Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-26 04:34:50

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ,คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์,วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 5 | โครงสร้างโลก 135 ประเดน็ การ ระดบั การประเมนิ ประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) ก า ร นำ � เ ส น อ แสดงประเด็นดังต่อไปนี้ แสดงประเด็นดังต่อไป ไม่แสดงประเด็นดังต่อ ผลงาน ครบถว้ น น้ีบางส่วน ไปนี้ - มกี ารน�ำ เสนอเปน็ ล�ำ ดบั - มีการนำ�เสนอเป็น - มีการนำ�เสนอเป็น เขา้ ใจง่าย ลำ�ดบั เข้าใจงา่ ย ล�ำ ดบั เขา้ ใจง่าย - มรี ปู แบบการน�ำ เสนอท่ี - มรี ปู แบบการน�ำ เสนอ - มี รู ป แ บ บ ก า ร นำ � เหมาะสม เช่น มกี ารใช้ ท่ีเหมาะสม เช่น มี เสนอทเี่ หมาะสม เชน่ เทคโนโลยี หรือมีรูป ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี มี ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี แบบท่หี ลากหลาย ห รื อ มี รู ป แ บ บ ที่ ห รื อ มี รู ป แ บ บ ที่ หลากหลาย หลากหลาย ความ แสดงประเด็นดังต่อไปนี้ แสดงประเด็นดังต่อไป ไม่แสดงประเด็นดังต่อ ประหยดั /การ ครบถว้ น นีบ้ างสว่ น ไปนี้ ใชท้ รัพยากร - ใ ช้ วั ส ดุ ท่ี ห า ไ ด้ ง่ า ย ใ น - ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายใน - ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายใน อย่างคมุ้ ค่า ทอ้ งถ่นิ ท้องถน่ิ ทอ้ งถน่ิ - ใชว้ สั ดเุ หลือใช้ - ใช้วสั ดเุ หลือใช้ - ใช้วัสดุเหลอื ใช้ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน 12-10 หมายถงึ ผ่านเกณฑใ์ นระดบั ดี อาจตอ้ งปรับปรุงบางส่วน คะแนน 9-6 หมายถึง ผา่ นเกณฑ์ในระดับพอใช้ ต้องปรบั ปรุงบางส่วน คะแนน 5-1 หมายถงึ ต้องปรบั ปรงุ ใหม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

136 บทท่ี 5 | โครงสรา้ งโลก คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ แบบประเมนิ พฤติกรรมการทำ�กิจกรรมกลมุ่ ประเดน็ การ ระดบั การประเมนิ 1 บันทกึ เพิ่มเตมิ ประเมิน 32 ส�ำ หรบั ผปู้ ระเมนิ การวางแผน มีการประชุม มีการประชุม ไม่มีการประชุม การทำ�งานใน ปรึกษาหารือ ปรึกษาหารือ ปรึกษาหารือกัน กลุ่ม กันและมีการ กันหรือมีการ และไม่มีการแบ่ง แบ่งงานแบ่ง แบ่งงานแบ่ง ง า น แ บ่ ง ห น้ า ที่ ห น้ า ที่ กั น ทำ � หน้าท่กี นั ทำ� กนั ทำ� อย่างชัดเจน ความสนใจ ทุกคนในกลุ่ม ค น ใ น ก ลุ่ ม ค น ใ น ก ลุ่ ม ส่ ว น และการมสี ว่ น มีส่วนร่วมใน ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ใหญไ่ มม่ สี ว่ นรว่ ม รว่ มใน กิจกรรม/ร่วม ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ในกิจกรรม/ร่วม กิจกรรม แสดงความ กจิ กรรม/รว่ ม แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด คิดเห็น แสดงความ เหน็ การจดั การ คิดเห็น เวลา ทำ � กิ จ ก ร ร ม ทำ�กิจกรรมเสร็จ เสร็จทันเวลา - ไมท่ นั เวลา เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน 9-7 หมายถงึ ผา่ นเกณฑ์ในระดับดี คะแนน 6-5 หมายถงึ ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั พอใช้ คะแนน 4-1 หมายถงึ ต้องปรับปรงุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 5 | โครงสร้างโลก 137 ความรเู้ พ่มิ เตมิ โครงการเจาะส�ำ รวจโครงสร้างโลก นักวิทยาศาสตร์พยายามเจาะสำ�รวจลงไปภายในโลกทั้งบริเวณที่เป็นพ้ืนทวีป และ พ้นื มหาสมุทร เช่น โครงการ Kola Superdeep Borehole ทำ�การขดุ เจาะท่ีคาบสมุทรโคลา ทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศรัสเซีย สามารถเจาะลงไปในแผ่นทวีปบอลติกได้ ความลึกมากท่ีสุดประมาณ 12 กิโลเมตร โดยใช้เวลาถึง 19 ปี (พ.ศ. 2513-2532) และ โครงการ Integrated Ocean Drilling Program (IODP) ท�ำ การเจาะบรเิ วณพน้ื ทะเลแปซฟิ กิ ใกล้กับประเทศญ่ีปุ่น โดยใช้เรือชื่อ Chikyu เจาะได้ลึกประมาณ 7 กิโลเมตร ดังรปู รปู จำ�ลองการเจาะส�ำ รวจภายในโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

138 บทท่ี 5 | โครงสรา้ งโลก คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ การเปลยี่ นโหมดของคลน่ื ไหวสะเทอื น (ตอบค�ำ ถามทว่ี า่ เพราะเหตใุ ดจงึ พบคลน่ื S ในแกน่ โลกชน้ั ใน เมอื่ คลนื่ S ไมส่ ามารถ เดินทางผ่านแกน่ โลกชัน้ นอกท่ีมสี ถานะเป็นของเหลวได้) เม่ือคล่ืน P หรือคล่ืน S กระทบกับรอยต่อของตัวกลางต่างชนิดกันแบบทำ�มุม จะเกิด การสะท้อนและหักเหของท้ังคล่ืน P และคลืน่ S ดงั แสดงในรปู จากรูปจะพบวา่ เมอ่ื คล่นื P หรอื คลนื่ S ตกกระทบรอยตอ่ ของชนั้ ตา่ ง ๆ จะปรากฎคลนื่ สะทอ้ นและหกั เหทงั้ คลนื่ P และ คล่ืน S ปรากฎการณ์นี้เรียกว่าการเปล่ียนโหมดของคล่ืน (mode conversion) ซ่ึงทำ�ให้ สามารถอธิบายได้ว่าทำ�ไมจึงพบคลื่น S บริเวณรอยต่อของช้ันแก่นโลกชั้นนอกและ แก่นโลกชั้นใน คลื่น S ดังกล่าวเป็นคลื่นท่ีแตกตัวออกมาจากคลื่น P ท่ีตกกระทบรอยต่อ ระหว่างแก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นในน่ันเอง เม่ือคลื่น P ซึ่งเป็นคลื่นตามยาว ตกกระทบที่รอยต่อของวัสดุ พลังงานบางส่วนทำ�ให้อนุภาคเคล่ือนท่ีตามขวางจึงเกิดเป็น คลน่ื ตามขวาง (คลน่ื S) ดังนั้นการเปล่ียนโหมดของคลนื่ เกิดขึน้ เม่ือคลนื่ เคลื่อนท่ีกระทบกับ รอยตอ่ ระหวา่ งวัสดุตา่ งชนดิ กนั ที่มีความต้านทานต่อการสะท้อนต่างกนั รูปลกั ษณะการเกดิ คล่นื สะท้อนและคลื่นหักเหแบบท�ำ มุม (1) เมื่อมีคล่นื P ตกกระทบ (ข) เมอื่ มีคลนื่ S ตกกระทบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 5 | โครงสรา้ งโลก 139 ความเรว็ ของคลน่ื ไหวสะเทือน คลน่ื ไหวสะเทอื นแตล่ ะชนดิ สามารถเดนิ ทางผา่ นตวั กลางตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยความเรว็ ทแี่ ตกตา่ งกนั ข้ึนอยู่กับสมบัติทางกายภาพของตัวกลางแต่ละชนิด เช่น ระหว่างดินแห้งกับดินเปียก คา่ ความหนาแนน่ ยอ่ มไมเ่ ทา่ กนั ดงั นนั้ คา่ ความเรว็ คลนื่ ไหวสะเทอื นภายในดนิ แหง้ จงึ แตกตา่ งจาก ดินเปียก หรือระหว่างหินทรายกับหินปูน ค่าความหนาแน่นของหินทรายท่ีมีควอตซ์เป็น องค์ประกอบกับหินปูนที่มีแร่แคลไซด์เป็นองค์ประกอบแตกต่างกัน ดังนั้นค่าความเร็ว คลื่นไหวสะเทือนเม่ือเคลอ่ื นท่ีผา่ นย่อมแตกตา่ งกัน ตารางด้านลา่ งแสดงคา่ ความเร็วคล่นื P และ คลื่น S ของตวั กลางทีส่ ำ�คัญ ตารางแสดงคา่ ความเร็วของคล่ืนไหวสะเทือนของวตั ถุชนดิ ตา่ งๆ ชนดิ ของวสั ดุ ความเรว็ คลน่ื ปฐมภมู ิ ความเร็วคลน่ื ทุตยิ ภูมิ (เมตร/วนิ าท)ี (เมตร/วินาท)ี อากาศ 332 - น้�ำ 1,400–1,500 - ปโิ ตรเลยี ม 1,300–1,400 - เหล็ก 6,100 3,500 คอนกรตี หนิ แกรนิต 3,600 2,000 หนิ บะซอลต์ หนิ ทราย 5,500–5,900 2,800–3,000 หินปนู ทราย (ยงั ไม่แขง็ ตวั ) 6,400 3,200 ทราย (แขง็ ตวั ) ดินเคลย์ 1,400–4,300 700–2,800 ตะกอนธารน้ำ�แขง็ 5,900–6,100 2,800–3,000 200–1,000 80–400 800–2,200 320–880 1,000–2,500 400–1,000 1,500–2,500 600–1,000 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

140 บทที่ 5 | โครงสร้างโลก คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ แบบฝึกหัดทา้ ยบท 1. จงลากเส้นเชือ่ มโยงชือ่ ชัน้ โครงสร้างโลกกับข้อความดา้ นขวาทมี่ ีความสมั พันธก์ ัน (1) ธรณภี าค ก. หนาประมาณ 100 กิโลเมตร เป็นของแข็ง (2) ฐานธรณภี าค อณุ หภมู ติ �ำ่ ความหนาแนน่ นอ้ ยทส่ี ดุ (3) มชั ฌมิ ภาค (4) แกน่ โลกชน้ั นอก ข. หนาประมาณ 2,240 กิโลเมตร เป็นของแข็ง (5) แกน่ โลกชน้ั ใน อณุ หภมู สิ งู ความหนาแนน่ มาก ค. หนาประมาณ 1,220 กิโลเมตร เป็นของแข็ง อณุ หภมู สิ งู มาก ความหนาแนน่ มากทส่ี ดุ ง. หนาประมาณ 560 กโิ ลเมตร เปน็ ของแขง็ ทม่ี ี สมบตั เิ ปน็ พลาสตกิ อณุ หภมู สิ งู จ. หนาประมาณ 2,250 กโิ ลเมตร เปน็ ของเหลว อณุ หภมู สิ งู มาก ความหนาแนน่ มาก 2. จงเตมิ ช่ือชั้นโครงสรา้ งโลกใหส้ มั พนั ธก์ บั สมบตั แิ ละองคป์ ระกอบของโครงสรา้ งโลก ชน้ั โครงสร้างโลก องค์ประกอบทางเคมี ความหนาแน่นเฉลยี่ 1. ...เนือ้ โลก..... (กรมั ตอ่ ลกู บาศก์ ประกอบดว้ ยแรท่ ่ีเปน็ เซนตเิ มตร) สารประกอบของซิลิกอน แมกนเี ซยี ม และเหล็ก 4.5 2. ...แกน่ โลก..... ประกอบดว้ ยเหล็กเปน็ หลัก 13 2. ...เปลอื กโลก.... ประกอบด้วยหินแกรนติ หรือ 2.8 หนิ บะซอลต์เป็นสว่ นใหญ่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 5 | โครงสรา้ งโลก 141 3. จากรปู โครงสรา้ งโลก บรเิ วณ ก และ ข ทง้ั สองบรเิ วณ คอื สว่ นใดของโครงสรา้ งโลก และ บริเวณท้งั สองมีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร และมีองค์ประกอบทางเคมี เปน็ อยา่ งไร ก ข แนวค�ำ ตอบ เรยี กวา่ เปลอื กโลก แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ นคอื ก. เปลือกโลกทวีปประกอบด้วยหินแกรนิตเป็นส่วนใหญ่   หรือประกอบด้วย ธาตซุ ลิ กิ อน และธาตอุ ะลมู เิ นยี มเปน็ สว่ นใหญ่ ข. เปลอื กโลกมหาสมทุ รประกอบดว้ ยหนิ บะซอลตเ์ ปน็ สว่ นใหญ ่  ห  รอื ประกอบดว้ ยธาตุ ซลิ กิ อนและธาตแุ มกนเี ซยี มเปน็ สว่ นใหญ่ เปลอื กโลก มหาสมุทร เปลอื กโลกทวีป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 บทท่ี 5 | โครงสร้างโลก คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 4. จงท�ำ เครอ่ื งหมาย( ) หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู และท�ำ เครอ่ื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทผ่ี ดิ ค�ำ ตอบ ขอ้ ความ 1. การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเนื้อโลกส่วนหน่ึงได้ตัวอย่างมา จากหนิ แปลกปลอมในระดบั ลึกทล่ี าวาพาขน้ึ มาบนผวิ โลก 2. ผลจากการศกึ ษาอกุ กาบาตทต่ี กลงมายงั โลก เปน็ หลกั ฐานหนงึ่ ทที่ �ำ ให้ ทราบองคป์ ระกอบของแกน่ โลก 3. ถ้าแบ่งโครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางเคมี แก่นโลก ประกอบ ด้วยเหลก็ เป็นส่วนใหญ่ 4. เปลอื กโลกทวีป ประกอบดว้ ย หนิ บะซอลต์เปน็ ส่วนมาก 5. เปลือกโลกทวีปมีความหนาแน่นมากกว่าเปลอื กโลกมหาสมทุ ร 6. แหล่งกำ�เนิดคล่ืนไหวสะเทือนมีทั้งท่ีมาจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ และจากการกระทำ�ของมนษุ ย์ 7. คลืน่ ปฐมภูมมิ คี วามเรว็ เพ่ิมข้นึ เมื่อเคลือ่ นทีผ่ ่านธรณภี าคและ มชั ฌมิ ภาคและมีความเรว็ เป็นศนู ย์เมอื่ เคล่ือนท่ผี ่านแก่นโลกช้ันนอก 8. คล่ืนทุติยภูมิไม่สามารถเคล่ือนท่ีผ่านโครงสร้างโลกท่ีมีสถานะเป็น ของเหลวได้ 9. คลน่ื ปฐมภมู มิ คี วามเรว็ นอ้ ยกวา่ คลน่ื ทตุ ยิ ภมู ิ เมอื่ คลนื่ ทงั้ สองเคลอื่ นท่ี ผ่านฐานธรณภี าค 10. เขตความเร็วตำ่�อยู่ในธรณีภาค และเขตเปลี่ยนแปลงอยู่ใน ฐานธรณีภาค สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 5 | โครงสร้างโลก 143 5. จงตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี 5.1 หากผลการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของหินก้อนหน่ึงพบว่าเป็นหินแกรนิต หนิ กอ้ นนม้ี กี �ำ เนดิ มาจากสว่ นใดของโครงสรา้ งโลก แนวค�ำ ตอบ เปลอื กโลกทวปี 5.2 เนอ้ื โลกประกอบดว้ ยสสารในสถานะใด เปน็ สว่ นใหญ่ แนวค�ำ ตอบ ของแขง็ 5.3 หลกั ฐานใดทน่ี �ำ มาใชย้ นื ยนั วา่ แกน่ โลกชน้ั นอกเปน็ ของเหลว แนวค�ำ ตอบ   คลน่ื ทตุ ยิ ภมู ไิ มส่ ามารถเคลอ่ื นทผ่ี า่ นแกน่ โลกชน้ั นอกไดข้ อ้ มลู ความเรว็ ของคลน่ื ปฐมภมู ทิ เ่ี คลอ่ื นทผ่ี า่ นแกน่ โลกชน้ั นอกและการทโ่ี ลกมสี นามแมเ่ หลก็    เพราะ สนามแมเ่ หลก็ โลกเกดิ จากการเคลอ่ื นทข่ี องสสารทเ่ี ปน็ ของเหลวภายในแกน่ โลก 5.4 เพราะเหตุใดผลการศึกษาอุกกาบาตเหล็กจึงใช้เป็นข้อมูลอธิบายองค์ประกอบ ของแกน่ โลกได้ แนวคำ�ตอบ   เพราะอุกกาบาตเหล็กมีองค์ประกอบทางเคมีรวมท้ังลักษณะและ กระบวนการเกดิ ทแ่ี ตกตา่ งจากตวั อยา่ งหนิ อกุ กาบาตหนิ และแรเ่ หลก็ ทพ่ี บทผ่ี วิ โลก ซง่ึ นกั วทิ ยาศาสตรส์ นั นษิ ฐานวา่ อกุ กาบาตเหลก็ น้ี เกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาใกลเ้ คยี งกบั การ เกดิ โลก และมอี งคป์ ระกอบทางเคมใี กลเ้ คยี งกบั แกน่ โลก 5.5 นอกจากผลการศึกษาอุกกาบาตเหล็กแล้ว ข้อมูลใดช่วยสนับสนุนว่าแก่นโลก ประกอบด้วยเหล็กเป็นสว่ นมาก แนวค�ำ ตอบ ความหนาแนน่ ของโลก 5.6 เพราะเหตุใดคล่ืนไหวสะเทือนจึงเกิดการสะท้อนและหักเหเม่ือเคล่ือนท่ีผ่าน โครงสรา้ งโลก แนวค�ำ ตอบ คลน่ื ไหวสะเทอื นเคลอ่ื นทผ่ี า่ นตวั กลางทม่ี สี มบตั เิ ชงิ กลแตกตา่ งกนั เชน่ ความหนาแนน่ สถานะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

144 บทท่ี 5 | โครงสรา้ งโลก คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 5.7 จากแนวการเคลอ่ื นทข่ี องคลน่ื ปฐมภมู ผิ า่ นโครงสรา้ งภายในโลกดงั รปู (ก) และ (ข) แสดง วา่ ลกั ษณะโครงสรา้ งภายในโลกสองรปู นเ้ี หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร (ก) (ข) แนวค�ำ ตอบ โครงสรา้ งโลกในภาพ ก แสดงวา่ ภายในโลกมลี กั ษณะเปน็ เนอ้ื เดยี วกนั และ มคี วามหนาแนน่ เทา่ กนั เนอ่ื งจากคลน่ื เดนิ ทางผา่ นเปน็ เสน้ ตรงไมม่ กี ารหกั เห โครงสรา้ ง โลกในภาพ ข แสดงวา่ ภายในโลกมลี กั ษณะไมเ่ ปน็ เนอ้ื เดยี วกนั โดยมสี ถานะและความ หนาแนน่ แตกตา่ งกนั ไปตามความลกึ ท�ำ ใหค้ ลน่ื ปฐมภมู เิ กดิ การหกั เห 5.8 ลาวาทป่ี ะทขุ น้ึ มาบนผวิ โลกมแี หลง่ ก�ำ เนดิ มาจากชน้ั ใดของโครงสรา้ งโลก แนวค�ำ ตอบ เขตความเรว็ ต�ำ่ ในฐานธรณภี าค 5.9 เขตความเรว็ ต�ำ่ มสี มบตั แิ ตกตา่ งจากธรณภี าคอยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ มอี ณุ หภมู แิ ละความดนั สงู กวา่ และมสี มบตั เิ ปน็ พลาสตกิ 5.10 คล่ืนทุติยภูมิท่ีเกิดข้ึนใหม่เม่ือคล่ืนปฐมภูมิเคล่ือนท่ีผ่านแก่นโลกช้ันนอกเข้าไปยัง แกน่ โลกชน้ั ใน สามารถเดนิ ทางออกมาทผ่ี วิ โลกไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำ ตอบ ไมไ่ ดเ้ นอ่ื งจากไมส่ ามารถเดนิ ทางผา่ นแกน่ โลกชน้ั นอกทเ่ี ปน็ ของเหลวได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 145 6บทท่ี | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี (Plate Tectonics) ipst.me/8856 *ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติคำ�ว่า   plate    tectonics   ว่าการแปรสัณฐานแบบแผ่น   แต่ในที่น้ีจะใช้คำ�ว่า การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี ซ่ึงหมายถึงคำ�เดยี วกัน ตัวชว้ี ัด 1. อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทส่ี นบั สนนุ การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี 2. ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณีท่สี ัมพันธ์กับการเคล่อื นท่ขี องแผ่นธรณี พรอ้ มยกตวั อยา่ งหลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยาทพ่ี บ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

146 บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ การวิเคราะหต์ ัวช้วี ดั ตัวชีว้ ัด 1. อธิบายหลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่สี นับสนนุ การเคล่อื นท่ขี องแผน่ ธรณโี ดยใชแ้ บบจ�ำ ลอง 2. ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณที่สัมพันธ์กับการเคล่ือนที่ของ แผน่ ธรณี พรอ้ มยกตัวอย่างหลกั ฐานทางธรณีวิทยาที่พบ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายแนวคิด ทฤษฎีเก่ยี วกับการเคลอื่ นท่ีของแผ่นธรณี 2. อธิบายหลักฐานทางธรณีวทิ ยาทสี่ นับสนุนการเคลื่อนทีข่ องแผ่นธรณี 3. อธบิ ายสาเหตุ และกระบวนการเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี และระบผุ ลทเ่ี กดิ จากการเคลอ่ื นทขี่ อง แผ่นธรณี 4. อธิบายรูปแบบการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณีท่ีสัมพันธ์กับการเกิดลักษณะธรณีสัณฐานและธรณี โครงสรา้ งทางธรณแี บบตา่ ง ๆ ทักษะกระบวนการทาง ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จติ วิทยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 1. การหาความสัมพันธ์ของ 1. การสอื่ สารสารสนเทศ และการ 1. ความใจกวา้ ง รู้เทา่ ทนั สือ่ 2. ค วามเช่อื ม่ันต่อ สเปซกับเวลา 2. การจดั กระท�ำ และสอื่ ความ 2. ความร่วมมือ การทำ�งานเป็น หลกั ฐาน ทมี และภาวะผนู้ หมายข้อมลู 3. การตคี วามหมายและลงขอ้ สรุป 4. การสรา้ งแบบจำ�ลอง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 147 ลำ�ดับความคิดต่อเนอื่ ง ธรณภี าคซง่ึ เปน็ ชนั้ นอกสดุ ของโครงสรา้ งโลก แบง่ ออกเปน็ แผน่ ธรณี (plate) หลายแผน่ ซง่ึ เคลอื่ นที่ ไปบนฐานธรณภี าคทำ�ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางธรณีอยตู่ ลอดเวลา ทฤษฎที วปี เลื่อน คือ แนวความคิดที่กล่าววา่ ในอดตี ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวปี ตา่ ง ๆ ไม่ได้มีต�ำ แหนง่ เหมอื นกบั ในปจั จบุ นั แตเ่ คยอยรู่ วมกนั เปน็ แผน่ ดนิ ใหญเ่ พยี งแผน่ ดนิ เดยี วทเ่ี รยี กวา่ พนั เจยี (Pangaea) หลักฐานท่ีสนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป ซากดึกดำ�บรรพ์ ความคลา้ ยกนั ของกลมุ่ หนิ และแนวเทอื กเขา หลกั ฐานจากรอยครดู บนหนิ ทเี่ กดิ จากการเคลอ่ื นตวั ของ ธารน�้ำ แขง็ บรรพกาล ทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรที่สนับสนุนการเคล่ือนท่ีของ แผ่นธรณี ได้แก่ สนั เขากลางสมทุ ร อายขุ องหนิ บะซอลต์บนพน้ื มหาสมุทร ภาวะแม่เหลก็ บรรพกาล นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคิด จากทฤษฎีทวีปเล่ือน ทฤษฎีการแผ่ขยาย พื้นสมุทร นำ�มาสรุปเป็นทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซ่ึงกล่าวถึงการเคล่ือนท่ีและ การเปล่ียนลกั ษณะของแผ่นธรณีอันเนื่องมาจากวงจรการพาความรอ้ นของแมกมาภายในเน้ือโลก การเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ แนวแผ่นธรณี แยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีหากัน แนวแผ่นธรณีเคล่ือนผ่านกันในแนวราบ แต่ละรูปแบบ สง่ ผลให้เกิดธรณสี ัณฐาน โครงสรา้ งทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์ทางธรณตี า่ ง ๆ บนโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

148 บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี ค่มู อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ สาระสำ�คญั แผน่ ธรณตี า่ ง ๆ ของโลกมกี ารเปลยี่ นแปลงขนาดและต�ำ แหนง่ ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั มหี ลกั ฐาน ปรากฏใหเ้ หน็ ซงึ่ อธบิ ายการเคลอ่ื นทขี่ องแผน่ ธรณไี ดต้ ามทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี โดยมี แนวคิดมาจาก ทฤษฎีทวีปเล่ือน และทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร ซ่ึงมีหลักฐานท่ีสนับสนุน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีปที่สามารถเช่ือมต่อกันได้ ความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา ซากดึกดำ�บรรพ์ ร่องรอยการเคลื่อนท่ีของตะกอนธารนำ้�แข็ง ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล อายุหินของ พ้ืนมหาสมทุ ร รวมท้งั การค้นพบสนั เขากลางสมุทร และรอ่ งลึกก้นสมทุ ร ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณอี ธบิ ายการเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี เนอ่ื งจากการพาความรอ้ น ของแมกมา ภายในโลก โดยแนวรอยต่อของแผ่นธรณีมี 3 รูปแบบ ได้แก่ แนวแผ่นธรณีแยกตัว แนวแผ่นธรณีเคล่ือนหากัน และแนวแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีผ่านกันในแนวราบ ซึ่งทำ�ให้เกิดธรณีสัณฐาน ได้แก่ ร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง แนวภูเขาไฟ แนวเทือกเขา หุบเขาทรุดและ สันเขากลางสมุทร และโครงสร้างทางธรณี เช่น เขตรอยเล่ือน นอกจากน้ียังทำ�ให้เกิด ธรณพี บิ ัติภยั ตา่ ง ๆ เวลาที่ใช้ บทนค้ี วรใช้เวลาประมาณ 8 ชัว่ โมง บทที่ 6 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 6.1 แนวคิดของทฤษฎที วีปเลื่อนและหลักฐานสนบั สนนุ 2 ชัว่ โมง 6.2 แนวคดิ ของทฤษฎีการแผ่ขยายพน้ื สมุทรและหลักฐานสนับสนนุ 2 ชว่ั โมง 6.3 การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 2 ชั่วโมง 6.4 ธรณสี ัณฐานและธรณโี ครงสร้างท่ีเกิดจากการเคลอ่ื นท่ขี องแผ่นธรณี 2 ชั่วโมง ความรกู้ ่อนเรยี น โครงสรา้ งโลกตามองค์ประกอบทางเคมแี ละสมบัตเิ ชิงกล ซากดึกดำ�บรรพ์ การพาความร้อน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 149 6.1 แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลักฐานสนบั สนุน จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายแนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกบั การเคล่ือนทขี่ องแผ่นธรณี 2. อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนบั สนุนการเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณี ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 2. สสวท. Learning space http://www.scimath.org 3. แอนิเมช่ันพันเจีย USGS https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Pangea_anima- tion_03.gif ความเข้าใจทีค่ ลาดเคล่อื น ความเขา้ ใจทค่ี ลาดเคล่อื น ความเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง รู ป ร่ า ง แ ล ะ ตำ � แ ห น่ ง ข อ ง ท วี ป ไ ม่ เปล่ยี นแปลง ทวีปต่าง ๆ ของโลกมีการเปลี่ยนแปลง รูปร่างและตำ�แหน่งตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทวีปลอยอยูบ่ นน�้ำ แ ล ะ มี ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง อ ยู่ ต ล อ ด เ ว ล า อย่างช้า ๆ ทวปี คอื สว่ นหนง่ึ ของธรณภี าคทแ่ี ตกออกเปน็ แผ่น ๆ หลายแผ่น หรือท่ีเรียกว่า แผ่นธรณี โดยที่ในแผ่นธรณี 1 แผ่นน้ันอาจรองรับทั้ง ส่วนที่เป็นแผ่นดินและส่วนท่ีเป็นมหาสมุทร และเกดิ การเคลอื่ นทไี่ ดเ้ นอื่ งจากวางตวั อยบู่ น ฐานธรณีภาคที่เคลื่อนท่ีเนื่องจากการพา ความรอ้ นจากภายในโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

150 บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี คู่มือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ แนวการจัดการเรียนรู้ 1. ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี น โดยใหน้ กั เรยี นสงั เกตและเปรยี บเทยี บขนาด ต�ำ แหนง่ และการวางตวั ของทวปี ในแผนทโ่ี ลกเมอ่ื 200 ลา้ นปกี อ่ น กบั ถงึ ปจั จบุ นั โดยใชภ้ าพนง่ิ (ดาวนโ์ หลดไดจ้ าก QR code ประจำ�บท) หรือภาพเคล่ือนไหวจากส่ือต่างๆ (ตัวอย่างเช่น แอนิเมชันพันเจีย USGS: https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Pangea_animation_03.gif) เพ่ือกระตุ้น ความสนใจเก่ียวกับการเปล่ียนตำ�แหน่งของทวีปต่าง ๆ และร่วมกันอภิปรายโดยใช้คำ�ถาม ดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี เม่ือเปรียบเทียบขนาด ตำ�แหน่ง และการวางตัวของทวีปในแผนที่โลกในอดีตกับแผนที่โลกใน ปัจจบุ นั มีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ในอดีต ทวีปในแผนท่ีโลกเป็นทวีปขนาดใหญ่ ทวีปเดียว แต่ในปัจจุบันในแผนท่ี โลกมีหลายทวปี อย่แู ยกกัน 2. ครกู ลา่ วถงึ แนวคดิ ของเวเกเนอรท์ ว่ี า่ ในอดตี ณ ชว่ งเวลาหนง่ึ ทวปี ตา่ ง ๆ ของโลกไมไ่ ดม้ ี ต�ำ แหนง่ เหมอื นกบั ในปจั จบุ นั แตเ่ คยเชอ่ื มตอ่ เปน็ แผน่ ดนิ เดยี วกนั มากอ่ น โดยสงั เกตจากรปู รา่ ง ของขอบทวีปท่ีมีบางทวีปในปัจจุบันต่อกันได้พอดี จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ ค�ำ ถามดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี นกั เรยี นมคี วามคดิ เห็นอยา่ งไรกับแนวคดิ ดงั กลา่ ว เพราะเหตใุ ด แนวค�ำ ตอบ นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง แนวคิดดังกลา่ วมคี วามเปน็ ไปได้ และนา่ เช่ือถือหรือไม ่ แนวค�ำ ตอบ แนวคิดดังกล่าวอาจมีความเป็นไปได้แต่ยังไม่น่าเช่ือถือเน่ืองจากยังไม่มีหลักฐาน สนบั สนนุ เพียงพอ หรือนกั เรยี นตอบตามตามความคิดเหน็ ของตนเอง 3. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ นอกจากรปู รา่ งของขอบทวปี แลว้ มหี ลกั ฐานใดอกี บา้ งทจ่ี ะ สนบั สนนุ แนวคดิ ดงั กลา่ ว (ตอบตามความคดิ ของตนเอง) จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ ท�ำ กจิ กรรม 6.1 ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 115 เพอ่ื ศกึ ษาหลกั ฐานสนบั สนนุ วา่ ทวปี เคยอยตู่ ดิ กนั มากอ่ น และ ตอบค�ำ ถามทา้ ยกจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 151 กิจกรรม 6.1 การส�ำ รวจหลักฐานสนบั สนนุ ว่าทวีปเคยอยตู่ ิดกนั มากอ่ น จดุ ประสงค์ของกิจกรรม อธบิ ายหลักฐานทีส่ นับสนุนแนวคดิ ว่าทวีปเคยอย่ตู ิดกันมากอ่ นโดยใช้แบบจ�ำ ลอง เวลา 1 ชว่ั โมง วสั ด-ุ อปุ กรณ์ แผนภาพแสดงหลกั ฐานซากดึกด�ำ บรรพ์ กลมุ่ หินและแนวเทือกเขาท่ีพบในทวปี ต่าง ๆ การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ 1. เตรียมแผนท่ีโลกในปจั จบุ ันที่แสดงช่ือทวีปและประเทศตา่ ง ๆ เพ่อื ให้นกั เรียนใชอ้ ้างองิ 2. ดาวนโ์ หลดแผนภาพได้ท่ี QR code ประจ�ำ บท วิธีการทำ�กิจกรรม 1. ศกึ ษาหลกั ฐานต่าง ๆ จากแผนภาพทกี่ ำ�หนดให้ และวิเคราะหต์ ามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี - หลักฐานจากซากดึกดำ�บรรพแ์ ละแหลง่ ทีพ่ บ - ห ลักฐานความคล้ายกนั ของกลมุ่ หนิ และแนวเทือกเขาและแหล่งทีพ่ บ 2. วิเคราะหก์ ารเชื่อมต่อของแผน่ ทวีปจากขอ้ มลู และหลักฐานในขอ้ 1 3. ออกแบบการนำ�เสนอเพ่ืออธิบายแนวคิดท่ีว่า \"ในอดีตทวีปทั้งหมดเคยเป็นแผ่นดิน เดยี วกนั \" โดยใช้หลกั ฐานท่วี เิ คราะห์ได้ในข้อ 2 4. นำ�เสนอและอภปิ รายผลการทำ�กจิ กรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

152 บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ตวั อย่างผลการท�ำ กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ตัวอย่างตารางบนั ทึกผล ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ หลักฐานทใี่ ช้สนบั สนุน ทวีป/ประเทศ ยโุ รป เอเชยี อินเดีย อเมรกิ าเหนือ อเมริกาใต้ ออสเตรเลีย แอฟรกิ า แอนตารก์ ตกิ า มโี ซซอรัส ซากดกึ ดำ�บรรพ์ ไซโนเนทัส ลิสโทรซอรัส กลอสโซพเทรสิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แนวเทอื กเขาทวี่ าง พบ พบ บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี พบ/ไม่พบ พบ พบ ตวั ในแนวเดียวกนั กลมุ่ หนิ ที่คลา้ ยกัน พบ/ไมพ่ บ พบ พบ 153

154 บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ สรปุ ผลการท�ำ กิจกรรม จากหลักฐานซากดึกดำ�บรรพ์ของพืชและสัตว์ ทำ�ให้ทราบว่า ทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา แอนตารก์ ตกิ า ออสเตรเลยี และอนิ เดยี ซงึ่ ในปจั จบุ นั พน้ื ทต่ี า่ ง ๆ ดงั กลา่ วอยหู่ า่ งกนั มากและ มมี หาสมทุ รคน่ั อยนู่ นั้ เคยอยตู่ ดิ กนั มากอ่ นในอดตี เนอ่ื งจากโอกาสทพี่ ชื และสตั วด์ งั กลา่ วจะ อพยพข้ามถน่ิ ฐานระหวา่ งทวีปซงึ่ มหาสมทุ รขวางกนั้ น้ันเปน็ ไปไดย้ าก นอกจากนี้หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา ทำ�ให้ทราบว่าบางทวีป เช่น อเมรกิ าเหนอื ยโุ รป มแี นวเทอื กเขาวางตวั ในแนวเดยี วกัน และบางทวีป เช่น อเมริกาเหนอื อเมรกิ าใต้ ยโุ รป มกี ลมุ่ หนิ เดยี วกนั ทม่ี ชี ว่ งอายเุ ดยี วกนั จงึ เปน็ หลกั ฐานวา่ ทวปี นน้ั ๆ เคยอยู่ ติดกันมากอ่ น ค�ำ ถามทา้ ยกจิ กรรม จากกิจกรรมมที วีปใดบ้างทเ่ี คยอย่ตู ดิ กนั มาก่อน แนวค�ำ ตอบ ทวปี อเมรกิ าใต้ แอฟรกิ า แอนตารก์ ตกิ า ออสเตรเลยี และอนิ เดยี เคยอยู่ ตดิ กนั ใกลบ้ รเิ วณขวั้ โลกใต้ ทวปี อเมรกิ าเหนอื ทวปี ยโุ รป-เอเชยี และเกาะกรนี แลนด ์ เคยอย่ตู ดิ กันมาก่อน มหี ลกั ฐานใดบา้ งที่นำ�มาใชส้ นบั สนนุ ว่าทวปี เคยอยตู่ ิดกันมากอ่ น แนวคำ�ตอบ หลักฐานจากซากดึกดำ�บรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและ แนวเทือกเขา หลกั ฐานใดบา้ งทส่ี ามารถน�ำ มาใชร้ ะบชุ ว่ งเวลาทที่ วปี ตา่ ง ๆ เคยอยตู่ ดิ กนั มากอ่ น และ หลกั ฐานดังกล่าวนำ�มาใช้อธบิ ายไดว้ า่ อย่างไร แนวคำ�ตอบ กลุ่มหินในแนวเทือกเขาแอปพาเลเชียน ในทวีปอเมริกาเหนือ และ แนวเทือกเขาคาเลโดเนียน ในทวีปยุโรป มีช่วงอายุเดียวกันประมาณ 200 ล้านปี หลักฐานน้ีอธิบายได้ว่าประเทศและทวีปข้างต้นเคยอยู่ติดกันมาก่อนในช่วงเวลา ดังกล่าว และหลักฐานจากกลุ่มหินบริเวณทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีปยุโรป และเกาะกรีนแลนด์ พบว่ามีกลุ่มหินที่มีช่วงอายุระหว่าง 359-146 ลา้ นปี หลกั ฐานนอี้ ธบิ ายไดว้ า่ ทวปี ขา้ งตน้ เคยอยตู่ ดิ กนั มากอ่ นในชว่ งเวลา ดงั กลา่ ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 155 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรม และร่วมกันอภิปรายผลการทำ�กิจกรรม พร้อมตอบคำ�ถามท้ายกิจกรรม โดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบคำ�ถาม ดงั ด้านบน 5. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับหลักฐานจากการเคล่ือนท่ีของธารน้ำ�แข็งบรรพกาล เพื่อเชื่อมโยงว่าเป็น อกี หลกั ฐานหนึ่งทใี่ ช้สนับสนนุ แนวคดิ วา่ ทวปี เคยอยตู่ ดิ กนั มา จากนนั้ ครูน�ำ อภปิ รายร่วมกนั กอ่ น โดย รูปในหนังสือเรียนหน้า 121 และความรู้เพิ่มเติมเร่ือง การถูครูดของเศษหินตะกอนในธารนำ้�แข็ง เนอ่ื งจากการเคลอื่ นท่ขี องธารนำ้�แขง็ (ดาวน์โหลดจาก QR code ประจำ�บท) โดยมีแนวการอภิปราย ดงั ตัวอย่าง จากรูป 6.5 (ก) หน้า 121 แสดงการพบหลักฐานการเคลอ่ื นทขี่ องธารน้ำ�แขง็ บรรพกาลโดยบริเวณ สีขาวคือบริเวณที่คาดว่าเคยมีธารนำ้�แข็งปกคลุม และลูกศรสีดำ�แสดงทิศทางการเคล่ือนท่ีของ ธารน�้ำ แขง็ ซงึ่ นกั วทิ ยาศาสตรพ์ บรอ่ งรอยของธารน�้ำ แขง็ บรรพกาลเหลา่ นใี้ นทวปี อเมรกิ าใต้ แอฟรกิ า ประเทศอินเดีย ออสเตรเลีย และแอนตารก์ ตกิ า ร่องรอยทเ่ี ปน็ หลักฐาน คอื รอยครดู ถบู นพืน้ ทีเ่ กิด จากตะกอนและเศษหินต่าง ๆ ในธารนำ้�แข็งส่วนที่อยู่ติดกับพื้นครูดถูกับพื้นจนเป็นรอยบนพื้นท่ี ธารน้ำ�แข็งเคลือ่ นท่ีผา่ น นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังพบว่าธารน้ำ�แข็งบรรพกาลเคล่ือนท่ีกระจายออกจากทวีปแอฟริกา ไปสู่บริเวณอื่น ๆ ซ่ึงคล้ายกับการเคล่ือนท่ีของธารนำ้�แข็งในทวีปแอนตาร์กติกาในปัจจุบัน จึงเป็น สมมติฐานว่าทวีปดังกล่าวเคยอยู่ติดกันบริเวณขั้วโลกใต้และมีพืดน้ำ�แข็งปกคลุม ดังรูป 6.5 (ข) หน้า 122 6. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกบั องค์ความรรู้ ่วมกันเกยี่ วกบั แนวคิดของ อัลเฟรด เวเกเนอร์ และหลักฐานท่สี นบั สนนุ ตามประเดน็ ดังนี้ • ทฤษฎีทวีปเลื่อน (continental drift) ทเี่ สนอโดย อัลเฟรด เวเกเนอร์ กล่าวว่า ทวปี ท่พี บใน ปจั จบุ ันเคยอย่ตู ดิ กนั เปน็ แผน่ เดยี วมาก่อนในอดีตเรยี กว่า พันเจยี • หลกั ฐานของทฤษฎีทวปี เลอ่ื น ไดแ้ ก่ 1. รอยตอ่ บรเิ วณขอบทวีป 2. หลักฐานจากซากดึกดำ�บรรพ์ 3. ความคลา้ ยกันของกลมุ่ หินและแนวเทือกเขา 4. หลักฐานจากการเคลอื่ นทข่ี องธารนำ้�แขง็ บรรพกาล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

156 บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 7. ครูให้นักเรียนตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีทวีปเล่ือน และหลักฐานสนับสนุน โดยใช้ ค�ำ ถามในหนา้ 123 ดงั นี้ หากส�ำ รวจพบกลมุ่ หนิ ในเทอื กเขาหนงึ่ มชี ว่ งอายปุ ระมาณ 200 ลา้ นป ี เชน่ เดยี วกบั กลมุ่ หนิ ใน เทือกเขาแอปพาเลเชียน นักเรียนจะสามารถสรุปว่าเทือกเขาทั้งสองน้ันเคยอยู่ติดกันหรือไม่ เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ ไมส่ ามารถสรปุ ได้ การทจี่ ะสรปุ วา่ เทอื กเขาทง้ั สองนนั้ อยเู่ คยอยตู่ ดิ กนั มากอ่ นหรอื ไม่จะตอ้ งพจิ ารณาหลักฐานอนื่ ๆ ประกอบ เชน่ ชนิดของหิน การวางตัวของแนวเทือกเขา ว่า เหมือนกันหรือไม่ แนวทางการวัดและประเมินผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการ เคลอื่ นทข่ี องแผ่นธรณี 1. ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 6.1 และการตอบ ค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม P: 1. การจดั กระทำ�และสอ่ื ความหมายขอ้ มูล 2. การอภิปรายเพอื่ สรปุ องคค์ วามรู้ 2. การสือ่ สาร 3. แบบฝกึ หดั A: ความเชอ่ื มนั่ ตอ่ หลักฐาน 1. การออกแบบการบนั ทกึ ผลในการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม 6.1 2. การนำ�เสนอผลการทำ�กิจกรรม 6.1 แนวความคิด และการเลือกใช้วัสดุใน การสร้างแบบจำ�ลอง การอธิบายการเคล่ือนที่ของทวีปและแผ่น ธรณีโดยมหี ลกั ฐานสนบั สนุน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 157 6.2 แนวคดิ ทฤษฎกี ารแผข่ ยายพืน้ มหาสมทุ รและหลักฐานสนบั สนุน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายแนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกับการเคลือ่ นทีข่ องแผน่ ธรณี 2. อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีวทิ ยาทส่ี นบั สนุนการเคล่อื นท่ีของแผ่นธรณี ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรยี นวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 2. สสวท. Learning space http://www.scimath.org แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นเรอ่ื งการแผข่ ยายของพน้ื มหาสมทุ รโดยใชค้ �ำ ถามตวั อยา่ ง ดงั น้ี จากท่ีนักเรียนได้ศึกษาหลักฐานต่าง ๆ ทำ�ให้ทราบว่าทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันมาก่อน แลว้ กระบวนการใดท�ำ ใหท้ วปี อยใู่ นต�ำ แหนง่ ดงั ปจั จบุ นั แนวค�ำ ตอบ เกดิ จากการขยายตวั ของมหาสมทุ ร หรอื นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง หลกั ฐานตา่ ง ๆ ทน่ี กั เรยี นไดศ้ กึ ษาจากกจิ กรรม 6.1 เปน็ หลกั ฐานทพ่ี บบนทวปี นกั เรยี นคดิ วา่ ในมหาสมทุ รจะมหี ลกั ฐานใดบา้ ง ทราบไดอ้ ยา่ งไร แ นวค�ำ ตอบ นกั เรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง 2. ครูให้นักเรียนพิจารณารูป1 รอยแยกกลางมหาสมุทรประกอบกับรูป 6.6 ในหนังสือเรียน หน้า 124 และรูป 2 อายุของหินบนบริเวณพ้นื มหาสมุทร ซ่งึ แสดงหลักฐานของทฤษฎีการแผ่ขยาย พน้ื สมทุ ร ดงั น้ี - พบแมกมาแทรกตวั ขน้ึ มาตามรอยแยกกลางมหาสมทุ ร ดงั รปู 1 - เม่ือเจาะสำ�รวจหินบริเวณพ้ืนมหาสมุทร และเม่ือนำ�มาตรวจสอบชนิด และวิเคราะห์หาอายุ ไดข้ อ้ มลู ดงั รปู 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

158 บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ รูป 1 รอยแยกกลางมหาสมุทร รปู 2 อายขุ องหนิ บนบรเิ วณพน้ื มหาสมทุ ร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี 159 จากน้นั ครแู ละนกั เรียนร่วมกันอภปิ รายโดยใชค้ �ำ ถามดงั ตวั อยา่ ง ดังนี้ จากบทเรียนเร่ืองโครงสร้างโลก หินท่ีพบบนพ้ืนมหาสมุทรเป็นหินชนิดใด และจากรูป 1 ท�ำ ให้ทราบข้อมลู ใด แนวคำ�ตอบ เป็นหินบะซอลต์ และจากรูป 1 ทำ�ให้ทราบว่าหินบะซอลต์กลางมหาสมุทรมี รอยแยก และมีแมกมาแทรกดันขึน้ มาท�ำ ให้หินเดมิ ถกู ดนั ออกห่างจากรอยแยก ขอ้ มลู จากรปู 2 อายขุ องหนิ แต่ละบริเวณเหมือนหรอื ต่างกนั อยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ขอ้ มลู จากรปู ที่ 2 ท�ำ ใหท้ ราบวา่ อายหุ นิ ทอ่ี ยไู่ กลรอยแยกออกไปมอี ายมุ ากกวา่ หนิ ที่อยู่ใกล้รอยแยก ถ้าพิจารณาทั้งสองฝ่ังของรอยแยกจะพบว่าอายุของหินบะซอลต์ท้ังสองฝั่ง สมมาตรกัน หนิ บรเิ วณใดบา้ งท่มี อี ายเุ ทา่ กนั แนวค�ำ ตอบ หินที่แทรกขึ้นมาพร้อมกันท้ังซ้ายและขวาของรอยแยก นักวิทยาศาสตร์ตั้งสมมติฐานว่า “พ้ืนมหาสมุทรมีการแผ่ขยายตัว” นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร แนวค�ำ ตอบ นกั เรยี นอาจเห็นด้วยและไมเ่ หน็ ดว้ ย ครูควรกระต้นุ ใหน้ ักเรียนบอกเหตผุ ล 3. ครูให้นักเรยี นสืบคน้ เพ่ิมเติมเก่ยี วกับหลักฐานอน่ื ๆ ทีส่ นบั สนนุ ว่าพน้ื มหาสมุทรมีการขยายตัว (หรือให้อ่านความรู้เพ่ิมเติมเรื่องสันเขากลางสมุทร และภาวะแม่เหล็กบรรพกาลในหนังสือเรียนหน้า 123-124 โดยดาวน์โหลดจาก QR code ประจำ�บท) จากน้ันสรุปบทเรียนซ่ึงมีแนวทาง ในการสรุป ดงั นี้ พื้นมหาสมุทรเป็นหินบะซอลต์เกอื บทัง้ หมด และหินบะซอลต์ท่อี ยู่ไกลจากรอยแยกบรเิ วณสนั เขา กลางสมุทรมีอายุมากกว่าหินบะซอลต์ที่อยู่ใกล้รอยแยก โดยมีรูปแบบสมมาตรตามแนวสันเขา กลางสมุทร และพบว่าหินบะซอลต์ท่ีมีอายุเดียวกันทั้งสองข้างของรอยแยก มีทิศทาง สนามแมเ่ หลก็ โลกในแนวเดยี วกนั ดงั นน้ั จากหลกั ฐานทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ท�ำ ใหส้ ามารถสรปุ ไดเ้ ปน็ ทฤษฎี การแผ่ขยายพน้ื สมุทร (sea-floor spreading) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

160 บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 4. ครูให้นักเรียนตอบคำ�ถามเก่ียวกับทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนมหาสมุทร โดยใช้คำ�ถามในหนังสือ เรียนหนา้ 125 ดงั นี้ นักเรียนคดิ วา่ เม่ือพน้ื มหาสมทุ รมีการแผข่ ยายตวั จะเกิดอะไรข้นึ กับเปลอื กโลก แนวค�ำ ตอบ นกั เรยี นอธิบายกระบวนการตามทฤษฎกี ารแผ่ขยายพืน้ มหาสมทุ ร แนวทางการวัดและประเมนิ ผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: หลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนุน 1. การตอบค�ำ ถาม การเคล่ือนทข่ี องแผ่นธรณี 2. การอภิปรายเพือ่ สรุปองคค์ วามรู้ 3. แบบฝึกหดั P: การส่อื สารสารสนเทศและการรูเ้ ท่า 1. การร่วมอภิปรายและการตอบค�ำ ถาม ทนั สอ่ื A: 1. การรว่ มอภิปรายและการตอบค�ำ ถาม 1. ความใจกว้าง 2. การอธบิ ายการแนวคดิ ของทฤษฎกี ารแผข่ ยาย 2. ความเช่อื มั่นตอ่ หลกั ฐาน พืน้ มหาสมุทรโดยมีหลกั ฐานสนับสนุน 6.3. การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ อธิบายสาเหตุ และกระบวนการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี และระบุผลท่ีเกิดจากการเคลื่อนท่ีของ แผน่ ธรณี ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 2. สสวท. Learning space http://www.scimath.org สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 161 แนวการจดั การเรียนรู้ 1. ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นเรอ่ื งการแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณโี ดยตง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื อภปิ รายดงั น้ี จากทฤษฎที วปี เลอื่ น และทฤษฎกี ารแผข่ ยายพนื้ สมทุ รสามารถน�ำ มาอธบิ ายสาเหตกุ ารเคลอ่ื นท่ี ของแผน่ ธรณไี ด้หรือไม่ อย่างไร แนวค�ำ ตอบ ไมไ่ ดเ้ นอื่ งจากยงั ไม่สามารถอธิบายกลไกที่ท�ำ ให้ทวปี เกดิ การเคล่ือนท่ไี ด้ 2. ครทู บทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งค�ำ วา่ เปลอื กโลก ธรณภี าคและ แผน่ ธรณี ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 162 เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดท้ ราบวา่ ในบทเรยี นตอ่ ไปทจ่ี ะกลา่ วถงึ เรอ่ื งการ เคลอ่ื นทน่ี น้ั คอื การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณซี ง่ึ กค็ อื ธรณภี าคทแ่ี ตกออกเปน็ แผน่ ๆ นน่ั เอง และทวปี ท่ี กลา่ วถงึ กอ่ นหนา้ นเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของแผน่ ธรณี 3. ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ และปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 6.2 ตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 127 กจิ กรรม 6.2 การเคลื่อนทขี่ องแผ่นธรณี จุดประสงค์กจิ กรรม อธบิ ายสาเหตุทท่ี ำ�ใหแ้ ผ่นธรณีเคลอื่ นทโ่ี ดยใชแ้ บบจ�ำ ลอง เวลา 1 ชวั่ โมง วัสด-ุ อปุ กรณ์ 1. น�ำ้ มนั พชื 700 มลิ ลลิ ติ ร 2. แผน่ วัสดุเบา ลอยบนน�ำ้ มันได้ และทนความร้อน เชน่ แผน่ โฟมบาง ไม้บลั ซา ขนาด กว้าง 3 เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร 2 แผ่น 3. บกี เกอร์ขนาด 1,000 มลิ ลลิ ิตร จำ�นวน 1 ใบ 4. ผงวัสดุที่แขวนลอยอยไู่ ดใ้ นน้�ำ มัน เชน่ ผงพริกปน่ ข้ีเล่ือย 5. ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชุด 6. แท่งแกว้ คนสาร 1 แท่ง 7. ช้อน 1 คนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

162 บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คู่มือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ การเตรยี มตวั ล่วงหน้า ตดั แผน่ วสั ดเุ บาจ�ำ นวน 2 แผ่น ตามขนาดท่ีกำ�หนด โดยอาจตัดเป็นรูปร่างทวีปต่าง ๆ ข้อเสนอแนะส�ำ หรับครู 1. หากไม่มบี กี เกอร์ขนาดใหญ่สามารถใชช้ ามแก้วทนไฟส�ำ หรับท�ำ อาหารแทนได้ 2. ควรก�ำ ชบั ใหน้ กั เรยี นระมดั ระวงั ในการจดุ ไฟ ไมส่ มั ผสั หรอื เขา้ ใกลแ้ หลง่ ก�ำ เนดิ ความรอ้ น และภาชนะท่ยี งั มีความร้อนอยู่ 3. เพ่ือประหยัดทรัพยากรอาจทดลองโดยใช้ชุดสาธิตเพียง 1-2 ชุด และให้นักเรียนแต่ละ กลมุ่ ผลัดกันออกมาสงั เกตผล 4. ครูอภิปรายร่วมกบั นกั เรียนเกยี่ วกบั เหตผุ ลในการใชว้ ัสดุตา่ ง ๆ เช่น การใช้น�ำ้ มนั พืชซ่งึ เปน็ ของเหลวแทนเนอ้ื โลกที่เป็นของแขง็ ท่ีมีสภาพพลาสตกิ เนอ่ื งจากเมอ่ื นำ�้ มันพืชได้รบั ความรอ้ นจะเปล่ียนแปลงได้เร็วและอนั ตรายน้อยกวา่ การใชพ้ าราฟนิ แผ่นวัสดุเบาแทน แผน่ ธรณี และความร้อนจากตะเกียงแอลกอฮอลแ์ ทนแหล่งกำ�เนดิ ความร้อนภายในโลก วิธกี ารทำ�กจิ กรรม 1. เทนำ�้ มนั พชื ลงในบกี เกอร์ และน�ำ บีกเกอร์ตัง้ บนชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ 2. ใช้ช้อนตกั ผงวสั ดใุ ส่ลงตรงกลางบกี เกอร์ ใช้แท่งแกว้ กดใหผ้ งวัสดุแขวนลอยอยใู่ น ช้นั น้�ำ มนั พชื 3. วางแผ่นโฟมที่ตัดเป็นรูปร่างของแผ่นธรณี 2 แผ่น โดยวางให้ชิดกันและอยู่ตรงกลาง บีกเกอร์ 4. สงั เกตการเคล่ือนทข่ี องผงวสั ดแุ ละแผน่ โฟมก่อนจดุ ไฟ 5. จดุ ไฟท่ตี ะเกยี งแอลกอฮอล์ 6. สงั เกตและเปรียบเทยี บการเคล่ือนท่ีของผงวัสดุและแผน่ โฟมในขอ้ 4 และบันทึกผล การสังเกต โดยวาดภาพและเขียนบรรยาย หมายเหต:ุ การใชน้ �ำ้ มนั แทนของแขง็ ทมี่ สี ภาพพลาสตกิ เนอื่ งจากเมอ่ื ไดร้ บั ความรอ้ นน�้ำ มนั จะเปล่ียนแปลงไดเ้ ร็วจงึ สะดวกต่อการสังเกต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 163 ตวั อยา่ งผลการทำ�กิจกรรม สรุปผลการทำ�กิจกรรม จากกิจกรรมเมื่อน้ำ�มันได้รับความร้อนนำ้�มันด้านล่างจะมีอุณหภูมิสูงเกิดการขยายตัว และเคลื่อนที่ขึ้นสู่ด้านบน และเมื่อเคล่ือนที่ข้ึนใกล้ผิวหน้าของนำ้�มัน น้ำ�มันจะถ่ายโอน ความร้อนให้กับอากาศ ทำ�ให้มีอุณหภูมิตำ่�ลงจึงไหลวนลงสู่ด้านล่าง โดยสังเกตได้จากการ เคล่ือนท่ีของผงวัสดุท่ีแขวนลอยในนำ้�มัน ลักษณะการถ่ายเทความร้อนดังกล่าวเรียกว่า การพาความรอ้ น และผลจากการเคลอ่ื นทขี่ องน�้ำ มนั ท�ำ ใหแ้ ผน่ โฟมทว่ี างอยดู่ า้ นบนเคลอ่ื นท่ี ตามทิศทางของนำ้�มันที่อยู่ด้านล่าง เช่นเดียวกับการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีที่วางตัวอยู่บน เนื้อโลก ค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม 1. เมื่อให้ความร้อนกับน้ำ�มัน นำ้�มันและแผ่นโฟมมีการเปล่ียนแปลงอย่างไร สังเกตได้จาก สิง่ ใด แนวคำ�ตอบ นำ้�มันมีการเคล่ือนที่จากด้านล่างข้ึนสู่ด้านบนและจมกลับลงมาด้านล่าง หมุนวนเป็นวงจรสังเกตได้จากวัสดุท่ีลอยอยู่ในน้ำ�มัน ส่วนแผ่นโฟมจะมีการเคลื่อนที่ แยกออกจากกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

164 บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 2. นำ้�มันพืช แผ่นโฟม และความรอ้ นท่ีใช้ในกิจกรรมเปรยี บเทยี บได้กบั อะไรในธรรมชาติ แนวค�ำ ตอบ นำ�้ มันพชื เทยี บได้กบั เนื้อโลก แผน่ โฟมเทียบไดก้ บั แผน่ ธรณี ความร้อนจาก ตะเกียงแอลกอฮอล์เทียบกับความร้อนจากภายในโลก 3. กิจกรรมนีเ้ ปรียบกับการเคลอ่ื นท่ขี องแผน่ ธรณีไดอ้ ยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ แผน่ โฟมด้านบนเคลอื่ นที่ออกจากกันเนื่องจากการหมนุ วนของน�ำ้ มัน ด้านล่าง เชน่ เดยี วกับแผ่นธรณีทเี่ คล่ือนทไ่ี ด้เนอ่ื งจากการหมุนวนของเนื้อโลกทเ่ี กิดจาก การพาความรอ้ นเชน่ เดียวกบั แบบจ�ำ ลอง 4. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอผลการท�ำ กจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายผลการท�ำ กจิ กรรมพรอ้ ม ตอบค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม โดยมีแนวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบค�ำ ถามดงั แสดงด้านบน 5. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีว่าเป็นทฤษฎีที่ใช้หลักฐานแนวคิด แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ต่ า ง ๆ ตั้ ง แ ต่ ท ฤ ษ ฎี ท วี ป เ ล่ื อ น ท ฤ ษ ฎี ก า ร แ ผ่ ข ย า ย พื้ น ส มุ ท ร แ ล ะ แ น ว คิ ด วงจรการพาความรอ้ น น�ำ มาอธบิ ายการเคลอื่ นทขี่ องแผน่ ธรณี จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดย ใชค้ �ำ ถามดังตวั อย่าง เมื่อแผ่นธรณีเกิดการเคล่ือนท่ีนอกจากจะทำ�ให้ตำ�แหน่งของแผ่นธรณีเปล่ียนแปลงไปแล้วยัง ส่งผลใหเ้ กดิ ส่ิงใดอีกบา้ ง แนวค�ำ ตอบ สง่ ผลใหเ้ กดิ ธรณสี ณั ฐาน โครงสรา้ งทางธรณี และธรณพี บิ ตั ภิ ยั ตา่ ง ๆ หรอื นกั เรยี น อาจตอบตามความเข้าใจของตนเองเชน่ เกดิ การสั่นของแผ่นดนิ หรือมแี ผ่นดนิ ไหวเกดิ ข้นึ 6. ครูน�ำ อภปิ รายและสรุปบทเรยี นร่วมกนั โดยใหไ้ ดข้ ้อสรุปดงั นี้ กระบวนการทที่ �ำ ใหแ้ ผน่ ธรณเี คลอ่ื นที่ เนอ่ื งจากความรอ้ นภายในโลกท�ำ ใหห้ นิ ในฐานธรณภี าค หลอมตวั เปน็ แมกมาแทรกดนั ขนึ้ มาบนผวิ โลกตามแนวรอยแตก เมอื่ แมกมาอณุ หภมู ลิ ดต�่ำ ลงจะเคลอื่ น ตัวหา่ งออกจากแนวรอยแตกเคลือ่ นที่กลับลงส่ดู ้านลา่ ง และได้รับความรอ้ นอกี ครง้ั จึงเคล่อื นท่หี มุน วนกันเป็นวงจร ทำ�ให้แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน เรียกว่า วงจรการพาความร้อน (convection cell) ท�ำ ใหแ้ ผน่ ธรณที ว่ี างตวั อยบู่ นฐานธรณภี าคเคลอื่ นทไ่ี ด้ นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดร้ วบรวม หลกั ฐาน แนวคดิ และทฤษฎตี า่ ง ๆ ไดแ้ ก่ แนวคดิ วงจรการพาความรอ้ น ทฤษฎที วปี เลอ่ื น และทฤษฎี การแผ่ขยายพ้ืนสมุทร นำ�มาสรุปเป็นทฤษฎีเรียกว่า ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี (plate tectonics) ซง่ึ อธบิ ายการเคลอื่ นทข่ี องแผน่ ธรณใี นรปู แบบตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง ทางธรณีวิทยา โดยเฉพาะบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี เช่น แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด ธรณีสัณฐานต่าง ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 165 แนวทางการวัดและประเมินผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: อธิบายสาเหตุ และกระบวนการเคล่ือนท่ี 1. ผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 6.2 และการตอบ ของแผ่นธรณี ค�ำ ถามท้ายกิจกรรม P: 2. การอภิปรายเพอื่ สรปุ องคค์ วามรู้ 1. การตีความและลงขอ้ สรุป 3. แบบฝกึ หดั 2. การส่อื สารสารสนเทศและการรูเ้ ท่าทันสอ่ื A: ความใจกว้าง 1. การบนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม 6.2 2. การนำ�เสนอผลการทำ�กจิ กรรม 6.2 การรว่ มอภปิ รายและการตอบค�ำ ถาม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

166 บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ 6.4 ธ        รณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณีที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของ แผน่ ธรณี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธบิ ายรปู แบบการเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณที ส่ี มั พนั ธก์ บั การเกดิ ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณี แบบต่าง ๆ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียนวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 2. สสวท. Learning space http://www.scimath.org แนวการจดั การเรยี นรู้ 1. ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นพจิ ารณารปู แผน่ ธรณแี ละทศิ ทางการเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี (ดาวนโ์ หลดจาก QR code ประจ�ำ บท) จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถามดงั ตวั อยา่ ง รูป แผ่นธรณขี องโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 167 ตำ�แหน่งของทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกาในปจั จบุ ันเปน็ ผลมาจากการเคล่ือนที่แยกออก จากกันของแผ่นธรณี นักเรียนคิดว่าอีกฝ่ังหน่ึงของแผ่นธรณีที่เคล่ือนท่ีแยกจากกันจะมีสิ่งใด เกดิ ขน้ึ แนวค�ำ ตอบ อกี ดา้ นหนงึ่ ของแผน่ ธรณอี าจชนหรอื เบยี ดกบั แผน่ ธรณอี กี แผน่ หนง่ึ หรอื นกั เรยี น ตอบตามความคดิ ของตนเอง จากรปู แผ่นธรณตี ่าง ๆ ของโลกเคลอ่ื นทีไ่ ด้ก่ีรูปแบบ สงั เกตจากสิง่ ใด แนวคำ�ตอบ 3 รูปแบบคือ เคลื่อนท่ีเข้าหากัน แยกออกจากกัน และเคล่ือนที่ผ่านกัน ในแนวราบ โดยสังเกตจากลูกศรแสดงทิศทางการเคล่ือนที่ นักเรียนคิดว่าเม่ือแผ่นธรณีเคล่ือนที่จะส่งผลให้เกิดส่ิงใดบ้าง และผลเหล่านั้นจะเกิดท่ี บริเวณใดบนแผ่นธรณี แนวค�ำ ตอบ เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณี และธรณีพิบัติภัยต่าง ๆ หรือนักเรียนตอบ ตามความเขา้ ใจของตนเอง 2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มเพื่อศึกษาถึงผลที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีจากการปฏิบัติ กจิ กรรม 6.3 ตามหนังสอื เรยี นหน้า 130 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

168 บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ กิจกรรม 6.3 ท่องโลกกว้างตามหาธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี จดุ ประสงค์กิจกรรม 1. ระบุลักษณะธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณี 2. เชอ่ื มโยงความสมั พนั ธข์ องธรณสี ณั ฐาน และโครงสรา้ งทางธรณี กบั การเคลอ่ื นทร่ี ปู แบบ ตา่ ง ๆ ของแผ่นธรณี เวลา 1 ชว่ั โมง วัสดุ-อุปกรณ์ 1. แผนทภี่ มู ปิ ระเทศ 2. รปู แสดงทิศทางการเคลอ่ื นท่ขี องแผ่นธรณี 3. เอกสารความรู้ธรณสี ณั ฐาน และโครงสรา้ งทางธรณี หมายเหต:ุ ข้อมูล 1-3 ดาวน์โหลดจาก QR code กิจกรรมในหนงั สอื เรียนหนา้ 130 การเตรียมตัวล่วงหนา้ 1. ครูอาจเตรียมหรือให้นักเรียน ดาวน์โหลดโปรแกรม google earth ลงในคอมพิวเตอร์ หรือสมารท์ โฟน เพือ่ ใชใ้ นการส�ำ รวจธรณีสณั ฐานแบบต่าง 2. ดาวน์โหลดภาพธรณีสณั ฐานและโครงสร้างทางธรณจี าก QR code 3. ให้นกั เรยี นดาวน์โหลดแผนทภ่ี ูมปิ ระเทศและรปู แสดงทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี ขอ้ เสนอแนะส�ำ หรับครู ครูควรทบทวนเก่ียวกับการเกิดภูมิประเทศรูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังตำ�แหน่งของประเทศ ทวีปต่างๆ บนแผนที่ภูมิประเทศให้กับนกั เรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี 169 สถานการณ์ “นักธรณีวทิ ยาไดส้ �ำ รวจพบลกั ษณะธรณีสณั ฐาน และโครงสรา้ งทางธรณแี บบต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี สนั เขากลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ หมู่เกาะภเู ขาไฟรูปโค้ง ประเทศญี่ปนุ่ หุบเขาทรุดท่ีทะเลแดง ร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา แนวรอยเล่ือนซานแอนเดรียส แนวเทอื กเขาหิมาลัย แนวเทอื กเขาแอนดสี ” วิธีการทำ�กจิ กรรม 1. ศึกษาลักษณะของธรณีสัณฐาน และโครงสร้างทางธรณีจากเอกสารความรู้ท่ีกำ�หนดให้ และระบบุ ริเวณทีพ่ บลงบนแผนท่ภี ูมปิ ระเทศ 2. เชื่อมโยงข้อมูลบริเวณที่พบธรณีสัญฐานและโครงสร้างทางธรณีกับแนวรอยต่อและ ทิศทางการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณจี ากรปู ทีก่ ำ�หนดให้ 3. ออกแบบและน�ำ เสนอแนวคดิ เพอ่ื อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเกดิ ธรณสี ณั ฐานและ โครงสร้างทางธรณีที่กำ�หนดให้กับทิศทางการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณีในบริเวณ แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณี 4. น�ำ เสนอและอภิปรายผลการท�ำ กจิ กรรม ตวั อย่างผลการท�ำ กิจกรรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

170 บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คูม่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ธรณสี ณั ฐาน/โครงสร้าง ลักษณะ ตำ�แหนง่ ทิศทางการ ทางธรณี บนแผ่นธรณี เคล่ือนที่ ของแผ่นธรณี สันเขากลางมหาสมุทร สันเขาท่ีมีฐานกว้าง รอยต่อระหว่างแผ่น เคลื่อนที่ออก แอตแลนตกิ ส่ ว น ย อ ด มี ลั ก ษ ณ ะ อเมริกาใต้ และแผ่น จากกนั ของหุบเขาทรุด มีรอย แอฟริกาหรือรอยต่อ แตกและรอยเล่ือนตัด ระหว่างแผ่นยูเรเซีย ข ว า ง กั บ ร อ ย แ ย ก แ ล ะ แ ผ่ น อ เ ม ริ ก า จำ�นวนมาก เหนอื หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง เป็นหมู่เกาะแนวยาว รอยต่อระหว่างแผ่น เคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หากัน ประเทศญป่ี ุ่น และมีภูเขาไฟจำ�นวน ยูเรเซีย แผ่นอเมริกา มากบนเกาะ เหนอื แผน่ ฟลิ ิปปินส์ หุบเขาทรุดท่ที ะเลแดง มีลักษณะการแยกตัว รอยต่อระหว่างแผ่น เคล่ือนท่ีออกจาก และการทรุดตัวของ แ อ ฟ ริ ก า แ ล ะ แ ผ่ น กัน เปลอื กโลก อาระเบียน รอ่ งลกึ กน้ สมทุ รมาเรยี นา ร่องลึกในมหาสมุทรที่ รอยต่อระหว่างแผ่น เคล่ือนทเ่ี ข้าหากนั มีความลกึ มากท่ีสุด แ ป ซิ ฟิ ก แ ล ะ แ ผ่ น ฟลิ ิปปนิ ส์ แนวรอยเลอื่ น แนวรอยเลื่อนในแนว รอยต่อระหว่างแผ่น เ ค ล่ื อ น ท่ี ผ่ า น กั น ซานแอนเดรียส ระดับขนาดใหญ่ แ ป ซิ ฟิ ก แ ล ะ แ ผ่ น ในแนวราบ อเมรกิ าเหนอื แนวเทอื กเขาหมิ าลยั เทอื กเขาสงู ร อ ย ต่ อ ร ะ ห ว่ า ง เคลือ่ นท่ีเขา้ หากัน แผน่ ยเู รเซยี และแผน่ อนิ เดีย-ออสเตรเลีย แนวเทอื กเขาแอนดีส เทอื กเขาสงู รอยต่อระหว่างแผ่น เคลือ่ นทเ่ี ขา้ หากนั น า ส ค า แ ล ะ แ ผ่ น อเมรกิ าใต้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี 171 สรปุ ผลการท�ำ กจิ กรรม ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ งทางธรณแี บบตา่ ง ๆ เกดิ ขน้ึ ในบรเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที ่ี มคี วามสมั พนั ธก์ บั การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณี โดย แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณมี ี 3 รปู แบบ คอื 1. แนวแผ่นธรณีแยกตัว (divergent plate boundary) 2. แนวแผ่นธรณีเคลื่อนที่หากัน (convergent plate boundary) 3. แนวแผ่นธรณีเคล่ือนผ่านกันในแนวราบ (transform plate boundary) โดยแต่ละรูปแบบส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐานแตกต่างกัน เช่น สนั เขากลางสมทุ ร หมเู่ กาะภเู ขาไฟรปู โคง้ หบุ เขาทรดุ รอ่ งลกึ กน้ สมทุ ร แนวรอยเลอ่ื นขนาดใหญ่ แนวเทือกเขาสูง รวมทั้งการเกิดปรากฏการณ์ทางธรณีท่ีสำ�คัญ เช่น แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สนึ ามิ คำ�ถามทา้ ยกิจกรรม 1. จากกิจกรรมถ้าจำ�แนกแนวรอยต่อของแผ่นธรณีตามลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี แลว้ แนวรอยต่อของแผน่ ธรณมี กี ีร่ ปู แบบ อยา่ งไรบ้าง แนวค�ำ ตอบ แนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณมี ี 3 แบบ จากแนวลกู ศรแสดงทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ี โดยมแี นวรอยตอ่ แผน่ ธรณเี คลอื่ นทแี่ ยกจากกนั แนวรอยตอ่ แผน่ ธรณเี คลอื่ นทเ่ี ขา้ หากนั และแนวรอยต่อแผน่ ธรณเี คลื่อนทผี่ า่ นกันธรณีเคลอ่ื นทผ่ี า่ นกนั โดยแต่ละรปู แบบส่งผล ใหเ้ กดิ ธรณีสณั ฐานแตกต่างกนั 2. การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีแต่ละรูปแบบทำ�ให้เกิดธรณีสัณฐาน หรือโครงสร้าง ทางธรณแี บบใดบา้ ง แนวค�ำ ตอบ 1. ก ารเคล่ือนที่ออกจากกันของแผ่นธรณีทำ�ให้เกิด สันเขากลางมหาสมุทร เช่น แอตแลนติก หุบเขาทรุดที่ทะเลแดง 2. การเคลื่อนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีทำ�ให้เกิด หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง ประเทศ ญี่ปุ่น รอ่ งลึกกน้ สมุทรมาเรียนา แนวเทือกเขาหมิ าลยั แนวเทอื กเขาแอนดีส 3. การเคลื่อนที่ผ่านกันในแนวระนาบของแผ่นธรณีทำ�ให้เกิด แนวรอยเล่ือน ซานแอนเดรียส สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

172 บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี ค่มู ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 3. ครูให้นักเรียนนำ�เสนอผลการวิเคราะห์ของตนหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 3 นาที โดยควรนำ�เสนอ ข้อมูลดังน้ีธรณีสัณฐานท้ัง 7 แห่ง และร่วมกันอภิปรายผลการทำ�กิจกรรม พร้อมตอบคำ�ถามท้าย กจิ กรรม โดยมแี นวทางการอภิปรายและแนวทางการตอบคำ�ถามดงั แสดงดา้ นบน 4. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแนวรอยต่อของแผ่นธรณีท่ีสัมพันธ์กับรูปแบบ การเคล่อื นทขี่ องแผน่ ธรณี และผลทเ่ี กิดขึน้ จากการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณี โดยใช้รูปแนวรอยต่อของ แผ่นธรณี 3 รูปแบบ และธรณสี ณั ฐาน โครงสรา้ งทางธรณที ส่ี ัมพันธ์กับแนวรอยต่อตามหนงั สอื เรียน หนา้ 131-133 5. ครนู �ำ อภปิ รายเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกบั ผลอนื่ ๆ ทเ่ี กดิ จากการเคลอื่ นทข่ี องแผน่ ธรณี โดยใชค้ �ำ ถามดงั นี้ การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีทั้ง 3 รูปแบบ นอกจากจะทำ�ให้เกิดธรณีสัณฐานและโครงสร้างทางธรณี แบบต่าง ๆ ยังทำ�ใหเ้ กิดสง่ิ ใดอีกบ้าง แนวค�ำ ตอบ การเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีท้ัง 3 รูปแบบ นอกจากจะทำ�ให้เกิดธรณีสัณฐานและ โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ ตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณีแล้ว ยังทำ�ให้เกิดการเปล่ียน ลักษณะของหิน เกิดเป็นโครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ อีก เช่น รอยคดโค้งหรือช้ันหินคดโค้ง รอยเล่ือน ซ่ึงเกิดขึ้นได้ท้ังบริเวณท่ีเป็นแนวรอยต่อของแผ่นธรณี แต่ละบริเวณภายในแผ่นธรณีที่ ผลกระทบของแรงส่งไปถึง และยังทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์ทางธรณีท่ีสำ�คัญ คือ แผ่นดินไหว ภเู ขาไฟระเบิด และสนึ ามิ แนวทางการวัดและประเมินผล KPA แนวทางการวดั และประเมนิ ผล K: รปู แบบ และผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเคลอ่ื นทข่ี อง 1. ผลการปฏิบัติกิจกรรม 6.3 และ แผ่นธรณี การตอบคำ�ถามทา้ ยกิจกรรม P: 2. การอภปิ รายเพอื่ สรปุ องคค์ วามรู้ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซ และ 3. แบบฝกึ หดั สเปซกบั เวลา 1. การบันทกึ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรม 6.3 2. การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทนั สือ่ 2. การนำ�เสนอผลการท�ำ กิจกรรม 6.3 A: ความใจกว้าง การร่วมอภปิ รายและการตอบค�ำ ถาม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี 173 ความรเู้ พม่ิ เติม การเปลี่ยนลกั ษณะของหนิ การเคลอ่ื นทข่ี องแผน่ ธรณที งั้ 3 รปู แบบ นอกจากจะท�ำ ใหเ้ กดิ ธรณสี ณั ฐานและโครงสรา้ ง ทางธรณแี บบตา่ ง ๆ ตรงบรเิ วณแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณแี ลว้ ยงั ท�ำ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นลกั ษณะ ของหิน เกดิ เปน็ โครงสรา้ งทางธรณแี บบตา่ ง ๆ อกี เช่น รอยคดโค้งหรือชัน้ หนิ คดโคง้ (fold) รอยเลื่อน (fault) ซึ่งเกิดข้ึนได้ท้ังท่ีบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี และบริเวณภายใน แผ่นธรณีท่ีผลกระทบของแรงส่งไปถึง กระบวนการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี ทำ�ให้เกิดแรง ตา่ ง ๆ กระท�ำ ตอ่ หนิ ในเปลอื กโลก ส่งผลใหเ้ กิดความเคน้ ในหิน ซ่ึงความเคน้ น้จี ะกอ่ ใหเ้ กิด การเปลี่ยนแปลงรูปร่าง และ/หรือ ปริมาตรของหิน และทำ�ให้หินอยู่ในภาวะความเครียด (strain condition) โดยปกติแล้วความเค้นที่กระทำ�ต่อหินจะไม่เท่ากันทุกทิศทาง และ สามารถแยกความเคน้ ได้เป็น 3 ชนดิ ดงั รปู 1 คือ ความเคน้ ดงึ (tensional stress) • ความเค้นบีบอัด (compressional stress) •• ความเค้นเฉือน (shear stress) รปู 1 ความเค้นทั้ง 3 ชนดิ คอื (ก) ความเคน้ ดงึ (ข) ความเค้นบีบอดั (ค) ความเคน้ เฉือน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

174 บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ความเค้นท่ีกระทำ�ต่อหินทำ�ให้หินเปลี่ยนลักษณะได้แตกต่างกัน ซ่ึงการเปล่ียนแปลง ลักษณะของหินข้ึนอยู่กับชนิดของความเค้นที่มากระทำ� อุณหภูมิ ระยะเวลา และอัตรา ของความเค้นท่มี ากระท�ำ รวมถึงสมบตั ิของหนิ เช่น ในกรณีทีค่ วามเค้นกระทำ�ตอ่ ชัน้ หินชนดิ หน่ึงทอ่ี ยใู่ ต้ผวิ โลกในระดับลึกทีม่ ีอณุ หภูมแิ ละความดันสูง หนิ จะมีสมบัตคิ ลา้ ยดินน้�ำ มันหรอื มสี ภาพพลาสตกิ ชนั้ หนิ มกี ารเปลย่ี นลกั ษณะเปน็ ชนั้ หนิ คดโคง้ แตใ่ นขณะทหี่ นิ ชนดิ เดยี วกนั ใกล้ผิวโลกมีสมบัติแข็งเกร็งและเปราะคล้ายสมบัติของเวเฟอร์ ชั้นหินจะเกิดรอยแตกและ รอยเล่ือน รอยเลื่อน (fault) เป็นโครงสร้างทางธรณีท่ีเกิดจากชั้นหินที่สมบัติแข็งเกร็งและเปราะถูก ความเค้นมากระทำ�จนแตกและเคลื่อนที่ตามระนาบรอยแตก ซึ่งสามารถจำ�แนกรอยเล่ือน ออกได้เป็น 3 ประเภทหลกั ตามลกั ษณะความเคน้ ทีม่ ากระท�ำ ดังรปู 2 คือ รูป 2 รอยเล่อื น 3 ประเภท (ก) รอยเลอ่ื นปกติ (normal fault) (ข) รอยเล่ือนย้อน (reverse fault) (ค) รอยเลื่อนตามแนวระดบั (strike-slip fault) รอยเลื่อนปกติ (normal fault) เป็นรอยเล่ือนท่ีมีการเคลื่อนที่ตามมุมเทของระนาบ รอยเล่ือน โดยที่หินเพดาน (hanging-wall block) มีการเคล่ือนท่ีลง เทียบกับหินพื้น (footwall block) ทมี่ ีการเคลอื่ นทขี่ ึ้น ดังรปู 3 เป็นผลมาจากความเคน้ ดงึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 175 รูป 3 รอยเล่ือนปกติ เมืองมริ ิ ประเทศมาเลเซยี ท่มี าของรูป สุคนธเ์ มธ จติ รมหนั ตกลุ รอยเล่ือนย้อน (reverse fault) เป็นรอยเล่ือนที่มีการเคล่ือนที่ตามมุมเทของระนาบ รอยเลอ่ื นเชน่ เดยี วกบั รอยเลอ่ื นปกติ แตท่ ศิ ทางการเคลอื่ นจะกลบั กนั กลา่ วคอื หนิ เพดานจะ เคลื่อนที่ข้ึนเม่ือเปรียบเทียบกับหินพ้ืน ถ้ารอยเลื่อนย้อนมีมุมเอียงเทตำ่�กว่าหรือเท่ากับ 45 องศา จะมีช่ือเรียกเฉพาะว่า รอยเล่ือนย้อนมุมตำ่� (thrust fault) ซ่ึงรอยเลื่อนทั้ง สองแบบเป็นผลมาจากความเค้นบีบอัด รอยเลอื่ นตามแนวระดบั (strike-slip fault) เปน็ รอยเลอื่ นทมี่ กี ารเคลอ่ื นทใ่ี นแนวระดบั เปน็ ผลมาจากความเค้นเฉือน นอกจากน้ียังมีรอยเล่ือนที่มีการเคล่ือนที่ผสมกันทั้งตามแนวเอียงเทของระนาบ รอยเลื่อนและในแนวระดับของระนาบรอยเลื่อน เรียกว่า รอยเลื่อนเฉียง (oblique fault) ดงั รูป 4 ซึ่งเปน็ ผลมาจากความเคน้ ท่ีมากระท�ำ ในหลายทิศทาง รูป 4 รอยเล่อื นเฉียง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

176 บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ในกรณที ม่ี คี วามเคน้ บบี อดั มากระท�ำ กบั ชน้ั หนิ ทมี่ สี ภาพพลาสตกิ จะท�ำ ใหเ้ กดิ โครงสรา้ ง ทางธรณที ี่เรยี กวา่ ชั้นหินคดโคง้ ซึ่งสามารถแบ่งได้ เป็น 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ ชน้ั หนิ คดโคง้ รปู ประทนุ (anticline) เปน็ การโคง้ งอของระนาบชน้ั หนิ คลา้ ยรปู ประทนุ หรือสะพานโค้งเม่ือมองจากด้านหน้าตัดท่ีต้ังฉากกับแกนช้ันหินคดโค้ง (axis) หินที่มีอายุ มากกว่า จะอยู่บรเิ วณส่วนกลางของแกนชน้ั หินคดโคง้ ดังรูป 5 ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย (syncline) เป็นการโค้งงอของชั้นหินคล้ายรูปตัวยู หินท่ีมีอายุน้อยสุดจะอยู่บริเวณส่วนกลางของแนวคดโค้ง และช้ันหินท่ีอยู่บริเวณโดยรอบ แนวแกนช้ันหินคดโค้ง ในธรรมชาติอาจพบช้ันหินคดโค้งท้ังสองเกิดร่วมกันและจะใช้ สว่ นขา้ งของช้นั หินคดโค้ง (limb) ร่วมกนั ดงั รูป 6 รปู 5 ชน้ั หินคดโคง้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 177 รปู 6 ช้ันหินคดโคง้ รปู ประทนุ และรูปประทนุ หงาย บอ่ ดินขดุ อ.พัฒนานคิ ม จ.ลพบุรี ทม่ี าของรูป สุคนธ์เมธ จติ รมหนั ตกลุ โครงสรา้ งทางธรณเี หลา่ น้ี นกั ธรณวี ทิ ยาใชใ้ นการศกึ ษาเพอื่ ตรวจสอบ และอธบิ ายประวตั ิ ขนาด และทิศทางของแรงต่าง ๆ ท่ีมากระทำ�ต่อตัวหินหรือเปลือกโลกในบริเวณน้ัน ๆ และ สามารถนำ�มาแสดงบนแผนที่ธรณีวิทยา ทำ�ให้สามารถเข้าใจสภาพธรณีวิทยาของพ้ืนท่ีใน ลักษณะเป็น 3 มิติ เพ่ือนำ�ไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการใช้พื้นที่ และการสำ�รวจ ทรพั ยากรธรณตี า่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ปโิ ตรเลยี ม เนอื่ งจากโครงสรา้ งทางธรณบี างลกั ษณะ มีความสัมพันธ์กับแหล่งกกั เก็บปโิ ตรเลียม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

178 บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ แบบฝึกหัดทา้ ยบท 1. จงน�ำ กลุ่มคำ�ตอ่ ไปน้ีเติมลงในตารางให้สมั พนั ธก์ บั ทฤษฎที ่กี �ำ หนดให้ (สามารถเตมิ ค�ำ ตอบ ซ้�ำ กนั ได)้ ทฤษฎีทวีปเลือ่ น ทฤษฎีการแผ่ ทฤษฎกี ารแปรสณั ฐาน ขยายพืน้ สมุทร ของแผน่ ธรณี ไซโนเนทัส อายุหินบนพ้ืนมหาสมุทร วงจรการพาความรอ้ น ก า ร เ ค ล่ื อ น ท่ี ข อ ง ภาวะแม่เหล็กบรรพกาล แนวมุดตวั ของแผ่นธรณี ธารน�้ำ แขง็ บรรพกาล สันเขากลางสมุทร หม่เู กาะภเู ขาไฟรูปโค้ง ความคล้ายคลึงกัน หุบเขาทรุด รอยเลอ่ื นในแนวระดบั ของกลมุ่ หิน สนั เขากลางสมุทร มโี ซซอรสั หบุ เขาทรุด ลอเรเซยี พนั เจีย แนวเทอื กเขาสูง 2. จงตอบคำ�ถามต่อไปนี้ 2.1 เพราะเหตุใด อัลเฟรด เวเกเนอร์จึงเช่ือว่าทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบันเคยติดกันเป็น แผน่ เดยี วมาก่อน แนวค�ำ ตอบ อลั เฟรด เวเกเนอรส์ งั เกตรปู รา่ งของขอบทวปี เชน่ ทวปี อเมรกิ าใต้ และ ทวีปแอฟริกา มีส่วนท่ีต่อกันได้เหมือนจ๊ิกซอว์ จึงสันนิษฐานว่าทวีปต่าง ๆ อาจเคย อยู่ติดกันมาก่อน จากน้ันเวเกเนอร์ได้ศึกษาหาหลักฐานต่าง ๆ มาเพิ่มเติม ได้แก่ หลกั ฐานจากซากดกึ ด�ำ บรรพ์ หลกั ฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลกั ฐานจาก การเคล่อื นทข่ี องธารน้ำ�แขง็ บรรพกาล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี 179 2.2 การคน้ พบสิ่งใดของ แฮรี่ เฮส ทีถ่ ูกน�ำ มาใชส้ นับสนุนทฤษฎกี ารแผข่ ยายพ้นื สมทุ ร แนวค�ำ ตอบ แฮรี่ เฮสคน้ พบของสันเขาท่ีเป็นแนวยาวกลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ ท�ำ ใหเ้ กดิ แนวคดิ วา่ พน้ื มหาสมทุ รมกี ารเคลอื่ นทเ่ี นอื่ งจากการแทรกดนั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ของแมกมาบรเิ วณสนั เขา 2.3 ถา้ มกี ารคน้ พบสนั เขากลางสมทุ รในมหาสมทุ รแหง่ หนง่ึ ในเวลาตอ่ มามหาสมทุ รแหง่ นน้ั จะกวา้ งข้นึ หรอื แคบลง เพราะเหตุใด แนวค�ำ ตอบ กวา้ งขน้ึ เนอื่ งจากการพบสนั เขากลางสมทุ รแสดงวา่ มกี ารแทรกดนั ของ แมกมาในบรเิ วณรอยแยกกลางมหาสมทุ รทำ�ให้พ้นื มหาสมุทรเกิดการขยายตัว 2.4 สนั เขากลางมหาสมุทรแอตแลนตกิ เกดิ จากการเคลอ่ื นที่ของแผน่ ธรณีรปู แบบใด แนวค�ำ ตอบ เคล่อื นท่แี ยกออกจากกนั 2.5 หมเู่ กาะภเู ขาไฟรูปโคง้ เกดิ จากการเคล่ือนท่ขี องแผน่ ธรณรี ปู แบบใด แนวค�ำ ตอบ เคลือ่ นทีเ่ ข้าหากนั 3. จงท�ำ เครอ่ื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทถ่ี กู และท�ำ เครอ่ื งหมาย ( ) หนา้ ขอ้ ความทผ่ี ดิ ค�ำ ตอบ คำ�ถาม 1. หนิ บะซอลตท์ พี่ บใกลร้ อยแยกบรเิ วณสนั เขากลางสมทุ รจะมอี ายอุ อ่ น กวา่ หนิ บะซอลต์ท่อี ยู่ไกลจากรอยแยกออกไป 2. เมื่อแผ่นธรณีมหาสมุทรเกิดรอยแยกและเคลื่อนที่ออกจากกัน อย่างช้า ๆ จะมีเน้ือหินแกรนิตจากส่วนล่างแทรกดันข้ึนมาตรง รอยแยกเกิดเป็นธรณภี าคใหม่ 3. วงจรการพาความร้อนเป็นกระบวนการที่ทำ�ให้เกิดการเคลื่อนท่ีของ แผ่นธรณี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

180 บทที่ 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี คู่มอื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ค�ำ ตอบ โจทย์ 4. อัลเฟรด เวเกเนอร์ เป็นผ้เู สนอทฤษฎีการแผข่ ยายพื้นสมทุ ร 5. บรเิ วณทะเลแดงเกดิ จากการเคล่ือนทชี่ นกนั ของแผน่ ธรณมี หาสมทุ ร กบั แผน่ ธรณีทวปี 6. เทอื กเขาหิมาลัยเกิดจากการเคล่ือนท่ีเข้าหากนั ของแผน่ ธรณียูเรเซีย และแผน่ ธรณอี ินเดีย – ออสเตรเลีย 7. แผ่นธรณี คือเปลือกโลกเฉพาะส่วนท่ีเป็นพื้นทวีปท่ีแตกออกเป็น หลายแผน่ 8. ร่องลกึ กน้ สมทุ รเกิดข้นึ บริเวณกลางมหาสมทุ รแอตแลนติก 9. รอยเลอ่ื นซานแอนเดรยี สเกดิ จากการเคลอ่ื นทเี่ ขา้ หากนั ของแผน่ ทวปี 10. ภาวะแม่เหล็กบรรพกาลของพื้นมหาสมุทรเป็นหลักฐานยืนยัน การเคล่ือนทอ่ี อกจากกันของแผ่นทวปี 4. พิจารณารปู 1 และ 2 แล้วตอบค�ำ ถามดงั ตอ่ ไปนี้ 4.1 จงจับคู่รอยตอ่ A B และ C กับ รูป (ก) (ข) และ (ค) ทมี่ คี วามสัมพันธก์ นั โดยเขียน คำ�ตอบลงในกลอ่ งขอ้ ความในรปู 1 คก ข รูป 1 รอยต่อของแผ่นธรณี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี 181 4.2 ธรณีสัณฐานท่ีปรากฎในรูป 2 (ก)-(ค) มีกระบวนการเกิดอย่างไร และมีบริเวณใด อกี บา้ งท่มี ลี กั ษณะคลา้ ยกบั ในรูป 2 (ก)-(ค) จงยกตัวอย่าง (ก) (ข) รูป 2 แสดงธรณีสัณฐาน ณ บรเิ วณต่าง ๆ บนโลก (ก) รอยเล่ือนซานแอนเดรียส ประเทศ สหรฐั อเมริกา (ข) สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนตกิ (ค) ร่องลึกก้นสมทุ รญี่ปนุ่ (ค) รปู ก รอยเลอ่ื นซานแอนเดรยี ส เกดิ จากการเคลอ่ื นทผ่ี า่ นกนั ในแนวระดบั ของแผน่ ธรณี รูป ข สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก เกิดจากการเคล่อื นท่แี ยกออกจากกันของ แผน่ ธรณี รปู ค รอ่ งลกึ กน้ สมทุ ร ประเทศญป่ี นุ่ และหมเู่ กาะญป่ี นุ่ เกดิ จากการเคลอ่ื นทเ่ี ขา้ หากนั ของแผน่ ธรณี 5. จากหลักฐานการแผ่ขยายของพื้นมหาสมุทรแอตแลนติกส่งผลอย่างไรต่อการเคลื่อนที่ ของทวปี อเมรกิ าใตแ้ ละแอฟริกา แนวค�ำ ตอบ ทำ�ให้ทวีปอเมริกาใตแ้ ละทวปี แอฟรกิ าเคลอ่ื นทแี่ ยกออกจากกนั 6. ลกั ษณะของทวปี ในปจั จบุ นั เหมอื นหรอื ตา่ งกบั ทวปี เมอ่ื ประมาณ 200 ลา้ นปกี อ่ นอยา่ งไร แนวค�ำ ตอบ ทวปี ในปจั จบุ นั แยกออกจากกนั ไมไ่ ดอ้ ยตู่ ดิ กนั เปน็ แผน่ ดนิ เดยี วเหมอื นเมอื่ 200 ล้านปกี อ่ น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

182 บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี คู่มือครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 7. แนวคิดทฤษฎีทวีปเล่ือน ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร และทฤษฎีการแปรสัณฐานของ แผ่นธรณีมีความเหมอื น และแตกตา่ งกันในเร่ืองใดบ้าง แนวค�ำ ตอบ ทงั้ สามทฤษฎตี า่ งกลา่ วถงึ การเคลอ่ื นทขี่ องแผน่ ธรณเี หมอื นกนั แตแ่ ตกตา่ ง กันท่ีรายละเอียดและหลักฐานสนับสนุน ทฤษฎีทวีปเล่ือนมีหลักฐานสนับสนุน เช่น หลักฐานซากดกึ ด�ำ บรรพ์ หลกั ฐานจากกลมุ่ หนิ และแนวเทอื กเขา และหลกั ฐานจากการ เคลื่อนที่ของธารน้ำ�แข็งบรรพกาล แต่ยังไม่สามารถอธิบายสาเหตุของการเคลื่อนท่ีได้ ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทรมีหลักฐานการขยายตัวของพื้นมหาสมุทร คือ การค้นพบสันเขากลางสมทุ ร อายขุ องหนิ บะซอลต์บนพ้ืนมหาสมทุ ร และภาวะแมเ่ หล็ก บรรพกาล ถึงแม้จะสามารถอธิบายว่าทวีปเคลื่อนที่ออกจากกันได้เพราะมหาสมุทร ขยายตวั แต่กย็ งั ไม่สามารถอธบิ ายกลไกการเคลื่อนทข่ี องทวีปได้ ทฤษฎกี ารแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี รวมเอาหลกั ฐาน แนวคิด ทฤษฎี ตา่ ง ๆ เช่น ทฤษฎีทวีปเล่ือน ทฤษฎีการแผ่ขยายพ้ืนสมุทร และแนวคิดวงจรการพาความร้อนมา อธิบายการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีและการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแผ่นธรณี โดยใช้ ข้อมูลการพาความร้อนของแมกมาภายในฐานธรณีภาค และใช้การเคลื่อนที่ของ แผน่ ธรณใี นลกั ษณะตา่ ง ๆ มาอธบิ ายธรณสี ณั ฐาน โครงสรา้ งทางธรณี และปรากฏการณ์ ทางธรณวี ทิ ยาตา่ งๆ ทม่ี กี ระบวนการเกดิ อยภู่ ายในโลกและสง่ ผลกระทบขน้ึ มาสโู่ ลก เชน่ แผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบดิ 8. เพราะเหตุใดเม่ือแผ่นธรณีมหาสมุทรและแผ่นธรณีทวีปเคล่ือนท่ีเข้าหากัน แผ่นธรณีสมุทรจึงมุดตัวลงข้างใต้แผ่นธรณีทวีป ส่วนท่ีมุดตัวจะลงไปอยู่ท่ีส่วนใดของ โครงสรา้ งโลก แนวค�ำ ตอบ เนอ่ื งจากแผน่ ธรณีสมุทรมีความหนาแนน่ มากกวา่ แผ่นธรณที วีป และสว่ น ทม่ี ดุ ตัวจะเคล่อื นที่ลงไปทีฐ่ านธรณีภาค 9. จากรูป 1 แสดงบริเวณท่รี าบสูงทิเบต และแนวเทอื กเขาหิมาลยั ซงึ่ เกิดจากการเคลือ่ นท่ี เขา้ หากนั ของแผ่นธรณีอนิ เดีย-ออสเตรเลียและแผน่ ธรณยี ูเรเซยี หากแผน่ ธรณีดังกล่าว เคลื่อนที่ในทิศทางเดิมต่อไปเรื่อย ๆ นักเรียนคิดว่าลักษณะของธรณีสัณฐานบริเวณน้ัน จะเป็นอยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บทท่ี 6 | การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี 183 (ข) (ก) รูป 1 บริเวณท่ีราบสงู ธิเบต และแนวเทือกเขาหิมาลยั (ก) ทิศทางการเคลอื่ นท่ีบรเิ วณของแผน่ ธรณีอนิ เดยี -ออสเตรเลีย และแผ่นธรณยี ูเรเซยี (ข) แนวเทอื กเขาหิมาลัย ประเทศเนปาล ทมี่ าของรูป NASA แนวค�ำ ตอบ หากแผน่ ธรณบี รเิ วณดงั กลา่ วเคลอ่ื นทใี่ นทศิ ทางเดมิ ไปเรอื่ ย ๆ อาจท�ำ ให้ เทอื กเขาหมิ าลยั สูงขน้ึ เน่อื งจากการโกง่ ตัวของแผน่ ธรณี 10. นักเรียนคิดว่าการเกิดแผ่นธรณีข้ึนมาใหม่จะมีผลทำ�ให้โลกมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือไม่ เพราะเหตใุ ด แนวค�ำ ตอบ ไม่ เนอ่ื งจากมบี างสว่ นของแผน่ ธรณที เี่ คลอื่ นทเี่ ขา้ หากนั จะมดุ ลงไปในชนั้ ฐานธรณีภาคเกดิ การหลอมกลายเปน็ แมกมา 11. จากรูปบริเวณใดบ้างที่แผ่นธรณีเกิดการต่อเติมและขยายตัวออก บริเวณใดบ้างเกิด การหลอมแผน่ ธรณีสู่ภายใตโ้ ลก เพราะเหตุใด สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

184 บทที่ 6 | การแปรสัณฐานของแผน่ ธรณี ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ แ นวค�ำ ตอบ บริเวณ ก และ ค เป็นบริเวณท่ีแผ่นธรณีเกิดข้ึนใหม่และขยายตัวออก เนื่องจากบริเวณดังกล่าวเป็นรอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีแยกจากกัน มีแมกมา แทรกดนั ข้ึนมาตามรอยแตกเกดิ เปน็ แผน่ ธรณีใหม่ บริเวณ ข และ ง เป็นบริเวณท่ีแผ่นธรณีเกิดการหลอมภายใต้โลก เนื่องจากเป็น รอยต่อของแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีเข้าหากัน เกิดแนวมุดตัวทำ�ให้แผ่นธรณีบางส่วนถูก หลอมเม่อื มุดตัวสฐู่ านธรณีภาค 12. จากรูป จงตอบคำ�ถามต่อไปน้ี 1) ตำ�แหน่ง ก และ ข เป็นธรณสี ัณฐานแบบใด แนวค�ำ ตอบ ก คือรอ่ งลึกก้นสมุทร ข คอื หมู่เกาะภเู ขาไฟรูปโคง้ 2) ธรณีสัณฐานขา้ งตน้ เกดิ จากการเคลือ่ นทีข่ องแผน่ ธรณใี ด และเคล่อื นท่ีแบบใด แนวคำ�ตอบ ก เกิดจากการเคล่ือนที่เข้าหากันของแผ่นธรณีแปซิฟิก และ แผ่นธรณียูเรเซีย ข เกิดจากการเคล่ือนท่ีเข้าหากันของแผ่นธรณีแปซิฟิก แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นยูเรเซยี และแผน่ ฟิลปิ ปินส์ 3) บริเวณใดคอื รอยต่อของแผน่ ธรณีและเป็นรอยต่อแบบใด แนวค�ำ ตอบ บรเิ วณ ข แผ่นธรณมี หาสมุทรและแผ่นทวีปเคล่ือนท่เี ข้ากนั รูป 1 ธรณสี ณั ฐาน ประเทศญ่ีป่นุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี