หนว่ ยที่ 4 | การดำรงชีวิตของพืช 265 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทำ�กิจกรรม การเปลีย่ นแปลง ผลการถา่ ยเรณู ดอกยังไมเ่ กิดการเปลย่ี นแปลงที่สังเกตได้ วันที่ ภาพวาด/ภาพถ่าย 1 2 กลบี ดอกเรมิ่ เหี่ยว 3 กลีบดอกเห่ยี วมากขึ้น เหน็ รังไขช่ ดั เจนข้นึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
266 หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชีวิตของพชื คู่มือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่างผลการทำ�กิจกรรม วนั ที่ ภาพวาด/ภาพถา่ ย การเปลย่ี นแปลง 4 กลบี ดอกเหี่ยวมากขึ้น เห็นรงั ไขข่ ยาย ขนาดชดั เจนขน้ึ 5 กลีบดอกเห่ยี วมากขนึ้ เห็นรงั ไข่ขยาย ขนาดชดั เจนขน้ึ 6 กลบี ดอกเหย่ี วมากขนึ้ กา้ นเกสรเพศเมียและ กา้ นชอู บั เรณหู ลดุ รงั ไขข่ นาดขนาดและมสี เี ขยี วเขม้ 7 กลีบดอกเหยี่ วมากขึ้น กา้ นเกสรเพศเมียและ ก้านชูอับเรณูหลุด รังไข่ขนาดใหญ่ข้ึนและมีสีเขียว เขม้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชวี ติ ของพืช 267 ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. หลังการถา่ ยเรณดู อกมีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ นักเรยี นตอบได้ตามผลการท�ำกิจกรรมของตนเอง เชน่ กลีบเลยี้ ง กลบี ดอก เกสรเพศผ้เู หี่ยว แหง้ และรว่ งไป รงั ไขเ่ จรญิ เตบิ โตขนึ้ เปน็ ผล และมเี มลด็ ในผล หรอื กา้ นดอกแหง้ ทำ� ใหร้ ว่ งไป หรอื ดอก เหย่ี วแหง้ ร่วงไป จึงไมม่ ีการติดผล 2. ดอกทง้ั 3 ดอกท่ีถ่ายเรณูให้ ติดผลและมเี มล็ดหรือไม ่ แนวค�ำตอบ นักเรียนตอบได้ตามผลการท�ำกิจกรรมของตนเอง เช่น ติดผล หรือไม่ติดผล ติดผลกี่ดอก ไม่ตดิ ผลกด่ี อก 3. นกั เรียนสามารถใชว้ ธิ กี ารนี้ชว่ ยใหพ้ ืชตดิ ผลได้หรือไม่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ สามารถชว่ ยถ่ายเรณูและทำ� ใหพ้ ชื ติดผลได้ 4. ถ้าต้องการเพ่มิ จำ� นวนพชื ตน้ นี้หลังจากตดิ ผลแล้ว สามารถทำ� ได้อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ สามารถเพาะเมลด็ เพ่มิ จ�ำนวนพชื ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
268 หนว่ ยที่ 4 | การด�ำ รงชีวิตของพชื คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบท 1. เพราะเหตใุ ด เกษตรกรบางพน้ื ทีจ่ งึ เลย้ี งผง้ึ ไวใ้ นสวนผลไม้* แนวคำ� ตอบ สาเหตทุ เ่ี กษตรกรบางพน้ื ทเ่ี ลย้ี งผงึ้ ไวใ้ นสวนผลไม้ เพราะตอ้ งการใหผ้ งึ้ เปน็ พาหะในการถา่ ยเรณู เพอื่ ใหไ้ ม้ ผลมโี อกาสติดผลไดม้ ากขึน้ นอกจากนัน้ นำ�้ หวานและเรณูจากดอกของไม้ผลยงั เปน็ อาหารของผึ้ง ดังน้ัน เกษตรกรจงึ สามารถหารายได้จากการเล้ยี งผึง้ อกี ทางหน่งึ ดว้ ย 2. การฉีดสารกำ� จดั ศตั รูพืชในพืน้ ทกี่ ารเกษตรสง่ ผลกระทบต่อการสืบพันธุข์ องพชื ดอกหรือไม่ อย่างไร* แนวคำ� ตอบ สง่ ผลกระทบตอ่ การสบื พนั ธข์ุ องพชื ดอก เนอ่ื งจากสารกำ� จดั ศตั รพู ชื สามารถทำ� ลายแมลงทเี่ ปน็ พาหะของ การถา่ ยเรณดู ว้ ย จงึ ทำ� ใหท้ ำ� ใหพ้ ชื มโี อกาสในการถา่ ยเรณแู ละการปฏสิ นธนิ อ้ ยลง สง่ ผลใหผ้ ลผลติ นอ้ ยลง ไปด้วย 3. พืช 4 ชนดิ มีลกั ษณะของดอกดังตาราง พชื แต่ละชนิดนา่ จะมีสิง่ ใดช่วยในการถ่ายเรณู เพราะเหตุใด** ชนดิ ภาพดอก ลกั ษณะทั่วไปของดอก พะยอม ดอกขนาดเล็กเป็นช่อ สเี หลืองออ่ น มีกลิน่ มนี ้ำ� หวาน ทุเรยี น ดอกขนาดใหญ่ มีเกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก อับเรณูอยู่ในระดับ ใกล้เคียงกับยอดเกสรเพศเมีย ดอกบานเต็มท่ีช่วงกลางคืน มีกลนิ่ มนี ำ้� หวาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชีวติ ของพืช 269 คู่มอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชนดิ ภาพดอก ลกั ษณะท่ัวไปของดอก ขา้ ว ดอกขนาดเลก็ จำ� นวนมากเปน็ ชอ่ ไมม่ กี ลบี เลยี้ งและกลบี ดอก มีแต่ใบประดับสีเขียว 2 แผ่นประกบกัน อับเรณูยื่นยาวออก จากใบประดับประกบกันน้นั ดอกบานประมาณ 7 วนั ชงโค ดอกขนาดใหญ่ เหน็ ชัดเจน กลีบเลี้ยงสเี ขียว กลบี ดอก 5 กลีบ สีชมพูถึงม่วงเข้ม เกสรเพศเมยี ยนื่ ยาวกว่าเกสรเพศผู้ มีกลนิ่ แนวค�ำตอบ สิง่ ท่ชี ว่ ยในการถ่ายเรณู/เหตผุ ล แมลงชนดิ ตา่ ง ๆ เพราะดอกขนาดเลก็ มกี ลิน่ และนำ้� หวานท่ดี งึ ดูดแมลง พชื สัตว์ท่ีออกหากินช่วงเวลากลางคืน เช่น ค้างคาว เพราะบานช่วงกลางคืน มีกล่ินและน�้ำหวาน พะยอม ดึงดดู สตั ว์ ทเุ รียน ลม เพราะดอกขนาดเลก็ ไมม่ กี ลบี ดอก และมอี บั เรณยู นื่ ออกมาจากใบประดบั ดงั นนั้ ลมจงึ ชว่ ยพดั พาเรณไู ปได้ หรอื มีแมลงชว่ ยในการถ่ายเรณูไดเ้ ชน่ กนั ข้าว สัตว์ เช่น นก แมลง ผีเสื้อ เนื่องจากดอกมีขนาดใหญ่ กลีบดอกมีสีสัน และมีกล่ินดึงดูดสัตว์ ให้มาชว่ ยในการถา่ ยเรณไู ด้ ชงโค 4. หลอดเรณมู คี วามสำ� คญั อยา่ งไร** แนวคำ� ตอบ หลอดเรณมู คี วามสำ� คญั ในการปฏสิ นธขิ องพชื ดอก เพราะเปน็ หลอดทท่ี ำ� หนา้ ทสี่ ง่ สเปริ ม์ ไปยงั ถงุ เอม็ บรโิ อ ในรงั ไข่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
270 หน่วยท่ี 4 | การดำ�รงชวี ิตของพืช ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 5. ไซโกตและเอ็มบริโอเกิดไดอ้ ยา่ งไร และเจรญิ อยูใ่ นสว่ นใด ตามลำ� ดบั ** แนวคำ� ตอบ ไซโกตเกดิ จากการปฏสิ นธขิ องสเปริ ม์ กบั เซลลไ์ ข่ สว่ นเอม็ บรโิ อเกดิ จากการพฒั นาของไซโกต ทเี่ จรญิ อยใู่ น ถุงเอ็มบริโอซึง่ อยใู่ นออวลุ 6. ดอก ผล และเมลด็ ของพืชเก่ียวขอ้ งกันหรือไม่ อย่างไร** แนวค�ำตอบ ดอก ผล และเมล็ดของพืชมีความเก่ียวข้องกัน เพราะดอกมีส่วนประกอบที่ท�ำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ ของพชื หลังจากเกดิ การปฏสิ นธขิ นึ้ ในดอก รงั ไข่จะพฒั นาไปเปน็ ผล และออวลุ ในรังไข่จะพัฒนาไปเปน็ เมล็ด จึงสังเกตได้วา่ บางส่วนของดอกของพืชจะกลายเป็นสว่ นของผล 7. ผลของพชื ชนิดหนึ่งมีขนเส้นยาวอ่อนนุ่ม ดงั ภาพ ขนนี้มสี ว่ นช่วยในการด�ำรงพนั ธุ์ของพชื หรอื ไม่ อย่างไร* แนวค�ำตอบ ขนเส้นยาวอ่อนนุ่มของผลพืชมีส่วนช่วยให้ผลปลิวไปกับลมได้ ซ่ึงท�ำให้ ผลมีโอกาสไปตกในบริเวณต่าง ๆ ถ้าบริเวณนั้นมีความเหมาะสมต่อ การงอก เมลด็ ทอ่ี ยใู่ นผลจะงอกได้ จงึ มสี ว่ นชว่ ยในการดำ� รงพนั ธข์ุ องพชื 8. ขา้ วเปน็ พชื ทง่ี อกและเจรญิ ไดด้ ที อ่ี ณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของประเทศไทย ทปี่ ระมาณ 25 - 33 องศาเซลเซยี ส ถา้ เพาะเมลด็ ขา้ ว ในภาชนะ 4 ใบ โดยจดั ให้มสี ภาพแวดลอ้ มทแ่ี ตกตา่ งกนั ดังตาราง เมล็ดข้าวในภาชนะใบท่ีเทา่ ใดทีส่ ามารถงอกได้ เพราะเหตใุ ด** ภาชนะ ชนดิ ของดิน นำ�้ อณุ หภูมิ (oC) ใบท่ี 1 ดินเหนยี ว มนี ้ำ� 4 ใบท่ี 2 ดนิ ทราย ไม่มนี �้ำ 28 ใบท่ี 3 ดนิ รว่ น ไม่มนี �้ำ 4 ใบท่ี 4 ไมม่ ดี ิน มีน�้ำ 28 แนวค�ำตอบ เมลด็ ข้าวในภาชนะใบท่ี 4 สามารถงอกได้ เพราะมีปจั จยั ทเ่ี หมาะสมตอ่ การงอกของเมล็ด คือ มนี �ำ้ และ มีอุณหภูมิท่ีเหมาะสม ส่วนดินเป็นเพียงส่วนท่ีรากใช้ยึดเกาะหลังจากเมล็ดงอกแล้ว ส่วนเมล็ดข้าวใน ภาชนะใบที่ 1 ไมส่ ามารถงอกได้ เพราะอณุ หภมู ิไมเ่ หมาะสม ใบที่ 2 เมล็ดไม่สามารถงอกได้เพราะไมม่ ี ความช้นื หรือน้�ำ ใบท่ี 3 เมลด็ ไมส่ ามารถงอกไดเ้ พราะไมม่ ีน�้ำ และอุณหภูมิไม่เหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 4 | การดำรงชีวติ ของพชื 271 ค่มู อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 9. นกั เรยี นคนหน่ึงปลูกต้นกลว้ ยไว้ 1 ต้น ตอ่ มาไม่นานมีต้นกล้วยตน้ ใหมห่ ลายตน้ เกดิ ขน้ึ ตดิ กบั โคนต้นกลว้ ยตน้ เดมิ ทงั้ ท่ตี ้นเดมิ ยังไมม่ ีดอก ต้นกลว้ ยตน้ ใหมเ่ กิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร* แนวคำ� ตอบ ตน้ กลว้ ยตน้ ใหมเ่ หลา่ นเี้ กดิ จากการแตกหนอ่ มาจากลำ� ตน้ ใตด้ นิ ของกลว้ ยตน้ เดมิ ซง่ึ เปน็ การสบื พนั ธแ์ุ บบ ไม่อาศยั เพศของพชื ดอก 10. กลว้ ยไมช้ นดิ หนง่ึ มลี กั ษณะของดอกทส่ี วยงามแตป่ จั จบุ นั จดั เปน็ กลว้ ยไมท้ ใี่ กลส้ ญู พนั ธ์ุ จงึ ตอ้ งมกี ารขยายพนั ธเ์ุ พอ่ื เพมิ่ จำ� นวน 10.1 ถา้ ตอ้ งการการขยายพนั ธุ์กลว้ ยไม้ชนดิ น้ี โดยใหต้ ้นใหม่ยงั คงมลี ักษณะเหมือนเดิม จะใชว้ ิธีใด เพราะเหตใุ ด* แนวคำ� ตอบ ถ้าต้องการเพ่ิมจ�ำนวนต้นกล้วยไม้ชนิดน้ี โดยให้ต้นใหม่ยังคงมีลักษณะเหมือนเดิม ควรใช้วิธีการ เพาะเลยี้ งเนอื้ เยอ่ื พชื ซง่ึ เปน็ วธิ ที สี่ ามารถเพมิ่ จำ� นวนพชื ไดจ้ ำ� นวนมากจากชน้ิ สว่ นของตน้ เดมิ เพยี ง ไม่กชี่ นิ้ และทำ� ใหไ้ ด้พืชต้นใหม่ท่ีมลี ักษณะเหมอื นต้นเดมิ 10.2 ถา้ ตอ้ งการขยายพนั ธต์ุ น้ กลว้ ยไมช้ นดิ นี้ โดยใหต้ น้ ใหมล่ กั ษณะตา่ งจากตน้ เดมิ จะใชว้ ธิ ใี ดจงึ มโี อกาสทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ได้ เพราะเหตใุ ด** แนวคำ� ตอบ หากต้องการเพ่ิมจ�ำนวนต้นกล้วยไม้ชนิดนี้ โดยให้ต้นใหม่มีลักษณะแตกต่างจากต้นเดิม ควร ใช้วิธีการผสมพันธุ์กับต้นกล้วยไม้ต้นอ่ืน โดยถ่ายเรณูให้ เพราะการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเป็น การรวมเอาลักษณะของต้นพ่อและต้นแม่เข้าด้วยกัน ท�ำให้ต้นใหม่ท่ีได้อาจมีลักษณะแตกต่างไป จากตน้ พอ่ หรือตน้ แม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
272 หน่วยที่ 4 | การด�ำ รงชีวติ ของพชื คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ บทที่ 2 การสังเคราะห์ด้วยแสง สาระสำ� คญั กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์ เป็นกระบวนการท่ีน�ำพลังงานแสงมาเปล่ียน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละนำ้� ใหเ้ ปน็ นำ�้ ตาล พชื จะเปลย่ี นนำ�้ ตาลเปน็ สารประกอบอนิ ทรยี อ์ น่ื ๆ และ เกบ็ สะสมในโครงสรา้ ง ตา่ ง ๆ ของพชื พชื จงึ เป็นแหล่งอาหารและพลังงานทส่ี ำ� คญั ของส่งิ มีชวี ติ ชนิดอืน่ นอกจากน้ีการสงั เคราะห์ด้วยแสงยังเป็น กระบวนการผลติ แกส๊ ออกซิเจนออกสู่บรรยากาศ เพ่ือให้สง่ิ มีชีวิตชนดิ อืน่ นำ� ไปใช้ในกระบวนการหายใจ จุดประสงค์ของบทเรียน เม่ือเรยี นจบบทนแี้ ล้ว นกั เรยี นจะสามารถทำ�ส่งิ ต่อไปนี้ได้ 1. อธบิ ายปัจจยั ท่ีจำ� เปน็ ในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื และผลผลติ ท่ีไดจ้ ากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง 2. อธิบายความสำ� คัญของการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชต่อสง่ิ มีชวี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม 3. ตระหนักในคณุ ค่าของพชื ที่มตี ่อสิ่งมีชีวิตและสงิ่ แวดล้อม โดยการรว่ มกนั ปลกู และดูแลรกั ษาต้นไม้ในโรงเรยี น และชมุ ชน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชวี ติ ของพชื 273 คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ภาพรวมการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จุดประสงค์ แนวความคิดตอ่ เนือ่ ง กจิ กรรม รายการประเมิน การเรยี นรู้ของบทเรียน 1. อธบิ ายปจั จยั ทสี่ ำ� คญั ใน 1. การงอกของเมล็ดใระยะแรกจะใช้ กิจกรรมท่ี 4.4 นักเรียนสามารถ การสังเคราะห์ด้วยแสง พลังงานจากอาหารที่สะสมอยู่ใน ปจั จยั ในการสรา้ ง 1. อ ธิ บ า ย ว ่ า แ ส ง ของพชื และผลผลติ ทไ่ี ด้ เมล็ด เม่ือใบแท้เจริญเต็มที่พืช อาหารของพืชมี จากการสังเคราะห์ด้วย จะสร้างอาหาร ได้เองโดยการ อะไรบา้ ง คลอโรฟิลล์ แก๊ส แสง สังเคราะหด์ ้วยแสง กจิ กรรมท่ี 4.5 คาร์บอนไดออกไซด์ 2. อธิบายความส�ำคัญของ การสังเคราะห์ เปน็ ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ใน การสังเคราะห์ด้วยแสง 2. การสังเคราะห์ด้วยแสงจ�ำเป็นต้อง ดว้ ยแสงไดผ้ ลผลติ การสังเคราะห์ด้วย ของพืชต่อส่ิงมีชีวิตและ ใช้แสง น�้ำ คลอโรฟิลล์ และแก๊ส ใดอกี บ้าง แสงของพชื สิ่งแวดลอ้ ม คารบ์ อนไดออกไซด ์ กิจกรรมท้าย 2. อธบิ ายวา่ นำ�้ ตาลและ 3. ตระหนักในคุณค่าของ อาหารของเรา แก๊สออกซิเจน เป็น พืชท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิตและ 3. ผลผลติ จากการสงั เคราะหด์ ้วยแสง เกี่ยวข้องกับการ ผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจาก สิ่งแวดล้อมโดยการ คอื น�ำ้ ตาล และแก๊สออกซเิ จน สังเคราะห์ด้วย การสังเคราะห์ด้วย ร่วมกันปลูกและดูแล แสงอยา่ งไร แสง รักษาต้นไม้ในโรงเรียน 4. พชื จะใชน้ ำ�้ ตาลเปน็ แหลง่ พลงั งานใน 3. อธิบายความส�ำคัญ และชุมชน การเจริญเติบโตและด�ำรงชีวิตและ ของการสังเคราะห์ จะนำ� บางสว่ นไปสงั เคราะหเ์ ป็นสารท่ี ด ้ ว ย แ ส ง ข อ ง พื ช จำ� เปน็ ต่าง ๆ ต ่ อ สิ่ ง มี ชี วิ ต แ ล ะ ส่งิ แวดลอ้ ม 5. พืชเปล่ียนแปลงน้�ำตาลเป็นสาร 4. มสี ว่ นรว่ มในการปลกู ประกอบอนิ ทรยี แ์ ละเกบ็ สะสมไวใ้ น และดูแลรักษาต้นไม้ รปู ของสารตา่ ง ๆ ในโครงสร้างของ ในโรงเรยี นและชมุ ชน พืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและ แหลง่ พลงั งานทส่ี ำ� คญั ของสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ อื่น 6. แกส๊ ออกซเิ จนทเ่ี กดิ จากการสงั เคราะห์ ด้วยแสง เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นต่อการ หายใจของพืชและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ บนโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
274 หน่วยที่ 4 | การด�ำ รงชีวติ ของพชื คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ท่ีควรไดจ้ ากบทเรียน ทกั ษะ เร่ืองท่ี 1 กิจกรรมทา้ ยบท ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ์ การสังเกต • การวัด การจำ� แนกประเภท การหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซ และสเปซกับเวลา การใช้จ�ำนวน การจดั กระทำ� และสอ่ื ความหมายข้อมูล • • การลงความเหน็ จากข้อมลู • • การพยากรณ ์ การต้งั สมมติฐาน • การกำ� หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ัติการ • การกำ� หนดและควบคุมตัวแปร • การทดลอง • การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ • การสร้างแบบจ�ำลอง ทกั ษะแห่งในศตวรรษท่ี 21 การคดิ อย่างสรา้ งสรรค ์ การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ การแก้ปญั หา การสอื่ สาร • • การรว่ มมือร่วมใจ • • การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ • • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชีวิตของพืช 275 ค่มู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ การน�ำเขา้ สูห่ นว่ ยการเรยี นร ู้ ครูด�ำเนินการดังน้ี 1. เชื่อมโยงเนื้อหาจากบทที่ 1 การสืบพันธุ์และ ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู การขยายพันธุ์พืชดอก เข้าสู่บทเรียนน้ี โดย ภาพนำ� บท คอื ภาพตน้ ถว่ั เขยี วทก่ี ำ� ลงั งอกในระยะตา่ ง ๆ อาจใช้ค�ำถามว่าหลังจากงอกออกจากเมล็ดแล้ว เริ่มตั้งแต่ใบเล้ียงและยอดอ่อนเพ่ิงโผล่พ้นดิน ระยะท่ี พชื ใชอ้ าหารจากแหล่งใดในการเจรญิ เตบิ โต ใบแทค้ ลอี่ อกจากใบเลยี้ ง และระยะทใ่ี บแทม้ ขี นาดใหญ่ ขึ้นและกางออกส่วนใบเลี้ยงลีบเล็กลงเพราะอาหารใน 2. ให้นกั เรยี นสังเกตภาพนำ� บทที่ 2 ในหนังสอื เรยี น ใบเลีย้ งถกู นำ� ไปใชห้ มดแล้ว หรือภาพ วีดิทัศน์ หรือสื่ออ่ืน ๆ ที่เก่ียวกับ การงอกของเมล็ดพืชต้ังแต่เริ่มงอก จนใบแท้ เจริญเต็มที่ จากน้ันตรวจสอบความเข้าใจ ของนักเรียนเก่ียวกับอาหารของพืชโดยให้อ่าน เนอ้ื หานำ� บท และรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั อาหาร ของพชื โดยอาจใชค้ ำ� ถามดงั นี้ • ส่วนใดของเมล็ดที่เป็นอาหารส�ำหรับใช้ ในการงอกของเมล็ด (เอนโดสเปิร์มหรือ ใบเล้ียง) • ถ้าอาหารในเอนโดสเปิร์มหรือใบเลี้ยง หมดไป พืชจะน�ำอาหารจากท่ีใดมาใช้ใน การเจรญิ เตบิ โต (นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ เช่น สร้างอาหารขน้ึ มาใหมไ่ ด้เอง) 3. ให้นักเรียนอ่านจุดประสงค์ของบทเรียนและ อภิปรายร่วมกัน เพื่อให้ทราบขอบเขตเนื้อหา เป้าหมายการเรียนรู้ และแนวทางการประเมิน ทน่ี กั เรยี นจะไดเ้ รยี นรใู้ นบทเรยี นนี้ (นกั เรยี นจะได้ ทดลองเพื่อระบุปัจจัยและผลผลิตของการ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช รวมทั้งอธิบาย ความส�ำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงที่มีต่อ สงิ่ มีชีวิตและสิ่งแวดล้อม) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
276 หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชวี ิตของพืช คู่มือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เร่ืองท่ี 1 ปจั จยั และผลผลิตของการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง แนวการจัดการเรียนรู้ ครูด�ำเนนิ การดงั น้ี 1. ให้นักเรียนสังเกตภาพน�ำเร่ือง อ่านเนื้อหา น�ำเรอื่ ง และรูจ้ ักคำ� ส�ำคัญ ท�ำกจิ กรรมทบทวน ความรกู้ อ่ นเรยี น แลว้ นำ� เสนอผลการทำ� กจิ กรรม ถา้ ครพู บวา่ นกั เรยี นยงั ทำ� กจิ กรรมทบทวนความรู้ ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไข ความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรยี น เพอื่ ใหน้ กั เรยี นมคี วาม รพู้ นื้ ฐานทถี่ กู ตอ้ ง และเพยี งพอทจี่ ะเรยี นเรอื่ งการ สังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืชต่อไป ความรเู้ พิ่มเติมสำ�หรับครู ภาพนำ� เรอ่ื ง คอื ภาพเซลลภ์ ายในใบสาหรา่ ยหางกระรอก แสดงขอบเขตเซลล์และโครงสร้างภายในเซลล์ที่เห็น คลอโรพลาสต์ได้ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชวี ิตของพชื 277 คู่มือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรกู้ อ่ นเรยี น เขยี นเคร่ืองหมาย หน้าข้อความทถี่ ูก พชื ตอ้ งการน�้ำ อากาศ และแสงในการดำ� รงชีวิตและการเจรญิ เติบโต รากมีหน้าท่ีดดู อาหารจากดนิ แล้วส่งไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพืช ใบมหี นา้ ทส่ี ร้างอาหาร คลอโรฟิลล์เป็นออร์แกเนลลท์ ีม่ ีหน้าที่สร้างอาหารของพชื แปง้ เป็นอาหารสะสมท่ีพชื สรา้ งข้นึ การทดสอบแปง้ สามารถท�ำได้โดยใช้สารละลายไอโอดีน 2. ตรวจสอบความรเู้ ดมิ เกย่ี วกบั การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื โดยใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรม รอู้ ะไรบา้ งกอ่ นเรยี น นกั เรยี น สามารถเขยี นตามความเขา้ ใจของนกั เรยี น ครยู งั ไมเ่ ฉลยคำ� ตอบ แตน่ ำ� ขอ้ มลู จากการตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น ไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่า ควรเน้นย้�ำ หรืออธิบายเรื่องใดเป็นพิเศษ เม่ือนักเรียนเรียนจบเร่ืองนี้แล้ว นกั เรยี นจะมีความรคู้ วามเขา้ ใจครบถ้วนตามจุดประสงคข์ องบทเรียน ตวั อยา่ งแนวคดิ คลาดเคล่อื นซงึ่ อาจพบในเร่อื งน้ี • พชื หายใจโดยน�ำแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์เขา้ สทู่ กุ สว่ นของพืชแล้วปลอ่ ยแกส๊ ออกซิเจนออกมา • ในเวลากลางวัน พืชน�ำแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงและปล่อย แก๊สออกซิเจนออกมา ส่วนในเวลากลางคืนพืชจะน�ำแก๊สออกซิเจนจากอากาศไปใช้และปล่อยแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา • ในขณะท่พี ชื สงั เคราะห์ด้วยแสง พืชจะไมห่ ายใจ • มนุษย์ใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการหายใจและจะปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่อากาศ ซึ่ง ตรงกันขา้ มกบั การหายใจของพชื พืชจะปล่อยแกส๊ ออกซเิ จนออกสูอ่ ากาศ • พชื ไม่มีการใชแ้ ก๊สออกซเิ จน และไม่มีการหายใจ • พชื นำ�้ ไมส่ ามารถสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ • พชื มีการสงั เคราะหด์ ้วยแสงไดเ้ ฉพาะทใ่ี บ • อาหารของพืชคือธาตุต่าง ๆ ทอ่ี ย่ใู นดนิ • พืชได้รับน�ำ้ และอาหารจากดนิ ผา่ นทางราก • ผลผลติ ของการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง คอื แปง้ และนำ�้ ตาลซโู ครส ซงึ่ สามารถทดสอบไดด้ ว้ ยสารละลายไอโอดนี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
278 หน่วยที่ 4 | การดำ�รงชีวิตของพชื คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 3. ครทู บทวนความรเู้ ก่ยี วกบั ปัจจยั ในการเจริญเติบโตของพชื และความส�ำคัญของโครงสรา้ งในเซลลพ์ ชื โดยใชค้ �ำถาม ต่อไปน้ี • ปัจจัยในการเจริญเตบิ โตและการดำ� รงชีวิตของพืชมอี ะไรบา้ ง • โครงสร้างใดในเซลล์ของพืชมหี นา้ ท่ใี นการสรา้ งอาหารของพชื เพราะเหตุใด 4. ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าพืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการ น้�ำ แสง และอากาศในการเจริญเติบโตและการ ด�ำรงชีวิต พืชมีคลอโรพลาสต์ซึ่งเป็นโครงสร้างในเซลล์ท่ีมีหน้าท่ีสร้างอาหาร ส่วนพืชจะสร้างอาหารได้อย่างไร และใชป้ ัจจยั ใดบา้ งในการสรา้ งอาหารน้นั จะไดท้ ราบจากการท�ำกิจกรรมที่ 4.4 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชวี ิตของพชื 279 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 4.4 ปัจจัยในการสรา้ งอาหารของพชื มอี ะไรบา้ ง (ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 ตอนท่ี 3) แนวทางการจัดการเรยี นรกู้ ิจกรรม กอ่ นการท�ำกิจกรรม ตอนที่ 1 ครคู วรอภิปรายในหัวข้อตอ่ ไปนี้ 1. ให้นักเรียนอา่ นวิธีการดำ� เนนิ กจิ กรรมตอนท่ี 1 ในหนังสอื เรียน และรว่ มกนั อภิปรายในประเด็นดังตอ่ ไปนี้ • กจิ กรรมนี้เกยี่ วกบั เรื่องอะไร (ปจั จัยในการสรา้ งอาหารของพืช) • กิจกรรมนี้มีจดุ ประสงคอ์ ะไร (นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง) • วธิ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมโดยสรปุ เปน็ อยา่ งไร (นำ� ตน้ ผกั บงุ้ ไปวางในทม่ี ดื เปน็ เวลา 2 วนั หมุ้ ใบผกั บงุ้ 1 ใบ ดว้ ยกระดาษ ทบึ แสงสดี ำ� นำ� ไปวางกลางแดด จากนนั้ เดด็ ใบผกั บงุ้ ใบทห่ี มุ้ ดว้ ยกระดาษทบึ แสงกบั ใบทไี่ มไ่ ดห้ มุ้ มาสกดั คลอโรฟลิ ล์ ออก แลว้ ทดสอบแป้งด้วยสารละลายไอโอดีน) • สงั เกตไดอ้ ยา่ งไรวา่ ใบผกั บงุ้ มกี ารสรา้ งอาหาร (สงั เกตสขี องสารละลายไอโอดนี บนใบผกั บงุ้ ทเ่ี ปลยี่ นจากสนี ำ้� ตาลเปน็ สนี ำ้� เงินเข้มถึงดำ� ) ครูควรอธิบายเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังตอบได้ไม่ครบถ้วน เช่น นักเรียนยังตอบไม่ได้เร่ืองการทดสอบแป้งด้วย สารละลายไอโอดีน 2. นำ� อภิปรายโดยการใชค้ ำ� ถามเพอ่ื พัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี น ดังนี้ • สมมติฐานของการทดลองนี้ คืออะไร (ถ้าแสงเป็นปัจจัยที่จ�ำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ดังนั้นเม่ือน�ำ ใบผกั บงุ้ ทไี่ ดร้ บั แสงไปทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดนี สขี องสารละลายไอโอดนี จะเปลยี่ นจากสนี ำ�้ ตาลเปน็ สนี ำ้� เงนิ ) • ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม ตัวแปรที่ตอ้ งควบคมุ ของการทดลองนีค้ ืออะไร (ตวั แปรต้น คือ การได้รับแสงของใบผกั บุง้ ตัวแปรตาม คือ การเปล่ยี นแปลงสีของสารละลายไอโอดนี เมอ่ื ทดสอบกับใบผกั บุ้ง ตวั แปรทตี่ อ้ งควบคุม คือ ขนาด และอายุ ของใบผักบงุ้ บรเิ วณทีว่ างกระถางผักบุ้ง) • นิยามเชิงปฏิบัติการของการทดลองนี้คืออะไร (การสังเคราะห์ด้วยแสงของใบผักบุ้งตรวจสอบได้จากแป้งที่เกิดขึ้น ท่ใี บ) ครูควรอธิบายเพมิ่ เตมิ ในประเดน็ ที่นักเรียนยงั ตอบได้ไม่ครบถ้วน 3. ควรแนะน�ำให้นักเรียนวางแผนการปลูกผักบุ้งล่วงหน้าเพื่อให้ต้นผักบุ้งมีความสูงและขนาดใบพอเหมาะส�ำหรับ ท�ำกจิ กรรม ครูใหค้ �ำแนะนำ� การปลกู ผกั บุง้ ตามความเหมาะสม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
280 หน่วยที่ 4 | การด�ำ รงชวี ติ ของพชื คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ระหวา่ งการทำ� กิจกรรม 4. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตามขั้นตอน โดยครูสังเกตการหุ้มใบผักบุ้งด้วยกระดาษทึบแสงสีด�ำ บริเวณที่นักเรียนน�ำผักบุ้ง ไปวาง การจดั และใชอ้ ปุ กรณส์ ำ� หรบั การสกดั คลอโรฟลิ ลอ์ อกจากใบผกั บงุ้ การทดสอบแปง้ ดว้ ยสารละลายไอโอดนี การ สังเกตและการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่ือให้ค�ำแนะน�ำถ้าเกิดข้อผิดพลาดในขณะท�ำกิจกรรม เช่น ตม้ ใบผักบุ้งในแอลกอฮอล์ตามเวลาทก่ี ำ� หนดแล้วใบยังไม่ซดี ขาว ใหต้ ้มตอ่ ไปอีกระยะจนซดี ขาวท้งั ใบ รวมท้ังน�ำข้อมลู ทคี่ วรจะปรับปรุงและแกไ้ ขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลังการทำ� กจิ กรรม หลงั การทำ� กจิ กรรม 5. ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอขอ้ มลู การเปลยี่ นแปลงของสขี องสารละลายไอโอดนี หลงั จากทดสอบกบั ใบผกั บงุ้ ในรปู แบบทนี่ า่ สนใจ เช่น วาดภาพและระบายสีโดยใช้โปรแกรมสำ� เร็จรูปตา่ ง ๆ 6. ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการท�ำกิจกรรม สาเหตุท่ีท�ำให้ผลการท�ำกิจกรรมคลาดเคล่ือน เช่น สกัด คลอโรฟิลล์ออกไม่หมด ไม่ได้น�ำกระถางผักบุ้งไปไวใ้ นท่มี ืด หรือในวันที่ทำ� การทดลองไมม่ ีแสง หรือได้รบั แสงน้อยไป 7. ให้นักเรียนตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายค�ำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าแสงเป็นสิ่งท่ีจ�ำเป็นต่อการ สร้างอาหารของพืช 8. ร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับเรื่องแสงเป็นปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และครูอาจใช้ค�ำถามต่อไปว่า นอกจากแสงแลว้ มสี ่งิ ใดอีกท่ีจ�ำเป็นตอ่ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื เพื่อเชอ่ื มโยงกับกิจกรรมตอนที่ 2 กอ่ นการท�ำกจิ กรรม ตอนที่ 2 ครคู วรอภิปรายในหวั ขอ้ ต่อไปนี้ 9. ให้นักเรียนอ่านวิธกี ารดำ� เนินกจิ กรรมตอนท่ี 2 ในหนงั สอื เรียน และรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ดงั ต่อไปน้ี • กิจกรรมนเี้ กีย่ วกับเรอื่ งอะไร (ปัจจัยสำ� หรบั การสรา้ งอาหารของพชื ) • กิจกรรมนี้มจี ดุ ประสงค์อะไร (นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง) • วธิ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมโดยสรปุ เปน็ อยา่ งไร (สงั เกตใบชบาดา่ ง สกดั คลอโรฟลิ ลอ์ อกจากใบชบาดา่ ง และทดสอบแปง้ ดว้ ยสารละลายไอโอดนี ) • ใบชบาดา่ งส่วนที่มีสเี ขยี ว แสดงว่าส่วนน้ีมีสิ่งใดอยู่ในเซลล์ (มคี ลอโรพลาสต์ทมี่ คี ลอโรฟิลล์) • สังเกตได้อย่างไรว่าใบชบาด่างมีการสร้างอาหาร (สังเกตสีของสารละลายไอโอดีนบนใบชบาด่างจะเปลี่ยนจาก สนี ้�ำตาลเป็นสนี ำ้� เงินเข้มถึงดำ� ) ครูควรอธิบายเพ่มิ เติมในประเดน็ ที่นกั เรียนยังตอบไดไ้ มค่ รบถ้วน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชีวิตของพชื 281 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ระหวา่ งการทำ� กิจกรรม 10. ใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรมตามขน้ั ตอน โดยครสู งั เกตการบนั ทกึ ลกั ษณะของใบชบาดา่ งกอ่ นนำ� ไปตม้ การจดั และใชอ้ ปุ กรณ์ สำ� หรบั การสกดั คลอโรฟลิ ลอ์ อกจากใบ การทดสอบแปง้ ดว้ ยสารละลายไอโอดนี การสงั เกตและการบนั ทกึ ผลการสงั เกต ของนกั เรียนทุกกลุ่ม เพ่อื ใหข้ ้อแนะน�ำถ้าเกดิ ขอ้ ผิดพลาดในขณะทำ� รวมท้งั น�ำข้อมูลท่ีควรจะปรับปรงุ และแก้ไขมาใช้ ประกอบการอภปิ รายหลังการทำ� กจิ กรรม หลังการทำ� กิจกรรม 11. ให้นักเรียนน�ำเสนอข้อมูลการเปล่ียนแปลงของสีของสารละลายไอโอดีนหลังจากทดสอบกับใบชบาด่างในรูปแบบที่น่า สนใจ เช่น วาดภาพและระบายสโี ดยใช้โปรแกรมสำ� เรจ็ รปู ตา่ ง ๆ 12. รว่ มกนั อภปิ รายเปรยี บเทยี บขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการทำ� กจิ กรรม และสาเหตทุ ท่ี ำ� ใหผ้ ลการทำ� กจิ กรรมคลาดเคลอื่ น เชน่ สกดั คลอโรฟลิ ล์ออกไมห่ มด หรอื เกบ็ ใบชบาดา่ งมากอ่ นทใ่ี บชบาจะได้รับแสงในวันท่เี ก็บ 13. ใหน้ กั เรยี นตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายคำ� ตอบเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นสรปุ ไดว้ า่ สว่ นทมี่ สี เี ขยี วของพชื เปน็ สว่ น ท่มี กี ารสรา้ งอาหาร และสีเขยี วทีพ่ บในพืช เรยี กวา่ คลอโรฟิลล์ ซึง่ เป็นสารสเี ขียวท่ีอยใู่ นคลอโรพลาสต์ 14. ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองแสงและคลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยส�ำคัญในการสังเคาะห์ด้วยแสงของพืช ครูอาจใช้ ค�ำถามต่อไปว่า นอกจากแสงและคลอโรฟิลล์แล้วยังมีส่ิงใดอีกที่จ�ำเป็นต้องใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เพื่อ เช่ือมโยงไปสกู่ ิจกรรมตอนที่ 3 ก่อนการทำ� กิจกรรม ตอนท่ี 3 ครูควรอภปิ รายในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 15. นกั เรียนอ่านวธิ ีการดำ� เนนิ กจิ กรรมตอนที่ 3 ในหนังสือเรียน และรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นดังตอ่ ไปน้ี • กิจกรรมน้เี กยี่ วกบั เรือ่ งอะไร (ปัจจยั ในการสรา้ งอาหารของพืช) • กจิ กรรมนม้ี จี ดุ ประสงค์อะไร (นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง) • วิธีการด�ำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (อ่านวิธีการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลองจากวิธีการทดลองหา ปจั จยั ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงทก่ี ำ� หนดให้ และลงขอ้ สรปุ วา่ ในการทดลองนมี้ สี ง่ิ ใดเปน็ ปจั จยั ในการสงั เคราะหด์ ว้ ย แสงของพชื ) ครคู วรอธิบายเพ่ิมเตมิ ในประเดน็ ท่ีนักเรียนยังตอบไดไ้ มค่ รบถว้ น ระหว่างการทำ� กิจกรรม 16. ให้นกั เรยี นทำ� กจิ กรรมตามข้นั ตอน โดยสังเกตการร่วมกันวิเคราะหว์ ธิ ีการทดลอง การตง้ั สมมตฐิ านการทดลอง นยิ าม เชิงปฏิบัติการ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม และการวิเคราะห์ผลการทดลองเพ่ือลงข้อสรุปร่วมกัน ครูน�ำ ขอ้ มลู ทีค่ วรจะปรับปรงุ และแกไ้ ขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลงั ทำ� กจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
282 หนว่ ยที่ 4 | การด�ำ รงชวี ิตของพชื คมู่ อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ หลงั การทำ� กิจกรรม 17. ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอขอ้ มลู การวเิ คราะหว์ ิธแี ละผลการทดลองตามวิธีการที่ก�ำหนดให้ ในรูปแบบท่ีน่าสนใจ และร่วมกัน อภปิ รายเปรียบเทียบข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการท�ำกจิ กรรม 18. ใหน้ ักเรียนตอบคำ� ถามท้ายกิจกรรม และร่วมกนั อภปิ รายค�ำตอบเพื่อให้นกั เรยี นสรุปไดว้ า่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์เป็น ปัจจยั ท่ีจ�ำเปน็ ต่อการสร้างอาหารของพชื 19. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพื่อให้ได้ ขอ้ สรปุ วา่ ปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ไดแ้ ก่ แสง สารสเี ขยี วหรอื คลอโรฟลิ ล์ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และน้ำ� ส่งิ ท่ีสามารถระบไุ ด้วา่ มกี ารสังเคราะหด์ ว้ ยแสงเกดิ ขึ้น คอื เมือ่ ทดสอบใบของพชื ดว้ ยสารละลายไอโอดีน พบ ว่าสีของสารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนเป็นสีน้�ำเงินเข้ม แสดงว่ามีแป้งเกิดข้ึนในใบพืชโดยแป้งเป็นสารที่เปลี่ยนมาจาก น�้ำตาลซึ่งเป็นผลผลิตชนิดแรกของการสังเคราะห์ด้วยแสง และครูควรเน้นย้�ำกับนักเรียนในการอภิปรายหลังจากอ่าน เน้ือเรอ่ื งว่าผลผลติ ชนดิ แรกทีไ่ ด้จากการสงั เคราะหด์ ้วยแสง คือ นำ�้ ตาล 20. ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำถามระหวา่ งเรยี น เพอ่ื ประเมนิ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ปจั จยั ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ในหนงั สอื เรียน และร่วมกันอภปิ รายคำ� ตอบดงั ตัวอย่าง เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน • พืชสามารถใชแ้ สงจากแหลง่ อน่ื ทไี่ ม่ใชด่ วงอาทิตยใ์ นการสังเคราะห์ด้วยแสงไดห้ รือไม่ แนวคำ� ตอบ พืชสามารถใช้แสงจากแหล่งอ่ืนท่ีไม่ใช่ดวงอาทิตย์ในการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ เช่น แสงจาก หลอดไฟ • ถ้าขาดปจั จัยในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงปจั จัยใดปจั จัยหน่งึ พืชจะสามารถสงั เคราะห์ด้วยแสงได้หรือไม่ แนวคำ� ตอบ ถา้ ขาดปจั จยั ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงปจั จยั ใดปจั จยั หนงึ่ พชื จะไมส่ ามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ 21. ถา้ ครพู บวา่ นกั เรยี นมแี นวความคดิ คลาดเคลอ่ื นเกยี่ วกบั เรอื่ งปจั จยั ทสี่ ำ� คญั ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ใหน้ กั เรยี น ร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื แกไ้ ขแนวคดิ คลาดเคลอ่ื นให้ถกู ต้อง เชน่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชวี ติ ของพืช 283 คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ คลาดเคลื่อน แนวคดิ ที่ถูกต้อง พชื หายใจโดยนำ� แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ขา้ สทู่ กุ สว่ นของ พืชสังเคราะห์ด้วยแสงในช่วงเวลาท่ีมีแสง โดยใช้แก๊ส พชื แลว้ ปล่อยแกส๊ ออกซเิ จนออกมา คาร์บอนไดออกไซด์ และปล่อยแก๊สออกซิเจนออกสู่ อากาศ ในขณะทม่ี กี ารสังเคราะหด์ ้วยแสงพชื มกี ารหายใจ ไปพรอ้ มกนั ดว้ ย พชื หายใจตลอดเวลาโดยใชแ้ กส๊ ออกซเิ จน และปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่อากาศเช่นเดียว กับการหายใจของมนุษยแ์ ละสตั ว์ ในเวลากลางวนั พชื นำ� แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากอากาศ สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ทมี่ สี เี ขยี วสามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ ไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสงและปล่อยแก๊สออกซิเจน อาหารของพชื คือน้�ำตาลท่ไี ดจ้ ากการสังเคราะหด์ ้วยแสง ออกมา ส่วนในเวลากลางคืนพืชจะน�ำแก๊สออกซิเจน พชื ได้รับนำ�้ ผ่านทางราก และได้รับอาหารจากส่วนท่ีมีการ จากอากาศไปใช้และปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สงั เคราะหด์ ้วยแสง ออกมา ผลผลิตจากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง คือ น้�ำตาล ส่วนแป้ง มนุษย์ใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการหายใจและ เป็นสิง่ ที่เปล่ยี นแปลงไปจากนำ�้ ตาล จะปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่อากาศ ซึ่งตรง กันข้ามกับการหายใจของพืช พืชจะปล่อยแก๊สออกซิเจน ออกสู่อากาศ ในขณะท่ีพืชสังเคราะหด์ ว้ ยแสง พืชจะไม่หายใจ พืชไม่มีการใช้แก๊สออกซิเจน และไมม่ ีการหายใจ พืชมีการสังเคราะห์ด้วยแสงไดเ้ ฉพาะท่ใี บ อาหารของพืชคือธาตุตา่ ง ๆ ทอ่ี ยู่ในดนิ พชื ได้รับน�้ำและอาหารจากดินผ่านทางราก ผลผลิตของการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ แป้งและน�้ำตาล ซโู ครส ซ่ึงสามารถทดสอบได้ดว้ ยสารละลายไอโอดีน 22. ร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชว่าประกอบด้วยแสง คลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้�ำ และการสังเคราะห์ด้วยแสงได้ผลผลิต คือ น�้ำตาล และครูอาจใช้ค�ำถาม ตอ่ ไปวา่ นอกจากนำ้� ตาลแลว้ ผลผลติ ของการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงยงั มอี ะไรอกี บา้ ง เพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา้ สกู่ จิ กรรมท่ี 4.5 การสังเคราะหด์ ้วยแสงไดผ้ ลผลติ ใดอีกบา้ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
284 หนว่ ยที่ 4 | การด�ำ รงชีวิตของพชื คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 4.5 การสังเคราะห์ด้วยแสงไดผ้ ลผลติ ใดอีกบา้ ง แนวทางการจัดการเรยี นรู้กิจกรรม ก่อนการท�ำกิจกรรม ครคู วรอภปิ รายในหวั ข้อตอ่ ไปนี้ 1. ใหน้ กั เรยี นอา่ นวิธกี ารดำ� เนินกจิ กรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเดน็ ดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนเี้ กยี่ วกับเร่อื งอะไร (ผลผลติ จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช) • กจิ กรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีการด�ำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (น�ำสาหร่ายหางกระรอกบรรจุในกรวยแก้วแล้วน�ำไปคว�่ำใส่ในบีกเกอร์ ทม่ี นี ้�ำ ครอบกา้ นกรวยแกว้ ดว้ ยหลอดทดลองทม่ี นี ำ้� เต็ม ท�ำ 2 ชดุ ชุดหนง่ึ น�ำไปวางกลางแดด และอีกชดุ น�ำไปวาง ในกลอ่ งทบึ สังเกตสิ่งทเ่ี กดิ ขึ้นในหลอดทดลองทัง้ 2 ชดุ เมื่อครบ 90 นาที ยกหลอดทดลองข้ึนโดยใชน้ วิ้ ปิดปาก หลอดไว้และแหยธ่ ปู ท่ีติดไฟแตไ่ มม่ ีเปลวไฟเขา้ ไปในหลอดทดลอง) ครคู วรอธบิ ายเพิม่ เตมิ ในประเด็นท่นี ักเรยี นยังตอบได้ไมค่ รบถว้ น 2. ครูควรแนะน�ำให้นักเรียนวางแผนการท�ำงานร่วมกัน พร้อมท้ังออกแบบตารางบันทึกผลให้เรียบร้อยก่อนท�ำกิจกรรม ตรวจสอบการออกแบบตารางบันทกึ ผลของนกั เรียนแต่ละกลมุ่ การเลือกข้อมูลท่ีตอ้ งบนั ทึก และใหค้ �ำแนะน�ำปรับแก้ ตามความเหมาะสม ระหว่างการทำ� กจิ กรรม 3. ให้นักเรียนทำ� กิจกรรมตามข้นั ตอน ครูสงั เกตการทำ� งานรว่ มกัน การเตรยี มชุดการทดลอง การจบั เวลาและสังเกตสิ่งท่ี เกิดข้ึนในหลอดทดลอง การเก็บและทดสอบแก๊สท่ีเกิดข้ึนในหลอดทดลอง การบันทึกผลตามความเป็นจริง เพ่ือให้ค�ำแนะน�ำถ้าเกิดข้อผิดพลาดขณะท�ำกิจกรรม รวมทั้งน�ำข้อมูลที่ควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการ อภิปรายหลังการท�ำกจิ กรรม หลังการทำ� กิจกรรม 4. ให้นักเรียนน�ำผลการสังเกตที่บันทึกไว้มาน�ำเสนอ ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลท่ีได้ สาเหตุที่ท�ำให้ผลการท�ำ กิจกรรมคลาดเคลื่อน เช่น ไม่สามารถสังเกตเห็นการเปล่ียนแปลงของปลายธูปเมื่อทดสอบแก๊สออกซิเจนหรือเห็นผล การทดสอบไมช่ ดั เจน ครอู าจถามคำ� ถามเพมิ่ เตมิ หรอื อาจเปรยี บเทยี บผลจากกลมุ่ อนื่ หรอื อาจเปดิ วดี ทิ ศั นก์ ารทดลอง ที่คล้ายคลงึ กันให้นกั เรียนชม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชีวิตของพืช 285 คูม่ อื ครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 5. ให้นักเรียนตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายค�ำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าชุดการทดลองท่ี วางกลางแดดมีฟองแก๊สเกิดข้ึนในหลอดทดลอง เมื่อทดสอบสรุปได้ว่าแก๊สท่ีเกิดข้ึนคือแก๊สออกซิเจน ดังนั้น ผลผลิตของการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื คอื นำ้� ตาลและแกส๊ ออกซิเจน 6. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนและร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงมีความส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิตของพืชและสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นรวมทั้งต่อส่ิงแวดล้อม เพราะเป็นกระบวนการเดียวที่น�ำพลังงานแสงมาเปลี่ยนให้เป็นพลังงานเคมีเก็บไว้ในรูปของสารประกอบอินทรีย์ ที่เป็นอาหารให้กับส่ิงมีชีวิตทุกชนิดบนโลก และเป็นกระบวนการท่ีมีการผลิตแก๊สออกซิเจนส�ำหรับให้พืชเองและ สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ใช้ในการหายใจ รวมทั้งยังมีส่วนช่วยรักษาสมดุลของปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และ แก๊สออกซิเจนในอากาศ ท�ำให้สิง่ มชี ีวิตชนดิ ต่างๆ สามารถด�ำรงชวี ิตอยู่ได้ 7. ให้นักเรียนตอบค�ำถามระหว่างเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชใน หนงั สอื เรยี น และรว่ มกันอภิปรายคำ� ตอบดงั ตวั อยา่ ง เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรยี น • นำ�้ ตาลและแกส๊ ออกซเิ จนทเี่ กดิ จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงมคี วามสำ� คญั ต่อมนุษย์อย่างไร แนวคำ� ตอบ นำ�้ ตาลรวมถงึ สารอนิ ทรยี ต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กดิ จากการเปลยี่ นแปลงของนำ�้ ตาล เปน็ อาหารของมนษุ ย์ สว่ น แกส๊ ออกซิเจนเปน็ แกส๊ ท่มี นษุ ยใ์ ช้ในการหายใจ • ถ้าไมม่ ีการสังเคราะห์ด้วยแสงจะสง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ แวดล้อมอยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ถ้าไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงจะส่งผลท�ำให้ส่ิงมีชีวิตขาดอาหาร และแก๊สออกซิเจนท่ีใช้ ในการหายใจ และทำ� ใหป้ รมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละแกส๊ ออกซเิ จนในอากาศไมส่ มดลุ ทำ� ให้ สิ่งแวดล้อมมกี ารเปล่ยี นแปลง ส่งผลให้ส่ิงมีชีวิตดำ� รงชวี ิตอยไู่ ม่ได้ 8. ถา้ พบวา่ นกั เรยี นมแี นวคดิ คลาดเคลอื่ นเกย่ี วกบั เรอ่ื งการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื แกไ้ ข แนวความคดิ คลาดเคลอื่ นใหถ้ ูกตอ้ ง เชน่ แนวคดิ คลาดเคลื่อน แนวคิดท่ีถูกต้อง พชื น้�ำไมส่ ามารถสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ พชื น้ำ� สามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ 9. อาจใหน้ กั เรียนทำ� กิจกรรมเสริมนอกเวลาเรียน โดยใหอ้ อกแบบการทดลองและทดลองเพื่อหาว่าพืชชนิดใดในโรงเรยี น ทผ่ี ลติ แก๊สออกซิเจนออกส่อู ากาศมากทส่ี ุด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
286 หน่วยท่ี 4 | การดำ�รงชวี ิตของพชื ค่มู อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 10. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องในบทเรียนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช จากน้ันให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตรวจสอบ ตนเอง เพื่อสรปุ องค์ความร้ทู ไี่ ดเ้ รียนรู้จากบทเรยี น โดยการเขยี นบรรยาย วาดภาพ หรอื เขยี นผังมโนทศั น์ส่ิงท่ีไดเ้ รียน รจู้ ากบทเรยี นนี้ ใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอผลงาน โดยอาจออกแบบใหน้ กั เรยี นนำ� เสนอและอภปิ รายภายในกลมุ่ หรอื อภปิ ราย รว่ มกนั ในชน้ั เรยี น หรือตดิ แสดงผลงานบนผนงั หอ้ งเรียน และใหน้ กั เรียนรว่ มพิจารณาผลงาน จากน้ันครแู ละนักเรยี น อภปิ รายสรุปองคค์ วามรู้ทไี่ ด้จากบทเรียนรว่ มกัน ตวั อย่างผังมโนทัศน์ การสรุปองค์ความรใู้ นบทเรียนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง แสง คลอโรฟลิ ล์ นำ�้ ตาล เปน็ อาหารของพชื และสิ่งมีชวี ติ อน่ื ๆ การสงั เคราะห์ มีประโยชน์ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ จำ� เป็น ดว้ ยแสงของพืช ได้ผลผลิต แกส๊ ออกซิเจน พชื และสิง่ มีชวี ิตอ่นื ๆ ใชใ้ นการหายใจ ต้องมี เป็น น�้ำ มีประโยชน์ 11. ใหน้ ักเรยี นทำ� กิจกรรมทา้ ยบทและตอบคำ� ถามท้ายกิจกรรม 12. ให้นักเรียนตอบค�ำถามส�ำคัญของบท และร่วมกันอภิปรายค�ำตอบเพื่อประเมินความเข้าใจเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วย แสงของพชื ดงั ตวั อย่าง เฉลยคำ�ถามสำ�คญั ของบท • พืชสร้างอาหารได้อยา่ งไร แนวค�ำตอบ พืชสร้างอาหารได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง เป็นการน�ำพลังงานแสงมาเปล่ียนแก๊ส คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละนำ้� เป็นนำ�้ ตาลและแกส๊ ออกซเิ จน • พชื มีความส�ำคญั ต่อสิ่งมีชีวิตและสิง่ แวดล้อม อยา่ งไร แนวค�ำตอบ พชื เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทส่ี รา้ งอาหารไดเ้ อง และเกบ็ สะสมไวต้ ามสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื อาหารทพี่ ชื สะสมไวน้ ี้ จงึ เปน็ อาหารใหก้ บั สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ อนื่ ๆ รวมทงั้ แกส๊ ออกซเิ จนทเี่ กดิ จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ก็มคี วามจ�ำเปน็ สำ� หรับการหายใจของส่ิงมีชีวติ ทุกชนิด นอกจากนี้การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื ยงั เปน็ กระบวนการทช่ี ว่ ยลดปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศ ทำ� ใหป้ รมิ าณแกส๊ ทเี่ ปน็ สว่ นประกอบของอากาศมีความสมดลุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชีวิตของพืช 287 คูม่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ 13. ให้นักเรียนตรวจสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียนนี้ ในกรอบตรวจสอบตนเองใน หนังสือเรียน โดยร่วมกันอภิปรายว่านักเรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะใดบ้าง และฝึกใน ขัน้ ตอนใด 14. ใหน้ กั เรียนอา่ นสรุปท้ายบท และทำ� แบบฝกึ หดั ท้ายบท 15. แนะนำ� บทเรยี นทจ่ี ะได้เรียนรู้ในครัง้ ตอ่ ไปในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี คือ บทท่ี 3 การล�ำเลยี งน�ำ้ ธาตอุ าหาร และอาหารของ พชื วา่ หลังจากนักเรยี นไดเ้ รยี นร้เู กีย่ วกบั การสังเคราะห์ดว้ ยแสงซึ่งเปน็ การสร้างอาหารของพชื แล้วตอ่ ไปนักเรยี นจะได้ เรียนร้เู ก่ยี วกับการลำ� เลียงอาหารที่พืชสังเคราะหข์ ึ้น รวมทั้งการล�ำเลียงนำ�้ และธาตอุ าหารพชื ไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของพืช สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
288 หน่วยท่ี 4 | การด�ำ รงชีวิตของพชื คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 4.4 ปัจจยั ในการสรา้ งอาหารของพืชมีอะไรบ้าง นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช และผลผลิตของการสังเคราะห์ด้วยแสงผ่าน การทดลอง จากนั้นน�ำผลการท�ำกิจกรรมมาวิเคราะห์เพ่ือระบุปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงและความส�ำคัญของ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง จุดประสงค์ ทดลอง สังเกต และระบปุ จั จยั ในการสร้างอาหารของพชื เวลาทใ่ี ช้ใน 4 ชั่วโมง การท�ำกจิ กรรม วสั ดแุ ละอุปกรณ์ วัสดอุ ุปกรณ์ทใ่ี ช้ต่อห้อง -ไม่มี- วัสดอุ ุปกรณท์ ี่ใชต้ อ่ กลุ่ม ปรมิ าณ/กล่มุ 1 กระถาง รายการ 1 ใบ 1. ตน้ ผักบุง้ 1 ชดุ 2. ใบชบาดา่ ง 1 อนั 3. ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ใบ 4. หลอดหยด 1 หลอด 5. บีกเกอร์ขนาด 250 cm3 1 อัน 6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 1 อัน 7. ท่ีจับหลอดทดลอง 1 อนั 8. ที่วางหลอดทดลอง 1 ใบ 9. ปากคีบ 10. จานเพาะเช้อื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชีวิตของพชื 289 คมู่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ รายการ ปรมิ าณ/กลมุ่ 11. กระดาษทบึ แสงสดี ำ� (ขนาดขนึ้ อยกู่ บั 1 แผ่น ขนาดใบผกั บงุ้ ) 1 ใบ 12. กระป๋องทราย 1 กลัก 13. ไม้ขดี ไฟ 14. สารละลายไอโอดีน - 15. เอทานอล ประมาณ 20 cm3 16. นำ้� เปลา่ การเตรียม • การเตรียมตน้ ผกั บ้งุ ล่วงหน้า - ครเู ตรยี มปลกู ผกั บงุ้ ใหเ้ พยี งพอตอ่ นกั เรยี นทกุ กลมุ่ ผกั บงุ้ ทนี่ ำ� มาใชใ้ นกจิ กรรม ควรมคี วามสูง ประมาณ 20 เซนติเมตร หรืออายุ 20 วัน ข้นึ ไป - ครูอาจบูรณาการกับวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยให้นักเรียนปลูกผักบุ้งหรือ พชื ชนดิ อนื่ ในชวั่ โมงเรยี นวชิ าการงานอาชพี และเทคโนโลยี แลว้ นำ� มาใชใ้ นการทำ� กจิ กรรมนี้ - ถ้าไม่สามารถปลกู ผักบุ้งได้ ครูสามารถใชพ้ ืชท่ีปลูกในกระถางซงึ่ มอี ยแู่ ล้วแทนได้ โดยต้อง เปน็ พชื ทม่ี ใี บไมแ่ ขง็ หรอื ออ่ นจนเกนิ ไป ตอ้ งมสี เี ขยี วทว่ั ทง้ั ใบ สามารถตม้ เพอื่ สกดั คลอโรฟลิ ล์ ไดโ้ ดยใชเ้ วลาไมน่ านและรปู ร่างของใบไมเ่ ปลย่ี นแปลง เช่น ชบา พรู่ ะหง ถว่ั แดง ถวั่ เขยี ว - ถา้ ไมม่ พี ชื ในกระถาง สามารถใชพ้ ชื ทอี่ ยกู่ ลางแจง้ ได้ แตต่ อ้ งคลมุ พชื ไมใ่ หไ้ ดร้ บั แสงกอ่ นทำ� กิจกรรมอย่างนอ้ ย 48 ชัว่ โมง • กิจกรรมตอนที่ 1 ตอ้ งนำ� ตน้ ผักบุ้งไปวางในท่มี ดื สนทิ อย่างนอ้ ย 48 ชว่ั โมง เพอ่ื ไมใ่ หใ้ บไดร้ ับ แสงและไมเ่ กดิ การสงั เคราะหด์ ้วยแสงก่อนนำ� มาท�ำกจิ กรรม • อาจใหน้ กั เรยี นนำ� กระดาษทบึ แสงมาหมุ้ ใบผกั บงุ้ 1 ใบ และนำ� ไปวางใหไ้ ดร้ บั แสง 2 - 3 ชวั่ โมง ก่อนถงึ ชัว่ โมงเรียน • กิจกรรมตอนท่ี 2 ต้องให้ใบชบาด่างได้รับแสงอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อให้มีการสังเคราะห์ ด้วยแสงก่อนนำ� มาทำ� กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
290 หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชีวิตของพชื ค่มู อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ ควรระวัง • การใช้ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์ต้องระวังเร่ืองการเกิดไฟไหม้ และห้ามน�ำแอลกอฮอล์ไปต้ม ขอ้ เสนอแนะ โดยตรง เพราะแอลกอฮอลต์ ดิ ไฟงา่ ย การท�ำกจิ กรรมต้องอยภู่ ายใต้การควบคมุ ของครู ในการท�ำกจิ กรรม • ควรสวมแวน่ ตานริ ภยั ตลอดการทดลอง เนอื่ งจากอาจเกดิ การปะทขุ องไฟระหวา่ งการทดลองได้ สื่อการเรียนรู้/ • ครูสามารถจัดสรรเวลาในการท�ำกิจกรรมท้ัง 3 ตอนได้ตามสภาพของห้องเรียนและเวลาท่ี แหลง่ เรียนรู้ เอือ้ อำ� นวย • ถา้ เกดิ ไฟไหมจ้ ากการใชช้ ดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ หา้ มใชน้ ำ�้ ดบั ไฟทเ่ี กดิ จากแอลกอฮอล์ ใหใ้ ชผ้ า้ ชุบนำ�้ คลมุ ลงบนไฟเพ่ือดบั ไฟ • ครูอาจเตรียมน�้ำร้อนแก่นักเรียนเพื่อน�ำไปใช้ต้มกับตะเกียงแอลกอฮอล์เพ่ือลดเวลาในการท�ำ กจิ กรรม • เตมิ เอทานอลลงในหลอดทดลองจนทว่ มใบพืชเล็กน้อย ไม่เตมิ มากจนเกินไป เพราะอาจท�ำให้ เอทานอลเดอื ดพุ่งลน้ ออกนอกหลอดทดลองได้ • หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตรร์ ะดับมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 สสวท. • วดี ิทศั นก์ ารสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจากแหล่งข้อมลู ท่นี ่าเชอื่ ถอื ตัวอย่างผลการทำ�กิจกรรม ตอนที่ 1 ใบผกั บงุ้ ทห่ี มุ้ ด้วยกระดาษทึบแสง ใบผักบ้งุ ท่ีไมไ่ ด้หมุ้ ดว้ ยกระดาษทบึ แสง ผลการทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดีน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 4 | การดำรงชีวิตของพชื 291 ค่มู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกิจกรรม ตอนที่ 1 1. การเปล่ียนแปลงของสีสารละลายไอโอดีนบนใบผักบุ้งท้งั 2 ใบ เหมอื นหรือแตกต่างกัน อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ นักเรียนตอบตามผลการท�ำกิจกรรม เช่น เม่ือหยดสารละลายไอโอดีนบนใบผักบุ้งที่ไม่ได้หุ้มด้วย กระดาษทึบแสงสีดำ� สขี องสารละลายไอโอดนี เปลย่ี นจากสนี ำ�้ ตาลเปน็ สีนำ�้ เงินเข้มถึงสีดำ� ส่วนใบ ผกั บงุ้ ทีห่ มุ้ ด้วยกระดาษทึบแสงสีดำ� สขี องสารละลายไอโอดนี ไม่มีการเปลี่ยนแปลง 2. การทดลองน้ใี บผักบงุ้ ใบใดท่ีมีแปง้ และใบใดไม่มีแป้ง ทราบไดอ้ ย่างไร และเหตุใดจึงเปน็ เชน่ นนั้ แนวคำ� ตอบ ใบผกั บงุ้ ทไี่ มไ่ ดห้ มุ้ ดว้ ยกระดาษทบึ แสงมแี ปง้ ทราบไดจ้ ากการเปลย่ี นสขี องสารละลายไอโอดนี เมอื่ หยดลงบนใบ สว่ นใบผกั บงุ้ ทหี่ มุ้ ดว้ ยกระดาษทบึ แสงสดี ำ� ไมม่ แี ปง้ เพราะสขี องสารลายไอโอดนี บนใบ ไมเ่ กดิ การเปลย่ี นแปลง เหตทุ เี่ ปน็ เชน่ นเ้ี พราะวา่ แสงเปน็ สง่ิ ทท่ี ำ� ใหใ้ บพชื สงั เคราะหน์ ำ้� ตาลขนึ้ จาก น้นั นำ�้ ตาลจะเปล่ียนไปเป็นแป้ง เมื่อไมไ่ ด้รับแสงจึงไม่มกี ารสร้างน้�ำตาล 3. เพราะเหตใุ ด ตอ้ งน�ำตน้ ผักบุง้ ไปไวใ้ นที่มดื ก่อน 2 วัน แนวคำ� ตอบ การน�ำต้นผักบุ้งไปไว้ในที่มืดก่อน 2 วัน เพราะไม่ต้องการให้พืชมีการสร้างอาหารก่อนท่ีจะน�ำมา ท�ำกจิ กรรม 4. เพราะเหตุใดจงึ ต้องน�ำตน้ ผกั บงุ้ ไปวางกลางแดด แนวคำ� ตอบ การทต่ี อ้ งนำ� ต้นผักบุ้งไปวางกลางแดด เพื่อให้ผักบุ้งไดร้ ับแสงและท�ำให้มกี ารสร้างอาหาร 5. จากกิจกรรมตอนท่ี 1 สรุปได้ว่าอย่างไร แนวคำ� ตอบ กจิ กรรมตอนท่ี 1 สรุปไดว้ า่ แสงเป็นส่ิงทจ่ี ำ� เปน็ ต่อการสรา้ งอาหารของพชื 6. การทดลองนีส้ ิ่งใดเปน็ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคมุ แนวคำ� ตอบ ตวั แปรต้น คอื การได้รับแสงของใบผักบุ้ง ตัวแปรตาม คือ การเกดิ แปง้ ในใบผกั บุ้ง ตวั แปรควบคุม คอื ขนาดและอายุ ของใบผกั บงุ้ บริเวณทีว่ างกระถางผกั บุง้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
292 หน่วยท่ี 4 | การดำ�รงชีวิตของพชื คูม่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม ตอนที่ 2 สเี ขียว สขี าว ใบชบาดา่ งกอ่ นต้มและก่อนทดสอบด้วยสารละลายไอโอดนี สนี ำ้� เงนิ เขม้ เกอื บดำ� สีน�ำ้ ตาล ใบชบาด่างหลงั ต้มและทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดนี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 4 | การดำรงชวี ติ ของพชื 293 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกจิ กรรม ตอนที่ 2 1. เม่อื หยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบชบาดา่ ง เกดิ การเปลย่ี นแปลงหรือไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบชบาด่าง ส่วนของใบชบาด่างที่เคยเป็นสีเขียวจะมีการ เปลี่ยนแปลงสีของสารละลายไอโอดีนจากสีน้�ำตาลเป็นสีน�้ำเงินเข้มถึงสีด�ำ และตรงส่วนท่ีเคย เปน็ สีขาวของใบชบาดา่ งจะเห็นสีของสารละลายไอโอดนี จะไม่มีการเปล่ียนแปลง 2. การเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิดขึน้ เป็นเพราะเหตใุ ด แนวคำ� ตอบ เพราะใบชบาด่างส่วนที่เป็นสีเขียวน้ีมีการสังเคราะห์ด้วยแสง จึงมีการสร้างน้�ำตาลและเปล่ียน เปน็ แปง้ ดงั นนั้ เมอ่ื ทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดนี สขี องสารละลายไอโอดนี จงึ เปลย่ี นเปน็ สนี ำ�้ เงนิ 3. จากกิจกรรมตอนที่ 2 สรุปได้ว่าอยา่ งไร แนวค�ำตอบ กจิ กรรมตอนท่ี 2 สรุปไดว้ า่ สเี ขียวของพืชจำ� เป็นต่อการสร้างอาหารของพืช 4. สมมตฐิ านของการทดลองนี้คอื อะไร แนวค�ำตอบ ถา้ สีเขยี วของพืชเกี่ยวข้องกบั การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ดังน้ันส่วนทีม่ ีสีเขยี วของใบชบาดา่ งก็จะมี การสังเคราะห์ด้วยแสง 5. นิยามเชิงปฏบิ ัตกิ ารของการทดลองคืออะไร แนวค�ำตอบ การสังเคราะห์ด้วยแสงของใบชบาด่างตรวจสอบได้จากแป้งซึ่งเกิดข้ึนที่สามารถทดสอบได้ด้วย สารละลายไอโอดนี ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม ตอนท่ี 3 สมมตฐิ านการทดลอง ถา้ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ ผี ลตอ่ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื กจ็ ะพบวา่ ใบผกั ชบาในถงุ พลาสติกทไี่ ม่มีโซดาไฟจะมกี ารสังเคราะหด์ ้วยแสง สว่ นใบชบาในถงุ ที่มโี ซดาไฟจะไม่เกิดการสังเคราะหด์ ้วยแสง นิยามเชิงปฏิบัติการ การสังเคราะห์ด้วยแสงของใบชบาตรวจสอบได้จากแป้งที่เกิดข้ึน ซ่ึงสามารถทดสอบได้ด้วย สารละลายไอโอดีน ตัวแปรต้น การมแี ละไม่มแี กส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ตัวแปรตาม การเกดิ แปง้ ในใบชบา ตัวแปรควบคุม ขนาดและอายขุ องใบชบา ปัจจยั ในการสังเคราะหด์ ้วยแสงของการทดลอง แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
294 หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชีวติ ของพืช คู่มอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม ตอนท่ี 3 1. การเปลย่ี นแปลงของสสี ารละลายไอโอดีนบนใบชบาทัง้ 2 ใบ เหมือนหรือแตกตา่ งกัน อยา่ งไร แนวค�ำตอบ การเปลย่ี นแปลงของสสี ารละลายไอโอดนี บนใบผกั ชบาทงั้ 2 ใบ แตกตา่ งกนั โดยสขี องสารละลาย ไอโอดนี ทห่ี ยดลงบนใบชบาในถงุ พลาสตกิ ทไี่ มม่ ซี าดาไฟเปลยี่ นจากสนี ำ�้ ตาลเปน็ สนี ำ้� เงนิ เขม้ สว่ น สีสารละลายไอโอดีนท่หี ยดลงบนใบชบาท่อี ยู่ในถุงพลาสตกิ มีโซดาไฟไมเ่ ปล่ียนแปลง 2. การทดลองนใ้ี บชบาใบใดบา้ งทมี่ แี ปง้ ใบชบาใบใดบ้างทไ่ี ม่มแี ปง้ ทราบไดอ้ ยา่ งไร เหตใุ ดจงึ เป็นเชน่ นน้ั แนวค�ำตอบ ใบชบาท่ีอยู่ในถุงพลาสติกไม่มีซาดาไฟมีแป้งเพราะสีสารละลายไอโอดีนเปลี่ยนจากสีน้�ำตาล เป็นสีนำ้� เงินเขม้ สว่ นใบชบาท่ีอยู่ในถงุ พลาสติกไมม่ โี ซดาไฟไม่มีแป้งเพราะสสี ารละลายไอโอดีน ไม่เปลีย่ นแปลง 3. เพราะเหตใุ ดจงึ ต้องใส่โซดาไฟในถุงพลาสตกิ แนวคำ� ตอบ ตอ้ งใสโ่ ซดาไฟในถงุ พลาสตกิ เพราะโซดาไฟเปน็ สารทที่ ำ� ปฏกิ ริ ยิ าเคมกี บั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ไดเ้ ปน็ สารโซเดยี มคารบ์ อเนตและนำ�้ เปน็ การทำ� ใหภ้ ายในถงุ พลาสตกิ ไมม่ แี กส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ 4. กจิ กรรมนีจ้ ัดชุดทดลองเปน็ กีช่ ดุ อะไรบ้าง แนวค�ำตอบ กจิ กรรมนีจ้ ดั ชุดทดลองเป็น 2 ชดุ ไดแ้ ก่ ใบชบาทอี่ ยใู่ นถงุ พลาสตกิ ไม่มซี าดาไฟ และใบชบาท่ี อยูใ่ นถุงพลาสตกิ มโี ซดาไฟ 5. จากกจิ กรรมตอนท่ี 3 สรุปได้วา่ อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ กจิ กรรมตอนที่ 3 สรุปไดว้ า่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ำ� เปน็ ตอ่ การสร้างอาหารของพชื 6. จากกจิ กรรมทง้ั 3 ตอน สรปุ ได้วา่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ ผลจากการท�ำกิจกรรมทั้ง 3 ตอน สรุปได้ว่าปัจจัยท่ีจ�ำเป็นในการสร้างอาหารของพืช คือ แสง สารสีเขยี วหรือคลอโรฟลิ ล์ และแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ และสง่ิ ทส่ี ามารถระบไุ ดว้ า่ มีการ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเกดิ ขนึ้ คอื การเกดิ แปง้ ทใ่ี บ ซง่ึ แปง้ เปลย่ี นแปลงมาจากนำ้� ตาลทเี่ ปน็ ผลผลติ แรกของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชีวิตของพชื 295 คมู่ อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 4.5 การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงไดผ้ ลผลติ ใดอีกบ้าง นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรเู้ กย่ี วกบั ผลผลติ จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ผา่ นการทดลอง จากนน้ั นำ� ผลจากการทำ� กจิ กรรม มาระบผุ ลผลติ จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงและความส�ำคญั ของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง จุดประสงค์ ทดลอง และระบผุ ลผลติ ของการสงั เคราะหด์ ้วยแสง เวลาทใี่ ชใ้ น 2 ชั่วโมง การท�ำกิจกรรม วสั ดแุ ละอุปกรณ์ วัสดอุ ปุ กรณ์ทีใ่ ชต้ อ่ ห้อง -ไมม่ ี- วสั ดุอปุ กรณท์ ใ่ี ชต้ อ่ กลุม่ รายการ ปริมาณ/กลุม่ 1. สาหร่ายหางกระรอก 1 ช่อ 2. บีกเกอร์ขนาด 1000 cm3 1 ใบ 3. กรวยแกว้ 1 อัน 4. หลอดทดลอง ขนาด 10 cm3 1 หลอด 5. ชอ้ นเบอร์ 1 1 อัน 6. กระปอ๋ งทราย กระปอ๋ งทราย 1 ใบ 7. ธูป 1 ก้าน 8. ไมข้ ีดไฟ 1 กลกั 9. ผงฟ ู 1 ชอ้ นเบอร์ 1 10. นำ�้ เปล่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
296 หนว่ ยท่ี 4 | การด�ำ รงชวี ิตของพชื คู่มอื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ การเตรยี ม - ลว่ งหน้าสำ� หรับครู ขอ้ ควรระวงั • กิจกรรมนมี้ กี ารใชไ้ ม้ขดี ไฟ และการจดุ ธูป ควรระวังไมใ่ หป้ ลายธปู ถกู ร่างกาย และควรดับให้ สนทิ ในกระปอ๋ งทรายก่อนทิง้ ข้อเสนอแนะ • ถ้าวนั ท่ที ำ� กจิ กรรมไมม่ ีแสงแดด ครูอาจใชแ้ สงจากโคมไฟแทนได้ ในการท�ำกิจกรรม • ในนำ� หลอดทดลองทบ่ี รรจนุ ำ�้ เตม็ หลอดควำ�่ ครอบกา้ นกรวยแกว้ โดยไมใ่ หม้ อี ากาศเหลอื บรเิ วณ กน้ หลอดทดลอง สามารถทำ� ไดโ้ ดยวางชดุ บกี เกอรท์ ม่ี กี รวยแกว้ ครอบตน้ สาหรา่ ยหางกระรอก ลงในถงั ทบี่ รรจนุ ำ�้ สงู กวา่ บกี เกอรจ์ ากนน้ั นำ� หลอดทดลองทม่ี นี ำ�้ เตม็ คอ่ ย ๆ ครอบปลายกรวยแกว้ โดยท่ีปากหลอดทดลองอย่ใู ต้ระดับนำ้� • ครูควรท�ำการทดลองและเก็บผลไว้ก่อน เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบกับผลการท�ำกิจกรรมของ นกั เรยี น ถา้ ผลการทดลองของนกั เรยี นไดผ้ ลไมค่ รบถว้ น เชน่ ไมเ่ หน็ การเปลย่ี นแปลงทป่ี ลายธปู ซงึ่ แสดงถงึ ขอ้ ผดิ พลาดบางประการในการทดลอง ครอู าจเตรยี มวดี ทิ ศั นแ์ สดงผลการทดลองที่ ถูกต้องสมบูรณใ์ หน้ กั เรยี นชม • อาจใช้สาหร่ายชนดิ อน่ื เช่น สาหร่ายฉัตร สาหร่ายไฟ ซ่งึ ครูควรทดลองก่อนว่าใช้ได้ผล ขอ้ เสนอแนะ • หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตรร์ ะดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 สสวท. ในการท�ำกิจกรรม • วีดิทัศน์การทดสอบแก๊สออกซิเจนท่ีเกิดจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชจากแหล่งที่ นา่ เชือ่ ถือ ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ตาราง ผลการสงั เกตการเปล่ียนแปลงในหลอดทดลอง ชดุ การทดลอง ผลการสังเกต ชดุ การทดลองทีว่ างกลางแดดจดั เกดิ ฟองแก๊สลอยข้ึนมาสะสมท่ีก้นหลอดทดลอง ชุดการทดลองท่ีวางไว้ในกลอ่ งทบึ แสง ไม่มีฟองแก๊สเกดิ ขึ้นในหลอดทดลอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชีวติ ของพืช 297 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ตวั อยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม (ต่อ) ตาราง ผลการสงั เกตจากการแหยธ่ ูปที่ติดไฟแต่ไมม่ ีเปลวไฟลงในหลอดทดลอง ชดุ การทดลอง ผลการสงั เกต ชุดการทดลองที่วางกลางแดดจัด ปลายธูปสว่างวาบขึ้น ชุดการทดลองทวี่ างไว้ในกลอ่ งทึบแสง ปลายธูปไมเ่ ปลีย่ นแปลง ภาพ แสดงฟองแก๊สที่เกดิ ขนึ้ ในหลอดทดลองของชุดการทดลองทว่ี างกลางแดดจัด ฟองแกส๊ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
298 หนว่ ยที่ 4 | การด�ำ รงชวี ิตของพืช คู่มือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามท้ายกจิ กรรม 1. เพราะเหตุใดจึงต้องใส่ผงฟใู นบกี เกอร์ แนวค�ำตอบ เพอื่ เปน็ การเพม่ิ ปรมิ าณแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นนำ�้ ซง่ึ จะชว่ ยเพม่ิ ปฏกิ ริ ยิ าการสงั เคราะหด์ ว้ ย แสงของพืชใหส้ ูงข้นึ 2. ชดุ ทดลองทวี่ างไว้กลางแดดจดั มีการเปล่ยี นแปลงหรือไม่ อย่างไร แนวคำ� ตอบ ค�ำตอบขึ้นอยู่กับผลการท�ำกิจกรรมของนักเรียน เช่น ชุดทดลองท่ีวางไว้กลางแดดจัดเกิด การเปลย่ี นแปลง คอื จะมฟี องแก๊สผุดข้ึนในหลอดทดลอง 3. ชดุ ทดลองทีว่ างไวใ้ นกล่องทึบมีการเปลยี่ นแปลงหรือไม่ อยา่ งไร แนวค�ำตอบ ค�ำตอบข้ึนอยู่กับผลการท�ำกิจกรรมของนักเรียน เช่น ชุดทดลองที่วางไว้ในกล่องทึบแสงไม่เกิด ฟองแกส๊ ในหลอดทดลอง 4. สาหรา่ ยหางกระรอกในชดุ ทดลองท่ีไดร้ ับแสง มกี ารสงั เคราะห์ดว้ ยแสงหรือไม่ อย่างไร แนวค�ำตอบ ชุดทดลองที่ได้รับแสง มีการสังเคราะห์ด้วยแสง ทราบได้จากการมเกิดข้ึนฟองแก๊สข้ึนใน หลอดทดลอง 5. ส่ิงที่เกดิ ข้นึ จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงในกิจกรรมนีค้ ืออะไร ทราบไดอ้ ย่างไร แนวค�ำตอบ สิ่งท่เี กดิ ขน้ึ จากการสังเคราะหด์ ้วยแสงในกิจกรรมนี้ คอื แก๊สออกซิเจน ทราบไดจ้ ากการที่แกส๊ ท่ี ไดจ้ ากการทดลองทำ� ให้ปลายก้านธปู ท่ตี ดิ ไฟแตไ่ มม่ ีเปลวไฟ สว่างวาบขึน้ 6. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร แนวค�ำตอบ ผลผลติ จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง คือ แกส๊ ออกซิเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 4 | การดำรงชีวติ ของพชื 299 คูม่ ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท้ายบท อาหารของเราเก่ียวข้องกบั การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงอยา่ งไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับความส�ำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ และสามารถ น�ำความรู้เร่ืองความส�ำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงไปถ่ายทอดแก่ผู้อ่ืน รวมท้ังเข้าใจและร่วมกันดูแลรักษาพืชหรือ ต้นไม้อย่างจริงจงั จุดประสงค์ รวบรวมข้อมูล และอธิบายความส�ำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชท่ีมีต่ออาหารของ มนษุ ย์ เวลาทีใ่ ชใ้ น 1 ชั่วโมง การท�ำกิจกรรม วสั ดุอปุ กรณท์ ่ใี ช้ตอ่ หอ้ ง วสั ดแุ ละอุปกรณ์ รายการ ปริมาณ/หอ้ ง 1. ภาพอาหาร 1 ภาพ วัสดอุ ปุ กรณท์ ี่ใชต้ อ่ กลมุ่ การเตรียม - ล่วงหนา้ ส�ำหรบั ครู - ข้อควรระวัง - ข้อเสนอแนะ • ครอู าจใช้ภาพอาหารจานอื่นท่แี ตกตา่ งจากในหนังสอื ได้ แตค่ วรเปน็ อาหารที่นกั เรียนคุ้นเคย ในการท�ำกจิ กรรม และสามารถเห็นสว่ นประกอบของอาหารไดอ้ ย่างชดั เจน ส่ือการเรยี นร/ู้ แหล่งเรียนรู้ • หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 สสวท. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
300 หน่วยที่ 4 | การด�ำ รงชวี ิตของพชื คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอยา่ งผลการทำ�กิจกรรม ไกก่ ินเมลด็ พืช สัตว์ กนิ ส่วนตา่ ง ๆ สจว่ากนกตา่ารงสๆะสขมอขงพองืชสเกาิดร และสตั ว์ขนาดเล็ก ของพืช ซ่ึงเกิดจาก อนสนิงั�้ำเทตครราียาล์ทะทหเ่ี ป่ี์ดไลด้วีย่ย้จนแามสกางกจาากร ปูแสมกินซากพชื การสังเคราะห์ด้วย ซากสัตว์ ใบไมส้ ด แสงเป็นอาหาร แผนภาพความสมั พันธร์ ะหว่างส่วนประกอบของอาหารแตล่ ะอยา่ งกับการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช จากแผนภาพ แสดงให้เหน็ วา่ ทกุ สิ่งทปี่ ระกอบเปน็ อาหารจานนี้ เก่ียวขอ้ งกับการสังเคราะห์ดว้ ย แสง ดงั น้ี 1. สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ทเ่ี กดิ จากการสะสมสารอนิ ทรยี ท์ ไ่ี ดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ไดแ้ ก่ มะละกอ พริก มะนาว กระหลำ่� ปลี ถว่ั ฝกั ยาว มะเขอื เทศ และข้าวเหนยี ว 2. สัตว์ทก่ี นิ พืชเปน็ อาหาร ได้แก่ ปูแสม และไก่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 4 | การดำรงชวี ิตของพชื 301 คูม่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. ถ้าไม่มีการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงจะมีอาหารจานน้ีหรอื ไม่ เพราะเหตุใด แนวคำ� ตอบ ถ้าไม่มีการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชจะไม่มีอาหารจานนี้ เพราะพืช เชน่ ข้าวเหนียว มะละกอ มะเขือเทศ ถ่ัวฝักยาว กะหล่�ำปลี จะไม่สามารถเจริญเติบโตและสะสมอาหารได้ ส่วนไก่ก็ไม่มี อาหารกนิ เพ่อื การเจรญิ เติบโต 2. การสังเคราะห์ดว้ ยแสงเกี่ยวขอ้ งกับชีวิตประจ�ำวนั อยา่ งไร แนวค�ำตอบ การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเก่ียวข้องกับการด�ำรงชีวิตในทุก ๆ วันของมนุษย์ ทั้งด้านอาหาร การหายใจ สงิ่ ของเครอ่ื งใช้ ที่อยู่อาศยั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
302 หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชีวิตของพืช ค่มู อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท 1. จากภาพเซลล์ เซลล์ชนิดใดเกดิ การสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ เพราะเหตใุ ด* เซลลข์ นราก เซลล์เยอื่ หอม เซลล์คมุ บรเิ วณใบ แนวคำ� ตอบ เซลล์ทีส่ ามารถเกิดการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้ คอื เซลลค์ มุ บรเิ วณใบ เพราะในเซลลม์ ีคลอโรพลาสต์ ซ่งึ มี คลอโรฟิลล์ทีเ่ ป็นปัจจยั ในการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื สว่ นเซลลข์ นรากและเซลลเ์ ยอ่ื หอมไม่มีคลอโร พลาสต์จึงไม่สามารถสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ 2. จากการทดลองเพอื่ ศกึ ษาเกย่ี วกบั การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื โดยนำ� พชื ทม่ี ใี บทม่ี สี เี ขยี วบรเิ วณขอบใบ และสขี าว บรเิ วณกลางใบ ไปวางไว้ในที่มดื 2 - 3 วัน จัดชุดทดลอง ดงั ภาพ รดนำ�้ แล้วนำ� ไปวางกลางแดดเป็นเวลา 3 ช่ัวโมง จากภาพ บรเิ วณ A B C และ D บรเิ วณใดทขี่ าดปจั จยั ทจ่ี ำ� เปน็ ในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเพยี ง 1 ปจั จยั และปจั จยั นนั้ คือสิ่งใด* ถงุ พลาสตกิ ใส A C B D โซดาไฟ แนวคำ� ตอบ บรเิ วณทีข่ าดปัจจัยในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงเพยี ง 1 ปัจจยั คือ บรเิ วณ B ขาดคลอโรฟิลล์ และบริเวณ C ขาดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนบริเวณ A ได้รับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงครบ ส่วนบริเวณ D ขาด 2 ปัจจัย คอื คลอโรฟิลลแ์ ละแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 4 | การดำรงชีวิตของพืช 303 คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ 3. การทดสอบแปง้ ในใบพืช เพราะเหตุใดต้องตม้ ใบพชื ในแอลกอฮอล์* แนวคำ� ตอบ ตอ้ งตม้ ใบพชื ในแอลกอฮอล ์ เพราะแอลกอฮอลส์ ามารถสกดั คลอโรฟลิ ลอ์ อกจากใบพชื ทำ� ใหเ้ มอ่ื นำ� ใบพชื ไปทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีนจะเหน็ ผลการทดสอบไดช้ ดั เจนขึ้น 4. การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื มีผลต่อชมุ ชนและชีวติ ของนักเรยี นหรอื ไม่ อยา่ งไร** แนวคำ� ตอบ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื มผี ลตอ่ ทง้ั ชวี ติ ของคนชมุ ชนรวมทงั้ ชวี ติ ของตวั เรา เพราะการสงั เคราะหด์ ว้ ย แสงท�ำให้มีอาหาร และมีแก๊สออกซิเจนส�ำหรับทุกคน รวมถึงท�ำให้ปริมาณแก๊สออกซิเจนและ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ทเี่ ปน็ ส่วนประกอบของอากาศภายในชมุ ชนมคี วามสมดุล 5. การตดั ไม้ทำ� ลายป่าจะส่งผลตอ่ สงิ่ มีชีวติ และสิง่ แวดลอ้ มอย่างไร** แนวคำ� ตอบ ถ้าป่าไมล้ ดลงจะมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม ส่งิ มชี ีวติ จะขาดแคลนอาหาร สัตวป์ า่ ขาดทอี่ ยู่ อาศัย ท�ำให้องคป์ ระกอบในสิง่ แวดล้อมเปล่ยี นไป รวมท้งั ปริมาณแก๊สต่าง ๆ ในอากาศเปล่ียนไป ซง่ึ จะ มผี ลตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของสิง่ มีชีวติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
304 หนว่ ยท่ี 4 | การด�ำ รงชีวิตของพชื คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ บทที่ 3 การล�ำเลียงนำ�้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื สาระสำ� คัญ พชื ต้องการอากาศ นำ้� แสง และธาตอุ าหารในการเจริญเตบิ โตและการด�ำรงชีวิต พชื ดูดน้�ำและธาตอุ าหารจากดินเข้าสู่ รากและลำ� เลียงผา่ นทางไซเลม็ ไปสูล่ ำ� ตน้ ใบ และส่วนอืน่ ๆ ของพชื เพือ่ ใชใ้ นการสังเคราะห์ด้วยแสงรวมถึงกระบวนการ อน่ื ๆ และมโี ฟลเอม็ ลำ� เลียงอาหารท่ีไดจ้ ากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงไปสูส่ ่วนต่าง ๆ ของพืช จดุ ประสงค์ของบทเรยี น เม่ือเรยี นจบบทน้ีแล้ว นกั เรียนจะสามารถทำ�สง่ิ ตอ่ ไปนไ้ี ด้ 1. อธบิ ายความสำ� คัญของธาตุอาหารบางชนิดท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตและการดำ� รงชีวิตของพชื 2. เลอื กใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณ์ท่ีกำ� หนด 3. บรรยายลกั ษณะและหนา้ ทข่ี องไซเล็มและโฟลเอ็ม 4. เขียนแผนภาพทีอ่ ธบิ ายทิศทางการลำ� เลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพชื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 4 | การดำรงชีวิตของพืช 305 คู่มอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ภาพรวมการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ แนวความคดิ ต่อเน่ือง กจิ กรรม รายการประเมนิ การเรียนรู้ของบทเรียน 1. อธิบายความส�ำคัญของ 1. พืชจ�ำเป็นต้องใช้น�้ำ แสงแก๊ส กจิ กรรมที่ 4.6 นกั เรียนสามารถ ธาตุอาหารบางชนิดที่มี คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นการสงั เคราะห์ ผลต่อการเจริญเติบโต ด้วยแสงเพื่อสร้างน้�ำตาลหรือ ธ า ตุ อ า ห า ร พื ช 1. อธิบายความส�ำคัญ และการด�ำรงชีวิตของ อาหารของพืช และต้องการธาตุ ส� ำ คั ญ ต ่ อ พื ช ของธาตุอาหารบาง พืช อาหารเพอ่ื ใชเ้ ปน็ องคป์ ระกอบของ อย่างไร ชนิดที่มีผลต่อการ 2. เลอื กใชป้ ยุ๋ ทมี่ ธี าตอุ าหาร น�้ำตาลและสารประกอบเคมีอ่ืน ๆ เจริญเติบโตของพืช เ ห ม า ะ ส ม กั บ พื ช ใ น เพอ่ื นำ� มาใชใ้ นการเจรญิ เตบิ โตและ กิจกรรมท้าย และผลจากการขาด สถานการณท์ ่ีก�ำหนด การด�ำรงชวี ิต ทำ� อยา่ งไรใหพ้ ชื มี ธาตุอาหารนัน้ 3. บรรยายลักษณะและ 2. ถ้าดินมีธาตุอาหารท่ีพืชต้องการไม่ ผ ล ผ ลิ ต ต า ม หน้าที่ของไซเล็มและ เพยี งพอ จำ� เป็น ต้องใหป้ ุย๋ ที่มีธาตุ ตอ้ งการ 2. บอกวิธีการแก้ไข โฟลเอม็ อาหารแก่พชื อาการผิดปกติของ กจิ กรรมท่ี 4.7 พื ช ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร พื ช ล� ำ เ ลี ย ง น�้ ำ ขาดธาตุอาหารพืช และธาตุอาหาร อยา่ งไร 4. เขยี นแผนภาพทบี่ รรยาย 3. พืชใช้รากในการดูดน�้ำและธาตุ โดยการเลือกใช้ปุ๋ยที่ ทิศทางการล�ำเลียงสาร อาหารจากดินและล�ำเลียงผ่านไซ เหมาะสม ในไซเล็มและโฟลเอ็ม เลม็ ขน้ึ ไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพืช 3. เขยี นบรรยายลกั ษณะ ของพชื 4. อาหารที่พืชสร้างขึ้นท่ีใบจะถูก และหนา้ ทข่ี องไซเลม็ ล�ำเลียงไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช และโฟลเอ็ม ผา่ นทาง โฟลเอม็ 4. เขยี นแผนภาพบรรยาย ทิศทางการล�ำเลียง ส า ร ใ น ไ ซ เ ล็ ม แ ล ะ โฟลเอ็มของพชื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
306 หนว่ ยที่ 4 | การดำ�รงชวี ติ ของพชื คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทค่ี วรได้จากบทเรียน ทักษะ เรอื่ งท่ี 12 ท้ายบท ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ์ การสังเกต • การวดั การจำ� แนกประเภท การหาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ และสเปซกับเวลา การใชจ้ �ำนวน การจดั กระท�ำและสอื่ ความหมายข้อมูล • • • การลงความเหน็ จากขอ้ มลู • • • การพยากรณ ์ การตัง้ สมมตฐิ าน การกำ� หนดนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ าร การกำ� หนดและควบคมุ ตัวแปร การทดลอง การตคี วามหมายขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป การสรา้ งแบบจ�ำลอง ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ • การแกป้ ญั หา • • การสื่อสาร • • การร่วมมือร่วมใจ • • การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ • • สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 4 | การดำรงชีวิตของพืช 307 คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ การน�ำเข้าส่หู น่วยการเรียนร ู้ ครูด�ำเนินการดังนี้ 1. เชื่อมโยงเนื้อหาจากบทที่ 2 การสังเคราะหด์ ้วยแสง ความรู้เพิ่มเติมสำ�หรับครู ของพืช เข้าสู่บทเรยี นนี้ โดยอาจใชค้ ำ� ถามวา่ พืชใช้ ภาพนำ� บท คอื การงอกของเมลด็ สลดั นำ�้ (water cress) สิง่ ใดบา้ งในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง และไดส้ ง่ิ เหล่า แสดงใหเ้ หน็ วา่ เมลด็ ทเ่ี พงิ่ งอก จะมรี ากแรกเกดิ งอกออก นั้นจากแหล่งใด (แสงจากดวงอาทิตย์ คลอโรฟิลล์ มาก่อน และท่ีบริเวณเหนือปลายรากมีขนรากจ�ำนวน ในเซลลพ์ ชื แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากอากาศ และ มาก น�้ำจากดิน) 2. ให้นักเรียนสังเกตภาพน�ำบทที่ 3 ในหนังสือเรียน หรือภาพ วดี ิทัศน์ หรือสื่ออื่น ๆ ท่เี ก่ียวกับขนราก ของพชื พรอ้ มท้ังให้นักเรียนอ่านเน้อื หานำ� บท จาก นั้นร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการล�ำเลียงในพืช โดย อาจใช้ค�ำถามดังนี้ • พืชได้รบั นำ้� ธาตุอาหารและอาหารจากแหล่งใด (นักเรยี นตอบตามความเข้าใจ เชน่ พืชจะดูดนำ้� และธาตอุ าหารจากดนิ และไดร้ บั อาหารโดยการ สรา้ งขน้ึ เอง) • พชื นำ� นำ�้ จากดนิ และอาหารทสี่ รา้ งขนึ้ ทใี่ บไปยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตาม ความเขา้ ใจ เช่น ล�ำเลียงผา่ นลำ� ตน้ ) 3. ให้นักเรียนอ่านจุดประสงค์ของบทเรียน และ อภิปรายร่วมกัน เพ่ือให้ทราบขอบเขตเนื้อหา เป้าหมายการเรียนรู้ และแนวทางการประเมินท่ี นักเรียนจะได้เรียนรู้ในบทเรียนน้ี (นักเรียนจะได้ สบื ค้น อธิบายชนิดและความสำ� คัญของธาตุอาหาร พชื บรรยายลกั ษณะ หนา้ ทข่ี องเนอ้ื เยอ่ื ลำ� เลยี งและ ทิศทางการล�ำเลยี งสารในพชื ) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
308 หนว่ ยท่ี 4 | การดำ�รงชวี ิตของพชื ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เรอื่ งที่ 1 ธาตุอาหารของพืช แนวการจัดการเรียนรู้ ครดู ำ� เนนิ การดงั น้ี 1. ให้นักเรียนสังเกตภาพน�ำเร่ือง อ่านเนื้อหาน�ำ เร่ือง และรู้จกั คำ� ส�ำคญั ทำ� กจิ กรรมทบทวนความ รู้ก่อนเรียน แล้วน�ำเสนอผลการท�ำกิจกรรม ถ้า ครูพบว่านักเรียนยังท�ำกิจกรรมทบทวนความรู้ ก่อนเรียนยังไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไข ความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนมี ความรพู้ น้ื ฐานทถ่ี กู ตอ้ ง และเพยี งพอทจี่ ะเรยี นเรอื่ ง ธาตุอาหารของพืชต่อไป ความรเู้ พ่มิ เติมสำ�หรบั ครู ภาพนำ� เรือ่ ง คอื ภาพดิน แสดงส่วนประกอบของดนิ ท่ี เหมาะส�ำหรับการปลูกพืช ซ่ึงส่วนประกอบเหล่าน้ีเป็น ทีม่ าของธาตอุ าหารของพชื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 4 | การดำรงชีวิตของพืช 309 คู่มือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เฉลยทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น เขยี น ลอ้ มรอบค�ำทเี่ ป็นส่วนประกอบของดิน นำ้� ไสเ้ ดือนดิน ฮวิ มัส อากาศ เศษขยะ ทราย 2. ตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับธาตุอาหารของพืช โดยให้นักเรียนท�ำกิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถ เขียนตามความเข้าใจของนักเรียน โดยยังไม่เฉลยค�ำตอบ และน�ำข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนไป ใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรยี นรวู้ า่ ควรเนน้ ยำ้� หรอื อธบิ ายเรอื่ งใดเปน็ พเิ ศษ เมอ่ื นกั เรยี นเรยี นจบเรอ่ื งนแ้ี ลว้ นกั เรยี น จะมีความรคู้ วามเข้าใจครบถ้วนตามจุดประสงค์ของบทเรยี น ตัวอยา่ งแนวคิดคลาดเคลอื่ นซ่ึงอาจพบในเรือ่ งนี้ • ธาตุอาหารพืชคืออาหารของพืชทอ่ี ยูใ่ นดิน • อาการผิดปกติของพืชทง้ั หมดเกดิ จากการขาดธาตอุ าหาร 3. ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช โดยน�ำใบพืชท่ีปกติและใบพืชท่ีมีอาการผิดปกติท่ีเกิด จากการขาดธาตอุ าหารมาใหน้ กั เรียนดแู ละ ใช้คำ� ถามตอ่ ไปนี้ • ส่วนทีส่ งั เคราะห์ด้วยแสงของพืชตอ้ งมสี งิ่ ใดในเซลล์ • ใบพืชที่มีอาการซดี เหลืองจะสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงไดด้ หี รือไม่ • อาการซีดเหลืองของใบ เกิดเพราะอะไร และจะแกป้ ญั หาได้อยา่ งไร 4. รว่ มกนั อภิปรายเพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ว่าพชื ตอ้ งการ นำ้� แสง แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ และคลอโรฟิลลใ์ นการสงั เคราะห์ ด้วยแสงแล้วได้ผลผลิตเป็นน้�ำตาลซ่ึงเป็นอาหารของพืช นอกจากน้ีพืชยังต้องการธาตุอาหารเพื่อใช้เป็นองค์ประกอบ ของนำ�้ ตาลและสารต่าง ๆ ทีพ่ ชื สรา้ งขึน้ แลว้ พชื จะใช้น�้ำตาลและสารเหล่านั้นเพือ่ ให้การเจรญิ เตบิ โตเป็นไปอยา่ งปกติ ธาตุอาหารของพืชมีอะไรบา้ ง แต่ละชนดิ มคี วามสำ� คญั อยา่ งไรต่อพืช จะไดท้ ราบจากการท�ำกจิ กรรมท่ี 4.6 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
310 หนว่ ยท่ี 4 | การดำ�รงชีวติ ของพืช คู่มอื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 4.6 ธาตุอาหารพชื ส�ำคัญตอ่ พืชอยา่ งไร แนวทางการจัดการเรยี นรู้กจิ กรรม กอ่ นการท�ำกจิ กรรม ครูควรอภปิ รายในหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 1. ให้นักเรยี นอา่ นวิธีการดำ� เนินกจิ กรรม ในหนงั สือเรียน และรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กจิ กรรมนีเ้ กยี่ วกับเรื่องอะไร (ธาตอุ าหารของพชื และอาการผดิ ปกตขิ องพชื ทีเ่ กิดจากการขาดธาตุอาหารพชื ) • กิจกรรมนมี้ ีจดุ ประสงค์อะไร (นกั เรยี นตอบตามความคิดของตนเอง) • วธิ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมโดยสรปุ เปน็ อยา่ งไร (อา่ นและอภปิ รายความสำ� คญั ของธาตอุ าหาร และแนวทางการแกป้ ญั หา การขาดธาตอุ าหาร จากนนั้ รวบรวมข้อมูลเกยี่ วกบั ธาตอุ าหารของพืชและวธิ แี กป้ ัญหาจากการขาดธาตอุ าหารของ พชื ) • นักเรียนเลอื กใชเ้ ทคโนโลยีใดในการนำ� เสนอผลงานได้บา้ ง (Microsoft powerpoint แอปพลิเคช่นั ต่าง ๆ) ครคู วรอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ในประเดน็ ทน่ี ักเรียนยังตอบไดไ้ ม่ครบถว้ น 2. ครูควรแนะน�ำให้นักเรียนวางแผนการท�ำงานร่วมกัน การออกแบบตารางบันทึกผลเก่ียวกับชนิดและความส�ำคัญของ ธาตอุ าหารพืชแต่ละชนดิ และตรวจสอบตารางบนั ทึกผลของนักเรยี น ครใู ห้ค�ำแนะน�ำปรบั แกต้ ามความเหมาะสม ระหว่างการทำ� กจิ กรรม 3. ให้นักเรียนท�ำกิจกรรมตามขั้นตอน โดยครูสังเกตการท�ำงานร่วมกันและการบันทึกผลการท�ำกิจกรรมของนักเรียนทุก กลุ่ม รวมทั้งการน�ำข้อมูลมาจัดกระท�ำโดยใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เพ่ือให้ข้อแนะน�ำถ้าเกิดข้อผิดพลาดขณะท�ำกิจกรรม รวมทง้ั น�ำข้อมลู ทีค่ วรจะปรับปรงุ และแกไ้ ขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลงั การทำ� กจิ กรรม หลงั การทำ� กิจกรรม 4. ใหน้ กั เรยี นนำ� ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ชนดิ และความสำ� คญั ของธาตอุ าหารพชื แตล่ ะชนดิ รวมทงั้ การแกป้ ญั หาการขาดธาตอุ าหาร ของพืช มาน�ำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ตาราง หรอื แผนภาพพรอ้ มค�ำอธบิ าย 5. ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการท�ำกิจกรรม และสาเหตุที่ท�ำให้ผลการท�ำกิจกรรมคลาดเคล่ือน เช่น นักเรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และไดข้ ้อมลู วา่ ธาตอุ าหารที่จำ� เปน็ ต่อพชื มีเพียง 16 ธาตุ ซึ่งปัจจบุ ันมกี ารเพม่ิ เป็น 17 ธาตแุ ล้ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 4 | การดำรงชวี ติ ของพชื 311 คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 6. ใหน้ กั เรยี นตอบคำ� ถามทา้ ยกจิ กรรม และร่วมกันอภปิ รายคำ� ตอบเพอ่ื ให้นกั เรียนสรปุ ได้ว่าในดินมธี าตอุ าหารท่พี ชื ใช้ใน การเจริญเติบโตและด�ำรงชีวิต ธาตุอาหารที่พืชขาดไม่ได้มี 17 ชนิด ถ้าพืชขาดธาตุอาหารพืชจะแสดงอาการผิดปกติ ควรแก้ไข้โดยการวิเคราะห์ดินเพื่อหาชนิดและปริมาณของธาตุอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อพืช และเพื่อหาสาเหตุว่าดิน ขาดธาตุอาหารหรือมีธาตุอาหารแต่อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถน�ำไปใช้ได้ วิเคราะห์เน้ือเยื่อพืช เพ่ือประเมินระดับความ ขาดธาตุอาหารของพืช ซ่งึ ถา้ ดนิ ขาดธาตุอาหารของพืชสามารถท�ำการเพ่มิ ธาตุอาหารของพืชในดนิ โดยการใสป่ ุ๋ย 7. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือและร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับธาตุอาหารของพืช เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าธาตุอาหารใน ดินมีความส�ำคัญตอ่ การเจริญเติบโตของพืช ถา้ พืชขาดธาตุอาหารพชื จะแสดงอาการผดิ ปกติ จึงจำ� เปน็ ตอ้ งให้พืชได้รับ ธาตุอาหารของพืชอย่างเพียงพอ ถ้าในดินไม่มีหรือมีธาตุอาหารของพืชน้อยต้องเพ่ิมธาตุอาหารลงในดินในปริมาณ ท่ีเหมาะสม 8. ให้นักเรียนตอบค�ำถามระหว่างเรียน เพ่ือประเมินความเข้าใจเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช ในหนังสือเรียนและร่วมกัน อภิปรายค�ำตอบดงั ตวั อย่าง เฉลยคำ�ถามระหวา่ งเรียน • การขาดไนโตรเจน เกยี่ วขอ้ งอย่างไรกับการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื แนวคำ� ตอบ การขาดธาตไุ นโตรเจน ทำ� ใหใ้ บซดี เหลอื งและแหง้ เหยี่ ว พนื้ ทใ่ี บลดลง สง่ ผลใหก้ ารสงั เคราะหด์ ว้ ย แสงลดลงดว้ ย • พืชชนดิ หนงึ่ แตกใบและออกดอกชา้ มาก เม่ือแตกใบและออกดอก ใบใหม่และดอกจะหงิกงอ พชื ชนดิ น้ีน่า จะขาดธาตอุ าหารชนดิ ใด แนวคำ� ตอบ พืชชนดิ นน้ี า่ จะขาดธาตุแคลเซียม • ปยุ๋ ในภาพ 4.23 ทั้ง 2 ถุงมปี ริมาณของไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม เหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวคำ� ตอบ ปุ๋ยท้ัง 2 ถุงมีปริมาณของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม หรือ N-P-K แตกต่างกัน โดยถงุ แรกมีปรมิ าณของ N-P-K เท่ากนั คอื ธาตุละ 15 กิโลกรมั แตป่ ยุ๋ ในถงุ ที่ 2 มปี รมิ าณ N-P ธาตุละ 16 กิโลกรมั แต่มธี าตุ K ถึง 18 กิโลกรัม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
312 หน่วยที่ 4 | การดำ�รงชีวติ ของพืช คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ 9. ถ้าครูพบว่านักเรียนมีแนวความคิดคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับเรื่องธาตุอาหารของพืช ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือแก้ไข แนวคิดคลาดเคล่อื นให้ถกู ต้อง เช่น แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวความคิดท่ถี กู ต้อง ธาตอุ าหารพืชคืออาหารของพชื ท่ีอยูใ่ นดิน ธาตุอาหารพืชไม่ใช่อาหารของพืช อาหารของพืชคือ นำ้� ตาลทพี่ ชื สรา้ งจากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง อาการผดิ ปกติของพชื ล้วนเกิดจากการขาดธาตอุ าหาร อาการผิดปกติของพืชเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ขาด ธาตอุ าหาร เปน็ โรคจากไวรสั แบคทเี รยี ไสเ้ ดอื นฝอย รา 10. ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช ว่าพืชดูดธาตุอาหารจากดินเพื่อใช้ในการเจริญเติบโตให้เป็นไป อย่างปกติ และครูอาจใช้ค�ำถามต่อไปว่า พืชน�ำธาตุอาหารไปใช้ประโยชนใ์ นสว่ นตา่ ง ๆ ของตน้ ไดอ้ ยา่ งไร เพือ่ เชอ่ื มโยง กบั เนื้อหาเรอ่ื งการลำ� เลียงในพืช สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 4 | การดำรงชวี ิตของพืช 313 คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 4.6 ธาตอุ าหารส�ำคญั ต่อพืชอยา่ งไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับชนิดและความส�ำคัญของธาตุอาหารพืช อาการผิดปกติท่ีเกิดจากการขาดธาตุอาหารพืช วธิ กี ารแกป้ ญั หาการขาดธาตอุ าหารของพืช ผา่ นการวิเคราะหป์ ัญหาและวธิ ีการแกป้ ญั หาจากสถานการณท์ ่ีก�ำหนด เพอื่ นำ� ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในการปลูกและดแู ลรักษาพืช จดุ ประสงค์ 1. รวบรวมข้อมูล อธิบายความส�ำคัญของธาตุอาหารของพืชท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตและการ ด�ำรงชีวติ ของพืช รวมท้ังการแก้ปญั หาการขาดธาตอุ าหารของพืช 2. เสนอแนวทางการแก้ปญั หาการขาดแคลนธาตอุ าหารของพืช เวลาทใ่ี ช้ใน 45 นาที การท�ำกจิ กรรม วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ วสั ดุอุปกรณท์ ่ีใช้ตอ่ ห้อง -ไมม่ -ี การเตรียม วสั ดุอปุ กรณท์ ่ีใชต้ อ่ กลมุ่ ล่วงหน้า -ไมม่ ี- ข้อเสนอแนะใน การท�ำกิจกรรม • ครูอาจให้นักเรยี นเตรยี มอุปกรณ์ทส่ี ามารถเช่อื มต่ออินเทอรเ์ นต็ ได้มาใช้ในการสืบค้นขอ้ มลู • ครอู าจตดิ ตอ่ ห้องคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้นักเรยี นไดใ้ ช้คอมพิวเตอรใ์ นการจดั กระท�ำขอ้ มูล และ การน�ำเสนอโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1. ครคู วรใหเ้ วลานักเรยี นในการจดั กระทำ� ข้อมลู และการน�ำเสนอโดยใช้เทคโนโลยี เช่น การใช้ โปรแกรมน�ำเสนอข้อมูล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
314 หนว่ ยท่ี 4 | การด�ำ รงชวี ติ ของพืช คมู่ อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ สอื่ การเรยี นร้/ู • หนงั สือเรียนวิทยาศาสตรร์ ะดับมธั ยมศึกษาปีที่ 1 สสวท. แหลง่ เรียนรู้ • หนังสือ ธาตอุ าหารพืช ของส�ำนักพมิ พ์ตา่ ง ๆ • หนังสอื หรือเอกสารท่ีเก่ียวกับการวเิ คราะหด์ ิน การจดั การดนิ การใช้ปยุ๋ สำ� หรับการปลกู พชื • เวบ็ ไซตข์ องกรมพฒั นาทด่ี นิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • แหล่งเรยี นรู้ทางการเกษตรและการจดั การดนิ เชน่ กรมพฒั นาท่ีดิน สถานพี ฒั นาที่ดนิ จงั หวัด ตัวอย่างผลการทำ�กิจกรรม ผลการวิเคราะห์สถานการณ์ ความสำ� คญั ของธาตอุ าหารของพชื ธาตอุ าหารทำ� ใหต้ น้ ขา้ วโพดเจรญิ เตบิ โตอยา่ งเปน็ ปกติ ใบไมเ่ หลอื ง แหง้ และ ทำ� ใหไ้ ดผ้ ลผลิตดี แนวทางการแก้ไขการขาดธาตุอาหารของพืช คือ ต้องไม่ปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้�ำในดินเดิม ควรปลูกสลับกับ พชื ชนดิ อน่ื เช่น ปลูกขา้ วโพดสลบั กับการปลกู ถ่ัวเหลือง ผลการสืบค้นขอ้ มลู ชนิดของธาตุอาหาร อาการทเ่ี กดิ จากการขาดธาตอุ าหาร การแก้ไข บันทกึ ผลตามข้อมลู ทส่ี ืบคน้ ได้ บันทกึ ผลตามขอ้ มูลท่ีสบื ค้นได้ บันทกึ ผลตามขอ้ มูลที่สบื ค้นได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385