Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-22 08:04:45

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1
คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ม.1 ล.1,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิง่ มีชีวติ 165 คู่มอื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมทา้ ยบท แบบจำ� ลองเซลลเ์ ป็นอย่างไร นักเรยี นจะได้เรยี นรูเ้ ก่ยี วกับโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องเซลล์ จดุ ประสงค์ สรา้ งแบบจำ� ลองเซลล์ เพ่อื บรรยายโครงสร้างและหนา้ ทีข่ องเซลล์ เวลาทใ่ี ช้ 1 ชว่ั โมง ในการทำ� กจิ กรรม ข้อเสนอแนะ • ครคู วรแจง้ นกั เรยี นลว่ งหนา้ เกยี่ วกบั การท�ำกจิ กรรม เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมเี วลาเตรยี มอปุ กรณแ์ ละ ในการทำ� กจิ กรรม สรา้ งแบบจำ� ลองเซลล์ เพ่ือนำ� มาจัดแสดงและน�ำเสนอในคาบเรยี น สื่อการเรยี นร/ู้ • แบบจำ� ลองเซลล์ ตอ้ งมกี ารระบโุ ครงสร้างและหน้าทขี่ องโครงสร้างด้วย แหล่งเรียนรู้ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษารงั สติ (ท้องฟ้าจำ� ลองรงั สติ ) ตวั อย่างผลการทำ�กิจกรรม แบบจำ� ลองเซลลท์ ำ� มาจากดนิ น�ำ้ มัน แบบจ�ำลองเซลลท์ ำ� จากโฟม แบบจำ� ลองเซลล์อาจจะเปน็ Clip video หรอื กราฟฟิกก็ได้ ขึน้ อยู่กบั ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรียน เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. แบบจำ� ลองเซลลท์ สี่ รา้ งข้ึนเหมือนหรือแตกตา่ งกบั เซลลส์ ง่ิ มชี วี ิตทสี่ ังเกตจากกล้องจลุ ทรรศนอ์ ยา่ งไร แนวค�ำตอบ แตกตา่ งกัน จากแบบจำ� ลองเซลล์เหน็ เปน็ 3 มิติ ในขณะทีภ่ าพทีส่ ังเกตจากกล้องจลุ ทรรศน์เหน็ เป็น 2 มิติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

166 หนว่ ยท่ี 3 | หนว่ ยพ้ืนฐานของสิ่งมีชวี ติ คู่มอื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เ ฉลยแบบฝึกหดั ท้ายหน่วย 1. จงเรียงล�ำดับขัน้ ตอนการใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สงอยา่ งถูกวธิ ี แนวคำ� ตอบ 5 1 4 2 3 2. ถ้านักเรียนใช้กล้องจุลทรรศน์ในการศึกษาเซลล์เม็ดเลือดแดง โดยใช้เลนส์ใกล้วัตถุ 4X เลนส์ตา 10X พบว่า ภาพเซลล์เม็ดเลือดแดงชัดเจนแล้ว แต่ต้องการขยายขนาดของเซลล์เม็ดเลือดแดงให้ใหญ่ข้ึนนักเรียนจึงปรับ เลนส์ใกล้วัตถุไปที่ 10X พบวา่ ภาพเซลลเ์ มด็ เลือดแดงทส่ี ังเกตเหน็ ใต้กลอ้ งน้นั ขยายใหญ่ขน้ึ แต่ภาพกลับไมช่ ดั เจน นักเรียนจะมวี ิธกี ารปรับภาพอยา่ งไร เพอื่ แกป้ ญั หาดงั กลา่ ว แนวคำ� ตอบ ปรับปุ่มปรับภาพละเอียด 3. จงพจิ ารณาข้อความตอ่ ไปน้ี และเขยี นเครือ่ งหมาย √ หน้าขอ้ ความทถ่ี กู และ × หนา้ ข้อความที่ผิด แนวคำ� ตอบ 1.1  1.2  1.3  1.4  1.5  1.6  1.7  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้นื ฐานของสงิ่ มีชวี ิต 167 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 4. ระบุสว่ นประกอบของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์จากภาพ แนวค�ำตอบ ...................ผ..น..งั..เ.ซ..ล..ล...์ ................. ..................น...วิ ..เ.ค..ล...ีย..ส................... ...............ไ.ซ...โ.ท...พ..ล..า..ส..ซ...ึม................ ..............ค...ล..อ..โ.ร..พ...ล..า..ส..ต...์ .............. ..................แ..ว..ค..ิว..โ..อ..ล.................... ................เ.ย..่อื ...ห..ุ้ม..เ.ซ...ล..ล..์ ................ ...............ไ.ม..โ..ท..ค...อ..น..เ.ด...ร..ยี ............... ..................น...ิว..เ.ค..ล..ยี...ส................... ..................แ...ว.ค...วิ ..โ.อ..ล.................... .................เ.ย..ือ่ ..ห...มุ้ ..เ.ซ..ล...ล..์ ............... สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

168 หนว่ ยท่ี 3 | หนว่ ยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 5. เขยี นอธิบายลักษณะและหน้าทีข่ องส่วนประกอบของเซลล์ตอ่ ไปน้ี แนวค�ำตอบ ช่อื สว่ นประกอบ ลกั ษณะ หน้าท่ี ผนงั เซลล์ อยดู่ ้านนอกสุดของเซลล์พชื ชว่ ยใหเ้ ซลล์พืชคงรปู ให้ความแข็งแรง เย่ือหุ้มเซลล์ เป็นเย่ือบางๆ มีสมบัติเป็นเย่ือเลือกผ่าน หอ่ หมุ้ เซลล์ ควบคมุ ปรมิ าณและชนดิ ของสาร ประกอบดว้ ยลิพดิ และโปรตนี ที่ผา่ นเข้าและออกจากเซลล์ ไซโทพลาซึม เป็นสารกึ่งเหลว ประกอบด้วยน�้ำและสาร เป็นแหลง่ สะสมสารตา่ ง ๆ และเป็นที่อยูข่ อง ตา่ ง ๆ ออรแ์ กเนลล์ นวิ เคลยี ส รูปรา่ งค่อนข้างกลม ควบคุมการท�ำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของ เซลล์ แวคิวโอล มลี ักษณะเปน็ ถงุ ทำ� หนา้ ทเ่ี กบ็ สะสมน�ำ้ และสารตา่ ง ๆ ไมโทคอนเดรีย กลมรี สลายสารอาหารเพอื่ ใหพ้ ลังงานแก่เซลล์ คลอโรพลาสต์ กลมรี เกย่ี วข้องกับการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื 6. เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วโ์ ดยใชแ้ ผนภาพตอ่ ไปนี้ สว่ นทเ่ี หมอื นกนั ให้ เขียนไวต้ รงกลางที่วงกลมทับซอ้ นกัน สว่ นทแ่ี ตกตา่ งกันใหเ้ ขียนลงในส่วนของวงกลมทไ่ี ม่ทับซ้อน แนวค�ำตอบ เซลลพ์ ชื ผนังเซลล์ เย่อื หุ้มเซลล์ รปู รา่ งคอ่ นขา้ ง คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส กลม รปู รา่ งเหลี่ยม ไซโทพลาซมึ ไมโทคอนเดรีย เซลล์สัตว์ แวคิวโอล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชีวิต 169 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 7. น�ำอักษรหนา้ ภาพไปเติมให้ตรงกบั หนา้ ที่ของเซลลเ์ หลา่ นน้ั แนวค�ำตอบ 7.1 ข้อ จ เพราะ เซลล์ขนรากมกี ารยดื ยาว ลักษณะคล้ายเส้นขนเลก็ ๆ เพื่อเพิม่ พ้ืนท่ผี วิ ในการดดู นำ้� และธาตอุ าหาร 7.2 ขอ้ ข เพราะ เซลล์เยือ่ บุผิวภายในลำ� ไสเ้ ล็กจะย่นื สว่ นของเซลลอ์ อกมาเพื่อเพ่ิมพื้นท่ีในการดูดซมึ สารอาหารและของเหลวตา่ ง ๆ เขา้ ภายในเซลล์ 7.3 ขอ้ ค เพราะ เซลล์สเปิร์มเป็นเซลล์สืบพันธุ์ จะต้องมสี ว่ นหางทใ่ี ช้ในการพัดโบกไปยังเซลล์ไข่ 7.4 ขอ้ ก เพราะ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงไมม่ นี วิ เคลยี ส ทำ� ใหเ้ ซลลม์ ลี กั ษณะเวา้ กลาง เพมิ่ พนื้ ทใี่ นการลำ� เลยี ง แกส๊ ออกซเิ จนไปยงั เซลลต์ า่ ง ๆ ของรา่ งกาย ประกอบกบั เซลลม์ รี ปู รา่ งกลมแบน เพอ่ื ใหเ้ คลอื่ นทใี่ น หลอดเลอื ดไดง้ ่าย 8. เซลลใ์ นภาพเป็นเซลล์พชื หรือเซลลส์ ัตว์ เพราะเหตุใด ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 ภาพท่ี 3 แนวคำ� ตอบ ภาพท่ี 1 เป็นเซลล์พชื เพราะเห็นผนงั เซลล์มลี กั ษณะเปน็ ขอบหนาลอ้ มรอบเซลล์ อยา่ งชัดเจน ภาพที่ 2 เป็นเซลล์สัตว์ เพราะเซลลม์ ลี ักษณะเป็นแท่งยาว เรียว เหน็ นวิ เคลยี สชัดเจน ไมพ่ บผนังเซลล์ และคลอโรพลาสต์ ภาพท่ี 3 เป็นเซลล์พืช เพราะเซลลม์ ลี กั ษณะเป็นเหลี่ยม รปู ร่างแตกต่างกัน ผนังเซลล์หนาชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

170 หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้นื ฐานของสง่ิ มีชีวติ คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 9. ถ้าเปรียบเทยี บเซลลเ์ ป็นเมืองหนึง่ โครงสร้างของเซลล์ท่ีนักเรียนรูจ้ กั จะเปรยี บเทียบได้กบั ส่วนที่ใดของเมือง แนวคำ� ตอบ ถ้าเปรียบเทียบเซลล์เป็นเมือง จะมีไมโทคอนเดรียเป็นโรงไฟฟ้า เพราะเป็นแหล่งให้พลังงานแก่เมือง ผนังเซลล์เป็นก�ำแพงเมืองท�ำหน้าที่ป้องกันเมือง เย่ือหุ้มเซลล์เป็นด่านตรวจคนเข้าเมืองท�ำหน้าที่ คัดกรองบุคคลที่จะเข้าและออก ไซโทพลาซึมเป็นบริเวณตัวเมือง ซึ่งบริเวณตัวเมืองจะมีส่วนอ่ืน ๆ มากมายประกอบอยู่ภายใน นิวเคลียสเป็นศาลาว่าการเมืองท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงานของบุคคลและ กิจกรรมภายในเมือง คลอโรพลาสตเ์ ป็นโรงอาหารท�ำหน้าท่ีปรุงอาหาร ผลิตอาหารให้คนในเมือง และ แวควิ โอลเป็นโรงเกบ็ ของทำ� หนา้ ที่เกบ็ สงิ่ ต่าง ๆ ทีผ่ ลติ ข้นึ ภายในเมอื ง ท้ังของดีและของเสยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพืน้ ฐานของส่งิ มีชีวิต 171 ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ บทท่ี 2 การล�ำเลยี งสารเข้าออกเซลล์ สาระส�ำคญั เซลลม์ ีกระบวนการต่าง ๆ ในการน�ำสารเข้าออกเซลล์ การน�ำสารเข้าและออกจากเซลลม์ หี ลายวิธี เช่น การแพร่เปน็ วธิ กี ารทสี่ ารจะเคลอ่ื นทจี่ ากบรเิ วณทม่ี คี วามเขม้ ขน้ ของสารมากไปสบู่ รเิ วณทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ของสารนอ้ ย สว่ นการออสโมซสิ เป็นการแพร่ของน้�ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่�ำไปยังด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลาย สูงกวา่ จุดประสงคข์ องบทเรยี น เม่อื เรยี นจบบทนแ้ี ล้ว นกั เรยี นจะสามารถทำ�สง่ิ ตอ่ ไปนีไ้ ด้ 1. อธิบายกระบวนการแพรแ่ ละการออสโมซสิ 2. ยกตวั อยา่ งการแพรแ่ ละการออสโมซิสท่พี บในชวี ิตประจำ� วนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

172 หน่วยท่ี 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชวี ิต คูม่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ภาพรวมการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จุดประสงค์ แนวความคิดต่อเนื่อง กิจกรรม รายการประเมิน การเรียนรขู้ องบทเรยี น 1. อธิบายกระบวนการ 1. การน�ำสารเข้าสู่เซลล์เพ่ือใช้ใน กิจกรรมที่ 3.3 นักเรยี นสามารถ แพร่และออสโมซิสจาก กระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และ อนุภาคของสาร 1. อธิบายกระบวนการ หลักฐานเชิงประจักษ์ ขจดั สารบางอยา่ งทเ่ี ซลลไ์ มต่ อ้ งการ มี ก า ร เ ค ล่ื อ น ที่ และยกตวั อยา่ งการแพร่ ออกนอกเซลล์ อยา่ งไร แพร่ และออสโมซิสในชีวิต กิจกรรมท่ี 3.4 2. อธบิ ายกระบวนการ ประจำ� วนั 2. การแพร่เป็นการเคล่ือนที่ของสาร น�้ำเคล่ือนท่ีผ่าน จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของ เยื่อเลือกผ่านได้ ออสโมซสิ สารสูงไปสู่บริเวณท่ีมีความเข้มข้น อย่างไร 3. ยกตวั อยา่ งการแพร่ ของสารต่�ำ และการออสโมซสิ 3. การออสโมซิสเป็นการแพร่ของน�้ำ ในชวี ติ ประจำ� วนั ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านท่ีมีความ เข้มข้นของสารละลายต่�ำไปยังด้าน ที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูง กวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หนว่ ยพื้นฐานของสงิ่ มีชีวติ 173 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทคี่ วรไดจ้ ากบทเรียน ทกั ษะ 1 เรือ่ งที่ • 2 ท้ายบท ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสงั เกต • •• การวดั • • การจ�ำแนกประเภท การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ สเปซกบั เวลา • •• การใช้จ�ำนวน • •• การจดั กระทำ� และสอื่ ความหมายขอ้ มูล • การลงความเหน็ จากข้อมลู • การพยากรณ์ •• การต้งั สมมติฐาน • การกำ� หนดนิยามเชงิ ปฏิบัติการ การกำ� หนดและควบคุมตัวแปร การทดลอง การตีความหมายและลงข้อสรปุ การสร้างแบบจำ� ลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ การแกป้ ญั หา การส่ือสาร การร่วมมือร่วมใจ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

174 หน่วยท่ี 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิง่ มีชวี ติ คมู่ อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ การนำ� เข้าสู่หน่วยการเรียนร ู้ ครดู �ำเนินการดงั น้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพการชงน�้ำกระเจี๊ยบ อ่าน 108 หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของส่ิงมีชวี ิต เนื้อหาน�ำบท จากนั้นอภิปรายโดยอาจใช้ หนังสือเรียนรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ค�ำถามนำ� ดังนี้ บทที ่ 2 กำรล�ำเลยี งสำรเข้ำออกเซลล์ 1.1 สีแดงมาจากไหน (สารสีแดงมาจาก กลีบเลยี้ งกระเจ๊ยี บ) ·· ส่ิงมีชวี ิตน�ำสำรเข้ำและออกจำกเซลลไ์ ด้อยำ่ งไร 1.2 ทำ� ไมน้ำ� ในแก้วจงึ มีสแี ดง (เพราะสาร กำรแพรแ่ ละออสโมซสิ มคี วำมสำ� คญั ตอ่ กำรดำ� รงชวี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ อยำ่ งไร สีแดงจากกลีบเล้ียงกระเจ๊ียบละลาย ภำพกำรเคล่อื นท่ขี องอนภุ ำคสำรสีแดงของกระเจย๊ี บ ออกมาผสมกบั นำ�้ ในแกว้ ) น�ำ้ กระเจ๊ียบเปน็ เคร่ืองดื่มทมี่ ีสแี ดงให้รสเปรยี้ ว สำมำรถเตรยี มไดโ้ ดยน�ำกลีบเลี้ยง 1.3 น�้ำกระเจ๊ียบเม่ือต้ังท้ิงไว้สักพักท�ำไม ที่อยู่ติดกับผลกระเจ๊ียบมำแช่ในน�้ำร้อน สังเกตได้ว่ำน้�ำบริเวณใกล้กับกลีบเล้ียงกระเจี๊ยบ นำ้� ทง้ั แกว้ จงึ มสี แี ดง (นกั เรยี นสามารถ จะคอ่ ย ๆ มสี ีแดง จนในทสี่ ดุ นำ�้ มีสแี ดงทว่ั ทัง้ แกว้ กำรเปลย่ี นแปลงทเ่ี กิดขน้ึ น้เี ก่ยี วข้องกับ ตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง) กำรทีอ่ นภุ ำคสำรสีแดงเคลอ่ื นทอ่ี อกจำกเซลล์ของกลบี เล้ียงกระเจ๊ียบไปจนท่วั ทั้งแกว้ 2. ให้นักเรียนอ่านจุดประสงค์ของบทเรียน จุดประสงค์ของบทเรียน เมื่อเรียนจบบทนแี้ ล้ว นกั เรยี นจะสำมำรถท�ำสงิ่ ตอ่ ไปนี้ได้ จากนั้นอภิปรายร่วมกัน เพ่ือให้ทราบ 1. อธิบำยกระบวนกำรแพรแ่ ละออสโมซิสในกำรน�ำสำรเขำ้ และออกจำกเซลล์ ขอบเขตเนื้อหา เป้าหมายของการเรียน 2. ยกตัวอยำ่ งกำรแพร่และออสโมซิสท่ีพบในชวี ติ ประจำ� วนั รู้ และแนวทางการประเมินที่นักเรียนจะ ได้เรียนรู้ในบทเรียนน้ี (นักเรียนจะสามารถ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อธิบายกระบวนการแพร่และกระบวนการ ออสโมซิสว่าเป็นวิธีการน�ำสารเข้าและออก ความรูเ้ พิ่มเติมสำ�หรับครู จากเซลล์ได้อย่างไร พร้อมท้ังยกตัวอย่าง ภาพนำ� บทคอื ภาพการชงนำ�้ กระเจย๊ี บซง่ึ สามารถ การแพรแ่ ละการออสโมซสิ ในชวี ติ ประจำ� วนั ) ท�ำได้โดยน�ำกลีบเล้ียงของผลกระเจี๊ยบตากแห้ง แช่ในน�้ำร้อน สารที่อยู่ในกลีบเลี้ยงผลกระเจ๊ียบ จะละลายออกมาผสมกับน้�ำร้อน ท�ำให้ได้น�้ำ กระเจี๊ยบท่ีมีสีแดงและรสเปร้ียว ถ้าต้องการให้ รสชาติหวานขึ้น อาจเติมน้�ำผึ้งหรือน้�ำตาลตาม ความชอบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของสิง่ มีชีวติ 175 คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เรื่องท่ี 1 การแพร่ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูดำ� เนินการดังนี้ หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของสิ่งมชี ีวติ 109 1. นักเรียนดภู าพน�ำเรื่อง อา่ นเนือ้ หานำ� เรื่องและรู้จัก หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ คำ� สำ� คญั ทำ� กจิ กรรม ทบทวนความรกู้ อ่ นเรยี น แลว้ เรื่องที่ 1 กำรแพร่ นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม ถา้ ครพู บวา่ นกั เรยี นยงั ทำ� กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควร ค�ำสำ� คญั ทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อ กำรแพร่ ให้นักเรียนมีความรู้พ้ืนฐานที่ถูกต้องและเพียงพอท่ี ควำมเขม้ ขน้ ของสำรละลำย จะเรยี นเร่อื งการแพรต่ อ่ ไป เย่ือเลอื กผ่ำน ครตู รวจสอบความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั การแพร่ โดยให้ท�ำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียน ภำพ 3.13 ผักและผลไม้ดอง สามารถเขียนได้ตามความเข้าใจของนักเรียน ครูไม่ เฉลยค�ำตอบแต่น�ำข้อมูลจากการตรวจสอบความ วธิ ที เ่ี รานยิ มใชใ้ นการถนอมอาหาร คอื การดอง ซง่ึ อาจใชเ้ กลอื หรอื นา้� ตาลเตมิ ในอาหาร เพอื่ ใหอ้ าหารนนั้ ไมเ่ นา่ เสยี รู้เดิมของนักเรียนไปใช้ในการวางแผนการจัดการ เก็บได้นานข้ึน ตัวอย่างเช่น การท�าผักกาดดอง โดยใช้เกลือในการดองท�าให้ผักท่ีได้มีรสเค็ม เน่ืองจากเกลือเคลื่อนเข้าสู่ เรียนรู้ว่าควรเน้นย�้ำ หรืออธิบายเรื่องใดเป็นพิเศษ ภายในเซลลข์ องผกั กาด รู้หรือไมว่ ่ากระบวนการน้เี กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร เมอื่ นักเรียนเรียนจบเร่ืองนีแ้ ลว้ นกั เรียนจะมีความรู้ ความเขา้ ใจครบถ้วน ตามจดุ ประสงค์ของบทเรยี น ทบทวนควำมรกู้ อ่ นเรียน เขยี นเครื่องหมำย R หน้ำข้อทถี่ ูกต้อง £ เย่ือหุ้มเซลล์สามารถพบไดท้ งั้ ในเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ £ เซลล์มีขนาดเลก็ กว่าอนุภาคของน้�าตาล £ เยือ่ หุ้มเซลลย์ อมใหส้ ารทกุ ชนิดผา่ นได้ รอู้ ะไรบ้ำงก่อนเรยี น เขียนส่ิงทรี่ ้เู ก่ยี วกับการแพร่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทเฉบลทยวทนบคทววานมครว้กู าอ่ มนรเู้กรยี่อนเรียน เขยี นเครื่องหมาย  หน้าขอ้ ทถี่ กู ต้อง  เยือ่ หุ้มเซลล์สามารถพบไดท้ งั้ ในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ ** เเซยลื่อลห์มุ้มีขเซนลาลด์ยเลอ็กมกใวหา่ ้สอานรุภทาุกคชขนอิดงผน่า�้ำนตไาดล้ (เซลลม์ ีขนาดใหญก่ วา่ อนุภาคของนำ้� ตาล) เท่านั้น) (เยื่อหุ้มเซลล์มีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน ยอมให้สารบางชนิดผ่าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

176 หน่วยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสิง่ มีชีวิต คูม่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอยา่ งแนวคิดคลาดเคล่อื นซ่ึงอาจพบในเร่อื งนี้ • เมื่อความเข้มขน้ ของสารละลายเท่ากนั ทุกบรเิ วณ อนุภาคของสารจะหยุดนิ่งไม่เกิดการเคลือ่ นท่ี 2. ครูนำ� เข้าสกู่ ิจกรรมท่ี 3.3 อนุภาคของสารมีการเคล่อื นทอี่ ย่างไร โดยแจ้งว่านักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกบั การแพรแ่ ละ กระบวนการแพร่ของสารตอ่ ไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสิง่ มชี วี ิต 177 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 3.3 อนุภาคของสารมกี ารเคลอ่ื นทอี่ ยา่ งไร แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ก่อนการทำ� กิจกรรม 1. ให้นักเรียนอา่ นวิธีการดำ� เนินกิจกรรมในหนังสอื เรยี น และร่วมกนั อภปิ รายในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1.1 กิจกรรมนี้เรยี นร้เู กี่ยวกับเรอ่ื งอะไร (การเคลอื่ นท่ีของอนุภาคสาร) 1.2 กจิ กรรมน้ีมีจดุ ประสงค์อะไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง) 1.3 วิธีการด�ำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกตการเคล่ือนท่ีและการเปล่ียนแปลงของเกล็ดด่างทับทิม อยา่ งตอ่ เนือ่ งตั้งแต่เร่ิมหยอ่ นเกล็ดด่างทบั ทมิ ลงในนำ้� จนครบระยะเวลา 10 นาที) 1.4 สงั เกตไดอ้ ยา่ งไรวา่ อนภุ าคดา่ งทบั ทมิ เกดิ การเคลอ่ื นท่ี (เมอื่ เรม่ิ หยอ่ นเกลด็ ดา่ งทบั ทมิ ลงในนำ้� จะเหน็ ดา่ งทบั ทมิ คอ่ ยๆ ละลายน้�ำเกดิ สมี ่วงรอบๆ เกลด็ ดา่ งทบั ทมิ จากนน้ั สมี ่วงค่อยๆกระจายไปสบู่ ริเวณรอบๆเกลด็ ด่างทับทมิ จนกระจายทว่ั ทั้งบกี เกอร)์ 1.5 ข้อควรระวังในการทำ� กจิ กรรมมอี ะไรบา้ ง (หลกี เลีย่ งไม่ให้ด่างทบั ทมิ สมั ผสั ร่างกาย โดยเฉพาะบริเวณดวงตา) ครคู วรอธบิ ายเพม่ิ เติมในประเด็นท่นี ักเรียนยงั ตอบไมค่ รบถว้ น 2. ควรแนะนำ� ใหน้ กั เรยี นวางแผนการทำ� งานรว่ มกนั พรอ้ มทงั้ ออกแบบวธิ บี นั ทกึ ผลใหเ้ รยี บรอ้ ย กอ่ นทำ� กจิ กรรม ใหน้ กั เรยี น ออกแบบวธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู เพอื่ ศกึ ษาการเคลอ่ื นทข่ี องอนภุ าคดา่ งทบั ทมิ ตงั้ แตเ่ รมิ่ หยอ่ นเกลด็ ดา่ งทบั ทมิ จนกระทง่ั เวลา ผา่ นไป 10 นาที อย่างตอ่ เน่ือง การรายงานผลการท�ำกิจกรรมอาจใหบ้ างกลุม่ น�ำเสนอ โดยครใู ห้ค�ำแนะน�ำปรบั แกแ้ ละ แนะน�ำวธิ ีเก็บขอ้ มลู ตามความเหมาะสม ระหว่างการทำ� กจิ กรรม 3. ให้นักเรียนทำ� กิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ ครสู ังเกตวธิ ีการจัดอปุ กรณ์ การสงั เกตการเคลื่อนท่ีของอนภุ าคดา่ งทบั ทมิ และ การบนั ทกึ ผลการสงั เกตของนกั เรยี นทกุ กลมุ่ เพอื่ ใหข้ อ้ แนะนำ� ถา้ เกดิ ขอ้ ผดิ พลาดขณะทำ� กจิ กรรม โดยอาจจะใหน้ กั เรยี น บันทึกภาพหรือบันทึกวีดิโอเพิ่มเติมเพ่ือใช้ในการอธิบายและน�ำเสนอ รวมท้ังน�ำข้อมูลที่ควรปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ ประกอบการอภิปรายหลงั การทำ� กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

178 หน่วยที่ 3 | หน่วยพื้นฐานของสงิ่ มีชวี ิต คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ หลังการทำ� กิจกรรม 4. ใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มนำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม รวบรวมขอ้ มูลน�ำเสนอโดยใชโ้ ปรแกรมพาวเวอรพ์ อยด์ แสดงรปู หรอื วีดิโอการทำ� กิจกรรม 5. รว่ มกันอภิปรายเปรียบเทยี บข้อมูลท่ีไดจ้ ากการทำ� กจิ กรรม และสาเหตทุ ที่ �ำใหผ้ ลการท�ำกจิ กรรมคลาดเคลื่อน (ถ้ามี) 6. ให้นักเรียนตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายค�ำตอบเพ่ือให้นักเรียนสรุปได้ว่า เม่ือหย่อนเกล็ดด่างทับทิม ลงในน�้ำ เกล็ดดา่ งทับทมิ จะคอ่ ย ๆ ละลายเหน็ เปน็ เสน้ สีม่วง และจมลงกน้ บกี เกอร์ บรเิ วณกน้ บีกเกอร์จะเห็นสมี ่วงเขม้ ล้อมรอบเกล็ดดา่ งทบั ทมิ จากน้ันสีมว่ งเข้มรอบเกลด็ ด่างทับทิมจะคอ่ ย ๆ เคลอ่ื นทีจ่ ากบริเวณก้นบกี เกอรไ์ ปสบู่ ริเวณ อืน่ ของบกี เกอร์ จนสมี ว่ งกระจายท่วั ทัง้ บกี เกอร์ และจะเห็นสีม่วงอ่อนจางลงกว่าเดิม 7. ใหน้ กั เรยี นอา่ นเนอื้ หาในหนงั สือเรยี น พร้อมท้ังตอบคำ� ถาม เพ่ือใหน้ ักเรยี นเรยี นรเู้ พ่มิ เติมเก่ยี วกับการแพร่ เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน • เม่ือสงั เกตเห็นนำ�้ มีสมี ว่ งสม่�ำเสมอทั่วกนั ทัง้ ภาชนะ อนภุ าคดา่ งทับทิมมีการเคล่ือนที่หรอื ไม่ แนวคำ� ตอบ มีการเคล่ือนที่ แต่ความเข้มข้นของสารละลายในแต่ละบริเวณไมแ่ ตกต่างกนั • จากท่ีได้ศึกษาเพิ่มเติม นักเรียนจะปรับแก้แผนภาพแสดงการเคลื่อนที่ของอนุภาคด่างทับทิมที่ได้จาก กจิ กรรมอย่างไร แนวค�ำตอบ จากการได้ศึกษาเพ่ิมเติม นกั เรยี นเขยี นอนุภาคดา่ งทับทิมกระจายแทรกอยู่ในน�้ำ พร้อมท้ังเขยี น ทศิ ทางการเคลอื่ นทข่ี องอนภุ าค ทง้ั ในชว่ งกอ่ นเกดิ สมดลุ การแพรแ่ ละเมอื่ เกดิ สมดลุ การแพรแ่ ลว้ • การที่เย่อื หมุ้ เซลลไ์ ม่ยอมให้สารทุกชนดิ ผ่านเข้าออกเซลลไ์ ด้อย่างอิสระ มีความส�ำคัญอย่างไรตอ่ ส่งิ มีชีวิต แนวคำ� ตอบ ทำ� ใหเ้ ซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ สามารถควบคมุ ปรมิ าณสารทต่ี อ้ งการและกำ� จดั สารทไ่ี มต่ อ้ งการออก ไป ในปริมาณทเี่ หมาะสมกบั การด�ำรงชวี ติ ของส่งิ มีชีวิต • นักเรียนมีประสบการณ์เก่ียวกับการแพรข่ องสารในชีวิตประจ�ำวันอยา่ งไรบา้ ง อธิบายพรอ้ มยกตัวอยา่ ง แนวคำ� ตอบ การฉีดน้�ำหอม การฉีดสเปรย์ปรับอากาศ การได้กลนิ่ อาหาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสิง่ มชี วี ิต 179 คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 8. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย สรปุ เนอ้ื หาทงั้ หมดทไ่ี ดเ้ รยี นรจู้ ากกจิ กรรมและการศกึ ษาเพมิ่ เตมิ จากหนงั สอื เรยี น เพอ่ื ให้ได้ข้อสรุปว่าการแพร่เกิดข้ึนเม่ือมีความแตกต่างของความเข้มข้นของสารละลายระหว่างสองบริเวณ โดยมีทิศทาง การเคลื่อนท่ีของตัวละลายจากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นมากไปยังบริเวณท่ีมีความเข้มข้นน้อย จนความเข้มข้นของ สารละลายโดยเฉลี่ยเท่ากันทุกบรเิ วณ เรียกวา่ เกิดสมดลุ ของการแพร่ การแพรน่ อกจากแพร่ในตัวกลางทีเ่ ป็นของเหลว ดังกิจกรรมแล้ว การแพร่สามารถแพร่ผ่านตัวกลางที่เป็นแก๊สได้ เช่น การแพร่ของน�้ำมันหอมระเหยหรือกล่ินดอกไม้ กลนิ่ อาหารผา่ นอากาศ เปน็ ตน้ ซง่ึ เซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ กม็ กี ารแพรข่ องสารเขา้ ออกเซลลเ์ ชน่ เดยี วกนั เชน่ การแพรเ่ ขา้ ออก ของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์บริเวณถุงลมปอด การแพร่เข้าออกของแก๊สออกซิเจนและ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดบ์ ริเวณปากใบ เป็นตน้ 9. ถา้ พบว่านกั เรยี นมแี นวคดิ คลาดเคลือ่ นเก่ยี วกบั เร่อื งนี้ ให้แก้ไข้ใหถ้ กู ตอ้ ง ดงั น้ี แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคดิ ท่ถี ูกต้อง เมอ่ื ความเขม้ ขน้ ของสารละลายเทา่ กนั ทกุ บรเิ วณ อนภุ าค เม่ือความเข้มข้นของสารละลายเท่ากันทุกบริเวณจนเกิด ของสารจะหยดุ นิง่ ไมเ่ กดิ การเคลือ่ นท่ี สมดุลของการแพร่ อนุภาคของสารก็ไม่หยุดนิ่ง ยังคงมี การเคลอื่ นท่ี แตเ่ นอ่ื งจากการเคลอื่ นทขี่ องสารละลายเทา่ กนั จนไมส่ ามารถสงั เกตเหน็ การเปลีย่ นแปลงได้ 10. ให้นกั เรียนทำ� กจิ กรรมเสรมิ ในหนังสือเรียน ครอู าจใช้ประเดน็ คำ� ถามดังตอ่ ไปน้กี อ่ นทำ� กิจกรรม 10.1 ท�ำไมกิจกรรมนี้จึงเลือกใช้เซลโลเฟน (เซลโลเฟนมีรูขนาดเล็กมากกระจายอยู่ทั่วไป จึงยอมให้สารที่มีอนุภาค ขนาดเล็กผ่านไดแ้ ต่ไม่ยอมใหส้ ารที่มีอนภุ าคขนาดใหญผ่ า่ น) 10.2 นักเรียนคิดว่าเมื่อน�ำถุงเซลโลเฟนบรรจุน้�ำแป้งสุกใส่ในบีกเกอร์ที่มีสารละลายไอโอดีน จะเกิดการแพร่อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) ครูควรเนน้ ใหน้ ักเรยี นบนั ทึกสง่ิ ท่นี ักเรยี นคาดการณไ์ วใ้ นแบบบันทึกกจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

180 หน่วยท่ี 3 | หน่วยพนื้ ฐานของส่ิงมชี ีวติ คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 11. ใหน้ กั เรยี นวางแผนและออกแบบการทำ� กจิ กรรมเสรมิ ออกแบบตารางบนั ทกึ ผลสงิ่ ทคี่ าดการณแ์ ละสงิ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการ ทำ� กิจกรรม ดงั นี้ กจิ กรรมเสริม การแพร่ของสารผา่ นเยื่อเลอื กผ่านเปน็ อยา่ งไร ให้นักเรยี นสงั เกตการแพรข่ องอนภุ าคไอโอดนี ผา่ นเยือ่ เลือกผ่าน โดยใชเ้ ซลโลเฟน ตวั อยา่ งผลการท�ำกจิ กรรม เริม่ ตน้ 5 นาที 10 นาที ตัวอย่างสรปุ องคค์ วามรู้ทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม อนุภาคไอโอดีนเกิดการแพร่ผ่านรูของเซลโลเฟน เข้าไปท�ำปฏิกิริยากับน�้ำแป้งสุกผ่านในถุงเซลโลเฟน จนเห็นเป็น สนี ำ�้ เงนิ เขม้ ข้นึ เรอ่ื ย ๆ เม่ือทงิ้ เวลาไวน้ าน 12. เช่ือมโยงไปสู่การเรยี นเรอื่ งตอ่ ไป โดยกลา่ วว่า การแพรม่ กี ระบวนการดังทีเ่ รยี นมาแล้ว ซ่งึ ใชใ้ นการนำ� สารทม่ี ีขนาดเลก็ เชน่ แกส๊ ออกซเิ จน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ เขา้ และออกจากเซลล์ ถา้ รา่ งกายตอ้ งการนำ� นำ้� เขา้ และออกจากเซลลจ์ ะมี กระบวนการอยา่ งไร นักเรยี นจะไดศ้ ึกษาในเรอ่ื งตอ่ ไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของสง่ิ มีชีวติ 181 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 3.3 อนภุ าคของสารมีการเคล่ือนทอี่ ย่างไร นกั รยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั การเคลอ่ื นทขี่ องอนภุ าคดา่ งทบั ทมิ ในนำ�้ จากนน้ั นำ� ผลทไ่ี ดจ้ ากการสงั เกตมาวเิ คราะหแ์ ละ อธบิ ายการเคลือ่ นท่ีของอนภุ าคดา่ งทบั ทมิ ในนำ�้ จดุ ประสงค์ สังเกตและอธบิ ายการเคลือ่ นทขี่ องอนุภาคด่างทับทมิ ในนำ�้ เวลาทใ่ี ช้ใน 30 นาที การทำ� กจิ กรรม วัสดุและอปุ กรณ์ วัสดุทใ่ี ชต้ อ่ กลุ่ม รายการ ปรมิ าณ/กลมุ่ 1. บีกเกอร์ ขนาด 50 cm3 1 ใบ 2. นำ้� 30 cm3 3. ช้อนตกั สาร 1 อัน 4. เกลด็ ดา่ งทบั ทมิ 2-3 เกลด็ ข้อควรระวงั หลีกเลยี่ งไม่ให้ดา่ งทับทมิ สมั ผัสร่างกาย โดยเฉพาะบรเิ วณดวงตา ข้อเสนอแนะ • ขนาดของเกล็ดด่างทบั ทมิ ไม่เล็กเกนิ ไป สงั เกตไดง้ า่ ย ในการท�ำกิจกรรม • ขณะทำ� กจิ กรรมโต๊ะต้องนงิ่ และหยอ่ นเกลด็ ด่างทบั ทิมลงในน้�ำเบาๆ สงั เกตการเคลือ่ นทข่ี อง สื่อการเรียนรู้/ แหล่งเรียนรู้ อนภุ าคด่างทับทมิ ตงั้ แต่เร่มิ หย่อนลงในนำ�้ • อาจใช้กระดาษสีขาวเปน็ ฉากหลงั เพอื่ ให้สงั เกตการเคลื่อนทีข่ องอนภุ าคด่างทับทิมได้ชดั เจน ข้นึ • หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 สสวท สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

182 หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพื้นฐานของสิง่ มชี ีวติ คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทำ�กจิ กรรม เรม่ิ ต้น 5 นาที 10 นาที อนุภาคดา่ งทับทิมจะเคลื่อนทจี่ ากบริเวณรอบเกลด็ ดา่ งทบั ทิมซงึ่ มสี ีมว่ งเขม้ กระจายทุกทศิ ทางรอบเกล็ดดา่ ง ทบั ทิมไปยังบรเิ วณอื่น เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. เม่อื ใส่เกล็ดด่างทับทมิ ลงในนำ้� มกี ารเปลี่ยนแปลงอย่างไรตง้ั แต่เร่ิมต้นจนครบเวลาทก่ี ำ� หนด แนวค�ำตอบ เกลด็ ดา่ งทบั ทมิ จะคอ่ ย ๆ เลก็ ลง สขี องน้ำ� เรมิ่ เปลยี่ นเปน็ สมี ว่ ง เพราะอนภุ าคดา่ งทบั ทมิ เคลอ่ื นที่ กระจายไปรอบบริเวณ 2. การกระจายของสีด่างทบั ทมิ มที ศิ ทางใดบ้าง แนวคำ� ตอบ สีดา่ งทับทิมจะกระจายจากบริเวณรอบเกลด็ ดา่ งทบั ทมิ ไปยังบรเิ วณอื่นทุกทิศทาง 3. ถ้าวางบกี เกอร์ท่ีมเี กล็ดดา่ งทบั ทมิ ตอ่ ไปอกี 2 ชว่ั โมง สารละลายในบีกเกอร์มลี ักษณะอย่างไร แนวคำ� ตอบ น�้ำในบีกเกอร์จะเปลย่ี นเป็นสีมว่ งท่ัวทง้ั บกี เกอร์ 4. จากกิจกรรมสรุปไดว้ ่าอยา่ งไร แนวค�ำตอบ เมอ่ื หย่อนเกลด็ ดา่ งทบั ทิมลงในนำ�้ เกล็ดด่างทับทิมจะค่อย ๆ ละลายเหน็ เป็นเสน้ สีมว่ ง และจม ลงกน้ บีกเกอร์ บริเวณกน้ บกี เกอร์จะสงั เกตเห็นเปน็ สีม่วงเขม้ จากน้ันสมี ว่ งรอบเกลด็ ด่างทับทมิ จะเคลื่อนทจี่ ากบริเวณกน้ บีกเกอร์ไปสู่บรเิ วณอ่นื ของบีกเกอร์ จนสีมว่ งกระจายทวั่ ทั้งบีกเกอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพืน้ ฐานของสงิ่ มชี ีวติ 183 คู่มือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เรือ่ งที่ 2 ออสโมซิส หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพืน้ ฐานของส่ิงมชี ีวิต 115 หนงั สอื เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ แนวการจดั การเรียนรู้ ครดู ำ� เนินการดงั น้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพน�ำเร่ือง อ่านเน้ือหาน�ำเร่ืองและ เรื่องที่ 2 ออสโมซสิ รู้จักค�ำส�ำคัญ ท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อน ค�ำส�ำคัญ เรียน แล้วน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม หากครูพบ ออสโมซิส ว่านักเรียนยังท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน ไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิด กอ่ นแช่น้�ำ หลงั แชน่ ้ำ� ของนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่ถูก ต้องและเพยี งพอทจี่ ะเรียนเรอื่ งออสโมซสิ ต่อไป ภำพ 3.19 ผักก่อนและหลังแช่น้�ำ 2. ตรวจสอบความรเู้ ดมิ เกยี่ วกบั ออสโมซสิ ของนกั เรยี น โดยให้ท�ำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียน เมื่อเราวางผกั สดทิง้ ไวส้ กั คร ู่ ใบผักจะค่อย ๆ เหี่ยวลง และเมื่อเวลาผา่ นไป ใบและกา้ นผักจะเหย่ี วมากขน้ึ เรอื่ ย ๆ สามารถเขยี นไดต้ ามความเขา้ ใจของนกั เรยี น โดยครู แตเ่ มอื่ เรานา� ผกั นน้ั ไปแชใ่ นนา้� สกั ครหู่ นง่ึ ใบและกา้ นผกั จะคอ่ ย ๆ เตง่ ขน้ึ จนกระทง่ั กลบั มาสดเหมอื นเดมิ การเปลยี่ นแปลง ไม่เฉลยค�ำตอบและครูน�ำข้อมูลจากการตรวจสอบ ดงั กลา่ วเกดิ ข้ึนไดอ้ ยา่ งไร ความรู้เดิมของนักเรียนน้ีไปใช้ในการวางแผนการ จัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย�้ำหรืออธิบายเร่ืองใดเป็น ทบทวนควำมรู้กอ่ นเรยี น พเิ ศษ เม่อื นกั เรียนเรียนจบเรอ่ื งนแี้ ล้ว นกั เรียนจะมี ความรู้ความเข้าใจครบถ้วนตามจุดประสงค์ของบท เขยี นลูกศรแสดงทศิ ทางการแพร่ แกส๊ ออกซิเจน เรียน ของแกส๊ ออกซิเจน เซลล์ รู้อะไรบำ้ งกอ่ นเรียน เขียนสิง่ ที่รเู้ กีย่ วกับออสโมซสิ เทฉบลทยวทนบคทววานมครวู้กา่อมนรเูก้รยีอ่ นเรยี น เขยี นลูกศรแสดงทศิ ทางการแพรข่ องแกส๊ ออกซเิ จน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แกส๊ ออกซิเจน เซลล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

184 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพื้นฐานของสิ่งมชี ีวติ คู่มือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ตวั อยา่ งแนวคดิ คลาดเคลอื่ นซง่ึ อาจพบในเร่ืองนี้ • เซลล์ของสิ่งมชี วี ิตไม่จ�ำเป็นตอ้ งใชน้ ำ้� ในกระบวนการต่าง ๆ เพื่อการด�ำรงชีวติ 3. ครูนำ� นักเรยี นเขา้ สกู่ ิจกรรมที่ 3.4 น้�ำเคลื่อนทผ่ี ่านเยือ่ เลือกผา่ นได้อยา่ งไร ซ่งึ อาจใชค้ �ำถามว่า นอกจากการแพร่ของ สารเข้าออกเซลล์ เช่น การแพร่ของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์แลว้ เซลลม์ ีการล�ำเลยี งสารอน่ื ๆ เช่น น้ำ� เข้าและออกจากเซลล์หรอื ไม่ และเซลลจ์ ะมีวธิ ีการในการลำ� เลียงนำ�้ เขา้ และออกจากเซลล์อยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสิ่งมีชวี ติ 185 ค่มู ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.4 น้ำ� เคลื่อนทีผ่ า่ นเยอ่ื เลือกผา่ นได้อยา่ งไร แนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ก่อนการท�ำกจิ กรรม 1. ใหน้ ักเรียนอ่านวิธกี ารดำ� เนินกิจกรรมในหนงั สือเรียน และรว่ มกันอภปิ รายในประเดน็ ดังต่อไปนี้ 1.1 กิจกรรมนี้เรยี นร้เู กี่ยวกบั เรือ่ งอะไร (ออสโมซสิ ) 1.2 กจิ กรรมน้ีมจี ุดประสงค์อะไร (นักเรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง) 1.3 วิธีการด�ำเนินกิจกรรม มีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (ใส่สารละลายน้�ำตาลลงในเซลโลเฟนท่ีบุอยู่ในบีกเกอร์ จมุ่ หลอดแกว้ ในสารละลายนำ้� ตาล มดั เซลโลเฟนทบี่ รรจสุ ารละลายนำ้� ตาลใหเ้ ปน็ ถงุ โดยมหี ลอดแกว้ จมุ่ อยภู่ ายใน จากนนั้ ยดึ หลอดแกว้ กบั ขาตงั้ ทำ� เครอื่ งหมายแสดงระดบั ของเหลวในหลอดแกว้ จากนนั้ รนิ นำ�้ ลงในบกี เกอรโ์ ดย ใหร้ ะดบั นำ้� อยตู่ ำ่� กวา่ ยางทรี่ ดั ปากถงุ เซลโลเฟน บนั ทกึ ผลการเปลย่ี นแปลงของระดบั ของเหลวในหลอดแกว้ ทกุ ๆ 5 นาที เป็นเวลา 30 นาท)ี 1.4 เพราะเหตใุ ดจงึ ตอ้ งใสน่ ำ�้ ในบกี เกอร์ให้อยใู่ นระดับตำ�่ กว่าบริเวณยางท่ีรดั ปากถุงเซลโลเฟน (ปอ้ งกนั สารละลาย นำ�้ ตาลรัว่ ออกมาปะปนกบั นำ้� ที่อย่ใู นบกี เกอร์) 1.5 ขอ้ ควรระวังในการทำ� กิจกรรมมอี ะไรบา้ ง (- ระวงั ไมใ่ หเ้ ซลโลเฟนขาดหรอื เป็นรู - ระวังไมใ่ หร้ ะดบั น�้ำในบกี เกอร์สูงกวา่ บรเิ วณปากถงุ เซลโลเฟนที่บรรจุสารละลายนำ้� ตาล - ระวงั ไมใ่ หม้ ีฟองอากาศในถุงเซลโลเฟนทบ่ี รรจสุ ารละลายนำ�้ ตาล) ครูควรอธบิ ายเพิม่ เตมิ ในประเด็นทนี่ ักเรียนยงั ตอบไดไ้ มค่ รบถว้ น 2. ควรแนะนำ� ให้นักเรียนวางแผนการทำ� งานรว่ มกัน พรอ้ มทงั้ ออกแบบวิธกี ารบนั ทึกผลใหเ้ รยี บร้อยก่อนทำ� กิจกรรม โดย ใหน้ กั เรยี นออกแบบการบนั ทกึ ผลการสงั เกตระดบั ของของเหลวในหลอดแกว้ ตรวจสอบการออกแบบวธิ บี นั ทกึ ผลของ นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม โดยอาจให้บางกล่มุ นำ� เสนอแลว้ ครูใหค้ ำ� แนะน�ำเพ่อื ปรับแก้วิธีการบันทึกผลตามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

186 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสง่ิ มชี วี ติ ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ระหวา่ งการทำ� กจิ กรรม 3. ใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรมตามแผนทวี่ างไว้ ครสู งั เกตวธิ กี ารจดั ชดุ อปุ กรณ์ การเทสารละลายนำ�้ ตาลลงในเซลโลเฟน การมดั ปากถงุ เซลโลเฟน เตอื นใหน้ กั เรยี นทำ� เครอ่ื งหมายแสดงระดบั ของเหลวในหลอดแกว้ กอ่ นทจี่ ะใสน่ ำ้� ลงในบกี เกอร์ และการ บนั ทกึ ผลการเปลย่ี นแปลงของของเหลวในหลอดแกว้ เพอื่ ใหข้ อ้ แนะนำ� หากเกดิ ขอ้ ผดิ พลาดในขณะทำ� กจิ กรรม รวมทงั้ น�ำขอ้ มลู ทคี่ วรจะปรบั ปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั ทำ� กจิ กรรม หลงั การทำ� กิจกรรม 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม โดยน�ำผลการท�ำกิจกรรมไปติดบนกระดาน หรือน�ำข้อมูลท่ีได้ไป เปรยี บเทียบกบั เพือ่ นกลมุ่ อ่นื ในห้องเรียน 5. รว่ มกนั อภปิ รายเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากกจิ กรรม โดยอาจเลอื กเฉพาะผลกจิ กรรมทถ่ี กู ตอ้ งชดั เจนและผลกจิ กรรมท่ี คลาดเคลื่อน มาอภิปรายเปรยี บเทยี บและหาสาเหตุทท่ี �ำให้เกดิ ผลกจิ กรรมคลาดเคลอ่ื น เชน่ ใส่นำ้� สงู กวา่ ระดับยางท่ี รัดปากถงุ เซลโลเฟน มีฟองอากาศอยู่ในถงุ เซลโลเฟน 6. ใหน้ ักเรียนตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม และร่วมกันอภิปรายคำ� ตอบเพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ วา่ นำ้� เคลื่อนท่ีผ่านเซลโลเฟนเข้าไป ภายในถุงที่บรรจุสารละลายน้�ำตาลได้ แต่สารละลายน�้ำตาลไม่สามารถเคล่ือนที่ผ่านเซลโลเฟนออกมานอกถุงที่บรรจุ อยู่ได้ โดยอาจใชค้ ำ� ถามดังตอ่ ไปนี้ 6.1 ระดับของเหลวในหลอดแก้วมกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างไร (ระดบั ของเหลวในหลอดแก้วสงู ขน้ึ ) 6.2 เพราะเหตุใดระดับของเหลวในหลอดแก้วจึงสูงข้ึน (ระดับของเหลวในหลอดแก้วสูงข้ึนเพราะน้�ำเคล่ือนที่ เขา้ ไปในถงุ เซลโลเฟน ผสมกับสารละลายนำ�้ ตาล ทำ� ใหม้ ปี ริมาณสารละลายมากขึ้น ของเหลวในหลอดแก้วจึง สงู ขน้ึ ) 7. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียน พร้อมท้ังตอบค�ำถามระหว่างเรียน เพ่ือให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมและประเมิน ความเขา้ ใจเกี่ยวกับออสโมซสิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมชี ีวติ 187 ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามระหว่างเรยี น • จากกิจกรรม 3.4 ถ้าตั้งชุดทดลองต่อไปอีกระยะหน่ึง ระดับของเหลวในหลอดแก้วจะมีการเปล่ียนแปลง อย่างไร แนวคำ� ตอบ เมอ่ื ตงั้ ชดุ ทดลองตอ่ ไประยะหน่ึงจะพบว่าระดับของเหลวในหลอดแก้วจะสูงขึน้ • ถ้าน�ำบีกเกอร์ซึ่งมีเซลโลเฟนกั้นและมีสารละลายน้�ำตาลทรายความเข้มข้นต่างกัน 2 ข้าง โดยสารละลาย นำ้� ตาลทรายขา้ งซา้ ยมคี วามเขม้ ขน้ 40% ในขณะทส่ี ารละลายนำ้� ตาลทรายขา้ งขวามคี วามเขม้ ขน้ 20% เมอื่ วางทิ้งไวร้ ะยะหนงึ่ จะเกดิ การเปลี่ยนแปลงดงั ภาพ นักเรียนคิดว่าการเปล่ยี นแปลงดังกลา่ วเกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ การเปล่ียนแปลงดังกล่าวเกิดขึ้นเน่ืองจากความเข้มข้นของสารละลายทั้ง 2 ข้างไม่เท่ากัน น�้ำ จากสารละลายน�้ำตาลทรายท่ีมีความเข้มข้นน้อยกว่าจึงเคลื่อนที่ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของ สารละลายนำ้� ตาลทรายมากกวา่ • ออสโมซิสเกดิ ขนึ้ ได้อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ออสโมซสิ เกดิ ขนึ้ เมอื่ มคี วามแตกตา่ งกนั ของโมเลกลุ นำ้� 2 บรเิ วณ โดยมเี ยอ่ื เลอื กผา่ นกน้ั ซงึ่ โมเลกลุ ของน�้ำจะเคล่ือนท่ีจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่�ำ (มีโมเลกุลของน้�ำมาก) ผ่านเยื่อ เลอื กผา่ นไปยงั บริเวณท่ีมีความเข้มขน้ ของสารละลายสงู (มีโมเลกลุ ของนำ�้ นอ้ ย) • ถา้ เซลลพ์ ชื แชอ่ ยใู่ นสารละลายทม่ี คี วามเขม้ ขน้ มากกวา่ เทา่ กบั และนอ้ ยกวา่ สารละลายภายในเซลล์ รปู รา่ ง ของเซลลพ์ ชื จะมกี ารเปล่ียนแปลงเหมอื นหรือแตกต่างจากเซลลส์ ตั ว์อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ถ้าแช่พืชในสารละลายท่ีมีความเข้มข้นมากกว่า เท่ากับ และน้อยกว่าสารในเซลล์ อาจส่งผลให้ โครงสร้างภายในเย่ือหุ้มเซลล์เหี่ยว ปกติ และเต่งเพียงเล็กน้อย ตามล�ำดับ เน่ืองจากเซลล์พืชมี โครงสรา้ งทเ่ี ป็นผนังเซลล์อยู่ลอ้ มรอบ • ยกตัวอยา่ งออสโมซิสของสารในชวี ิตประจำ� วันที่นกั เรียนเคยพบเหน็ แนวคำ� ตอบ นักเรียนสามารถตอบไดต้ ามประสบการณ์ของตนเอง เชน่ การพรมน้�ำให้ผกั สด การใส่น�ำ้ ในแจกนั ดอกไม้ การแชต่ ้นหอมในนำ�้ เพือ่ ให้มรี ูปทรงสวยงาม • เพราะเหตใุ ด เมือ่ น�ำผกั ทีเ่ ริ่มเหยี่ วไปแชน่ ำ�้ ผกั จงึ เต่งขนึ้ แนวคำ� ตอบ การทนี่ ำ� ผกั ทเี่ รม่ิ เหย่ี วมาแชน่ ำ�้ แลว้ ผกั เตง่ ขนึ้ เกดิ จากการเคลอ่ื นทข่ี องนำ้� จากบรเิ วณภายนอกตน้ ผกั ซ่งึ มโี มเลกลุ ของนำ้� มากกวา่ เข้าสบู่ รเิ วณภายในต้นผักซึง่ มโี มเลกลุ ของนำ�้ น้อยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

188 หน่วยท่ี 3 | หน่วยพ้นื ฐานของส่ิงมีชวี ิต คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 8. รว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ เนอื้ หาทง้ั หมดทไ่ี ดเ้ รยี นรจู้ ากการทำ� กจิ กรรมและการอา่ นเนอื้ หาเพม่ิ เตมิ โดยครอู าจใหน้ กั เรยี น แต่ละกลุม่ วาดแผนภาพหรือใช้โปรแกรมประยุกตต์ า่ ง ๆ ในการน�ำเสนอองค์ความร้ทู ีไ่ ด้จากการเรียนในเรอื่ งน้ี เพอื่ ให้ ไดข้ ้อสรปุ วา่ ออสโมซิส เป็นการเคลอื่ นทีส่ ุทธขิ องโมเลกลุ นำ้� จากบริเวณท่ีมคี วามเข้มขน้ ของสารละลายต�่ำ (มโี มเลกุล ของน้�ำมาก) ผ่านเย่อื เลอื กผ่านไปยงั บริเวณที่มคี วามเข้มข้นของสารละลายสงู (มโี มเลกลุ ของน้�ำน้อย) 9. ถ้าครูพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเก่ียวกับเรื่องน้ี ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคล่ือนให้ ถกู ตอ้ ง เช่น แนวคิดคลาดเคลื่อน แนวคดิ ทถี่ กู ต้อง เซลล์ของส่ิงมีชีวิตไม่จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำในกระบวนการ เซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ จำ� เปน็ ตอ้ งใชน้ ำ้� ในกระบวนการตา่ ง ๆ ต่าง ๆ เพือ่ การดำ� รงชวี ติ เพอ่ื การด�ำรงชวี ติ 10. อาจให้นกั เรียนทำ� กจิ กรรมเสรมิ ในหนงั สอื เรียน โดยครูอาจใช้คำ� ถามถามนกั เรียนในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี 10.1 ภายในเซลล์มีนำ้� เป็นสว่ นประกอบหรอื ไม่ (นกั เรยี นตอบไดต้ ามความเข้าใจของตนเอง เช่น มี) 10.2 ถ้าเราหยดสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงลงบนเซลล์เย่ือหัวหอมแดง จะเกิดการเปล่ียนแปลงอย่างไร (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจ โดยครูควรเน้นให้นักเรยี นบนั ทกึ สิง่ ที่นักเรยี นคาดการณไ์ ว้ในแบบบนั ทกึ กิจกรรม) 11. ใหน้ กั เรยี นวางแผนและออกแบบการทำ� กจิ กรรมเสรมิ ออกแบบตารางบนั ทกึ ผลสง่ิ ทค่ี าดการณแ์ ละสงิ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการ ทำ� กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มชี วี ิต 189 คูม่ ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมเสรมิ นำ้� ออสโมซิสเขา้ หรือออกจากเซลลพ์ ชื อยา่ งไร นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เย่ือหัวหอมแดงหรือเย่ือผิวใบด้านที่มีสีม่วงของว่านกาบหอยโดยใช้ กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง เมื่อหยดนำ�้ กลัน่ สารละลายน้�ำตาลทรายความเข้มขน้ 20% ลงบนเนอ้ื เยอ่ื บนสไลด์ ตัวอยา่ งผลการทำ� กิจกรรม ภาพเซลล์เยื่อหวั หอมแดงหรือ ภาพเซลล์เย่ือหัวหอมแดงหรือเยื่อผิวใบของว่าน เยอ่ื ผวิ ใบของวา่ นกาบหอย เมอ่ื กาบหอยเม่อื หยดสารละลายน้ำ� ตาลทราย หยดน้�ำกล่ัน ตัวอย่างองคค์ วามรู้หรอื ทกั ษะท่ีได้จากกิจกรรม เซลล์มีการล�ำเลียงสารผ่านเข้าและออกจากเซลล์ ในกรณีท่ีหยดสารละลายน้�ำตาลลงบนเซลล์เย่ือหัวหอมแดง หรือเย่ือผิวใบของว่านกาบหอยแล้วพบว่าไซโทพลาซึมหรือของเหลวภายในเซลล์ลดลงนั้น เกิดจากการออสโมซิส ของนำ้� ภายในเซลล์ออกสู่ภายนอก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

190 หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพื้นฐานของส่งิ มีชวี ติ คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 12. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ท่ีได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขยี นผงั มโนทศั น์สง่ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรจู้ ากบทเรยี นเรอ่ื ง การล�ำเลยี งสารเข้าออกเซลล์ 13. ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอผลงาน โดยการอภปิ รายภายในกลมุ่ อภปิ รายรว่ มกนั ในชน้ั เรยี น หรอื ตดิ แสดงผลงานบนผนงั หอ้ งเรยี น และใหน้ กั เรียนในหอ้ งรว่ มชมผลงานและแสดงความคิดเหน็ จากน้ันครูและนักเรียนอภปิ รายสรปุ องคค์ วามรูท้ ่ไี ด้ จากบทเรียนรว่ มกนั ตวั อยา่ งผงั มโนทัศนส์ รปุ องค์ความรใู้ นบทเรียนการลำ�เลียงสารเข้าออกเซลล์ การลำ� เลียงสารเข้าและออกเซลล์ มี 2 วิธี ไดแ้ ก่ การแพร่ ออสโมซสิ เป็น เป็น การเคลือ่ นทขี่ องสาร การเคลอ่ื นทข่ี องนำ�้ จากบริเวณ ผ่าน ความเข้มข้นของสารสูง เยื่อเลือกผ่าน ไปยังบรเิ วณ จากบรเิ วณ ความเข้มขน้ ของสารตำ�่ ความเข้มข้นของสารละลายต่�ำ ไปยังบรเิ วณ ความเขม้ ข้นของสารละลายสูง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพื้นฐานของส่งิ มชี ีวิต 191 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 14. เชอ่ื มโยง ความรเู้ รอ่ื งการลำ� เลยี งสารเขา้ ออกเซลล์ ไปสกู่ ารนำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำ� วนั โดยใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรม ทา้ ยบท เพราะเหตใุ ดน้�ำหนักของไข่ไก่จึงเปลยี่ นแปลง และตอบค�ำถามทา้ ยกิจกรรม 15. ใช้ค�ำถามส�ำคัญของบทในหน้าน�ำบทท่ี 2 การล�ำเลียงสารเข้าออกเซลล์ ถามนักเรียนและให้นักเรียนอภิปรายร่วมกัน โดยนักเรียนควรตอบคำ� ถามสำ� คัญของบทได้ เฉลยคำ�ถามสำ�คญั ของบท 1. สิ่งมีชีวิตน�ำสารเขา้ และออกจากเซลลไ์ ด้อย่างไร แนวค�ำตอบ สง่ิ มชี วี ติ สามารถนำ� สารเขา้ และออกจากเซลลไ์ ดโ้ ดยการเคลอื่ นทขี่ องสารทม่ี คี วามเขม้ ขน้ แตกตา่ ง กัน 2 บรเิ วณ ซึง่ การเคลอ่ื นทขี่ องสารเขา้ ออกเซลล์ มี 2 วิธี คือ การแพรแ่ ละออสโมซิส 2. การแพร่และออสโมซิสมีความส�ำคัญตอ่ การดำ� รงชีวติ ของส่งิ มีชีวติ อย่างไร แนวค�ำตอบ การแพร่และออสโมซสิ มีความส�ำคญั ต่อการด�ำรงชวี ติ ของส่งิ มีชีวติ เนอ่ื งจากสง่ิ มีชีวิตต้องมกี าร นำ� สารเขา้ เซลลเ์ พอ่ื ใชใ้ นกระบวนการตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ และตอ้ งมกี ารนำ� สารออกจากเซลลเ์ พอื่ กำ� จดั สารบางอย่างออกจากเซลล์ ทำ� ให้สิ่งมชี ีวติ สามารถด�ำรงชวี ิตอยูไ่ ด้ 16. ให้นักเรียนตรวจสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ท่ีได้เรียนรู้จากบทเรียนนี้ ในกรอบตรวจสอบตนเอง 17. ใหน้ กั เรยี นอา่ นสรปุ ทา้ ยบท ทำ� แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท และประเมนิ ความรคู้ วามเขา้ ใจจากการเรยี นหนว่ ยท่ี 3 หนว่ ยพน้ื ฐาน ของส่งิ มชี วี ิต โดยการท�ำแบบฝึกหดั ทา้ ยหนว่ ย 18. เชื่อมโยงองค์ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากหน่วยการเรียนรูน้ ้ีไปยังหนว่ ยท่ี 4 การด�ำรงชีวิตของพชื โดยครอู าจให้แนวคิดว่า ส่งิ มชี วี ิต ทกุ ชนดิ มเี ซลลเ์ ปน็ หนว่ ยพน้ื ฐาน เซลลแ์ ตล่ ะชนดิ มโี ครงสรา้ งและหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั และเซลลม์ กี ารลำ� เลยี งสารเขา้ และ ออกจากเซลล์เพ่ือการด�ำรงชีวิต แล้วพืชซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการด�ำรงชีวิตของนักเรียนนั้นมีกระบวนการใน การดำ� รงชีวติ อยา่ งไร  สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

192 หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชวี ติ คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 3.4 นำ้� เคลื่อนท่ีผ่านเยื่อเลือกผ่านไดอ้ ยา่ งไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเคล่ือนท่ีของน้�ำเข้าและออกจากเซลล์ ผ่านการสังเกตและทดลอง จากนั้นน�ำผลที่ได้ จากการท�ำกิจกรรมมาลงขอ้ สรปุ เกย่ี วกบั ออสโมซิส จุดประสงค์ สังเกต และอธิบายกระบวนการเคลื่อนท่ขี องนำ�้ ผ่านเยื่อเลือกผา่ น เวลาที่ใช้ใน 30 นาที การท�ำกิจกรรม วัสดุและอปุ กรณ์ รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. นำ้� เปล่า 50 cm3 2. สารละลายนำ�้ ตาลทราย ความเขม้ ขน้ 30 cm3 % 1 แผน่ 3. เซลโลเฟน (กวา้ ง 15 cm x ยาว 15 cm) 1 เส้น 1 ดา้ ม 4. ยางรดั ของ 1 ใบ 1 หลอด 5. ปากกาเคมี 1 ชุด 6. บกี เกอรข์ นาด 100 cm3 7. หลอดแกว้ (เส้นผ่านศนู ยก์ ลาง .5 cm ยาว 20 cm) 8. ขาต้ังพร้อมท่ีหนบี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้นื ฐานของสิง่ มชี ีวติ 193 คูม่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ การเตรียม • เตรยี มสารละลายนำ้� ตาลทรายความเข้มขน้ 20% โดยช่งั น�้ำตาลทราย 20 กรัม ใสใ่ นบีกเกอร์ ลว่ งหน้าส�ำหรบั ครู เตมิ น้�ำกลนั่ จนมปี รมิ าตร 100 ลกู บาศก์เซนติเมตร คนใหน้ ำ�้ ตาลละลายจนหมด ข้อควรระวงั ข้อเสนอแนะ • ตดั เซลโลเฟนใหเ้ ปน็ แผ่นขนาด กวา้ ง 15 เซนติเมตร ยาว 15 เซนตเิ มตร ในการทำ� กจิ กรรม • ระวังไม่ให้เซลโลเฟนขาดหรือเปน็ รู เพราะจะท�ำใหผ้ ลการทดลองคลาดเคล่อื น • ระวังไม่ให้ระดบั นำ�้ ในบกี เกอรส์ งู กว่าบรเิ วณปากถุงเซลโลเฟนที่บรรจุสารละลายนำ้� ตาล • ระวงั ไม่ใหม้ ีฟองอากาศในถุงเซลโลเฟนท่บี รรจุสารละลายนำ�้ ตาลทราย • เมือ่ จ่มุ หลอดแก้วลงในถุงเซลโลเฟนซ่ึงบรรจุสารละลายนำ้� ตาลทราย ผูกปากถงุ ให้แนน่ แล้ว น�ำไปติดตงั้ บนขาต้งั เรยี บร้อยแล้ว ควรรีบท�ำเครือ่ งหมายแสดงระดับน�้ำในหลอดแก้วทนั ที • หลงั จากบรรจสุ ารละลายนำ้� ตาลทรายลงในถงุ เซลโลเฟนและมดั ปากถงุ เขา้ กบั หลอดแกว้ แลว้ ควรเชด็ ท�ำความสะอาดภายนอกถงุ เซลโลเฟนกอ่ นเริม่ ทำ� กิจกรรม • ควรใชแ้ อลกอฮอล์หรืออะซิโตนลบรอยปากกาเคมีที่ใชท้ ำ� เคร่ืองหมายแสดงระดบั สารละลาย น�้ำตาลทรายบนหลอดแก้วหลังท�ำกจิ กรรมเสร็จแล้วทุกคร้งั ส่ือการเรยี นรู้/ • หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ปที ี่ 1 สสวท. แหล่งเรียนรู้ • ส่ือดจิ ิตัลแสดงผลเสมอื นจรงิ (AR) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

194 หน่วยท่ี 3 | หน่วยพ้ืนฐานของสิง่ มีชวี ติ คูม่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม หลงั จากทำ� กิจกรรมพบว่า ระดับสารละลายนำ้� ตาลทรายในหลอดแกว้ สงู ขึ้นจากระดับเรมิ่ ตน้ ทท่ี ำ� เครอ่ื งหมายไวด้ งั ตารางบนั ทึกผลกิจกรรม ตารางแสดงระดบั ของเหลวในหลอดแก้วทเี่ วลาตา่ ง ๆ เวลาท่ผี ่านไป (นาท)ี ความสงู ของระดบั ของเหลวในหลอดแก้ว (cm) 5 1.6 10 2.4 15 3.0 20 3.6 25 4.1 30 4.6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หน่วยพ้นื ฐานของสงิ่ มชี ีวติ 195 คมู่ ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. หลังจากตงั้ ชุดการทดลองท้งิ ไว้ 30 นาที ระดับของเหลวในหลอดแกว้ มีการเปลี่ยนแปลงหรอื ไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ เมือ่ ตงั้ ชุดการทดลองไว้ 30 นาที ระดบั สารละลายนำ้� ตาลทรายในหลอดแกว้ มกี าร เปลย่ี นแปลง โดยระดับของสารละลายจะสงู ขนึ้ 2. ในกิจกรรมน้ีมกี ารเคล่ือนท่ีของสารใด และเคลือ่ นท่ีอย่างไร แนวคำ� ตอบ มกี ารเคล่อื นท่ีของน้�ำ โดยนำ�้ เคล่อื นท่เี ขา้ ไปในถุงเซลโลเฟนท่ีมีสารละลายนำ้� ตาลทรายบรรจุ อยู่ 3. เขียนแผนภาพแสดงการเคลอ่ื นท่ขี องสารในชดุ การทดลองได้อย่างไร แนวค�ำตอบ ระดับสารละลายน้�ำตาลในหลอดแก้วสงู ขน้ึ น้�ำเคลือ่ นท่ีเขา้ ไปยังถงุ เซลโลเฟน 4. จากกจิ กรรม สรปุ ไดว้ า่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ น้�ำเคล่ือนที่จากภายนอกเข้าสภู่ ายในถงุ ผา่ นเซลโลเฟน จึงทำ� ให้สารละลายนำ้� ตาลทรายใน หลอดแกว้ สูงขน้ึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

196 หน่วยที่ 3 | หน่วยพนื้ ฐานของส่ิงมีชีวิต คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท้ายบท เพราะเหตใุ ดน้�ำหนกั ของไขไ่ กจ่ งึ เปลีย่ นแปลง นักเรียนจะได้นำ� ความรูเ้ กยี่ วกับการล�ำเลยี งสารเขา้ ออกจากเซลล์ รวมทั้งความรอู้ ่นื ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการ ทำ� กิจกรรม จุดประสงค์ ทดลองและอธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของไข่ไก่ในสารละลายชนดิ ต่าง ๆ เวลาทใ่ี ชใ้ น 1 ช่ัวโมง การท�ำกิจกรรม วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ รายการ ปริมาณ/กลมุ่ การเตรยี ม 1. ไข่ไก่ 1 ฟอง ล่วงหน้าส�ำหรบั ครู ข้อควรระวงั 2. นำ้� สม้ สายชู 100 cm3 3. สารละลายนำ้� ตาลทรายเข้มข้น 100 cm3 4. นำ้� เปลา่ 100 cm3 5. บีกเกอรข์ นาด 250 cm3 2 ใบ 6. เครอ่ื งชงั่ 1 เครือ่ ง • ครคู วรนำ� ไขไ่ ก่แช่ในบกี เกอร์ท่ีมนี ำ�้ สม้ สายชูเปน็ เวลา 2 วนั ก่อนนำ� มาใหน้ ักเรยี นทำ� กิจกรรม • ครูควรเตรียมสารละลายต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของจ�ำนวนนกั เรียนในห้องเรยี น • ระวังการสัมผัสกับน�้ำส้มสายชูโดยตรง เพราะอาจก่อให้เกิดอาการแสบร้อนตามผิวหนังหรือ บริเวณพื้นผิวทีม่ คี วามบอบบาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของสิง่ มชี ีวิต 197 คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ข้อเสนอแนะ • ควรทำ� กจิ กรรมนอกเวลาเรียนหรือควรวางแผนในการท�ำกจิ กรรมให้รอบคอบ เน่อื งจากตอ้ ง ในการทำ� กิจกรรม แช่ไข่ไกท่ ่ไี ม่มเี ปลือกแข็งในสารละลายต่าง ๆ เป็นเวลา 1 - 2 วัน สอื่ การเรยี นรู้/ แหล่งเรียนรู้ • ควรใช้ไขไ่ กใ่ หมใ่ นการทำ� กจิ กรรม เนอื่ งจากเม่อื นำ� ไปแช่ในสารละลายต่าง ๆ ไข่ไกใ่ หม่จะจม ท�ำใหส้ งั เกตเห็นผลการเปลีย่ นแปลงชดั เจนย่ิงขึน้ • การชงั่ นำ้� หนกั ไขไ่ ก่ ตอ้ งชงั่ นำ�้ หนกั ภาชนะทใ่ี สไ่ ขไ่ กก่ อ่ น แลว้ จงึ นำ� ไขไ่ กใ่ สใ่ นภาชนะแลว้ นำ� ไป ชงั่ นำ้� หนกั จากนั้นน�ำน้�ำหนกั ไขไ่ ก่รวมภาชนะกับนำ�้ หนักภาชนะมาลบกัน จะไดน้ ำ�้ หนักไขไ่ ก่ ทแี่ ทจ้ ริง • ครสู ามารถใหน้ ักเรียนเลือกใชช้ นดิ ของสารละลาย จ�ำนวนชนิดของสารละลาย รวมทง้ั ความ เขม้ ขน้ ของสารละลาย ได้ตามบรบิ ทของโรงเรียน • หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาปที ี่ 1 สสวท. ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ข้อมูล ไข่ไก่เสมา่อื ยแชชู ด่2ว้ วยันน้�ำส้ม ไขไ่ ก่เมอื่ แช่ด้วยสารละลายทต่ี ้องการศึกษา ลกั ษณะ ทรงกลมค่อนข้างรี มีสี เหลอื งใส ไมม่ ีเปลือกแขง็ น�้ำตาลทรายเขม้ ขน้ น้�ำ ทรงกลมค่อนข้างรี มีสี ทรงกลมค่อนข้างรี มีสี เหลอื งใส ผวิ คอ่ นขา้ งเหย่ี ว เหลืองใส ผิวคอ่ นข้างเต่ง น�ำ้ หนกั 88.86 กรมั (ขน้ึ อยกู่ ับไข่ 66.33 กรมั (ขึน้ อยู่กบั ไข่ 79.01 กรมั (ข้ึนอยกู่ บั ไข่ ไกท่ ีน่ �ำมาศึกษา) ไก่ทน่ี �ำมาศึกษา) ไก่ท่ีนำ� มาศึกษา) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

198 หนว่ ยท่ี 3 | หน่วยพ้นื ฐานของส่ิงมชี ีวิต ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. น้�ำหนกั ไข่ไกม่ กี ารเปลีย่ นแปลงหรอื ไม่ อยา่ งไร เม่อื แช่ในสารละลายตัวอย่างต่าง ๆ แนวคำ� ตอบ มีการเปลี่ยนแปลง เมื่อน�ำไข่ไก่ไปแช่ในสารละลายน้�ำตาลเขม้ ขน้ ไขไ่ กจ่ ะมนี ้�ำหนกั ลดลง และมผี วิ เหยี่ วขรขุ ระ แตเ่ มื่อน�ำไขไ่ กไ่ ปแช่ในนำ้� เปล่า ไข่ไก่จะมีนำ้� หนกั เพมิ่ ขึ้นและมผี วิ คอ่ นข้างเตง่ ขน้ึ 2. สารตัวอย่างใดที่ทำ� ให้ไขไ่ ก่มีนำ้� หนักลดลงและเพิ่มข้ึน แนวคำ� ตอบ สารตัวอยา่ งท่ที ำ� ใหไ้ ขไ่ ก่มนี �้ำหนักลดลงคอื สารตัวอยา่ งท่ีมคี วามเข้มขน้ มากกวา่ สารละลาย ภายในเซลล์ไขไ่ ก่ คอื สารละลายน�ำ้ ตาลทรายเข้มข้น สว่ นสารตัวอยา่ งที่ท�ำให้ไขไ่ กม่ นี ำ้� หนัก เพ่ิมข้ึน คอื นำ�้ เปล่า 3. การเปลี่ยนแปลงน�้ำหนกั ของไข่ไกเ่ กิดขน้ึ จากกระบวนการใด แนวค�ำตอบ การเปลีย่ นแปลงนำ�้ หนกั ของไขไ่ กเ่ กิดจากกระบวนการออสโมซิส 4. จากกิจกรรม สรปุ ได้ว่าอย่างไร แนวคำ� ตอบ น�้ำหนกั ทเี่ ปลี่ยนแปลงไปของไขไ่ ก่ เกิดจากน�ำ้ ออสโมซสิ เข้าหรือออกจากเยือ่ หุ้มไข่ ซงึ่ มีสมบัติ เป็นเยื่อเลอื กผา่ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพ้ืนฐานของสิง่ มชี วี ติ 199 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เ ฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท 1. การแพร่และออสโมซสิ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ การแพรเ่ ปน็ การเคลอื่ นทข่ี องสารจากบรเิ วณทม่ี คี วามเขม้ ขน้ ของสารสงู ไปยงั บรเิ วณทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ของ สารต�ำ่ ไม่จำ� เปน็ ตอ้ งเกดิ ผา่ นเยือ่ เลือกผา่ น สว่ นออสโมซิสเปน็ การเคล่อื นทข่ี องนำ้� จากบรเิ วณทม่ี ีความ เข้มข้นของสารละลายต�่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูง และต้องเกิดผ่านเยื่อเลือกผ่าน เท่านัน้ 2. ยกตัวอย่างการแพร่และออสโมซิสในชีวติ ประจำ� วัน แนวคำ� ตอบ ตัวอย่างการแพร่ เช่น การแลกเปล่ียนแก๊สระหว่างแก๊สออกซิเจนกับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์บริเวณ ถุงลมปอด ตัวอย่างออสโมซสิ เช่น การขับนำ�้ ออกจากทอ่ หน่วยไต 3. เขยี นลกู ศรแสดงการแพรข่ องแกส๊ ออกซเิ จนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ผา่ นเยอื่ หมุ้ เซลลข์ องอะมบี า ซงึ่ เปน็ สงิ่ มี ชวี ติ เซลล์เดยี วท่ตี ้องใช้แกส๊ ออกซเิ จนในการหายใจ และเกดิ ของเสียคือแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดซ์ งึ่ ต้องกำ� จัดออก จากเซลล์ พรอ้ มอธบิ ายวา่ เหตใุ ดจึงเกิดการแพร่ในทิศทางน้ัน แนวคำ� ตอบ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ แกส๊ ออกซเิ จน แกส๊ ออกซเิ จนจะแพรเ่ ข้าสเู่ ซลลอ์ ะมีบา เน่ืองจากภายในเซลลม์ คี วามเข้มข้นของแก๊สออกซเิ จนนอ้ ยกวา่ ภายนอกเซลล์ และแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ท่ีเกดิ ขนึ้ ภายในเซลลจ์ ะแพรอ่ อกนอกเซลล์ เน่ืองจากภายใน เซลลม์ ีแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ ากกวา่ ภายนอกเซลล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

200 หน่วยที่ 3 | หน่วยพ้นื ฐานของส่งิ มีชวี ติ คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 4. ถา้ น�ำชิ้นมนั ฝรงั่ แช่ในสารละลายน�้ำตาลทีค่ วามเข้มข้นตา่ ง ๆ ระยะเวลาหนึ่ง พบวา่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งร้อยละ ของมวลที่เปลย่ี นแปลงไปของชน้ิ มันฝรง่ั และความเข้มขน้ ของสารละลายนำ�้ ตาลเปน็ ดงั กราฟ ปรมิ าตรเซลลเ์ พม่ิ ขึ้น 0 ปรมิ าตรเซลลล์ ดลง 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 ความเข้มขน้ ของสารละลายนำ�้ ตาล แนวค�ำตอบ 4.1 นำ�้ ออสโมซิสเข้าเซลล์ เพราะจากกราฟมวลของช้นิ มนั ฝร่ังเพมิ่ ข้นึ ประมาณ 30% 4.2 นำ้� ออสโมซิสออกจากเซลล์ เพราะจากกราฟมวลของช้นิ มันฝรง่ั ลดลงประมาณ 15% 4.3 ความเขม้ ข้นของสารละลายนำ�้ ตาลต้องเท่ากับ 0.3 จงึ จะมีความเข้มขน้ ใกลเ้ คียงกับสารละลายใน เซลล์ของชุดการทดลอง 5. จงเขียนลกู ศรแสดงทศิ ทางการเคลือ่ นทข่ี องนำ�้ ลงบนภาพ และวาดภาพแสดงรปู ร่างลักษณะของเซลล์ แนวค�ำตอบ 5.1 เม่ือแช่เซลลใ์ นสารละลายที่มีความเข้มข้นนอ้ ยกวา่ สารละลายภายในเซลล์ เขยี นลูกศรแสดงทศิ ทางการเคล่อื นทขี่ องน�้ำ รูปร่างและลกั ษณะของเซลล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 3 | หน่วยพน้ื ฐานของสงิ่ มีชีวิต 201 คูม่ อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 5.2 เมื่อแชเ่ ม็ดเลอื ดแดงในสารละลายท่ีมคี วามเข้มขน้ เท่ากับสารละลายภายในเซลล์ เขียนลูกศรแสดงทิศทางการเคลอ่ื นท่ีของนำ�้ รปู ร่างและลกั ษณะของเซลล์ 5.3 เมือ่ แชเ่ มด็ เลือดแดงในสารละลายทม่ี ีความเขม้ ข้นมากกว่าสารละลายภายในเซลล์ เขียนลกู ศรแสดงทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ีของนำ�้ รปู ร่างและลกั ษณะของเซลล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

202 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มชี วี ติ คู่มอื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยหน่วย 1. จากวัตถทุ ่กี ำ� หนดให้ เมื่อสงั เกตวัตถนุ ีด้ ้วยกล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง ภาพทเี่ หน็ จะมีลกั ษณะอยา่ งไร* ก. ข. ค. ง. เฉลย ข้อ ง. เพราะภาพท่ีมองผ่านกลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สงจะเปน็ ภาพเสมอื นหัวกลับ กลับซ้ายเป็นขวา และเมื่อเล่อื น แท่นวางวัตถไุ ปทางดา้ นซา้ ยวตั ถุจะเลื่อนไปทางขวา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพ้นื ฐานของส่ิงมีชวี ิต 203 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เซลล์ ประกอบกนั เปน็ แบ่งเป็น เซลล์พชื ประกอบดว้ ย เซลล์สัตว์ 7._____________ ไซโทพลาซึม นิวเคลยี ส ท�ำหนา้ ทรี่ ว่ มกนั เปน็ 1._____________ อวยั วะ มีสมบตั ิเปน็ นอกจากน้ี ภายในมี ท�ำหนา้ ท่รี ่วมกันเปน็ ยงั มี 2._____________ 3._____________ 8._____________ ควบคุม 4._____________ ผนงั เซลล์ ลกั ษณะทางพนั ธุกรรม ประกอบดว้ ย 5._____________ ทำ� หน้าทด่ี ดู ซับ ใน กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง 6._____________ 2. จากแผนภาพ ข้อใดต่อไปน้ถี กู ต้อง* ก. หมายเลข 1 หมายถงึ เยือ่ ห้มุ เซลล์ และ หมายเลข 8 หมายถึง สงิ่ มีชวี ติ ข. หมายเลข 2 หมายถงึ เยอื่ เลอื กผา่ น และ หมายเลข 7 หมายถงึ ระบบเนอื้ เยื่อ ค. หมายเลข 3 หมายถึง สารพนั ธุกรรม และ หมายเลข 4 หมายถึง คลอโรพลาสต์ ง. หมายเลข 5 หมายถงึ คลอโรฟลิ ล์ และ หมายเลข 6 หมายถงึ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ เฉลย ขอ้ ค. เพราะภายในนวิ เคลยี สมสี ารพนั ธกุ รรม และเซลลพ์ ชื มคี ลอโรพลาสตท์ เี่ ปน็ สว่ นสำ� คญั ในกระบวนการสงั เคราะห์ ดว้ ยแสงของพืช สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

204 หน่วยที่ 3 | หน่วยพื้นฐานของสิง่ มชี ีวิต ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 3. จากแผนภาพต่อไปนี้ ข้อใดถูกตอ้ ง* เซลลข์ องใบพ่รู ะหง เซลลข์ องกล้ามเนื้อหัวใจ ประกอบดว้ ย ประกอบดว้ ย 4 2 ภายในมี 1 ไซโทพลาซึม สารพนั ธกุ รรม 3 อยู่ ด้านนอกสดุ ของเซลล์ ก. 1 คือ เยอ่ื หุ้มเซลล์ และ 2 คือ ผนังเซลล์ ข. 1 คอื เยอื่ หุ้มเซลล์ และ 2 คือ คลอโรพลาสต์ ค. 2 คอื คลอโรพลาสต์ และ 3 คือ แวควิ โอล ง. 2 คือ คลอโรพลาสต์ และ 3 คือ เยอื่ หุม้ เซลล์ เฉลย ข้อ ข. เพราะเซลลป์ ระกอบด้วยเย่อื หมุ้ เซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพน้ื ฐานของสิง่ มีชีวติ 205 คู่มอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 4. ถ้านำ� เซลลจ์ ากส่วน A และสว่ น B ของต้นไม้ตัวอย่างดังภาพ มาส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สง โครงสร้างใดท่ี พบมากในเซลล์จากสว่ น A และพบน้อยหรอื ไม่พบเลยในส่วน B ** A ก. ไมโทคอนเดรยี B ข. คลอโรพลาสต์ ค. ผนังเซลล์ ง. นิวเคลียส เฉลย ข้อ ข. เน่ืองจากเซลลจ์ ากส่วน A มีส่วนที่มีสีเขยี ว ไดร้ ับแสงแดด จงึ มคี ลอโรพลาสตอ์ ยู่ภายในเซลล์ สว่ นเซลล์จาก สว่ น B เปน็ สว่ นทอี่ ยภู่ ายในดนิ ไมไ่ ดร้ บั แสงแดด ทำ� หนา้ ทใ่ี นการสะสมอาหาร ไมเ่ กดิ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง จงึ พบ ปรมิ าณคลอโรพลาสต์ในปริมาณท่นี ้อยหรอื ไมพ่ บเลย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

206 หน่วยที่ 3 | หนว่ ยพืน้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 5. นักวิทยาศาสตร์วิจัยเกี่ยวกับการสะสมแป้งของข้าวสายพันธุ์ใหม่ โดยการศึกษาโครงสร้างของเซลล์เมล็ดข้าว หลักฐานในข้อใดทบี่ ง่ ชวี้ ่าเมลด็ ข้าวดงั กลา่ วนา่ จะมีการสะสมแป้งไดด้ ที ี่สุด ** ก. พบผนังเซลลห์ นาล้อมรอบเซลล์ ข. พบนิวเคลียสขนาดใหญจ่ นเกอื บเต็มเซลล์ ค. พบแวคิวโอลขนาดใหญ่กระจายทั่วทัง้ เซลล์ ง. พบคลอโรพลาสต์จำ� นวนมากอย่ภู ายในเซลล์ เฉลย ข้อ ค. เน่ืองจากแวคิวโอล ทำ� หนา้ ท่ีในการเกบ็ สะสมอาหารจ�ำพวกแป้ง 6. การจดั ระบบของสิง่ มีชวี ิตในข้อใด เรียงล�ำดบั จากใหญไ่ ปเล็กได้ถกู ต้อง* ก. ระบบหมนุ เวียนเลอื ด หวั ใจ กล้ามเน้ือหัวใจ เซลลก์ ลา้ มเน้อื หัวใจ ข. เซลลล์ �ำไส้ใหญ ่ เนื้อเยือ่ ลำ� ไสใ้ หญ่ ลำ� ไสใ้ หญ ่ ระบบย่อยอาหาร ค. เซลล์ประสาท สมอง เนื้อเยอื่ สมอง ระบบประสาท ง. ระบบหายใจ เนือ้ เยอ่ื ปอด ปอด เซลล์ปอด เฉลย ขอ้ ก. เนอ่ื งจากการจัดระบบของสิ่งมชี วี ติ เรียงลำ� ดบั จากใหญ่ไปเล็ก คือ ระบบอวยั วะ อวัยวะ เนอื้ เย่ือ และเซลล์ ตามลำ� ดับ 7. ข้อใดอธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างรูปร่างกบั หน้าท่ีของเซลลไ์ ดถ้ กู ต้อง** ก. เซลลค์ มุ มีผนงั เซลล์หนาบางไมเ่ ทา่ กัน เพ่อื ให้สามารถปิดเปิดปากใบได้ ข. เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง มรี ูปรา่ งกลมแบน เพื่อเพ่มิ พืน้ ที่ผวิ ในการแลกเปล่ยี นแกส๊ ค. เซลลป์ ระสาท มีเส้นใยเปน็ แขนงยาว เพอ่ื ช่วยใหก้ ระแสประสาทเคล่อื นท่ีเรว็ ขึ้น ง. เซลล์เนื้อเยือ่ ลำ� เลียง มีลกั ษณะเปน็ ทอ่ กลวงยาว เพ่ือสรา้ งความแขง็ แรงแกเ่ ซลล์ เฉลย ข้อ ก. เนือ่ งจากรปู ร่างของเซลล์คุมมผี นังเซลล์หนาบางไม่เท่ากัน เพอ่ื ท�ำหนา้ ที่ควบคุมการปิดเปดิ ของปากใบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 3 | หน่วยพนื้ ฐานของสงิ่ มีชีวิต 207 ค่มู อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 8. สถานการณ์ใดเป็นผลมาจากการแพร่* ก. สวมเสอ้ื คลุมใหร้ ่างกายอบอ่นุ เมื่ออากาศเยน็ ข. ได้กลนิ่ หอมของดอกไมใ้ นสวน ค. ใชพ้ ัดโบกไปมา เพ่อื ให้เหงือ่ แหง้ เรว็ ขนึ้ ง. นำ้� ค้างระเหยจากบรเิ วณยอดหญ้า เฉลย ขอ้ ข. เพราะมีการกระจายของสาร 9. สารละลายนำ�้ ตาล 1% และ สารละลายนำ�้ ตาล 5% บรรจอุ ยใู่ นภาชนะใบเดยี วกนั โดยมเี ยอื่ เลอื กผา่ นกนั้ อยรู่ ะหวา่ ง สารละลายทง้ั สอง ดงั ภาพ สารละลายน้�ำตาล สารละลายนำ้� ตาล 1% 5% เยื่อเลือกผา่ น จากภาพ ข้อความใดแสดงถึงกระบวนการออสโมซิส** ก. การเคลอ่ื นทข่ี องนำ�้ ตาลจากสารละลายนำ้� ตาล 1% ไปยังสารละลายนำ้� ตาล 5% ข. การเคลอ่ื นที่ของนำ้� ตาลจากสารละลายนำ�้ ตาล 5% ไปยงั สารละลายนำ�้ ตาล 1% ค. การเคลื่อนทข่ี องนำ�้ จากสารละลายน้�ำตาล 1% ไปยงั สารละลายน้�ำตาล 5% ง. การเคลอ่ื นที่ของนำ้� จากสารละลายน้�ำตาล 5% ไปยังสารละลายน�้ำตาล 1% เฉลย ขอ้ ค.เพราะนำ้� จะเคลอ่ื นทจี่ ากบรเิ วณทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ของสารนอ้ ยกวา่ ไปยงั บรเิ วณทมี่ คี วามเขม้ ขน้ ของสารมากกวา่   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

208 หน่วยท่ี 3 | หนว่ ยพนื้ ฐานของสิ่งมีชวี ติ คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 10. เม่ือเร่ิมต้นจัดชุดการทดลองได้ผลดังภาพ หากวางชุดการทดลองนี้ต่อไปอีก 5 นาที ของเหลวในหลอดแก้วและ บีกเกอรจ์ ะมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร** หลอดแกว้ ระดบั ของเหลว ในหลอดแกว้ เซลโลโฟน ระดบั ของเหลวในบกี เกอร์ นำ้� สารละลายน้ำ� ตาลทราย 20% ระดับของเหลว ระดบั ของเหลว ในหลอดแกว้ ในบกี เกอร์ ก. สงู ข้นึ ตำ�่ ลง ข. ต่�ำลง สูงข้นึ ค. เท่าเดมิ เทา่ เดิม ง. ต�่ำลง ตำ�่ ลง เฉลย ขอ้ ข. เพราะนำ�้ จะคลอ่ื นทีจ่ ากบริเวณทีม่ ีความเข้มขน้ ของสารตำ่� ไปยังบรเิ วณที่มคี วามเข้มข้นของสารสูง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4หนว่ ยท่ี การด�ำรงชวี ติ ของพชื หน่วยการเรียนรู้นี้มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ การสบื พนั ธ์ุ การขยายพนั ธ์ุ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ธาตอุ าหารพชื การล�ำเลียงน�้ำ ธาตุอาหารและอาหารของพืชเพ่ือท�ำความเข้าใจ กระบวนการด�ำรงชีวิตของพืช และความส�ำคัญของพืชที่มีผลต่อ มนุษย์และสง่ิ แวดลอ้ ม องคป์ ระกอบของหนว่ ย บทท่ี 1 การสบื พนั ธุ์และการขยายพันธ์ุพชื ดอก เรอ่ื งที่ 1 การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ เวลาทใี่ ช ้ 4 ช่ัวโมง และไมอ่ าศัยเพศของพืชดอก เร่ืองที่ 2 การขยายพันธ์พุ ชื ดอก เวลาท่ใี ช ้ 2 ชัว่ โมง กิจกรรมท้ายบท เวลาที่ใช้ 1 ช่วั โมง บทที่ 2 การสงั เคราะห์ด้วยแสง เรื่องท่ี 1 ปัจจยั และผลผลติ ของ เวลาที่ใช ้ 6 ชั่วโมง การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง กจิ กรรมทา้ ยบท เวลาที่ใช ้ 1 ชวั่ โมง บทท่ี 3 การลำ� เลยี งนำ้� ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื เรื่องที่ 1 ธาตุอาหารของพืช เวลาท่ใี ช้ 2 ช่วั โมง เรอ่ื งท่ี 2 การล�ำเลยี งในพืช เวลาท่ใี ช ้ 3 ช่ัวโมง กจิ กรรมทา้ ยบท เวลาท่ีใช ้ 1 ชั่วโมง รวมเวลาที่ใช ้ 20 ช่ัวโมง ภาพการปลกู พืชในอโุ มงคใ์ ตด้ นิ

210 หน่วยที่ 4 | การดำ�รงชีวติ ของพืช คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ บทที่ 1 การสบื พันธ์ุและการขยายพนั ธพ์ุ ืชดอก สาระส�ำคญั พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ นอกจากนั้นบางชนิดยังพบการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศด้วย การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดขึ้นท่ีดอก โดยทั่วไปดอกประกอบด้วย กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ และ เกสรเพศเมยี ภายในอบั เรณขู องเกสรเพศผมู้ เี รณทู ำ� หนา้ ทส่ี รา้ งสเปริ ม์ ภายในออวลุ ของเกสรเพศเมยี มถี งุ เอม็ บรโิ อทำ� หนา้ ท่ี สรา้ งเซลลไ์ ข่ ซง่ึ ตอ้ งมกี ารถา่ ยเรณจู ากอบั เรณไู ปยงั ยอดเกสรเพศเมยี นำ� ไปสกู่ าร ปฏิสนธิระหว่างสเปิร์มกับเซลล์ไข่ และระหว่างสเปิร์มกับโพลาร์นิวคลีไอในถุง เอม็ บรโิ อ หลังการปฏิสนธจิ ะได้ไซโกตและเอนโดสเปริ ม์ ไซโกตจะพฒั นาต่อไป เป็นเอ็มบริโอ โดยมีเอนโดสเปิร์มเป็นอาหารสะสมส�ำหรับเล้ียงเอ็มบริโอ ส่วน ออวลุ พฒั นาไปเปน็ เมลด็ และรงั ไขพ่ ฒั นาไปเปน็ ผล ผลและเมลด็ เมอ่ื เจรญิ เตบิ โต เตม็ ทจี่ ะกระจายออกจากตน้ โดยวธิ กี ารตา่ ง ๆ เมอ่ื เมลด็ ไปตกในสภาพแวดลอ้ ม ท่ีเหมาะสมจะงอกเป็นต้นใหม่ ส่วนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการ สืบพันธุ์ท่ีพืชต้นใหม่พัฒนาและเจริญเติบโตมาจากเน้ือเย่ือส่วนต่าง ๆ ของพืช ตน้ เดมิ มนษุ ยน์ ำ� ความรเู้ รอ่ื งการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศและไมอ่ าศยั เพศของพชื มา ใช้ในการขยายพันธุ์พืช ซ่ึงการเลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชควรเลือกให้เหมาะสม กับชนิดพืชและความตอ้ งการของมนษุ ย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชีวิตของพืช 211 คูม่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ จดุ ประสงคข์ องบทเรยี น เมื่อเรยี นจบบทนี้แล้ว นกั เรยี นจะสามารถทำ�ส่ิงตอ่ ไปนไ้ี ด้ 1. อธบิ ายการสืบพันธแ์ุ บบอาศยั เพศและไม่อาศยั เพศของพชื ดอก 2. อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกท่ีมีส่วนท�ำให้เกิดการถ่ายเรณู รวมท้ังบรรยายการปฏิสนธิของพืชดอก การเกดิ ผลและเมลด็ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด 3. ตระหนักถึงความส�ำคัญของสัตว์ท่ีช่วยในการถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ท�ำลายชีวิตของสัตว์ที่ช่วยใน การถา่ ยเรณู 4. เลือกวิธกี ารขยายพนั ธพ์ุ ชื ใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของพชื และความต้องการของมนุษย์ และเสนอแนวทางการนำ� ความรู้เรือ่ งการขยายพันธ์พุ ชื ไปใช้ในชีวิตประจำ� วัน 5. อธบิ ายความสำ� คญั ของการใชเ้ ทคโนโลยเี พาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื พชื ในการขยายพนั ธพ์ุ ชื เพอื่ ใชป้ ระโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

212 หน่วยท่ี 4 | การด�ำ รงชวี ิตของพืช คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ภาพรวมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ แนวความคิดต่อเนอ่ื ง กิจกรรม รายการประเมนิ การเรยี นร้ขู องบทเรียน 1. อธบิ ายการสบื พนั ธแ์ุ บบ 1. พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์ กิจกรรมท่ี 4.1 นกั เรียนสามารถ อาศัยเพศและไม่อาศัย แบบอาศัยเพศได้ นอกจากนั้น การถ่ายเรณูเกิด 1. อธิบายการสืบพันธุ์ เพศของพืชดอก บางชนิดยังพบการสืบพันธุ์แบบ ขนึ้ ได้อยา่ งไร ไมอ่ าศัยเพศด้วย แบบอาศัยเพศของ 2. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา้ ง กจิ กรรมท่ี 4.2 พืชดอก ของดอกท่ีมีส่วนท�ำให้ 2. การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศเกดิ ขน้ึ ท่ี เ ม ล็ ด ง อ ก ไ ด ้ 2. อ ธิ บ า ย ลั ก ษ ณ ะ เกดิ การถา่ ยเรณู รวมทง้ั ดอก โดยเกสรเพศผูม้ เี รณูท�ำหนา้ ท่ี อย่างไร โครงสร้างของดอกที่ บรรยายการปฏิสนธิ สร้างสเปิร์ม เกสรเพศเมียมี มีส่วนท�ำให้เกิดการ ของพชื ดอก การเกดิ ผล ถงุ เอ็มบรโิ อทำ� หนา้ ทส่ี รา้ งเซลลไ์ ข่ กิจกรรมท้ายบท ถ่ายเรณู และเมลด็ การ กระจาย ผลของพืชเกดิ ขึ้น 3. อธิบายการปฏิสนธิ เมล็ด และการงอกของ 3. การถ่ายเรณู เป็นการเคล่ือนย้าย ไดอ้ ยา่ งไร การเกิดผลและเมล็ด เมล็ด เรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสร ของพชื ดอก เพศเมีย โดยอาศัยส่ิงต่าง ๆ ช่วยใน 4. ระบุสิ่งท่ีจ�ำเป็นต่อ 3. ตระหนกั ถึงความสำ� คญั การถา่ ยเรณู การงอกของเมล็ด ของสัตว์ที่ช่วยในการ 5. อธิบายการกระจาย ถ่ายเรณูของพืชดอก 4. หลังจากถ่ายเรณู สเปิร์มเซลล์หน่ึง เมลด็ ของพืชดอก โดยการไม่ท�ำลาย ชีวิต จะเข้าไปปฏิสนธิกับเซลล์ไข่และ 6. บอกความสำ� คัญของ ของสัตว์ท่ีช่วยในการ สเปิร์มอีกเซลล์หนึ่งจะปฏิสนธิกับ สัตว์ในแง่ของการ ถ่ายเรณู โพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบริโอ ช่วยถ่ายเรณูและไม่ เป็นการ ปฏิสนธิซ้อน คือ มีการ ท�ำลายชีวิตของสัตว์ ปฏสิ นธิ 2 ครง้ั ทช่ี ่วยในการถ่ายเรณู 7. อธิบายการสืบพันธุ์ 5. หลังการปฏิสนธิจะได้ไซโกต แบบไมอ่ าศยั เพศของ และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนา พืชดอก ตอ่ ไปเปน็ เอม็ บรโิ อสว่ นเอนโดสเปริ ม์ 8. บอกความแตกต่าง เปน็ เนอ้ื เยอื่ ในเมลด็ ทำ� หนา้ ทส่ี ะสม ระหว่างการสืบพันธุ์ อาหาร ส่วนออวุลพัฒนาไปเป็น แบบอาศัยเพศและ เมลด็ และรังไขพ่ ฒั นาไปเปน็ ผล แบบไม่อาศยั เพศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยท่ี 4 | การดำ�รงชวี ิตของพืช 213 ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ จุดประสงค์ แนวความคดิ ตอ่ เนอ่ื ง กิจกรรม รายการประเมิน การเรยี นรูข้ องบทเรยี น 6. เม่ือเจริญเติบโตเต็มที่ผลและเมล็ด จะกระจายออกจากต้นโดยวิธีการ ต่าง ๆ เม่ือเมล็ดไปตกในสภาพ แวดล้อมท่ีเหมาะสมจะงอกเป็นต้น ใหม่ 7. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เปน็ การสบื พนั ธท์ุ พ่ี ชื ตน้ ใหมพ่ ฒั นา และเจรญิ เตบิ โตมาจากเนอ้ื เยอื่ สว่ น ตา่ ง ๆ ของพชื ต้นเดมิ ยกเวน้ ดอก 4. เลือกวิธีการขยายพันธุ์ 1. มนุษย์สามารถเพิ่มจ�ำนวนพืชโดย กิจกรรมที่ 4.3 1. บอกความส�ำคัญ พืชให้เหมาะสมกับชนิด การขยายพันธุพ์ ชื เ ลื อ ก วิ ธี ก า ร ของการขยายพันธุ์ ของพชื และความตอ้ งการ 2. การเลอื กวธิ ขี ยายพนั ธพ์ุ ชื ควรเลอื ก ข ย า ย พั น ธุ ์ พชื ของมนุษย์ และเสนอ ให้เหมาะสมกับชนิดของพืชและ พืชอย่างไรให้ 2. เลือกวิธีขยายพันธุ์ แนวทางการน�ำความรู้ ความตอ้ งการของมนุษย์ เหมาะสม พืชที่เหมาะสมกับ เ รื่ อ ง ก า ร ข ย า ย พั น ธุ ์ ชนิดพืชและความ พืชไปใช้ในชีวิตประจ�ำ ตอ้ งการของตัวเอง วนั 3. อ ธิ บ า ย ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ า ะ 5. อธิบายความส�ำคัญของ เล้ียงเน้ือเย่ือในการ การใช้เทคโนโลยีเพาะ ขยายพันธุ์พืช เพ่ือ เลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการ ใช้ประโยชน์ด้าน ขยายพันธุ์พืชเพื่อใช้ ตา่ ง ๆ ประโยชนด์ า้ นตา่ ง ๆ 4. นำ� ความรเู้ รอื่ งการ ขยายพันธุ์พืชไป ใช้ในชีวิตประจ�ำ วนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

214 หนว่ ยท่ี 4 | การด�ำ รงชีวิตของพืช คู่มือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่คี วรได้จากบทเรียน ทักษะ 1 เร่ืองที่ • 2 กิจกรรมทา้ ยบท ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสังเกต • • การวดั • การจำ� แนกประเภท •• การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ และสเปซ • •• กบั เวลา การใช้จ�ำนวน • •• การจดั กระท�ำและส่อื ความหมายข้อมูล • การลงความเหน็ จากขอ้ มลู • •• การพยากรณ์ •• การตั้งสมมตฐิ าน •• การกำ� หนดนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ การกำ� หนดและควบคมุ ตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายข้อมูลและลงขอ้ สรุป การสร้างแบบจำ� ลอง ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 การคิดอยา่ งสร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปญั หา การสื่อสาร การรว่ มมือร่วมใจ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี