Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2020-12-26 08:05:53

Description: การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

นางประเจิน ไชยมาลีอุปถัมภ์ โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ราษฎร์บํารุง) อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ปีที่รายงาน 2561


บทคัดย่อ
การดําเนินงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิด วิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างก่อนกับหลังการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดย เทคนิค STAD 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โรงเรียน บ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ราษฎร์บํารุง) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 2 ปีการศึกษา 2561 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ ราษฎร์บํารุง) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จํานวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดําเนินงานประกอบ ด้วย
1. คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ จํานวน 6 แผน ใช้เวลาเรียน 24 ชั่วโมง
2. แบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ประกอบด้วยข้อคําถามแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ

Keywords: การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6,นางประเจิน ไชยมาลีอุปถัมภ์,งาน คศ.4

Search

Read the Text Version

42 จำแนกท่ีใช้ได้ ค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ 0.90 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยในแต่ละ ด้านเป็นบวก ต้ังแต่ 0.80 – 0.87 แบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์โมเดลมีความ สอดคล้องกลมกลืนกบั ข้อมูลเชงิ ประจกั ษ์ นิรมล มัธยมนันท์ (2555) วิจัยเร่ือง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้รูปแบบการเรยี นรู้โดย การใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามแนวคอนสตัคติวิซึม พบว่าแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตัคติวิซึม เรื่องส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีค่าเท่ากับ 78.40 / 76.76 ดัชนีประสิทธิภาพ ของแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตัคติวิซึม เรื่องส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 6 มีค่าเท่ากับ .6753 และนักเรียนที่เรียน โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคอนสตัคติวิซึม มกี ารคิดวิเคราะห์หลังเรียนสงู กว่ากอ่ นเรียนอยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ .01 ฉัตรมงคล สวนกัน (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ของเด็กปฐมวัย จำนวน 1คน โรงเรียนบ้านเซียงเซา ผลการดำเนินงานพบว่า 1. เกมการศึกษาเพ่ือ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ เท่ากับ 84.12/83.70 2. ทักษะ การคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย หลังได้รับการจัดประสบการณ์ด้วยเกมการศึกษา สูงกว่าก่อนการจัด ประสบการณ์ด้วยเกมการศึกษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความพึงพอใจของเด็กปฐมวัยต่อ เกมการศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากโดยการจดั ประสบการณด์ ว้ ยเกมการศึกษา พชิ ญะ กันธิยะ (2559 : 87) ไดศ้ ึกษาการพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะหโ์ ดย ใชก้ ารจดั การเรยี นรแู้ บบบันได 5 ข้นั ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 จำนวน 37 คน โรงเรยี นหอ้ ง สอนศึกษาในพระอุปถัมภ์ฯ จังหวัดแมฮ่ ่องสอนที่ได้รับการสอนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบบนั ได 5 ขน้ั เพ่อื ส่งเสรมิ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ผลการศกึ ษาพบวา่ ทักษะการคดิ วิเคราะหข์ องนักเรียนหลังได้รับการ เรียนรแู้ บบบนั ได 5 ขน้ั นักเรียนมีทกั ษะการการคิดวเิ คราะห์สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรอู้ ย่างมี นยั สำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .01 ซ่งึ นักเรียนมที ักษะการคิดวเิ คราะหภ์ าพรวมอยู่ในระดบั ดี โดยนักเรยี นมี การพฒั นาทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ดา้ นการคดิ วเิ คราะหเ์ นื้อหา ด้านการวิเคราะห์ความสัมพันธด์ ้านการ วเิ คราะหห์ ลักการเพ่ิมมากข้ึน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังท่ีไดร้ ับการสอนโดยการจดั การเรยี นรู้แบบ บนั ได 5 ข้ัน สงู กว่าคา่ เฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 และความพงึ พอใจทมี่ ีต่อการจดั การเรยี นรู้แบบบนั ได 5 ข้ัน สว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก ณัชพล นิลสุพรรณ (2560 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการพัฒ นาชุดกิจกรรม ประกอบการเรียนด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 67 คน โรงเรียนบ้านโปะหมอ(พรหมเทพราษฎร์บำรุง) จังหวัดสงขลา เรื่องสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาสมรรถภาพ ผลการศึกษาพบว่า 1.ชดุ กิจกรรมประกอบการเรียนด้วยวธิ ีสอนแบบรว่ มมือโดย ใช้เทคนิค STAD ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เรื่องสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาสมรรถภาพ มี ประสิทธิภาพ 83.45/ 84.58 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนด 80/80 2. ชุดกิจกรรมประกอบการเรียนด้วยวิธี สอนแบบรว่ มมือโดยใชเ้ ทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติท่ี

43 ระดับ .01 3. ความพึงพอใจของนักเรยี นที่มตี ่อการเรยี นโดยใช้ชุดกิจกรรมประกอบการเรยี นดว้ ยวิธีสอน แบบร่วมมือโดยใช้เทคนคิ STAD อยใู่ นระดับมาก จากผลการดำเนินงานดังกล่าว สรปุ ได้ว่าจากการดำเนินงานเทคนคิ และวิธีการสอนท่นี ำมาใช้ใน การพัฒนาทกั ษะการคดิ วิเคราะห์นัน้ มีหลากหลาย แลว้ แต่วิธีไหนทีเ่ หมาะสมกบั นักเรยี น และเปน็ วธิ ที ี่ ดีท่ีสุด การดำเนินงานดังกล่าวมุ่งเน้นให้นักเรียนได้ปฏิบัติเอง ส่งเสริมให้นักเรียนมีการพัฒนา ศึกษา หาความรู้ด้วยตนเองท่ีเป็นไปตามขบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดวิเคราะห์ท่ีพัฒนาสูงข้ึน มีการ ทำงานเป็นกลุ่ม ทำงานร่วมกันด้วยความสามัคคี มีการปฏิสัมพันธ์ที่ดี และมีเจคติที่ดีต่อการเรียนด้วย ซึง่ ตรงกบั การเรยี นโดยใช้เทคนิค STAD ผู้ดำเนินการได้รวบรวมข้อมูลดังกล่าวเพ่ือใช้เป็นขอ้ มูลพ้นื ฐาน ในการดำเนินงานเป็นลำดบั ตอ่ ไป 2. งานวจิ ัยต่างประเทศ Rosman (1966 อา้ งถึงใน จงรักษ์ ต้ังละมัย, 2545 : 24) ศึกษาการคิดแบบวิเคราะห์ ข อ งนั ก เรีย น ชั้ น ป ระ ถ ม ศึ ก ษ าปี ที่ 1 แ ล ะ ช้ั น ป ระ ถ ม ศึ ก ษ าปี ท่ี 2 พ บ ว่า นั ก เรีย น ช้ั น ประถมศึกษาปีที่ 2 คิดแบบวิเคราะห์มากกว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และยังพบต่อไปอีกว่าการ คิดแบ บ วิเคราะห์ มีความสัมพั น ธ์ใน ท างลบ กับ แบ บ ท ดสอบ วั ดสติปั ญ ญ าของเวซเลอร์ (Wechsler Scale for Children) ในฉบับเติมภาพให้สมบูรณ์ (Picture Completion) การจัดเรียงรู ป (Picture Arrangement) แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับแบบทดสอบที่เก่ียวข้องกับด้านภาษา (Verbal Test) นอกจากนั้นการคิดแบบวิเคราะห์ยังมีแนวโน้มที่จะเพ่ิมข้ึนตามอายุ และมีความสัมพันธ์กับความ พร้อมทางการเรียนรูแ้ ละแรงจงู ใจอกี ด้วย Blackwood (1969 : 50 – 56) ได้ศึกษาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อการสอนพบว่าการสอน วิทยาศาสตร์จะได้ผลดีข้ึนอยู่กับปัจจัยต่อไปน้ี ขนาดของห้องจำนวนช่ัวโมงท่ีครูสอนต่อ 1 สัปดาห์ การจัดหลกั สูตรวิทยาศาสตร์ท่ีมีเนื้อหาเป็นระบบ ต่อเน่ืองการจัดหาหนังสือแบบเรยี นหนังสือ อา่ นประกอบ และเครอ่ื งมอื ให้พอกับความตอ้ งการมีผู้ให้ความชว่ ยเหลอื เม่ือครูวิทยาศาสตร์ต้องการ Battis, Teeleanor, & Chirstal (1981 : 3065 – 4) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง การสอนทักษะการคิดโดยตรงกับการพัฒนาการทางสติปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือนักเรียนเกรด 6 ทีเ่ ปน็ นักเรียนท่อี ยู่ในระดบั ฉลาด โดยแบง่ เป็นกลุ่มทดลองและกลุม่ ควบคุมนักเรียนทั้งหมดจะไดร้ ับการ ทดสอบการคิดเชิงตรรกศาสตร์ ซ่ึงจำแนกออกเป็น 4 ระดับ พัฒนาการทางสติปัญญา กลุ่มทดลอง จะได้รับการสอนทักษะการให้เหตุผล โดยใช้โปรแกรมการพัฒนาความสามารถในการคิดเชิงอุปมาน และอนุมาน โดยใช้เวลา 12 สัปดาห์ ผลการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มทดลองมีพัฒนาการทาง สติปัญญาสูงกว่ากลุ่มควบคุม นักเรียนหญิงมีทักษะการคิดเชิงตรรกศาสตร์ต่ำกว่าเด็กชาย เล่น I.Q. และการทดสอบทักษะการคดิ เชงิ ตรรกศาสตร์มีความสมั พันธก์ ัน William (1981 : 1605 – A) ได้ศึ กษ าเป รียบ เที ยบ ทั ศน คติ ผลสัม ฤท ธ์ิแล ะ ความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณระหว่างการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้กับการสอนแบบเดิม

44 ที่ครูเป็นศูนย์กลางวิชาประวัติศาสตร์อเมริกา กลุ่มทดลอง 41 คนสอนด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้เดิม กลุ่มควบคุม 43 คน ส่วนแบบเดิมทำการสอนเป็นเวลา 24 สัปดาห์ ผลการดำเนินงานพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุ่มทดลองสงู กวา่ กลุม่ ควบคมุ Smith (1994 : 2528 – A) ได้ศึกษาผลจากวิธีการสอนท่ีมีต่อเจตคติและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาเกรด 7 โดย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 3 กลุ่ม คือ กลุ่มแรกได้รับการสอนท้ังแบบบรรยายและให้ลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง เครอ่ื งมือท่ใี ชเ้ ป็นวิธที ดสอบภาคสนามซึ่งเรียกว่าการประเมนิ ผลวชิ าวิทยาศาสตร์ โดยใชว้ ิธีการ ปฏิบัติกิจกรรมแบบบูรณาการ (IASA) ผลการดำเนินงานพบว่า นักเรียนท่ีได้รับการสอนแบบให้ลงมือ ปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสูงกวา่ นกั เรยี นท่ไี ด้รบั การสอนท้ังแบบบรรยายและให้ลงมือ ปฏิบัตดิ ว้ ยตนเองสูงกวา่ นักเรียนท่ไี ด้รับการสอนแบบบรรยาย Jackson (1998 : 1068 – A) ได้ศึกษาผลของการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ท่ีมีต่อความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนต่างเชื้อชาติ (Cross – Racial Friendships) กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนเกรด 7 ในโรงเรียนมัธยมศึกษาท่ีมีนักเรียนหลายเชื้อชาติ ผู้ดำเนินการแบ่งนักเรียน ออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มทดลองมีนักเรยี นประมาณ 4 – 5 กลมุ่ ซึ่ง ในแต่ละกลุ่มจะมีนักเรียนเช้ือชาติต่างๆ ปนกัน นักเรียนจะได้รับใบงานและการทดสอบย่อย คะแนนท่ี ได้จากการทำแบบทดสอบจะเป็นคะแนนของกลุ่ม ส่วนกลุ่มควบคุมจะได้รับการสอนตามปกติและให้ ศึกษาตามลำพัง คะแนนท่ีได้จะเป็นคะแนนของนักเรียนแต่ละคน ผลการดำเนินงาน พบว่านักเรียน ชายผิวดำมีความสัมพันธ์กับเพ่ือนนักเรียนต่างชาติมากกว่า นักเรียนชายผิวดำในห้องเรียนปกติอย่างมี นยั สำคญั ทางสถิติ และพบวา่ ผลของการเรียนรู้แบบรว่ มมือระหว่างนกั เรียนชายผิวขาว นักเรยี นหญิง ผิวดำ หรอื นกั เรยี นหญงิ ผวิ ขาว ไมม่ ีความแตกต่างกัน Giuliano (1998: 125 – A) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางความคิด และ วิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในวิชาเคมี กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียน 12 คน ที่ถูก คัดเลือกจากโรงเรียนระดับมัธยม 3 แห่ง ในนิวยอร์ค เครื่องมือท่ีใช้ คือ แบบวัดความสามารถ ทางการคิด และเคร่ืองมือวัดวิธีแก้ปัญหา 4 ลักษณะ คือ 1. การใช้เหตุผลโดยการนิรนัยและการ ปฏิบัติตามข้ันตอนท่ีมีความแม่นยำ 2. การทดลองและหาข้อผิดพลาด ด้วยกระบวนการหลากหลาย และการหาเหตุผลโดยวิธีการอุปนัย 3. การแก้สมการ อัลกอลิทึม 4. การเปรียบเทียบและการใช้ รูปแบบการจำ ผลการดำเนินงานสรุปว่า นักเรียนมีรูปแบบทางความคิดที่เหมือนกันจะใช้วิธีการ แก้ปญั หาท่ีคลา้ ยกนั และการแกป้ ญั หาแบบเปน็ กลุ่มจะช่วยใหน้ ักเรยี นได้ตรวจสอบการคิดของตนเอง Suyanto (1999 : 3766 – A) ได้ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบร่วมมือกัน (STAD) การรับรู้และส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน ชุมชนกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนจำนวน 30 คน จาก 10 โรงเรียน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 5 โรงเรยี นและกลุ่มควบคุม จำนวน 15 โรงเรยี น เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการทดสอบคือแบบทดสอบวดั ผล

45 สัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบวัดเจตคติ ผลการดำเนินงานพบว่า นักเรียนที่เรียนโดยวิธีการเรียนแบบ ร่วมมือกันและการสอนโดยวิธีปกติมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และ นักเรียนที่เรียนโดยวิธีการเรียนแบบร่วมมือกันมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและมีเจตคติสูงกว่าการสอน แบบปกติ Chesbro (2008 : online) ได้ศึกษาการใช้ระบบการให้คะแนน เพ่ือส่งเสริมทักษะ การคิดวิเคราะห์ ความรับผิดชอบและเพื่อการเสริมแรง ในวิชาวิทยาศาสตร์ เพื่อกระตุ้นความ รับผิดชอบของนักเรียน ผลปรากฏว่า สามารถส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ความรับผิดชอบและ นักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่โดยการสังเกต และคิดคะแนนของตัวเองไปพร้อม กับการเรยี น และทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายเพื่อสะสมคะแนน จากการท่ีผู้ดำเนินการได้ศึกษางานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะการคิดวิเคราะห์โดย เทคนิค STAD มาพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนท่ีกล่าวมาข้างต้น ผู้ดำเนินการพบว่า ได้มีการศึกษา เกี่ยวกับการทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ซ่ึงจะเห็นได้ว่าทักษะการคิดเป็นพ้ืนฐานความรู้ที่ นกั เรียนทกุ คนใช้ในการเรียนรู้หรอื แสวงหาความรู้ต่างๆ ในการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ก็เช่นกัน มีความ จำเป็นอย่างมากในการท่ีนักเรียนต้องมีการอ่าน ทำความเข้าใจ มีความรู้ เขียนและใช้ทักษะการคิด วิเคราะห์ตามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ท้ังนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เน้นการพัฒนานักเรียนให้ได้รับความรู้ กระบวนการมีเจตคติที่ดีมีความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ โดยการใช้ ทักษะทางวิทยาศาสตร์จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเทคนิค STAD เป็นการเรียนแบบร่วมมือกัน ปฏบิ ัตศิ ึกษาหาความร้ดู ้วยตนเอง และนำไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ นักเรยี นทกุ คนไดร้ บั การ กระตุ้นส่งเสริมให้มีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้วิทยาศาสตร์จะเรียกได้ว่าทุกคนจึงจำเป็นต้อง ได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์ สร้างสรรค์ขึ้น ก้าวทันโลกในปัจจุบันนี้ สามารถท่ีจะนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุมีผลสร้างสรรค์และมี คุณธรรม นอกจากน้ีผู้ดำเนินการยังพบว่าแนวทางในการพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใน การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นรูม้ อี ย่างหลากหลายและแตกต่างกันไป สำหรบั กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผดู้ ำเนินการได้สร้างคู่มอื การจดั การเรยี นรโู้ ดยเทคนิค STAD นำมาพฒั นาความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรยี น ใชก้ ารจดั การเรียนรู้ โดยใชเ้ ทคนิค STAD สามารถใชเ้ ปน็ สื่อประกอบการเรยี นการสอนได้ดีในระดับประถมศึกษา ซ่ึงช่วย ให้เกิดนิสัยรักการอ่าน รู้จักแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ปลูกฝังให้นักเรียนกล้า แสดงออก มีความสามัคคีกันในการทำงานกลุ่ม มีความม่ันใจในการปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าว ให้ นกั เรยี นมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดนอกกรอบโดยใช้ทกั ษะกระบวนการตา่ งๆ ทางวิทยาศาสตร์ได้ ดี สามารถนำความรทู้ ไ่ี ด้รับไปต่อยอดในชวี ติ ประจำวัน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับทักษะการคิดวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และกลุ่มสาระอ่ืนๆ จะเห็นได้ว่าการทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD เพ่ือฝึก

46 ทักษะการศึกษาหาความรู้และใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ประกอบเป็นส่ือการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์เป็นเร่ืองท่ีควรฝึกนักเรียนต้ังแต่ระดับประถมศึกษา เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือในการ แสวงหาความรู้ตามทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ซึ่งจะสง่ ผลให้นกั เรียนมีพื้นฐานการคิดและการ อ่านศึกษาหาความรู้ท่ีถูกต้อง สามารถแสวงหาความรู้ได้อย่างเป็นระบบเหมาะสมถูกต้องตาม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความสามารถเชื่อมโยงความรู้ได้หลากหลาย จึงควรมีวิธีการจัดการ เรียนร้ทู ี่แตกต่างไปจากการจัดการเรียนรู้ตามปกติ ส่งผลให้นักเรียนจบไปอยา่ งมีคณุ ภาพ บรรลุตัวชี้วัด ทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริงตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ดังนั้นผู้ดำเนินการจึงเห็นว่าคู่มือ การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD เป็นเครื่องมือหรือสื่อท่ีช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะการคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ศึกษาหาความรู้ต่างๆ จากการอ่านได้ดี มีความชำนาญในการเรียน วิทยาศาสตร์ตามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ิมพูนความรู้ และประสบการณ์ตรงก่อให้เกิด การเรียนรู้ที่คงทน สามารถนำความรู้ท่ีได้จากการเรียนการสอนคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอ่ืนๆ ต่อไปอีกทั้งยังได้ส่งเสริมและ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ให้สูงขึ้น ผู้ดำเนินการมีความสนใจสร้างคู่มือการจัดการ เรียนรู้โดยเทคนิค STAD โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ให้มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กำหนด เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนากิจกรรมการฝึกทักษะ การคิดวิเคราะห์ เรื่องที่สำคัญจากคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ใช้การจัดการเรียนรู้โดย เทคนิค STAD ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เพื่อให้นักเรียนมี ทักษะการคิด และนักเรียนสามารถนำไปแก้ปัญหาในชวี ิตประจำวนั ได้ กรอบแนวคิด จากการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกับทักษะการคิดวเิ คราะห์ใช้การจัดการเรียนรู้โดย เทคนิค STAD ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้ดำเนินการเห็นว่าคู่มือการจัดการเรียนรู้โดย เทคนิค STAD ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ได้จัดทำข้ึน สามารถพัฒนาความรู้ความเข้าใจ ในการคิดวิเคราะห์ ได้ หากมีการจัดการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสมและไดส้ ่งเสริมการอ่านคมู่ อื การจัดการเรียนรู้ โดยเทคนิค STAD อ่าน คิด วิเคราะห์ เนื้อหาต่างๆ วา่ สงิ่ ใดเปน็ ไปได้ สิ่งใดไมอ่ าจเป็นไปได้ ฝกึ การ ทำงานเปน็ กลุ่ม เน้นนักเรียนเปน็ สำคัญ ให้นักเรียนศึกษาคน้ คว้าหาความรู้ดว้ ยตนเอง นกั เรยี นจะเกิด ความชำนาญจากการอา่ นศึกษาหาความรู้ท่ถี ูกต้องสามารถทำความเข้าใจกับเน้ือหาต่างๆ และไดเ้ รียนรู้ ตามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ ก็จะส่งผลให้การเรียนการสอนวชิ า วิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพมากขึ้นด้วย ผู้ดำเนินการจึงได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ทักษะการคิด วเิ คราะห์ใชก้ ารจดั การเรียนรโู้ ดยเทคนคิ STAD สำหรับเคร่ืองมือที่ผู้ดำเนินการได้ใช้ในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD เกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ท่ีได้กำหนดข้ึนตามตัวชี้วัดและเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน

47 ประถมศึกษาปีที่ 6 ในครั้งน้ี ซึ่งมีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 53 คน มีการใช้แบบทดสอบวัดการคิด วิเคราะห์หลังใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โดยผู้ดำเนินการได้กำหนดประสิทธิภาพของ ชุดฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ตามรูปแบบของการสร้างเคร่ืองมือ จากกิจกรรมการ เรียนการสอนนำมาเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยเทคนิค STAD จากคะแนนท่ี นักเรยี นได้ทำกิจกรรมการทำแบบฝกึ หัดหรือกิจกรรมจากคู่มือการจดั การเรยี นร้โู ดยเทคนคิ STAD และ เปรยี บเทียบคะแนนแบบทดสอบวัดการคิดวเิ คราะห์ก่อนและหลงั การใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ผูด้ ำเนนิ การไดม้ กี ารกำหนดเปน็ กรอบแนวคิดในการศกึ ษาดังแสดงในตารางท่ี 3

48 ตารางท่ี 3 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา แนวคดิ ทฤษฎพี ้นื ฐาน 1. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระ วิทยาศาสตรช์ นั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 2. ทกั ษะกระบวนการคดิ วเิ คราะหท์ างวิทยาศาสตร์ 3. การจดั ทำคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนคิ STAD กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ กระบวนการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ ชดุ กิจกรรมการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนคิ STAD 1. จดั ทำคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนคิ STAD กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ 2. ดำเนนิ การใช้ทักษะการคดิ วิเคราะหโ์ ดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ 3. ประเมินความพงึ พอใจของนกั เรียนทม่ี ีต่อการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD 4. ปรับปรงุ และพัฒนา ผลการการดำเนินการใช้ ชุดกิจกรรมการพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนคิ STAD 1. นักเรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ทางวิทยาศาสตร์โดยการจดั การเรยี นรู้ โดยเทคนิค STAD ได้ 2. นกั เรยี นมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD

122 แบบทดสอบหลังเรยี น ค่มู อื การจดั การเรยี นการสอนโดยเทคนิค STAD กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 เวลา 50 นาที คะแนนเตม็ 30 คะแนน คำช้ีแจง ให้นกั เรยี นทำเครอ่ื งหมาย X ข้อท่ีถกู ต้องทีส่ ดุ ลงในกระดาษคำตอบ 1. แม่เรยี กใหส้ มศกั ด์ิมากินข้าว สมศักดต์ิ กั ข้าวสวยใส่ปากเค้ยี วไปสกั ครู่ร้สู กึ มี รสหวาน วันน้ันสมศักดิก์ นิ ข้าวจนเสรจ็ เรียบร้อย วนั ตอ่ มา แม่เรยี กสมศักดมิ์ ากินข้าว ปกติ สมศกั ด์ติ กั ขา้ วซงึ่ วนั นเ้ี ป็นขา้ วเหนยี วใส่ปาก โดยไม่กนิ กับข้าว เค้ียวไปประมาณ 2 นาที ก็รู้สกึ มีรสหวานอีก จากสถานการณ์ขา้ งต้น นักเรยี นคิดว่า “ทำไมเมือ่ สมศกั ด์เิ คย้ี วข้าวไวน้ านๆ จึงรู้สึก มีรสหวาน” ก. น้ำลายของเรามีรสหวาน ข. เราเคยี้ วข้าวที่มีนำ้ ตาลผสมอยู่ ค. น้ำลายมีนำ้ ย่อยสามารถเปลี่ยนแป้งเป็นนำ้ ตาลได้ ง. ข้าวมรี สหวานเพราะข้าวเปน็ คารโ์ บไฮเดรตชนดิ หนึง่ 2. มาลนิ ีมอี าชีพเปน็ พนักงานต้อนรับร้านอาหารแห่งหน่ึง มาลนิ ที ำงานหนกั ทุกวัน ต้งั แต่เช้าจนถึงเทย่ี งคืน มาลนิ ีจะได้กินขา้ วบางวันกิน 2 มอื้ บางวันกิน 3 ม้ือ บางวันไม่ กนิ อาหารมื้อเช้า ไปกนิ ตอนมอ้ื เท่ยี งทีเดียว หรอื บางวนั กนิ ตัง้ แตบ่ า่ ยสาม แลว้ ไปกนิ เท่ยี งคนื ตอนร้านปิด ทำอยา่ งน้ี เป็นเวลา 5 ปี จนปวดทอ้ งมาก ไปพบหมอ หมอบอก วา่ มาลินีเปน็ โรคกระเพาะอาหาร การปฏบิ ัติตนอย่างไร ชว่ ยทำให้มาลินีไมเ่ ปน็ โรคกระเพาะอาหาร ก. ไม่ดื่มน้ำขณะกนิ อาหาร ข. กินอาหารให้ตรงเวลาทกุ มือ้ ค. หัดขับถ่ายอจุ จาระใหเ้ ป็นเวลา ง. เค้ียวอาหารใหล้ ะเอียดก่อนกลืน

123 3. เด็กชายไพรัต เจรญิ สขุ มีอายุ 10 ปี ได้รบั ประทานอาหารวนั ละ 3 มื้อ ซง่ึ ใน ระหว่างมือ้ ได้รบั ประทานขนมหวานและไอศกรมี เป็นประจำ ส่งผลทำให้เด็กชายไพรัต เจรญิ สขุ มีนำ้ หนักและส่วนสูงตามกราฟ กราฟแสดงนา้ หนักของ กราฟแสดงสว่ นสงู ของ เดก็ ชายไพรัต เจริญสุข เดก็ ชายไพรัต เจรญิ สุข ซม. กก. 137 45 44.5 136.5 44 136 43.5 เดือน 135.5 เดอื น 43 42.5 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. 42 พ.ค. มิ.ย. ก.ค. เดือนส.ค. และเดือนก.ย. กราฟแสดงน้ำหนกั และสว่ นสูงมีความสมั พนั ธก์ นั อย่างไร ก. น้ำหนกั ลดลง ส่วนสงู ลดลง ข.นำ้ หนักคงทเ่ี ทา่ เดมิ ส่วนสงู เพิม่ ข้ึน ค. น้ำหนกั เพ่มิ ข้นึ มาก สว่ นสงู เพมิ่ ขน้ึ เล็กนอ้ ย ง. นำ้ หนักเพิม่ ขนึ้ เลก็ น้อย ส่วนสูงคงท่ีเทา่ เดิม 4. จากสถานการณ์ขอ้ 3 เด็กชายไพรตั เจริญสขุ ควรแกไ้ ขตนเองอยา่ งไร ก. ดื่มน้ำมากขึน้ ข.กนิ ยาลดความอ้วน ค. ออกกำลังกายเปน็ ประจำ ง. ลดอาหารเหลอื วนั ละ 1 มื้อ

124 5. ตารางการกนิ อาหารของเด็กหญงิ ประภาพรรณ โชคเจรญิ ดงั ต่อไปน้ี วันที่ มอื้ เชา้ ม้อื เทย่ี ง ม้ือเย็น 1 กันยายน 2560 ขา้ วต้ม 2 กนั ยายน 2560 ไมโล + ขนมปังปิ้ง ขา้ ว + เนือ้ ทอด ข้าว + แกงคั่วกลิง้ 3 กนั ยายน 2560 ขา้ วมนั ไก่ ข้าว + เนื้อป้งิ ข้าว + ปลาทอด ข้าวเหนียวปง้ิ + ไกย่ ่าง ข้าว + ตม้ กระดูกวัว เด็กหญงิ ประภาพรรณ โชคเจริญ กินอาหารตามแบบเมนูนเี้ วียนสลับไปมาเป็นนานๆ ทำให้มอี าการทอ้ งผกู บ่อยครง้ั นกั เรยี นคิดวา่ เด็กหญิงประภาพรรณ โชคเจริญ มอี าการท้องผูกเป็นเพราะเหตใุ ด ก. ลำไสใ้ หญ่จะสะสมกากอาหารมากขึน้ ทำใหก้ ากอาหารแข็งตวั ยากตอ่ การขับถา่ ย ข. กากอาหารท่ีสะสมในลำไส้ใหญ่เกิดปฏิกริ ิยาเคมีขน้ึ จนทำใหก้ ากอาหารแห้งและแข็งตวั ยากตอ่ การขับถ่าย ค. ลำไสใ้ หญ่ยอ่ ยอาหารตดิ ตอ่ กันหลายวันทำใหเ้ กดิ กากอาหารทีแ่ ห้งและแข็ง ยากตอ่ การขบั ถ่าย ง. ในลำไส้ใหญ่มกี ารดูดนำ้ จากกากอาหารกลับคืนสรู่ า่ งกายตลอดเวลา ทำให้กากอาหารแขง็ ขึ้น เร่ือยๆ ยากตอ่ การขบั ถ่าย 6. นกั โภชนาการอาหารของโรงเรยี นสยามบัณฑิต ได้สำรวจน้ำหนักส่วนสงู ของนักเรียน วา่ ตามเกณฑ์หรือไม่ ผลสำรวจมีนกั เรยี นตำ่ กว่าเกณฑ์ 18% นกั โภชนาการต้องการใหน้ ักเรียน ไม่มีโรคขาดสารอาหาร นกั เรยี นคิดวา่ การทีจ่ ะทำให้นกั เรยี นทกุ คนมีสขุ ภาพสมบูรณ์แขง็ แรงจะตอ้ งทำอยา่ งไร ก. อาหารทีม่ โี ปรตีนสูงมสี ง่ิ เจอื ปนนอ้ ย ข. อาหารท่ีกนิ แลว้ อ่มิ ได้นาน ไมม่ สี ิง่ เจือปน ค. อาหารทุกประเภทโดยไมค่ ำนงึ ถงึ สงิ่ เจอื ปนใดๆ ง. อาหารที่ใหส้ ารอาหารครบทกุ หมสู่ ะอาดปราศจากสารเคมเี จอื ปน

125 7. ถา้ กลมุ่ ส่งิ มีชีวติ มีความสมั พนั ธ์แบบตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ ความสมั พนั ธข์ องสงิ่ มชี วี ติ สัญลักษณ์ รปู แบบความสัมพันธ์ ไดป้ ระโยชน์ เสียประโยชน์ + ดำรงชีวติ ในทางท่ีได้ประโยชน์ ไม่ไดป้ ระโยชนแ์ ละไมเ่ สียประโยชน์ - ดำรงชวี ิตใหป้ ระโยชนก์ ับคนอนื่ หรอื ถกู ฆา่ o ดำรงชีวิตลักษณะเปน็ กลาง ไมม่ ีอะไรเกิดขนึ้ ความสมั พันธใ์ นขอ้ ใดทแี่ ตกต่างจากขอ้ อืน่ ก. เฟิร์นกับตน้ ไมใ้ หญ่ ข. กาฝากกับตน้ ไม้ใหญ่ ค. กล้วยไมก้ ับตน้ ไม่ใหญ่ ง. เหาฉลามกับปลาฉลาม 8. ภาพห่วงโซ่อาหาร (ทม่ี า https://www.google.co.th/ สบื คน้ เมื่อ 1 พ.ค. 2560) จากภาพ แบคทีเรียมบี ทบาทอย่างไรในโซ่อาหาร ก. เป็นผู้ล่า ข. เป็นผู้ผลิต ค. เปน็ ผู้บริโภค ง. เป็นผยู้ อ่ ยสลาย

126 9. ธรรมชาตมิ สี ่ิงมชี วี ติ ทีม่ ีความสมดลุ กนั ในการดำรงชีวิตสิ่งมีชีวิตมกี ารกนิ กนั เปน็ ทอดๆ ใน โซอ่ าหาร ถ้าโซอ่ าหารในธรรมชาติถูกทำลาย นักเรยี นคิดว่าจะเกดิ ผลอย่างไร ก. ธรรมชาตเิ สียสมดุล ข. เกิดวาตภัยร้ายแรง ค. คนจะไม่มที ี่อยู่อาศัย ง. เกิดมลพิษทางอากาศ 10. ป่าไมบ้ นภเู ขาแห่งหน่ึงประกอบไปด้วยต้นไมแ้ ละสัตว์ป่าจำนวนมาก ป่าไมแ้ หง่ น้มี ีความอดุ ม สมบูรณ์ มคี วามสมดลุ ของธรรมชาติ ถ้าวันหนึ่งป่าไมน้ ี้ถูกทำลายลงไปเป็นจำนวนมาก จะเกดิ ผลกระทบอยา่ งไร ก. ฝนตกทัง้ ปี ข. มีลมพายมุ ากข้ึน ค. มเี มฆคิวมูโลนมิ บสั มากขน้ึ ง. สภาพอากาศรอ้ น แหง้ แลง้ 11. ทรัพยากรธรรมชาตมิ ที ั้งประเภทท่ีใชแ้ ลว้ หมดไป และประเภทใชแ้ ล้วสามารถสรา้ งทดแทน ขนึ้ มาใหมไ่ ด้ เพราะฉะนั้นควรใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างคมุ้ คา่ มากท่ีสุด การกระทำอยา่ งไรทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ว่ามีการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ก. หยุดทำไร่เล่อื นลอยตามบริเวณตน้ นำ้ ลำธาร ข. ตดั ต้นไม้สรา้ งเข่ือนและอา่ งเกบ็ น้ำให้มากขึ้น ค. ใชเ้ นอื้ ที่ป่าท่มี อี ย่มู าทำการเพาะปลกู เพ่มิ ข้ึนทกุ ปี ง. ขดุ เจาะแก๊สธรรมชาติและน้ำมนั มาใช้เป็นเช้ือเพลงิ สำหรับผลิตไฟฟา้ 12. ครอบครวั ของมานิตมีอาชีพทำสวน วันหนึง่ หลังกินข้าวเสร็จอากาศร้อน มานติ เลย ชวนลกู สาวมาน่งั ทเี่ กา้ อี้ใต้ต้นไม้หน้าบ้าน มานติ เล่าใหล้ ูกสาวฟังว่าย้อนเวลาไปเม่ือ 10 ปที ่ี แลว้ บริเวณน้มี ีตน้ ไม้เยอะ ทำใหอ้ ากาศดมี าก แตเ่ วลาเมอ่ื ไม่นานมานม้ี ีการตัดไม้ ถางป่า กลายเปน็ ภเู ขาโลน้ ท่ีเหน็ แตด่ นิ และหิน เหมือนทีเ่ ราเห็นทุกวันนี้ ทำให้มีอากาศร้อน นกั เรยี นคิดว่าทำไมการตัดไม้ทำลายปา่ จึงทำให้ความช่มุ ชืน้ ในอากาศลดลง ก. ต้นไม้ช่วยทำให้วฏั จกั รของนำ้ เกิดความสมบูรณ์ ข. ต้นไมช้ ว่ ยใหก้ ารระเหยของไอน้ำจากดนิ เกดิ ขนึ้ ตลอดเวลา ค. ต้นไม้ช่วยป้องกนั การระเหยของไอน้ำในอากาศขึน้ สชู่ ั้นบรรยากาศ ง. ตน้ ไมช้ ว่ ยผลติ แก๊สออกซิเจน ซ่ึงเม่ือรวมตัวกับแกส็ ไฮโดรเจนจะเกิดเป็นน้ำ

127 13. ขนษิ ฐาตกั นำ้ ใสโ่ อ่งตั้งไว้ในครัวเพอ่ื ไว้ใชป้ ระกอบอาหาร จำนวน 4 โอง่ นำ้ 1 โอง่ ใชป้ ระกอบอาหารได้ 2 วัน ในวันที่ 7 ขนิษฐาเปดิ โอ่งท่ี 4 เพ่อื ทจ่ี ะใชน้ ้ำมาประกอบอาหาร น้ำในโอง่ ท่ีขนิษฐาตักต้งั ไว้ในครัวทงิ้ ไวป้ ระมาณ 1 สปั ดาห์ จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ก. นำ้ เปลี่ยนเป็นสดี ำ ข. น้ำส่วนหนง่ึ ระเหยเปน็ ไอ ค. นำ้ แข็งตวั เป็นน้ำแขง็ ง.ไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลงอะไร 14. จากตารางการเปลย่ี นแปลงของสาร การเปลย่ี นแปลงทางเคมี การเปลยี่ นแปลงทางภายภาพ ปลายธูปทจ่ี ุดไฟไปจท้ี ี่เศษกระดาษจะเกดิ น้ำท่ีต้มในกาน้ำรอ้ นกลายเป็นไอ การเผาไหมก้ ลายเป็นขเ้ี ถา้ ไขด่ บิ ทอดเปน็ ไข่ดาว เกลือละลายนำ้ นำ้ แขง็ ใส่แกว้ ตง้ั ทิ้งไวล้ ะลายกลายเป็นน้ำ ร้ัวเหล็กกลายเป็นสนิม การเปลีย่ นแปลงทางเคมแี ตกตา่ งกบั การเปลยี่ นแปลงทางภายภาพอย่างไร ก. เกดิ สารใหม่ – ไม่เกดิ สารใหม่ ข. สมบตั ขิ องสารคงเดมิ – สมบตั ขิ องสารคงเดมิ เปล่ียนไป ค. เปล่ียนกลบั เป็นสารเดิมได้ – เปลยี่ นกลับเปน็ สารเดิมไม่ได้ ง. องค์ประกอบของสารคงเดมิ – องค์ประกอบของสารเปลี่ยนไป

128 15. ภาพการทิ้งขยะ ส่งิ ของ สารต่างๆ ลงในแม่น้ำ (ที่มา https://www.google.co.th/ สบื ค้นเมอื่ 2พ.ค. 2560) จากภาพสารต่างๆ เมื่อทงิ้ ลงแหล่งน้ำจะทำให้เกิดนำ้ เน่าเสีย เพราะอะไร ก. สารละลายในนำ้ ข. สารตกตะกอนทบั ถมในแหลง่ น้ำ ค. จุลินทรียม์ ีการย่อยสลายสารต่างๆ ง. แก๊สในน้ำทำปฏกิ ิริยาเคมกี ับสาร 16. บา้ นของนางปรยี านุช รัตนะ มหี อ้ งนอนจำนวน 2 หอ้ ง คนื นี้ในหอ้ งนอนมีวงจรไฟฟ้าดงั ต่อไปน้ี หอ้ งนอนท่ี วงจรไฟฟ้า หลอดไฟฟา้ 1. วงจรเปดิ หลอดไฟฟา้ ดบั สนิททั้ง 2 หลอด 2. วงจรปดิ หลอดไฟฟา้ สว่างท้ัง 2 หลอด จากข้อมลู ในตาราง ขอ้ ใดสรุปวงจรปิดได้ถกู ตอ้ ง ก. กระแสไฟฟ้าไมเ่ คลอ่ื นท่ี ข. กระแสไฟฟ้าเคล่ือนทีไ่ ดค้ รบวงจร ค. กระแสไฟฟา้ เคลือ่ นทีไ่ ด้ไมค่ รบวงจร ง. กระแสไฟฟา้ ไหลจากขวั้ ลบไปยงั ขัว้ บวก

129 17. ภาพการหุงขา้ วด้วยหม้อไฟฟ้า (ทีม่ า https://www.google.co.th/ สบื คน้ เมือ่ 2พ.ค. 2560) จากรปู ภาพการทห่ี มอ้ ไฟฟ้าสามารถทำงานไดเ้ ปน็ ปกติ เพราะเหตุใด ก. วงจรลดั ข. วงจรปดิ ค. วงจรเปิด ง. วงจรขาด 18. เด็กชายพฒั ชล ไกรศรี เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้ทำการทดลองการเกิดอำนาจ แม่เหล็กโดยการนำแม่เหลก็ มาถเู หล็ก เพื่อให้เกิดอำนาจแมเ่ หล็ก นักเรียนคดิ ว่าเดก็ ชายพัฒชล ไกรศรี จะทำการทดลองถอู ยา่ งไรถงึ จะเกดิ อำนาจแม่เหลก็ ก. ถจู ากซ้ายไปขวาเพียง 1 คร้งั ข. ถูจากขวาไปซ้ายเพียง 1 คร้ัง ค. ถไู ปทศิ ทางเดียวกันหลายๆ ครั้ง ง. ถกู ลับไปกลบั มากันหลายๆ ครัง้

130 19. นักธรณีวิทยาได้ลงพน้ื ท่ีสำรวจหนิ ภเู ขาแห่งหนง่ึ จากการสำรวจในครง้ั นไี้ ดม้ ีการทำแผนที่ แสดงแหลง่ หนิ ในทอ้ งถิ่นของภเู ขานัน้ อย่างละเอยี ด การที่นักธรณีวิทยาทำแผนที่แสดงแหล่งหนิ ในท้องถนิ่ นัน้ มปี ระโยชน์อยา่ งไรบา้ ง ก. พัฒนาเป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ ว ข. ยอ้ นกลับไปเกบ็ หินได้งา่ ยข้ึน ค.ใหท้ ราบขอ้ มลู แหล่งหนิ ในทอ้ งถ่นิ ง.ป้องกนั คนเข้าไปในบรเิ วณแหลง่ หิน ใช้สถานการณ์ตอ่ ไปนีต้ อบขอ้ 20 และ 21 สถานการณ์ ลกั ษณะการเกิดของหิน 1. บ้านของด.ญ. แดง มีปรากฏการณ์ เกิดจากแมกมาดันตัวขึน้ มาอยบู่ ริเวณใต้เปลือกโลก เกิดหนิ อคั นที ่เี ยน็ ตัวใต้เปลอื กโลก ซงึ่ อุณหภมู ิต่ำกว่า แมกมาจงึ เย็นตวั ลงอย่างชา้ ๆ 2. บ้านของด.ช. ฟ้า มปี รากฏการณ์เกิด เกดิ จากการปะทุของภเู ขาไฟทำใหแ้ มกมาพงุ่ ข้ึนมา หนิ จากหนิ อัคนที แ่ี ข็งตัวบนเปลือกโลก อยบู่ นผวิ โลก 3. บ้านของด.ญ. ขาว มปี รากฏการณ์ เน่อื งจากความรอ้ นและความดันภายในโลก หรือ เกิดหนิ จากการเปลีย่ นแปลงของหนิ อัคนี การเปลี่ยนแปลงของเปลอื กโลก ทำใหห้ นิ เกิดการ หรอื หนิ ตะกอน แปรสภาพเปน็ หินชนิดใหม่ 4. บ้านของด.ช. ดำ มปี รากฏการณ์เกดิ สงิ่ มีชีวิตหรือเศษหินตา่ งๆ ทผ่ี กุ ร่อนถกู พัดพา ทำให้ หินจากตะกอนของสิง่ มีชวี ติ หรือเศษหิน เกดิ การสะสมตวั และถกู อดั แนน่ จนกลายเป็นหนิ ต่างๆ 20. หนิ ท่ีนยิ มนำมาใช้ในงานกอ่ สร้างอาคารมีลักษณะอยา่ งไร ก. หนิ ปูน ข. หนิ อ่อน ค. หนิ ไนส์ ง. หนิ แกรนติ

131 21. แมกมามีลกั ษณะอย่างไร ก. หินทห่ี ลอมละลายดว้ ยความร้อนสงู มาก ข. หนิ หลอมละลายที่เยน็ ตวั จบั กนั เปน็ ก้อนแขง็ ค. หินหลอมละลายทพี่ งุ่ ไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ง. หินหลอมละลายท่ีอยู่ลึกลงไปภายใต้เปลือกโลกมีความหนดื มากกว่าปกติ 22. ชายฝ่งั ทะเลจะมคี ล่ืนจากทะเลซดั เขา้ หาฝ่งั ตลอดเวลา คล่ืนจะพานำ้ และทรายจำนวนมากซดั เข้าหาฝงั่ และกจ็ ะไหลลงไปในทะเล ผ่านไป 3 ปี ยังคงเห็นภาพนี้เป็นปกติเช่นเคย หินที่พบอยตู่ ามชายฝง่ั ทะเลแหง่ น้ี จะมลี ักษณะเป็นอยา่ งไร ก. กลมมน ข. เปน็ แผ่น ค. เปน็ เหลยี่ ม ง. แหลมคม จากภาพใช้ตอบคำถามข้อที่ 23 ภาพชายฝง่ั ทะเล (ท่ีมา https://www.google.co.th/ สืบคน้ เม่อื 4 พ.ค. 2560) 23. อุณหภมู ิ กระแสนำ้ และกระแสลม มผี ลกระทบต่อหินอยา่ งไร ก. ทำให้หินมนี ้ำหนกั เพม่ิ ข้นึ ข. ทำใหห้ ินสกึ กรอ่ นและแตกสลายได้ ค. ทำใหห้ นิ มีความหนาแน่นเพ่มิ ขน้ึ กว่าเดมิ ง. ทำให้หินมีความอ่อนตวั นำมาใช้ประโยชนไ์ ดม้ ากข้นึ

132 24. นายสมชาย ดวงชติ ได้ใช้ภมู ิปญั ญาชาวบ้าน ใชค้ วามร้อนจากไฟในการสกดั แร่ธาตุ จากหนิ ท่ีหามาได้ เม่อื สกัดไดแ้ ลว้ แร่ธาตทุ ม่ี คี ่าก็จะทำการใช้ความร้อนอัดเข้าแบบตามท่ี ตอ้ งการ ส่วนเศษหินต่างๆ ท่เี หลอื กจ็ ะนำไปทำสง่ิ ต่างๆ ตามความเหมาะสม การสกัดแร่ธาตุจากหนิ มีประโยชนอ์ ย่างไรบา้ ง ก. ทำสมุด ข. ทำเสอื้ ค. ทำยางลบ ง. ทำชอร์ก 25. ภาพการเกดิ จันทรปุ ราคา (ที่มา https://www.google.co.th/ สืบค้นเมื่อ 7 พ.ค. 2560) การเกิดจนั ทรุปราคาเตม็ ดวงและการเกิดจนั ทรปุ ราคาบางส่วนแตกตา่ งกันอยา่ งไร ก. องศาทโ่ี ลกทำมุมกบั ดวงจนั ทรแ์ ตกตา่ งกนั ข. สว่ นของโลกที่เข้าไปอย่ใู นเงามืดของดวงจนั ทร์แตกตา่ งกัน ค. สว่ นของดวงจนั ทร์ท่ีเข้าไปอยู่ในเงามดื ของโลกแตกตา่ งกัน ง. ส่วนของดวงอาทิตย์ทีเ่ ขา้ ไปอยใู่ นเงามืดของโลกแตกต่างกัน

133 26. ภาพการเกิดสุริยปุ ราคา (ที่มา https://www.google.co.th/ สบื คน้ เม่ือ 7 พ.ค. 2560) เพราะเหตใุ ดในบางคร้ังการเกดิ สรุ ิยปุ ราคาเงามืดของดวงจนั ทรจ์ งึ ทอดมาไมถ่ ึงโลก ก. โลกบังแสงจากดวงอาทิตย์ไว้ ข. ระยะห่างระหว่างโลกกับดวงจันทร์ไมแ่ นน่ อน ค. ดวงจันทร์บังแสงจากดวงอาทิตยจ์ นมดื ทัง้ ดวง ง. ดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทร์โคจรมาอยูใ่ นแนวเดยี วกัน 27. คนื หนงึ่ เกดิ ปรากฏการณ์จันทรุปราคา เดก็ หญงิ ชิตชนก ชเู มือง น่ังดูการเกดิ จันทรุปราคาช่างอัศจรรย์จรงิ ๆ และคดิ วา่ เมอ่ื คืนทำไมไม่เกิดปรากฏการณเ์ ช่นน้ี และคืนอนื่ ๆ กไ็ ม่มีปรากฏการณ์เช่นนี้เหมอื นกนั ทำไมการเกิดจนั ทรปุ ราคาจึงไม่เกดิ ขึ้นทุกเดือน ก. จันทรุปราคาเกิดในวนั ข้ึน 14 ค่ำหรือ 15 ค่ำเท่านน้ั ข. ระยะเวลาในการโคจรรอบตวั เองของดวงอาทิตไมแ่ น่นอน ค. ระนาบวงโคจรโคจรของดวงจันทร์ทำมุมเอยี งกับโลก ซึ่งนานๆ ครั้งถึงจะอยู่แนวเดียวกันพอดี ง. ถูกตอ้ งทกุ ขอ้

134 28. ภาพการเกดิ ข้างแรมและขา้ งข้ึน (ทีม่ า https://www.google.co.th/ สืบคน้ เมอ่ื 8 พ.ค. 2560) ในวนั ข้างแรม 10 ค่ำ ดวงจันทรม์ ีลกั ษณะอย่างไร ก. ดวงจันทร์มืดสนิททัง้ ดวง ข. ดวงจนั ทร์หนั ด้านสว่างมายังโลก ค. ดวงจนั ทรห์ ันมาทางโลกและได้รบั แสงจากดวงอาทติ ยม์ าก ง. ดวงจันทร์หันมาทางโลกและได้รับแสงจากดวงอาทติ ย์นอ้ ย

135 29. ณ หอ้ งเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านอุ่นรัก โรสนิสา : ในโลกของเรา เราสามารถใช้ชีวติ ประจำวนั ได้อยา่ งมคี วามสขุ ค่ะ มาลินี : จริงสิ เราสามารถเดนิ บนพนื้ ดนิ ได้ดว้ ยค่ะ โรสนสิ า : เพราะในโลกนี้มแี รงโน้มถว่ งของโลกคะ่ มาลินี : แลว้ ในอวกาศ มแี รงโน้มถ่วงของโลกไหมค่ะ โรสนสิ า : ไมม่ ีค่ะ แรงโน้มถว่ งของโลกมเี ฉพาะในโลกใบนีเ้ ท่านั้น ซง่ึ เป็นแรงทมี่ ี ประโยชน์มากมาย เชน่ ทำให้ฝนตกลงสูพ่ ้นื ดนิ ตน้ ไม้ ผกั ต่างๆ ก็มีนำ้ ในการ สังเคราะหแ์ สง มาลินี : ทำไมมนษุ ย์อยู่ในอวกาศตอ้ งใส่ชุดอวกาศด้วยคะ่ โรสนสิ า : ? นักเรียนชว่ ยตอบแทนโรสนสิ าหนอ่ ย เพราะเหตุใดมนุษยอ์ ยู่ในอวกาศต้องใส่ชดุ อวกาศด้วย ก. ไมม่ ีอากาศ ข. ไม่มีทอี่ ยู่ ค. ไม่มียารกั ษาโรค ง. ไมม่ เี ครื่องอำนวยความสะดวก 30. นกั เรียนคดิ วา่ เหตกุ ารณใ์ ดถอื เปน็ ก้าวสำคัญของมนษุ ยชาติในการสำรวจอวกาศ ก. นีล อารม์ สตรอง ลงเหยียบบนดวงจันทร์ ข. เหตุการณ์ของพ่ีน้องตระกูลไรทป์ ระดษิ ฐเ์ คร่ืองบิน ค. องค์การนาซาสง่ ยานอวกาศโซโหสำรวจดวงอาทติ ย์ ง. สหรัฐอเมรกิ าส่งยานอวกาศมาร์สพาธไฟน์เดอร์ สำรวจดาวองั คาร

136 เฉลยคำตอบแบบทดสอบ วัดผลสมั ฤทธห์ิ ลงั เรียน

137 เฉลยคำตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนโดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 คะแนนเตม็ 30 คะแนน ขอ้ ที่ คำตอบ ข้อที่ คำตอบ 1. ค 16. ข 2. ข 17. ข 3. ค 18. ค 4. ค 19. ค 5. ง 20. ง 6. ง 21. ง 7. ข 22. ก 8. ง 23. ข 9. ก 24. ง 10. ง 25. ค 11. ก 26. ข 12. ก 27. ค 13. ข 28. ง 14. ก 29. ก 15. ค 30. ก

62 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ในการรายงานเร่ืองการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรียน ช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6 ผ้ดู ำเนินการไดเ้ สนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลมีรายละเอยี ดตามลำดับ ดังนี้ 1. สญั ลักษณ์ท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 2. วธิ ีการนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล สญั ลักษณ์ท่ใี ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมลู ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลครัง้ น้ี ผูด้ ำเนนิ การใชส้ ัญลกั ษณส์ ำหรบั การวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ N แทน จำนวนขอ้ มูล (นกั เรียน) μ แทน คะแนนเฉล่ีย ������ แทน ความเบยี่ งเบนมาตรฐานของกลุ่มประชากร t แทน คา่ สถิติทใ่ี ชเ้ ปรยี บเทยี บกับค่าวกิ ฤตเพื่อทราบความมีนัยสำคญั วิธีการนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ผดู้ ำเนินการไดน้ ำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล แบ่งเปน็ 2 ตอน ตอนท่ี 1. การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรยี น ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 ใช้การจัดการเรยี นรู้โดยเทคนิค STAD กอ่ นและหลังเรียน ตอนที่ 2. ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรยี นทม่ี ีต่อการจัดการเรยี นรโู้ ดยเทคนิค STAD ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล การดำเนนิ งานกลมุ่ ทดลองได้ดำเนินการพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะหโ์ ดยใชเ้ ทคนคิ STAD ของนักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2560 โรงเรยี นบา้ นคลองหวะ(ทวีรัตนร์ าษฎร์บำรุง) นกั เรยี นจำนวน 40 คน ได้ผล ดงั นี้ ตอนท่ี 1. การพฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะห์โดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 จากการวิเคราะหป์ ระมวลผลของการทำกจิ กรรมการคิดวเิ คราะห์ของนักเรียน จากการใช้คมู่ ือการ จัดการเรยี นรู้โดยเทคนิค STAD กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มีผลวเิ คราะหด์ งั นี้

63 ตารางที่ 4 ผลการหาความสามารถในการคดิ วเิ คราะหท์ างวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี น จากการใช้คู่มือ การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 (กลุ่มทดลอง) ประเภทคะแนน N คา่ เฉล่ยี รอ้ ยละ   40 83.56 8.35 0.75 ความสามารถในการคิด วเิ คราะหท์ างวทิ ยาศาสตร์ ของนักเรียน จากตารางท่ี 4 เป็นผลการหาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน จาก การใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนคิ STAD ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ท่ีไดจ้ ากการวดั การเรยี นรู้จากการทำ กจิ กรรมคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD จำนวน 33 กิจกรรม แล้วนำมาคำนวณหาค่าคะแนนรวม เฉลี่ยร้อยละ ซ่ึงมคี า่ เท่ากับ 83.56 จงึ สรปุ ได้ว่าจากการจดั การเรยี นรู้โดยใช้นวตั กรรมคู่มอื การจัดการเรียนรู้ โดยเทคนิค STAD ทำให้นักเรียนมีการคิดวเิ คราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ทส่ี ูงขึน้ และสอดคล้องสมมตฐิ านของการ ดำเนินงาน ท่ไี ดก้ ำหนดไว้

64 ตอนท2ี่ . การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นก่อนเรียน (Pretest)และหลังเรยี น (Posttest) จากการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 (กลุ่มทดลอง) จากการวิเคราะห์ประมวลผลการวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยการทำแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้คู่มือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน มีผลการวิเคราะห์ ดังน้ี ตารางท่ี 5 คะแนนจากการวัดการคดิ วเิ คราะห์ของนักเรยี น จากการใช้คู่มือการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและ หลงั เรยี น (กล่มุ การทดลอง) เลขท่ี คะแนนก่อนเรยี น 30 คะแนน คะแนนหลังเรยี น 30 คะแนน 1. 7 19 2. 8 20 3. 7 27 4. 6 28 5. 9 21 6. 7 22 7. 12 25 8. 7 26 9. 12 24 10. 9 22 11. 5 20 12. 7 23 13. 6 26 14. 5 28 15. 8 29 16. 9 26 17. 6 22 18. 9 23 19. 6 27 20. 7 22 21. 6 22

65 เลขที่ คะแนนกอ่ นเรยี น 30 คะแนน คะแนนหลงั เรียน 30 คะแนน 22. 7 26 23. 11 23 24. 8 25 25. 12 27 26. 6 23 27. 9 24 28. 7 23 29. 5 26 30. 9 28 31. 5 26 32. 8 24 33. 6 28 34. 5 23 35. 8 23 36. 7 27 37. 8 27 38. 6 26 39. 7 20 40. 7 29  7.47 24.50 2.71  1.89 81.66 รอ้ ยละ 24.91 จากตารางท่ี 5 แสดงผลคะแนนจากการวัดการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 จะเห็นได้วา่ ผลคะแนนจากแบบทดสอบวัดการคดิ วิเคราะห์ก่อนเรียนมี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 7.47 ค่าความเบ่ี ยงเบน มาตรฐานเท่ ากับ 1.89 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 24.91 และ ผลคะแนนจากแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ผลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.50 ค่าความเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากบั 2.71 และมีค่าเฉลีย่ ร้อยละ 81.66

66 ตารางท่ี 6 การเปรียบเทียบผลการวัดการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและ หลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ัน ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 (กลุม่ ทดลอง) ประเภทคะแนน N คา่ เฉล่ียร้อยละ   t ทดสอบก่อนเรียน 40 24.91 7.47 1.89 25.03 ทดสอบหลงั เรียน 40 81.66 24.50 2.71 มีนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01 จากตารางท่ี 6 การเปรียบเทียบผลการวดั การคดิ วิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อน เรียนและหลังเรียน โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6 จะเห็นได้ว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 24.91 และคะแนนทดสอบหลัง เรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 81.66 เม่ือทำการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนปรากฏว่า ค่าที่ได้จากการ เปรยี บเทยี บมีค่า t เทา่ กับ 25.03 แสดงว่าคะแนนการทดสอบวัดทกั ษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียน ทั้งหมดท่ีเรียน โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 สูงกว่าคะแนนการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ0.01 และ สอดคล้องกับสมมตฐิ านของการดำเนนิ งานที่กำหนดไว้ การดำเนินงานกลุ่มเป้าหมายได้ดำเนินการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้เทคนิค STAD ของนกั เรยี น ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นบ้านคลองหวะ(ทวรี ตั น์ราษฎรบ์ ำรุง) นกั เรียนจำนวน 53 คน ได้ผลดงั น้ี ตอนที่ 1. การพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะหโ์ ดยใช้เทคนิค STAD ของนักเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 จากการวเิ คราะห์ประมวลผลของการทำกจิ กรรมการคดิ วิเคราะห์ของนักเรียน จากการใช้ค่มู อื การ จัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มีผลวเิ คราะห์ ดงั น้ี

67 ตารางท่ี 7 ผลการหาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียน จากการใช้คู่มอื การจัดการเรยี นรโู้ ดยเทคนิค STAD ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 (กลุ่มเป้าหมาย) ประเภทคะแนน N ค่าเฉลย่ี ร้อยละ   0.69 ความสามารถในการคดิ 53 84.23 8.42 วิเคราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ ของนักเรยี น จากตารางท่ี 7 เป็นผลการหาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน จาก การใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ท่ีไดจ้ ากการวัดการเรยี นร้จู ากการทำ กิจกรรมคู่มือการจัดการเรียนรูโ้ ดยเทคนิค STAD จำนวน 33 กิจกรรม แล้วนำมาคำนวณหาค่าคะแนนรวม เฉลี่ยร้อยละ ซึ่งมีค่าเท่ากับ 84.23 จึงสรุปได้ว่าจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้นวัตกรรมคู่มือการจัดการเรียนรู้ โดยเทคนิค STAD ทำใหน้ ักเรยี นมกี ารคิดวิเคราะหท์ างวทิ ยาศาสตร์ทสี่ ูงข้ึน และสอดคล้องสมมตฐิ านของการ ดำเนินงานทไ่ี ดก้ ำหนดไว้

68 ตอนท2ี่ . การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี นก่อนเรยี น (Pretest)และหลังเรียน (Posttest) จากการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 (กลุ่มเป้าหมาย) จากการวิเคราะห์ประมวลผลการวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยการทำแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ทางการเรียน ก่อนและหลังการใช้คู่มือ การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 53 คน มีผลการวเิ คราะห์ ดงั น้ี ตารางที่ 8 คะแนนจากการวดั การคิดวเิ คราะห์ของนักเรยี น จากการใช้คมู่ ือการจัดการเรยี นรโู้ ดย เทคนคิ STAD กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ก่อนเรียนและ หลังเรยี น (กลุ่มเป้าหมาย) เลขที่ คะแนนกอ่ นเรียน 30 คะแนน คะแนนหลงั เรียน 30 คะแนน 1. 6 26 2. 11 25 3. 10 20 4. 8 25 5. 11 27 6. 7 27 7. 9 22 8. 6 22 9. 7 25 10. 8 24 11. 10 27 12. 8 24 13. 9 22 14. 7 22 15. 8 24 16. 10 22 17. 7 27 18. 12 27 19. 8 25 20. 9 28 21. 9 21

69 เลขที่ คะแนนกอ่ นเรียน 30 คะแนน คะแนนหลงั เรยี น 30 คะแนน 22. 7 22 23. 9 22 24. 8 21 25. 7 22 26. 6 23 27. 6 25 28. 8 19 29. 10 25 30. 9 26 31. 10 24 32. 10 23 33. 8 29 34. 9 29 35. 7 28 36. 11 27 37. 7 26 38. 6 29 39. 7 25 40. 13 28 41. 11 24 42. 7 20 43. 7 24 44. 7 27 45. 9 28 46. 7 24 47. 5 27 48. 11 21 49. 8 27 50. 9 26 51. 10 26 52. 9 24 53. 8 24

70 เลขที่ คะแนนกอ่ นเรียน 30 คะแนน คะแนนหลงั เรียน 30 คะแนน  8.41 24.66  1.73 2.56 82.20 ร้อยละ 28.05 จากตารางที่ 8 แสดงผลคะแนนจากการวัดการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษา ปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จะเห็นได้วา่ ผลคะแนนจากแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียนมี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 8.41 ค่าความเบี่ ยงเบน มาตรฐานเท่ ากับ 1.73 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 28.05 และ ผลคะแนนจากแบบทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์ผลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 24.66 ค่าความเบ่ียงเบน มาตรฐานเทา่ กบั 2.56 และมีคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ 82.20 ตารางที่ 9 การเปรียบเทียบผลการวัดการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและ หลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ัน ประถมศึกษาปที ี่ 6 (กล่มุ เปา้ หมาย) ประเภทคะแนน N คา่ เฉลี่ยร้อยละ   t ทดสอบก่อนเรยี น 53 28.05 8.41 1.73 38.93 ทดสอบหลังเรียน 53 82.20 24.66 2.56 มนี ยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั 0.01 จากตารางที่ 9 การเปรียบเทียบผลการวดั การคดิ วิเคราะห์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 กอ่ น เรียนและหลังเรียน โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 6 จะเห็นได้ว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉล่ียร้อยละ 28.05 และคะแนนทดสอบหลัง เรียนมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 82.20 เมื่อทำการเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนปรากฏว่า ค่าที่ได้จากการ เปรียบเทียบมีค่า t เท่ากับ 38.93 แสดงว่าคะแนนการทดสอบวัดการคิดวิเคราะห์หลังเรียนของนักเรียน ทั้งหมดท่ีเรียน โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6 สูงกว่าคะแนนการทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 และ สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานของการดำเนินงาน ทก่ี ำหนดไว้ จากการทดลองดงั กล่าว จะเหน็ ได้ว่าผลการวัดการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรโู้ ดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มี คา่ พฒั นาการวดั การคิดวิเคราะห์ท่ีสงู ข้นึ ตามลำดับ

71 การดำเนินการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โดยใช้คู่มือ การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 ภาคเรยี นท่ี 1 การประเมินความพงึ พอใจทม่ี ีตอ่ การจดั การเรยี นรโู้ ดยเทคนิค STAD โดยใช้คู่มือการจดั การเรยี นรู้ โดยเทคนิค STAD กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ได้ผลการประเมิน ดงั นี้ ตารางท่ี 10 แสดงผลความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โดยใช้คู่มือการ จัดการเรยี นรูโ้ ดยเทคนิค STAD กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ข้อที่ รายการประเมิน คา่ เฉล่ยี S.D. ระดบั ความพึง พอใจ 1. ดา้ นเนอื้ หา มากทีส่ ดุ 1. เนอ้ื หา ภาษา ภาพประกอบ รูปแบบน่าสนใจ 4.64 0.48 มาก มาก 2. เน้ือหาเรยี งลำดบั จากงา่ ยไปสู่ยาก 4.41 0.53 มาก มาก 3. จดั เน้ือหาเหมาะสมกบั เวลาเรยี น 4.35 0.48 มากทสี่ ุด 4. ความยากง่ายของเนอื้ หาเหมาะสมกบั นักเรียนชั้น ป.6 4.47 0.57 มาก 5. มีการสอดแทรกคุณธรรมและจรยิ ธรรม 4.37 0.62 มากที่สุด 2. ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน มากที่สดุ 6. การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค STAD เร้าใจ ได้ 4.73 0.44 มาก เรยี นรทู้ ี่หลากหลาย มากที่สุด 7. กิจกรรมการเรยี นรูเ้ นน้ ให้ศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง 4.37 0.65 มากทส่ี ดุ มากทส่ี ดุ อยา่ งต่อเนอื่ ง มาก 8. นักเรียนมีการแลกเปลี่ยนแสดงความคดิ เหน็ ซึ่งกันและ 4.66 0.47 กัน 9. นักเรียนมสี ่วนร่วมในการทำกิจกรรมรว่ มกนั 4.54 0.57 10. นำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั ได้ 4.24 0.64 3. ดา้ นครผู ูส้ อน 11. ครชู ี้แจงกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD ให้ 4.81 0.39 นักเรยี นเข้าใจ 12. ครูกระตุน้ ให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรยี นรู้ 4.64 0.52 13. ครูแบ่งกลมุ่ นักเรียนโดยคละความสามารถ และเพศ 4.73 0.44 ชาย – หญงิ อยา่ งเหมาะสม 14. ครใู หค้ ำปรึกษา แนะนำ ดูแลนักเรยี นในการเรียนรู้ 4.45 0.57 อย่างทัว่ ถึง

72 ข้อที่ รายการประเมนิ คา่ เฉล่ยี S.D. ระดบั ความพึงพอใจ 15. ครใู หก้ ารเสริมแรงโดยการให้รางวัลแก่กลมุ่ ที่ทำ 4.71 0.45 มากทสี่ ุด กจิ กรรมสำเรจ็ สูงสดุ เช่นกลา่ วชมเชย ปรบมอื 4. การวดั และประเมนิ ผล 4.52 0.63 มากทส่ี ดุ 4.58 0.53 มากทส่ี ดุ 16. มีการประเมินความรู้ความเข้าใจในการเรยี นรู้ 17. มีการประเมินผลการเรยี นของนกั เรยี นเป็น 4.33 0.67 มาก 4.67 0.47 มากท่ีสดุ รายบุคคล และ 4.33 รายกลมุ่ 4.53 0.61 มาก 18. นักเรยี นทราบผลการเรยี นร้ขู องตนเอง 0.57 มากที่สดุ 19. มกี ารประเมนิ พฤติกรรมการทำงานร่วมกันภายใน กลุ่ม 90.66 20. การประเมนิ ครอบคลุมเน้ือหาทเี่ รียน รวมเฉลี่ย รวมรอ้ ยละเฉล่ีย จากตารางที่ 10 แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 คะแนนประเมินเฉลี่ยรวมทุกด้าน 4.53 คะแนนรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาแต่ละด้านพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อด้านครูผู้สอน อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.66 รองลงมา คือความพึงพอใจต่อ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.50 ความพึงพอใจด้านการวัดและประเมินผล อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลยี่ 4.48 และความพึงพอใจด้านเนอื้ หา อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.44 จากการจัดการเรียนการสอน ผู้ดำเนินการได้ใช้การจัดการเรียนการสอนโดยเทคนิค STAD ท่ีเน้น การสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ จากการใช้ค่มู ือการจัดการเรียนรู้โดย เทคนิค STAD จัดกิจกรรมงานกลุ่มร่วมกัน ทำให้นักเรียนมีการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง และพัฒนา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีการแสดงออกด้วยวิธีการคิดที่เชื่อมโยงความรู้กับการสืบเสาะหาความรู้ นกั เรียนได้ค้นคว้าหาความรดู้ ้วยตนเอง จากสถานการณ์ต่างๆ ท้ัง 33 กิจกรรม จากการเรียนการสอนโดยใช้ เทคนิค STAD มีการต้ังคำถามการวางแผน ดำเนินการสืบเสาะหาความรู้การรวบรวมข้อมูล การคิดอย่างมี วิจารณญาณ มีการแบ่งกลุ่มโดยคละความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนท่ีร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ มี การแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ มีการเสริมแรงใหก้ ับกลุ่มท่ีมกี ารทำกิจกรรมไดค้ ะแนนสูงสดุ และเป็นการพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปด้วยจากการทำกิจกรรม มีการวัดและประเมินเป็นรายบุคคลและเป็น กลุ่ม มีการแจ้งให้นักเรียนรู้คะแนนของตนเอง และการพัฒนาการก้าวหน้าของนักเรียน ครูคอยกระตุ้นให้

73 นกั เรยี นมีการกระตอื รือร้นในการเรยี น การทำกิจกรรมต่างๆ ทำให้นักเรยี นมีความเข้าใจในเนื้อหา นักเรียนมี ทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างต่อเน่ือง และเพ่ิมความชำนาญในการคิดวิเคราะห์สู่ขั้นสูง มีความสนุกสนานใน การเรียนและการทำกจิ กรรมต่างๆ ทำให้ผลการเรียนของนักเรยี นสูงข้ึน มีทักษะการคิดวิเคราะหต์ า่ งๆ สูงขึ้น ตามลำดับ และนกั เรยี นมีความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรยี นร้โู ดยเทคนคิ STAD อยู่ในระดับมากท่สี ดุ จากกลุ่มทดลองการดำเนินงาน ปี 2560 นวัตกรรมคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 น้ีนำมาใช้กับนักเรียนได้ผลดี และผู้ดำเนินการได้นำ นวัตกรรมนี้มาใช้กลุ่มเป้าหมายปีการดำเนินงาน 2561 ปรากฏว่านวัตกรรมนี้นำมาใช้ได้ผลดีอีกส่งผลให้การ เรียนของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 หลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรโู้ ดยเทคนคิ STAD กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์สูงข้ึน ส่งผลต่อมี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์สูงข้นึ ด้วย

75 บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ จากการท่ีได้ดำเนินงานการพัฒนาทกั ษะการคดิ วิเคราะหโ์ ดยเทคนคิ STAD ของนักเรียน ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ราษฎร์บำรงุ ) ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จงั หวัด สงขลา ปีการศกึ ษา 2561 ภาคเรยี นท่ี 1 โดยการใช้คู่มอื การจดั การเรยี นรูโ้ ดยเทคนิค STAD ผู้ดำเนินการมี ขั้นตอนการนำเสนอดังนี้ วัตถุประสงค์ของการดำเนนิ งาน 1. เพื่อเปรยี บเทยี บความสามารถในการคิดวิเคราะหท์ างวทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี น ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ระหวา่ งกอ่ นกับหลังการใช้วิธกี ารจดั การเรยี นร้โู ดยเทคนคิ STAD 2. เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรยี นรโู้ ดยเทคนิค STAD สมมติฐานของการดำเนินงาน 1. นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรตั น์ราษฎรบ์ ำรงุ ) มคี วาม สามารถในการคดิ วิเคราะห์กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรท์ ่สี ูงขึ้น เมือ่ ไดร้ ับการเรยี นรูโ้ ดยใช้เทคนคิ STAD กอ่ นและหลงั เรียน 2. นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวรี ัตน์ราษฎรบ์ ำรุง) มีความ พงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นรโู้ ดยเทคนคิ STAD ประชากร ประชากรทใ่ี ชใ้ นการดำเนินงานคร้ังนี้ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศกึ ษา 2561 โรงเรียน บ้านคลองหวะ(ทวีรัตน์ราษฎร์บำรุง) ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีจำนวน 2 ห้องเรียน คือ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6/1 และช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6/2 มีนักเรียนทง้ั หมด จำนวน 53 คน เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการดำเนนิ งาน เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการดำเนินงานคร้งั นี้ ประกอบด้วย 1. คู่มือการจัดการเรยี นร้โู ดยเทคนิค STAD ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 2. แบบทดสอบวัดการคดิ วิเคราะห์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ประกอบด้วยข้อคำถามแบบ ปรนยั ชนดิ เลือกตอบ 4 ตัวเลอื กจำนวน 30 ขอ้ มีการนำไปทดลองใชก้ ับกลุ่มทดลอง นักเรยี นชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านคลองหวะ(ทวีรตั น์ราษฎร์บำรงุ ) ปีการศึกษา 2560 จำนวน 40 คน คละนักเรยี นทงั้ เก่งและออ่ น ก่อนนำไปใชก้ บั กล่มุ เปา้ หมาย ปกี ารศกึ ษา 2561 จำนวน 53 คน 3. แบบประเมินความพงึ พอใจท่มี ีต่อการจดั การเรียนร้โู ดยเทคนคิ STAD ชั้นประถมศกึ ษา ปที ่ี 6

76 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การดำเนินงานครั้งนี้ ผู้ดำเนินการไดเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู การพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์โดย เทคนิค STAD ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 กับกลุ่มประชากรท้ังหมด เน่ืองจากนักเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นบ้านคลองหวะ(ทวีรตั น์ราษฎร์บำรงุ ) ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา ผู้ดำเนินการรับผิดชอบสอนวิชาวิทยาศาสตร์ท้ัง 2 ห้องเรียน จำนวน 53 คน ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 6/1 ตั้งแต่วันพุธท่ี 30 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 ถึงวันพุธที่ 15 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 และชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6/2 ตัง้ แตว่ นั ศกุ ร์ที่ 1 เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. 2561 ถึงวันศกุ ร์ท่ี 17 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 ซง่ึ ได้เลือกใชแ้ บบการดำเนินงานกลุม่ เดยี ว โดยมขี นั้ ตอนดงั นี้ 1. ก่อนทำการทดลอง ผู้ดำเนินการได้ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทำแบบทดสอบวัดทักษะการคิด วิเคราะห์ก่อนเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 30 ข้อ ท่ีผู้ดำเนินการได้พัฒนานวัตกรรมขึ้น แล้วเก็บข้อมูลที่ได้จากการทำแบบทดสอบเพื่อใช้ในการ วเิ คราะหข์ ้อมูลเปน็ ลำดบั ตอ่ ไป 2. ระหว่างการทดลอง ผู้ดำเนินการได้ดำเนินการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียน กลุ่มเป้าหมาย โดยการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ใชเ้ วลาทัง้ หมด 24 ชั่วโมง ปีการศึกษา 2561 ภาคเรียนท่ี 1 3. หลังการทดลอง ผู้ดำเนินการได้ให้กลุ่มเป้าหมายทำแบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์หลัง เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 30 ข้อ ที่ผู้ดำเนินการได้พัฒนานวัตกรรมนี้ข้ึน แล้วเก็บข้อมูลท่ีได้จากการทำแบบทดสอบ นำไป วเิ คราะห์ข้อมลู เป็นลำดับตอ่ ไป 4. ผู้ดำเนินการได้ดำเนินการนำคะแนนท่ีจากการสอบของกลุ่มเป้าหมายท้ังหมด มาวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยวธิ ีการทางสถิติ เพอื่ ทดสอบสมมตุ ิฐานและสรุปผลการศึกษาคน้ ควา้ ที่ได้กำหนดไว้ 5. ผู้ดำเนินการได้ดำเนินการประเมินความพึงพอใจกับกลุ่มเป้าหมาย นำข้อมูลมาวิเคราะห์ ตามลำดับตอ่ ไป สรปุ ผลการดำเนินงาน จากการดำเนินการการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โดยการใช้คูม่ อื การจดั การเรียนรโู้ ดยเทคนคิ STAD มีผลสรปุ ไดด้ งั นี้ 1. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ใช้การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ก่อนและหลังเรียน ได้พบว่าทั้งสองระยะการ ดำเนินการผลการคดิ วิเคราะห์ของนักเรียนหลงั เรียนโดยใช้คู่มอื การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สูงกวา่ ก่อนเรียน อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.01 สอดคล้องกับสมมติฐานของ การดำเนนิ งานที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนมีความพงึ พอใจที่มีต่อการจัดการเรียนร้โู ดยเทคนคิ STAD อยใู่ นระดับมากท่ีสุด

77 อภิปรายผลการดำเนนิ งาน จากการดำเนินงานการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 6 โดยการใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ผู้ดำเนินการนำประเด็นท่ีได้ค้นพบมาอภิปราย ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการดำเนนิ งานดงั น้ี 1. การเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวเิ คราะหท์ างวิทยาศาสตร์ของนักเรยี น ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ใช้การจัดการเรียนรู้โดยเทคนคิ STAD ก่อนและหลังเรียน ซง่ึ พบว่าระยะท่ีหนึ่งก่อนใช้นักเรียนมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละ 24.91 หลังใช้นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 81.66 ระยะที่สองก่อนใช้นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 28.05 หลังใช้นักเรียนมีคะแนนเฉล่ียร้อยละ 82.20 จะเห็นได้ว่านักเรียนมีคะแนนการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนโดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 สูงกว่าก่อนเรยี น อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติทร่ี ะดบั 0.01 ซ่ึงเปน็ ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ้ังไว้ มีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของวิไลรัตน์ กล่ินจันทร์ (2552) ได้พัฒนาเร่ือง การศึกษา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ช้ัน มัธยมศึกษาปี ท่ี 4 ท่ีได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เพ่ือส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ พบว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และความสามารถในการคิด วิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เช่นเดียวกับผลงานวิจัยของกรกฏ ลำไยและคณะ (2552) ได้พัฒนาเร่ือง การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์เพื่อ พัฒนาการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์หลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของรัชนีพร มีสี (2554) ได้พัฒนาเรื่องการพัฒนาชุด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเร่ืองส่ิงมีชีวิตกั บ ส่ิงแวดล้อม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ท่ี 6 พบว่า ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง ส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อมหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 มีความใกล้เคียงกับผลงานวิจัยของบุญเรือน ป้องหมู่ (2554) ได้พัฒนาเรื่อง การพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิซึม ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติท่ีระดับ .05 นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับผลงานวิจัยของวิชชุตา อ้วนศรีเมือง (2554 : 74) ได้พัฒนา เรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD กบั การจดั การเรียนรแู้ บบร่วมมือโดยใช้เทคนิค LT พบว่าผลสมั ฤทธ์ิแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD กับการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค LT ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้ เทคนิค STAD ก่อนเรียนและหลังเรยี นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 และความสามารถใน การคิดแก้ปัญหาของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ก่อนเรียนและหลัง

78 เรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้ใกล้เคียงกับผลงานวิจัยของประภาทิพย์ ภูนคร (2555) ได้พัฒนาเรื่องผลของการใช้เทคนิค Five – Step Model ท่ีมีต่อทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของ นกั เรียนประถมศึกษาปีท่ี 5 เพ่ือเปรยี บเทียบทักษะการคิดอย่างมวี ิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มท่ีได้รับการฝกึ ใช้ เทคนิค Five – Step Model กับกลุ่มท่ีไม่ได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five – Step Model พบว่าทักษะการคิด หลังการฝึกและในระยะติดตามผลสูงกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 กลุ่มท่ีได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five – Step Model มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังการฝึกสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กลุ่มท่ีได้รับการฝึกใช้เทคนิค Five – Step Model มีค่าเฉล่ียคะแนน ทักษะการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณในระยะติดตามผลไม่แตกตา่ งจากหลังการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดับ .05 แต่มีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 สอดคล้องกับผลงานวิจัยนิรมล มัธยมนันท์ (2555) ได้พัฒนาเร่ือง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้รูปแบบการ เรียนรู้โดยการใช้รูปแบบการเรียนรู้ตามแนวคอนสตัคติวิซึม พบว่า มีการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของฉัตรมงคล สวนกัน (2556 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาเรื่องการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย พบว่า หลังได้รับการจัด ประสบการณ์ด้วยเกมการศกึ ษา สูงกวา่ ก่อนการจัดประสบการณ์ด้วยเกมการศกึ ษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 มีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของพิชญะ กันธิยะ (2559: 87) ได้พัฒนาเรื่องการพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์โดยใช้การจดั การเรยี นรู้แบบบันได 5 ขั้น ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการสอน โดยการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น เพ่ือส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ พบว่าผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของณัชพล นิลสุพรรณ (2560) ได้ พัฒนาเรื่องผลการพัฒนาชุดกิจกรรมประกอบการเรียนด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 พบว่าผลสัมฤทธ์ิหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD เป็นวิธีการเรียนแบบร่วมมือกัน ช่วยเหลือกันส่งผลให้มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและมีเจตคติสูงกว่าการสอนแบบปกติ ดังผลงานวิจัยของ Suyanto (1999 : 3766 – A) ได้ พัฒนาเรื่องผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์แบบร่วมมือกัน (STAD) การรับรู้และส่ิงแวดล้อมใน โรงเรียน ชุมชนกรุงจาการต์ า ประเทศอินโดนีเซยี พบวา่ นักเรยี นท่ีเรียนโดยวิธีการเรยี นแบบร่วมมอื กนั และ การสอนโดยวิธีปกติมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่เรียนโดยวิธีการ เรียนแบบร่วมมือกนั มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นและมีเจตคติสงู กวา่ การสอนแบบปกติ 2. นักเรียนมีความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD โดยใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้ โดยเทคนคิ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 คะแนนประเมินเฉล่ียรวมทุกด้าน 4.53 คะแนนรวมอยู่ในระดบั มากท่สี ุด มีความสอดคล้องกับผลงานวิจัยของกรกฏ ลำไยและคณะ (2552) ได้พัฒนาเร่ือง การพัฒนาชุด กิจกรรมการเรียนรู้วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้การปฏิบตั ิโครงงานวิทยาศาสตร์ มีคุณภาพระดับดีและนักเรียนมีความพึงพอใจที่ มตี ่อการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับความพงึ พอใจมากทสี่ ุด

79 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของรัชนีพร มีสี (2554) ได้พัฒนาเร่ืองการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีส่งเสริม ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องส่ิงมีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปี ท่ี 6 พ บว่ามีความพึ งพอใจอยู่ ในระดับดีมาก สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ ฉัตรมงคล สวนกัน (2556 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาเร่ืองการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยพึง พอใจอยู่ในระดบั มาก สอดคลอ้ งกบั ผลงานวจิ ยั ของพิชญะ กันธิยะ (2559: 87) ได้พัฒนาเรอ่ื งการพัฒนาทักษะ การคิดวิเคราะห์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบบนั ได 5 ข้ัน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีได้รบั การสอน โดยการจัดการเรียนรู้แบบบันได 5 ข้ันเพ่ือส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับ ม าก สอดคล้องกับผลงานวิจัยณัชพล นิลสุพรรณ (2560 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนาเร่ืองผลการพัฒนาชุดกิจกรรม ประกอบการเรยี นด้วยวธิ สี อนแบบร่วมมอื โดยใช้เทคนคิ STAD ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 พบวา่ ความ พึงพอใจอยู่ในระดับมาก นอกจากน้ีการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โดยคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ยังมีความสอดคล้องกับวิจัยปรีดา อ่อนนางใย (2555 : 91) ได้ พัฒนาเรื่อง การสร้างแบบทดสอบวดั ความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ ตามแนวคิด ของมาร์ซาโน 5 ดา้ น พบว่าแบบทดสอบวดั ความสามารถทางการคิดวเิ คราะห์ทส่ี รา้ งข้นึ มคี ุณภาพใชไ้ ด้ ค่า ความยากอยู่ระหว่าง 0.23 – 0.80 เป็นความยากพอเหมาะ คา่ อำนาจจำแนกอยู่ระหวา่ ง 0.21 – 0.53 เป็น ค่าอำนาจจำแนกที่ใช้ได้ ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ 0.90 ซึ่งผู้ดำเนินการได้จัดทำเคร่ืองมือ แบบทดสอบวัดความสามารถทางการคิดวิเคราะห์ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.23 – 0.80 เป็นความยาก พอเหมาะ ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.21 – 0.53 เป็นค่าอำนาจจำแนกท่ีใช้ได้ ค่าความเชื่อมั่นของ แบบทดสอบเท่ากับ 0.90 สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ Rosman (1966 อ้างถึงใน จงรักษ์ ต้ังละมัย, 2545 : 24) ได้พัฒนาเร่ืองการคิดแบบวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 คิดแบบวิเคราะห์มากกว่านักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และยังพบ ต่อไปอีกว่าการคิดแบบวิเคราะห์มีความสัมพันธ์ในทางลบกับแบบทดสอบวั ดสติปัญญาของเวซเลอร์ (Wechsler Scale for Children) ในฉบับเติมภาพให้สมบูรณ์ (Picture Completion) การจัดเรียงรูป (Picture Arrangement) แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับแบบทดสอบที่เก่ียวข้องกับด้านภาษา (Verbal Test) นอกจากน้ันการคิดแบบวิเคราะห์ยังมีแนวโน้มท่ีจะเพิ่มขึ้นตามอายุ และมีความสัมพันธ์กับความ พร้อมทางการเรียนรู้และแรงจูงใจอีกด้วย ซึ่งผู้ดำเนินการได้นำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ด้วยการแบ่งกลุ่มคละความสามารถ คละอายุ คละชาย – หญิง เพื่อที่จะได้มีการคิดวิเคราะห์ที่หลากหลายกัน ภายในกลุ่ม นำไปสู่การเกิดการคิดวิเคราะห์ที่ดี สอดคล้องกบั ผลงานวิจยั ของ Blackwood (1969 : 50 – 56) ได้พัฒนาเร่ืองปัจจัยท่ีมีผลต่อการสอนพบว่าการสอนวิทยาศาสตรจ์ ะได้ผลดีขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ ขนาดของ ห้องจำนวนช่ัวโมงท่ีครูสอนต่อ 1 สัปดาห์ การจัดหลักสูตรวิทยาศาสตร์ที่มีเนื้อหาเป็นระบบ ต่อเน่ืองการ จดั หาหนังสือแบบเรียนหนังสืออา่ นประกอบ และเคร่ืองมือให้พอกับความต้องการมีผู้ให้ความช่วยเหลือเม่ือครู วิทยาศาสตร์ต้องการ ซง่ึ ผู้ดำเนินการไดน้ ำมากำหนดจำนวนชวั่ โมงการสอน หลักสูตร ตลอดจนเนอื้ หาท่เี รียน

80 ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้เกิดการคิดวิเคราะห์ที่ดีตามทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเป็นไปตาม การพัฒนาการทางสตปิ ัญญาของนักเรียนแต่ละคน ดงั ผลงานวิจัยของ Battis, Teeleanor, & Chirstal (1981) ได้พัฒนาเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างการสอนทักษะการคิดโดยตรงกับการพัฒนาการทางสติปัญญา พบว่ากลุ่ม ทดลองมีพัฒนาการทางสติปัญญาสูงกว่ากลุ่มควบคุม นักเรียนหญิงมีทักษะการคิดเชิงตรรกศาสตร์ต่ำกว่า เด็กชาย เล่น I.Q. และการทดสอบทักษะการคิดเชิงตรรกศาสตร์มีความสัมพันธ์กัน ผู้ดำเนินการได้มีการจัด กิจกรรมท่ีครอบคลมุ และจัดกิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือให้นักเรียนใช้ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิด อย่างมรวิจารณญาณจากสถานการณ์ต่างๆ โดยเทคนิค STAD สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ William (1981 : 1605 – A) ได้พัฒนาเรื่องเปรียบเทียบทัศนคติผลสัมฤทธิ์และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ระหว่างการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้กับการสอนแบบเดิมท่ีครูเป็นศูนย์กลางวิชาประวัติศาสตร์อเมริกา พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลมุ่ ควบคุม การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดย การใช้คู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ทำให้นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์ท่ีสูงขึ้น จากการเรียนที่ ผู้ดำเนินการใช้วิธีเทคนิค STAD เป็นการเรียนท่ีเน้นนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยความร่วมมือกันในกลุ่ม ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ทำให้นักเรียนเข้าใจในบทเรียนน้ันๆ มีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ Smith (1994 : 2528 – A) ได้พัฒนาเรื่องผลจากวิธีการสอนที่มีต่อเจตคติและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน พบว่านักเรียนท่ีได้รับการสอนแบบให้ลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนท้ังแบบบรรยาย สอดคล้องผลงานวิจัยของ Jackson (1998 : 1068 – A) ได้พัฒนาเรื่องผลของการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD ที่มีต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนต่างเชื้อชาติ พบว่าผลของการเรียนรู้แบบร่วมมือระหว่างนักเรียนชายผิวขาว นักเรียนหญิงผิวดำ หรือนักเรียนหญิงผิวขาว ไม่มีความแตกต่างกัน ในการเรียนร่วมกัน มีการพัฒนาการคิด วิเคราะห์ร่วมกัน มีการตรวจสอบการคิดวิเคราะห์อย่างต่อเน่ือง สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ Giuliand (1998) ได้พัฒนาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางความคิด และวิธีการแก้ปัญหาของนักเรียนระดับ มธั ยมศึกษาในวิชาเคมี พบว่านักเรียนมีรูปแบบทางความคิดท่ีเหมอื นกันจะใช้วธิ ีการแก้ปญั หาทค่ี ล้ายกัน และ การแก้ปญั หาแบบเป็นกลุ่มจะช่วยให้นักเรยี นได้ตรวจสอบการคดิ ของตนเอง จากการการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยการใช้ค่มู ือการจดั การเรยี นรู้โดยเทคนิค STAD ผดู้ ำเนินการได้ใช้เทคนิคให้คะแนนเป็นรายบคุ คลและเป็น กลุ่ม มีการเสริมแรงให้กับนักเรียนหรือกลุ่มท่ีได้คะแนนสูงสุด เป็นการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ให้ กำลังใจ กระตุ้นการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน สอดคล้องกับผลงานวิจัยของ Chesbro (2008 : online) ได้ ศึกษาการใช้ระบบการให้คะแนน เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ความรับผิดชอบและเพ่ือการเสริมแรง ในวิชาวิทยาศาสตร์ เพ่ือกระตุ้นความรับผิดชอบของนักเรียน ผลปรากฏว่า สามารถส่งเสริมทักษะการคิด วิเคราะห์ ความรับผิดชอบและนักเรียนได้แสดงความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่โดยการสังเกต และคิด คะแนนของตัวเองไปพรอ้ มกับการเรียน และทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเพ่อื สะสมคะแนน จากการจัดการเรียนรู้ โดยคู่มือการจดั การเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ได้ทำให้มีการพัฒนาการคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ทุกคน ทำให้นักเรียนท่ีอยู่ในกลุ่มมีปัญหาจากการผลการประเมินการคิดวิเคราะห์ร้อยละ 37.73 ได้รับการ

81 แก้ไข และผลการประมินความสามารถทางทักษะการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับปานกลาง – พอใช้ ร้อยละ 54.72 ได้รับการแก้ไขด้วยเช่นกัน ส่งผลให้นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น และนักเรียนเรียนอย่างมี ความสุข ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การดำเนินงาน 1.1 การนำคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ไป ใชใ้ นการเรยี นการสอน ครผู ู้สอนควรศึกษาตวั ชี้วดั เน้อื หา กิจกรรมต่างๆ ให้เขา้ ใจก่อนแลว้ จึงชแี้ นะนักเรยี นให้ ปฏิบัติตามขึ้นตอนอย่างถูกต้อง ครูคอยกระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน และให้การ เสริมแรงเมื่อนักเรยี นทำคะแนนไดส้ ูงสดุ เพ่อื ช่วยใหก้ ระบวนการจดั การเรียนรูเ้ กดิ ประสิทธภิ าพ 1.2 การจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD ในข้ันตอนกิจกรรมกลุ่ม ครูควรเปิดโอกาสให้ นกั เรยี นไดค้ น้ ควา้ และสรปุ ด้วยตนเองอยา่ งถอ่ งแท้ และครใู ห้ความชว่ ยเหลอื เม่อื จำเป็น 1.3 ควรนำคู่มือการจัดการเรียนรู้โดยเทคนิค STAD พัฒนาเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การอ่าน การเขียน และรองรบั หลักสูตรใหม่ท่ีจะใช้เป็นทางการสำหรับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ในปีการศึกษา 2563 ใน สาระท่ี 4 เทคโนโลยี เพื่อสรา้ งความสนใจในการเรียนรู้ของนักเรียน 2. ข้อเสนอแนะเพ่อื การวิจยั 2.1 ควรศึกษาผลการเรยี นรู้ด้วยเทคนิค STAD ท่ีนักเรียนเรียนรู้กันเป็นกลุ่ม หรือผสมผสาน ดว้ ยเทคนิคเพือ่ ช่วยเพื่อน 2.2 ควรศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค STAD กับเทคนิคการต้ัง คำถาม เพือ่ ค้นหาความสามารถด้านคิดวเิ คราะหข์ องนักเรยี น 2.3 ควรศึกษาทดลองการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค STAD เป็น 3 ระยะ 2 ปีการศึกษา เพ่ือ ค้นหาทกั ษะการคิดสังเคราะห์ที่แท้จรงิ ของนักเรียน

82 บรรณานกุ รม

83 บรรณานกุ รม กาญจนา อรณุ สุขรจุ .ี (2546). ความพงึ พอใจของสมาชกิ สหกรณต์ อการดาํ เนนิ งานของสหกรณ์ การเกษตรไชยปราการ จํากัด. อําเภอไชยปราการ จงั หวัดเชยี งใหม่. เชยี งใหม่และคณะ : คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่ กดิ านันท์ มลทิ อง. (ม.ป.ป.). สื่อการสอนและการฝกึ อบรม : จากสื่อพ้ืนฐานถึงส่ือดจิ ิทัล. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กรกฏ ลำไยและคณะ. (2552). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ าโครงงานวทิ ยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาการคิดวเิ คราะห์ สำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2. พษิ ณโุ ลก : ปรญิ ญานพิ นธ์ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสตู รและการสอนบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยนเรศวร. กรมวชิ าการ. (2545). คู่มอื การจดั การเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การรบั ส่งสนิ คา้ และพัสดุภณั ฑ.์ โกวิท ประวาลพฤกษ์, กมล ภปู่ ระเสรฐิ และสงบ ลกั ษณะ. (ม.ป.ป.). การพัฒนาผลงานทางวชิ าการ. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริมวชิ าการ. ไกรยุทธ ธีรตยาคีนนั ท.์ (2547). Employment Effect of Public Enterprises in Thailand. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณติ ดวงหสั ดี. (2548). สขุ ภาพจิตกับความพึงพอใจในงานของขา้ ราชการตำรวจช้ันประทวนใน เขตเมืองและชนบทของจังหวดั ขอนแกน่ . วทิ ยานพิ นธม์ หาบัณฑติ . ขอนแกน่ : หาวิทยาลัยขอนแกน่ . จงรกั ษ์ ต้งั ละมยั . (2545). ผลการฝกึ ความคดิ เหน็ อเนกนัยในเนอ้ื หาตา่ งกันท่ีมตี ่อความสามารถใน การคดิ วิเคราะห์ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรงุ เทพฯ : ปริญญานิพนธ์ การศกึ ษา มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการวัดผลการศึกษา. บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ฉตั รมงคล สวนกัน. (2556). พฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห ของเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณ ดวยเกมการศกึ ษา. สกลนคร : คณะครุศาสตร์ สาขาหลกั สูตรและการสอนมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร. ชาตรี สำราญ. (2548). สอนให้ผู้เรยี นคิดวเิ คราะห์ไดอ้ ยา่ งไร. วารสารสานปฏริ ูป 8, 83 (มี.ค. 2548) ชูศรี วงศ์รตั นะ. (2537). เทคนิคการใช้สถติ เิ พื่อการวจิ ัย. มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ชยั ณรงค์ ต้ังอาพรทิพย.์ (2547). ศกึ ษาความพึงพอใจผู้รับบริการการบริการศูนย์สขุ ภาพชุมชน อำเภอโนนสูง จงั หวดั นครราชสมี า. วทิ ยานิพนธ์ ศศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

84 ชัยวฒั น์ สทุ ธิรัตน.์ (2552). 80 นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรงุ เทพฯ : แดเน็กซ์ อนิ เตอร์คอรป์ อเรช่นั . ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ (2556). การทดสอบประสทิ ธภิ าพส่ือหรอื ชุดการสอน. วารสารศลิ ปากร ศึกษาศาสตร์วิจยั ปีที่ 5. ณชั พล นิลสุพรรณ. (2560). ผลการพัฒนาชดุ กจิ กรรมประกอบการเรียนด้วยวิธสี อนแบบรว่ มมือโดย ใชเ้ ทคนิค STAD ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 เรื่องสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนา สรรมถภาพ. สงขลา : ผลงานวชิ าการถ่ายเอกสาร. ทศิ นา แขมมณ.ี (2554). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความรูเ้ พื่อการจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีมี ประสิทธิภาพ. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). วิทยาการด้านการคดิ . กรงุ เทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์. ธงชยั สันตวิ งษ.์ (2551). การวางแผน. กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. นิรมล มธั ยมนันท.์ (2555). ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เรือ่ ง สง่ิ มชี ีวติ กับสิ่งแวดลอ้ ม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6. มหาสารคาม : วทิ ยานิพนธ์ ครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. บ้านคลองหวะ, โรงเรยี น. (2553). หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นบ้านคลองหวะ กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. บญุ ชม ศรีสะอาด. (2545). การวจิ ัยเบือ้ งตน้ . กรงุ เทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น. _______. (2556). การวจิ ยั เบือ้ งต้น (พิมพ์คร้ังท่ี 9). กรงุ เทพฯ : สวุ รี ิยาสาสน์ . บญุ เรอื น ป้องหมู่. (2554). การพฒั นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรด์ ้วยวธิ ีการจัดการเรยี นรู้ ตามแนวคดิ คอนสตรัคตวิ ิซึม ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4. จนั ทบรุ ี : วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั รำไพพรรณี. ประกายทิพย์ ขนั ธทตั . (2548). การพัฒนาแผนการเรยี นรู้โดยใช้บทเรียนสำเร็จรูปวิชาวทิ ยาศาสตร์ เร่ืองการลำเลียงสารในพชื และการสืบพันธขุ์ องพชื ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1. วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. ประทีป ยอดเกตุ. (2550). การพฒั นาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิชาภาษาไทยเพ่ือส่งเสรมิ ความสามารถ ในการคิดวเิ คราะห์สำหรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3.วิทยานพิ นธ์ การศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม. ประภาทพิ ย์ ภนู คร. (2555). ผลของการใชเ้ ทคนิค Five– Step Model ท่มี ตี ่อทักษะการคดิ อย่างมี วจิ ารณญาณของนกั เรียนประถมศึกษาปที ่ี 5. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธ์ ปรญิ ญามหาบณั ฑิต

85 สาขาวชิ าจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประภัสสร อวด.ี (2550). ความพึงพอใจของประชาชนท่ีมีตอ่ การบริการสาธารณะของเทศบาล ตำบลโนนสำ อำเภอท่ำบอ่ จงั หวดั หนองคาย. ลพบรุ ี : มหาวิทยาลัยราชภฏั ลพบุรี. ประวทิ ย์ ตน้ สมบูรณ์. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของข้าราชการ พลเรอื นสามัญในสํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาลพบุร.ี วิทยานพิ นธม์ หาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ปรีดาวรรณ ออ่ นนางใย. (2555). การสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถทางการคดิ วิเคราะห์ สำหรบั นักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6. กรงุ เทพฯ : ปริญญานิพนธ์ ปริญญาการศกึ ษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวดั ผลการศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ฟา้ มุ่ย สกุ ณั ศีล. (2548). ความพงึ พอใจต่อการให้บริการของสำนกั งานเลขานกุ ารคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ จังหวดั เชยี งใหม่ : รายงานการวิจยั บธ.บ. (ธรุ กจิ บรกิ าร) มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. พชิ ญะ กันธิยะ. (2559). การพฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์โดยใช้การจดั การเรียนรแู้ บบบนั ได 5 ขัน้ วชิ าวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ . เชียงใหม่ : ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่. พันทิพา ทบั เที่ยง. (2550). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น พฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ และความคงทนในการเรียนวชิ าคณิตศาสตรข์ องนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ทไ่ี ด้รบั การจัดการเรยี นและรว่ มมือแบบแบง่ กลุ่มผลสัมฤทธ์ิ (STAD) กบั การจัดการเรียนแบบ รว่ มมือแบบกลุ่มช่วยรายบุคคล (TAI). ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม. (การประถมศึกษา). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. ถา่ ยเอกสาร. ไพรินทร์ ยิม้ ศิร.ิ (2548). ความสามารถในการเขยี นภาษาองั กฤษของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรยี นตามรปู แบบ STAD. ปรญิ ญานิพนธ์ ค.ม. (หลักสตู รและการสอน). กรุงเทพฯ : บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร. ถ่ายเอกสาร. ไพรินทร์ เหมบุตร. (2549). การใชส้ ่อื การสอน. จาก http://rs,kpp led s,orgpairin/work. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 แห่งราชวงค์จักร.ี (2550). บรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทาน ปรญิ ญาบตั ร. จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (9 กรกฎาคม 2550). สืบคน้ เมอื่ 20 ตลุ าคม 2560. https://www.google.co.th. มลวิ ลั ย์ ผิวคราม. (2554). วิชาการวดั ผลและประเมินการศกึ ษา. วันทีค่ น้ ข้อมูล 23 ตุลาคม 2560, เขา้ ถึง ได้จาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/webpili/index01.html. ราชบัณฑิตยสถาน (2530). พจนานกุ รมฉบับเฉลมิ พระเกยี รติ พ.ศ. 2530. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. รชั นีพร มสี ี. (2554). การพัฒนาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่สง่ เสรมิ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรือ่ งส่ิงมีชีวติ กับสิ่งแวดล้อม สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษา

86 ปที ี่ 6. พษิ ณุโลก : ปรญิ ญาการศึกษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. วฤทธิ์ สารฤทธิคาม. (2548). 49 ความพึงพอใจของประชาชนตอ่ การใหบ้ ริการขององค์การบริหาร สว่ นตำบล : กรณศี กึ ษาองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลดอนงวั อำเภอบรบือ จังหวัด มหาสารคาม. วิทยานพิ นธบ์ รหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป, บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. วิชชตุ า อว้ นศรเี มอื ง. (2554). การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวทิ ยาศาสตรแ์ ละ ความสามารถในการคดิ แกป้ ญั หาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ที่ไดร้ ับการจัดการเรียนรแู้ บบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD กบั การจดั การเรียนรแู้ บบ ร่วมมือโดยใช้เทคนิค LT. กรุงเทพฯ : ปริญญาการศกึ ษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการ มัธยมศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ . วมิ ลรตั น์ สุนทรโรจน.์ (2545). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาการเรยี นการสอน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. วไิ ลรตั น์ กลิน่ จันทร์. (2552). การศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ และความสามารถใน การคดิ วเิ คราะห์ทางวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ที่ไดร้ บั การสอนโดยใช้ ชดุ กจกิ รรมวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ส่งเสริมการคดิ วิเคราะห์. วทิ ยานพิ นธก์ ารศึกษามหาบัณฑิต สาขาวชิ าการมัธยมศึกษา. กรงุ เทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. วีระ สดุ สงั ข์. (2550). การคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และคดิ สร้างสรรค์. กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาส์น. วฒั นา เพ็ชรวงศ.์ (2542). พฤติกรรม และความพงึ พอใจของประชาชนที่มีต่อการใช้บรกิ าร. วิทยานพิ นธ์ บธ.ม. (การตลาด). บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิต. วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สอื่ และนวัตกรรมแหง่ การเรียนรู.้ ปทุมธานี : บรษิ ัท พี เอ็น เค แอนด์ สกายพรนิ้ ต้ิงส์. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. สมาน จันทะดี. (2552). การสร้างและการเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั เอส.พ.ี เอน็ . การพิมพ์ จำกดั . สถาบนั พฒั นาคุณภาพวิชาการ. (2554). เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรียนรู.้ กรุงเทพฯ : บริษทั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ จำกัด. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2553). คู่มอื ครูสาระการเรียนรพู้ ้นื ฐาน

87 วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ : สกสค. _______. (2554). หลกั สูตรกลมุ่ วิทยาศาสตร์. ถ่ายเอกสาร. สาทติ ย์ จนี าภักด์ิ (2550). ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วที่มตี ่อการล่องแพในเขตอําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. ปรญิ ญานพิ นธ.์ วท.ม.(การจดั การนันทนาการ). กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สคุ นธ์ สนิ ธพานนท.์ (2561). นวัตกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื พัฒนาทกั ษะของผู้เรียนในศตวรรษ ท่ี 21. กรงุ เทพฯ : ห้างห้นุ สว่ นจำกัด 9119 เทคนคิ พริ้นตง้ิ . สมุ น อมรวิวฒั น์. (2541). ทำไมต้องปฏริ ปู การเรียนรู้” การปฏริ ูปการเรียนรู้ตามแนวคดิ 5 ทฤษฎ.ี กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์ ไอเดยี สแควร.์ สวุ ทิ ย์ มูลคำ. (2547). กลยุทธก์ ารสอนคดิ วิเคราะห์. กรงุ เทพฯ : ห้างหุ้นสว่ นจำกดั ภาพพิมพ์. สมจติ สวธนไพบูลย์ และคณะ. (2545). รายงานการวจิ ยั และพฒั นารูปแบบการพฒั นาคณาจารยแ์ ละ ชดุ เรียนรู้ดว้ ยตนเองสำหรบั การพัฒนาสมรรถนะทางวชิ าชพี ครโู ดยใชก้ ารวจิ ัยเป็นฐาน. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. สมชาย รตั ทองคำ. (2556). เอกสารประกอบการสอน 475 788 การสอนทางกายภาพบำบัด. ภาคต้น ปกี ารศึกษา 2556. https://ams.kku.ac.th/aclearn/index.php/22 - 475788. สำนกั การศึกษา. (2552). มาตรฐานการศกึ ษาโรงเรยี นสงั กัดกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (2549). แนวทาง ทางการจดั การเรยี นรเู้ พือ่ พฒั นาทกั ษะการคิดวิเคราะห์. กรงุ เทพฯ : ISBN 974 – 477 – 683 – 8. สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. อารม์ โพธ์ิพัฒน์. (2550). การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางวิทยาศาสตร์และความสามารถวิเคราะหข์ อง นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ท่ีไดร้ บั การสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมเขยี นแผนผังมโนมติ. สารนพิ นธ์ กศ.ม. (การมัธยมศกึ ษา) กรงุ เทพมหานครบณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัย ศรนี ครินทร์วิโรฒ. Battiste, Eleanor ; & Chirstal. (1981). The Relationship between Direct Instruction in Thinking Skills and Growth in Cognitive Development. Dissertation Abstract International. Blackwood. (1969). ปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการสอนวิทยาศาสตร์. http://krukittipong.blogspot.com/2010/06/2.html. Chesbro, R. (2008). Using Grading Systems to Promote Analytical Thinking Skill, Responsibility, and Refection. Retrieved Juiy 1, 2010, from

88 http://vnweb.hwwilsonweb.com/hww/results/external_link_maincontentframe. jhtml?_DARGS=/hww/results/results_common.jhtml. Giuliano, F. J. (1998, July). The Relationships Among Cognitive Variables and Students Problem – Solving Strategies in an Interactive Chemistry Classroom. Proquest – Dissertation Abstracts. Jackson. Rudy, Jr. (1998). The Effcets of Effeets Coopcrative Learning on the Developmcnt of Cross – Racial Friendships. Dissertation Abstracts International. Mullins, L.J. (1985). Management and organizational behavior. London : Pitman Publishing. Slavin, R.E. 1990. Cooperative Learning Theory, Research and Practice. Englewood Cliffs, New Jersey. : Prentice-Hall, Inc. _______. (1995). Cooperative Learning Theory, Research and Practive. 2nd ed. Massachusetts : A Simon & Schuster. Smith, Patty. Templeton. (1994, January). Instructional Method Effects on Student Attitude and Achievement. Dissertation Abstracts International. Suyanto, Wardan. (1999). The Effects of Student Team – Achievement Division on Mathematics Achievement in Yogyakata Rural Primary Schools (Indonesia). Dissertation Abstracts Intemational. Williams, Jmes Metford. (1981). A Comparison Study of the Tradition Teaching Procedures on Student Achievement and Critical Thinking Ability in Eleventh Grade United States History. Dissertation Abstract International. Vroom, V. (1987). Management and motivation. New York : Mc Graw - hill.

82 บรรณานกุ รม