Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-26 04:34:50

Description: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ,คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์,วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คูม่ ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ภาคผนวก 379 แบบทดสอบรูปแบบน้ีสร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีที่นักเรียน จบั คผู่ ิดไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ ีการจบั คู่ผดิ ในคอู่ ื่น ๆ ด้วย 2) แบบทดสอบแบบเขียนตอบ เป็นแบบทดสอบที่ให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทวั่ ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างส้ัน และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแต่ละแบบเปน็ ดงั น้ี 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเติมคำ�หรอื ตอบอยา่ งส้นั ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความที่ไม่สมบูรณ์ซึ่งจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสนั้ ๆ ทท่ี �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น ส่ิงทก่ี ำ�หนดค�ำ ตอบใหม้ ีความถกู ต้องและเหมาะสม แบบทดสอบรูปแบบน้สี รา้ งไดง้ ่าย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ ิจฉยั ค�ำ ตอบทน่ี ักเรยี น ตอบผิดเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจที่คลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเนื่องจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถูกตอ้ งหรอื ยอมรบั ไดห้ ลายคำ�ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบท่ตี อ้ งการใหน้ กั เรยี นสรา้ งคำ�ตอบอย่างอสิ ระ ประกอบดว้ ยสถานการณแ์ ละ คำ�ถามทีส่ อดคล้องกนั โดยคำ�ถามเปน็ ค�ำ ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

380 ภาคผนวก ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ แบบประเมนิ ทักษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยท่ีแสดงไว้ท้ังวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทักษะปฏิบัตไิ ด้เปน็ อย่างดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมทสี่ �ำ คญั ทใ่ี ช้ในการจดั การเรียนรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทวั่ ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครอ่ื งมือทใี่ ชป้ ระเมนิ ดังตวั อยา่ ง ตัวอย่างแบบสำ�รวจรายการทกั ษะปฏิบตั ิการทดลอง ผลการส�ำ รวจ รายการทต่ี ้องส�ำ รวจ มี ไมม่ ี (ระบจุ �ำ นวนครั้ง) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขน้ั ตอน การสังเกตการทดลอง การบนั ทกึ ผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ ภาคผนวก 381 ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทกั ษะปฏบิ ตั ิ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เครอื่ งมอื ในการทดลอง เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไมเ่ หมาะสมกบั งาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ม่ อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ถกู ตอ้ งตามหลักการ ถกู ต้อง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏบิ ตั ิ แตไ่ ม่ หลักการปฏิบัติ คลอ่ งแคลว่ การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ก�ำ หนด แ ล ะ ขั้ น ต อ น ท่ี แ ล ะ ขั้ น ต อ น ท่ี แ ล ะ ขั้ น ต อ น ท่ี กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรบั ปรุงแกไ้ ขบา้ ง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แกไ้ ขเปน็ ระยะ ขั้นตอนท่ีกำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แกไ้ ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

382 ภาคผนวก คู่มอื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ตัวอย่างแบบประเมินทักษะปฏิบตั ิการทดลองทีใ่ ชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณค่า ทักษะที่ประเมิน ผลการประเมนิ ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ขัน้ ตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกตอ่ การใช้งาน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถว้ นสมบรู ณ์ ตัวอยา่ งแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ไ ม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไมส่ ือ่ ความหมาย สอื่ ความหมาย แบบประเมนิ คุณลกั ษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยทั่วไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกทีป่ รากฏใหเ้ หน็ ในลกั ษณะของค�ำ พดู การแสดงความคิดเหน็ การปฏิบตั หิ รือพฤติกรรมบง่ ช้ี ทสี่ ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ ง่ึ เปน็ สงิ่ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครือ่ งมือที่ใชป้ ระเมินคุณลักษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ ดงั ตัวอยา่ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ภาคผนวก 383 ตัวอย่างแบบประเมินคณุ ลักษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ คำ�ชแี้ จง จงทำ�เครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจำ�แนก ระดบั พฤติกรรมการแสดงออกเป็น 4 ระดับ ดงั นี้ มาก หมายถงึ นกั เรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นัน้ อย่างสม่ำ�เสมอ ปานกลาง หมายถึง นกั เรียนแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั เปน็ คร้ังคราว น้อย หมายถึง นักเรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นน้ั น้อยครง้ั ไมม่ ีการแสดงออก หมายถึง นักเรียนไม่แสดงออกในพฤติกรรมเหล่านนั้ เลย ระดับพฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไม่มกี าร ดา้ นความอยากร้อู ยากเหน็ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติม เม่ือเกิดความสงสัยใน เรอ่ื งราววทิ ยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นชอบไปงานนิทรรศการ วทิ ยาศาสตร์ 3. นักเรียนน�ำ การทดลองที่สนใจไป ทดลองต่อทบ่ี ้าน ด้านความซอื่ สัตย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามท่ี ทดลองได้จรงิ 2. เมอ่ื ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพอ่ื ส่งครู 3. เมอื่ ครมู อบหมายให้ทำ�ชน้ิ งาน ออกแบบส่งิ ประดษิ ฐ์ นกั เรยี นจะ ประดษิ ฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยใู่ น หนังสอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

384 ภาคผนวก คมู่ อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ กี าร ดา้ นความใจกว้าง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรปุ ของสมาชิกส่วนใหญ่ 2. ถา้ เพอ่ื นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลที่ดีกว่า นักเรียนพร้อมท่ี จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พื่ อ น ไ ป ปรับปรงุ งานของตน 3. เม่ืองานท่ีนักเรียนต้ังใจและทุ่มเททำ� ถูกตำ�หนิหรือโต้แย้ง นักเรียนจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสร็จสิ้นการทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซ้ำ� ๆ ก่อนที่จะ สรปุ ผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อุปกรณก์ อ่ นทำ�การทดลอง ดา้ นความมุง่ ม่นั อดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอ่ื ผล การทดลองทไี่ ดข้ ดั จากทเ่ี คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองท่ีนักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นักเรยี นกเ็ ปลี่ยนไปศกึ ษาชดุ การ ทดลองทใี่ ชเ้ วลาน้อยกวา่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ ภาคผนวก 385 ระดบั พฤติกรรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ กี าร เจตคตทิ ่ดี ีตอ่ วทิ ยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แกป้ ัญหาในชีวติ ประจำ�วันอยู่เสมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ที่ เก่ียวขอ้ งกับวิทยาศาสตร์ วธิ กี ารตรวจให้คะแนน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑโ์ ดยกำ�หนดนำ�้ หนักของตวั เลือกในช่องตา่ ง ๆ เปน็ 4 3 2 1 ข้อความท่ีมี ความหมายเป็นทางบวก กำ�หนดใหค้ ะแนนแตล่ ะข้อความดังนี้ ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไมม่ ีการแสดงออก 1 ส่วนของข้อความที่มีความหมายเป็นทางลบการกำ�หนดให้คะแนนในแต่ละข้อความจะมีลักษณะ เปน็ ตรงกนั ข้าม การประเมินการนำ�เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังรายละเอียดต่อไปนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

386 ภาคผนวก คูม่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทตี่ อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลักที่สำ�คัญ ๆ เช่น การประเมินความถูกต้องของเน้ือหา ความรู้และการประเมินสมรรถภาพด้าน การเขยี นโดยใชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดังตวั อยา่ งต่อไปน้ี ตัวอย่างเกณฑ์การประเมนิ ความถูกตอ้ งของเนอ้ื หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ เนื้อหาไมถ่ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ต้องปรับปรุง เนือ้ หาถูกต้องแตใ่ หส้ าระสำ�คญั นอ้ ยมาก และไมร่ ะบแุ หล่งท่ีมาของความรู้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คญั แตย่ งั ไมค่ รบถว้ น มกี ารระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ พอใช้ เนื้อหาถกู ต้อง มีสาระสำ�คญั ครบถว้ น และระบุแหล่งที่มาของความรชู้ ัดเจน ดี ดีมาก ตัวอยา่ งเกณฑก์ ารประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ตอ้ งปรับปรุง เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเช่ือมโยง เนื้อหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� พอใช้ ไมถ่ กู ต้อง ไมอ่ า้ งอิงแหลง่ ท่ีมาของความรู้ ดี ขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เนื้อหาถูกต้องแต่มี ดมี าก รายละเอยี ดไมเ่ พียงพอ เน้ือหาบางตอนไมส่ มั พันธก์ ัน การเรียบเรยี บเนื้อหา ไมต่ ่อเน่อื ง ใชภ้ าษาถูกต้อง อ้างอิงแหลง่ ทมี่ าของความรู้ เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมา ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญทั้งหมด เรียบเรียงเน้ือหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตวั อยา่ ง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหลง่ ทม่ี าของความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ ภาคผนวก 387 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ตอ้ งการน�ำ ผลการประเมนิ ไปใช้ พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เกณฑ์ ยอ่ ย ๆ ในการประเมินเพื่อทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นที่ควรส่งเสริมและจุดด้อยที่ควรแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน ในส่วนนั้น ๆ เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย มีตวั อย่างดังน้ี ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองคป์ ระกอบย่อย) รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ดา้ นการวางแผน ต้องปรับปรงุ พอใช้ ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการ ดี เรียนรู้ ดมี าก ออกแบบการได้ตามประเด็นสำ�คญั ของปญั หาเป็นบางส่วน ต้องปรับปรงุ พอใช้ ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน ดี ดีมาก ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนทช่ี ดั เจน และตรงตามจุดประสงคท์ ีต่ ้องการ ดา้ นการดำ�เนนิ การ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบถูกต้องแต่ไม่ คล่องแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และสื่อประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคลว่ ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทว่ี างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอ่ื ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเสร็จทันเวลา ผลงานทกุ ข้ันตอนเป็นไปตามจดุ ประสงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

388 ภาคผนวก คูม่ อื ครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ดา้ นการอธบิ าย ตอ้ งปรับปรุง พอใช้ อธิบายไมถ่ กู ตอ้ ง ขดั แยง้ กบั แนวคดิ หลกั ทางวิทยาศาสตร์ ดี ดีมาก อธิบายโดยอาศัยแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธิบายเป็นแบบ พรรณนาทว่ั ไปซงึ่ ไม่ค�ำ นงึ ถงึ การเชื่อมโยงกบั ปัญหาท�ำ ให้เขา้ ใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ จุดประสงค์ ใชภ้ าษาได้ถูกต้องเขา้ ใจง่าย สือ่ ความหมายได้ชดั เจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื ครู วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ บรรณานุกรม 389 บรรณานกุ รม กรมทรัพยากรธรณี.  (2544).   ธรณีวิทยาประเทศไทย   เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัวเน่ืองในวโรกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ: กองธรณวี ิทยา กรมทรพั ยากรธรณ.ี กรมทรัพยากรธรณ.ี (2550). ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพค์ รั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพด์ อกเบย้ี . ราชบณั ฑิตยสถาน. (2558). พจนานุกรมศพั ทธ์ รณวี ทิ ยา A-M. (พมิ พ์ครง้ั ที่ 2). กรุงเทพฯ: ส�ำ นกั พมิ พค์ ณะรัฐมนตรแี ละราชกิจจานเุ บกษา. ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2558). พจนานกุ รมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พมิ พค์ รั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ: สำ�นกั พมิ พค์ ณะรฐั มนตรีและราชกจิ จานเุ บกษา. สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2551). หนังสอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพ์คร้ังท่ี 1). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ. (พมิ พ์คร้งั ที่ 8). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2554). หนังสอื เรียนรายวิชาเพม่ิ เติมโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พมิ พ์ครัง้ ที่ 1). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. Ahrens, C. D. (2009). Meteorology Today: An Introduction to Weather, Climate, and Environment. 9th ed. Canada: Thomson Brook/Cole. Ahrens, C. D. and Robert Henson (2016). Meteorology Today: An Introduction to Weather, Climate, and Environment. 11th ed. Canada: Thomson Brook/Cole. Alan P. Trujillo and Harold V. Thurman. (2014). Essentials of Oceanography. 7th ed. USA: Pearson Education. Allison, M. A., DeGaetano, A. T., Pasachoff, J. M. (2006). Earth Science Teacher Edition. Texas: HOLT RINEHART WINSTON. Danielson. E.W. (1989). Earth Science. New York: Macmillan Publishing Company. Dolgoff, A. (1996). Physical Geology. New York: D.C. Health and Company Kay, L., Palen, S., Smith, B., Blumenthal, G.(2013) , 21st Century Astronomy: Stars and Galaxies (4th ed.), New York, W. W. Norton & Company. Kay, L., Palen, S., Smith, B., Blumenthal, G.(2013) , 21st Century Astronomy: The solar system (4th ed.), New York, W. W. Norton & Company. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

390 บรรณานุกรม คมู่ ือครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ Keith A. Sverdrup, Alison B. Duxbury and Alyn C. Duxbury. (2006). Fundamental of Oceanography. 5th ed. USA: McGraw-Hill. McConnell, D. Steer, D. (2015). The Good Earth: Introduction to Earth Science (3rd ed.) New York: McGraw-Hill Company. McDonough, W.F., Sun, S.-s. (1995, March). The composition of the Earth. Chemical Geology, 12(120), 223-253 Montgomery, C.W. (1997). Fundamentals of Geology. The United State of America: The McGraw-Hill Company. Murray, J. (2000). Astrophysics, London: Christopher Bishop. Pasachoff, Jay M., 2002. Astronomy : From the Earth to the Universe (6th ed.). SouthMelbourne, Thomson Learning. Seed, M. (1999), Star and Galaxies, Canada: Wadsworth Publishing. Shibata, S. et al., (2013, November). Three-Dimensional Numerical Modeling of Underground Mining Method at Mae Moh Lignite Mine in Thailand. ASEAN Forum on Clean Coal Technology, 11, 1-5 Turk, J. (1991). Modern Physical Geology. The United State of America: Saunder College Publishing. Williams, L. (2012). Earth Sciences Demystified. The United State of America: The McGraw-Hill Company. กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา. เอลนีโญ. สืบค้นเม่อื 2 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.tmd.go.th/ info/info.php?FileID=18 โพสตท์ เู ดย.์ เอลนโี ญ และลานญี า ผลกระทบกบั สนิ คา้ โภคภณั ฑ์เกษตร. สบื ค้นเม่ือ 5 กรกฎาคม 2561. จาก https://www.posttoday.com/finance/ invest/434051 สมาคมดาราศาสตรไ์ ทย. ปรากฏการณบ์ นท้องฟ้า: Retrieved Apr 2018, from http://thaiastro. nectec.or.th สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือครู วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บรรณานุกรม 391 EarthNow Project. Effects of El Niño and La Niña on Phytoplankton and Fish: Retrieved August 31, 2018, from http://sphere.ssec.wisc.edu/20130315/ Eugene C Robertson. The interior of the Earth: Retrieved March 10, 2016, from http://pubs.usgs.gov/gip/interior. NARIT. กลอ้ งโทรทัศน์วิทยุ Radio Telescope: Retrieved May 2018, from http://www. narit.or.th/files/astronomy_media/2018/Booklet_Radio_telescope_2018 NASA. Mars Curiosity: Retrieved April 2018, from http://www.nasa.gov/mission_ pages/msl/index.html NASA. 40 years of NASA spinoff: Retrieved Jun 2018, from http://www.nasa.gov/ offices/oct/40-years-of-nasa-spinoff NASA. Sunglasses, Technology, Technology NASA in Daily Life: Retrieved March 12,2018, from https://spinoff.nasa.gov/Spinoff2008/tech_benefits.html NASA Content Administrator. Aurora Sighted in the US: Retrieved September 20, 2018, from ww.nasa.gov/mission_pages/sunearth/news/gallery/20110927- Travis-Novitsky.html National Geographic. La Niña: Retrieved August 31, 2018, from https://www.nationalgeographic.org/encyclopedia/la-nina/ LESA. Galaxy: Retrieved August 25, 2018, from www.lesa.biz/astronomy/galaxy Steve Fox. Perseid Meteor Shower 2016 from West Virginia: Retrieved September 12,2018, from http://www.nasa.gov/image-feature/perseid- meteor-shower-2016-from-west-virginia University of Cambridge. Galaxies & Clusters: Retrieved August 25, 2016, from www.damtp.cam.ac.uk/research/gr/public/cos_home.html World Meteorological Organization. Observation : Retrieved March 5, 2018, from https://public.wmo.int/en/our-mandate/what-we-do /observatio World Meteorological Organization. A CAREER IN METEOROLOGY : Retrieved August, 8, 2018, from https://library.wmo.int/doc_num.php? explnum_id=353 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

392 บรรณานุกรม ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ คณะกรรมการการจดั ท�ำ คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 คณะท่ีปรกึ ษา 1. ศ.ดร. ชูกิจ ลมิ ปจิ ำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศกั ด์ิ ผู้ชว่ ยผ้อู �ำ นวยการ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผู้จดั ทำ�คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์  วิทยาศาสตร์โลก   และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 6 1. นายสุพจน์ วุฒโิ สภณ ผู้เชีย่ วชาญ 2. นางเบ็ญจวรรณ ศรเี จริญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. นางสาวบศุ ราศิริ ธนะ ผู้เช่ียวชาญ 4. ผศ.ดร.อลิศรา ชูชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5. นางพรรณทิพา ธนากรโยธิน ผชู้ ำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศึกษาตอนปลาย 6. นางดารกิ า วรี วินนั ทกุล สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7. นายมนตรี ประเสริฐฤทธ์ิ ผชู้ �ำ นาญ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย 8. นายวิทยา อินโท สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผ้ชู ำ�นาญสาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ   สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ   สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ บรรณานกุ รม 393 9. นางฤทัย เพลงวัฒนา ผูช้ ำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 10. นายนิทศั น์ ลมิ้ ผ่องใส สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวิชาการอาวุโส   สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษา 11. นางสาวโศภติ า อุไพพานิช ตอนปลายสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ 12. นางสาววชิ รุ าตรี กลับแสง เทคโนโลยี 13. นางสาวรัมภา ศรีบางพลี นักวิชาการ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนปลาย 14. นางสาวกัญญจิต จันเสนา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นักวิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผู้รว่ มพจิ ารณาคูม่ ือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6 (ฉบบั รา่ ง) 1. รศ.บญุ รักษา สนุ ทรธรรม สถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตร์แหง่ ชาติ 2. รศ.ดร.พษิ ณุ วงศพ์ รชัย มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 3. รศ.ดร.พิษณพุ งศ์ กาญจนพยนต์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ 4. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจศิ ุภร จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย 5. ผศ.ดร.วชิ ัย จูฑะโกสิทธ์กิ านนท์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 6. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจศิ ภุ ร จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย 7. ผศ.อ�ำ นาจ สาธานนท์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 8. ดร.อัคนีวธุ ชะบางบอน จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 9. ผศ.ดร.กฤษณ์ วันอนิ ทร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 10. ผศ.มาลี สทุ ธโิ อภาส มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 11. ดร.จตรุ งค์ สุคนธชาติ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ 12. ผศ.ดร.พรทิพย์ ศริ ภิ ัทราชยั โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิ โ ร ฒ ประสานมติ ร (ฝ่ายประถม) กรงุ เทพมหานคร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

394 บรรณานุกรม ค่มู ือครู วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 13. นายนพิ นธ์ ทรายเพชร ผ้ชู ำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 14. นางสาวประพรี ์ วิราพร นกั วิชาการอสิ ระ 15. นางสาวนยิ ม นลิ ผึ้ง นกั วชิ าการอสิ ระ 16. นางมาลนิ จันทร์แสง โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการรชั ดา    กรุงเทพมหานคร 17. นางกุลนาถ โชติสดุ เสนห่ ์ โรงเรยี นนวมินทราชินทู ศิ   สตรวี ทิ ยา   ๒    กรงุ เทพมหานคร 18. นางสาวชุณหภัค เทดิ อวยพร โรงเรียนวัดสุทธิวราราม กรงุ เทพมหานคร 19. นายประเดิม วรรณทอง โรงเรยี นเมอื งกาฬสนิ ธุ์ จ.กาฬสินธุ์ 20. นางพรทพิ ย์ ฐตี ะธรรมานนท์ โรงเรยี นเสาไห้ “วมิ ลวทิ ยานกุ ลู ” จ.สระบุรี 21. นางพชั รี ศลิ แสน โรงเรียนโพนทองพัฒนาวิทยา จ.ร้อยเอด็ 22. นางปญั ญลักษณ์ เคารพาพงศ์ โรงเรยี นจุฬาภรณราชวิทยาลยั นครศรธี รรมราช จ.นครศรธี รรมราช 23. นางสาวจริญญา สนั ตตนิ บวี งศ์ โรงเรยี นเดชะปัตตนยานกุ ูล จ.ปตั ตานี 24. นางสาวกฤษกา  กหุ ลาบ โรงเรยี นอรัญประเทศ  จ.สระแกว้ 25. วา่ ท่ี ร.ต.ภรู วิ จั น์ จริ าตนั ติพัฒน์ นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื ครู วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ บรรณานุกรม 395 คณะบรรณาธิการ สถาบนั วิจัยดาราศาสตรแ์ หง่ ชาติ 1. รศ.บญุ รักษา สนุ ทรธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. รศ.ดร.พษิ ณุ วงศ์พรชยั จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 3. รศ.ดร.พิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 4. รศ.ดร.ปราโมทย์ โศจศิ ุภร จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 5. ผศ.ดร.วชิ ยั จฑู ะโกสิทธก์ิ านนท์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั 6. ผศ.อำ�นาจ สาธานนท์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 7. ดร.ไพศาล ต้ปู ระกาย จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 8. ดร.อัคนวี ธุ ชะบางบอน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 9. ผศ.ดร.กฤษณ์ วันอนิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ 10. ดร.จตุรงค์ สุคนธชาติ ผูช้ ำ�นาญ สาขาวทิ ยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 11. นางสาวบุศราศริ ิ ธนะ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูเ้ ชยี่ วชาญ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ 12. นายสพุ จน์ วฒุ ิโสภณ และเทคโนโลยี ผู้ชำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 13. นางฤทยั เพลงวฒั นา สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี



สถาบนั สง� เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ� ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร