอ่ ุณหภูมิ T3 อนุภาคของสารขยายใหญข่ ้นึ สารจงึ มีปริมาตรมากกวา่ ที่อุณหภมู ิ T1 3. ทอ่ี ณุ หภูมิ T2 สารมีแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนภุ าคและพลงั งานจลนม์ ากกวา่ ท่อี ุณหภูมิ T1 4. ทอี่ ุณหภูมิ T2 อนุภาคของสารมีการเคล่ือนท่ีแบบสั่นโดยไม่เปลี่ยนตำแหน่งจึงมีพลังงานจลนน์ ้อยกวา่ ที่อณุ หภูมิ T3 ว 2.1 ม.1/9 ม.1/10 (62) 13. ข้อมลู แสดงสมบัตบิ างประการของธาตุ 4 ชนิด เป็นดังน้ี ธาตุ สมบัติบางประการของธาตุ จดุ หลอมเหลวฺ (°C) จุดเดอื ด (°C) การนำไฟฟ้า A 419 907 นำไฟฟา้ E 114 184 ไม่นำไฟฟ้า J 842 1484 นำไฟฟา้ Q 2076 3927 นำไฟฟา้ ไดด้ ีขึ้นเมื่อ อณุ หภูมิสูงขนึ้

90 จากข้อมลู การสรุปสมบัติทอี่ ุณหภูมหิ อ้ งของธาตุใดถูกต้อง 1. ธาตุ Q เป็นของแขง็ ที่มีสมบัติเปน็ ธาตุโลหะ 2. ธาตุ J เป็นของแข็งท่สี ามารถทบุ ใหแ้ ผ่ออกเปน็ แผน่ บาง ๆ ได้ 3. ธาตุ E เปน็ ของแขง็ มีลักษณะมันวาว สามารถนำความร้อนได้ 4. ธาตุ A เป็นของแขง็ ที่มีความเปราะ เมื่อทบุ ด้วยค้อนจะแตกเปน็ ชน้ิ เล็ก ๆ ว 2.1 ม.2/1 (62) 14. ทดลองแยกสารจากเปลือกผลไม้แหง้ ชนิดหนึง่ โดยมีขน้ั ตอนดังแผนภาพ จากข้อมลู ถ้าต้องการแยกตวั ทำละลายออกจากสารละลาย 1 และ 2 ควรเลอื กใชว้ ธิ ใี ด สารละลาย 1 สารละลาย 2 1. การกลนั่ การกลนั่ 2. การกลั่น โครมาโทกราฟี 3. การสกัดดว้ ยตัวทำละลาย โครมาโทกราฟี 4. การสกดั ด้วยตวั ทำละลาย การกล่ันดว้ ยไอนำ้

91 ว 2.1 ม.2/4 ม.2/5 (62) 15. สภาพละลายได้ของลเิ ทยี มซลั เฟตในน้ำ 100 กรัม ท่อี ุณหภูมิต่าง ๆ เปน็ ดงั นี้ สภาพละลายได้ของสารในน้ำ 100 กรัม ท่ีอณุ หภูมติ ่าง ๆ (g) 0°C 20°C 60°C 100°C 36 34 33 31 จากข้อมูล ถ้าต้องการใหล้ ิเทียมซัลเฟต จำนวน 50 กรัม ละลายในนำ้ ได้หมดจะต้องใชน้ ำ้ ปรมิ าณกี่กรัมและอุณหภูมิ กองศาเซลเซียส ปรมิ าณนำ้ (g) อุณหภมู ิ (°C) 1. 120 0 2. 120 60 3. 150 20 4. 150 100 ว 2.1 ม.2/5 (62) 16. ในหอ้ งทดลองมีสารละลายเอทานอลเข้มข้นร้อยละ 75 โดยปรมิ าตร จำนวน 500 ลกู บาศก์เซนติเมตร ซ่งึ จะนำมาใช้เตรยี มสารละลายเอทานอล จำนวน 2 การทดลอง โดยแต่ละการทดลองตอ้ งใช้ สารละลายเอทานอลที่มีความเข้มขน้ ตา่ งกนั ดังนี้ การทดลองท่ี 1 ใช้สารละลายเอทานอล เข้มข้นรอ้ ยละ 60 โดยปริมาตร จำนวน 250 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร การทดลองที่ 2 ใช้สารละลายเอทานอล เขม้ ขน้ รอ้ ยละ 75 โดยปริมาตร ทเ่ี หลือจากการทดลองที่ 1 สารละลายเอทานอลทใี่ ช้ในการทดลองท่ี 2 มเี อทานอลละลายอยู่กี่ลกู บาศก์เซนตเิ มตร 1. 200 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร 2. 225 ลกู บาศก์เซนติเมตร 3. 300 ลกู บาศก์เซนติเมตร 4. 350 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ว 2.1 ม.3/5 (62) 17. เม่อื ละลายสารชนิดหนง่ึ จำนวน 20 กรัม ในนำ้ ที่มอี ุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส จำนวน 100 กรมั แล้ววัดอุณหภมู ิ หลังการละลาย พบว่าสารละลายที่ไดม้ ีอณุ หภูมิ 10 องศาเซลเซยี ส กําหนดให้ x คือ พลังงานที่ใช้ทำให้สารแยกตวั เป็นอนภุ าคเลก็ ๆ y คือ พลงั งานทีอ่ นภุ าคของสารยึดเหนี่ยวกบั โมเลกลุ ของน้ำ จากข้อมลู การละลายน้ำของสารชนิดน้ีเป็นการละลายประเภทใด และการเปรยี บเทยี บ คา่ x กบั y เปน็ อย่างไร ประเภทการละลาย การเปรียบเทยี บค่า x กบั y 1. ดดู ความรอ้ น x>y 2. ดูดความรอ้ น x<y 3. คายความร้อน x>y 4. คายความร้อน x<y

92 ว 2.1 ม.3/6 (62) 18. ปฏกิ ริ ยิ าเคมรี ะหวา่ งสารละลาย A กับสารละลาย B ได้ผลิตภณั ฑ์เปน็ ผลกึ C แกส๊ D และของเหลว E ดังสมการ สารละลาย A + สารละลาย B → ผลกึ C แก๊ส D + ของเหลว E ถา้ ทำการทดลองในหลอดทดลองท่ีปิดดว้ ยจุกยางพบว่า เมื่อสารต้ังต้นทง้ั 2 ชนิด ทำปฏกิ ริ ิยากัน จนสารหมดพอดี จะ เกิดผลกึ C แกส๊ D และของเหลว E ที่มีมวลรวมเท่ากับ 30 กรัม และ หลอดทดลองท่ใี ช้ทำการทดลองมีอุณหภมู ลิ ดลง จากข้อมลู ขอ้ ความต่อไปนี้ถูกตอ้ งใชห่ รือไม่ ขอ้ ความ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่ 18.1. ปฏิกริ ยิ าเคมที ่เี กิดข้ึนเป็นปฏกิ ิรยิ าดูดความร้อน ใช่ / ไม่ใช่ 18.2. ถ้าทำการทดลองซำ้ โดยนำสารตง้ั ตน้ ทั้ง 2 ชนดิ มาทำปฏกิ ริ ยิ ากนั ในหลอด ใช่ / ไมใ่ ช่ ทดลองที่ไม่ได้ปดิ ดว้ ยจกุ ยาง เมอ่ื เกิดปฏกิ ิรยิ าจนสารหมดพอดี มวลของผลติ ภณั ฑท์ ่ี ชั่งได้จะเท่ากบั มวลรวมของสารละลาย A กบั สารละลาย B 18.3. ถา้ ทำการทดลองในหลอดทดลองที่ปิดดว้ ยจุกยาง โดยใช้ปรมิ าณสารตัง้ ตน้ เทา่ ใช่ / ไมใ่ ช่ เดิม แต่ให้ความร้อนเพ่มิ ทำให้ปฏกิ ริยาเกิดเรว็ ขึ้น เมื่อสารทำปฏกิ ริ ิยากนั จนหมดพอดี จะไดป้ ริมาณผลิตภัณฑ์มมี วลรวมกัน มากกวา่ 30 กรมั ว 2.2 ม.2/1 (62) 19. ผกู เชอื กที่มมี วลนอ้ ยมากเข้ากับวตั ถุหนัก 4.0 นิวตนั จากนัน้ ดงึ เชือกด้วยแรงขนาดคงตัว 7.5 นวิ ตนั ใหว้ ัตถุเคลือ่ นที่ขึน้ ในแนวด่ิง ดงั ภาพ แรงลพั ธท์ ่กี ระทำต่อวัตถุมีขนาดเทา่ ใด และวัตถุจะมลี กั ษณะการเคล่อื นท่ีอย่างไร 1. 3.5 นิวตัน และ ความเรง่ คงตวั 2. 3.5 นิวตนั และ ความเร็วคงตัว 3. 11.5 นิวตัน และ ความเรง่ คงตวั 4. 11.5 นิวตัน และ ความเร็วคงตวั

93 ว 2.2 ม.2/4 (62) 20. นำกล่องพลาสติกหนัก 10 นิวตัน วางลงในภาชนะ A แลว้ เติมนำ้ ในภาชนะ A จนกระทั่งระดบั ผิวน้ำสงู เท่ากบั ขอบพวยพอดีโดยไม่ให้นำ้ ล้นออกมา ดงั ภาพท่ี 1 จากน้นั วางดินนำ้ มันลงในกลอ่ ง พบว่า กล่องลอยนง่ิ โดยมีสว่ นท่จี มในนำ้ มากขนึ้ และมีน้ำล้น จากภาชนะ A ผ่านพวยลงส่ภู าชนะ B ดังภาพท่ี 2 แรงพยงุ ของน้ำท่กี ระทำตอ่ กลอ่ งพลาสติกในภาพท่ี 1 และ 2 มีขนาดเท่าใด ขนาดของแรงพยุงในภาพท่ี 1 (N) ขนาดของแรงพยุงในภาพที่ 2 1. 0 เทา่ กับ น้ำหนักของนำ้ ในภาชนะ B 2. 0 มากกวา่ น้ำหนักของน้ำในภาชนะ B 3. 10 เทา่ กบั น้ำหนกั ของน้ำในภาชนะ B 4. 10 มากกวา่ น้ำหนักของน้ำในภาชนะ B ว 2.2 ม.2/6 (62) 21. ผกู เชือกกับแท่งไมซ้ ่ึงวางอยบู่ นพืน้ ราบทมี่ ีความเสยี ดทาน แล้วออกแรงดงึ เชอื กในแนวระดบั แตแ่ ท่งไมย้ งั อยนู่ ่งิ ไมเ่ คลื่อนที่ ดงั ภาพ แรงที่มือดึงเชือก กับ แรงทีแ่ ท่งไม้ดึงเชือก เป็นแรงคู่กิริยา - ปฏกิ ริ ยิ ากนั หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 1. เป็น เพราะแรงทงั้ สองมขี นาดเทา่ กนั และมีทศิ ทางเดยี วกัน 2. เปน็ เพราะแรงท้ังสองมขี นาดเทา่ กันและมีทิศทางตรงข้ามกนั 3. ไม่เปน็ เพราะแรงทั้งสองเปน็ แรงทีก่ ระทำบนวัตถุต่างชิ้นกัน 4. ไม่เปน็ เพราะแรงทง้ั สองเป็นแรงที่กระทำบนวัตถุชิน้ เดยี วกนั

94 ว 2.2 ม.2/6 (62) 22. วางวัตถุชิน้ หนง่ึ บนพน้ื ทดลองดึงวัตถุด้วยเคร่ืองชัง่ สปรงิ บนั ทกึ ขนาดของแรงดึงและสภาพการเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุ ผลเปน็ ดังตาราง แรงดึง (N) สภาพการเคล่ือนท่ี 1.0 อยู่นงิ่ 1.5 อยู่น่ิง 2.0 เร่มิ จะเคลื่อนท่ี จากการทดลอง ข้อความใดกล่าวถูกตอ้ ง 1. ถา้ ออกแรงดึง 1.3 นวิ ตนั แรงเสยี ดทานสถิตจะมีขนาดเทา่ กับแรงดึง 2. ถ้าออกแรงดึง 2.5 นวิ ตัน จะเกดิ ทั้งแรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสยี ดทานจลน์ 3. ถ้าติดวัตถุเหมือนกนั อีกช้ินบนวตั ถนุ ี้ แรงดึงท่ีทำให้วตั ถุเร่ิมจะเคลื่อนท่ยี ังคงเทา่ เดิม 4. ถา้ ทำวัตถุนใี้ หแ้ บนมพี ื้นท่ีผิวสัมผสั กบั พ้นื มากขึ้น แรงดึงทที่ ำให้วัตถเุ ร่ิมจะเคล่ือนท่จี ะน้อยลง ว 2.2 ม.2/10 (62) 23. แขวนวตั ถุหนกั 4 นวิ ตัน 6 นิวตัน และ 8 นวิ ตัน เขา้ กับคานเบา แลว้ นำคานไปแขวน พบวา่ คานอยู่ในสภาพสมดุล ในแนวระดับ ดงั ภาพ จากภาพ ระยะ D มีคา่ เท่าใด และ ถ้านำวตั ถหุ นัก 4 นิวตนั ออก คานจะหมุนในทิศใด ระยะ D (cm) ทิศทคี่ านจะหมุน หลังจากนำวัตถุออก 1. 50 ตามเข็มนาฬิกา 2. 50 ทวนเขม็ นาฬิกา 3. 60 ตามเข็มนาฬิกา 4. 60 ทวนเข็มนาฬิกา

95 ว 2.2 ม.2/14 (62) 24. ในกิจกรรมสำรวจปา่ ชายเลนของค่ายอบรมหนึ่ง เกรทและนุกอยู่ที่จดุ A ได้ยินเสยี งคติ ต้ตี ะโกนร้องขอความ ช่วยเหลอื จากในบอ่ โคลนที่จดุ C เกรทและนุกเริ่มต้นเคล่ือนทีจ่ ากจุด A พร้อมกนั เกรทเลอื กว่งิ บนดินแข็งไปท่ีจุด B ก่อน แล้วจึง เดินลุยโคลนไปยังจุด C สว่ นนุกเลือกเสน้ ทางเดินลุยโคลนจากจุด A ตรงไปยังจดุ C ดงั ภาพ กาํ หนดให้ อัตราเร็วของการเดนิ ในบอ่ โคลน เทา่ กับ 0.4 เมตรต่อวินาที อัตราเรว็ ของการวิง่ บนดินแข็ง เทา่ กับ 1.6 เมตรต่อวินาที ท้งั สองเสน้ ทางมีการกระจดั ขนาดต่างกนั เท่าใด และบคุ คลใดจะไปถึงคติ ตีก้ ่อน 1. 0 เมตร และ เกรทถงึ ก่อน 2. 0 เมตร และ นกุ ถึงก่อน 3. 4 เมตร และ เกรทถึงก่อน 4. 4 เมตร และ นุกถึงก่อน ว 2.3 ม.1/3 (62) 25. พจิ ารณาข้อมูลต่อไปน้ีเพื่อใชใ้ นการตอบคําถาม จัดชดุ การทดลองโดยใสข่ องเหลวอุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซียส ในขวดแกว้ อุณหภมู ิ 25 องศาเซลเซียส ทมี่ หี ลอดแก้วใสและ เทอร์มอมเิ ตอร์เสียบไว้ แลว้ นำขวดแก้วจ่มุ ในนำ้ ร้อน อุณหภูมิ 90 องศาเซลเซยี ส ดังภาพ บนั ทึกเวลาและระดับความสงู ของของเหลวในหลอดแก้ว เม่ือของเหลวในขวดแก้วมอี ุณหภูมิ 50 องศาเซลเซยี ส จากนนั้ ทดลองซำ้ โดยเปลย่ี นชนดิ ของของเหลว ผลเปน็ ดังตาราง ของเหลว เวลาท่ที ำให้ของเหลวในขวดแก้ว ความสงู ของของเหลวในหลอดแกว้ ที่ มีอุณหภมู ิ 50 °C (min) อุณหภูมิ 50 °C (cm) A3 5 B3 10 C5 5 D5 10

96 จากข้อมลู ถ้าต้องเลอื กของเหลวทไ่ี วตอ่ การเปลยี่ นแปลงอุณหภมู แิ ละขยายตัวได้มาก เพอ่ื ไปทำเทอร์มอมเิ ตอร์ ควร เลือกของเหลวชนิดใด 1. ของเหลว A 2. ของเหลว B 3. ของเหลว C 4. ของเหลว D ว 2.3 ม.1/5 ม.1/6 (62) 26. พจิ ารณาข้อมูลต่อไปนีเ้ พื่อใชใ้ นการตอบคําถาม จัดชุดการทดลองโดยใสข่ องเหลวอณุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส ในขวดแกว้ อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส ทมี่ หี ลอดแกว้ ใสและ เทอร์มอมเิ ตอร์เสียบไว้ แลว้ นำขวดแก้วจมุ่ ในนำ้ ร้อน อณุ หภมู ิ 90 องศาเซลเซียส ดังภาพ ขอ้ ความใดต่อไปน้ีไม่ถูกต้อง 1. เทอร์มอมิเตอร์จะดดู กลนื ความรอ้ นจากของเหลวในขวดแกว้ 2. ขณะจุม่ ขวดแกว้ ในนำ้ ร้อน มกี ารนำความร้อนจากขวดแกว้ ไปยงั ของเหลว 3. ของเหลวในขวดแก้วทบี่ รเิ วณก้นขวดจะพาความรอ้ นขึน้ ไปยังของเหลวทอ่ี ยู่ดา้ นบน 4. ขณะเริม่ จุ่มขวดแก้วในนำ้ ร้อน ของเหลวในขวดแก้วจะถ่ายโอนความร้อนไปสู่น้ำร้อน ว 2.3 ม.2/4, ม.2/5 (62) 27. แขวนวัตถุ 4 ชน้ิ ไว้ทค่ี วามสูงต่าง ๆ โดยวัตถุ A และ B มีมวล 1 กิโลกรมั สว่ นวัตถุ C และ D มมี วล 2 กโิ ลกรมั ดังภาพ จากนน้ั ตดั เชอื กใหว้ ตั ถทุ งั้ 4 ชน้ิ ตกสู่ระดับอา้ งอิง กําหนดให้ ระยะห่างจากระดับอา้ งองิ ถงึ จดุ ศนู ยก์ ลางของวัตถุ A กับวตั ถุ C มีคา่ เท่ากันและวตั ถุ B กับวตั ถุ D มีคา่ เท่ากัน ข้อความใดกลา่ วถูกต้อง 1. กอ่ นตดั เชอื ก พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุ A น้อยกว่าวตั ถุ B 2. กอ่ นตดั เชือก พลังงานศกั ย์โน้มถ่วงของวตั ถุ B เทา่ กบั วตั ถุ D 3. ขณะวัตถุ C และ D ตกถึงระดบั อา้ งองิ พลังงานจลน์ของวตั ถุ C มากกวา่ วัตถุ D 4. ขณะวัตถุ A และ C ตกถงึ ระดับอา้ งอิง พลงั งานจลน์ของวัตถุ A เทา่ กับวตั ถุ C

97 ว 2.3 ม.3/1 , ม.3/4 (62) 28. โทน่ีจะใชง้ านหลอดไฟฟ้าหลอดหน่ึง ซง่ึ จะทำงานไดเ้ มื่อใหค้ วามต่างศักยร์ ะหวา่ งขว้ั ของหลอด 1.5 โวลต์ และมี กระแสไฟฟ้าผ่าน 0.3 แอมแปร์ เทา่ น้นั โทนพี บปัญหาวา่ เขามแี บตเตอร่ี 6.0 โวลต์ ที่ปรบั ความต่างศักยไ์ ม่ได้ เขาจึงต่อตวั ต้านทานกับ หลอดไฟฟ้านน้ั แบบ อนุกรม ดงั แผนภาพ ซึ่งทำให้หลอดไฟฟ้าดังกล่าวทำงานได้ กาํ หนดให้ แบตเตอรแี ละสายไฟมีความต้านทานภายในน้อยมาก จงึ ไม่ต้องนำมาพจิ ารณา ความต้านทานของหลอดไฟฟ้าเป็นเทา่ ใด และเหตใุ ดโทนีจ้ ึงตอ้ งต่อตัวต้านทานเข้ากบั หลอดไฟฟา้ 1. 0.45 โอห์ม และ เพื่อลดกระแสไฟฟ้าในวงจร 2. 0.45 โอห์ม และ เพ่ือลดความต่างศกั ย์ระหวา่ งขั้วของแบตเตอรี่ 3. 5.0 โอห์ม และ เพื่อลดกระแสไฟฟ้าในวงจร 4. 5.0 โอหม์ และ เพื่อลดความต่างศักย์ระหว่างขัวของแบตเตอรี่ ว 2.3 ม.3/8 (62) 29. บ้านหลงั หน่งึ ใช้งานเครื่องใชไ้ ฟฟ้า A และ B ซง่ึ มีคา่ กําลงั ไฟฟา้ และเวลาที่ใชง้ านใน 1 เดอื น เป็นดงั ตาราง กําหนดให้ คา่ ไฟฟ้าหนว่ ยละ 2 บาท เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า กาํ ลังไฟฟา้ (kW) เวลาท่ีใช้งานใน 1 เดอื น (h) A 1.2 30 B 2.0 24 จากข้อมูลกําลงั ไฟฟ้า ในแต่ละ 1 วนิ าที เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ท้งั สองจะใชพ้ ลังงานไฟฟา้ ตา่ งกนั เท่าใด และจากการใช้งาน คา่ ไฟฟา้ ท่ตี ้องเสียจากการใช้งานเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท้ังสองเป็นเทา่ ใด 1. 0.8 จลู และ 84 บาท 2. 0.8 จูล และ 168 บาท 3. 800 จูล และ 84 บาท 4. 800 จลู และ 168 บาท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook