Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-12-26 08:05:53

Description: การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

นางประเจิน ไชยมาลีอุปถัมภ์ โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ราษฎร์บํารุง) อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ปีที่รายงาน 2561


บทคัดย่อ
การดําเนินงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิด วิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนกับหลังการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดย เทคนิค STAD 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โรงเรียน บ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ราษฎร์บํารุง) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปีการศึกษา 2561 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ ราษฎร์บํารุง) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จํานวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดําเนินงานประกอบ ด้วย
1. คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ จํานวน 6 แผน ใช้เวลาเรียน 24 ชั่วโมง
2. แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยข้อคําถามแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ

Keywords: การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6,นางประเจิน ไชยมาลีอุปถัมภ์,งาน คศ.4

Search

Read the Text Version

83 บรรณานกุ รม กาญจนา อรณุ สุขรจุ .ี (2546). ความพงึ พอใจของสมาชกิ สหกรณต์ อการดาํ เนนิ งานของสหกรณ์ การเกษตรไชยปราการ จํากัด. อําเภอไชยปราการ จงั หวัดเชยี งใหม่. เชยี งใหม่และคณะ : คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่ กดิ านันท์ มลทิ อง. (ม.ป.ป.). สื่อการสอนและการฝกึ อบรม : จากสื่อพ้ืนฐานถึงส่ือดจิ ิทัล. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กรกฏ ลำไยและคณะ. (2552). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าโครงงานวทิ ยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาการคิดวเิ คราะห์ สำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2. พษิ ณโุ ลก : ปรญิ ญานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสตู รและการสอนบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยนเรศวร. กรมวชิ าการ. (2545). คู่มอื การจดั การเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การรบั ส่งสนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ.์ โกวิท ประวาลพฤกษ์, กมล ภปู่ ระเสรฐิ และสงบ ลกั ษณะ. (ม.ป.ป.). การพัฒนาผลงานทางวชิ าการ. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริมวชิ าการ. ไกรยุทธ ธีรตยาคีนนั ท.์ (2547). Employment Effect of Public Enterprises in Thailand. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณติ ดวงหสั ดี. (2548). สขุ ภาพจิตกับความพึงพอใจในงานของขา้ ราชการตำรวจช้ันประทวนใน เขตเมืองและชนบทของจังหวดั ขอนแกน่ . วทิ ยานพิ นธม์ หาบัณฑติ . ขอนแกน่ : หาวิทยาลัยขอนแกน่ . จงรกั ษ์ ต้งั ละมยั . (2545). ผลการฝกึ ความคดิ เหน็ อเนกนัยในเนอ้ื หาตา่ งกันท่ีมตี ่อความสามารถใน การคดิ วิเคราะห์ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรงุ เทพฯ : ปริญญานิพนธ์ การศกึ ษา มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการวัดผลการศึกษา. บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ฉตั รมงคล สวนกัน. (2556). พฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห ของเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณ ดวยเกมการศกึ ษา. สกลนคร : คณะครุศาสตร์ สาขาหลกั สูตรและการสอนมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร. ชาตรี สำราญ. (2548). สอนให้ผู้เรยี นคิดวเิ คราะห์ไดอ้ ยา่ งไร. วารสารสานปฏริ ูป 8, 83 (มี.ค. 2548) ชูศรี วงศ์รตั นะ. (2537). เทคนิคการใช้สถติ เิ พื่อการวจิ ัย. มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ชยั ณรงค์ ต้ังอาพรทิพย.์ (2547). ศกึ ษาความพึงพอใจผู้รับบริการการบริการศูนย์สขุ ภาพชุมชน อำเภอโนนสูง จงั หวดั นครราชสมี า. วทิ ยานิพนธ์ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

84 ชัยวฒั น์ สทุ ธิรัตน.์ (2552). 80 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรงุ เทพฯ : แดเน็กซ์ อนิ เตอร์คอรป์ อเรช่นั . ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ (2556). การทดสอบประสทิ ธภิ าพส่ือหรอื ชุดการสอน. วารสารศลิ ปากร ศึกษาศาสตร์วิจยั ปีที่ 5. ณชั พล นิลสุพรรณ. (2560). ผลการพัฒนาชดุ กจิ กรรมประกอบการเรียนด้วยวิธสี อนแบบรว่ มมือโดย ใชเ้ ทคนิค STAD ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เรื่องสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนา สรรมถภาพ. สงขลา : ผลงานวชิ าการถ่ายเอกสาร. ทศิ นา แขมมณ.ี (2554). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความรูเ้ พื่อการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีมี ประสิทธิภาพ. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้านการคดิ . กรงุ เทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์. ธงชยั สันตวิ งษ.์ (2551). การวางแผน. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. นิรมล มธั ยมนันท.์ (2555). ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง สง่ิ มชี ีวติ กับสิ่งแวดลอ้ ม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6. มหาสารคาม : วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. บ้านคลองหวะ, โรงเรยี น. (2553). หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านคลองหวะ กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. บญุ ชม ศรีสะอาด. (2545). การวจิ ัยเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น. _______. (2556). การวจิ ยั เบือ้ งต้น (พิมพ์คร้ังท่ี 9). กรงุ เทพฯ : สวุ รี ิยาสาสน์ . บญุ เรอื น ป้องหมู่. (2554). การพฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้วยวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ ตามแนวคดิ คอนสตรัคตวิ ิซึม ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4. จนั ทบรุ ี : วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั รำไพพรรณี. ประกายทิพย์ ขนั ธทตั . (2548). การพัฒนาแผนการเรยี นรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปวิชาวทิ ยาศาสตร์ เร่ืองการลำเลียงสารในพชื และการสืบพันธขุ์ องพชื ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1. วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ประทีป ยอดเกตุ. (2550). การพฒั นาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิชาภาษาไทยเพ่ือส่งเสรมิ ความสามารถ ในการคิดวเิ คราะห์สำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3.วิทยานพิ นธ์ การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม. ประภาทพิ ย์ ภนู คร. (2555). ผลของการใชเ้ ทคนิค Five– Step Model ท่มี ตี ่อทักษะการคดิ อย่างมี วจิ ารณญาณของนกั เรียนประถมศึกษาปที ่ี 5. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑิต

85 สาขาวชิ าจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประภัสสร อวด.ี (2550). ความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีตอ่ การบริการสาธารณะของเทศบาล ตำบลโนนสำ อำเภอท่ำบอ่ จงั หวดั หนองคาย. ลพบรุ ี : มหาวิทยาลัยราชภฏั ลพบุรี. ประวทิ ย์ ตน้ สมบูรณ์. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของข้าราชการ พลเรอื นสามัญในสํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาลพบุร.ี วิทยานพิ นธม์ หาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปรีดาวรรณ ออ่ นนางใย. (2555). การสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคดิ วิเคราะห์ สำหรบั นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6. กรงุ เทพฯ : ปริญญานิพนธ์ ปริญญาการศกึ ษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวดั ผลการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ฟา้ มุ่ย สกุ ณั ศีล. (2548). ความพงึ พอใจต่อการให้บริการของสำนกั งานเลขานกุ ารคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ จังหวดั เชยี งใหม่ : รายงานการวิจยั บธ.บ. (ธรุ กจิ บรกิ าร) มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. พชิ ญะ กันธิยะ. (2559). การพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้การจดั การเรียนรแู้ บบบนั ได 5 ขัน้ วชิ าวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ . เชียงใหม่ : ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่. พันทิพา ทบั เที่ยง. (2550). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น พฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ และความคงทนในการเรียนวชิ าคณิตศาสตรข์ องนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ทไ่ี ด้รบั การจัดการเรยี นและรว่ มมือแบบแบง่ กลุ่มผลสัมฤทธ์ิ (STAD) กบั การจัดการเรียนแบบ รว่ มมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล (TAI). ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม. (การประถมศึกษา). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. ถา่ ยเอกสาร. ไพรินทร์ ยิม้ ศิร.ิ (2548). ความสามารถในการเขยี นภาษาองั กฤษของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรยี นตามรปู แบบ STAD. ปรญิ ญานิพนธ์ ค.ม. (หลักสตู รและการสอน). กรุงเทพฯ : บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร. ถ่ายเอกสาร. ไพรินทร์ เหมบุตร. (2549). การใชส้ ่อื การสอน. จาก http://rs,kpp led s,orgpairin/work. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 แห่งราชวงค์จักร.ี (2550). บรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทาน ปรญิ ญาบตั ร. จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (9 กรกฎาคม 2550). สืบคน้ เมอื่ 20 ตลุ าคม 2560. https://www.google.co.th. มลวิ ลั ย์ ผิวคราม. (2554). วิชาการวดั ผลและประเมินการศกึ ษา. วันทีค่ น้ ข้อมูล 23 ตุลาคม 2560, เขา้ ถึง ได้จาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/webpili/index01.html. ราชบัณฑิตยสถาน (2530). พจนานกุ รมฉบับเฉลมิ พระเกยี รติ พ.ศ. 2530. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. รชั นีพร มสี ี. (2554). การพัฒนาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่สง่ เสรมิ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรือ่ งส่ิงมีชีวติ กับสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา

86 ปที ี่ 6. พษิ ณุโลก : ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. วฤทธิ์ สารฤทธิคาม. (2548). 49 ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ ริการขององค์การบริหาร สว่ นตำบล : กรณศี กึ ษาองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลดอนงวั อำเภอบรบือ จังหวัด มหาสารคาม. วิทยานพิ นธบ์ รหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป, บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. วิชชตุ า อว้ นศรเี มอื ง. (2554). การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ ความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ที่ไดร้ ับการจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD กบั การจดั การเรียนรแู้ บบ ร่วมมือโดยใช้เทคนิค LT. กรุงเทพฯ : ปริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการ มัธยมศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ . วมิ ลรตั น์ สุนทรโรจน.์ (2545). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาการเรยี นการสอน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. วไิ ลรตั น์ กลิน่ จันทร์. (2552). การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ และความสามารถใน การคดิ วเิ คราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่ไดร้ บั การสอนโดยใช้ ชดุ กจกิ รรมวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ส่งเสริมการคดิ วิเคราะห์. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการมัธยมศึกษา. กรงุ เทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. วีระ สดุ สงั ข์. (2550). การคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และคดิ สร้างสรรค์. กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาส์น. วฒั นา เพ็ชรวงศ.์ (2542). พฤติกรรม และความพงึ พอใจของประชาชนที่มีต่อการใช้บรกิ าร. วิทยานพิ นธ์ บธ.ม. (การตลาด). บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิต. วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สอื่ และนวัตกรรมแหง่ การเรียนรู.้ ปทุมธานี : บรษิ ัท พี เอ็น เค แอนด์ สกายพรนิ้ ต้ิงส์. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สมาน จันทะดี. (2552). การสร้างและการเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั เอส.พ.ี เอน็ . การพิมพ์ จำกดั . สถาบนั พฒั นาคุณภาพวิชาการ. (2554). เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู.้ กรุงเทพฯ : บริษทั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ จำกัด. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2553). คู่มอื ครูสาระการเรียนรพู้ ้นื ฐาน

87 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค. _______. (2554). หลกั สูตรกลมุ่ วิทยาศาสตร์. ถ่ายเอกสาร. สาทติ ย์ จนี าภักด์ิ (2550). ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วที่มตี ่อการล่องแพในเขตอําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. ปรญิ ญานพิ นธ.์ วท.ม.(การจดั การนันทนาการ). กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สคุ นธ์ สนิ ธพานนท.์ (2561). นวัตกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื พัฒนาทกั ษะของผู้เรียนในศตวรรษ ท่ี 21. กรงุ เทพฯ : ห้างห้นุ สว่ นจำกัด 9119 เทคนคิ พริ้นตง้ิ . สมุ น อมรวิวฒั น์. (2541). ทำไมต้องปฏริ ปู การเรียนรู้” การปฏริ ูปการเรียนรู้ตามแนวคดิ 5 ทฤษฎ.ี กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์ ไอเดยี สแควร.์ สวุ ทิ ย์ มูลคำ. (2547). กลยุทธก์ ารสอนคดิ วิเคราะห์. กรงุ เทพฯ : ห้างหุ้นสว่ นจำกดั ภาพพิมพ์. สมจติ สวธนไพบูลย์ และคณะ. (2545). รายงานการวจิ ยั และพฒั นารูปแบบการพฒั นาคณาจารยแ์ ละ ชดุ เรียนรู้ดว้ ยตนเองสำหรบั การพัฒนาสมรรถนะทางวชิ าชพี ครโู ดยใชก้ ารวจิ ัยเป็นฐาน. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. สมชาย รตั ทองคำ. (2556). เอกสารประกอบการสอน 475 788 การสอนทางกายภาพบำบัด. ภาคต้น ปกี ารศึกษา 2556. https://ams.kku.ac.th/aclearn/index.php/22 - 475788. สำนกั การศึกษา. (2552). มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี นสงั กัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (2549). แนวทาง ทางการจดั การเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์. กรงุ เทพฯ : ISBN 974 – 477 – 683 – 8. สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. อารม์ โพธ์ิพัฒน์. (2550). การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางวิทยาศาสตร์และความสามารถวิเคราะหข์ อง นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ท่ีไดร้ บั การสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมเขยี นแผนผังมโนมติ. สารนพิ นธ์ กศ.ม. (การมัธยมศกึ ษา) กรงุ เทพมหานครบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัย ศรนี ครินทร์วิโรฒ. Battiste, Eleanor ; & Chirstal. (1981). The Relationship between Direct Instruction in Thinking Skills and Growth in Cognitive Development. Dissertation Abstract International. Blackwood. (1969). ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการสอนวิทยาศาสตร์. http://krukittipong.blogspot.com/2010/06/2.html. Chesbro, R. (2008). Using Grading Systems to Promote Analytical Thinking Skill, Responsibility, and Refection. Retrieved Juiy 1, 2010, from

88 http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/results/external_link_maincontentframe. jhtml?_DARGS=/hww/results/results_common.jhtml. Giuliano, F. J. (1998, July). The Relationships Among Cognitive Variables and Students Problem – Solving Strategies in an Interactive Chemistry Classroom. Proquest – Dissertation Abstracts. Jackson. Rudy, Jr. (1998). The Effcets of Effeets Coopcrative Learning on the Developmcnt of Cross – Racial Friendships. Dissertation Abstracts International. Mullins, L.J. (1985). Management and organizational behavior. London : Pitman Publishing. Slavin, R.E. 1990. Cooperative Learning Theory, Research and Practice. Englewood Cliffs, New Jersey. : Prentice-Hall, Inc. _______. (1995). Cooperative Learning Theory, Research and Practive. 2nd ed. Massachusetts : A Simon & Schuster. Smith, Patty. Templeton. (1994, January). Instructional Method Effects on Student Attitude and Achievement. Dissertation Abstracts International. Suyanto, Wardan. (1999). The Effects of Student Team – Achievement Division on Mathematics Achievement in Yogyakata Rural Primary Schools (Indonesia). Dissertation Abstracts Intemational. Williams, Jmes Metford. (1981). A Comparison Study of the Tradition Teaching Procedures on Student Achievement and Critical Thinking Ability in Eleventh Grade United States History. Dissertation Abstract International. Vroom, V. (1987). Management and motivation. New York : Mc Graw - hill.

106 แบบทดสอบกอ่ นเรียน ค่มู ือการจัดการเรยี นการสอนโดยเทคนคิ STAD กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 50 นาที คะแนนเตม็ 30 คะแนน คำช้ีแจง ใหน้ ักเรียนทำเคร่อื งหมาย X ขอ้ ทถี่ กู ต้องทสี่ ดุ ลงในกระดาษคำตอบ 1. นกั โภชนาการอาหารของโรงเรียนสยามบัณฑิต ไดส้ ำรวจนำ้ หนักสว่ นสงู ของนักเรียน ว่าตามเกณฑ์หรือไม่ ผลสำรวจมนี กั เรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ 18% นักโภชนาการตอ้ งการใหน้ ักเรยี น ไม่มโี รคขาดสารอาหาร นักเรยี นคดิ วา่ การท่ีจะทำใหน้ ักเรียนทุกคนมีสุขภาพสมบูรณ์แขง็ แรงจะต้องทำอยา่ งไร ก. อาหารที่มโี ปรตีนสงู มีสงิ่ เจือปนนอ้ ย ข. อาหารที่กนิ แลว้ อิ่มไดน้ าน ไมม่ สี ิง่ เจอื ปน ค. อาหารทกุ ประเภทโดยไม่คำนึงถงึ สิง่ เจอื ปนใดๆ ง. อาหารทีใ่ ห้สารอาหารครบทุกหมู่สะอาดปราศจากสารเคมเี จอื ปน 2. มาลนิ ีมอี าชีพเปน็ พนกั งานตอ้ นรับรา้ นอาหารแห่งหน่ึง มาลนิ ที ำงานหนกั ทกุ วัน ต้ังแตเ่ ชา้ จนถงึ เทย่ี งคืน มาลินจี ะไดก้ นิ ขา้ วบางวนั กิน 2 มือ้ บางวนั กิน 3 มอื้ บางวันไม่ กินอาหารม้ือเช้า ไปกนิ ตอนมือ้ เท่ยี งทเี ดยี ว หรือบางวันกนิ ตั้งแต่บา่ ยสาม แลว้ ไปกิน เที่ยงคนื ตอนร้านปดิ ทำอยา่ งน้ี เป็นเวลา 5 ปี จนปวดท้องมาก ไปพบหมอ หมอบอก ว่ามาลินเี ป็นโรคกระเพาะอาหาร การปฏิบัติตนอยา่ งไร ชว่ ยทำใหม้ าลนิ ีไม่เปน็ โรคกระเพาะอาหาร ก. ไม่ดมื่ น้ำขณะกินอาหาร ข. กินอาหารให้ตรงเวลาทกุ มอ้ื ค. หดั ขับถ่ายอุจจาระใหเ้ ปน็ เวลา ง. เคยี้ วอาหารให้ละเอียดก่อนกลนื

107 3. เด็กชายไพรัต เจริญสุข มอี ายุ 10 ปี ได้รบั ประทานอาหารวนั ละ 3 มือ้ ซง่ึ ใน ระหว่างม้ือได้รับประทานขนมหวานและไอศกรีมเป็นประจำ ส่งผลทำให้เด็กชายไพรัต เจรญิ สขุ มนี ำ้ หนกั และส่วนสูงตามกราฟ กราฟแสดงนา้ หนักของ กราฟแสดงส่วนสงู ของ เด็กชายไพรัต เจริญสุข เดก็ ชายไพรัต เจริญสุข ซม. กก. 137 45 44.5 136.5 44 136 43.5 เดือน 135.5 เดอื น 43 42.5 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 42 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. เดือนส.ค. และเดือนก.ย. กราฟแสดงน้ำหนักและสว่ นสงู มีความสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไร ก. น้ำหนกั ลดลง ส่วนสงู ลดลง ข.น้ำหนกั คงทเ่ี ทา่ เดิม ส่วนสงู เพม่ิ ขน้ึ ค. น้ำหนกั เพิม่ ขน้ึ มาก สว่ นสูงเพิ่มข้นึ เลก็ น้อย ง. น้ำหนกั เพิ่มข้นึ เลก็ น้อย ส่วนสงู คงท่เี ทา่ เดิม 4. จากสถานการณข์ อ้ 3 เดก็ ชายไพรตั เจรญิ สุข ควรแกไ้ ขตนเองอย่างไร ก. ด่มื นำ้ มากขึ้น ข.กินยาลดความอ้วน ค. ออกกำลงั กายเป็นประจำ ง. ลดอาหารเหลือวันละ 1 มื้อ

108 5. ตารางการกินอาหารของเด็กหญิงประภาพรรณ โชคเจรญิ ดังต่อไปนี้ วันท่ี มอื้ เชา้ ม้อื เที่ยง ม้ือเย็น 1 กันยายน 2560 ข้าวต้ม 2 กนั ยายน 2560 ไมโล + ขนมปงั ปงิ้ ข้าว + เนื้อทอด ข้าว + แกงคั่วกลิง้ 3 กนั ยายน 2560 ข้าวมนั ไก่ ข้าว + เนอ้ื ปง้ิ ขา้ ว + ปลาทอด ขา้ วเหนียวป้ิง + ไก่ยา่ ง ข้าว + ต้มกระดูกวัว เดก็ หญิงประภาพรรณ โชคเจริญ กนิ อาหารตามแบบเมนนู ีเ้ วียนสลบั ไปมาเป็นนานๆ ทำให้มีอาการทอ้ งผูกบ่อยครัง้ นักเรยี นคิดวา่ เด็กหญงิ ประภาพรรณ โชคเจรญิ มอี าการท้องผูกเปน็ เพราะเหตุใด ก. ลำไส้ใหญจ่ ะสะสมกากอาหารมากขึ้นทำใหก้ ากอาหารแขง็ ตวั ยากต่อการขับถ่าย ข. กากอาหารที่สะสมในลำไส้ใหญเ่ กิดปฏกิ ริ ยิ าเคมีขนึ้ จนทำให้กากอาหารแห้งและแขง็ ตวั ยากตอ่ การขบั ถ่าย ค. ลำไส้ใหญ่ย่อยอาหารติดตอ่ กันหลายวันทำใหเ้ กิดกากอาหารทีแ่ ห้งและแข็ง ยากตอ่ การขบั ถา่ ย ง. ในลำไส้ใหญม่ ีการดดู นำ้ จากกากอาหารกลับคืนสรู่ ่างกายตลอดเวลา ทำให้กากอาหารแข็งข้ึน เรอ่ื ยๆ ยากต่อการขับถ่าย 6. แมเ่ รยี กให้สมศกั ดิ์มากนิ ข้าว สมศักด์ติ ักข้าวสวยใส่ปากเคย้ี วไปสกั ครรู่ สู้ กึ มี รสหวาน วันน้นั สมศักดิก์ นิ ข้าวจนเสรจ็ เรยี บรอ้ ย วันต่อมา แมเ่ รยี กสมศักดมิ์ ากินข้าว ปกติ สมศกั ดิ์ตกั ข้าวซง่ึ วันน้ีเปน็ ข้าวเหนยี วใส่ปาก โดยไม่กินกับข้าว เค้ียวไปประมาณ 2 นาที กร็ ู้สกึ มีรสหวานอีก จากสถานการณข์ ้างต้น นักเรยี นคิดว่า “ทำไมเมอื่ สมศกั ด์ิเคีย้ วข้าวไวน้ านๆ จึงรสู้ ึก มีรสหวาน” ก. น้ำลายของเรามีรสหวาน ข. เราเคยี้ วข้าวท่มี นี ำ้ ตาลผสมอยู่ ค. น้ำลายมีน้ำยอ่ ยสามารถเปลี่ยนแปง้ เป็นน้ำตาลได้ ง. ข้าวมีรสหวานเพราะขา้ วเป็นคาร์โบไฮเดรตชนดิ หน่ึง

109 7. ถา้ กลมุ่ ส่งิ มีชีวติ มีความสมั พนั ธ์แบบตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ ความสมั พนั ธข์ องสงิ่ มชี วี ติ สัญลักษณ์ รปู แบบความสัมพันธ์ ไดป้ ระโยชน์ เสียประโยชน์ + ดำรงชีวติ ในทางท่ีได้ประโยชน์ ไม่ไดป้ ระโยชนแ์ ละไมเ่ สียประโยชน์ - ดำรงชวี ิตใหป้ ระโยชนก์ ับคนอนื่ หรอื ถกู ฆา่ o ดำรงชีวิตลักษณะเปน็ กลาง ไมม่ ีอะไรเกิดขนึ้ ความสมั พันธใ์ นขอ้ ใดทแี่ ตกต่างจากขอ้ อืน่ ก. เฟิร์นกับตน้ ไมใ้ หญ่ ข. กาฝากกับตน้ ไม้ใหญ่ ค. กล้วยไมก้ ับตน้ ไม่ใหญ่ ง. เหาฉลามกับปลาฉลาม 8. ภาพห่วงโซ่อาหาร (ทม่ี า https://www.google.co.th/ สบื คน้ เมื่อ 1 พ.ค. 2560) จากภาพ แบคทีเรียมบี ทบาทอย่างไรในโซ่อาหาร ก. เป็นผู้ล่า ข. เป็นผู้ผลิต ค. เปน็ ผู้บริโภค ง. เป็นผยู้ อ่ ยสลาย

110 9. ทรพั ยากรธรรมชาตมิ ที ัง้ ประเภทท่ีใช้แลว้ หมดไป และประเภทใชแ้ ลว้ สามารถสรา้ งทดแทน ขึน้ มาใหม่ได้ เพราะฉะนัน้ ควรใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคมุ้ ค่ามากท่สี ุด การกระทำอย่างไรท่ีแสดงใหเ้ ห็นว่ามกี ารอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ก. หยุดทำไร่เลอื่ นลอยตามบริเวณตน้ น้ำลำธาร ข. ตัดต้นไมส้ ร้างเขื่อนและอา่ งเก็บน้ำใหม้ ากขึ้น ค. ใชเ้ น้อื ท่ีป่าทีม่ อี ยมู่ าทำการเพาะปลูกเพ่ิมขึน้ ทุกปี ง. ขุดเจาะแก๊สธรรมชาตแิ ละนำ้ มนั มาใช้เป็นเชื้อเพลงิ สำหรบั ผลติ ไฟฟ้า 10. ป่าไม้บนภูเขาแห่งหนึ่งประกอบไปดว้ ยต้นไมแ้ ละสตั ว์ปา่ จำนวนมาก ป่าไมแ้ หง่ นีม้ คี วามอดุ ม สมบูรณ์ มีความสมดุลของธรรมชาติ ถา้ วันหนึ่งป่าไมน้ ีถ้ ูกทำลายลงไปเป็นจำนวนมาก จะเกิด ผลกระทบอยา่ งไร ก. ฝนตกทง้ั ปี ข. มีลมพายมุ ากขนึ้ ค. มเี มฆคิวมโู ลนมิ บัสมากข้นึ ง. สภาพอากาศรอ้ น แหง้ แล้ง 11. ธรรมชาติมสี ง่ิ มชี ีวิตที่มคี วามสมดุลกนั ในการดำรงชวี ติ ส่ิงมชี ีวติ มกี ารกินกันเป็นทอดๆ ใน โซอ่ าหาร ถา้ โซอ่ าหารในธรรมชาติถกู ทำลาย นกั เรียนคดิ วา่ จะเกิดผลอย่างไร ก. ธรรมชาตเิ สียสมดลุ ข. เกดิ วาตภัยรา้ ยแรง ค. คนจะไม่มที ี่อยู่อาศยั ง. เกดิ มลพิษทางอากาศ 12. ครอบครัวของมานติ มีอาชีพทำสวน วนั หน่ึงหลังกินขา้ วเสรจ็ อากาศรอ้ น มานติ เลย ชวนลกู สาวมาน่งั ทเ่ี ก้าอใี้ ตต้ ้นไมห้ นา้ บ้าน มานิตเลา่ ใหล้ กู สาวฟังว่าย้อนเวลาไปเม่อื 10 ปีท่ี แล้วบริเวณนม้ี ีต้นไม้เยอะ ทำให้อากาศดีมาก แต่เวลาเม่ือไมน่ านมานม้ี ีการตัดไม้ ถางป่า กลายเปน็ ภูเขาโลน้ ที่เหน็ แต่ดนิ และหิน เหมือนทเี่ ราเห็นทุกวนั น้ี ทำให้มอี ากาศรอ้ น นกั เรยี นคดิ วา่ ทำไมการตัดไมท้ ำลายป่าจงึ ทำให้ความชมุ่ ชนื้ ในอากาศลดลง ก. ตน้ ไมช้ ่วยทำใหว้ ฏั จกั รของน้ำเกดิ ความสมบูรณ์ ข. ตน้ ไม้ชว่ ยใหก้ ารระเหยของไอนำ้ จากดินเกิดขน้ึ ตลอดเวลา ค. ต้นไมช้ ว่ ยปอ้ งกนั การระเหยของไอนำ้ ในอากาศขน้ึ ส่ชู ้ันบรรยากาศ ง. ตน้ ไมช้ ว่ ยผลิตแก๊สออกซิเจน ซ่ึงเมือ่ รวมตัวกับแกส็ ไฮโดรเจนจะเกิดเป็นนำ้

111 13. ขนษิ ฐาตกั นำ้ ใสโ่ อ่งตั้งไว้ในครัวเพอ่ื ไว้ใชป้ ระกอบอาหาร จำนวน 4 โอง่ นำ้ 1 โอง่ ใชป้ ระกอบอาหารได้ 2 วัน ในวันที่ 7 ขนิษฐาเปดิ โอ่งท่ี 4 เพ่อื ทจ่ี ะใชน้ ้ำมาประกอบอาหาร น้ำในโอง่ ท่ีขนิษฐาตักต้งั ไว้ในครัวทงิ้ ไวป้ ระมาณ 1 สปั ดาห์ จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ก. นำ้ เปลี่ยนเป็นสดี ำ ข. น้ำส่วนหนง่ึ ระเหยเปน็ ไอ ค. นำ้ แข็งตวั เป็นน้ำแขง็ ง.ไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงอะไร 14. จากตารางการเปลย่ี นแปลงของสาร การเปลย่ี นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงทางภายภาพ ปลายธูปทจ่ี ุดไฟไปจท้ี ี่เศษกระดาษจะเกดิ น้ำท่ีต้มในกาน้ำรอ้ นกลายเป็นไอ การเผาไหมก้ ลายเป็นขเ้ี ถา้ ไขด่ บิ ทอดเปน็ ไข่ดาว เกลือละลายนำ้ นำ้ แขง็ ใส่แกว้ ตง้ั ทิ้งไวล้ ะลายกลายเป็นน้ำ ร้ัวเหล็กกลายเป็นสนิม การเปลีย่ นแปลงทางเคมแี ตกตา่ งกบั การเปลยี่ นแปลงทางภายภาพอย่างไร ก. เกดิ สารใหม่ – ไม่เกดิ สารใหม่ ข. สมบตั ขิ องสารคงเดมิ – สมบตั ขิ องสารคงเดมิ เปล่ียนไป ค. เปล่ียนกลบั เป็นสารเดิมได้ – เปลยี่ นกลับเปน็ สารเดิมไม่ได้ ง. องค์ประกอบของสารคงเดมิ – องค์ประกอบของสารเปลี่ยนไป

112 15. ภาพการทิง้ ขยะ ส่งิ ของ สารตา่ งๆ ลงในแมน่ ำ้ (ทม่ี า https://www.google.co.th/ สบื ค้นเมอื่ 2 พ.ค. 2560) จากภาพสารต่างๆ เม่อื ทง้ิ ลงแหล่งน้ำจะทำใหเ้ กิดน้ำเน่าเสีย เพราะอะไร ก. สารละลายในน้ำ ข. สารตกตะกอนทับถมในแหล่งนำ้ ค. จลุ นิ ทรียม์ กี ารยอ่ ยสลายสารตา่ งๆ ง. แกส๊ ในน้ำสารทำปฏกิ ริ ยิ าเคมกี บั สาร 16. ภาพการหุงขา้ วดว้ ยหมอ้ ไฟฟา้ (ทม่ี า https://www.google.co.th/ สืบคน้ เม่อื 2พ.ค. 2560) จากรปู ภาพการที่หมอ้ ไฟฟา้ สามารถทำงานได้เปน็ ปกติ เพราะเหตุใด ก. วงจรลดั ข. วงจรปดิ ค. วงจรเปดิ ง. วงจรขาด

113 17. บ้านของนางปรยี านุช รตั นะ มหี ้องนอนจำนวน 2 หอ้ ง คนื นใี้ นห้องนอนมวี งจรไฟฟ้าดงั ตอ่ ไปนี้ หอ้ งนอนที่ วงจรไฟฟ้า หลอดไฟฟ้า 1. วงจรเปิด หลอดไฟฟ้า ดับสนิททัง้ 2 หลอด 2. วงจรปดิ หลอดไฟฟ้า สว่างทงั้ 2 หลอด จากขอ้ มลู ในตาราง ขอ้ ใดสรปุ วงจรปิดไดถ้ ูกต้อง ก. กระแสไฟฟา้ ไม่เคล่ือนที่ ข. กระแสไฟฟ้าเคลอ่ื นที่ไดค้ รบวงจร ค. กระแสไฟฟ้าเคลือ่ นทไ่ี ด้ไมค่ รบวงจร ง. กระแสไฟฟา้ ไหลจากขั้วลบไปยังขวั้ บวก 18. เดก็ ชายพัฒชล ไกรศรี เรยี นวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ไดท้ ำการทดลองการเกิดอำนาจ แม่เหลก็ โดยการนำแม่เหล็กมาถเู หล็ก เพ่ือให้เกิดอำนาจแม่เหลก็ นักเรยี นคิดว่าเดก็ ชายพัฒชล ไกรศรี จะทำการทดลองถอู ย่างไรถึงจะเกดิ อำนาจแมเ่ หลก็ ก. ถจู ากซา้ ยไปขวาเพยี ง 1 ครั้ง ข. ถจู ากขวาไปซ้ายเพียง 1 ครั้ง ค. ถูไปทศิ ทางเดียวกนั หลายๆ ครง้ั ง. ถกู ลับไปกลับมากันหลายๆ คร้ัง 19. นกั ธรณีวทิ ยาได้ลงพนื้ ทีส่ ำรวจหินภูเขาแห่งหน่ึง จากการสำรวจในคร้ังนีไ้ ด้มีการทำแผนที่ แสดงแหล่งหินในท้องถ่ินของภเู ขานั้นอยา่ งละเอยี ด การท่นี ักธรณีวทิ ยาทำแผนที่แสดงแหล่งหินในทอ้ งถน่ิ นนั้ มีประโยชน์อย่างไรบา้ ง ก. พฒั นาเป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว ข. ยอ้ นกลับไปเก็บหินได้งา่ ยขน้ึ ค.ให้ทราบขอ้ มูลแหล่งหนิ ในทอ้ งถิน่ ง.ปอ้ งกันคนเข้าไปในบรเิ วณแหล่งหิน

114 ใชส้ ถานการณต์ อ่ ไปน้ตี อบข้อ 20 และ 21 สถานการณ์ ลักษณะการเกิดของหนิ 1. บ้านของด.ญ. แดง มปี รากฏการณ์ เกิดจากแมกมาดนั ตัวขนึ้ มาอยู่บริเวณใต้เปลอื กโลก เกิดหินอคั นที เ่ี ย็นตัวใตเ้ ปลือกโลก ซ่งึ อณุ หภูมติ ำ่ กวา่ แมกมาจงึ เยน็ ตัวลงอย่างช้าๆ 2. บ้านของด.ช. ฟ้า มีปรากฏการณ์เกดิ เกดิ จากการปะทุของภูเขาไฟทำให้แมกมาพงุ่ ขึ้นมา หนิ จากหินอคั นีทีแ่ ข็งตัวบนเปลอื กโลก อยูบ่ นผิวโลก 3. บ้านของด.ญ. ขาว มปี รากฏการณ์ เนอ่ื งจากความรอ้ นและความดนั ภายในโลก หรือ เกิดหินจากการเปลีย่ นแปลงของหินอคั นี การเปลี่ยนแปลงของเปลอื กโลก ทำใหห้ นิ เกดิ การ หรอื หินตะกอน แปรสภาพเปน็ หนิ ชนดิ ใหม่ 4. บ้านของด.ช. ดำ มีปรากฏการณ์เกิด สิ่งมีชีวติ หรือเศษหินตา่ งๆ ทผ่ี กุ ร่อนถกู พัดพา ทำให้ หินจากตะกอนของส่ิงมีชวี ติ หรือเศษหนิ เกิดการสะสมตวั และถกู อดั แน่นจนกลายเป็นหิน ต่างๆ 20. หนิ ท่ีนยิ มนำมาใช้ในงานกอ่ สร้างอาคารมีลักษณะอย่างไร ก. หินปนู ข. หนิ ออ่ น ค. หินไนส์ ง. หนิ แกรนติ 21. แมกมามลี กั ษณะอย่างไร ก. หนิ ที่หลอมละลายด้วยความรอ้ นสงู มาก ข. หนิ หลอมละลายทีเ่ ยน็ ตวั จับกันเปน็ กอ้ นแขง็ ค. หนิ หลอมละลายทีพ่ ุง่ ไหลออกมาจากปลอ่ งภูเขาไฟ ง. หนิ หลอมละลายทอี่ ยู่ลึกลงไปภายใต้เปลอื กโลกมคี วามหนดื มากกวา่ ปกติ

จากภาพใชต้ อบคำถามขอ้ ท่ี 22 115 ภาพชายฝ่ังทะเล (ท่ีมา https://www.google.co.th/ สบื คน้ เมื่อ 4 พ.ค. 2560) 22. อุณหภมู ิ กระแสนำ้ และกระแสลม มผี ลกระทบต่อหินอย่างไร ก. ทำให้หนิ มนี ้ำหนักเพมิ่ ขึ้น ข. ทำให้หนิ สกึ กรอ่ นและแตกสลายได้ ค. ทำใหห้ นิ มคี วามหนาแนน่ เพ่ิมขึ้นกว่าเดิม ง. ทำใหห้ นิ มคี วามออ่ นตวั นำมาใช้ประโยชนไ์ ด้มากขึน้ 23. ชายฝัง่ ทะเลจะมีคลืน่ จากทะเลซัดเขา้ หาฝงั่ ตลอดเวลา คลื่นจะพานำ้ และทรายจำนวนมากซัด เข้าหาฝงั่ และก็จะไหลลงไปในทะเล ผ่านไป 3 ปี ยังคงเหน็ ภาพน้ีเปน็ ปกตเิ ชน่ เคย หนิ ท่พี บอยตู่ ามชายฝั่งทะเลแหง่ นี้ จะมลี ักษณะเปน็ อยา่ งไร ก. กลมมน ข. เปน็ แผน่ ค. เปน็ เหล่ยี ม ง. แหลมคม

116 24. นายสมชาย ดวงชติ ได้ใช้ภมู ิปญั ญาชาวบ้าน ใชค้ วามร้อนจากไฟในการสกดั แร่ธาตุ จากหินท่ีหามาได้ เม่อื สกัดไดแ้ ลว้ แร่ธาตทุ ม่ี คี ่าก็จะทำการใช้ความร้อนอัดเข้าแบบตามท่ี ตอ้ งการ ส่วนเศษหินต่างๆ ท่เี หลอื กจ็ ะนำไปทำสง่ิ ต่างๆ ตามความเหมาะสม การสกัดแร่ธาตุจากหนิ มีประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง ก. ทำสมุด ข. ทำเสื้อ ค. ทำยางลบ ง. ทำชอร์ก 25. ภาพการเกดิ จันทรปุ ราคา (ที่มา https://www.google.co.th/ สืบค้นเมื่อ 7 พ.ค. 2560) การเกิดจนั ทรุปราคาเตม็ ดวงและการเกิดจนั ทรปุ ราคาบางส่วนแตกตา่ งกันอยา่ งไร ก. องศาทโ่ี ลกทำมุมกบั ดวงจนั ทรแ์ ตกตา่ งกนั ข. สว่ นของโลกที่เข้าไปอย่ใู นเงามืดของดวงจนั ทร์แตกตา่ งกัน ค. สว่ นของดวงจนั ทร์ท่ีเข้าไปอยู่ในเงามดื ของโลกแตกตา่ งกัน ง. ส่วนของดวงอาทิตย์ทีเ่ ขา้ ไปอยใู่ นเงามืดของโลกแตกต่างกัน

117 26. ภาพการเกิดสุรยิ ปุ ราคา (ทีม่ า https://www.google.co.th/ สืบค้นเม่ือ 7 พ.ค. 2560) เพราะเหตใุ ดในบางคร้งั การเกิดสรุ ิยุปราคาเงามืดของดวงจนั ทร์จึงทอดมาไมถ่ งึ โลก ก. โลกบังแสงจากดวงอาทติ ยไ์ ว้ ข. ระยะหา่ งระหว่างโลกกบั ดวงจันทร์ไม่แนน่ อน ค. ดวงจันทร์บงั แสงจากดวงอาทติ ยจ์ นมืดทง้ั ดวง ง. ดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทรโ์ คจรมาอยใู่ นแนวเดียวกัน 27. ภาพการเกดิ ขา้ งแรมและข้างขึ้น (ท่มี า https://www.google.co.th/ สืบค้นเม่อื 8 พ.ค. 2560) ในวันขา้ งแรม 10 ค่ำ ดวงจันทร์มลี ักษณะอย่างไร ก. ดวงจันทรม์ ดื สนทิ ท้งั ดวง ข. ดวงจนั ทร์หนั ดา้ นสว่างมายังโลก ค. ดวงจนั ทรห์ ันมาทางโลกและได้รบั แสงจากดวงอาทิตยม์ าก ง. ดวงจันทร์หันมาทางโลกและไดร้ บั แสงจากดวงอาทิตยน์ ้อย

118 28. คนื หนึง่ เกิดปรากฏการณ์จันทรุปราคา เด็กหญิงชิตชนก ชูเมอื ง นงั่ ดกู ารเกดิ จันทรปุ ราคาช่างอัศจรรยจ์ รงิ ๆ และคดิ ว่าเม่อื คืนทำไมไม่เกิดปรากฏการณ์เชน่ น้ี และคืนอน่ื ๆ ก็ไม่มปี รากฏการณ์เช่นนเี้ หมอื นกัน ทำไมการเกดิ จันทรุปราคาจึงไมเ่ กิดขนึ้ ทุกเดอื น ก. จันทรุปราคาเกดิ ในวนั ขน้ึ 14 ค่ำหรือ 15 ค่ำเทา่ น้นั ข. ระยะเวลาในการโคจรรอบตัวเองของดวงอาทิตไมแ่ นน่ อน ค. ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์ทำมุมเอยี งกบั โลก ซง่ึ นานๆ ครง้ั ถึงจะอยู่แนวเดยี วกันพอดี ง. ถกู ต้องทกุ ขอ้ 29. นกั เรียนคิดวา่ เหตกุ ารณ์ใดถอื เปน็ กา้ วสำคญั ของมนุษยชาตใิ นการสำรวจอวกาศ ก. นลี อารม์ สตรอง ลงเหยยี บบนดวงจนั ทร์ ข. เหตกุ ารณข์ องพ่ีน้องตระกูลไรท์ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งบิน ค. องคก์ ารนาซาส่งยานอวกาศโซโหสำรวจดวงอาทิตย์ ง. สหรัฐอเมรกิ าส่งยานอวกาศมารส์ พาธไฟนเ์ ดอร์ สำรวจดาวองั คาร 30. ณ ห้องเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบ้านอุน่ รกั โรสนสิ า : ในโลกของเรา เราสามารถใชช้ ีวติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างมคี วามสุขค่ะ มาลินี : จริงสิ เราสามารถเดินบนพื้นดินไดด้ ้วยคะ่ โรสนสิ า : เพราะในโลกนี้มแี รงโนม้ ถว่ งของโลกคะ่ มาลนิ ี : แลว้ ในอวกาศ มแี รงโนม้ ถว่ งของโลกไหมคะ่ โรสนสิ า : ไม่มีค่ะ แรงโนม้ ถว่ งของโลกมีเฉพาะในโลกใบนี้เท่านัน้ ซ่งึ เป็นแรงทีม่ ี ประโยชน์มากมาย เช่น ทำให้ฝนตกลงสพู่ ้นื ดนิ ต้นไม้ ผกั ต่างๆ กม็ นี ำ้ ในการ สงั เคราะห์แสง มาลนิ ี : ทำไมมนษุ ย์อยู่ในอวกาศตอ้ งใสช่ ดุ อวกาศด้วยคะ่ โรสนิสา : ? นกั เรียนช่วยตอบแทนโรสนิสาหนอ่ ย เพราะเหตใุ ดมนุษย์อยใู่ นอวกาศต้องใส่ชดุ อวกาศดว้ ย ก. ไม่มีอากาศ ข. ไม่มีทอี่ ยู่ ค. ไม่มยี ารกั ษาโรค ง. ไม่มีเครื่องอำนวยความสะดวก

119 เฉลยคำตอบแบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธก์ิ อ่ นเรียน

120 เฉลยคำตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น ค่มู อื การจดั การเรยี นการสอนโดยเทคนคิ STAD กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 คะแนนเตม็ 30 คะแนน ขอ้ ท่ี คำตอบ ข้อท่ี คำตอบ 1. ค 16. ข 2. ข 17. ข 3. ค 18. ค 4. ค 19. ค 5. ง 20. ง 6. ค 21. ง 7. ข 22. ข 8. ง 23. ก 9. ก 24. ง 10. ง 25. ค 11. ก 26. ข 12. ก 27. ง 13. ข 28. ค 14. ก 29. ก 15. ค 30. ก

121 ภาคผนวก ฉ แบบทดสอบวัดทักษะการคดิ วิเคราะหท์ างการเรียน หลังการใชค้ มู่ ือการจดั การเรยี นรโู้ ดยเทคนคิ STAD ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

122 แบบทดสอบหลังเรยี น ค่มู อื การจดั การเรยี นการสอนโดยเทคนิค STAD กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 50 นาที คะแนนเตม็ 30 คะแนน คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นทำเครอ่ื งหมาย X ข้อท่ีถกู ต้องทีส่ ดุ ลงในกระดาษคำตอบ 1. แม่เรยี กใหส้ มศกั ด์ิมากินข้าว สมศักดต์ิ กั ข้าวสวยใส่ปากเค้ยี วไปสกั ครู่ร้สู กึ มี รสหวาน วันน้ันสมศักดิก์ นิ ข้าวจนเสรจ็ เรียบร้อย วนั ตอ่ มา แม่เรยี กสมศักดมิ์ ากินข้าว ปกติ สมศกั ด์ติ กั ขา้ วซงึ่ วนั นเ้ี ป็นขา้ วเหนยี วใส่ปาก โดยไม่กนิ กับข้าว เค้ียวไปประมาณ 2 นาที ก็รู้สกึ มีรสหวานอีก จากสถานการณ์ขา้ งต้น นักเรยี นคิดว่า “ทำไมเมือ่ สมศกั ด์เิ คย้ี วข้าวไวน้ านๆ จึงรู้สึก มีรสหวาน” ก. น้ำลายของเรามีรสหวาน ข. เราเคยี้ วข้าวที่มีนำ้ ตาลผสมอยู่ ค. น้ำลายมีนำ้ ย่อยสามารถเปลี่ยนแป้งเป็นนำ้ ตาลได้ ง. ข้าวมรี สหวานเพราะข้าวเปน็ คารโ์ บไฮเดรตชนดิ หนึง่ 2. มาลนิ ีมอี าชีพเปน็ พนักงานต้อนรับร้านอาหารแห่งหน่ึง มาลนิ ที ำงานหนกั ทุกวัน ต้งั แต่เช้าจนถึงเทย่ี งคืน มาลนิ ีจะได้กินขา้ วบางวันกิน 2 มอื้ บางวันกิน 3 ม้ือ บางวันไม่ กนิ อาหารมื้อเช้า ไปกนิ ตอนมอ้ื เท่ยี งทีเดียว หรอื บางวนั กนิ ตัง้ แตบ่ า่ ยสาม แลว้ ไปกนิ เท่ยี งคนื ตอนร้านปิด ทำอยา่ งน้ี เป็นเวลา 5 ปี จนปวดทอ้ งมาก ไปพบหมอ หมอบอก วา่ มาลินีเปน็ โรคกระเพาะอาหาร การปฏบิ ัติตนอย่างไร ชว่ ยทำให้มาลินีไมเ่ ปน็ โรคกระเพาะอาหาร ก. ไม่ดื่มน้ำขณะกนิ อาหาร ข. กินอาหารให้ตรงเวลาทกุ มือ้ ค. หัดขับถ่ายอจุ จาระใหเ้ ป็นเวลา ง. เค้ียวอาหารใหล้ ะเอียดก่อนกลืน

123 3. เด็กชายไพรัต เจรญิ สขุ มีอายุ 10 ปี ได้รบั ประทานอาหารวนั ละ 3 มื้อ ซง่ึ ใน ระหว่างมือ้ ได้รบั ประทานขนมหวานและไอศกรมี เป็นประจำ ส่งผลทำให้เด็กชายไพรัต เจรญิ สขุ มีนำ้ หนักและส่วนสูงตามกราฟ กราฟแสดงนา้ หนักของ กราฟแสดงสว่ นสงู ของ เดก็ ชายไพรัต เจริญสุข เดก็ ชายไพรัต เจรญิ สุข ซม. กก. 137 45 44.5 136.5 44 136 43.5 เดือน 135.5 เดอื น 43 42.5 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 42 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. เดือนส.ค. และเดือนก.ย. กราฟแสดงน้ำหนกั และสว่ นสูงมีความสมั พนั ธก์ นั อย่างไร ก. น้ำหนกั ลดลง ส่วนสงู ลดลง ข.นำ้ หนักคงทเ่ี ทา่ เดมิ ส่วนสงู เพิม่ ข้ึน ค. น้ำหนกั เพ่มิ ข้นึ มาก สว่ นสงู เพมิ่ ขน้ึ เล็กนอ้ ย ง. นำ้ หนักเพิม่ ขนึ้ เลก็ น้อย ส่วนสูงคงท่ีเทา่ เดิม 4. จากสถานการณ์ขอ้ 3 เด็กชายไพรตั เจริญสขุ ควรแกไ้ ขตนเองอยา่ งไร ก. ดื่มน้ำมากขึน้ ข.กนิ ยาลดความอ้วน ค. ออกกำลังกายเปน็ ประจำ ง. ลดอาหารเหลอื วนั ละ 1 มื้อ

124 5. ตารางการกนิ อาหารของเด็กหญงิ ประภาพรรณ โชคเจรญิ ดงั ต่อไปน้ี วันที่ มอื้ เชา้ ม้อื เทย่ี ง ม้ือเย็น 1 กันยายน 2560 ขา้ วต้ม 2 กนั ยายน 2560 ไมโล + ขนมปังปิ้ง ขา้ ว + เนือ้ ทอด ข้าว + แกงคั่วกลิง้ 3 กนั ยายน 2560 ขา้ วมนั ไก่ ข้าว + เนื้อป้งิ ข้าว + ปลาทอด ข้าวเหนียวปง้ิ + ไกย่ ่าง ข้าว + ตม้ กระดูกวัว เด็กหญงิ ประภาพรรณ โชคเจริญ กินอาหารตามแบบเมนูนเี้ วียนสลับไปมาเป็นนานๆ ทำให้มอี าการทอ้ งผกู บ่อยครง้ั นกั เรยี นคิดวา่ เด็กหญิงประภาพรรณ โชคเจริญ มอี าการท้องผูกเป็นเพราะเหตใุ ด ก. ลำไสใ้ หญ่จะสะสมกากอาหารมากขึน้ ทำใหก้ ากอาหารแข็งตวั ยากตอ่ การขับถา่ ย ข. กากอาหารท่ีสะสมในลำไส้ใหญ่เกิดปฏิกริ ิยาเคมีขน้ึ จนทำใหก้ ากอาหารแห้งและแข็งตวั ยากตอ่ การขับถ่าย ค. ลำไสใ้ หญ่ยอ่ ยอาหารตดิ ตอ่ กันหลายวันทำใหเ้ กดิ กากอาหารทีแ่ ห้งและแข็ง ยากตอ่ การขบั ถ่าย ง. ในลำไส้ใหญ่มกี ารดูดนำ้ จากกากอาหารกลับคืนสรู่ า่ งกายตลอดเวลา ทำให้กากอาหารแขง็ ขึ้น เร่ือยๆ ยากตอ่ การขบั ถ่าย 6. นกั โภชนาการอาหารของโรงเรยี นสยามบัณฑิต ได้สำรวจน้ำหนักส่วนสงู ของนักเรียน วา่ ตามเกณฑ์หรือไม่ ผลสำรวจมีนกั เรยี นตำ่ กว่าเกณฑ์ 18% นกั โภชนาการต้องการใหน้ ักเรียน ไม่มีโรคขาดสารอาหาร นกั เรยี นคิดวา่ การทีจ่ ะทำให้นกั เรยี นทกุ คนมีสขุ ภาพสมบูรณ์แขง็ แรงจะตอ้ งทำอยา่ งไร ก. อาหารทีม่ โี ปรตีนสูงมสี ง่ิ เจอื ปนนอ้ ย ข. อาหารท่ีกนิ แลว้ อ่มิ ได้นาน ไมม่ สี ิง่ เจือปน ค. อาหารทุกประเภทโดยไมค่ ำนงึ ถงึ สงิ่ เจอื ปนใดๆ ง. อาหารที่ใหส้ ารอาหารครบทกุ หมสู่ ะอาดปราศจากสารเคมเี จอื ปน

125 7. ถา้ กลมุ่ ส่งิ มีชีวติ มีความสมั พนั ธ์แบบตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ ความสมั พนั ธข์ องสงิ่ มชี วี ติ สัญลักษณ์ รปู แบบความสัมพันธ์ ไดป้ ระโยชน์ เสียประโยชน์ + ดำรงชีวติ ในทางท่ีได้ประโยชน์ ไม่ไดป้ ระโยชนแ์ ละไมเ่ สียประโยชน์ - ดำรงชวี ิตใหป้ ระโยชนก์ ับคนอนื่ หรอื ถกู ฆา่ o ดำรงชีวิตลักษณะเปน็ กลาง ไมม่ ีอะไรเกิดขนึ้ ความสมั พันธใ์ นขอ้ ใดทแี่ ตกต่างจากขอ้ อืน่ ก. เฟิร์นกับตน้ ไมใ้ หญ่ ข. กาฝากกับตน้ ไม้ใหญ่ ค. กล้วยไมก้ ับตน้ ไม่ใหญ่ ง. เหาฉลามกับปลาฉลาม 8. ภาพห่วงโซ่อาหาร (ทม่ี า https://www.google.co.th/ สบื คน้ เมื่อ 1 พ.ค. 2560) จากภาพ แบคทีเรียมบี ทบาทอย่างไรในโซ่อาหาร ก. เป็นผู้ล่า ข. เป็นผู้ผลิต ค. เปน็ ผู้บริโภค ง. เป็นผยู้ อ่ ยสลาย

126 9. ธรรมชาตมิ สี ่ิงมชี วี ติ ทีม่ ีความสมดลุ กนั ในการดำรงชีวิตสิ่งมีชีวิตมกี ารกนิ กนั เปน็ ทอดๆ ใน โซอ่ าหาร ถ้าโซอ่ าหารในธรรมชาติถูกทำลาย นักเรยี นคิดว่าจะเกดิ ผลอย่างไร ก. ธรรมชาตเิ สียสมดุล ข. เกิดวาตภัยร้ายแรง ค. คนจะไม่มที ี่อยู่อาศัย ง. เกิดมลพิษทางอากาศ 10. ป่าไมบ้ นภเู ขาแห่งหน่ึงประกอบไปด้วยต้นไมแ้ ละสัตว์ป่าจำนวนมาก ป่าไมแ้ หง่ น้มี ีความอดุ ม สมบูรณ์ มคี วามสมดลุ ของธรรมชาติ ถ้าวันหนึ่งป่าไมน้ ี้ถูกทำลายลงไปเป็นจำนวนมาก จะเกดิ ผลกระทบอยา่ งไร ก. ฝนตกทัง้ ปี ข. มีลมพายมุ ากข้ึน ค. มเี มฆคิวมูโลนมิ บสั มากขน้ึ ง. สภาพอากาศรอ้ น แหง้ แลง้ 11. ทรัพยากรธรรมชาตมิ ที ั้งประเภทท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป และประเภทใชแ้ ล้วสามารถสรา้ งทดแทน ขนึ้ มาใหมไ่ ด้ เพราะฉะนั้นควรใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างคมุ้ คา่ มากท่ีสุด การกระทำอยา่ งไรทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ว่ามีการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ก. หยุดทำไร่เล่อื นลอยตามบริเวณตน้ นำ้ ลำธาร ข. ตดั ต้นไม้สรา้ งเข่ือนและอา่ งเกบ็ น้ำให้มากขึ้น ค. ใชเ้ นอื้ ที่ป่าท่มี อี ย่มู าทำการเพาะปลกู เพ่มิ ข้ึนทกุ ปี ง. ขดุ เจาะแก๊สธรรมชาติและน้ำมนั มาใช้เป็นเช้ือเพลงิ สำหรับผลิตไฟฟา้ 12. ครอบครวั ของมานิตมีอาชีพทำสวน วันหนึง่ หลังกินข้าวเสร็จอากาศร้อน มานติ เลย ชวนลกู สาวมาน่งั ทเี่ กา้ อี้ใต้ต้นไม้หน้าบ้าน มานติ เล่าใหล้ ูกสาวฟังว่าย้อนเวลาไปเม่ือ 10 ปที ่ี แลว้ บริเวณน้มี ีตน้ ไม้เยอะ ทำใหอ้ ากาศดมี าก แตเ่ วลาเมอ่ื ไม่นานมานม้ี ีการตัดไม้ ถางป่า กลายเปน็ ภเู ขาโลน้ ท่ีเหน็ แตด่ นิ และหิน เหมือนทีเ่ ราเห็นทุกวันนี้ ทำให้มีอากาศร้อน นกั เรยี นคิดว่าทำไมการตัดไม้ทำลายปา่ จึงทำให้ความช่มุ ชืน้ ในอากาศลดลง ก. ต้นไม้ช่วยทำให้วฏั จกั รของนำ้ เกิดความสมบูรณ์ ข. ต้นไมช้ ว่ ยใหก้ ารระเหยของไอน้ำจากดนิ เกดิ ขนึ้ ตลอดเวลา ค. ต้นไม้ช่วยป้องกนั การระเหยของไอน้ำในอากาศขึน้ สชู่ ั้นบรรยากาศ ง. ตน้ ไมช้ ว่ ยผลติ แก๊สออกซิเจน ซ่ึงเม่ือรวมตัวกับแกส็ ไฮโดรเจนจะเกิดเป็นน้ำ

127 13. ขนษิ ฐาตกั นำ้ ใสโ่ อ่งตั้งไว้ในครัวเพอ่ื ไว้ใชป้ ระกอบอาหาร จำนวน 4 โอง่ นำ้ 1 โอง่ ใชป้ ระกอบอาหารได้ 2 วัน ในวันที่ 7 ขนิษฐาเปดิ โอ่งท่ี 4 เพ่อื ทจ่ี ะใชน้ ้ำมาประกอบอาหาร น้ำในโอง่ ท่ีขนิษฐาตักต้งั ไว้ในครัวทงิ้ ไวป้ ระมาณ 1 สปั ดาห์ จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ก. นำ้ เปลี่ยนเป็นสดี ำ ข. น้ำส่วนหนง่ึ ระเหยเปน็ ไอ ค. นำ้ แข็งตวั เป็นน้ำแขง็ ง.ไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงอะไร 14. จากตารางการเปลย่ี นแปลงของสาร การเปลย่ี นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงทางภายภาพ ปลายธูปทจ่ี ุดไฟไปจท้ี ี่เศษกระดาษจะเกดิ น้ำท่ีต้มในกาน้ำรอ้ นกลายเป็นไอ การเผาไหมก้ ลายเป็นขเ้ี ถา้ ไขด่ บิ ทอดเปน็ ไข่ดาว เกลือละลายนำ้ นำ้ แขง็ ใส่แกว้ ตง้ั ทิ้งไวล้ ะลายกลายเป็นน้ำ ร้ัวเหล็กกลายเป็นสนิม การเปลีย่ นแปลงทางเคมแี ตกตา่ งกบั การเปลยี่ นแปลงทางภายภาพอย่างไร ก. เกดิ สารใหม่ – ไม่เกดิ สารใหม่ ข. สมบตั ขิ องสารคงเดมิ – สมบตั ขิ องสารคงเดมิ เปล่ียนไป ค. เปล่ียนกลบั เป็นสารเดิมได้ – เปลยี่ นกลับเปน็ สารเดิมไม่ได้ ง. องค์ประกอบของสารคงเดมิ – องค์ประกอบของสารเปลี่ยนไป

128 15. ภาพการทิ้งขยะ ส่งิ ของ สารต่างๆ ลงในแม่น้ำ (ที่มา https://www.google.co.th/ สบื ค้นเมอื่ 2พ.ค. 2560) จากภาพสารต่างๆ เมื่อทงิ้ ลงแหล่งน้ำจะทำให้เกิดนำ้ เน่าเสีย เพราะอะไร ก. สารละลายในนำ้ ข. สารตกตะกอนทบั ถมในแหลง่ น้ำ ค. จุลินทรียม์ ีการย่อยสลายสารต่างๆ ง. แก๊สในน้ำทำปฏกิ ิริยาเคมกี ับสาร 16. บา้ นของนางปรยี านุช รัตนะ มหี อ้ งนอนจำนวน 2 หอ้ ง คนื นี้ในหอ้ งนอนมีวงจรไฟฟ้าดงั ต่อไปน้ี หอ้ งนอนท่ี วงจรไฟฟ้า หลอดไฟฟา้ 1. วงจรเปดิ หลอดไฟฟา้ ดบั สนิททั้ง 2 หลอด 2. วงจรปดิ หลอดไฟฟา้ สว่างท้ัง 2 หลอด จากข้อมลู ในตาราง ขอ้ ใดสรุปวงจรปิดได้ถกู ตอ้ ง ก. กระแสไฟฟ้าไมเ่ คลอ่ื นท่ี ข. กระแสไฟฟ้าเคล่ือนทีไ่ ดค้ รบวงจร ค. กระแสไฟฟา้ เคลือ่ นทีไ่ ด้ไมค่ รบวงจร ง. กระแสไฟฟา้ ไหลจากขวั้ ลบไปยงั ขัว้ บวก

129 17. ภาพการหุงขา้ วด้วยหม้อไฟฟ้า (ทีม่ า https://www.google.co.th/ สบื คน้ เมือ่ 2พ.ค. 2560) จากรปู ภาพการทห่ี มอ้ ไฟฟ้าสามารถทำงานไดเ้ ปน็ ปกติ เพราะเหตุใด ก. วงจรลดั ข. วงจรปดิ ค. วงจรเปิด ง. วงจรขาด 18. เด็กชายพฒั ชล ไกรศรี เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้ทำการทดลองการเกิดอำนาจ แม่เหล็กโดยการนำแม่เหลก็ มาถเู หล็ก เพื่อให้เกิดอำนาจแมเ่ หล็ก นักเรียนคดิ ว่าเดก็ ชายพัฒชล ไกรศรี จะทำการทดลองถอู ยา่ งไรถงึ จะเกดิ อำนาจแม่เหลก็ ก. ถจู ากซ้ายไปขวาเพียง 1 คร้งั ข. ถูจากขวาไปซ้ายเพียง 1 คร้ัง ค. ถไู ปทศิ ทางเดียวกันหลายๆ ครั้ง ง. ถกู ลับไปกลบั มากันหลายๆ ครัง้

130 19. นักธรณีวิทยาได้ลงพน้ื ท่ีสำรวจหนิ ภเู ขาแห่งหนง่ึ จากการสำรวจในครง้ั นไี้ ดม้ ีการทำแผนที่ แสดงแหลง่ หนิ ในทอ้ งถิ่นของภเู ขานัน้ อย่างละเอยี ด การที่นักธรณีวิทยาทำแผนที่แสดงแหล่งหนิ ในท้องถนิ่ นัน้ มปี ระโยชน์อยา่ งไรบา้ ง ก. พัฒนาเป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ ว ข. ยอ้ นกลับไปเกบ็ หินได้งา่ ยข้ึน ค.ใหท้ ราบขอ้ มลู แหล่งหนิ ในทอ้ งถ่นิ ง.ป้องกนั คนเข้าไปในบรเิ วณแหลง่ หิน ใช้สถานการณ์ตอ่ ไปนีต้ อบขอ้ 20 และ 21 สถานการณ์ ลกั ษณะการเกิดของหิน 1. บ้านของด.ญ. แดง มีปรากฏการณ์ เกิดจากแมกมาดันตัวขึน้ มาอยบู่ ริเวณใต้เปลือกโลก เกิดหนิ อคั นที ่เี ยน็ ตัวใต้เปลอื กโลก ซงึ่ อุณหภมู ิต่ำกว่า แมกมาจงึ เย็นตวั ลงอย่างชา้ ๆ 2. บ้านของด.ช. ฟ้า มปี รากฏการณ์เกิด เกดิ จากการปะทุของภเู ขาไฟทำใหแ้ มกมาพงุ่ ข้ึนมา หนิ จากหนิ อัคนที แ่ี ข็งตัวบนเปลือกโลก อยบู่ นผวิ โลก 3. บ้านของด.ญ. ขาว มปี รากฏการณ์ เน่อื งจากความรอ้ นและความดันภายในโลก หรือ เกิดหนิ จากการเปลีย่ นแปลงของหนิ อัคนี การเปลี่ยนแปลงของเปลอื กโลก ทำใหห้ นิ เกิดการ หรอื หนิ ตะกอน แปรสภาพเปน็ หินชนิดใหม่ 4. บ้านของด.ช. ดำ มปี รากฏการณ์เกดิ สงิ่ มีชีวิตหรือเศษหินตา่ งๆ ทผ่ี กุ ร่อนถกู พัดพา ทำให้ หินจากตะกอนของสิง่ มีชวี ติ หรือเศษหิน เกดิ การสะสมตวั และถกู อดั แนน่ จนกลายเป็นหนิ ต่างๆ 20. หนิ ท่ีนยิ มนำมาใช้ในงานกอ่ สร้างอาคารมีลักษณะอยา่ งไร ก. หนิ ปูน ข. หนิ อ่อน ค. หนิ ไนส์ ง. หนิ แกรนติ

131 21. แมกมามีลกั ษณะอย่างไร ก. หินทห่ี ลอมละลายดว้ ยความร้อนสงู มาก ข. หนิ หลอมละลายที่เยน็ ตวั จบั กนั เปน็ ก้อนแขง็ ค. หินหลอมละลายทพี่ งุ่ ไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ง. หินหลอมละลายท่ีอยู่ลึกลงไปภายใต้เปลือกโลกมีความหนดื มากกว่าปกติ 22. ชายฝ่งั ทะเลจะมคี ล่ืนจากทะเลซดั เขา้ หาฝ่งั ตลอดเวลา คล่ืนจะพานำ้ และทรายจำนวนมากซดั เข้าหาฝงั่ และกจ็ ะไหลลงไปในทะเล ผ่านไป 3 ปี ยังคงเห็นภาพนี้เป็นปกติเช่นเคย หินที่พบอยตู่ ามชายฝง่ั ทะเลแหง่ น้ี จะมลี ักษณะเป็นอยา่ งไร ก. กลมมน ข. เปน็ แผ่น ค. เปน็ เหลยี่ ม ง. แหลมคม จากภาพใช้ตอบคำถามข้อที่ 23 ภาพชายฝง่ั ทะเล (ท่ีมา https://www.google.co.th/ สืบคน้ เม่อื 4 พ.ค. 2560) 23. อุณหภมู ิ กระแสนำ้ และกระแสลม มผี ลกระทบต่อหินอยา่ งไร ก. ทำให้หินมนี ้ำหนกั เพม่ิ ข้นึ ข. ทำใหห้ ินสกึ กรอ่ นและแตกสลายได้ ค. ทำใหห้ นิ มีความหนาแน่นเพ่มิ ขน้ึ กว่าเดมิ ง. ทำให้หินมีความอ่อนตวั นำมาใช้ประโยชนไ์ ดม้ ากข้นึ

132 24. นายสมชาย ดวงชติ ได้ใช้ภมู ิปญั ญาชาวบ้าน ใชค้ วามร้อนจากไฟในการสกดั แร่ธาตุ จากหนิ ท่ีหามาได้ เม่อื สกัดไดแ้ ลว้ แร่ธาตทุ ม่ี คี ่าก็จะทำการใช้ความร้อนอัดเข้าแบบตามท่ี ตอ้ งการ ส่วนเศษหินต่างๆ ท่เี หลอื กจ็ ะนำไปทำสง่ิ ต่างๆ ตามความเหมาะสม การสกัดแร่ธาตุจากหนิ มีประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง ก. ทำสมุด ข. ทำเสอื้ ค. ทำยางลบ ง. ทำชอร์ก 25. ภาพการเกดิ จันทรปุ ราคา (ที่มา https://www.google.co.th/ สืบค้นเมื่อ 7 พ.ค. 2560) การเกิดจนั ทรุปราคาเตม็ ดวงและการเกิดจนั ทรปุ ราคาบางส่วนแตกตา่ งกันอยา่ งไร ก. องศาทโ่ี ลกทำมุมกบั ดวงจนั ทรแ์ ตกตา่ งกนั ข. สว่ นของโลกที่เข้าไปอย่ใู นเงามืดของดวงจนั ทร์แตกตา่ งกัน ค. สว่ นของดวงจนั ทร์ท่ีเข้าไปอยู่ในเงามดื ของโลกแตกตา่ งกัน ง. ส่วนของดวงอาทิตย์ทีเ่ ขา้ ไปอยใู่ นเงามืดของโลกแตกต่างกัน

133 26. ภาพการเกิดสุริยปุ ราคา (ที่มา https://www.google.co.th/ สบื คน้ เม่ือ 7 พ.ค. 2560) เพราะเหตใุ ดในบางคร้ังการเกดิ สรุ ิยปุ ราคาเงามืดของดวงจนั ทรจ์ งึ ทอดมาไมถ่ ึงโลก ก. โลกบังแสงจากดวงอาทิตย์ไว้ ข. ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์ไมแ่ นน่ อน ค. ดวงจันทร์บังแสงจากดวงอาทิตยจ์ นมดื ทัง้ ดวง ง. ดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทร์โคจรมาอยูใ่ นแนวเดยี วกัน 27. คนื หนงึ่ เกดิ ปรากฏการณ์จันทรุปราคา เดก็ หญงิ ชิตชนก ชเู มือง น่ังดูการเกดิ จันทรุปราคาช่างอัศจรรย์จรงิ ๆ และคดิ วา่ เมอ่ื คืนทำไมไม่เกิดปรากฏการณเ์ ช่นน้ี และคืนอนื่ ๆ กไ็ ม่มีปรากฏการณ์เช่นนี้เหมอื นกนั ทำไมการเกิดจนั ทรปุ ราคาจึงไม่เกดิ ขึ้นทุกเดือน ก. จันทรุปราคาเกิดในวนั ข้ึน 14 ค่ำหรือ 15 ค่ำเท่านน้ั ข. ระยะเวลาในการโคจรรอบตวั เองของดวงอาทิตไมแ่ น่นอน ค. ระนาบวงโคจรโคจรของดวงจันทร์ทำมุมเอยี งกับโลก ซึ่งนานๆ ครั้งถึงจะอยู่แนวเดียวกันพอดี ง. ถูกตอ้ งทกุ ขอ้

134 28. ภาพการเกดิ ข้างแรมและขา้ งข้ึน (ทีม่ า https://www.google.co.th/ สืบคน้ เมอ่ื 8 พ.ค. 2560) ในวนั ข้างแรม 10 ค่ำ ดวงจันทรม์ ีลกั ษณะอย่างไร ก. ดวงจันทร์มืดสนิททัง้ ดวง ข. ดวงจนั ทร์หนั ด้านสว่างมายังโลก ค. ดวงจนั ทรห์ ันมาทางโลกและได้รบั แสงจากดวงอาทติ ยม์ าก ง. ดวงจันทร์หันมาทางโลกและได้รับแสงจากดวงอาทติ ย์นอ้ ย

135 29. ณ หอ้ งเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านอุ่นรัก โรสนิสา : ในโลกของเรา เราสามารถใช้ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งมคี วามสขุ ค่ะ มาลินี : จริงสิ เราสามารถเดนิ บนพนื้ ดนิ ได้ดว้ ยค่ะ โรสนสิ า : เพราะในโลกนี้มแี รงโน้มถว่ งของโลกคะ่ มาลินี : แลว้ ในอวกาศ มแี รงโน้มถ่วงของโลกไหมค่ะ โรสนสิ า : ไมม่ ีค่ะ แรงโน้มถว่ งของโลกมเี ฉพาะในโลกใบนีเ้ ท่านั้น ซง่ึ เป็นแรงทมี่ ี ประโยชน์มากมาย เชน่ ทำให้ฝนตกลงสูพ่ ้นื ดนิ ตน้ ไม้ ผกั ต่างๆ ก็มีนำ้ ในการ สังเคราะหแ์ สง มาลินี : ทำไมมนษุ ย์อยู่ในอวกาศตอ้ งใส่ชุดอวกาศด้วยคะ่ โรสนสิ า : ? นักเรียนชว่ ยตอบแทนโรสนสิ าหนอ่ ย เพราะเหตุใดมนุษยอ์ ยู่ในอวกาศต้องใส่ชดุ อวกาศด้วย ก. ไมม่ ีอากาศ ข. ไม่มีทอี่ ยู่ ค. ไม่มียารกั ษาโรค ง. ไมม่ เี ครื่องอำนวยความสะดวก 30. นกั เรียนคดิ วา่ เหตกุ ารณใ์ ดถอื เปน็ ก้าวสำคัญของมนษุ ยชาติในการสำรวจอวกาศ ก. นีล อารม์ สตรอง ลงเหยียบบนดวงจันทร์ ข. เหตุการณ์ของพ่ีน้องตระกูลไรทป์ ระดษิ ฐเ์ คร่ืองบิน ค. องค์การนาซาสง่ ยานอวกาศโซโหสำรวจดวงอาทติ ย์ ง. สหรัฐอเมรกิ าส่งยานอวกาศมาร์สพาธไฟน์เดอร์ สำรวจดาวองั คาร

136 เฉลยคำตอบแบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธห์ิ ลงั เรียน

137 เฉลยคำตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนโดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 คะแนนเตม็ 30 คะแนน ขอ้ ที่ คำตอบ ข้อที่ คำตอบ 1. ค 16. ข 2. ข 17. ข 3. ค 18. ค 4. ค 19. ค 5. ง 20. ง 6. ง 21. ง 7. ข 22. ก 8. ง 23. ข 9. ก 24. ง 10. ง 25. ค 11. ก 26. ข 12. ก 27. ค 13. ข 28. ง 14. ก 29. ก 15. ค 30. ก

138 ภาคผนวก ช ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของคมู่ อื การจดั การเรยี นรู้โดยเทคนคิ STAD

139 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของหนงั สือคู่มือการจัดการเรยี นการสอนโดยเทคนคิ STAD และแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 หนงั สือคมู่ ือการจัดการเรียนการสอนโดยเทคนิค STAD ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โดยให้ ผูเ้ ช่ยี วชาญ จำนวน 7 คน ตรวจสอบหาคณุ ภาพโดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมของหนังสือ ที่มีลักษณะ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดับ ซงึ่ กำหนดเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดงั นี้ 5 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมมาก 4 หมายถึง มีความเหมาะสมค่อนขา้ งมาก 3 หมายถึง มคี วามเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามเหมาะสมคอ่ นข้างน้อย 1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้อย นำผลทไ่ี ดจ้ ากการประเมินหนังสอื คูม่ ือการจัดการเรยี นการสอนโดยเทคนิค STAD ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 โดยนำคะแนนความคดิ เห็นของผู้เช่ียวชาญทง้ั 7 คน มาหาคา่ พารามเิ ตอร์ และคา่ Sigma โดยใช้เกณฑข์ องบุญชม ศรีสะอาด (2545 : 103) ดงั นี้ คะแนนเฉลยี่ 4.51 –5.00 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมาก คะแนนเฉลี่ย 3.51 –4.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมค่อนข้างมาก คะแนนเฉล่ยี 2.51 –3.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 –2.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมค่อนข้างน้อย คะแนนเฉลีย่ 1.00 –1.50 หมายถงึ มีความเหมาะสมน้อย ผลการประเมินหนงั สืออ่านเพิ่มเตมิ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ดังผลปรากฏในตารางท่ี 12 – 14

140 ตารางที่ 12 สรปุ ผลการประเมนิ คู่มอื การจดั การเรยี นรู้โดยเทคนคิ STAD ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 รายการ คะแนน เฉลีย่ แปลความ รวม 7 คน 4.67 มคี วามเหมาะสมมาก คมู่ อื การจดั การเรยี นรู้โดย 655 เทคนคิ STAD

141 ตารางที่ 13 ผลการประเมนิ คมู่ อื การจัดการเรียนรโู้ ดยเทคนิค STAD ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 (สำหรับผเู้ ช่ียวชาญ) รายการท่ปี ระเมิน คะแนนการพจิ ารณา คนที่ 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนท่ี 5 1. ดา้ นเนื้อหา 54454 1.1 เนื้อหาชดั เจน เขา้ ใจง่าย ไมส่ บั สน 54555 1.2 เน้ือหามีความเหมาะสมกบั เวลา 45545 54555 1.3 เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกบั นกั เรยี นช้ัน ป. 6 55544 1.4 เนื้อหาแตล่ ะเรอ่ื งน่าสนใจ 1.5 เนือ้ หาในแต่ละเร่ืองนำไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวันได้ 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ 2.1 กจิ กรรมในหนังสอื นา่ สนใจ 45555 2.2 กจิ กรรมในหนังสอื มีความเหมาะสม ช่วยให้เกิดการเรยี นรู้ 5 5 4 5 5 2.3 กจิ กรรมแบบฝึกการอ่านนา่ เรียนรู้ 54545 2.4 นกั เรยี นไดป้ ฏิบตั กิ จิ กรรมด้วยตนเอง 55544 2.5 นักเรียนค้นพบคำตอบด้วยตนเอง 54455 3. ด้านส่ือและอปุ กรณ์การเรยี นรู้ 55554 3.1 มีความสอดคล้องและเหมาะสมกบั เน้อื หา 54554 45455 3.2 เร้าความสนใจของนกั เรยี น 55455 3.3 ช่วยใหน้ ักเรียนเขา้ ใจง่ายขนึ้ 54545 3.4 หนังสือเลม่ ท่ี 1เปน็ สือ่ ประกอบการเรียนได้ดี 3.5 ภาพประกอบเน้ือหาหนังสอื เลม่ ท่ี 1 มจี ดุ เดน่ น่าสนใจ 4. ด้านการวดั ผลและประเมินผล 4.1 แบบทดสอบมีความสอดคลอ้ งกับเนอื้ หาของหนงั สอื 45555 4.2 แบบทดสอบสอดคลอ้ งกบั ตวั ชวี้ ัด 45555 4.3 แบบทดสอบมีความยากง่ายเหมาะสมกับนักเรียนชน้ั ป. 6 5 4 5 5 5 4.4 แบบทดสอบมีจำนวนขอ้ เหมาะสมกบั เวลา 55454 4.5 แบบทดสอบช่วยใหน้ กั เรียนร้คู วามก้าวหน้าของตนเอง 45544

142 รายการทป่ี ระเมนิ คะแนนการพจิ ารณา 1. ดา้ นเน้อื หา คนที่ 6 คนที่ 7 1.1 เน้อื หาชัดเจน เขา้ ใจง่าย ไมส่ บั สน 1.2 เนอ้ื หามีความเหมาะสมกบั เวลา 45 45 1.3 เนอื้ หามีความยากงา่ ยเหมาะสมกับนักเรียนช้ัน ป. 6 55 1.4 เนอื้ หาแต่ละเรื่องนา่ สนใจ 54 1.5 เนอ้ื หาในแต่ละเรือ่ งนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันได้ 55 2. ด้านกระบวนการเรียนรู้ 44 2.1 กิจกรรมในหนังสอื นา่ สนใจ 55 55 2.2 กจิ กรรมในหนังสอื มีความเหมาะสม ชว่ ยให้เกิดการเรยี นรู้ 55 2.3 กิจกรรมแบบฝึกการอา่ นน่าเรียนรู้ 54 2.4 นกั เรยี นได้ปฏิบัติกจิ กรรมดว้ ยตนเอง 54 2.5 นักเรียนคน้ พบคำตอบด้วยตนเอง 55 44 3. ด้านสอ่ื และอปุ กรณ์การเรยี นรู้ 55 3.1 มีความสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั เน้อื หา 55 3.2 เร้าความสนใจของนกั เรยี น 45 3.3 ชว่ ยใหน้ ักเรียนเขา้ ใจงา่ ยขน้ึ 55 3.4 หนังสือเล่มที่ 1เป็นสอ่ื ประกอบการเรยี นไดด้ ี 54 3.5 ภาพประกอบเนือ้ หาหนังสอื เล่มที่ 1 มีจดุ เด่น น่าสนใจ 55 54 4. ดา้ นการวดั ผลและประเมินผล 4.1 แบบทดสอบมีความสอดคล้องกับเน้ือหาของหนงั สอื 4.2 แบบทดสอบสอดคล้องกบั ตัวชี้วัด 4.3 แบบทดสอบมคี วามยากงา่ ยเหมาะสมกับนกั เรยี นช้นั ป. 6 4.4 แบบทดสอบมจี ำนวนขอ้ เหมาะสมกับเวลา 4.5 แบบทดสอบช่วยให้นกั เรียนรคู้ วามก้าวหนา้ ของตนเอง

143 ตารางที่ 14 ผลรวมการประเมนิ คมู่ ือการจดั การเรียนรูโ้ ดยเทคนิค STAD ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 (สำหรบั ผเู้ ชี่ยวชาญ) รายการทีป่ ระเมิน รวม เฉล่ีย S.D. 1. ดา้ นเนื้อหา 31 4.42 0.53 1.1 เน้อื หาชัดเจน เข้าใจงา่ ย ไมส่ บั สน 33 4.71 0.48 1.2 เนอ้ื หามคี วามเหมาะสมกบั เวลา 33 4.71 0.48 33 4.71 0.48 1.3 เนอ้ื หามคี วามยากงา่ ยเหมาะสมกับนักเรียนชนั้ ป. 3 33 4.71 0.48 1.4 เนอื้ หาแต่ละเรื่องน่าสนใจ 1.5 เนือ้ หาในแตล่ ะเรอื่ งนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั ได้ 32 4.57 0.53 34 4.85 0.37 2. ด้านกระบวนการเรยี นรู้ 33 4.71 0.48 2.1 กจิ กรรมในหนงั สือนา่ สนใจ 33 4.71 0.48 32 4.57 0.53 2.2 กิจกรรมในหนงั สือมคี วามเหมาะสม ชว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ 2.3 กิจกรรมแบบฝึกการอ่านน่าเรียนรู้ 33 4.71 0.48 33 4.71 0.48 2.4 นักเรยี นได้ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดว้ ยตนเอง 31 4.42 0.53 2.5 นักเรียนคน้ พบคำตอบด้วยตนเอง 34 4.85 0.37 33 4.71 0.48 3. ดา้ นสือ่ และอปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ 3.1 มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับเน้อื หา 33 4.71 0.48 34 4.85 0.37 3.2 เร้าความสนใจของนักเรียน 33 4.71 0.48 3.3 ช่วยใหน้ ักเรียนเข้าใจง่ายขน้ึ 33 4.71 0.48 3.4 หนังสือเล่มที่ 1เป็นสอื่ ประกอบการเรียนได้ดี 31 4.42 0.53 3.5 ภาพประกอบเนือ้ หาหนังสอื เล่มท่ี 1มจี ดุ เด่น นา่ สนใจ 4. ด้านการวดั ผลและประเมนิ ผล 4.1 แบบทดสอบมคี วามสอดคล้องกบั เน้อื หาของหนังสือ 4.2 แบบทดสอบสอดคล้องกับตวั ช้ีวดั 4.3 แบบทดสอบมีความยากงา่ ยเหมาะสมกบั นักเรียนชัน้ ป. 3 4.4 แบบทดสอบมีจำนวนข้อเหมาะสมกับเวลา 4.5 แบบทดสอบชว่ ยใหน้ ักเรียนรู้ความกา้ วหนา้ ของตนเอง

144

144 ภาคผนวก ซ ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

145 ผลการประเมินความเหมาะสมของแบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยให้ผู้เช่ียวชาญ จำนวน 7 คน ตรวจสอบหาคุณภาพของแบบประเมินความ พึงพอใจท่ีมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ บุญชม ศรีสะอาด. (2556 : 67) ซ่ึงกำหนดเกณฑ์ การพิจารณา ดังน้ี 5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สดุ 4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามเหมาะสมน้อย 1 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมน้อยทสี่ ุด นำผลที่ได้จากการตรวจสอบหาคุณภาพของแบบประเมินความพึงพอใจท่ีม่ีต่อการจัดการ เรยี นร้โู ดยเทคนิค STAD กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยนำคะแนนมาหาคา่ พารามเิ ตอร์ และค่า Sigma โดยใชเ้ กณฑข์ องบุญชม ศรีสะอาด (2556 : 67) ดงั นี้ คะแนนเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมากท่สี ดุ คะแนนเฉลีย่ 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมาก คะแนนเฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสมนอ้ ย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมนอ้ ยที่สุด

146 ผลการตรวจสอบหาคณุ ภาพของแบบประเมนิ ความพึงพอใจทม่ี ตี่ ่อการจัดการเรยี นรูโ้ ดยเทคนคิ STAD กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ดงั ผลปรากฏในตารางที่ 15 – 16 ตารางที่ 15 สรุปผลการตรวจสอบหาคณุ ภาพของแบบประเมินความพึงพอใจท่ีม่ีต่อการจัดการเรยี นร้โู ดย เทคนคิ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ความพึงพอใจที่มีต่อการ คะแนน เฉล่ยี แปลความ จดั การเรียนร้โู ดยใช้เทคนิค รวม 7 คน 4.42 มคี วามเหมาะสมมาก STAD กลุ่มสาระการ 620 เรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ หาคณุ ภาพของแบบ ประเมินความพงึ พอใจ

147 ตารางท่ี 16 ผลการตรวจสอบหาคณุ ภาพของแบบประเมินความพงึ พอใจท่ีม่ีต่อการจัดการเรียนรู้โดย เทคนคิ STAD กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 (สำหรับผเู้ ชี่ยวชาญ) รายการทปี่ ระเมนิ คะแนนการพจิ ารณา 1. ดา้ นคำช้ีแจง คนท่ี 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 1.1 องคป์ ระกอบมคี วามชดั เจน ครบถว้ นเพียงพอ 1.2 ขอ้ ความเขา้ ใจได้งา่ ย มีความเหมาะสมกับนกั เรยี น ชน้ั ป.6 55554 1.3 ใช้ตัวอักษรเหมาะสมกบั นักเรยี น ช้นั ป.6 55544 1.4 การจดั รปู แบบข้อความ 45544 1.5 ข้อปฏบิ ตั ใิ นการใช้แบบประเมินความพึงพอใจชัดเจน 54454 55555 2. ดา้ นเน้อื หา 2.1 มคี วามถกู ตอ้ งตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 5 5 4 5 5 2.2 มีความสอดคล้องกับการเรียนรู้เทคนคิ STAD 54555 2.3 การใชภ้ าษาถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั นกั เรียน ช้นั ป.6 44454 2.4 ครอบคลมุ ลำดับเนื้อหาของการเรียนรู้ 44444 2.5 ไมข่ ัดต่อความม่ันคงของชาตแิ ละคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 55554 3. ด้านรูปแบบการประเมนิ 55554 3.1 มคี วามสอดคล้องและเหมาะสมกบั เน้ือหา 44554 3.2 เรา้ ความสนใจของนกั เรยี น 54454 3.3 นกั เรียนเข้าใจงา่ ย ความเหมาะสมกับนักเรียน ชัน้ ป. 6 44444 3.4 การจัดเรยี งลำดบั ขน้ั ตอนการประเมนิ 44445 3.5 สถานทกี่ ารประเมนิ มคี วามเหมาะสม 4. ดา้ นการวัดผลและประเมินผล 4.1 แบบประเมินมคี วามสอดคล้องกับเนือ้ หา 55554 4.2 แบบประเมินสอดคลอ้ งกับตัวชี้วัด 55555 4.3 แบบประเมนิ มคี วามยากงา่ ยเหมาะสมกบั นักเรยี นชัน้ ป. 6 4 5 4 4 4 4.4 แบบประเมนิ มจี ำนวนข้อเหมาะสมกบั เวลา 44443 4.5 แบบประเมนิ เน้นการประเมนิ สภาพจรงิ 44533

148 รายการท่ปี ระเมิน คะแนนการพิจารณา S.D. 1. ด้านคำชี้แจง คนที่ 6 คนที่ 7 รวม เฉลยี่ 0.48 1.1 องคป์ ระกอบมคี วามชัดเจน ครบถว้ นเพยี งพอ 0.53 1.2 ข้อความเข้าใจไดง้ ่าย มีความเหมาะสมกบั นักเรยี น ชั้น ป.6 4 5 33 4.71 0.53 1.3 ใช้ตวั อักษรเหมาะสมกับนักเรยี น ช้ัน ป.6 4 4 31 4.42 0.48 1.4 การจดั รปู แบบข้อความ 5 4 31 4.42 0.37 1.5 ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการใชแ้ บบประเมนิ ความพงึ พอใจชดั เจน 4 4 30 4.28 4 5 34 4.85 0.37 2. ดา้ นเน้ือหา 0.37 2.1 มีความถกู ตอ้ งตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 5 5 34 4.85 0.48 2.2 มคี วามสอดคลอ้ งกับการเรียนรู้เทคนคิ STAD 5 5 34 4.85 0.37 2.3 การใชภ้ าษาถกู ต้องเหมาะสมกบั นกั เรียน ชัน้ ป.6 4 5 30 4.28 0.37 2.4 ครอบคลุมลำดับเนอ้ื หาของการเรยี นรู้ 4 5 29 4.14 2.5 ไม่ขัดต่อความมนั่ คงของชาติและคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 5 5 34 4.85 3. ด้านรูปแบบการประเมนิ 4 4 32 4.57 0.53 3.1 มีความสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั เนือ้ หา 4 4 30 4.28 0.48 3.2 เรา้ ความสนใจของนักเรยี น 4 5 31 4.42 0.53 3.3 นกั เรียนเขา้ ใจงา่ ย ความเหมาะสมกบั นกั เรยี น ชน้ั ป. 6 3 4 27 3.85 0.37 3.4 การจดั เรยี งลำดบั ขั้นตอนการประเมิน 3 5 29 4.14 0.69 3.5 สถานที่การประเมนิ มคี วามเหมาะสม 4. ดา้ นการวดั ผลและประเมินผล 4.1 แบบประเมนิ มีความสอดคล้องกบั เนอ้ื หา 5 4 33 4.71 0.48 4.2 แบบประเมินสอดคล้องกับตวั ช้วี ดั 5 4 34 4.85 0.37 4.3 แบบประเมินมีความยากงา่ ยเหมาะสมกับนกั เรยี นช้ัน ป. 6 4 4 29 4.14 0.37 4.4 แบบประเมินมจี ำนวนข้อเหมาะสมกบั เวลา 4 3 26 3.71 0.48 4.5 แบบประเมนิ เนน้ การประเมนิ สภาพจริง 5 5 29 4.14 0.89