Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี

คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-06-19 16:04:44

Description: คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี

Keywords: คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ปี,คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

Search

Read the Text Version

(๒.๓) แผนการจดั ประสบการณรายวัน สัปดาหท่ี..............วนั ท่.ี ................................... หนวย “ฝน” ชน้ั อนุบาลศึกษาปท ี่ ๒ จุดประสงคก ารเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรยี นรู สอื่ การประเมนิ ผล ประสบการณสําคัญ สาระทคี่ วรเรียนรู สังเกตพฤติกรรมเดก็ ขณะ ทาํ ทาทางประกอบเพลง กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและ การเคลือ่ นไหว - ๑. กจิ กรรมเคล่อื นไหวพืน้ ฐาน ใหเ ดก็ เคลอ่ื นไหวรา งกายไปท่ัวบรเิ วณอยาง ๑. เครอ่ื งเคาะจังหวะ และดนตรี จงั หวะ ตามเสยี งเพลง/ดนตรี อิสระตามจงั หวะ เมือ่ ไดย ินสัญญาณหยดุ ใหหยดุ เคลอื่ นไหวในทา นั้นทันที ๒. เพลงเมฆฝน รว มกิจกรรมการ ๒. เด็กเคลอื่ นไหวโดยทาํ ทาทางประกอบเพลงเมฆฝน โดยใหแ ตละคน สงั เกตการบอกรายละเอียด เคลอ่ื นไหวประกอบเพลง คิดทา ทางอยา งอิสระ และทาํ ซ้ําตามความเหมาะสม จากการทดลองเร่ือง และดนตรอี ยา งมีความสุข ๓. เด็กผอนคลายกลามเน้ือ การเกดิ ฝน กจิ กรรมเสริมประสบการณ การสังเกตลกั ษณะ สมบตั ขิ องน้าํ ข้ันนํา ๑. เพลงไอนํ้า บอกรายละเอยี ดที่สงั เกต สวนประกอบ ๑. รวมกนั รองเพลงไอนํา้ ๒. แกวน้ํารอ น น้ําเย็น จากการทดลองเรือ่ ง การเปลย่ี นแปลง และ ข้ันสอน น้ําธรรมดา การเกิดฝนได ความสมั พันธข อง ๒. นําแกวน้ํารอน นํา้ เย็น นาํ้ ธรรมดามาใหเดก็ สังเกตโดยใช ๓. จานแกวใส ส่ิงตางๆ โดยใช ประสาทสมั ผสั ทั้งหา ๔. แวน ขยาย ประสาทสัมผัสอยาง ๓. เดก็ นาํ จานแกว ใสไปปดปากแกวทัง้ ๓ ใบ และสงั เกตสิ่งท่ีเกดิ ข้ึน ๕. กระดาษปรูฟ เหมาะสม ๔. รว มกันสนทนาเกี่ยวกบั สิ่งทีเ่ กดิ ขึ้น และเช่ือมโยงไปสเู รอ่ื งการเกดิ ฝน ๖. ปากกาสี ขน้ั สรุป ๕. เด็กอธบิ ายเก่ียวกับส่งิ ที่เกดิ ขึ้นท่แี กวน้ํารอ น และครชู ว ยเชื่อมโยงไปสู เร่ืองการเกิดฝน โดยการวาดแผนภาพประกอบ คูม ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ 95 สาํ หรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป

คมู อื หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 96 สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กจิ กรรมการเรียนรู สอื่ การประเมนิ ผล ประสบการณส ําคญั สาระท่ีควรเรียนรู ๑. เพลงฟา ลน่ั ๑. สงั เกตพฤตกิ รรมขณะ ๒. กระดาษ ทาํ งานศลิ ปะ กิจกรรมศลิ ปะสรา งสรรค ๑. การเขยี นภาพ - ๑. รวมกนั รองเพลงฟา ลน่ั ๓. สเี ทยี น ๒. สงั เกตพฤตกิ รรม และกจิ กรรมการเลน และการเลน กับสี ๒. แนะนํากิจกรรมศิลปะสรางสรรค ประกอบดว ย ๔. สโี ปสเตอร การกลา พดู กลา แสดงออก ตามมุม ๒. การปน ๒.๑ วาดภาพอิสระดวยสีเทียน ๕. พูกัน ในการเลา เร่ืองเพือ่ นําเสนอ ๑. สรางผลงานศลิ ปะเพื่อ ๓. การทาํ กิจกรรม ๒.๒ วาดภาพอิสระดว ยสโี ปสเตอร ๖. ดนิ นํ้ามัน ผลงาน สื่อความคิด ความรสู ึกของ ศลิ ปะตางๆ ๒.๓ ปน ดนิ นํ้ามนั ๗. มมุ เลน หรือ ๓. สังเกตพฤติกรรม ตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง ๔. การเลน ตามมมุ ๓. แนะนาํ หนงั สอื เกี่ยวกบั ฝนและนํา้ ท่ีมุมหนังสอื มมุ ประสบการณ การแสดงความพอใจ และแปลกใหมจากเดมิ ประสบการณ/ ๔. เด็กเลอื กทาํ กจิ กรรมศิลปะสรา งสรรค ๒ กจิ กรรม ตามความสนใจ ในหอ งเรยี น ในผลงานของตนเอง หรอื มรี ายละเอยี ดเพิ่มขึน้ มุมเลน ตา งๆ เม่ือทาํ ผลงานเสร็จ ใหนํามาใหครูเขียนบรรยายภาพหรือผลงาน ๒. กลาพูดกลา แสดงออก ๕. การพดู อธบิ าย ๕. เดก็ เลือกเลน ตามมุมประสบการณ เม่อื หมดเวลาครใู หส ัญญาณ อยา งเหมาะสม เกีย่ วกบั ส่งิ ของ เด็กชว ยกันเก็บของ ๓. แสดงความพอใจ เหตกุ ารณ และความ ๖. เดก็ ๔- ๕ คน นาํ ผลงานออกมานาํ เสนอ ใหเ พ่อื นถามคาํ ถามหรือ ในผลงานของตนเอง สัมพนั ธข องส่ิงตา งๆ แสดงความคิดเห็น กิจกรรมการเลน กลางแจง ๑. การเลนนอก ขอ ตกลงในการเลนน้ํา ๑. ทบทวนขอ ตกลงในการเลนนํา้ เลน ทรายอยางปลอดภยั ๑. ภาชนะใสน้ํา สังเกตพฤตกิ รรมการเลน เลนและทาํ กจิ กรรมอยา ง หองเรียน เลน ทราย ๒. เด็กเลือกเลนนํา้ เลนทรายตามความสนใจ หรอื เลนเครื่องเลนสนาม ๒. กระบะทราย อยางปลอดภัย ปลอดภัยดว ยตนเอง ๒. การเลนเคร่อื งเลน เลน เคร่ืองเลนสนาม โดยครูคอยดูแลความปลอดภยั ของเดก็ ๓. อุปกรณประกอบ อยา งปลอดภยั ๓. ใหสัญญาณหยุดเลน เดก็ ชวยกันเก็บอุปกรณก ารเลนนา้ํ เลนทราย การเลนนํา้ เลน ทราย ๓. การชัง่ ตวง วัด และพาเดก็ ไปทาํ ความสะอาดรางกาย ๔. เครอื่ งเลนสนาม สิ่งตางๆ โดยใช เครอื่ งมอื และหนว ยที่ ไมใ ชหนวยมาตรฐาน กจิ กรรมเกมการศึกษา การบอกและเรยี ง การเรยี งลาํ ดบั เหตกุ ารณ ๑. แนะนาํ เกมเรียงลาํ ดบั การเจริญเติบโตของตนไม ๔ ลาํ ดับ ๑. เกมเรียงลําดับการเจริญ สังเกตการเลน เรยี งลาํ ดับภาพ ลาํ ดับกิจกรรมหรือ ๒. แบง เดก็ เปน ๔ กลุม ใหเด็ก ๑ กลุม รับเกมท่ีแนะนาํ ไปเลน กลุม อ่นื ๆ เติบโตของตน ไม ๔ ลําดบั เกมการศกึ ษา การเจรญิ เตบิ โตของตน ไม เหตุการณตามชวงเวลา เลนเกมการศกึ ษาชดุ เดิม ๒. เกมชุดเดมิ ท่เี คยเลน ได ๓. เดก็ เก็บเกมการศกึ ษา

(๒.๔) แบบบนั ทึกหลังการจดั ประสบการณ สปั ดาหที่.............. หนวย “ฝน” ชนั้ อนบุ าลศึกษาปท ี่ ๒ คาํ ชแ้ี จง ทําเคร่ืองหมาย ✓ เมื่อพบพฤติกรรมตามจุดประสงคการเรียนรู หรอื ทําเคร่อื งหมาย เม่ือไมพ บพฤติกรรมตามจุดประสงคการเรยี นรู จดุ ประสงคการเรยี นรู เลขที่ ช่อื สกุล ๑. ป ิฏบัติตนอยางปลอด ัภยเม่ือฝนตกได หมายเหตุ ๒. ัรบ ูลกบอลโดยใช ืมอ ้ัทง ๒ ขาง ๓. ใ ชกรรไกรตัดกระดาษตามแนวเ สนตรงได ๔. ก ลา ูพดก ลาแสดงออกอ ยางเหมาะสม ๕. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ๖. รวมกิจกรรมการเค ่ลือนไหวประกอบ เพลงและดนตรีอ ยางมีความสุข ข๗.องรูเส ่รืถอางบัรานวพเร ีก่ะยมวหกัาบกพ ัษรตะริมยหไาทกย ุรณา ิธ ุคณ ๘. บอกอาการเม่ือเจ็บปวยไ ด เ๙.รื่อบงอกการรเากิยดละฝเนอีไย ดด ่ที ัสงเกตจากการทดลอง ๑๐. ระบุผล ีท่เกิด ้ึขนจากการ ่ีทฝนตกไ ด เ๑มื่๑.อ ้ํนคาาไดหคละเ ผนา ิส่นงฝ ่ทีาอยาชจะจละอเน้ํิกาดไ ึ้ขดน ค๑ว๒.ามส ูรร ึสากงขผอลงงาตนนเศิอลงปโะเดย่ืพ ีมอกสื่าอรคดัวดาแมปิคลดง และ แปลกให มจากเดิม ห ืรอ ีมรายละเอียดเพิ่ม ้ขึน ๑ เด็กชาย.......... ๒ เด็กชาย.......... ๓ เดก็ ชาย.......... ..... ...................... ..... ...................... ..... ...................... ๒๔ เดก็ หญิง........ ๒๕ เดก็ หญิง........ ๒๖ เดก็ หญงิ ........ บันทึกผลการจัดกิจกรรม (อาทิ ความยากงา ยของกจิ กรรมท่กี าํ หนด ความเหมาะสมของส่อื ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม การตอบสนองของเด็กตอ กิจกรรม ลักษณะการเรยี นรขู องเดก็ ) ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... ลงช่อื ...............................................ผูบ นั ทึก คูมือหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 97 สําหรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คูมือหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 98 สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป ตัวอยางที่ ๓ (๓.๑) หนวยการจัดประสบการณ ชน้ั อนบุ าลศกึ ษาปท ่ี ๓ หนวย “ฝน” มาตรฐาน/ตัวบง ช/ี้ สภาพทพี่ งึ ประสงค จดุ ประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรยี นรู ประสบการณสําคัญ สาระทคี่ วรเรยี นรู มฐ.๑ ตบช.๑.๓ ดานรา งกาย ๑. ปรากฏการณธ รรมชาติ ๑.๓.๑ เลน ทาํ กิจกรรม และปฏบิ ตั ติ อ ผูอ่ืน ๑. ปฏิบตั ติ นอยางปลอดภยั เมื่อฝนตกได ๑. การเคลือ่ นไหวพรอมวัสดอุ ปุ กรณ - วัฏจกั รของนาํ้ อยา งปลอดภยั ๒. การเคลอ่ื นไหวทีใ่ ชก ารประสานสมั พันธของ ๒. การปฏบิ ตั ติ นอยา งเหมาะสมเมอื่ ฝนตก การใชก ลา มเน้อื ใหญใ นการขวา ง การจบั การโยน - หลบฝน และไมไ ปในท่ีโลง แจง มฐ.๒ ตบช.๒.๑ ตบช.๒.๒ การเตะ - ใชอปุ กรณก นั ฝน และการแกป ญ หา ๒.๑.๓ ว่ิงหลบหลีกส่งิ กีดขวางไดอ ยางคลองแคลว ๒. หลบหลีกสิ่งกีดขวางได ๓. การเขยี นภาพและการเลน กบั สี ๒.๑.๔ รบั ลกู บอลทีก่ ระดอนข้ึนจากพนื้ ได ๓. รับลูกบอลทีก่ ระดอนข้นึ จากพื้นได ๔. การปน เมอื่ ไมมอี ปุ กรณก นั ฝน ๒.๒.๑ ใชก รรไกรตดั กระดาษตามแนวเสนโคงได ๔. ใชกรรไกรตัดกระดาษตามแนวเสน โคงได ๕. การหยบิ จบั การใชกรรไกร การฉีก การตดั ๓. โรคทีพ่ บบอ ยในฤดูฝน และการปองกนั การปะ และการรอ ยวัสดุ ๔. เหตกุ ารณที่สัมพนั ธกับการเกิดฝน มฐ.๓ ตบช.๓.๒ ๕. กลาพดู กลาแสดงออกอยา งเหมาะสม ๖. การเคลือ่ นไหวโดยควบคุมตนเองไปในทศิ ทาง ๓.๒.๑ กลา พูดกลา แสดงออกอยางเหมาะสม ๖. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง ระดบั และพ้นื ที่ - โครงการตามพระราชดํารฯิ โครงการ ตามสถานการณ และผูอื่น ๗. การฟง นทิ าน เรอ่ื งราว เหตกุ ารณเ กย่ี วกับ แกมลงิ ๓.๒.๒ แสดงความพอใจในผลงานและ การปองกันและรกั ษาความปลอดภยั - โครงการตามพระราชดาํ รฯิ โครงการ ความสามารถของตนเองและผอู ่นื ฝนหลวง ๘. การเลนเครื่องเลน อยา งปลอดภยั ๙. การเลน บทบาทสมมตเิ หตุการณตา งๆ ดานอารมณ จติ ใจ ๑. การฟงเพลง การรอ งเพลง และการแสดง ปฏกิ ิรยิ าโตตอบเสียงดนตรี ๒. การเคลอ่ื นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๓. การทํากจิ กรรมศลิ ปะตา งๆ ๔. การเลนอิสระ ๕. การเลน ตามมุมประสบการณ/มุมเลนตา งๆ ๖. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตางๆ ตามความสามารถ ของตนเอง

มาตรฐาน/ตัวบงช/้ี สภาพท่พี ึงประสงค จดุ ประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรียนรู สาระที่ควรเรียนรู ๗. รว มกิจกรรมการเคลอื่ นไหวประกอบเพลง ประสบการณส าํ คัญ มฐ.๔ ตบช.๔.๑ และดนตรีอยางมคี วามสุข ดานสงั คม ๔.๑.๓ สนใจ มคี วามสขุ และแสดงทา ทาง/ ๘. รเู ร่ืองราวเกยี่ วกบั พระมหากรุณาธิคณุ ของ ๑. การทํางานศิลปะที่นําวสั ดุหรือสง่ิ ของเคร่ืองใช เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จังหวะ และดนตรี สถาบันพระมหากษตั ริยไ ทย ทีใ่ ชแ ลวมาใชซ ้าํ หรอื แปรรูปแลว นํากลับมาใชใหม มฐ.๗ ตบช.๗.๒ ๙. ทํางานรว มมอื กบั เพ่อื นในการประดษิ ฐ ๒. การสนทนาขาวและเหตกุ ารณท ่ีเกย่ี วกบั ๗.๒.๓ ยืนตรงและรวมรองเพลงชาติไทย เครอ่ื งบินฝนหลวงได ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มในชีวิตประจําวนั และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๑๐. จัดกลมุ ภาพ เพอ่ื แสดงผลรวมจาํ นวน ๕ - ๙ ๓. การละเลน พน้ื บานของไทย มฐ.๘ ตบช.๘.๒ ๑๑. อธิบาย เช่ือมโยงเหตุและผลทเี่ กดิ ขึน้ ๔. การดแู ลหอ งเรียนรว มกนั ๘.๒.๑ เลน หรือทาํ งานรวมมือกบั เพ่อื นอยา ง ตามวฏั จกั รของน้ําได ๕. การรว มสนทนาและแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ มีเปาหมาย ๑๒. ระบปุ ญ หา สรา งทางเลอื ก และเลอื ก ๖. การทาํ ศิลปะแบบรว มมือ มฐ.๑๐ ตบช.๑๐.๑ ตบช.๑๐.๒ ตบช.๑๐.๓ วธิ ีแกปญ หาเมื่อไมมอี ปุ กรณก นั ฝนได ๗. การเลนหรอื ทาํ กิจกรรมรว มกบั กลุมเพอื่ น ๑๐.๑.๓ จําแนกและจัดกลุมสิง่ ตางๆ โดยใช ดา นสตปิ ญญา ต้ังแต ๒ ลักษณะขนึ้ ไปเปน เกณฑ ๑๓. สรางผลงานศลิ ปะเพอ่ื สือ่ ความคดิ ๑. การฟงเพลง นิทาน คําคลองจอง บทรอ ยกรอง ๑๐.๒.๑ อธบิ ายเชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลทเ่ี กิดข้นึ ความรูสึกของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง หรือเร่ืองราวตา งๆ ในเหตกุ ารณห รอื การกระทาํ ดวยตนเอง แปลกใหมจากเดิม และมีรายละเอยี ดเพ่ิมข้ึน ๒. การพูดอธิบายเกย่ี วกบั สง่ิ ของ เหตุการณ ๑๐.๓.๒ ระบุปญ หา สรางทางเลือก และเลอื ก ๑๔. คนหาคาํ ตอบเก่ยี วกับโรคไขเ ลอื ดออกและ และความสมั พนั ธข องสง่ิ ตางๆ วิธแี กป ญ หา การปองกนั ได ๓. การสังเกตลกั ษณะ สว นประกอบ มฐ.๑๑ ตบช.๑๑.๑ ๑๕. ใชประโยคคาํ ถามวา “เมือ่ ไร” หรอื การเปลย่ี นแปลง และความสัมพนั ธของส่งิ ตา งๆ ๑๑.๑.๑ สรา งผลงานศลิ ปะเพื่อสอ่ื ความคดิ “อยา งไร” ในการคนหาคําตอบ โดยใชป ระสาทสมั ผัสอยา งเหมาะสม ความรูสึกของตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง ๔. การนบั และแสดงจํานวนของสิง่ ตางๆ แปลกใหมจากเดิม และมีรายละเอยี ดเพิม่ ข้นึ ในชีวิตประจําวนั มฐ.๑๒ ตบช.๑๒.๒ ๕. การอธิบายเช่ือมโยงสาเหตุและผลทเ่ี กิดข้ึน ๑๒.๒.๑ คน หาคําตอบของขอสงสยั ตางๆ ในเหตกุ ารณหรอื การกระทํา โดยใชว ธิ ีการที่หลากหลายดวยตนเอง ๖. การแสดงความคดิ สรางสรรคผา นภาษา ๑๒.๒.๒ ใชประโยคคําถามวา “เมื่อไร” ทาทาง การเคลอื่ นไหว และศิลปะ “อยางไร” ในการคนหาคําตอบ ๗. การสืบเสาะหาความรูเ พ่อื คนหาคําตอบ ของขอ สงสัยตา งๆ คมู อื หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ 99 สาํ หรบั เดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คูมือหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 100 สาํ หรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป (๓.๒) แผนการจดั ประสบการณร ายสัปดาห สัปดาหท.่ี ...... หนว ย “ฝน” ชัน้ อนุบาลศกึ ษาปท่ี ๓ วันที่ เคลื่อนไหวและจังหวะ เสริมประสบการณ กจิ กรรม การเลน ตามมุม การเลนกลางแจง เกมการศึกษา ศิลปะสรา งสรรค ๑ - เคลือ่ นไหวพืน้ ฐาน เร่อื ง วัฏจักรของนํ้า - วาดภาพอสิ ระดวยสีเทยี น - เลนตามมมุ เลน / - เกมวง่ิ หลบหลกี ส่ิงกีดขวาง - เกมพ้นื ฐานการบวก - เคลื่อนไหวรางกาย - ทดลองตม น้าํ ใหเด็กสงั เกตการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กดิ ขนึ้ - ฉีดสนี ํา้ สรางภาพ หรือมมุ ประสบการณ - เลนเครอ่ื งเลนสนาม รูปเมฆ ๕ - ๙ ตามเพลงฉันคอื เมฆ - เดก็ ตั้งสมมตฐิ านและทดสอบสมมติฐานส่งิ ทีอ่ าจเกดิ ขึน้ - ตัดกระดาษทําท่ีคาดศรี ษะ - แนะนําหนังสือเก่ยี วกับ เม่อื นํากระจกมาองั ไอนา้ํ รูปหยดนํา้ หรือเมฆ ฝนและนาํ้ ทม่ี มุ หนังสอื - สนทนาเรือ่ งวฏั จักรของน้าํ โดยใชภ าพประกอบ เพอ่ื ใชป ระกอบกิจกรรม เคลือ่ นไหวและจงั หวะ ๒ - เคล่อื นไหวพน้ื ฐาน เร่อื ง เหตุการณท ี่สมั พันธก บั การเกิดฝน - วาดภาพอิสระดวยสเี ทียน เลนตามมุมเลน/ - เลน เครือ่ งเลนสนาม - เกมเรยี งลําดับการเติบโต - ฟง เพลงบรรเลง และทาํ ทา ทาง - อภปิ รายเกยี่ วกบั เหตกุ ารณน ้ําทว มจากภาพขาว - เทสีสรา งภาพวนั ฝนตก หรือมมุ ประสบการณ ของตนไม ๕ ลําดบั ตามจินตนาการประกอบการใช - นําภาพลิงมาใหเดก็ ดู สนทนาเกีย่ วกับการกนิ ของลงิ - พมิ พภาพดวยแกนกระดาษ แถบผา - เดก็ ทดลองสรางแกมลงิ ดวยดินเหนยี ว ชําระ - สรุปเรอ่ื งโครงการแกมลงิ ๓ - อบอุนรางกาย เรอื่ ง การปฏิบตั ติ นเมือ่ ฝนตก - วาดภาพอิสระดว ยสีเทียน เลน ตามมุมเลน/ - โยนและรบั ลูกบอล - เกมจบั คูภาพเหมือน - กายบรหิ ารประกอบเพลง - รองเพลงหลบฝน - วาดภาพอสิ ระดว ยสีโปสเตอร หรอื มุมประสบการณ - เลน เครือ่ งเลนสนาม คนกางรม ออกกาํ ลงั กายรับแสงตะวัน - สนทนาเก่ยี วกับการหลบฝนและการใชอ ุปกรณกันฝน - ปนขผ้ี ้งึ - ผอนคลายกลา มเนือ้ - เดก็ ทาํ งานเปน กลมุ รว มกันแกปญหาโดยสมมตวิ า ไมมอี ปุ กรณกันฝน ๔ - เคล่ือนไหวพ้ืนฐาน เรือ่ ง โรคทพ่ี บบอ ยในฤดฝู น และการปอ งกนั - วาดภาพอสิ ระดว ยสีเทียน - เลน ตามมุมเลน/ - เลนน้ํา เลน ทราย - เกมจดั หมวดหมภู าพกบั - แบงเด็กเปน ๕ กลมุ แตละกลมุ - อานนทิ าน เรือ่ ง หนผู กั บุงเปนไขเลอื ดออก ใหเ ดก็ ฟง ระบายสีน้าํ หรือมมุ ประสบการณ - เลนเคร่ืองเลน สนาม สัญลักษณ ฝนตก ฟาแลบ เคลื่อนไหวตามผนู าํ ของกลุมตน - เด็กต้งั คาํ ถามเพือ่ สมั ภาษณครูพยาบาลเก่ียวกับ - ทําการด ขอบคณุ ครู - แนะนาํ อปุ กรณเ ลน สมมติ ฟารอง และฟาผา โรคท่พี บบอยในฤดูฝน และการปอ งกัน พยาบาล ท่มี ุมหมอ - สาํ รวจและทาํ ลายแหลง เพาะพันธยุ งุ ลายในโรงเรยี น - พบั กระดาษเปน รม ๕ - เคลือ่ นไหวพืน้ ฐาน เรือ่ ง เหตุการณทสี่ มั พนั ธก บั การเกดิ ฝน - ศิลปะแบบรว มมอื ประดษิ ฐ - เลนตามมมุ เลน/ - โพงพาง - เกมโดมิโนจํานวนเครอ่ื งบนิ - เคล่ือนไหวตามและปฏบิ ัติ - เลาเรอื่ งฝนหลวง ประกอบอุปกรณ เครือ่ งบนิ ฝนหลวง หรือมุมประสบการณ - เลนเคร่อื งเลนสนาม ฝนหลวง ๑ - ๑๐ ตามคาํ ส่งั จดั กลุม ๕ - ๗ คน - สนทนาเกยี่ วกับพระมหากรุณาธคิ ุณของรัชกาลที่ ๙ - เพม่ิ มมุ อปุ กรณประกอบ - กราบพระบรมฉายาลักษณ การเลน เรอ่ื งฝนหลวง

(๓.๓) แผนการจดั ประสบการณรายวนั สัปดาหท .่ี .............วันท.ี่ ...................................หนวย “ฝน” ชน้ั อนบุ าลศกึ ษาปท่ี ๓ จุดประสงคก ารเรียนรู สาระการเรยี นรู กิจกรรมการเรียนรู สือ่ การประเมินผล กิจกรรมเคลื่อนไหวและ สังเกตพฤตกิ รรมเด็กขณะ จงั หวะ ประสบการณส าํ คัญ สาระท่คี วรเรียนรู ทําทาทางประกอบเพลง รว มกิจกรรมการ และดนตรี เคลือ่ นไหวประกอบเพลง การเคล่อื นไหว - ๑. กจิ กรรมเคล่อื นไหวพ้นื ฐาน ใหเดก็ เคล่อื นไหวรา งกายไปท่ัวบริเวณ ๑. เครือ่ งเคาะจังหวะ และดนตรอี ยางมีความสขุ ตามเสียงเพลง/ดนตรี อยา งอสิ ระตามจังหวะ เม่อื ไดย ินสญั ญาณหยุด ใหหยุดเคลอ่ื นไหวในทาน้ัน ๒. เพลงฉนั คือเมฆ สงั เกตการอธบิ ายเชอ่ื มโยง ทันที เหตแุ ละผลท่เี กดิ ขนึ้ ๒. เดก็ เคล่ือนไหวโดยทําทาทางประกอบเพลงฉนั คือเมฆ โดยใหแ ตล ะคน ตามวฏั จกั รของนา้ํ คิดทา ทางอยางอิสระ และทําซํา้ ตามความเหมาะสม ๓. เด็กผอ นคลายกลา มเนื้อ กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ ๑. การสงั เกตลกั ษณะ วฏั จกั รของนํา้ ขนั้ นํา ๑. น้ํา อธิบาย เชอ่ื มโยงเหตุและผล สว นประกอบ ๑. รว มกนั แสดงความเห็นวา ในอากาศมนี ํ้าอยูหรอื ไม ทราบไดอ ยางไร ๒. ภาชนะสาํ หรับตม นํ้า ที่เกดิ ขึน้ ตามวฏั จักรของ การเปลยี่ นแปลง ขั้นสอน ๓. กระจก นาํ้ ได และความสัมพนั ธ ๒. แนะนาํ อปุ กรณการทดลอง สรางขอ ตกลงในการสงั เกตส่งิ ท่ีเกดิ ขึ้น ๔. กระดาษปรฟู เมอื่ ตมน้ํา ๕. สเี ทยี น ของส่งิ ตา งๆ โดยใช ๓. เด็กอาสาสมคั รเทน้าํ ใสภ าชนะ แลว ตมนํา้ เด็กสงั เกตการเปลยี่ นแปลง ประสาทสัมผสั อยาง ทีเ่ กิดข้นึ และรวมกันลงความเหน็ วา น้าํ หายไปไหน เหมาะสม ๔. เดก็ ต้งั สมมตฐิ านวา ถา ตม น้ําแลว นาํ กระจกมาองั ไอน้ําที่ระเหย ๒. การอธิบายเช่อื มโยง จะเกิดอะไรขนึ้ และทดลองนาํ กระจกมาองั ทีไ่ อนํา้ เพื่อทดสอบสมมตฐิ าน สาเหตแุ ละผลทเี่ กิดขึน้ ๕. เดก็ มีสว นรวมในการบันทกึ ผลการทดลองโดยการวาดภาพ ครูถาม ในเหตกุ ารณห รือ คําถามและอธิบายเพม่ิ เติม เพอื่ เชอ่ื มโยงไปยงั แผนภาพวัฏจักรของน้าํ การกระทํา ขัน้ สรปุ ๓. การสืบเสาะ ๖. รว มกันอธบิ ายเชอื่ มโยงเหตแุ ละผลท่เี กดิ ขึ้นตามวัฏจักรของนาํ้ หาความรูเพื่อคนหา คําตอบของขอสงสยั ตางๆ คมู ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 101 สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

คูมอื หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ 102 สําหรับเด็กอายุ ๓ - ๖ ป จุดประสงคก ารเรยี นรู สาระการเรยี นรู กจิ กรรมการเรียนรู สอ่ื การประเมนิ ผล ประสบการณสําคัญ สาระที่ควรเรยี นรู ๑. รวมกันรองเพลงเสยี งฝน ๒. แนะนํากจิ กรรมศิลปะสรางสรรค ประกอบดวย กิจกรรมศิลปะสรางสรรค ๑. การเขียนภาพ - ๑. เพลงเสยี งฝน ๑. สังเกตพฤตกิ รรมขณะ และกิจกรรมการเลน และการเลนกับสี ๒.๑ วาดภาพอิสระดวยสเี ทียน ๒. กระดาษ ทํางานศิลปะ ตามมมุ ๒. การปน ๒.๒ ฉดี สีน้ําสรางภาพ ๓. สเี ทียน ๒. สงั เกตพฤตกิ รรม ๑. สรางผลงานศลิ ปะเพือ่ ๓. การใชก รรไกร ๒.๓ ตดั กระดาษทาํ ที่คาดศีรษะรปู หยดน้ําหรอื เมฆ ๔. สีนา้ํ ใสก ระบอกฉดี นาํ้ การกลา พูดกลา แสดงออก สอ่ื ความคิด ความรูส กึ ของ การตดั การปะ ๓. แนะนาํ หนังสอื เก่ยี วกับฝนและน้ําทม่ี มุ หนงั สือ ๕. แถบกระดาษ ในการเลา เร่อื งเพอ่ื นําเสนอ ตนเอง โดยมกี ารดัดแปลง ๔. การทาํ กจิ กรรม ๔. เด็กเลอื กทาํ กิจกรรมสรางสรรค ๒ กิจกรรม ตามความสนใจ เมื่อทาํ ๖. รูปโครงรางหยดนา้ํ และ ผลงาน แปลกใหมจากเดมิ และ ศลิ ปะตา งๆ ผลงานเสร็จ ใหน ํามาใหครูเขียนบรรยายภาพหรือผลงาน เมฆ ๓. สังเกตพฤติกรรม มีรายละเอียดเพิม่ ข้นึ ๕. การเลนตาม ๕. เดก็ เลอื กเลนตามมุมประสบการณ เม่ือหมดเวลาครใู หส ญั ญาณ ๗. กรรไกร การแสดงความพอใจ ๒. ใชกรรไกรตดั กระดาษ มมุ ประสบการณ/ เดก็ ชว ยกนั เก็บของ ๘. กาว ในผลงานของตนเอง ตามแนวเสน โคง ได มมุ เลนตางๆ ๖. เด็ก ๔ - ๕ คน นาํ ผลงานออกมานําเสนอ ใหเพ่อื นถามคําถามหรือ ๙. มุมเลน หรอื ๓. กลาพดู กลา แสดงออก ๖. การพดู อธบิ าย แสดงความคิดเห็น มุมประสบการณ อยา งเหมาะสม เกยี่ วกบั ส่งิ ของ ในหอ งเรียน ๔. แสดงความพอใจ เหตุการณ และความ ๑. เดก็ นาํ กลองกระดาษไปวางกระจายใหทั่วพนื้ ที่ ในผลงานของตนเองและ สัมพันธของสิง่ ตา งๆ ๒. อธิบายวธิ ีการหลบหลีกสงิ่ กีดขวาง อาจเดิน มดุ ลอด กระโดด ผอู ืน่ เดนิ ซิกแซก ฯลฯ อยางอสิ ระตามความคดิ ของเดก็ - เด็กเขา แถวเปนแถวตอน ๓ แถว กิจกรรมการเลนกลางแจง การเคลือ่ นไหวโดย การขา มสิ่งกดี ขวาง - เดก็ คนทยี่ นื หวั แถวเคลอื่ นที่หลบส่ิงกีดขวางทวี่ างไวจ ากฝง ทีย่ นื ๑. กลองกระดาษ/อุปกรณ สงั เกตการเคลอื่ นไหว หลบหลกี สิง่ กดี ขวางได ควบคมุ ตนเองไป ดวยวิธตี า งๆ เชน เดนิ ไปยังอีกฝง หนึง่ โดยระวงั ไมใ หช นกลองกระดาษ/อุปกรณทว่ี าง สําหรับขามสงิ่ กดี ขวาง เชน หลบหลีกส่ิงกดี ขวาง มุด ลอด ฯลฯ ๓. เดก็ เลนเกมหลบหลกี สิ่งกดี ขวาง ๓ - ๔ รอบ ตามความตองการ กรวยยาว แทง ไม กลอง ในทศิ ทาง ระดับ และ หรอื เลือกเลนเคร่ืองเลน สนามอสิ ระ ขนาดตา งๆ อาจปด ทึบหรอื พ้นื ที่ ๔. ใหสัญญาณหยุดเลน และพาเด็กไปทาํ ความสะอาดรา งกาย กลอ งท่เี ด็กลอดได ๑. แนะนาํ เกมพื้นฐานการบวกรูปเมฆ ๕ - ๙ ๒. เครือ่ งเลนสนาม ๒. แบงเด็กเปน ๔ กลุม ใหเ ด็ก ๑ กลมุ รบั เกมที่แนะนาํ ไปเลน กลุม อ่นื ๆ กจิ กรรมเกมการศกึ ษา การนบั และแสดง - จาํ นวนของส่ิงตา งๆ เลนเกมการศึกษาชุดเดิม ๑. เกมพน้ื ฐานการบวก สงั เกตการเลน เกม เดก็ จดั กลมุ ภาพ เพื่อแสดง จาํ นวนของสิง่ ตา งๆ และการเพ่มิ จาํ นวน ๓. เด็กเก็บเกมการศกึ ษา รูปเมฆ ๕ - ๙ การศกึ ษา ผลรวมจาํ นวน ๕ - ๙ ในชีวติ ประจําวัน ๒. เกมชุดเดิมทีเ่ คยเลน

(๓.๔) แบบบันทึกหลงั การจดั ประสบการณ สปั ดาหท่ี.............. หนว ย “ฝน” ชนั้ อนุบาลศึกษาปท ่ี ๓ คาํ ชแ้ี จง ทําเครอื่ งหมาย ✓ เมอ่ื พบพฤติกรรมตามจุดประสงคก ารเรยี นรู หรอื ทาํ เครอ่ื งหมาย เมอื่ ไมพ บพฤติกรรมตามจุดประสงคก ารเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู เลขที่ ช่ือ สกลุ ๑. ปฏิบั ิตตนอยางปลอดภัยเ ืม่อฝนตกไ ด หมายเหตุ ๒. หลบหลีก ่ิสง ีกดขวางไ ด ๓. ัรบลูกบอล ่ีทกระดอน ้ขึนจาก ืพ้นได ๔. ใชกรรไกร ัตดกระดาษตามแนวเ สนโ คงได ๕. ก ลาพูดก ลาแสดงออกอยางเหมาะสม ๖. แสดงความพอใจในผลงานของตนเอง และ ูผอ่ืน ๗. รวมกิจกรรมการเคลื่อนไหวประกอบ เพลงและดนต ีรอยาง ีมความสุข ๘. รูเรื่องราวเกี่ยว ักบพระมหากรุณาธิคุณ ของสถา ับนพระมหาก ัษตริยไทย ๙. ทํางานรวมมือ ักบเ ื่พอนในการประ ิดษฐ เค ื่รอง ิบนฝนหลวงไ ด ๑๐. ัจดก ลุมภาพเ ื่พอแสดงผลรวม จํานวน ๕-๙ ๑๑. อธิบาย เชื่อมโยงเหตุและผล ีท่เกิด ้ึขน ตาม ัวฏจักรของ ้ํนาไ ด ิว๑ธี๒.แ กรปะบุญ ปหาญเห่มืาอไสมรมีา ุองปทากงรเลืณอกักนฝแนลไะเดลือก ๑๓. สรางผลงาน ิศลปะเพ่ือ ่สือความคิด ความรู ึสกของตนเอง โดยมีการดัดแปลง แปลกให มจากเดิม และ ีมรายละเ ีอยดเ ่ิพมขึ้น ๑๔. คนหา ํคาตอบเกี่ยว ักบโรคไขเลือดออก และการปอง ักนได “๑อ๕.ยาใง ชไรปร”ะใโนยกคาคํราคถนามหาวาคํา“ตเอ่ืมบอไร” หรือ ๑ เดก็ ชาย.......... ๒ เด็กชาย.......... ๓ เด็กชาย.......... ..... ...................... ..... ...................... ..... ...................... ๒๘ เดก็ หญิง........ ๒๙ เด็กหญิง........ ๓๐ เด็กหญงิ ........ บันทกึ ผลการจัดกิจกรรม (อาทิ ความยากงายของกิจกรรมที่กาํ หนด ความเหมาะสมของส่ือ ระยะเวลาในการจดั กิจกรรม การตอบสนองของเดก็ ตอ กจิ กรรม ลักษณะการเรยี นรูข องเด็ก) ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................... คูมือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ 103 สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป ลงชอื่ ...............................................ผูบันทกึ

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปบทท่ี ๖ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐การจัดสภาพแวดลอ ม สือ่ และแหลง เรยี นรู เพ่ือสง เสรมิ พัฒนาการและการเรยี นรขู องเด็ก การจดั สภาพแวดลอ ม สอื่ และแหลง เรยี นรสู าํ หรบั การจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั มคี วามสาํ คญั ตอ เดก็ เนอ่ื งจากธรรมชาตขิ องเด็กในวัยนส้ี นใจท่ีจะเรียนรู คนควา ทดลอง และตอ งการสมั ผสั กับส่งิ แวดลอ มรอบๆ ตวั อีกทั้งสภาพแวดลอม ส่ือ และแหลงเรียนรู เปนตัวกลางนําความรูจากผูสอนสูเด็ก ทําใหเด็กเกิดการเรียนรู ตามจุดประสงคท่ีวางไว ชวยใหเด็กไดรับประสบการณตรง ทําใหสิ่งที่เปนนามธรรมเขาใจยาก เปล่ียนเปน รปู ธรรมท่ีเดก็ เขา ใจงาย เรยี นรูไดง า ย รวดเรว็ เพลิดเพลิน เด็กสามารถเรยี นรจู ากการเลน ทีเ่ ปนประสบการณตรง ที่เกิดจากการรับรูดวยประสาทสัมผัสทั้งหา เกิดการเรียนรูและคนพบดวยตนเอง ดังนั้น การจัดสภาพแวดลอม สอ่ื และแหลง เรยี นรตู ามความตอ งการของเดก็ จงึ มคี วามสาํ คญั ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั พฤตกิ รรมและกระบวนการเรยี นรขู องเดก็ ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียนของสถานศึกษา ใหสอดคลองกับเปาหมายของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ตามบริบทของสถานศึกษาและทองถิ่นอยางเหมาะสม เพื่อสงผลใหบรรลุจุดหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย 104 ตอ ไป การจัดสภาพแวดลอม การเรยี นรขู องเดก็ ปฐมวยั จะเปน ไปอยา งราบรน่ื และมปี ระสทิ ธภิ าพ ถา หากเดก็ อยใู นสภาพแวดลอ ม ท่ีเหมาะสม มีการสนับสนุน อํานวยความสะดวกจากผูใหญ ภายใตบรรยากาศที่มีความสุข ไมเครงเครียดดวย กฎระเบยี บที่เครง ครดั หรือยากตอ การปฏบิ ัติ การจัดสภาพแวดลอ ม จงึ จดั แบง เปน ๓ ดา น ดงั น้ี ๑. การจัดสภาพแวดลอมดา นกายภาพ เปนการจัดการสภาพแวดลอมตามแนวคิดเรื่องการตอบสนองความตองการพ้ืนฐานและการเรียนรู โดยการปฏิสัมพันธกับส่ิงแวดลอม การจัดการจึงมีเปาหมายใหเด็กอยูรวมกันอยางมีสุขอนามัยท่ีดี มีพ้ืนที่ ในการตอบสนองการทํากิจกรรมตางๆ อยางคลองตัว และตอบสนองการทํากิจกรรมที่หลากหลาย ลักษณะ การจัดการจึงเนนในเรื่องของความสะอาด ความปลอดภัย ความสะดวกที่จะทําใหรูสึกคลองตัว สดใส กระฉับกระเฉง ความพรอมของหองเรียนในสถานศึกษาที่มีลักษณะกายภาพที่ดี คือ มีการถายเทอากาศที่ดี มีอุณหภูมิที่เหมาะสม มีแสงสวางพอเพียง มีความสงบที่จะทํากิจกรรมอยางสบายและมีสมาธิ มีท่ีใหเก็บ วัสดุของใชและผลงาน มีท่ีจัดแสดงเพื่อการส่ือสารขอมูล แตละจุดของพ้ืนที่จะตองสะดวกในการเขา - ออก ผสู อนสามารถเขาไปดูแลไดอ ยา งทว่ั ถึงในทุกพ้ืนที่ สภาพแวดลอ มในหอ งเรยี น หลกั การสาํ คญั ในการจดั ตอ งคาํ นงึ ถงึ ความปลอดภยั ความสะอาด เปาหมายการพัฒนาเด็ก ความเปนระเบียบ ความเปนตัวของเด็กเอง ใหเด็กเกิดความรูสึกอบอุน มั่นใจ และมี ความสุข โดยคาํ นึงถึงเรอ่ื งตอ ไปน้ี

๑. การจัดวางวัสดุอุปกรณ สื่อ เคร่ืองเลน ครุภัณฑ ควรจัดใหเหมาะสม สอดคลองกับวัยและ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป พัฒนาการ เพอื่ ใหเดก็ สามารถใชห รอื ทาํ กิจกรรมไดสะดวกดวยตนเอง หากวสั ดุอปุ กรณ ส่ือและเครือ่ งเลนชํารดุ ตอ งรีบซอมแซมโดยเร็ว 105 ๒. วสั ดอุ ปุ กรณ สอ่ื เครอ่ื งเลน ครุภณั ฑ ควรใหม ขี นาดเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๓. การจัดพ้ืนที่ในหองเรียนควรจัดใหเหมาะสม เลือกที่ตั้งครุภัณฑ อุปกรณตางๆ และ มมุ ประสบการณ โดยคาํ นงึ ถงึ ทศิ ทางลม แสงสวา งเพยี งพอตอ การทาํ กจิ กรรม ไมม แี สงแดดสอ งรบกวนสายตาเดก็ ขณะปฏิบัตกิ ิจกรรม ทุกจดุ ของหองสามารถมองเหน็ ไดโดยรอบ การจัดวางครภุ ัณฑแ ละอปุ กรณ สะดวกตอ การ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม มกี ารกาํ หนดขอบเขตของมมุ ประสบการณ/ มมุ เลน ตา งๆ โดยใชค รภุ ณั ฑ/ ชน้ั วางทใี่ หเ หน็ ขอบเขต ๔. สภาพแวดลอมในหอ งควรมีความสะอาดและปลอดภัยจากสัตว แมลง พชื และสารเคมที ่มี ีพษิ ครภุ ัณฑ โตะ เกา อ้ี ไมควรมมี ุมแหลมทเี่ ปนอนั ตราย ๕. การแบง พื้นทใี่ นหอ งเรียนใหเ หมาะสมกบั การประกอบกิจกรรมตามหลกั สูตร ดังน้ี ๕.๑ พ้นื ทีอ่ ํานวยความสะดวกเพ่ือเดก็ และผสู อน เชน ๑) ทแ่ี สดงผลงานของเดก็ อาจจัดทาํ เปน แผน ปา ยหรอื ทแ่ี ขวนผลงาน ๒) ท่เี กบ็ แฟมผลงานของเด็ก อาจจดั ทําเปนกลองหรือจัดใสแฟมรายบคุ คล ๓) ที่เก็บเครอื่ งใชสวนตวั ของเดก็ อาจจัดทําเปนชองครบตามจาํ นวนเดก็ ๔) ทเี่ ก็บเคร่ืองใชของผูสอน เชน อปุ กรณก ารสอน ของใชส ว นตัวผสู อน ฯลฯ ๕) ปา ยนิเทศตามหนว ยการจัดประสบการณห รือสงิ่ ทเี่ ด็กสนใจ ๕.๒ พนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ จิ กรรมและการเคลอ่ื นไหว ตอ งกาํ หนดใหช ดั เจน ควรมพี นื้ ทท่ี เี่ ดก็ สามารถ จะทํางานไดดวยตนเอง และทํากิจกรรมดวยกันในกลุมเล็กหรือกลุมใหญ เด็กสามารถเคลื่อนไหวไดอยางอิสระ จากกจิ กรรมหน่งึ ไปยงั อีกกิจกรรมหนึ่งโดยไมร บกวนผูอน่ื ๕.๓ พน้ื ทจี่ ดั มมุ เลน หรอื มมุ ประสบการณ สามารถจดั ไดต ามความเหมาะสม ขนึ้ อยกู บั สภาพ ของหอ งเรยี น จดั แยกสว นทใี่ ชเ สยี งดงั และเงยี บออกจากกนั เชน มมุ หนงั สอื อยหู า งจากมมุ บลอ็ ก มมุ บทบาทสมมติ อยูติดกับมุมบล็อก มุมวิทยาศาสตรอยูใกลมุมศิลปะสรางสรรค ท่ีสําคัญจะตองมีของเลน วัสดุอุปกรณในมุม อยา งเพยี งพอตอ การเรยี นรขู องเดก็ การเลน ในมมุ เลน ตามมมุ ประสบการณม กั ถกู กาํ หนดไวใ นตารางกจิ กรรมประจาํ วนั เพ่อื ใหโ อกาสเด็กไดเ ลน อยา งเสรี ประมาณวันละ ๑ ชว่ั โมง การจดั มุมเลน ตางๆ ผูสอนควรคํานึงถึงสงิ่ ตอไปนี้ ๑) ในหอ งเรยี นควรมมี ุมเลน อยางนอ ย ๓ - ๕ มมุ ท้ังนี้ ขึ้นอยกู บั พ้ืนทแี่ ละขนาดของหอง ๒) ควรมีการผลัดเปล่ียนส่ือของเลนตามมุม เชน จัดของเลนตามหนวยการจัด ประสบการณและตามความสนใจของเดก็ ๓) ควรจัดใหมีประสบการณที่เด็กไดเรียนรูไปแลว จัดวางอยูในมุมเลนตามมุม เชน เดก็ เรียนรู เรอ่ื งการเปลีย่ นแปลงของสี ผูส อนอาจจัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณใ หเด็กไดเลน ทดลอง ๔) ควรเปดโอกาสใหเด็กมีสวนรวมในการจัดมุมเลนตามมุม เพ่ือจูงใจใหเด็กรูสึกเปน เจาของ อยากเรียนรู อยากเขา เลน ๕) ควรเสรมิ สรา งวนิ ัยเชงิ บวกใหก บั เดก็ เชนสรางขอ ตกลงรว มกนั วา เมอื่ เลนเสรจ็ แลว จะตองจัดเก็บอุปกรณท กุ อยา งเขาท่ใี หเรยี บรอย

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปตัวอยางมมุ เลนหรือมุมประสบการณทีค่ วรจดั มดี ังน้ี มมุ บลอ็ ก คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐มมุ บลอ็ ก เปน มมุ ทจี่ ดั เกบ็ บลอ็ กไมต นั ทม่ี ขี นาดและรปู ทรงตา งๆ กนั เดก็ สามารถนาํ มาเลน ตอ ประกอบกนั เปน สงิ่ ตา งๆ ตามจนิ ตนาการหรอื ความคดิ สรา งสรรคข องตนเอง นอกจากนคี้ วรมสี อื่ อนื่ ๆ เพอ่ื ประกอบ การเลน เชน ยานพาหนะจําลอง สัตวจ ําลอง ฯลฯ การจดั มมุ บลอ็ ก เปน มมุ ทค่ี วรจดั ใหอ ยหู า งจากมมุ ทตี่ อ งการความสงบ เชน มมุ หนงั สอื ทง้ั น้ี เพราะ เสียงจากการเลน กอไมบ ลอ็ กอาจรบกวนสมาธเิ ดก็ ท่อี ยูในมุมหนงั สอื ได นอกจากนี้ ควรอยหู างจากทางเดินผาน หรือทางเขา - ออกของหอง เพอ่ื ไมใ หก ดี ขวางทางเดนิ หรือเกิดอันตรายจากการเดินสะดุดไมบ ลอ็ ก ถา กรณีเด็ก ยังเลนไมเสร็จ ผูสอนและเด็กรวมกันกําหนดพ้ืนท่ี โดยใชสัญลักษณสีหรือเครื่องหมายการจราจรมาก้ันไว เพื่อใหเดก็ กลบั มาเลน ตอได การจัดเกบ็ ไมบลอ็ กเหลานี้ ควรจัดวางไวในระดบั ที่เด็กสามารถหยิบมาเลน หรอื นําเกบ็ ดว ยตนเองไดอ ยา งสะดวก ปลอดภยั และควรฝก ใหเ ดก็ หดั จดั เกบ็ เปน หมวดหมเู พอื่ ความเปน ระเบยี บ และสะดวก ตอ การหยิบใชแ ละเกบ็ คนื โดยทําภาพสญั ลกั ษณร ปู รา งของไมบล็อกตดิ ไวทีช่ อ งจดั เกบ็ มมุ หนังสอื ในหอ งเรยี นควรมบี ริเวณท่เี งยี บสาํ หรับใหเ ดก็ ไดด ูรปู ภาพ อา นหนังสือนทิ าน ฟงนทิ าน ผสู อนควรจัดมุมหนงั สือใหเด็กไดคนุ เคยกับตวั หนงั สือ และไดท ํากจิ กรรมตามลาํ พังหรอื เปน กลุมเล็กๆ 106 การจดั มุมหนังสือ เปนมุมท่ีตองการความสงบ ควรจัดหางจากมุมท่ีมีเสียง เชน มุมบล็อก มุมบทบาทสมมติ ฯลฯ และควรจัดบรรยากาศจูงใจใหเด็กไดเขาไปใชเพื่อใหเด็กเกิดความคุนเคยกับหนังสือ และปลูกฝงนิสัยรักการอาน ควรมีจํานวนหนังสือเพียงพอและเหมาะสมกับวัยของเด็ก ควรมีการหมุนเวียน เปล่ียนหนังสอื ตามโอกาส และเลอื กหนงั สือทส่ี งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมใหก บั เด็กดว ย มุมบทบาทสมมติ มมุ บทบาทสมมติ เปน มมุ ทจ่ี ดั ขนึ้ เพอ่ื ใหเ ดก็ มโี อกาสไดน าํ เอาประสบการณท ไ่ี ดร บั จากบา น หรือชุมชนมาเลน แสดงบทบาทสมมติ เลียนแบบบคุ คลตา งๆ ตามจินตนาการของตน เชน เปน พอ แมในมุมบา น เปนหมอในมุมหมอ เปนพอคาแมคาในมุมรานคา ฯลฯ การเลนดังกลาวเปนการปลูกฝงความสํานึกถึงบทบาท ทางสังคมทเ่ี ด็กไดพบเห็นในชวี ติ จรงิ การจดั มุมบทบาทสมมตินี้ ควรอยใู กลม ุมบลอ็ กและอาจจัดใหเปน สถานที่ตา งๆ นอกเหนอื จาก การจัดเปนบาน โดยสังเกตการเลน และความสนใจของเด็กวา มกี ารเปลย่ี นแปลงบทบาทการเลนจากบทบาทเดิม ไปสูรูปแบบการเลนอ่ืนหรือไม อุปกรณที่นํามาจัดควรเปล่ียนไปตามความสนใจของเด็กเชนกัน ดังนั้น มุมบทบาทสมมติอาจจัดเปนบาน รานอาหาร รานขายของ รานเสริมสวย โรงพยาบาล ฯลฯ ในขณะเดียวกัน อปุ กรณท นี่ าํ มาจดั ใหเ ดก็ ตอ งไมเ ปน อนั ตราย มคี วามเหมาะสมกบั สภาพทอ งถนิ่ ควรหมนั่ ดแู ลและทาํ ความสะอาด

มมุ วิทยาศาสตรห รือมุมธรรมชาติ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป มมุ วทิ ยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติ เปน มมุ เลนที่ผูสอนจัดรวบรวมส่ิงของตางๆ หรอื สิ่งท่ี มีในธรรมชาติมาใหเด็กไดสํารวจ สังเกต ทดลอง คนพบดวยตนเอง ซ่ึงเปนการชวยพัฒนาทักษะกระบวนการ 107 คิดรวบยอด การคิดเชงิ เหตผุ ล การตดั สินใจ และแกป ญหาใหกับเด็ก การจดั คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ มุมวิทยาศาสตรหรือมุมธรรมชาติ เปนมุมที่ตองการความสงบคลายมุมหนังสือ จึงอาจจัดไวใกลกันได สิ่งของที่จัดวางตองคํานึงถึงความนาสนใจ ความเราใหสนใจอยากนํามาศึกษาทดลอง จงึ ควรอยใู นระดบั ทเี่ ดก็ หยบิ จบั ดวู สั ดอุ ปุ กรณเ หลา นนั้ ไดโ ดยสะดวก ควรมกี ารปรบั เปลยี่ นสง่ิ ของทน่ี าํ มาจดั แสดง อาจจดั ใหม กี ารทดลองอยางงา ยเพ่อื ใหเ ด็กไดเ รยี นรู สภาพแวดลอ มนอกหอ งเรยี น คอื การจดั สภาพแวดลอ มภายในบรเิ วณรอบๆ สถานศกึ ษา หรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั รวมทง้ั จดั สนามเดก็ เลน พรอ มเครอื่ งเลน สนาม จดั ใหม กี ารระวงั รกั ษาความปลอดภยั ภายในสถานศกึ ษา ดูแลรักษาความสะอาด ปลกู ตน ไมใ หความรม รน่ื รอบๆ บริเวณสถานศึกษา สิง่ ตางๆ เหลา น้ี เปนสวนหนึ่งทสี่ งผลตอการเรียนรแู ละพฒั นาการของเดก็ สภาพแวดลอ มนอกหอ งเรยี น ประกอบดวย ๑. สนามเดก็ เลน ควรมีพ้นื ผิวหลายประเภท เชน ดนิ ทราย หญา พืน้ ท่สี ําหรบั เลน ของเลน ทมี่ ลี อ รวมทงั้ ทร่ี ม ทโ่ี ลง แจง พน้ื ดนิ สาํ หรบั ขดุ ทเี่ ลน นา้ํ บอ ทราย พรอ มอปุ กรณป ระกอบการเลน เครอื่ งเลน สนามสาํ หรบั ปน ปา ย การทรงตวั ฯลฯ ทงั้ นี้ ตอ งไมต ดิ กบั บรเิ วณทมี่ อี นั ตราย หรอื วางตดิ กนั เกนิ ไปจนเกดิ อนั ตราย เวลาเด็กเลน หรอื เดินผาน ตองหม่ันตรวจตราเครอื่ งเลน ใหอยูในสภาพแขง็ แรง ปลอดภัยอยเู สมอ และหมนั่ ดูแล เรอื่ งความสะอาด ๒. ทน่ี งั่ เลน พกั ผอ น จดั ทนี่ ง่ั ไวใ ตต น ไมม รี ม เงา อาจใชก จิ กรรมกลมุ ยอ ยๆ หรอื กจิ กรรม ทต่ี อ งการความสงบ หรอื อาจจดั เปน พน้ื ทใี่ หค วามรู ประชาสมั พนั ธ ปา ยนเิ ทศ เพอื่ ใหค วามรแู กเ ดก็ และผปู กครอง ๓. บรเิ วณธรรมชาติปลกู ไมด อกไมป ระดบั แปลงปลกู พชื ผกั สวนครวั หากบรเิ วณสถานศกึ ษา มีไมม ากนกั อาจปลกู พชื ในกระบะ หรอื กระถาง หรือเศษวสั ดใุ นทองถิน่ ๔. หองปฏบิ ตั ิการและอาคารประกอบตางๆ เชน โรงอาหาร เรอื นเพาะชาํ หองสมดุ หองปฏบิ ัตกิ ารตางๆ ควรจัดใหมพี ้ืนท่ีสาํ หรบั ใหเดก็ ทํากจิ กรรมและเรียนรู ทสี่ ะอาดและปลอดภัยสําหรบั เดก็ ๒. การจัดสภาพแวดลอ มดานจิตภาพ เปน การจดั การสภาพแวดลอ มตามแนวคดิ เรอื่ งการเรยี นรอู ยา งมคี วามสขุ การจดั การสภาพแวดลอ ม ดานจิตภาพจึงเปนการจัดเพ่ือใหเกิดบรรยากาศท่ีดีในการอยูรวมกัน ซึ่งจะเกิดความสะดวก ปลอดภัย ราบร่ืน จากการทํากกิจกรรมในหองที่มีลักษณะทางกายภาพท่ีเหมาะสม และมีการปฏิบัติตอกันท่ีเหมาะสมของ ผูท่ีอยูในสภาพแวดลอมทั้งเด็กและผูสอน นอกจากน้ียังรวมถึงขอตกลงท่ีทุกคนสามารถปฏิบัติรวมกันไดและ เกดิ ความสขุ ในการอยรู ว มกนั การจดั สภาพแวดลอ มดา นจติ ภาพจงึ มเี ปา หมายเพอ่ื ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรกู ารอยรู ว มกนั ในสภาพแวดลอ มแหงความสุข ผูสอนมีทาทที ีอ่ บอนุ ใหความมน่ั ใจแกเ ดก็ สนับสนุนใหเ ดก็ ไดป ระสบความสําเร็จ ในกิจกรรมตางๆ มีสถานที่ที่เด็กสามารถมีความเปนสวนตัว หรือเม่ือตองการอยูตามลําพัง ตองการความสงบ

ใหอิสระเด็กในการส่ือสาร เคลื่อนไหว ทํากิจกรรมตางๆ รวมท้ังขอตกลงตางๆ สามารถยืดหยุนไดเม่ือจําเปน การจดั สภาพแวดลอมดานจติ ภาพ มีรายละเอียดดังน้ี บุคลิกภาพผสู อน บคุ ลกิ ภาพผสู อนชว ยเสรมิ บรรยากาศในการเรยี นรใู หเ กดิ ขนึ้ ในหอ งไดเ ปน อยา งดี ยม้ิ แยม แจม ใส มีกิริยามารยาทแบบไทย แตงกายเหมาะสมกับวัฒนธรรมทองถ่ิน ใชภาษาถูกตองชัดเจน เต็มใจตอบคําถาม ของเดก็ พูดกบั เด็กดวยเสยี งนุมนวลเปนมติ ร และพดู ช้ีแจงเหตุผลแกเ ดก็ ดว ยน้าํ เสยี งปกติ การจัดการชั้นเรยี นของผูสอน ผูสอนควรใสใจดูแลใหเด็กอยูรวมกันในหองเรียนอยางมีความสุข พรอมท้ังเรียนรูสิทธิและ หนา ท่ขี องตน มกี ารสรา งขอตกลงในการปฏบิ ตั ิตนรวมกันระหวา งผูส อนกับเดก็ และเด็กกับเดก็ การแบงหนา ที่ ความรบั ผดิ ชอบ มีแนวทางปฏิบัตเิ มอ่ื เดก็ ไมท ําตามขอ ตกลง และแกไ ขปญ หาเมอื่ มขี อขดั แยงเกิดขึ้น การสรางความสัมพันธระหวางผสู อนกบั เดก็ ความสมั พนั ธอนั ดีระหวา งผูสอนกับเด็กชวยเสรมิ สรา งใหเดก็ รูสกึ อบอุน ปลอดภยั สรา งความมนั่ ใจ ในตนเอง และเกิดความรูสึกที่ดีตอตนเอง ผูสอนควรสรางความสัมพันธกับเด็กดวยทาทาง เชน ย้ิม สัมผัส ทักทายและพูดคุยกับเด็ก ดูแลเด็กท่ีมีปญหาสุขภาพ ไมสบาย หรือตองการกําลังใจ รับฟงเมื่อเด็กพูดดวย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ใหโ อกาสเด็กท่ตี อ งการพูดคยุ กับผสู อน ตอบเมื่อเด็กถาม และยอมรบั การชว ยเหลือของเดก็ การสรางความสมั พันธร ะหวางเด็กกบั เดก็ ความสัมพันธท่ีดีระหวางเด็กกับเด็กในสถานศึกษา จะทําใหเด็กอยูรวมกันอยางมีความสุข และลดปญหาความขัดแยงระหวางเด็กกับเด็ก ผูสอนควรจัดใหมีกิจกรรมที่สงเสริมความสัมพันธท่ีดีระหวาง 108 เดก็ กบั เดก็ โดยการจดั กจิ กรรมทสี่ ง เสรมิ การชว ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั สรา งความรบั ผดิ ชอบในการทาํ งาน ใหเ ดก็ ได คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ รวมคิด รวมทาํ และรวมแกปญหา เชน การจดั ของเลน การดแู ลความสะอาด การทํางานกลมุ เปน ตน การสรา งความสัมพนั ธระหวา งผูปกครองกบั สถานศึกษา ผสู อนมบี ทบาทสาํ คญั ยงิ่ ในการสนบั สนนุ และสง เสรมิ ใหเ กดิ ความสมั พนั ธร ะหวา งผปู กครองกบั สถานศกึ ษา ผสู อนจงึ ควรสรา งความสมั พนั ธก บั ผปู กครองดว ยการจดั ทาํ ปา ยนเิ ทศหรอื ลานนทิ รรศการ ซง่ึ มสี าระ เกยี่ วกบั เดก็ ผปู กครอง ชมุ ชน และโรงเรยี น จดั ทาํ จดหมายขา วถงึ ผปู กครองหรอื การสอ่ื สารผา นสอ่ื และเทคโนโลยี กระตุนใหผูปกครองแลกเปล่ียนเรียนรูกับทางโรงเรียน สนับสนุนใหผูปกครองเย่ียมช้ันเรียนของเด็ก จัดประชุม พบปะระหวางผูปกครองและผูส อน รวมทง้ั เปด โอกาสใหผูปกครองไดท าํ งานอาสาสมคั รรวมกับทางโรงเรียน ๓. การจัดสภาพแวดลอ มดานสงั คม เปน การจดั การสภาพแวดลอ มทเ่ี กดิ จากแนวคดิ เรอ่ื งการเรยี นรทู างสงั คมของเดก็ ปฐมวยั ทเี่ รยี นรู ทางสงั คมจากการเลน การทาํ กิจกรรม และการทํางานรวมกบั ผูอื่นทง้ั เดก็ และผใู หญ การจดั การสภาพแวดลอ ม ดานสังคมจึงเปนการจัดการท่ีใหเด็กอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข สนับสนุนใหปฏิบัติตนในลักษณะที่สังคม ยอมรับและเกิดทักษะทางสังคม มีสัมพันธภาพท่ีดีกับผูอื่น สนับสนุนใหเกิดการแบงปนกัน ทั้งในดานความคิด ความรสู ึก พน้ื ท่ี และอปุ กรณตา งๆ จดั ใหมบี รรยากาศแบบประชาธปิ ไตย เดก็ ไดแ สดงความเห็นและมสี วนรวม ในการตดั สินใจตา งๆ เชน การกาํ หนดขอ ตกลง การแบงหนา ที่ การฝกการมวี ินัยในตนเอง

การเรียนรูของเด็กที่ไดปฏิสัมพันธสิ่งแวดลอมท้ังดานวัตถุและบุคคล ผูสอนจะตองพยายามจัด ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป สภาพแวดลอ มใหส อดคลอ งกบั ธรรมชาตขิ องเดก็ ใหเ ดก็ ไดท าํ กจิ กรรมรว มกบั ผอู นื่ กบั สง่ิ ของ และกบั กระบวนการตา งๆ รวมถึงใหเด็กไดมีปฏิสัมพันธกับประสบการณตางๆ และผูสอนจะตองมีการวางแผนการจัดกิจกรรมประจําวัน 109 ใหเ ดก็ ไดพ ฒั นาทง้ั รา งกายและสงั คม โดยการเตรยี มสอื่ วสั ดทุ เ่ี หมาะสม เพอ่ื กระตนุ ใหเ ดก็ ไดเ กดิ กระบวนการคดิ ใหเด็กไดเห็นความสัมพันธของสิ่งตางๆ โดยจัดสภาพแวดลอมใหเด็กไดปฏิสัมพันธกับผูคนและกระบวนการ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ตา งๆ อยางกวางขวาง การท่เี ดก็ อยูในสภาพแวดลอ มทีเ่ หมาะสม เดก็ จะพัฒนาความรูสึกทด่ี ตี อตนเอง เกิดความ เชือ่ ม่นั ในตนเอง และมคี วามคิดริเริ่มสรา งสรรค สอ� เปน ตวั กลางนาํ ความรจู ากผสู อนสเู ดก็ ทาํ ใหเ ดก็ เกดิ การเรยี นรตู ามจดุ มงุ หมายทกี่ าํ หนดไว การเรยี นรู ของเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป จาํ เปน ตอ งผา นการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ หรอื เกดิ จากการคน พบดว ยตนเอง เปน ประสบการณต รง ซง่ึ เดก็ จะเรยี นรจู ากสงิ่ ทเ่ี ปน รปู ธรรม หรอื มองเหน็ จบั ตอ งได ไปสสู ง่ิ ทเี่ ปน นามธรรมเมอ่ื เขา สอู ายทุ สี่ งู ขนึ้ การเรยี นรู ของเดก็ วัยนีจ้ งึ ขึ้นอยูกบั ของจรงิ ท่ีพบเห็น ของเลนทเี่ ลียนแบบของจริง นิทาน และเพลง ดังนี้ ๑. ของเลน ของเลน เปนสิ่งท่ีประกอบการเลนของเด็ก ของเลนชวยกระตุนใหเด็กเกิดการเรียนรูและเกิด ความม่นั ใจในการเลนของเลน อาจจดั ทาํ ข้ึนเองจากวสั ดุ สิ่งของ เศษวัสดุเหลอื ใชทมี่ อี ยูรอบตัวในชวี ติ ประจาํ วนั หรือเปนการเลือกซ้ือของเลนท่ีมีขายในทองตลาด ซ่ึงการจัดหาของเลนใหเด็กตองคํานึงถึงความปลอดภัยและ เหมาะกบั วัยของเดก็ ๑.๑ ลักษณะของเลนเด็ก ของเลน ที่เก่ยี วของกับการเลนของเด็ก แบง เปน ๑.๑.๑ ของจริง เปนของเลนทเี่ ปนสงิ่ ของหรอื เคร่ืองใชใ นชีวิตจรงิ ของจรงิ ทีเ่ ด็กเลน ได เชน ชอ น ถว ย ชาม หมอ จานพลาสติก ๑.๑.๒ ของเลนท่ีเลียนแบบของจริง เปนของเลนท่ีทําข้ึนใหมีรูปแบบเหมือนของจริง ท่มี ีอยใู นชวี ติ ประจาํ วนั อาจทําจากวัสดปุ ระเภทไม พลาสตกิ โลหะ หรอื กระดาษก็ได เชน ตกุ ตาสัตวขนออ นนุม ตุก ตาคน ลูกบอลเดก็ เลน รถเดก็ เลน ของเลนเครื่องครวั /เคร่ืองใชใ นบาน ๑.๑.๓ ของเลนสรางสรรค เปนของเลนที่ทําขึ้นไมมีรูปแบบที่แนนอนตายตัว สามารถ ประกอบเขา ดว ยกันใหเปน อะไรกไ็ ดตามความตอ งการหรือจนิ ตนาการของผเู ลน เชน ตวั ตอ พลาสตกิ พลาสติก สรางสรรค บลอ็ กพลาสตกิ /ไม วสั ดทุ ่ใี ชในการวาดภาพ/การปน /การประดษิ ฐ ๑.๑.๔ ของเลนเพ่ือการศึกษา เปนของเลนท่ีทําข้ึน ใหมีรูปแบบชวยพัฒนาทักษะ การสงั เกต ทกั ษะกลามเนอื้ มอื ประสานสัมพนั ธก บั ตา ทักษะการคดิ เชน ไมบ ลอ็ ก เกมภาพตัดตอ เกมโดมโิ น ๑.๑.๕ ของเลนพ้ืนบาน เปนของเลนท่ีทําข้ึนจากวัสดุตามธรรมชาติหรือวัสดุที่มีอยู ในทอ งถน่ิ ดว ย เชน โมบายปลาตะเพยี นใบลาน ตะกรอ ใบลาน ตกุ ตาสตั วท าํ จากฟาง กงั หนั ลมใบตาล ลอ กลง้ิ ไมไ ผ นก/ตั๊กแตนสานใบมะพรา ว กะลารองเทา ปใ บมะพราว และปน ดินเหนยี วรปู สตั ว

๑.๒ ประเภทของเลนเด็ก ของเลนเด็กมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของ การใชเลน แบงเปน ๑.๒.๑ ของเลน ฝก ประสาทสมั ผสั เปน ของเลน ทด่ี งึ ดดู ความสนใจของเดก็ ในการมองเหน็ ไดยิน และสัมผัส เชน ของเลน มีผวิ สัมผสั เรียบ - ขรขุ ระ ของเลนหยบิ จบั ไวใ นมอื ได เสียงเพลง ๑.๒.๒ ของเลน ฝก การเคลื่อนไหว เปน ของเลนทีเ่ คลือ่ นทไ่ี ป - มาได กระตุนใหเ ดก็ ใช กลา มเนือ้ แขน - ขา เชน ลูกบอล ของเลน ลากจงู ได ของเลน ไขลาน ของเลน มีลอ เลอื่ น ๑.๒.๓ ของเลน ฝก ความสมั พนั ธม อื และตา เปน ของเลน ทฝ่ี ก ใหเ ดก็ ไดพ ฒั นาการประสาน สัมพันธร ะหวางการใชก ลามเน้ือมอื และตาอยา งมจี ดุ หมาย เชน กระดานฆอนตอก กลองหยอดรปู ทรง ของเลน รอยลกู ปด เม็ดโต ของเลนรอยเชือกตามรู ของเลนผกู เชือก/รปู ซิป/ติดกระดมุ ๑.๒.๔ ของเลนฝกภาษา เปนของเลนท่ีชวยในการฟง การส่ือสารทางดานการฟง การพดู เลาเรื่อง เชน หนังสือภาพ นทิ าน เทป เพลงเดก็ เครอ่ื งดนตรี หนุ มือ ๑.๒.๕ ของเลนฝกการสังเกต เปนของเลนฝกทักษะการเปรียบเทียบ การจําแนกหรือ จัดกลุม เชน ของเลน รูปทรงเรขาคณติ แผนภาพจับคู บลอ็ กตา งสตี างขนาด ๑.๒.๖ ของเลน ฝก การคดิ เปน ของเลน สอนใหเ ดก็ มสี มาธแิ ละรจู กั แกป ญ หา คดิ ใชเ หตผุ ล ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป เชน ภาพตัดตอ ตวั ตอ ภาพปรศิ นา บลอ็ กไม ๑.๒.๗ ของเลนฝกความคิดสรางสรรค เปนของเลนท่ีสงเสริมใหเด็กสรางจินตนาการ ตามความนึกคิด หรือแสดงบทบาทสมมติ เชน บล็อกไม ตัวตอ ของเลนเครื่องครัว ของเลนรานคา ของเลน เครื่องมือแพทย 110 ๑.๓ การเลอื กของเลน เด็ก หลกั เกณฑท ่ีควรคาํ นึงถึง มดี งั น้ี คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑.๓.๑ ความปลอดภัยในการเลน ของเลนสําหรับเด็กอาจทําดวยไม ผา พลาสติก หรอื โลหะที่ไมมอี นั ตรายเกย่ี วกับผวิ สมั ผัสท่ีแหลมคม หรือมีชิน้ สว นทห่ี ลดุ หรือแตกหักงาย ตลอดจนทาํ ดวยวสั ดุ ที่ไมมพี ิษมภี ัยตอ เดก็ ในสที ีท่ าหรือสว นผสมในการผลติ มขี นาดไมเ ลก็ เกินไปจนทําใหเ ดก็ กลืน หรือหยิบใสรูจมูก หรือเขา ปากได รวมทั้งมนี าํ้ หนกั พอเหมาะทีเ่ ดก็ สามารถหยิบเลน เองได ๑.๓.๒ ประโยชนในการเลน ของเลนท่ีดีควรชวยเราความสนใจของเด็กใหอยากรู อยากเหน็ มสี ีสันสวยงามสะดดุ ตาเด็ก มกี ารออกแบบทส่ี ง เสรมิ ใหเด็กใชค วามคิดและจนิ ตนาการทีจ่ ะเลนอยา ง ริเร่ิมสรางสรรคหรือแกปญหา ชวยในการพัฒนากลามเน้ือ การเคลื่อนไหวและการใชมือไดอยางคลองแคลว ท้งั ยังเสรมิ สรางการพัฒนาประสาทมือและตาใหสมั พันธก ัน ๑.๓.๓ ประสิทธิภาพในการใชเลน ของเลนท่ีเหมาะในการเลนควรมีความยากงาย เหมาะกับระดับอายุและความสามารถตามพัฒนาการของเด็ก ของเลนท่ียากเกินไปจะบ่ันทอนความสนใจในการเลน ของเด็ก และทําใหเด็กรูสึกทอถอยไดงาย สวนของเลนที่งายเกินไปก็ทําใหเด็กเบื่อ ไมอยากเลนได นอกจากน้ี ของเลน ควรทาํ ใหเ ดก็ ไดใ ชป ระสบการณต รงและเกดิ การเรยี นรดู ว ยตนเอง มคี วามแขง็ แรงทนทาน และปรบั เปลยี่ น ดดั แปลงใชป ระโยชนไ ดห ลายโอกาส หลายรปู แบบ หรือเลนไดหลายคน ๑.๓.๔ ความประหยัดทรัพยากร ของเลนท่ีดีไมจําเปนตองมีราคาแพงหรือผลิตดวย เทคโนโลยีท่ีทันสมัย ไมจําเปนตองมีตราเครื่องหมายผลิตภัณฑของบริษัทที่มีชื่อเสียงเปนท่ีนิยมทั่วไป หากแต เปนวัสดุของใชหรือของเลนท่ีสามารถจัดหาไดงาย มีราคายอมเยาและมีอยูในทองถ่ินน้ัน โดยหาซ้ือไดงายหรือ ทําขึ้นเองไดจ ากภูมปิ ญญาพน้ื บานหรอื วัฒนธรรมทอ งถ่ิน

ตารางเกณฑพจิ ารณาการเลือกซ้อื ของเลนใหเ ด็ก ใช ไมใช ประเด็นการพจิ ารณา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑. ของเลน มีลักษณะปลอดภัยสําหรบั เด็กตามวยั สที ใี่ ชเปนสที ่ีปลอดภัย ไมม ชี ิ้นสว นแหลมคมหรือแตกหักงาย ๒. ของเลน เหมาะกับวยั ของเด็ก ไมย ากหรืองายเกนิ ไปทเ่ี ด็กจะเลน ไดเอง ๓. ของเลนดงึ ดดู ความสนในใจการเลน ทาทายความสามารถของเดก็ ๔. ของเลนมีการออกแบบอยา งพิถพี ถิ นั มองดูเหมาะกบั ธรรมชาติของเด็ก ๕. ของเลนสามารถปรบั เปล่ยี นรปู แบบไดห ลากหลาย ใชเ ลน ไดหลายแบบหลายวิธี ตามความตอ งการของผูเลน ๖. ของเลนมีความคงทน ใชเ ลนไดนาน ไมบ บุ สลายงา ย ๗. ของเลน ชว ยสง เสริมทักษะการเรียนรขู องเด็ก ทาํ ใหเ ดก็ เรยี นรูห ลายๆ ดา นเกย่ี วกับสิง่ แวดลอมรอบตวั ๘. ของเลน ชว ยขยายความคิดสรา งสรรคข องเดก็ ทาํ ใหเด็กใชจินตนาการคดิ ทาํ สิง่ ใหมๆ ๙. ของเลน ทาํ ใหเ ดก็ มีสมาธิ ใจจดจออยูกบั การเลนเปนเวลานานพอควร ตามชว งความสนใจ ของวยั ๑๐. ของเลนทาํ ความสะอาดไดง าย หรอื นํากลับมาเลนใหมได ๑๑. ของเลน ทาํ ใหเ ดก็ เกิดความรูสกึ ดีตอ ตนเองและคนพบความสาํ เร็จ ๑๒. ของเลน มรี าคาไมแ พงจนเกนิ ไป เม่ือเปรียบเทยี บกบั คุณภาพของวสั ดแุ ละการใชประโยชน เกณฑก ารตดั สินใจซอื้ ของเลน ถาคําตอบ “ใช” เกนิ ๑๐ ขอ 111 ๒. นิทาน คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ นิทาน เปนสื่อ เคร่ืองมือ และวิธีการที่สําคัญในการพัฒนาเด็ก การอานหนังสือใหเด็กฟง จะชว ยสรา งความคนุ เคยระหวา งเดก็ กบั หนงั สอื ถอื เปน การบม เพาะนสิ ยั รกั การอา นหนงั สอื ในเดก็ ไดอ ยา งแยบยล ๒.๑ ประโยชนของนิทาน นิทานมีบทบาทสําคัญตอการเสริมสรางพัฒนาการเด็กในทุกดาน ดงั นี้ ๒.๑.๑ ดานรางกาย การอานหนังสือใหเด็กฟง เด็กจะไดบริหารรางกายตามเรื่องราว ของนิทาน ทาํ ใหอวัยวะสว นตา งๆ ของรางกายแขง็ แรง ๒.๑.๒ ดานอารมณ จติ ใจ การอานหนังสอื ใหเ ดก็ ฟง เด็กจะรสู ึกสนกุ สนาน มีความสุข ทีไ่ ดฟ ง เรือ่ งราว หรอื ทอ งบทกลอนและแสดงทา ทางอยางอิสระตามความตอ งการ เดก็ จะมีอารมณดี ย้ิมแยมแจมใส ๒.๑.๓ ดานสงั คม สรางความสมั พนั ธในครอบครัวและสังคมรอบดาน ๒.๑.๔ ดานสตปิ ญญา การอานหนงั สอื จะชวยใหเ ด็กสามารถจดจําถอยคาํ จําประโยค และเรอ่ื งราวในหนังสอื ได รูจกั เลยี นแบบคาํ พูด เขาใจความหมายของเรอื่ งทีจ่ ะอาน รจู กั คดิ และรูจกั จินตนาการ ๒.๒ วิธกี ารเลานิทานสําหรับเด็ก เม่ือเลือกนิทานท่ีมีเร่ืองราวเหมาะสมกับวัยของเด็กไดแลว วิธีการเลานิทานเพื่อใหเด็ก เกิดความสนใจ ติดตามฟงเนื้อเรื่องจนจบ จําเปนตองทําใหเหมาะสมกับเรื่องท่ีจะเลาดวย ในการเลานิทาน ท่ีนิยมใชมี ๒ วธิ ี ดังน้ี

๒.๒.๑ การเลาเร่ืองโดยไมมีอุปกรณ เปนการเลานิทาน ดวยการบอกเลาดวยนํ้าเสียง และลลี าของผูเลา ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี ๑) การขน้ึ ตนเร่อื งท่จี ะเลา ควรดึงดดู ความสนใจเดก็ โดยคอยๆ เร่มิ เลา ดวย เสยี งพูดทชี่ ดั เจน ลลี าของการเลา ชา ๆ และเร่ิมเรว็ ขึน้ จนเปน การเลาดว ยจงั หวะปกติ ๒) ระดบั เสียงท่ใี ชค วรดัง และประโยคทีเ่ ลาควรแบงเปน ประโยคสนั้ ๆ แตไ ด ใจความ การเลาควรดําเนินไปอยางตอเนื่อง ไมควรเวนจังหวะการเลาใหนานเพราะจะทําใหเด็กเบื่อ อีกท้ัง ไมควรมีคําถามหรอื คําพูดอื่นๆ ท่เี ปนการขัดจังหวะ ทําใหเ ด็กหมดสนุก ๓) การใชนํ้าเสียง สีหนา ทาทาง ควรแสดงใหสอดคลองกับลักษณะของ ตัวละคร ไมค วรพูดเนือยๆ เรื่อยๆ เพราะทาํ ใหข าดความตื่นเตน ๔) การนั่งเลาเร่ือง ควรจัดหาเกาอ้ีนั่งใหเหมาะกับระดับสายตาเด็ก ควรเวน ระยะหา งของการนัง่ เผชญิ หนา เด็กพอประมาณทจ่ี ะสามารถสบตาเด็กขณะเลาเร่อื งไดท ั่วถงึ ๕) การใชเวลาไมควรเกิน ๒๐ นาที โดยสังเกตจากทาทางการแสดงออก ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ของเด็กซึง่ ไมไดใหความสนใจจดจอกบั เร่ืองทเี่ ลา ๖) การเปดโอกาสใหเด็กไดคิดและวิจารณเร่ืองท่ีเลา ควรใชคําถามสอบถาม ความคิดของเดก็ เกีย่ วกับเรอ่ื งราวทไ่ี ดฟ ง ใหเ ด็กมโี อกาสแสดงความคดิ เหน็ ภายหลังทเี่ ร่ืองเลา จบลง ๒.๒.๒ การเลาเรื่องโดยมีอุปกรณชวย อุปกรณท่ีใชชวยในการเลานิทานหรือเรื่องราว มหี ลายประเภท ไดแก ๑) ส่ิงแวดลอมรอบตัวเด็ก ซ่ึงสามารถนํามาเลาเร่ืองราวประสบการณใหแก 112 คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ เด็กไดอุปกรณที่เปนส่ิงแวดลอม เชน สัตว พืช บุคคลสําคัญ สถานที่สําคัญ ขาว และเหตุการณ ตลอดจน สิ่งทมี่ อี ยตู ามธรรมชาติ ๒) วัสดุเหลือใช ส่ิงของที่ไมเปนที่ตองการ แตยังมีประโยชน เชน ภาพจาก หนงั สือ นติ ยสาร กิ่งไม กลองกระดาษ ส่ิงเหลา น้ีอาจนาํ มาใชป ระกอบการเลาเรอ่ื งได ๓) ภาพ ใชร ูปภาพที่มเี ร่ืองราวเลาได เชน ภาพท่ีมีเรอื่ งราวรวมอยใู นแผนเดียว หรือทําเปน แผนภาพพลกิ หลายๆ แผน ขนาดใหญพอควร และมเี นื้อเร่ืองเขยี นไวด า นหลงั ๔) หนุ จําลอง ใชหุน ท่ที าํ ดวยผาหรือกระดาษ ทําเปนละครหุน มอื หนุ เชดิ หุนชัก ๕) สไลดประกอบการเลาเรอื่ ง ใชภ าพถายเปน สไลดแผน ฉายทีละภาพ ๖) หนา กากทําเปน รปู ตัวละคร ใชวัสดทุ ําเปน หนากากรปู ตัวละครตางๆ ๗) เทปนิทานหรอื เรอื่ งราว ใชก ารเปดเทปทม่ี เี สียงเลาเร่ืองราว ๘) นิ้วมอื ประกอบการเลาเรือ่ ง ใชน ้ิวมือเคลื่อนไหวเปน ตัวละครตางๆ

๒.๓ การอานนทิ าน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป การสรางนิสัยรักการอานใหเด็กเปนหนาท่ีสําคัญประการหนึ่งของผูสอน เพราะหนังสือ 113 คอื อาหารสมองและอาหารใจ หนังสอื คอื ความสุข หนงั สอื คือเพอ่ื น หนังสอื คือแหลง เรียนรขู องเด็กไปตลอดชีวติ การสรางนิสัยรักการอานใหเด็กจึงเปนการสรางพ้ืนฐานสําคัญของชีวิตใหเด็ก เด็กจะรักหนังสือไดจากการที่ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ผูสอนอานหนังสือทเ่ี ดก็ ชอบใหฟง ซ้ําแลวซ้ําเลา เทา ทเ่ี ดก็ เรียกรองตอ งการ เดก็ จะรูส กึ พอใจและมคี วามสขุ มาก ในขณะที่ผใู หญอ านหนงั สอื ใหฟง และจะเตบิ โตขน้ึ มาเปนคนรกั หนงั สอื และรกั การอา น การอานนิทานใหเด็กฟง คือ การอานหนังสือท่ีไมปลอยใหเด็กเดินทางไปคนเดียวหรือ เปนผูรับฟงเพียงอยางเดียว แตผูสอนตองมีสวนรวมไปกับเด็กดวย นิทานเปนส่ือสําหรับผูสอนในการสราง ปฏสิ มั พนั ธท ดี่ ี เดก็ ทเี่ ตบิ โตมาดว ยการหลอ หลอมใหฟ ง นทิ าน มกั จะเปน เดก็ ทใ่ี ชภ าษาไดด มี ากกวา เดก็ ในวยั เดยี วกนั ทไ่ี มไ ดถ กู หลอ หลอมมาดว ยหนงั สอื หรอื นทิ าน อกี ทงั้ เดก็ ทม่ี นี สิ ยั รกั การอา นจะพฒั นาในดา นอนื่ ๆ ไดอ ยา งรวดเรว็ ตามมา เชน สมอง พฤตกิ รรม และอารมณท่ดี ี แหลงเรยี นรู แหลงเรียนรูมีความสําคัญคือ เปนแหลงการศึกษาตามความสนใจและความตองการตามอัธยาศัย ปลูกฝงนิสัยรักการอาน การสืบเสาะหาความรู การแสวงหาความรูดวยตนเอง การสรางเสริมประสบการณ ดวยประสบการณตรง เพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต สภาพแวดลอมท่ีเปนแหลงเรียนรูสําหรับเด็กปฐมวัย ขอเสนอแหลง เรยี นรูท เ่ี ปนตัวอยา งแหลงวิทยาการการเรียนรูในชมุ ชน และกิจกรรมการเรียนรูทจี่ ัดในชุมชนและ ธรรมชาติ ดังนี้ แหลงเรียนรูในชุมชน เชน อุทยานการศึกษาในวัดและในชุมชน อุทยานประวัติศาสตร อุทยาน แหงชาติทางทะเล อุทยานแหงชาติในทองถ่ินแถบภูเขา หอสมุด หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑทองถิ่น พพิ ธิ ภณั ฑธ รรมชาติตา งๆ เปนตน แหลง เรยี นรใู นชมุ ชนอกี ประเภทหนงึ่ เปน สถาบนั ของชมุ ชนทมี่ อี ยแู ลว ในวถิ ชี วี ติ และการทาํ มาหากนิ ในชมุ ชน เชน โบสถ วหิ าร ศาลาการเปรยี ญในวัด หรอื ศาสนสถาน ซง่ึ เปน สถานทท่ี าํ บญุ ตามประเพณี ตลาด รานขายของชํา ซึ่งเปนแหลง ชุมชนชาวบา น ลานนวดขาว สถานีอนามยั ปาทกุ แหงลว นเปนหองเรียนธรรมชาติ ทเี่ ปดกวาง สรา งบรรยากาศและจินตนาการการเรยี นรขู องเดก็

บทที่ ๗ การประเมินพัฒนาการ การประเมนิ พฒั นาการเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป เปน การประเมนิ พฒั นาการทางดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญาของเดก็ ถอื เปน สว นหนงึ่ ของการจดั ประสบการณก ารเรยี นรแู ละการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาํ วนั เปนความรับผิดชอบของผูสอนท่ีตองดําเนินการตอเนื่อง โดยเปดโอกาสใหผูเกี่ยวของมีสวนรวมวิธีการประเมิน ท่ีเหมาะสม ไดแก การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม การสนทนาหรือสัมภาษณ การวิเคราะหขอมูลจากผลงานเด็ก และสรุปผลการประเมิน เพ่ือใหไดขอมูลวาเด็กบรรลุตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงชี้ และ สภาพทีพ่ ึงประสงค หรอื ไม เพียงใด ผสู อนควรวางแผนและพฒั นาการจดั ประสบการณอยางไรตอไป การประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยควรยดึ หลักการ ดงั นี้ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑. วางแผนการประเมินพัฒนาการอยางเปนระบบ การวางแผนการประเมินพัฒนาการอยาง เปน ระบบ เปนภารกิจหน่งึ ของผูส อนโดยเรม่ิ ตน จาก ๑.๑ นําหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยไปสูการปฏิบัติดวยการออกแบบและจัดทํา หนว ยการจดั ประสบการณและแผนการจดั ประสบการณ 114 ๑.๒ กําหนดส่ิงท่ีจะประเมนิ วิธีการและเครอ่ื งมอื ทใ่ี ชในการประเมิน คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑.๓ เก็บรวบรวมขอมลู ซ่ึงผสู อนจะตองวางแผนและออกแบบวา ในแตล ะวนั แตละกจิ กรรม จะสังเกตพฤตกิ รรมใด สงั เกตเด็กคนใดบาง และนาํ ขอ มูลทไ่ี ดไ ปสกู ารวิเคราะหขอมลู และการแปลผลตอ ไป ๒. ประเมินพฒั นาการเด็กครบทกุ ดาน การประเมินพัฒนาการเดก็ ครบทุกดานตามหลักการนี้ คือ การประเมินพัฒนาการเด็กดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ซ่ึงตองสอดคลองและครอบคลุม มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค ตัวบงชี้ และสภาพทีพ่ งึ ประสงคแตล ะวยั ท่กี ําหนดไวใ นหลกั สตู รสถานศึกษา ปฐมวยั และสอดคลอ งกบั วสิ ัยทศั นของหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ทม่ี ุงเนนพัฒนาเด็กทกุ คนใหไ ดรบั การพฒั นา ดา นรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญ ญาอยางมคี ุณภาพและตอ เน่อื งนน่ั เอง ๓. ประเมินพัฒนาการเด็กเปนรายบุคคลอยางสม่ําเสมอตอเน่ืองตลอดป จุดมุงหมายของ การประเมินพัฒนาการเด็ก เพ่ือพัฒนาความกาวหนาของเด็กเปนรายบุคคลใหเต็มตามศักยภาพ ทั้งนี้ ความนาเชื่อถือของผลการประเมินจึงเปนสิ่งท่ีสําคัญ ผูสอนตองสังเกตพฤติกรรมหรือการปฏิบัติตนของเด็ก เปนระยะๆ ตลอดปการศึกษา มีจํานวนครั้งในการสังเกตพฤติกรรมอยางเหมาะสมและเพียงพอกอนจะสรุป หรือใหร ะดบั คณุ ภาพของพฤตกิ รรมตามสภาพท่พี ึงประสงคในแตละวยั ๔. ประเมนิ พฒั นาการตามสภาพจรงิ จากกจิ กรรมประจาํ วนั ดว ยเครอื่ งมอื และวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย ไมควรใชแบบทดสอบ เนื่องจากแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยใหความสําคัญกับตัวเด็ก ท้ังการพัฒนาเด็ก โดยองครวมและการปฏิบตั ทิ ีเ่ หมาะสมกบั พัฒนาการ การอบรมเล้ียงดแู ละใหการศกึ ษา การเลน และการเรียนรู ของเดก็ ภายใตบ รบิ ทสงั คมและวฒั นธรรมทเ่ี ดก็ อาศยั อยู ดงั นนั้ การประเมนิ พฒั นาการตามสภาพจรงิ จากการจดั ประสบการณการเรียนรู หรอื การปฏิบตั ิกิจวตั รประจาํ วนั ดวยวิธกี ารสังเกต การบนั ทกึ พฤติกรรม การสนทนา

การสัมภาษณ การวิเคราะหขอมูลจากผลงานเด็ก จึงเปนวิธีการประเมินท่ีเหมาะสมและสอดคลองกับเด็กวัยนี้ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ผูสอนจงึ ไมค วรใชแบบทดสอบที่ใชก ระดาษและดนิ สอในการเขียนตอบเพื่อประเมนิ พัฒนาการเดก็ วัยนี้ 115 ๕. สรุปผลการประเมิน จัดทําขอมูลและนําผลการประเมินไปใชพัฒนาเด็ก ขอมูลท่ีไดจากการ สังเกตพฤติกรรมของเด็กแตละคนตามสภาพที่พึงประสงค ที่รวบรวมไดจากการจัดประสบการณการเรียนรูใน คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ แตล ะหนว ยการจดั ประสบการณแ ละการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาํ วนั ผสู อนตอ งนาํ ไปเทยี บเกณฑก ารใหร ะดบั คณุ ภาพ ในแตละสภาพท่พี งึ ประสงค ตัวบงชี้ และมาตรฐานคณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค พรอ มจัดทําเปนขอ มูลสารสนเทศ ในระดับหองเรียนวา เด็กแตละคนมีพัฒนาการใดบางเปนจุดเดนหรือควรไดรับการสงเสริม และนําไปใชในการ พฒั นาเด็กเปน รายบคุ คลและใชเ ปนขอ มูลสอื่ สารกบั ผปู กครองในการเสริมศกั ยภาพเด็กเปน รายบคุ คลตอไป แนวทางการประเมินพฒั นาการตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ กําหนดเปาหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัย โดยยดึ พฒั นาการเด็กปฐมวยั ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา ดงั น้ี ๑) พัฒนาการดานรางกาย เปนการเปล่ียนแปลงความสามารถของรางกายในการเคล่ือนไหว สขุ ภาพอนามยั ทด่ี ี รวมถึงการใชม อื กบั ตาทปี่ ระสานสัมพนั ธก นั ในการทาํ กจิ กรรมตา งๆ การประเมนิ พัฒนาการดา นรางกาย ประกอบดว ย การประเมนิ นา้ํ หนกั และสวนสงู ตามเกณฑ สุขภาพอนามยั สขุ นสิ ัยที่ดี การรกั ษาความปลอดภัยของตนเองและผอู น่ื การเคลื่อนไหวรางกายและการทรงตัว และการใชม ือและตาประสานสัมพนั ธก ัน ๒) พัฒนาการดานอารมณ จิตใจ เปนความสามารถในการแสดงอารมณและความรูสึก โดยท่ี เด็กรูจักควบคุมอารมณและแสดงออกอยางเหมาะสมกับวัยและสถานการณ เพ่ือเผชิญกับเหตุการณตางๆ ตลอดจนการรสู กึ ทด่ี ตี อ ตนเองและผูอ ื่น การประเมินพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ ประกอบดวย การประเมินความสามารถใน การแสดงออกทางอารมณไดอยางเหมาะสม การมีความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่น มีความสนใจ มีความสุข และแสดงออกผานงานศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว ซ่ือสัตยสุจริต มีเมตตากรุณา มีน้ําใจและชวยเหลือ แบงปน มคี วามเหน็ อกเห็นใจผูอื่น และความรับผิดชอบ ๓) พัฒนาการดานสังคม เปนความสามารถในการสรางสัมพันธภาพกับผูอ่ืน ปรับตัวในการเลน และอยรู ว มกบั ผอู น่ื สามารถทาํ หนา ทตี่ ามบทบาทของตน ทาํ งานรว มกบั ผอู น่ื รกู าลเทศะ สามารถชว ยเหลอื ตนเอง ในชีวิตประจําวนั เรยี นรกู ารปรบั ตวั ใหเ ขา กับเด็กอื่น รจู ักรว มมอื ในการเลนกับกลุมเพอ่ื น ปฏิบัตติ ามขอตกลงใน การเลน รจู กั รอคอยตามลาํ ดบั กอ น - หลงั การประเมนิ พฒั นาการดา นสงั คม ประกอบดว ย การประเมนิ ความมวี นิ ยั ในตนเอง ความสามารถ ในการชวยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน ประหยัดและพอเพียง การดูแลรักษาธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม การมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเปนไทย การยอมรับความเหมือนและความแตกตาง ระหวา งบคุ คล การมีปฏิสัมพนั ธท ดี่ ีกับผูอ นื่ การปฏบิ ตั ิตนเบ้ืองตน ในการเปนสมาชกิ ทีด่ ีของสังคม ๔) พฒั นาการดา นสตปิ ญ ญา เปน การเปลย่ี นแปลงความสามารถทางสมองทเี่ กดิ ขน้ึ จากการเรยี นรู ส่ิงตางๆ รอบตัว และความสัมพันธระหวางตนเองและสิ่งแวดลอมดวยการรับรู สังเกต จดจํา วิเคราะห รูคิด รูเหตุผล และแกปญหา ทําใหสามารถปรับตัวและเพิ่มทักษะใหม ซ่ึงแสดงออกดวยการใชภาษาสื่อความหมาย และการกระทาํ เดก็ วัยนีส้ ามารถโตตอบหรอื มปี ฏิสัมพนั ธก บั วัตถุและสิง่ ของท่ีอยรู อบตัวได สามารถจาํ สิง่ ตา งๆ

ท่ไี ดกระทําซ้าํ กนั บอยๆ ไดดี เรยี นรูส ่ิงตางๆ ไดดีข้ึนแตย งั อาศยั การรบั รเู ปน สว นใหญ แกปญหาการลองผิดลอง ถูกจากการรับรูมากกวาการใชเหตุผล ความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่ิงตางๆ ที่อยูรอบตัวพัฒนาอยางรวดเร็วตาม อายทุ เี่ พมิ่ ขนึ้ ในสว นของพฒั นาการทางภาษาของเดก็ วยั นเี้ ปน ระยะพฒั นาภาษาอยา งรวดเรว็ โดยมโี อกาสใชภ าษา จากการทาํ กิจกรรมตางๆ ในรูปของการสนทนา ตอบคําถาม เลาเรื่อง นิทาน และการทาํ กิจกรรมตา งๆ การประเมินพฒั นาการดานสติปญ ญา ประกอบดวย การประเมนิ ความสามารถในการสนทนา โตตอบและเลาเร่ืองใหผูอื่นเขาใจ ความสามารถในการอาน เขียนภาพ และสัญลักษณ ความสามารถในการ คิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การคิดแกปญหาและตัดสินใจ การทํางานศิลปะ การแสดงทาทาง/เคล่ือนไหว ตามจินตนาการและความคดิ สรางสรรค การมีเจตคตทิ ด่ี ตี อ การเรียนรู และความสามารถในการแสวงหาความรู สําหรับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ไดกําหนดมาตรฐานคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงคท่ีตองการใหเกิดขึ้นในตัวเด็ก เพื่อใหสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของท่ีมีหนาที่รับผิดชอบ ในการจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ใชเ ปน จดุ หมายในการพฒั นาและการประเมนิ เดก็ ใหบ รรลคุ ณุ ภาพตามมาตรฐาน คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค จํานวน ๑๒ ขอ ดงั น้ี ๑. พฒั นาการดานรา งกาย ประกอบดวย ๒ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๑ รา งกายเจริญเติบโตตามวยั และมีสุขนิสัยทด่ี ี ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป มาตรฐานท่ี ๒ กลามเน้ือใหญและกลามเนื้อเล็กแข็งแรง ใชไดอยางคลองแคลว และ ประสานสัมพันธกัน ๒. พัฒนาการดานอารมณ จติ ใจ ประกอบดว ย ๓ มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจิตดแี ละมคี วามสุข 116 มาตรฐานท่ี ๔ ช่นื ชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ มาตรฐานที่ ๕ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดงี าม ๓. พัฒนาการดา นสงั คม ประกอบดว ย ๓ มาตรฐาน คอื มาตรฐานท่ี ๖ มีทักษะชีวติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานที่ ๗ รกั ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม วัฒนธรรม และความเปน ไทย มาตรฐานที่ ๘ อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข และปฏิบัติตนเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม ในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข ๔. พัฒนาการดา นสติปญ ญา ประกอบดวย ๔ มาตรฐาน คือ มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาส่ือสารไดเ หมาะสมกับวยั มาตรฐานที่ ๑๐ มีความสามารถในการคิดท่เี ปน พืน้ ฐานในการเรยี นรู มาตรฐานท่ี ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรค มาตรฐานที่ ๑๒ มีเจตคติท่ีดีตอการเรียนรู และมีความสามารถในการแสวงหาความรู ไดเ หมาะสมกับวยั ทงั้ นี้ ความเชอื่ มโยงของหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ กบั การประเมนิ พฒั นาการ แสดงโดยแผนภาพไดด งั นี้

แผนภาพแสดงความเช่อื มโยงของหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ กบั การประเมนิ พัฒนาการ หลกั สตู รสถานศึกษา กิจวตั รประจําวนั การประเมินพัฒนาการ ปฐมวัย การจดั ประสบการณ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะ ที่พึงประสงค ตวั บง ชี้ หนวยการจดั ๑. การวเิ คราะหม าตรฐาน ตวั บงช้ี ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป สภาพทพ่ี ึงประสงค ประสบการณ สภาพท่ีพงึ ประสงค สาระการเรียนรู แผนการจัด และกําหนดประเดน็ การประเมนิ - ประสบการณสาํ คัญ ประสบการณ - สาระทคี่ วรเรยี นรู - จุดประสงคการเรยี นรู ๒. การกาํ หนดวิธกี ารและเครอ่ื งมอื 117 - สาระการเรียนรู ทีใ่ ชประเมินพฒั นาการ - กจิ กรรมการเรียนรู - ส่ือ ๓. การกําหนดเกณฑการประเมนิ และ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ - การประเมนิ ผล ระดับคุณภาพ - บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม ๔. การดาํ เนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ มูล ๕. การสรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการ ๖. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการ และการนาํ ขอมลู ไปใช

ขัน้ ตอนการประเมนิ พัฒนาการ การประเมินพัฒนาการตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพนั้น เกิดขึ้น ในหอ งเรยี นขณะจัดประสบการณก ารเรียนรูและการปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจําวันของเด็ก มีข้ันตอนดงั น้ี ๑. การวิเคราะหมาตรฐาน ตัวบง ช้ี สภาพท่พี ึงประสงค และการกําหนดประเด็นการประเมิน ผูสอนตองวิเคราะหมาตรฐาน ตัวบงชี้ สภาพที่พึงประสงค และกําหนดสิ่งที่จะประเมิน จากการจัดประสบการณการเรียนรูและการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน เพื่อวางแผนการประเมินพัฒนาการและ การตรวจสอบทบทวนความถูกตอ ง ความครอบคลุม และความเชอ่ื มโยง อันจะเปนประโยชนใ นการดาํ เนินงาน ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั อยางเปน ระบบ ดังน้ี ๑.๑ การวิเคราะหม าตรฐาน ตัวบงช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค การนาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาไปสกู ารจดั ประสบการณ ไดม วี เิ คราะหส าระการเรยี นรรู ายป ทสี่ อดคลอ งของมาตรฐาน ตวั บง ชี้ สภาพทพ่ี งึ ประสงค และสาระการเรยี นรเู พอ่ื กาํ หนดหนว ยการจดั ประสบการณ โดยการนาํ สภาพทพี่ งึ ประสงคท ไ่ี ดจ ากการวเิ คราะหม ากาํ หนดเปน จดุ ประสงคก ารเรยี นรขู องหนว ยการจดั ประสบการณ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป นั้นๆ และกาํ หนดกิจกรรมหลัก ๖ กจิ กรรม หรอื ใชรูปแบบการจัดประสบการณต ามทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดในการ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหบ รรลตุ ามจดุ ประสงคก ารเรยี นรู ดงั นนั้ ผสู อนตอ งวางแผนการประเมนิ พฒั นาการใหเ หมาะสม และสอดคลองกบั มาตรฐาน ตัวบง ชี้ และสภาพทพี่ งึ ประสงค ๑.๒ การกําหนดประเด็นการประเมิน เปนการกําหนดพัฒนาการที่ตองการประเมินตาม 118 สภาพทีพ่ ึงประสงค ซึง่ ครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง ๔ ดา น ในแตล ะหนวยการจดั ประสบการณ ดงั นั้น เมือ่ กาํ หนด ประเดน็ การประเมินตามสภาพท่ีพึงประสงคไ ดแลว ใหพ จิ ารณาวาสามารถจัดเกบ็ ขอมูลการประเมนิ พฒั นาการ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ เด็กไดจากการจัดประสบการณการเรียนรู และจากกิจกรรมประจําวันโดยการตรวจสอบขอมูลที่เกิดจากการจัด กจิ กรรมตามแผนการจดั ประสบการณ และการปฏบิ ตั กิ จิ วตั รประจาํ วนั วา เดก็ แสดงพฤตกิ รรมและความสามารถ ตามสภาพทพี่ งึ ประสงคท ตี่ อ งการประเมนิ ไดต ามประดน็ การประเมนิ ทกี่ าํ หนดไว และครอบคลมุ สภาพทพ่ี งึ ประสงค ตามท่ีไดว างแผนไวใ นหนว ยการจดั ประสบการณ ๒. การกําหนดวิธกี ารและเคร่ืองมอื ทใี่ ชในการประเมนิ พฒั นาการ เมอ่ื ผสู อนกําหนดประเด็นการประเมินพัฒนาการไดชัดเจนแลว ข้นั ตอนตอไปคอื การกาํ หนด วิธีการและเคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินพัฒนาการ ผูสอนตองวางแผนและกําหนดวิธีการประเมินใหเหมาะสม กบั กิจกรรม เชน ใชการสังเกตพฤติกรรม การประเมินผลงาน/ช้นิ งาน การพูดคยุ หรอื สัมภาษณเด็ก ฯลฯ วธิ ีการ ทผ่ี สู อนเลอื กใชตอ งมากกวา ๒ วธิ กี าร หรือใชวิธกี ารหลากหลาย ซ่ึงวธิ ีการทีเ่ หมาะสมและนิยมใชในการประเมิน เดก็ ปฐมวยั มดี งั ตอ ไปนี้ ๒.๑ การสังเกตและการบนั ทึก แบงออกเปน ๒ แบบ ไดแ ก ๑) การสังเกตแบบเปนทางการ คอื การสงั เกตอยา งมจี ดุ มงุ หมายทแี่ นน อนตามแผนทวี่ างไว และ ๒) การสงั เกตแบบไมเ ปน ทางการ คอื การสงั เกต ในขณะท่ีเด็กทํากิจกรรมประจําวันและเกิดพฤติกรรมท่ีไมคาดคิดวาจะเกิดข้ึน ผูสอนตองจดบันทึกส่ิงที่รวบรวมได จากการสงั เกตอยา งเหมาะสม ทง้ั น้ี การบนั ทกึ พฤตกิ รรมมคี วามสาํ คญั อยา งยง่ิ ทตี่ อ งทาํ อยา งชดั เจนและสมา่ํ เสมอ เนอื่ งจากเดก็ เจรญิ เตบิ โตและมกี ารเปลยี่ นแปลงอยา งรวดเรว็ การสงั เกตและบนั ทกึ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั สามารถ ใชแ บบงายๆ ดงั น้ี

๑) แบบบันทึกพฤติกรรมแบบเปนทางการ โดยกําหนดประเด็นหรือพัฒนาการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ทต่ี องการสังเกต (สอดคลอ งกับสภาพท่ีพงึ ประสงค) ระบุชือ่ นามสกลุ เดก็ วัน เดือน ปเ กดิ ไวลว งหนา รวมทงั้ ชอื่ ผูทําการสังเกต ดําเนินการสังเกตโดยบรรยายพฤติกรรมเด็กท่ีสังเกตไดตามประเด็น ผูสังเกตตองบันทึก 119 วัน เดือน ปท่ีทําการสังเกตแตละครั้ง ขอมูลการสังเกตท่ีผูสอนบันทึกลงในแบบบันทึกพฤติกรรมนี้จะชวยให ผูสอนเขา ใจพฤติกรรมเดก็ ไดด ีขนึ้ และทราบวาเด็กแตละคนมจี ุดเดน มีความตอ งการ มีความสนใจ หรือตอ งการ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ความชวยเหลอื ในเรอื่ งใดบาง ๒) แบบบันทึกพฤติกรรมแบบไมเปนทางการ เปนการบันทึกพฤติกรรม เหตุการณ หรือจากการจัดประสบการณที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนทุกวัน โดยระบุชื่อ นามสกุล วัน เดือน ปเกิดเด็ก ผูสังเกต วัน เดือน ปท ่ีบนั ทึก อาจบันทึกโดยใชการบรรยาย ใคร ทาํ อะไร ทไ่ี หน ทําอยา งไร ซึง่ จะเนน เฉพาะเด็กรายกรณี ทีต่ องการศกึ ษา ควรมรี ายละเอยี ดและขอมลู ท่ชี ัดเจน ผูสอนควรบรรยายสงิ่ ทีเ่ ดก็ ทําไดม ากกวาส่ิงที่เด็กทําไมไ ด และวเิ คราะหป ระเดน็ การประเมนิ ตามสภาพทพ่ี งึ ประสงคอ ยา งเปน ระบบ ขอ มลู ในการบนั ทกึ ตอ งเปน ตามความ เปนจรงิ ซงึ่ ขอ ดีของการบนั ทึกรายวัน คือ การช้ใี หเห็นความสามารถเฉพาะอยา งของเด็ก จะชว ยใหครูผสู อนได พจิ ารณาปญ หาของเดก็ เปน รายบคุ คล รวมทงั้ ชว ยใหผ เู ชยี่ วชาญมขี อ มลู สาํ หรบั วนิ จิ ฉยั เดก็ ไดช ดั เจนขน้ึ วา สมควร จะไดร ับคําปรึกษาเพือ่ ลดปญหา หรอื สงเสรมิ พฒั นาการของเด็กไดอยางถกู ตอง และเปนขอมูลในการพิจารณา ปรบั ปรุงแกไ ขหรือพฒั นาการจัดกจิ กรรมและประสบการณข องผสู อนใหด ียิง่ ขน้ึ ๓) แบบสาํ รวจรายการ โดยกาํ หนดประเดน็ หรอื พฒั นาการทตี่ อ งการสาํ รวจ (สอดคลอ ง กบั สภาพทพี่ งึ ประสงค) ระบชุ อ่ื นามสกลุ เดก็ วนั เดอื น ปเ กดิ ไวล ว งหนา มกี ารกาํ หนดรายการพฤตกิ รรมทต่ี อ งการ สํารวจละเอียดข้ึน และกาํ หนดเกณฑในการสาํ รวจพฤติกรรม เชน ปฏบิ ัติ - ไมปฏบิ ตั ิ ทําได - ทําไมไ ด เปน ตน ชว ยใหผ สู อนสามารถบนั ทกึ ไดส ะดวกขน้ึ ควรมกี ารสาํ รวจพฤตกิ รรมในเรอื่ งเดยี วกนั อยา งนอ ย ๓ ครง้ั เพอ่ื ยนื ยนั วา เดก็ ปฏิบตั ิหรือเกดิ พฤติกรรมนั้นไดจ รงิ ขอพงึ ระวังในการสังเกตพฤตกิ รรมของเดก็ ระหวา งการสงั เกต ไมค วรแปลความพฤติกรรมของเดก็ ใหส ังเกตการแสดงออกของเด็ก ที่เด็กใชประสาทสัมผัสทั้ง ๕ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และรางกายหรือการสัมผัส การแปลความ จะดําเนินการหลังเสร็จสิ้นการสังเกตในสวนของการบันทึก ผูสอนอาจบันทึกยอหรือทําสัญลักษณไว และบันทกึ เปน หลักฐานทนั ทีเมื่อมีเวลา ๒.๒ การบันทึกการสนทนา เปนการบันทึกการสนทนาทั้งแบบเปนกลุมหรือรายบุคคล เพื่อประเมินความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและพัฒนาการดานการใชภาษาของเด็ก ความสามารถ ในการคิดรวบยอด การแกปญหา รวมถึงพัฒนาการดานสังคม อารมณ จิตใจ และบันทึกผลการสนทนา ลงในแบบบนั ทกึ พฤตกิ รรมหรอื บนั ทกึ รายวนั โดยระบชุ อ่ื นามสกลุ อายเุ ดก็ ภาคเรยี นที่ และกจิ กรรมทใ่ี ชส นทนา

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปชอ งทใ่ี ชใ นการบนั ทกึ ในแบบสนทนาใหร ะบวุ นั เดอื น ป/ คาํ พดู ของเดก็ /ความคดิ เหน็ ของผสู อนทส่ี ะทอ นพฤตกิ รรม คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ที่แสดงออกของเด็กสอดคลองกับสภาพที่พึงประสงคหรือจุดประสงคการเรียนรูของหนวยการจัดประสบการณ ซึง่ ขอมูลเหลานจ้ี ะเปนสว นหนึ่งในการพิจารณาการผา นสภาพท่ีพึงประสงคที่เก่ยี วของในแตละเรอื่ ง ๒.๓ การสัมภาษณ เปนวิธีการพูดคุยกับเด็กเปนรายบุคคลและควรจัดในสภาวะแวดลอม ที่เหมาะสมเพ่ือไมใหเกิดความเครียดและวิตกกังวล ผูสอนควรใชคําถามที่เหมาะสมเปดโอกาสใหเด็กไดคิด และตอบอยางอิสระจะทําใหผูสอนสามารถประเมินความสามารถทางสติปญญาของเด็กและคนพบศักยภาพ ในตัวเด็กไดโดยบนั ทึกขอ มลู ลงในแบบสมั ภาษณ ผสู อนควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี การเตรยี มการกอนการสัมภาษณ โดยกําหนดวัตถปุ ระสงคข องการสมั ภาษณ กําหนด คาํ พดู /คําถามทจ่ี ะพูดกบั เดก็ ควรเปน คาํ ถามท่เี ดก็ สามารถตอบโตห ลากหลายไมมผี ดิ /ถูก การปฏบิ ตั ขิ ณะสมั ภาษณ ผูส อนควรสรางความคุนเคยเปน กันเอง สรางสภาพแวดลอ ม ท่ีอบอนุ ไมเครง เครยี ด ใชค าํ ถามท่กี ําหนดไวถ ามเดก็ ทลี ะคาํ ถาม ใหเดก็ มีโอกาสคิดและมีเวลาในการตอบคําถาม อยางอสิ ระ ใชร ะยะเวลาสัมภาษณไมควรเกิน ๑๐ นาที หลงั การสมั ภาษณ การบนั ทกึ ในแบบสมั ภาษณ ใหบ นั ทกึ คาํ พดู ของเดก็ ตามความเปน จรงิ หลังเสร็จการสัมภาษณผูสอนคอยพิจารณาขอมูลจากคําพูดเด็กและลงความคิดเห็นท่ีสะทอนพฤติกรรม ท่ีแสดงออกของเด็กสอดคลองกับสภาพที่พึงประสงคหรือจุดประสงคการเรียนรูของหนวยการจัดประสบการณ ทีก่ ําหนดไว ซึ่งขอ มูลเหลาน้ีจะเปนสว นหนงึ่ ในการพจิ ารณาการผา นสภาพทพ่ี ึงประสงคท เี่ กยี่ วของในแตล ะเรือ่ ง ๒.๔ สารนิทศั นส ําหรับเดก็ ปฐมวัยเพ่อื การประเมินพฒั นาการ 120 การจัดทําสารนิทศั น (Documentation) เปนการจดั ทําขอมลู ทเ่ี ปน หลักฐานหรอื แสดง ใหเห็นรองรอยของการเจริญเติบโต พัฒนาการและการเรียนรูของเด็กปฐมวัยจากการทํากิจกรรมท้ังรายบุคคล และรายกลมุ ซง่ึ หลกั ฐานและขอ มลู ทบี่ นั ทกึ เปน ระยะๆ จะเปน ขอ มลู อธบิ ายภาพเดก็ สามารถบง บอกถงึ พฒั นาการ ทงั้ ดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา สารนทิ ศั นจ งึ เปน การประมวลผลทแี่ สดงใหเ หน็ ถงึ กระบวนการ จัดประสบการณของผูสอนและรองรอยผลงานของเด็ก จากการทํากิจกรรมท่ีสะทอนถึงพัฒนาการในดานตางๆ การจดั ทําสารนิทศั นจงึ เปนสวนหนึง่ ของกระบวนการประเมนิ พฒั นาการเด็กปฐมวัย ซ่ึงมีหลายรูปแบบ ไดแ ก ๑) พอรตโฟลิโอสําหรับเด็กเปนรายบุคคล เชน การเก็บชิ้นงานหรือภาพถายเด็ก ขณะทํากิจกรรมมีการใชเทคโนโลยีตางๆ ในการบันทึกเสียง บันทึกภาพท่ีแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในงาน ทเี่ ด็กทํา ๒) การบรรยายเก่ียวกับเรื่องราวหรือประสบการณท่ีเด็กไดรับ เชน การสอนแบบ โครงการ (Project Approach) สามารถใหส ารนทิ ศั นเกย่ี วกบั พฒั นาการเด็กทกุ ดา น ทั้งประสบการณก ารเรยี นรู ของเด็กและการสะทอ นตนเองของผสู อน รูปแบบการบรรยายเร่อื งราวจึงมหี ลายรปู แบบ อาจไดจากการบนั ทกึ การสนทนาระหวา งเด็กกบั ผูสอน เดก็ กับเด็ก การบันทกึ ของผูสอน การบรรยายของพอ แม ผปู กครองในรูปแบบ หนงั สือหรือจดหมาย แมก ระท่ังการจัดแสดงบรรยายสรปุ ใหเห็นภาพการเรยี นรูท้งั หมด ๓) การสังเกตและบันทกึ พัฒนาการเดก็ เชน ใชแ บบสงั เกตพัฒนาการ การบันทกึ ส้ัน

๔) การสะทอนตนเองของเด็ก เปนคําพูดหรือขอความที่สะทอนความรู ความเขาใจ ความรสู ึกจากการสนทนา การอภิปรายแสดงความคิดเหน็ ของเด็กขณะทํากิจกรรม ซ่ึงอาจบนั ทกึ ดว ยเทคโนโลยี บนั ทึกเสยี งหรอื บันทึกภาพ ๕) ผลงานรายบคุ คลและรายกลมุ ท่ีแสดงใหเ หน็ ถึงการเรียนรู ความสามารถ ทักษะ จิตนิสัยของเด็ก ผูสอนสามารถนําผลงานของเด็กมาใชพิจารณาพัฒนาการและกระบวนการทํางานของเด็ก ผสู อนสว นใหญม กั จะเกบ็ ผลงานการเขยี นและผลงานศลิ ปะ อยา งไรกต็ าม ผสู อนควรเกบ็ ผลงานหลากหลายประเภท ของเด็ก เชน ภาพเขียน การรวมระดมความคิดและเขียนออกมาในลกั ษณะใยแมงมมุ การแสดงออกทางดนตรี การกอสรางในรูปแบบตางๆ ตัวอยางคําพูด เปนตน ซ่ึงจะเปนประโยชนในการเก็บขอมูลหลักฐานเพ่ือประเมิน การเรยี นรูและประเมินพัฒนาการของเดก็ ปฐมวัยขางตน ➢ การจัดทําสารนิทัศนที่หลากหลายจะชวยผูสอนในแงของการตรวจสอบคุณภาพของการศึกษาท่ีดี ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป เนื่องจากการศึกษาในปจจุบันเนนการประเมินเพ่ือตรวจสอบความเขมแข็งของการศึกษา ซ่ึงสงผลให สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและหนวยงานที่จัดการศึกษาปฐมวัยตองปรับปรุงประสิทธิภาพ 121 ของการจัดการศึกษาอยางสมํ่าเสมอ ทําใหบางหนวยงานนําแบบทดสอบมาตรฐานซ่ึงไมเหมาะสม มาประเมนิ เดก็ ปฐมวยั คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ➢ ผสู อนท่ีจัดทําสารนิทัศนอยางสมํ่าเสมอ จะจัดประสบการณใหก ับเด็กไดสอดคลองปญ หา และพฒั นาการเดก็ ซง่ึ นาํ ไปสกู ารพฒั นาสมองอยา งชดั เจน สารนทิ ศั นส ามารถชว ยผสู อนใหจ ดั ประสบการณ ไดตรงประเด็น เนื่องจากงานวิจัยเกี่ยวกับสมอง พบวา เด็กจะเกิดการเรียนรูไดดี หากเขาไปมีสวนรวม และลงมอื ปฏบิ ตั ิ กระบวนการเรยี นรทู สี่ มั พนั ธก บั ความรสู กึ และอารมณม คี วามสาํ คญั อยา งยงิ่ ตอ การเรยี นรู ของเด็ก เชน เด็กรูสึกตอการอานอยางไร เด็กตองการเรียนอานหรือไม ความรูสึกนี้จะมีผลกระทบตอ การอา นของเดก็ ในระยะยาว ดงั นน้ั การทดสอบดว ยแบบทดสอบมาตรฐานไมช ว ยเดก็ เลยในดา นจติ ใจและ ความสามารถ ซึง่ ตางจากการใชสารนทิ ัศนในการประเมิน จากผลการวจิ ัยพบวา สมองจะทาํ งานตอเน่ือง ไมแยกสวนเปนวิชาหรือเปนเรื่อง ดังน้ัน การใชแบบทดสอบประเมินเปนการแยกสวนของสมอง ซึ่งจะ ไมบอกถึงความสามารถในการบูรณาการความรูของเด็กท่ีแทจริง แตการรวบรวมผลงานของเด็กจะบอก ใหผสู อนรูวาเดก็ คิดและบูรณาการความคดิ ของตนอยา งไร

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ปการจัดทาํ สารนทิ ศั นส ําหรบั เด็กปฐมวัยเพอ่ื การประเมนิ ๑) กําหนดประเด็นการประเมิน เปนการกําหนดพัฒนาการที่ตองการประเมิน ไดแก คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ สภาพที่พงึ ประสงคในแตละพฒั นาการ ซ่งึ ครอบคลุมพัฒนาการทง้ั ๔ ดา น ๒) เตรียมส่ือ วัสดุอุปกรณที่จําเปนตองใชใหเหมาะกับขอมูลท่ีตองการเก็บ วางแผน การเลือกและการจัดการกับวัสดุ สื่อที่เหมาะสมกับขอมูลท่ีจะเก็บต้ังแตตนปการศึกษา ไดแก ขอมูลท่ี ตอ งไดจ ากการสังเกต เชน กระดาษ การด ขนาดเล็ก ดินสอ ปากกา กลองบนั ทกึ ภาพหรือโทรศัพทม ือถอื เครอ่ื งบนั ทึกเสยี ง เปน ตน ๓) ศึกษามาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตังบงชี้ และสภาพท่ีพึงประสงค ซึ่งเปน เปา หมายการพฒั นาเด็ก ซ่งึ จะชวยใหผ ูส อนทราบวา ควรเกบ็ ขอ มลู ประเภทใด ลกั ษณะใด จงึ จะทาํ ใหเหน็ พัฒนาการและการเรยี นรูข องเดก็ อยางชดั เจนและเปนรปู ธรรม ๔) วางแผนการจัดทาํ เลอื กวิธเี กบ็ ขอมลู เชน บันทึกส้นั ภาพถา ย แบบสงั เกต บันทกึ เสยี ง การเขยี นไดอะแกรมในรปู แบบของใยแมงมมุ การทาํ บนั ทกึ แสดงความคดิ เหน็ หรอื ความรสู กึ ของเดก็ ผสู อน หรือผปู กครอง เปนตน ๕) กําหนดวิธีการเก็บขอมูล เชน การบันทึกพฤติกรรมเด็ก โดยใชวิธีสังเกตและใช การบนั ทึกสั้น ซึง่ ผสู อนจะสังเกตทกุ วนั ๖) จัดแสดงขอมูลหรือแลกเปล่ียนขอมูลกับผูที่เกี่ยวของกับเด็ก โดยพิจารณาวาขอมูลใด 122 ควรนํามาแลกเปลี่ยน และนํามาจัดแสดงใหเห็นพัฒนาการการเรียนรูของเด็ก รวมท้ังใหเด็กมีสวนรวม ในการเลือกผลงานของตนหรือของกลมุ และรวมจัดเตรียมแสดงขอ มลู ดงั กลาว ๒.๕ การประเมนิ การเจริญเติบโตของเดก็ เปน การประเมนิ การเจริญเตบิ โตดา นรา งกายของเดก็ ซึ่งการพิจารณาการเจริญเติบโตในเด็กที่ใชทั่วๆ ไปอยางตอเน่ือง ไดแก นํ้าหนัก สวนสูง เสนรอบศีรษะ ฟน และการเจริญเตบิ โตของกระดกู สาํ หรับแนวทางประเมนิ การเจริญเตบิ โต มดี งั นี้ ๒.๕.๑ การประเมินการเจริญเติบโต โดยการชั่งน้ําหนักและวัดสวนสูงเด็กแลว นําไปเปรียบเทียบกับเกณฑปกติ ในกราฟแสดงนํ้าหนักตามเกณฑอายุในสมุดบันทึกสุขภาพแมและเด็กของ กระทรวงสาธารณสขุ ซ่งึ ใชสาํ หรับติดตามการเจรญิ เตบิ โตโดยรวม ขอควรคํานึงในการประเมินการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ๑) เด็กแตละคนมีความแตกตางกันในดานการเจริญเติบโต บางคนรูปรางอวน บางคน รปู รา งผอม บางคนรปู รางใหญ บางคนรปู รางเลก็ ๒) ภาวะโภชนาการเปนตัวสําคญั ทีเ่ กีย่ วของกับขนาดของรูปราง แตไ มใ ชสาเหตเุ ดยี ว ๓) กรรมพันธุ เด็กอาจมีรูปรางเหมือนพอหรือแมคนใดคนหน่ึง ถาพอหรือแมเต้ีย ลูกอาจเตี้ย และกรณนี ีอ้ าจมีน้าํ หนักต่าํ กวาเกณฑเ ฉลย่ี ไดแ ละมกั จะเปน เด็กทท่ี านอาหารไดนอ ย ๔) ชวงครึ่งหลังของขวบปแรก นํ้าหนักเด็กจะข้ึนชา เน่ืองจากหวงเลนมากข้ึนและ ความอยากอาหารลดลง

๒.๕.๒ การตรวจสุขภาพอนามัย เปนการตรวจสอบท่ีแสดงคุณภาพชีวิตของเด็ก โดยพจิ ารณาความสะอาด สง่ิ ผิดปกติของรา งกายท่จี ะสง ผลตอการดาํ เนินชวี ติ และการเจริญเติบโตของเดก็ ๓. การกําหนดเกณฑก ารประเมนิ และระดบั คณุ ภาพ การกําหนดเกณฑการประเมินและการใหระดับคุณภาพผลการประเมินพัฒนาการของเด็ก ทง้ั ๔ ดา น ในแตล ะสภาพทีพ่ งึ ประสงค เพ่อื เช่อื มโยงไปสูการผานตวั บงชแ้ี ละมาตรฐานคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค ดังน้ัน ในระดับชั้นเรียนและระดับสถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยควรกําหนดในลักษณะเดียวกัน สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยสามารถกําหนดเกณฑการประเมินและการใหระดับคุณภาพผลการ ประเมินพัฒนาการของเด็กท่ีสะทอนมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค ตัวบงช้ี สภาพที่พึงประสงค ดังนั้น พฤตกิ รรมทจี่ ะประเมนิ เปน ระบบตวั เลข เชน ๓, ๒, ๑ หรอื เปน ระบบทใี่ ชค าํ สาํ คญั เชน ด,ี พอใช, ควรสง เสรมิ ตามทส่ี ถานศึกษากําหนด ดงั ตัวอยาง ตวั อยางท่ี ๗ การกําหนดเกณฑการประเมนิ และการใหร ะดบั คณุ ภาพ ระบบตัวเลข ระบบท่ใี ชคาํ สาํ คัญ ความหมาย ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๓ ดี ปรากฏพฤตกิ รรมตามชว งอายุ เปน ไปตามสภาพทพี่ งึ ประสงค ๒ ปรากฏพฤตกิ รรมตามชว งอายุ เปนไปตามสภาพทพ่ี ึงประสงค พอใช โดยมีการกระตนุ ๑ ไมปรากฏพฤตกิ รรมตามชวงอายทุ เี่ ปนไปตามสภาพที่พงึ ประสงค ควรสงเสรมิ ทั้งน้ี เพื่อนําไปสูการกําหนดเกณฑการประเมินตามสภาพท่ีพึงประสงคท่ีกําหนดไวตามหลักสูตร 123 การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สถานศึกษาหรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยอาจกําหนดคําอธิบายคุณภาพ ตามระดบั คุณภาพของสภาพทพี่ ึงประสงคของพฒั นาการแตละดา นเปน ๓ ระดบั ดังนี้ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ตัวอยางที่ ๘ คําอธบิ ายคณุ ภาพตามระดบั คุณภาพ ตวั อยางคําอธิบาย ดา นรางกาย : กระโดดขาเดียวไปขา งหนา ไดอ ยางตอ เนือ่ งโดยไมเสียการทรงตวั ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายคุณภาพ ๓ หรอื ดี กระโดดขาเดียวไปขางหนา ไดอยางตอเนอื่ ง โดยไมเสียการทรงตัว ๒ หรือ พอใช กระโดดขาเดยี วไปขา งหนาไดแ ตไมต อ เน่ือง เสยี การทรงตวั ๑ หรือ ควรสงเสริม กระโดดขาเดียวไปขางหนาไมไดอ ยางตอเน่อื ง ตวั อยางคําอธิบาย ดานอารมณ จิตใจ : สนใจ มีความสขุ และแสดงออกผา นงานศิลปะ ระดบั คุณภาพ คาํ อธิบายคุณภาพ ๓ หรือ ดี แสดงสหี นา หรอื ทา ทางสนใจ และมคี วามสขุ ขณะทาํ งานทุกชว งกจิ กรรม ๒ หรอื พอใช แสดงสหี นาหรอื ทาทางสนใจ และมีความสขุ ขณะทาํ งานบางชว งกิจกรรม ๑ หรือ ควรสง เสรมิ ไมแ สดงสหี นาหรือทา ทางสนใจ ขณะทาํ กจิ กรรม

ตัวอยางคาํ อธิบาย ดา นสังคม : ใชส ่งิ ของเครือ่ งใชอยางประหยดั และพอเพียงดวยตนเอง ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายคณุ ภาพ ๓ หรือ ดี ใชส ่งิ ของเคร่อื งใชอยา งประหยัดและพอเพยี งดวยตนเอง ๒ หรอื พอใช ใชส่ิงของเครอื่ งใชอ ยา งประหยดั และพอเพยี ง เมอื่ มีผชู ้แี นะ ๑ หรอื ควรสงเสริม ใชสง่ิ ของเครื่องใชอยา งไมป ระหยัดและไมพอเพยี ง แมมีผชู แ้ี นะ ตวั อยางคําอธบิ าย ดานสตปิ ญ ญา : เขยี นช่ือของตนเองตามแบบ เขยี นขอความดวยวิธที ี่คิดขนึ้ เอง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ระดับคณุ ภาพ คําอธิบายคณุ ภาพ ๓ หรือ ดี เขียนช่ือตนเองตามแบบได และเขียนขอความเพื่อส่ือความหมายดวยวิธีท่ีคิด ๒ หรอื พอใช สะกดคําขน้ึ เองได เขยี นชอื่ ตนเองตามแบบได หรอื เขยี นขอ ความเพอ่ื สอ่ื ความหมายดว ยวธิ ที คี่ ดิ สะกดคาํ ๑ หรอื ควรสง เสริม ขึน้ เองได เขยี นชอื่ ตนเองไมไ ด 124 ๔. การดาํ เนินการเกบ็ รวบรวมขอมลูคูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ เมอื่ ผสู อนวางแผนการประเมนิ พฒั นาการแลว ควรทาํ การสงั เกตพฤตกิ รรมของเดก็ เปน รายบคุ คล หรือรายกลุม ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย เชน การพูดคุย หรือสัมภาษณเด็ก หรือการประเมินผลงาน/ชิ้นงาน ของเด็กอยางเปนระบบ เพ่ือรวบรวมขอมูลพัฒนาการของเด็กใหครอบคลุมเด็กทุกคนแลวสรุปลงในแบบบันทึก ผลการประเมนิ สภาพทพี่ ึงประสงค ในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู ผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพทพ่ี งึ ประสงค ผสู อนควรเกบ็ รวบรวมขอมูลเปนรายบุคคล โดยสภาพท่ีพึงประสงค ๑ ตัว ควรไดรับการประเมินพัฒนาการอยางนอย ๒ ครั้ง ตอ ๑ ภาคเรียน ระยะแรกควรเปนการประเมินเพ่ือความกาวหนาไมควรเปนการประเมินเพื่อตัดสิน พัฒนาการของเด็ก ดังนั้น การเก็บรวบรวมขอมูลผลการประเมินพัฒนาการตามหนวยการจัดประสบการณ จงึ เปน การสะสมเพื่อยนื ยนั วา เด็กเกิดพัฒนาการตามสภาพทพ่ี ึงประสงคน้นั ๆ ชัดเจนและมีความนาเชื่อถอื ๕. การสรุปผลการประเมินพัฒนาการ หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ กาํ หนดการจัดเวลาเรียนสําหรบั เดก็ ปฐมวยั ตอ ๑ ปก ารศกึ ษา ไมน อ ยกวา ๑๘๐ วนั สถานศกึ ษาจงึ ควรบรหิ ารจดั การเวลาเรยี นใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ตอ การพฒั นา เดก็ อยา งรอบดา นและสมดลุ ผสู อนตอ งเก็บรวบรวมขอมลู พฤติกรรมทแี่ สดงถึงพัฒนาการของเดก็ อยา งตอ เนอ่ื ง มกี ารประเมนิ ซา้ํ ของพฤตกิ รรมนนั้ ๆ เพอ่ื ยนื ยนั ความเชอื่ มน่ั ของผลการประเมนิ สรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ตามสภาพทพี่ ึงประสงคใ หครบทุกสภาพท่ีพงึ ประสงค ซง่ึ จะเชื่อมโยงไปสกู ารสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ รายตวั บง ชี้ รายมาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค และในภาพรวมพฒั นาการรายดา นของเดก็ แตล ะคนตามลาํ ดบั

สถานศึกษาควรสรุปผลการประเมินพัฒนาการเด็กรายตัวบงชี้ รายมาตรฐานคุณลักษณะ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ทพี่ งึ ประสงค และในภาพรวมของพฒั นาการรายดา น ภาคเรยี นละ ๑ ครงั้ สาํ หรบั แนวทางการสรปุ ผลการประเมนิ 125 พัฒนาการเด็กตามสภาพท่ีพึงประสงคในแตละตัวบงชค้ี วรใชฐานนิยม (Mode) ไมควรนําคาระดับคุณภาพ ของสภาพทพี่ งึ ประสงคม าหาคาเฉล่ีย ในกรณีมีฐานนิยมมากกวา ๑ ฐานนยิ ม คอื มรี ะดบั คณุ ภาพซา้ํ มากกวา คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑ ระดับคุณภาพ การสรุปผลการประเมินพัฒนาการเด็กในแตละตัวบงชี้ใหอยูในดุลยพินิจของสถานศึกษา โดยคาํ นงึ ถงึ ปรชั ญาการศกึ ษา และหลกั การของหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ รวมทงั้ การนาํ ขอ มลู ผลการประเมินพัฒนาการไปใชเพ่อื พัฒนาเดก็ ตอ ไป ๖. การรายงานผลการประเมินพฒั นาการและการนาํ ขอ มูลไปใช การรายงานผลการประเมินพัฒนาการเปนการส่ือสารใหพอแม ผูปกครอง และผูเก่ียวของ ไดท ราบความกา วหนา ในการเรยี นรขู องเดก็ ซงึ่ สถานศกึ ษาตอ งสรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการและจดั ทาํ เอกสาร รายงานใหผปู กครองทราบเปนระยะๆ หรอื อยา งนอ ยภาคเรียนละ ๑ ครงั้ การรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ สามารถรายงานเปนระดับคุณภาพตามพฤติกรรมที่แสดงออกถึงพัฒนาการแตละดาน ท่ีสะทอนมาตรฐาน คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคท้งั ๑๒ ขอ ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๖.๑ จุดมงุ หมายการรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ ๑) เพือ่ ใหพอ แม ผูปกครอง และผูเก่ียวของใชเปน ขอ มลู ในการปรับปรุงแกไ ข สง เสริม และพฒั นาเด็กใหม คี ณุ ภาพตามมาตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคที่กาํ หนดในหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั ๒) เพื่อใหผูสอนใชเปนขอมูลในการวางแผนการจัดประสบการณการเรียนรูใหมี ประสทิ ธิภาพยิ่งขึ้น ๓) เพ่ือเปนขอมูลสําหรับสถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา และหนวยงานตนสังกัด ใชประกอบในการกาํ หนดนโยบายวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวยั ๖.๒ ขอ มลู ในการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ ๖.๒.๑ ขอมูลระดับชั้นเรียน ประกอบดวย เวลามาเรียน บันทึกผลการประเมิน พฒั นาการตามหนวยการจดั ประสบการณ บันทึกผลการประเมินพัฒนาการประจําช้ัน และบันทกึ ผลพฒั นาการ รายบุคคล และจัดทาํ สารนิทศั นท่ีสะทอ นการเรยี นรูข องเด็ก เปนขอมลู สําหรบั รายงานใหผูมีสว นเกย่ี วขอ ง ไดแ ก ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน พอแม ผูปกครอง ไดรับทราบความกาวหนา ความสําเร็จในการเรียนรูของเด็ก เพอื่ นาํ ไปใชในการวางแผนกําหนดเปาหมายและวธิ ีการในการพัฒนาเดก็ ๖.๒.๒ ขอ มลู ระดบั สถานศึกษา ประกอบดวย ผลการประเมนิ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะ ท่ีพึงประสงคทั้ง ๑๒ ขอตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เพ่ือใชเปนขอมูลและสารสนเทศในการพัฒนาการจัด ประสบการณและคุณภาพของเด็ก ใหเปนไปตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค รวมทั้งแจงใหผูปกครอง และผูเกยี่ วขอ งไดรับทราบขอ มูล โดยผมู หี นาทีร่ บั ผดิ ชอบแตละฝา ยนาํ ไปใชปรับปรงุ แกไขและพัฒนาเด็กใหเกดิ พัฒนาการอยา งถูกตอ งเหมาะสม รวมท้ังนาํ ไปจัดทาํ เอกสารหลกั ฐานแสดงพฒั นาการของผเู รยี น ๖.๒.๓ ขอมูลระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบดวย ผลการประเมินมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงคทั้ง ๑๒ ขอตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยเปนรายสถานศึกษา เพื่อเปนขอมูลสําหรับ ศึกษานิเทศก ผูบริหารการศึกษา ผูเก่ียวของใชวางแผนและดําเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยของ สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา ในการยกระดับคุณภาพเดก็ ปฐมวัยและมาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๖.๓ ลกั ษณะขอ มูลสําหรับการรายงานผลการประเมินพฒั นาการ การรายงานผลการประเมนิ พฒั นาการ สถานศกึ ษาหรอื สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สามารถ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ เลือกลักษณะขอมูลสําหรับการรายงานไดหลายรูปแบบใหเหมาะสมกับวิธีการรายงานและสอดคลองกับการให ระดบั ผลการประเมินพฒั นาการ โดยคาํ นงึ ถงึ ประสิทธิภาพของการรายงานและการนาํ ขอมลู ไปใชป ระโยชนของ ผรู ับรายงานแตละฝาย ลกั ษณะขอ มูลมีรูปแบบ ดงั นี้ ๖.๓.๑ รายงานเปน ตวั เลข หรอื ระบบทใี่ ชค าํ สาํ คญั เปน ตวั แทนระดบั คณุ ภาพพฒั นาการ ของเดก็ ทเี่ กิดจากการประมวลผล สรปุ ตดั สินขอมูลผลการประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ไดแก - ระดับผลการประเมนิ พฒั นาการมี ๓ ระดบั คือ ๓, ๒, ๑ - ผลการประเมินคณุ ภาพ “ดี” “พอใช” และ “ควรสงเสรมิ ” ๖.๓.๒ รายงานโดยใชสถิติ เปนการรายงานจากขอมูลที่เปนตัวเลข หรือขอความ ใหเ ปน ภาพแผนภมู หิ รอื เสน พฒั นาการ ซง่ึ จะแสดงใหเ หน็ พฒั นาการความกา วหนา ของเดก็ วา ดขี นึ้ หรอื ควรไดร บั การพฒั นาอยา งไร เมอ่ื เวลาเปลยี่ นแปลงไป ๖.๓.๓ รายงานเปนขอความ เปนการบรรยายพฤติกรรมหรือคุณภาพที่ผูสอน สังเกตพบ เพ่ือรายงานใหพอแม ผูปกครอง และผูเก่ียวของทราบวาเด็กมีความสามารถ มีพฤติกรรม ตามคณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข องหลกั สตู รอยา งไร ๖.๔ เปา หมายของการรายงาน การดําเนินการจัดการศึกษาปฐมวัย ประกอบดวย บุคลากรหลายฝายมารวมมือ 126 ประสานงานกันพัฒนาเด็กท้ังทางตรงและทางออม ใหมีพัฒนาการ ทักษะ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคโดยผูมีสวนเก่ียวของควรไดรับการรายงานผลการประเมินพัฒนาการ ของเด็กเพือ่ ใชเปนขอมูลในการดําเนินงานดงั ตารางตอ ไปนี้ กลมุ เปา หมาย การใชขอมลู ผสู อน - วางแผนและดําเนินการปรบั ปรงุ แกไขและพัฒนาเด็ก - ปรับปรุงแกไขและพัฒนาการจัดประสบการณ ผบู รหิ ารสถานศึกษา - สง เสรมิ และพัฒนากระบวนการจดั ประสบการณการเรียนรู ระดับปฐมวัยของสถานศึกษา พอ แม และผปู กครอง - รบั ทราบผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็ก - ปรับปรงุ แกไขและพัฒนาการเรยี นรขู องเดก็ รวมทง้ั การดแู ลสขุ ภาพ อนามัย รางกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และพฤติกรรมตางๆ ของเดก็ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน - พฒั นาแนวทางการจัดการศกึ ษาปฐมวัยของสถานศึกษา สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา/ - ยกระดบั และพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาปฐมวยั ของสถานศึกษา หนวยงานตน สังกดั ในเขตพืน้ ท่ีการศึกษา - นเิ ทศ กาํ กับ ตดิ ตาม ประเมินผลและใหค วามชวยเหลอื การพฒั นา คุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษาในสังกดั

๖.๕ วิธีการรายงานผลการประเมนิ พัฒนาการ การรายงานผลการประเมินพัฒนาการใหผูเก่ียวของรับทราบ โดยบันทึกขอมูล ในแบบรายงานตางๆ สามารถใชอ า งอิง ตรวจสอบ และรบั รองผลพฒั นาการของเด็ก เชน แบบบันทกึ ผลการประเมนิ พัฒนาการประจําช้ัน สมุดรายงานประจําตัวเด็ก แฟมสะสมงานของเด็กรายบุคคล นอกจากนี้ การรายงาน คุณภาพการศึกษาปฐมวัยใหผูเกี่ยวของทราบในระดับหนวยงานอาจใชรายงานการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาปฐมวัยประจําป จุลสารหรือวารสารของโรงเรียน หรืออาจมีการใหขอมูลกับผูปกครองในลักษณะ การใหค าํ ปรกึ ษาหรือทางการสง จดหมายสวนตัว ฯลฯ ตวั อยา งท่ี ๑ การวเิ คราะหม าตรฐาน ตวั บง ช้ี สภาพทพี่ งึ ประสงคข องเดก็ ปฐมวยั อายุ ๕ - ๖ ป และ การกําหนดการประเมินจากการตรวจสอบขอมูลที่เกิดจากการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันและการจัดประสบการณ การเรยี นรู สภาพทีพ่ งึ ประสงค การปฏบิ ตั ิ การจัดประสบการณ หมายเหตุ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป วธิ ีการประเมนิ พัฒนาการ กิจวัตร การเรยี นรู ประจําวนั หนวยท่.ี .... หนว ยท่ี..... พัฒนาการดา นรา งกาย มาตรฐานที่ ๑ รางกายเจรญิ เตบิ โตตามวยั และมีสขุ นิสยั ท่ดี ี ๑.๑.๑ นา้ํ หนกั และสว นสงู วัดสว นสูง ชัง่ นา้ํ หนกั และ ✓ 127 ตามเกณฑของกรมอนามยั บนั ทกึ การเจรญิ เติบโต คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑.๒.๑ รับประทานอาหาร สังเกตการรบั ประทาน ที่มีประโยชนไดหลายชนิด อาหารวาง อาหารกลางวัน และด่ืมนํา้ สะอาดได อาหารเสรมิ (นม) การดมื่ นา้ํ ✓ ✓ ✓ ดวยตนเอง ๑.๒.๒ ลางมือกอน สงั เกตการลางมือ รับประทานอาหารและ กอนรับประทานอาหาร หลังจากใชห องนา้ํ หอ งสว ม และหลงั การใชห องนํ้า ✓ ดวยตนเอง หองสว ม ๑.๒.๓ นอนพักผอ น สงั เกตชว งเวลา ✓ เปน เวลา การนอนพักผอนกลางวนั ๑.๒.๔ ออกกําลังกาย สังเกตการออกกําลงั กาย ✓ ✓ เปนเวลา ชวงเวลาตางๆ ๑.๓.๑ เลน ทํากิจกรรม สังเกตการเลน และ ✓✓ และปฏบิ ัติตอ ผอู น่ื ทํากิจกรรมตา งๆ อยา งปลอดภัย

สภาพท่พี ึงประสงค การปฏบิ ตั ิ การจัดประสบการณ หมายเหตุ วธิ กี ารประเมนิ พฒั นาการ กจิ วตั ร การเรียนรู ประจําวัน หนวยท.่ี .... หนว ยท.ี่ .... พัฒนาการดา นอารมณ จิตใจ มาตรฐานที่ ๓ มีสุขภาพจติ ดีและมีความสขุ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ สงั เกตจากพฤตกิ รรมสหี นา ✓ ✓ ความรสู ึกไดส อดคลอ งกับ ทาทาง ในสถานการณจริง สถานการณอยางเหมาะสม ทเ่ี กิดขน้ึ ๓.๒.๑ กลา พูดกลา แสดงออก สังเกตพฤติกรรมเดก็ ✓ ✓ อยา งเหมาะสมตาม ทมี่ ีปฏสิ ัมพนั ธก บั ผูอืน่ สถานการณ ในสถานการณต า งๆ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป พฒั นาการดานสังคม มาตรฐานที่ ๖ มที กั ษะชวี ิตและปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖.๑.๑ แตง ตัวดว ยตนเอง สงั เกตพฤตกิ รรมทีเ่ ด็ก ✓ ✓ ไดอ ยางคลอ งแคลว สวมเครือ่ งแตง กาย 128 ๖.๑.๒ รับประทานอาหาร สังเกตการรบั ประทาน ✓ ดวยตนเองอยางถูกวธิ ี อาหารวาง อาหารกลางวนั คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๖.๑.๓ ใชและทําความ สังเกตเดก็ ปฏิบัตติ นในการ ✓ สะอาดหลังใชห อ งน้ํา ใชห องนา้ํ หองสว มได หองสวมดวยตนเอง ๖.๒.๑ เก็บของเลน ของใช สังเกตเดก็ เกบ็ ของเลน ✓ ✓ เขา ทอี่ ยา งเรยี บรอ ย ของใชเ ขาที่ เชน รองเทา ดว ยตนเอง แกวนํ้า แปรงสฟี น ผาเช็ดหนา ทน่ี อน ฯลฯ ๖.๒.๒ เขา แถวตามลาํ ดบั สังเกตการเขาแถว ✓✓ กอนหลงั ไดดว ยตนเอง ในกจิ กรรมตา งๆ ๖.๓.๑ ใชสง่ิ ของเครือ่ งใช สงั เกตการใชสิง่ ของ ✓ ✓ อยา งประหยดั และพอเพียง เครื่องใชต างๆ ดแู ล ดวยตนเอง ของเลน ของใชใ นชั้นเรยี น

สภาพท่พี ึงประสงค การปฏิบัติ การจดั ประสบการณ หมายเหตุ วธิ ีการประเมินพฒั นาการ กิจวตั ร การเรยี นรู ประจําวัน หนว ยท่ี..... หนวยท่ี..... พฒั นาการดานสติปญญา มาตรฐานที่ ๙ ใชภาษาสื่อสารไดเหมาะสมกบั วัย ๙.๑.๒ เลา เปน เร่อื งราว สังเกตการเลา ✓✓ ตอ เน่อื งได เรอ่ื งราวตางๆ ๙.๒.๑ อา นภาพ สังเกตจากการอา นภาพ สัญลักษณ คํา ดว ยการช้ี อานนทิ าน อา นปาย หรือกวาดตามองจดุ เรมิ่ ตน สัญลักษณ การอา นหนังสอื ✓ ✓ และจดุ จบของขอ ความ ในสถานการณตางๆ ๙.๒.๒ เขยี นชอ่ื ของตนเอง การเขยี นชอื่ ตนเอง เขียน ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ตามแบบ เขียนขอความ ตวั อกั ษร/คํา หรอื ขอ ความ ดว ยวธิ ีท่คี ดิ ขึ้นเอง ดวยวิธีทค่ี ดิ ขึ้นเอง คาํ ที่เขยี น ✓ อาจสลบั ท่ตี วั อักษร 129 คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ตัวอยางท่ี ๒ แบบบันทึกพฤตกิ รรม เดก็ หญิงจันทรเ จา (นามสมมต)ิ เกดิ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕ อายุ ๕ ป ช่ือผูสังเกต นางสาวนา้ํ หวาน (นามสมมติ) ๑.๒.๑ รบั ประทาน ๑.๓.๑ เลน ๓.๑.๑ แสดงออก ๔.๑.๒ สนใจ ๕.๒.๑ ชวยเหลอื อาหารที่มปี ระโยชน ทาํ กจิ กรรมและ ทางอารมณ ความรูสกึ มคี วามสขุ และ และแบง ปนผอู นื่ ไดห ลายชนิดและ ปฏบิ ตั ติ อผอู ่ืน ไดสอดคลองกบั แสดงออกผาน ไดด ว ยตนเอง ดืม่ นาํ้ สะอาด อยางปลอดภยั สถานการณอยา ง เสยี งเพลง ดนตรี ไดด ว ยตนเอง เหมาะสม ๑๐/๗/๒๕๖๐ ๑๘/๘/๒๕๖๐ ๒๓/๖/๒๕๖๐ ๒๘/๗/๒๕๖๐ ๑๖/๖/๒๕๖๐ รับประทานอาหาร นงั่ ชงิ ชา และ ย้มิ และรองเพลง เคลื่อนไหวรางกาย แบงสีเทยี นใหเพอื่ นใช ไดห มดทุกชนดิ และ คอ ยๆ แกวงพรอมท้งั พรอ มท้ังโยกศรี ษะ ตามจังหวะดนตรี ด่มื นํ้าไดห มดแกว บอกใหเพ่อื นออกไป ไปรอบๆ หอ ง ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ดว ยตนเอง อยหู า งๆ โดยไมชนเพอื่ น ๕.๓.๑ แสดงสหี นา ๖.๑.๑ แตง ตวั ดวย ๘.๓.๑ มสี วนรว ม ๘.๓.๒ ปฏบิ ัติตน ๑๑.๑.๑ สราง และทา ทางรบั รู ตนเองไดอ ยา ง สรางขอ ตกลงและ เปน ผนู าํ ผตู าม ผลงานศิลปะเพอ่ื ความรสู กึ ผูอน่ื คลองแคลว ปฏบิ ตั ติ ามขอตกลง ไดเหมาะสมกับ สอ่ื สารความคดิ อยางสอดคลอ งกับ ดว ยตนเอง สถานการณ ความรสู กึ ของ 130 สถานการณ ตนเอง โดยมีการ ดดั แปลงแปลกใหม จากเดิม และมี คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ รายละเอยี ดเพม่ิ ขนึ้ ๒๑/๙/๒๕๖๐ ๑๕/๗/๒๕๖๐ ๓๑/๘/๒๕๖๐ ๖/๙/๒๕๖๐ ๒๔/๙/๒๕๖๐ เขาไปโอบเพือ่ นท่ี แตงตวั เปนเจาหญิง หยิบรองเทา ไปเก็บ เปนผูนาํ แสดงทาทาง ใชสเี ทียนตกแตง กาํ ลังรองไหแ ละพดู วา ในมมุ บทบาทสมมติ ทช่ี ัน้ วางรองเทา ของ เคลอ่ื นไหวรางกาย แกนกระดาษทิชชู “โอๆ ไมตอ งรองนะ” เดก็ หญิงตามท่ีตกลง โดยที่ครูตองชว ย แตกตางจากเพอื่ นๆ กันไว กระตุน จากตัวอยางท่ี ๒ แบบบันทึกพฤติกรรมของเด็กหญิงจันทรเจา พบวา มีพฤติกรรมตามสภาพ ที่พึงประสงค ยกเวนการปฏิบัติตนเปนผูนําผูตามไดเหมาะสมกับสถานการณควรไดรับการชวยเหลือ เน่ืองจาก แสดงพฤติกรรมตาํ่ กวา สภาพท่พี ึงประสงค

ตวั อยา งที่ ๓ การบนั ทกึ พฤติกรรมแบบไมเปนทางการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ตัวอยาง แบบบนั ทึกรายวัน 131 ชอ่ื ด.ญ.จันทรเจา (นามสมมติ) เกดิ วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ช้ันอนุบาลปท ี่ ๓/๑ ชื่อครผู ูส งั เกต นางสาวนาํ้ หวาน (นามสมมติ) วนั ท่ีบนั ทกึ ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ เวลา ๑๐.๐๐ น. คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ สถานที่ : บอ ทราย พฤติกรรม : นองเลน อยูใ นบอทรายเปย กกบั เพ่ือนๆ โดยใชอ ุปกรณของเลน ไดแ ก ชอ น ตกั ตวงทรายใส ตะแกรงท่ีมีรู ตกั ทรายใสถังแลวกอ กองทรายเปน ปราสาท จากน้ันก็ใชแมพ ิมพพ ลาสตกิ รูปสัตวตา งๆ เชน กุงและหอยวางเรียงสลับกันไวรอบๆ ปราสาท ตักทรายใสขวดนํ้าพลาสติก ปดฝา เขยาโดยเอามาเขยา ใกลๆ หู พรอ มทง้ั หนั ไปบอกนอ งมะปรางวา “มเี สยี งดงั ดว ยนะ” “ลองฟง ด”ู จากนนั้ กย็ น่ื ขวดนา้ํ พลาสตกิ ท่ี ใสท รายใหน อ งมะปรางลองเขยา ดู นอ งมะปรางพดู วา “จรงิ ดว ย มเี สยี ง” แลว นอ งจนั ทรเ จา กเ็ ททรายออก ตักทรายเขาไปอีกแลวเขยา เททรายออก ตักทรายเขาไป ทดลองเขยาซ้ําไปมาหลายครั้ง นองมะปราง ทําเชนเดียวกันกับนองจันทรเจา แตใสทรายเขาไปเกือบเต็มขวด นองจันทรเจาพูดวา “อยาใสทราย เยอะนะ เขยาไมไ ด” “ทรายเปย กติดอยูใ นขวดเทออกไมห มด” “ตองเคาะเอาทรายออกกอ น” ความคดิ เหน็ ของผสู อน : จากการเลน ทราย นอ งจนั ทรเ จา ไดใ ชป ระสาทสมั ผสั ทงั้ หา ในการเรยี นรู ไดค น พบ ขอเท็จจริง ไดรับประสบการณตรงจากส่ิงที่เปนธรรมชาติคือ การเลนทราย ทํากิจกรรมรวมกับเพื่อน (๑.๓.๑ เลน ทํากิจกรรมและปฏิบัติตอผูอ่ืนอยางปลอดภัย) ไดสัมผัสทราย และใชมือในการหยิบจับ อุปกรณบอกไดว า ทรายกระทบวตั ถตุ า งๆ จะเกดิ เสยี งแตกตางกนั (๑๐.๑.๑ บอกลกั ษณะ สว นประกอบ การเปล่ียนแปลง หรือความสัมพันธของส่ิงตางๆ จากการสังเกตโดยใชประสาทสัมผัส) ไดใชภาษา จากการสนทนา การพูดกับผูอ่ืน ไดเรียนรูคําศัพทท่ีใชเรียกสิ่งหนึ่งที่เปนธรรมชาติ เชน ทรายเปยก ทรายแหง แสดงความคดิ ริเริ่มในการเลนโดยใชท รายใสข วดแลวเขยาเพือ่ ใหเกดิ เสยี ง และแกป ญหาการเลนได (๑๐.๓.๒ ระบุปญหา สรางทางเลือกและเลือกวิธแี กป ญหา) จากตัวอยางที่ ๓ แบบบันทึกพฤติกรรม พบวา เด็กหญิงจันทรเจาเลน ทํากิจกรรม และปฏิบัติ ตอผอู นื่ อยา งปลอดภัย ไดจ ากการสมั ผสั ทราย และใชมอื ในการหยิบจับอปุ กรณบอกไดว า ทรายเม่อื กระทบวัตถุ ตางๆ จะเกดิ เสยี งแตกตา งกัน บอกลักษณะ สวนประกอบ การเปลยี่ นแปลง หรอื ความสัมพนั ธข องส่งิ ตางๆ จากการสงั เกตโดยใชป ระสาทสมั ผสั โดยการสนทนา การพดู กบั ผอู นื่ เดก็ ไดเ รยี นรคู าํ ศพั ทท ใ่ี ชเ รยี กสงิ่ หนงึ่ ทเ่ี ปน ธรรมชาติ เชน ทรายเปยก ทรายแหง และสามารถระบปุ ญ หาสรา งทางเลอื กและเลอื กวธิ ีแกป ญ หา การแสดง ความคดิ ริเริ่ม ในการเลน โดยใชทรายใสข วดแลวเขยาเพ่ือใหเ กดิ เสียง แกปญ หาการเลน ได

ตัวอยา งท่ี ๔ แบบสํารวจรายการ ชอ่ื ด.ช./ด.ญ………..............................................................เกิดวนั ท…่ี …….เดอื น…………..……….พ.ศ. ................... คําชี้แจง โปรดทาํ เครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชองตรงกับพฤตกิ รรมของเด็ก คร้ังที่ ๑ ครัง้ ที่ ๒ คร้งั ที่ ๓ พัฒนาการ พฤติกรรมเด็ก ไม ปฏิบตั ิ ไม ปฏบิ ตั ิ ไม ปฏบิ ัติ สรปุ ปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัติ ดานรา งกาย ๑.๒.๒ ลางมือกอนรบั ประทานอาหาร ✓ ✓ ✓ ปฏิบัติ และหลงั จากใชหองนาํ้ หองสว มได ดวยตนเอง ๑.๒.๓ นอนพักผอ นเปน เวลา ✓ ✓ ✓ ปฏบิ ัติ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ๑.๓.๑ เลน ทาํ กิจกรรมและปฏิบัตติ อ ✓ ✓ ✓ ปฏบิ ัติ ผูอ ่นื อยา งปลอดภัย ดานอารมณ ๓.๑.๑ แสดงอารมณ ความรสู ึกได ✓ ✓ ✓ ปฏิบัติ จิตใจ สอดคลอ งกบั สถานการณอ ยา งเหมาะสม 132 ๓.๒.๑ กลาพูดกลาแสดงออก ✓ ✓ ยงั สรปุ อยางเหมาะสมตามสถานการณ ไมไ ด คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ดา นสติ ๑๐.๑.๓ จําแนกและจัดกลมุ สิ่งตางๆ ✓ ✓ ยงั สรุป ปญญา โดยใชต้งั แต ๒ ลักษณะข้ึนไป ไมได เปนเกณฑ ๑๒.๑.๒ กระตอื รือรน ในการรวม ✓ ✓ ปฏบิ ัติ กิจกรรมต้งั แตตน จนจบ จากตวั อยา งที่ ๔ แบบสํารวจรายการเด็กชาย/เด็กหญิง... ดานรางกาย พบวา มพี ฤตกิ รรมลางมอื กอนรับประทานอาหารและหลังจากใชหองน้ําหองสวมไดดวยตนเอง นอนพักผอนเปนเวลา และเลน ทาํ กจิ กรรมและปฏบิ ตั ติ อ ผอู นื่ อยา งปลอดภยั ดา นอารมณ จติ ใจ พบวา แสดงอารมณ ความรสู กึ ไดส อดคลอ งกบั สถานการณอ ยา งเหมาะสม และดา นสตปิ ญญา พบวา กระตอื รือรนในการรว มกจิ กรรมต้ังแตตนจนจบ ขอสังเกต/ขอเสนอแนะ ควรมีการจัดประสบการณใหเด็กมีโอกาสแสดงออก และทํากิจกรรม จําแนกและจัดกลุมสิ่งตางๆ โดยใชต้ังแต ๒ ลักษณะขึ้นไปเปนเกณฑ เพิ่มมากข้ึน แลวจึงประเมินพฤติกรรม การแสดงออกและการจาํ แนกอีกครง้ั กอนสรุปผลการประเมิน

ตวั อยา งท่ี ๕ แบบบันทกึ การสนทนา ชอื่ สกุล เดก็ หญิงไก สมบูรณดี ชั้น อนบุ าล ๓/๑ อายุ ๕/๕ ป ภาคเรียนที่...๒.../...๒๕๖๐... กจิ กรรม การสนทนาขา วและเหตุการณตอนเชา วนั เดือน ป คาํ พูดของเดก็ ความคดิ เหน็ ผูสอน ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ วนั หยุดหนูชว ยคุณแมลางจาน นอ งไกกลา พดู กลาแสดงออก ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๐ คณุ พอสอนหนูปน จักรยาน หนปู น ไดแ ลว อยา งเหมาะสมตามสถานการณ ๑๕ สงิ หาคม ๒๕๖๐ หนนู วดขาใหค ุณยาย คุณยายหนูไมส บายตองไปหาหมอ (๓.๒.๑) ฟงผอู ืน่ พูดจนจบและ ๑๓ กันยายน ๒๕๖๐ เลกิ เรียนคณุ แมจ ะพาหนูไปซ้อื เคกวนั เกิด สนทนาโตตอบอยา งตอเนอ่ื ง ๒๖ กนั ยายน ๒๕๖๐ หนูชอบเคกช็อกโกแลต เชอ่ื มโยงเร่ืองที่ฟง (๙.๑.๑) เม่อื วานนี้ฝนตก ท่บี า นหนูไฟดับ ตนไมหักดว ย มคี วามคดิ รวบยอด เรอื่ ง “วนั น้ี เพราะลมแรง และเมือ่ วาน” และบอกส่ิงท่จี ะ ปด เทอมคณุ แมจ ะพาหนไู ปเท่ียวทะเล หนูจะไปเลน ทาํ ในอนาคตได (๑๐.๒.๑) ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป น้ําทะเลกับแมก บั นอ งและเกบ็ เปลือกหอยดวย จากตัวอยางที่ ๕ แบบบันทึกการสนทนาของเด็กหญิงไก สมบูรณดี พบวา มีพฤติกรรมฟงผูอื่น 133 พูดจนจบและสนทนาโตตอบอยางตอเน่ือง สามารถเชื่อมโยงเร่ืองที่ฟงได กลาพูดกลาแสดงออกอยางเหมาะสม ตามสถานการณ และมีความเขาใจ มคี วามคิดรวบยอดเรื่องวันนี้ เมอื่ วาน และบอกส่ิงทจี่ ะทาํ ในอนาคตได คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ตวั อยา งที่ ๖ แบบสมั ภาษณ เด็กหญงิ “นองครีม” (นามสมมต)ิ วตั ถุประสงคเพ่ือสัมภาษณเก่ียวกบั การเลน และทาํ กิจกรรมรวมกบั เดก็ ท่ีแตกตางไปจากตน ผูสัมภาษณ : นอ งครมี คะ วนั นีห้ นูแตงตวั เหมือนหรือไมเหมอื นกับเพอ่ื นคนไหนบางคะ ผถู ูกสมั ภาษณ : วันนี้หนใู สเสื้อกีฬาสแี ดงเหมอื นนองเนยคะ แตโ ตใ สส ฟี า ไมเหมือนกัน ผสู มั ภาษณ : แลวหนกู บั นอ งเนยมีอะไรทไ่ี มเหมือนกัน ผูถกู สมั ภาษณ : เนยมีผิวสดี ํากวา หนู อว นกวา และผมสน้ั กวา คะ ผูสัมภาษณ : หนูเคยเลน กบั นอ งเนยไหมคะ เลนอะไรกนั ผถู กู สัมภาษณ : เลน กนั บอยๆ คะ เลนเปนครกู ับนักเรยี น หนูเปนนกั เรียน บางทีกเ็ ปนครคู ะ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป จากตัวอยางท่ี ๖ แบบสัมภาษณของนองครีม พบวา นอ งยอมรบั ความเหมอื นและความแตกตา ง ระหวางบุคคล ระหวางตัวเองกับเพ่ือนๆ ได เขาใจวาแตละคนมีสิ่งที่แตกตางกันและมีสิ่งที่เหมือนกัน และ เลนรว มกนั กบั เพือ่ นท่แี ตกตา งจากตวั เองได (๘.๑.๑) ผูบันทึก นางสาวแกวใจ (นามสมมต)ิ 134 คู ืมอหลัก ูสตรการ ึศกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ตวั อยางท่ี ๗ การสรุปผลการประเมินพฒั นาการดา นสติปญญา จําแนกตามตัวบงช้ีและสภาพที่พงึ ประสงคของนักเรยี นชัน้ อนุบาลปท ่ี ๓ (๕ - ๖ ป) ภาคเรยี นที่ ๑ ปการศกึ ษา ๒๕.......... มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาสื่อสารไดเ หมาะสมกบั วัย ตวั บงชี้ท่ี ๙.๑ สนทนาโตตอบและเลาเรือ่ งใหผูอน่ื เขา ใจ ตวั บงช้ที ่ี ๙.๒ อา น เขยี นภาพ และสญั ลักษณไ ด เลขที่ ชื่อ สกลุ ๙.๑.๑ ฟงผอู ืน่ พูดจนจบและ ๙.๑.๒ เลาเปน เรื่องราว สรปุ ๙.๒.๑ อานภาพ สญั ลกั ษณ ๙.๒.๒ เขียนช่ือของตนเอง สรปุ สนทนาโตตอบอยา งตอ เน่อื ง ตอเนอ่ื งได ตบช. คําดว ยการช้ีฯ ตามแบบฯ ตบช. เชอื่ มโยงกับเรื่องทีฟ่ ง ครั้งท่ี ครัง้ ท่ี ครง้ั ที่ สรปุ ครัง้ ท่ี ครงั้ ท่ี คร้งั ท่ี สรปุ ครง้ั ท่ี คร้งั ท่ี ครง้ั ท่ี สรปุ คร้งั ท่ี ครัง้ ที่ คร้ังท่ี สรุป ๑ ๒๓ ๑๒ ๓ ๑๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ด.ช.ไก ๑ ๒ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๓ ๓ ๓ ๒ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ จากตัวอยา งท่ี ๗ การสรุปผลการประเมนิ พฒั นาการดานสตปิ ญ ญา มาตรฐานท่ี ๙ ใชภาษาสื่อสารไดเ หมาะสมกับวยั ของเดก็ ชายไก โดยใชฐานนยิ ม (Mode) อยูใน ระดับคุณภาพท่ี ๒ อธบิ ายดังนี้ คูมือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 135 สําหรับเดก็ อายุ ๓ - ๖ ป

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๑. สรุปผลการประเมินรายสภาพที่พึงประสงค ใหนาํ ผลการประเมินคร้ังที่ ๑ ๒ ๓ มาสรปุ โดยใช ผลการประเมนิ ครง้ั สดุ ทา ย จากกรณเี ดก็ ชายไก สภาพทพี่ งึ ประสงค ๙.๑.๑ ฟง ผอู น่ื พดู จนจบและสนทนาโตต อบ อยางตอเนื่อง เชื่อมโยงกับเรื่องที่ฟง สรุปคุณภาพอยูในระดับ ๒ สภาพท่ีพึงประสงค ๙.๑.๒ เลาเปนเรื่องราว อยางตอเน่ือง สรุปคุณภาพอยูในระดับ ๒ สภาพท่ีพึงประสงค ๙.๒.๑ อานภาพ สัญลักษณคําดวยการชี้ หรอื กวาดตามองจุดเรมิ่ ตน และจดุ จบของขอ ความ สรุปคุณภาพอยูในระดบั ๒ และสภาพทพ่ี งึ ประสงค ๙.๒.๒ เขยี นชือ่ ของตนเองตามแบบ เขยี นขอความดว ยวิธที ีค่ ดิ ขน้ึ เอง สรปุ คุณภาพอยูใ นระดบั ๒ เชนเดยี วกัน ๒. สรปุ ผลการประเมนิ รายตวั บง ชี้ ใหน าํ ผลสรปุ การประเมนิ ครงั้ สดุ ทา ยของรายสภาพทพี่ งึ ประสงค มาสรปุ เปน ผลการประเมนิ ตวั บง ช้ี โดยใชฐ านนิยม (Mode) จากกรณีเดก็ ชายไก ตวั บง ช้ที ี่ ๙.๑ มคี วามสามารถ ในการคดิ รวบยอด มีคุณภาพอยใู นระดับ ๒ ตวั บงช้ที ่ี ๙.๒ อาน เขยี นภาพ และสญั ลกั ษณไ ดม ีคุณภาพอยใู น ระดบั ๒ ๓. สรุปผลการประเมินมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ใหนําผลสรุปการประเมินคร้ังสุดทาย ของรายตัวบงชี้มาสรปุ เปนผลการประเมนิ มาตรฐานคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค โดยใชฐ านนยิ ม (Mode) 136 คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐

ตวั อยางท่ี ๘ การสรปุ ผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กดานสติปญญา จาํ แนกตามมาตรฐานคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข องนักเรยี นชนั้ อนบุ าล ๓ (อายุ ๕ - ๖ ป) โรงเรยี น..............................................ภาคเรียนที่ ๑ ปก ารศกึ ษา ๒๕........... เด็กชายไก (นามสมมต)ิ พัฒนาการ ผลการประเมิน ภาคเรยี นท่ี ๑ สรุป ๓๒๑ พฒั นาการ ดา นสติปญ ญา ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป มฐ. ๙ ใชภาษาสอ่ื สารไดเหมาะสมกับวัย ✓ ๒ ๙.๑ สนทนาโตตอบและเลา เรื่องใหผูอ ื่นเขาใจ ✓ ๒ 137 ๙.๒ อาน เขยี นภาพ และสญั ลักษณได มฐ. ๑๐ มีความสามารถในการคิดที่เปนพืน้ ฐานในการเรยี นรู ✓ ๒ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๑๐.๑ มีความสามารถในการคดิ รวบยอด ✓ ๑๐.๒ มคี วามสามารถในการคดิ เชงิ เหตุผล ✓ ๒ ๑๐.๓ มีความสามารถในการคดิ แกป ญ หาและตัดสนิ ใจ มฐ. ๑๑ มีจนิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค ✓ ๓ ๑๑.๑ ทาํ งานศิลปะตามจินตนาการและความคดิ สรา งสรรค ✓ ๑๑.๒ แสดงทาทาง/เคลอื่ นไหวตามจินตนาการอยา งสรางสรรค มฐ. ๑๒ มีเจตคติท่ีดตี อ การเรียนรู และมีความสามารถในการ ✓ แสวงหาความรูไ ดเ หมาะสมกับวยั ✓ ๑๒.๑ มีเจตคตทิ ่ีดีตอ การเรยี นรู ๑๒.๒ มคี วามสามารถในการแสวงหาความรู จากตวั อยา งท่ี ๘ สรุปผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ดา นสตปิ ญ ญาโดยใชฐานนยิ ม (Mode) ของ เด็กชายไก ในภาพรวม มีคุณภาพอยูในระดับ ๒ เม่ือจําแนกตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค พบวา มาตรฐานท่ี ๙ ใชภ าษาสอื่ สารไดเ หมาะสมกบั วยั มคี ณุ ภาพอยใู นระดบั ๒ สาํ หรบั มาตรฐานที่ ๑๐ มคี วามสามารถ ในการคดิ ท่เี ปน พ้ืนฐานในการเรยี นรู มคี ุณภาพอยใู นระดบั ๒ สว นมาตรฐานที่ ๑๑ มีจินตนาการและความคิด สรา งสรรค มคี ณุ ภาพอยใู นระดบั ๒ (มฐี านนยิ ม ๒ ฐาน โดยตวั บง ชท้ี ี่ ๑๑.๑ ไดร ะดบั คณุ ภาพ ๒ และตวั บง ชที้ ี่ ๑๑.๒ ไดระดบั คณุ ภาพ ๓ เน่อื งจากเด็กกาํ ลงั เรยี นในภาคเรียนท่ี ๑ สถานศึกษาจึงสรุปผลการประเมินใหไดระดบั ๒ เพ่ือนาํ ขอมูลไปใช

ตอนที่ ๓ การบริหารจดั การการศึกษาปฐมวัย การบรหิ ารจดั การการศกึ ษาปฐมวยั เปน การดาํ เนนิ งานทน่ี าํ ไปสสู มั ฤทธผิ ล ของการนําหลักสูตรไปใช ผูบริหารสถานศึกษาจึงมีบทบาทสําคัญในการบริหาร จดั การศกึ ษา ไดแ ก การพฒั นาบคุ ลากรปฐมวยั ใหม คี วามรคู วามเขา ใจในการปฏบิ ตั งิ าน อยางมีระบบและตอเน่ือง การเปนผูนําในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย การสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากร การสงเสริมใหผูสอนระดับปฐมวัย นาํ หลกั สตู รไปใชใ นการจดั ประสบการณก ารเรยี นรู การนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล การนําหลักสูตรไปใชอยางเปนระบบ ผูสอนระดับปฐมวัยและบุคลากรท่ีเก่ียวของ มีบทบาทสําคัญย่ิงในการจัดประสบการณการเรียนรูใหเด็กมีพัฒนาการตาม มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคท่ีกําหนดไวในหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย การใหความชวยเหลือเด็กที่มีปญหาพฤติกรรมดวยความเขาใจ ดวยวิธีการท่ีถูกตอง เหมาะสม จะชวยใหเด็กเติบโตอยางมีคุณภาพ การจัดการศึกษาสําหรับกลุม เปาหมายเฉพาะ เปนการเปดโอกาสใหสามารถจัดการศึกษาไดหลายรูปแบบ และ การสรางรอยเชื่อมตอของการศึกษาระดับปฐมวัยกับระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ เพ่ือใหบุคลากรที่เกี่ยวของเขาใจพัฒนาการเรียนรูของเด็ก ใหเกิดการเชื่อมโยงในการจัด การศกึ ษาทัง้ สองระดับ

บทที่ ๘ แนวทางการดาํ เนินการบรหิ ารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั เปน หวั ใจสาํ คญั ของการกาํ หนดเปา หมายการพฒั นาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ของสถานศกึ ษา ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ผสู อนระดับปฐมวัย พอแมห รอื ผปู กครองเด็กปฐมวยั ชมุ ชน/ทอ งถนิ่ และ ผเู กยี่ วขอ งทกุ ฝา ย จงึ มบี ทบาทสาํ คญั ในการดาํ เนนิ การบรหิ ารจดั การหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ 139 เพ่อื เปนการสง เสรมิ ใหมีการนําหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยไปสูการปฏบิ ัติ ใหเกดิ ประโยชนส ูงสดุ ตอ การพฒั นา คุณภาพเด็ก การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย จึงประกอบดวยบุคคลที่เก่ียวของหลายฝาย ซึ่งมี คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ บทบาทหนาท่สี ําคญั ดงั นี้ บทบาทหนา ท่ีของผูเกี่ยวขอ งในการบรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั ๑. ผบู ริหารสถานศึกษา มีบทบาททส่ี าํ คัญ ดงั นี้ ๑) ศึกษาทําความเขาใจหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และมีวิสัยทัศนในการ บรหิ ารจัดการศึกษาตามหลกั การจัดการศกึ ษาปฐมวัย ๒) เปนผูนําในการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยรวมใหความเห็นชอบ และกําหนด วิสัยทศั นข องหลกั สตู ร ๓) คดั เลอื กบคุ ลากรทท่ี าํ งานกบั เดก็ ไดแ ก ผสู อน พเ่ี ลยี้ ง โดยคาํ นงึ ถงึ ความเหมาะสมและคณุ สมบตั ิ ของบคุ ลากร เชน - มีวุฒิทางการศึกษาดานการอนุบาลศึกษา/การศึกษาปฐมวัย หรือผานการอบรมเกี่ยวกับ การจัดการศกึ ษาปฐมวยั - มคี วามรักเด็ก จิตใจดี มีอารมณข ันและใจเยน็ ใหความเปน กนั เองกับเดก็ อยา งเสมอภาค - มบี คุ ลิกของความเปนผูสอน เขาใจและยอมรับธรรมชาติของเด็กตามวัย - พูดจาสภุ าพเรียบรอ ย ชดั เจนเปน แบบอยา งได - มคี วามเปนระเบยี บ สะอาด และรจู กั ประหยดั - มคี วามอดทน ขยนั ซ่ือสตั ยในการปฏบิ ัติงานในหนาทแี่ ละการปฏิบัติตอ เด็ก - มีอารมณรวมกับเด็ก รูจักรับฟง พิจารณาเร่ืองราวปญหาตางๆ ของเด็ก และตัดสิน ปญ หาตางๆ อยา งมเี หตุผล ดว ยความเปน ธรรม - มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตดี ๔) สง เสรมิ และจดั บรกิ ารทางการศกึ ษาใหเ ดก็ ไดเ ขา เรยี นอยา งทวั่ ถงึ เสมอภาค และปฏบิ ตั กิ ารรบั เด็กตามเกณฑท ีก่ ําหนด

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๕) สง เสรมิ ใหผสู อนและผทู ปี่ ฏิบตั ิงานกับเด็กไดพ ฒั นาตนเองใหมีความรู กาวหนาอยเู สมอ ๖) สรางความรว มมอื และประสานกบั บคุ ลากรทกุ ฝายในการจดั ทําหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐๗) จัดใหมีขอมูลสารสนเทศเกี่ยวกับตัวเด็ก งานวิชาการหลักสูตรอยางเปนระบบ และมีการ ประชาสมั พันธหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ๘) สนับสนุนการจดั สภาพแวดลอ ม สื่อ วัสดุอุปกรณ และแหลง เรียนรทู ีเ่ ออ้ื อาํ นวยตอ การเรียนรู และสงเสริมพฒั นาการเด็ก ๙) นิเทศ กํากบั ติดตามการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยจดั ใหม กี ารนเิ ทศภายในอยางมรี ะบบ ๑๐) กํากับ ติดตามใหมีการประเมินคุณภาพภายในระดับปฐมวัยในสถานศึกษา และนําผลจาก การประเมนิ ไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพเดก็ ๑๑) กาํ กบั ติดตามใหมกี ารประเมนิ การนําหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยไปใช เพอ่ื นาํ ผลจากการประเมนิ มาปรับปรุงและพัฒนาสาระของหลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ใหส อดคลองกบั ความตอ งการของเด็ก บริบทสงั คม และใหมคี วามทันสมยั ๒. ผสู อนระดบั ปฐมวัย การพัฒนาคุณภาพเด็กโดยถือวาเด็กมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริม ใหเ ดก็ สามารถพฒั นาตนตามธรรมชาติ สอดคลอ งกับพฒั นาการและเต็มตามศักยภาพ ดงั น้ัน ผสู อนจงึ มีบทบาท สาํ คญั ยง่ิ ในการจดั ทาํ หลกั สตู ร พฒั นาหลกั สตู ร และนาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ไปสกู ารปฏบิ ตั ทิ มี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 140 ทําใหก ระบวนการจัดการเรียนรูดงั กลา วบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปา หมาย ผสู อนจงึ ควรมีบทบาท/หนา ท่ี ดงั นี้ ๑) บทบาทในฐานะผบู รหิ ารหลักสตู ร - ทําหนาที่วางแผน จัดทําหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร หนวยการจัดประสบการณ การจดั ประสบการณก ารเรยี นรู และการประเมินผลพัฒนาการ - จดั ทาํ แผนการจดั ประสบการณท เ่ี นน เดก็ เปน สาํ คญั ใหเ ดก็ มอี สิ ระในการเรยี นรู เปด โอกาส ใหเ ดก็ เลน /ทํางานและเรียนรู ทัง้ รายบคุ คลและเปน กลุม - ประเมินผลการใชหลักสูตร เพ่ือนําผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย สอดคลองกับความตอ งการของเดก็ ชมุ ชน และทองถ่ิน ๒) บทบาทในฐานะผูเสริมสรางการเรียนรู - จดั ประสบการณก ารเรยี นรทู เี่ ดก็ กาํ หนดขนึ้ ดว ยตวั เดก็ เอง และผสู อนกบั เดก็ รว มกนั กาํ หนด เพอื่ พฒั นาเดก็ ใหค รอบคลมุ พฒั นาการทกุ ดา นในชวี ติ ประจาํ วนั ในการแสวงหาคาํ ตอบหรอื หาคาํ ตอบในสง่ิ ทเี่ ดก็ เรียนรอู ยางมีเหตผุ ล - จดั ประสบการณก ระตนุ ใหเ ด็กรว มคดิ แกปญ หา คน ควาหาคําตอบดว ยตนเอง ดวยวิธกี าร ศึกษาที่นาํ ไปสูการใฝร ูแ ละพฒั นาตนเอง - จัดสภาพแวดลอมและสรางบรรยากาศการเรียนรูที่สรางเสริมใหเด็กปฏิบัติกิจกรรม ผานการเลนไดเ ตม็ ตามศกั ยภาพและความสามารถของเดก็ แตละคน - สอดแทรกการอบรมดา นจรยิ ธรรมและคา นยิ มทพ่ี งึ ประสงคใ นการจดั การเรยี นรกู จิ วตั รประจาํ วนั และกิจกรรมตางๆ อยา งสมา่ํ เสมอ

- จัดกิจกรรมการเลนท่ีมีจุดมุงหมายเพ่ือสงเสริมการเรียนรูส่ิงแวดลอม ตลอดจนมีการ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ปฏสิ มั พันธก ับผูอ่ืน และเรยี นรวู ิธีการแกปญหาขอขดั แยง ตา งๆ 141 - ใชปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูสอนและเด็กในการดําเนินประสบการณการเรียนการสอน อยางสมํ่าเสมอ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ - จดั การประเมนิ ผลพฒั นาการทีส่ อดคลอ งกบั สภาพจรงิ และนําผลการประเมนิ มาปรับปรุง พัฒนาคณุ ภาพเดก็ ใหเ ต็มตามศกั ยภาพ และนํามาปรับปรุงพฒั นาการจดั ประสบการณข องตนใหม ปี ระสิทธิภาพ ๓) บทบาทในฐานะผูดแู ลเดก็ - สงั เกตและสง เสรมิ พฒั นาการเดก็ ทกุ ดา น ทงั้ ทางดา นรา งกาย อารมณ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ญ ญา - ฝก ใหเ ด็กชว ยเหลือตนเองในชีวติ ประจําวัน - ฝก ใหเด็กมคี วามเชือ่ ม่ัน มีความภมู ใิ จในตนเอง และกลา แสดงออก - ฝกการเรียนรูหนาที่ ความมีวนิ ัย และการมีนิสัยทด่ี ี - จําแนกพฤติกรรมเดก็ และสรา งเสริมลักษณะนสิ ยั และแกป ญ หาเฉพาะบคุ คล - ประสานความรวมมือระหวางสถานศึกษา บาน และชุมชน เพ่ือใหเด็กไดพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ และมมี าตรฐานคุณลักษณะท่พี ึงประสงค ๔) บทบาทในฐานะนักพัฒนาเทคโนโลยกี ารสอน - นาํ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการสอนมาประยกุ ตใ ชใ หเ หมาะสมกบั สภาพบรบิ ทสงั คม ชมุ ชน และทองถนิ่ - ใชเทคโนโลยีและแหลง เรียนรูในชุมชนในการเสริมสรางการเรียนรูใ หแกเ ด็ก - จัดทําวิจัยในชั้นเรียน เพ่ือนําไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร/กระบวนการเรียนรู และพัฒนา สอื่ การเรยี นรู - พัฒนาตนเองใหเ ปนบุคคลแหง การเรียนรู มีคุณลักษณะของผูใฝร ู มีวสิ ัยทศั น และทันสมยั ทันเหตุการณใ นยุคของขอมูลขา วสาร ๓. พอแมห รือผูปกครองเด็กปฐมวยั การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยเปนการศึกษาที่จัดใหแกเด็กที่ผูสอนและพอแมหรือผูปกครอง ตองส่ือสารกันตลอดเวลา เพื่อสรางความเขาใจและพรอมรวมมือกันในการอบรมเลี้ยงดูและใหการศึกษาแกเด็ก พอแมหรอื ผปู กครอง ควรมีบทบาทหนา ทดี่ ังนี้ ๑) มีสวนรวมในการกําหนดแผนพัฒนาสถานศึกษา และใหความเห็นชอบ กําหนดแผนการจัด ประสบการณของเด็กรว มกบั ผูสอนและเดก็ ๒) รวมมือและสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา และกิจกรรมการจัดประสบการณการเรียนรู เพอ่ื พัฒนาเดก็ ตามศักยภาพ ๓) เปนเครือขา ยการเรยี นรู จดั บรรยากาศภายในบา นใหเ อ้ือตอ การเรียนรู ๔) สนับสนนุ ทรัพยากรเพ่ือการศึกษาตามความเหมาะสมและจําเปน ๕) อบรมเลย้ี งดู เอาใจใส ใหค วามรัก ความอบอนุ สง เสริมการเรยี นรูและพัฒนาการดานตางๆ ของเดก็

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๖) ปองกันและแกไขปญหาพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค ตลอดจนสงเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค โดยประสานความรวมมือกับผูสอนและผทู ี่เก่ยี วของ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๗) เปนแบบอยางที่ดีทั้งในดานการปฏิบัติตนใหเปนบุคคลแหงการเรียนรู และมีคุณธรรมนําไปสู การพัฒนาใหเ ปน สถาบนั แหง การเรียนรู ๘) มีสวนรวมในการประเมินผลพัฒนาการของเด็กและในการประเมินการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษา ๔. ชมุ ชน/ทอ งถ่ิน ชุมชน/ทองถ่ิน มีบทบาทในการมีสวนรวมในการจัดการศึกษา โดยการประสานความรวมมือ เพอ่ื รวมกนั พัฒนาเดก็ เตม็ ตามศกั ยภาพ ดงั น้ัน ชุมชนจงึ มีบทบาทในการจดั การศึกษาปฐมวัย ดงั นี้ ๑) มีสวนรวมในการสงเสริมการบริหารสถานศึกษา ในบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา สมาคม/ชมรมผูปกครอง ๒) มีสวนรวมในการจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการของ สถานศึกษา ๓) เปนศูนยการเรียนรูเครือขายการเรียนรู สงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหเด็ก ไดเรียนรู มปี ระสบการณจ ากสถานการณจรงิ ๔) สงเสริมใหมีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ตลอดจนวิทยากรภายนอกและภูมิปญญา ทองถิ่น เพ่ือเสริมสรางพัฒนาการของเด็กทุกดาน รวมทั้งสืบสานจารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรมของทองถ่ิน 142 และของชาติ ๕) ประสานงานกบั องคก รทงั้ ภาครฐั และเอกชน เพอื่ ใหส ถานศกึ ษาเปน แหลง วทิ ยาการของชมุ ชน และมสี วนในการพฒั นาชุมชนและทอ งถนิ่ ๖) มีสวนรวมในการตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา โดยทําหนา ท่ีใหข อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา การพฒั นาผูส อนและบคุ ลากรปฐมวยั การพัฒนาผูสอนและบุคลากรปฐมวัยอยางเปนระบบและตอเนื่อง มีความสําคัญมากในการ บริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เพราะเปนการสรางความรูความเขาใจใหแกผูสอนใหสามารถ นาํ หลกั สตู รไปสกู ารปฏิบตั ไิ ดอยางมปี ระสิทธภิ าพ ทัง้ ในดา นการออกแบบพัฒนาหลักสูตร การจดั ประสบการณ การเรียนรู การจัดสภาพแวดลอมในและนอกหองเรียน การจัดพัฒนาส่ือ ส่ิงแวดลอม และแหลงเรียนรู การประเมินพัฒนาการ โดยมีมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ตัวบงช้ี และสภาพที่พึงประสงคของ หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยเปนเปาหมายสําคัญในการพัฒนาคุณภาพเด็ก สถานศึกษาจึงควรกําหนดแนวทาง การพฒั นาผูส อนและบคุ ลากรปฐมวัย ดงั นี้ ๑) สํารวจและประเมินความตองการในการพัฒนาตนเองของผูสอนและบุคลากรปฐมวัย และนํา ขอมลู มาจดั ทําแผนการพฒั นาตนเองทง้ั แผนระยะส้ันและแผนระยะยาว ๒) พฒั นาผสู อนและบคุ ลากรปฐมวยั ในดา นการพฒั นาหลกั สตู ร การออกแบบการจดั ประสบการณ เทคนิควิธีการ จัดประสบการณ เทคนิคการควบคุมช้ันเรียน และดานอ่ืนๆ ท้ังน้ี การจัดกิจกรรมพัฒนาผูสอน และบุคลากรปฐมวัย ควรใชเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เชน การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประชุมสัมมนา การศึกษาดงู าน การจดั กจิ กรรม PLC เปนตน

๓) สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหม มี มุ ความรูโดยการจดั หาเอกสารดา นหลกั สตู ร แนวทางการจดั ประสบการณ ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป ตลอดจนองคความรูดา นอน่ื ๆ ทีเ่ กยี่ วของ เพ่อื เปด โอกาสใหผ ูสอนและบุคลากรปฐมวยั ศึกษาคน ควา เพมิ่ เตมิ 143 ๔) สง เสรมิ ใหผ สู อนและบคุ ลากรปฐมวยั มโี อกาสในการแลกเปลยี่ นเรยี นรรู ว มกนั รว มปรกึ ษาและ วางแผนการจดั การเรยี นรรู ว มกบั ผสู อนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เพอื่ ใหผ สู อนเขา ใจบทบาทหนา ทแ่ี ละภารกจิ คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ของตนในการนาํ หลกั สตู รไปสปู ฏบิ ตั สิ ง ผลดตี อ การทาํ งานรว มกนั ในการจดั ประสบการณก ารเรยี นรทู เ่ี ปน การสรา ง รอยเชอื่ มตอ ในระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ไดเ ปนอยา งดี การสนบั สนุนงบประมาณและทรัพยากร การพฒั นาหลกั สตู รและการจดั ประสบการณก ารเรยี นรตู ามหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ มีความจําเปนอยางยิ่งที่สถานศึกษาตองจัดหางบประมาณและทรัพยากรที่จําเปน เพื่อสนับสนุน ใหการดําเนินการจัดประสบการณการเรียนรูตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยประสบความสําเร็จตามเปาหมาย ทกี่ าํ หนด โดยมีแนวทางการดําเนนิ การ ดงั น้ี ๑) จัดหาและจัดสรรงบประมาณอยางเพียงพอสําหรับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย การนําหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไปใชในการจัดประสบการณการเรียนรู การจัดงบประมาณสงเสริมกิจกรรม การเรยี นรู/โครงการ การทัศนศกึ ษานอกสถานท่ี การพัฒนาบุคลากร การดาํ เนนิ งานตามแผนปฏิบัติการระดับ ปฐมวยั และการนเิ ทศ กาํ กบั ติดตาม ๒) จดั ซอ้ื และจดั หาสื่อ วสั ดุอุปกรณ เพอ่ื จัดสภาพแวดลอ มภายในและภายนอกหอ งเรยี น จัดซ้ือ และจดั หาสอ่ื ของเลน ทส่ี ง เสรมิ พฒั นาการเดก็ ตามมมุ ประสบการณต า งๆ การพฒั นาสนามเดก็ เลน และแหลง เรยี นรู ที่หลากหลาย รวมถึงการจัดเตรยี มของใชส ว นตวั ใหแ กเ ด็กตามความจาํ เปน เพอ่ื การดูแลอนามยั สว นบุคคลและ การปฏิบตั ิกิจกรรมตา งๆ ของเดก็ ไดอยา งสะดวกและปลอดภยั ๓) กาํ กบั ตดิ ตามการใชง บประมาณและทรพั ยากรอยา งประหยดั และคมุ คา ๔) การมีสวนรวมของผูปกครอง ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานเอกชน ในการ สนับสนุนการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยใหเปนไปตามหลักการพัฒนาเด็กทุกชวงวัย ระดมทรัพยากรในการ จดั หาผูสอนท่มี ีคุณวุฒิหรือประสบการณดานการศกึ ษาปฐมวยั พ่ีเล้ยี งเด็ก ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ รวมถึงการพฒั นา สภาพแวดลอ มและแหลงเรียนรู การนเิ ทศ กํากับ ติดตาม การนาํ หลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวัยไปสกู ารปฏบิ ตั ิ การนเิ ทศ กาํ กบั ตดิ ตาม การนาํ หลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ไปสกู ารปฏบิ ตั ิ เปน กระบวนการสาํ คญั ในการควบคมุ คณุ ภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยผบู รหิ ารสถานศกึ ษาและผมู บี ทบาทหนา ทที่ เี่ กย่ี วขอ ง ควรใชวิธีการที่หลากหลาย เชน การตรวจเย่ียม การสังเกตการสอนในชั้นเรียน การสอนแนะ (Coaching) การตรวจแผนการจัดประสบการณ ทั้งน้ี ควรดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตามอยางเปนระบบ และเปนกัลยาณมิตร เปด โอกาสใหม ีการแลกเปลยี่ นเรียนรซู ึง่ กันและกัน โดยมแี นวทางการดาํ เนนิ การ ดังนี้ ๑) ประชุมผูบริหารสถานศึกษาและผูสอนระดับปฐมวัย เพ่ือรวมกันกําหนดความตองการ และชว งเวลาในการจดั ทาํ ปฏทิ นิ การนเิ ทศหรอื แผนการนเิ ทศ กาํ กบั ตดิ ตามทเ่ี หมาะสม ตอ เนอื่ ง และเปน รปู ธรรม

ํสาหรับเ ็ดกอา ุย ๓ - ๖ ป๒) สรางความเขาใจและทัศนคติท่ีดีในการจัดกิจกรรมการนิเทศ กํากับ ติดตาม ใหแกบุคลากร ที่เกยี่ วขอ งทุกฝาย คูมือหลัก ูสตรการศึกษาปฐม ัวย ุพทธ ัศกราช ๒๕๖๐ ๓) ดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตามตามแผนการนิเทศ และนําผลการนิเทศมาวางแผนเพื่อจัด กจิ กรรมสง เสริมพัฒนาบุคลากรปฐมวยั ตามความตองการจาํ เปน อยา งตอ เน่ือง ๔) นําขอมูลสารสนเทศที่ไดรับจากการนิเทศ กํากับ ติดตาม มาใชเปนสวนหนึ่งในการพัฒนา หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั ใหม ปี ระสิทธภิ าพมากข้นึ การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวยั การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนกระบวนการเชิงระบบเพ่ือใหไดมาซ่ึงขอมูลและ สารสนเทศทเ่ี ปนประโยชนตอ การตดั สินใจเก่ียวกับการศกึ ษาคณุ ภาพของหลกั สูตร การปรบั ปรงุ พัฒนาหลักสูตร การบรหิ ารหลกั สตู ร และการเปลย่ี นแปลงหลกั สตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั ใหเ หมาะสมตอ ไป ซงึ่ แนวทางการประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวยั ประกอบดวย ๑. การประเมินกอนนําหลักสูตรไปใช เปนการประเมินกระบวนการรางหลักสูตรสถานศึกษา ปฐมวัย ควรดาํ เนินการดังนี้ ๑) การวิเคราะหขอมูลความจําเปนพื้นฐานท่ีเกี่ยวของเพ่ือนํามาใชในการรางหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย โดยวิเคราะหขอมูลและสารสนเทศจากการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยฉบับเดิม ศึกษา ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการใชหลักสูตรที่ผานมา มีผลสําเร็จอะไรบาง มีปญหาและอุปสรรคอะไรบาง 144 ในการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย โดยใชขอมูลจากแหลงตางๆ เชน การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา การประเมินพัฒนาการ นโยบายทางการศึกษาของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธกิ าร การเปลย่ี นแปลงทางสังคม ผลการสอบถามความตองการของพอแม ผปู กครองและชุมชน เพือ่ ใหไ ดส ารสนเทศทเี่ กย่ี วขอ งนาํ ไปใชในการรา งหลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย ๒) การตรวจสอบคุณภาพของรางหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย เปนการประเมินเอกสาร หลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวัย เพื่อพิจารณาความสอดคลอง เหมาะสมเก่ียวกับองคประกอบตางๆ ของหลกั สูตร สถานศกึ ษาปฐมวยั โดยใชวิธกี ารสอบถามความคิดเหน็ จากบคุ คลทีเ่ กยี่ วของ ไดแ ก ผสู อน ผูบรหิ ารสถานศกึ ษา กรรมการสถานศึกษา ผูปกครอง ผแู ทนชมุ ชน องคกร ผูเ ชยี่ วชาญ และผทู รงคณุ วฒุ ิ เพ่ือใหไดส ารสนเทศท่จี ะนาํ ไปใชใ นการปรบั ปรงุ และแกไ ขเอกสารหลกั สตู รใหม ีความเหมาะสมและมคี ุณภาพ ๓) การประเมินความพรอ มกอ นนําหลักสตู รไปใช เปนการประเมินความพรอ มและความพอเพยี ง ดานปจจัยหรือทรัพยากรในการใชหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ไดแก ดานบุคลากรมีจํานวนพอเพียงหรือไม มีคุณลักษณะพรอมท่ีจะจัดประสบการณมากนอยเพียงใด ดานเอกสารหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร มีความพรอมและพอเพียงตอการจัดประสบการณหรือไม ดานส่ือและแหลงเรียนรูที่เก่ียวของกับการจัด ประสบการณม พี อเพยี งหรอื ไม เพอื่ การจดั การพฒั นาหรอื การจดั ซอื้ และจดั หาใหท นั ตอ การใชห ลกั สตู รสถานศกึ ษา ปฐมวยั ประเมนิ โดยใชว ธิ ีการสนทนากลมุ การตรวจสอบรายการ หรือการสอบถาม