Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศการอาชีวศึกษาExcellent-Center

แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศการอาชีวศึกษาExcellent-Center

Published by poo_supreeda, 2021-02-10 08:17:56

Description: แนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศการอาชีวศึกษาExcellent-Center

Search

Read the Text Version

แนวทางการขับเคลอื่ น ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) ปงี บประมาณ ๒๕๖๔ วทิ ยาลัยประมงตณิ สูลานนท์ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔













แนวทางการขับเคลือ่ น ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) ปีงบประมาณ 2564 สำหรับสถานศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบัญ หน้า 1. ความเปน็ มา 1 2. วตั ถปุ ระสงค์ 2 3. แนวทางการพฒั นาคุณภาพอาชีวศกึ ษา 2 4. แนวทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา 7 5. แผนการดำเนนิ งาน 11 6. หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องกับการดำเนนิ การขับเคลื่อน (สว่ นกลาง) 15 ภาคผนวก - ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรอ่ื ง แนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 18 - คำสง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการดำเนินการขับเคล่ือนศนู ย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) 22 - เคร่อื งมือในการดำเนินการ สำหรบั สถานศกึ ษา แบบท่ี 1 แบบสรปุ ผลการพจิ ารณาการจัดกลุ่มสาขาวชิ า ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) 27 แบบที่ 2 ตารางสรปุ ผลการพิจารณาการจดั กล่มุ สาขาวชิ า ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 28 แบบท่ี 3 แบบตรวจสอบ สำหรบั คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดบั สถานศกึ ษา ตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) 29 แบบท่ี 3.1 เกณฑ์การตรวจสอบ สำหรบั การจัดกลมุ่ สาขาวชิ า ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 33 แบบท่ี 4 แบบประเมินคุณภาพตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการ อาชวี ศึกษา (Excellent Center) 35 แบบท่ี 4.1 ตวั ช้ีวดั และเกณฑ์การประเมิน ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนยค์ วามเป็น เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 50 แบบท่ี 5 แบบรายงานข้อมลู การจัดการอาชวี ศึกษา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 67 แบบที่ 6 ตวั อยา่ ง คำส่งั แต่งตัง้ คณะกรรมการจัดทำขอ้ มูลการจัดการสถานศกึ ษา ภายใตศ้ นู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 81 - คำชแี้ จงและตวั อย่างการกรอกแบบรายงานข้อมูลการจดั การอาชวี ศึกษา ตามแนวทาง การจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 84 - รายชือ่ คณะผปู้ ระสานงาน 121

โครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) ความเปน็ มา การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการแข่งขันในเวที โลก จำเป็นทจี่ ะต้องมีการวางแผนและพฒั นาทางด้านกำลังคนใหต้ รงตามความต้องการของสถานประกอบการ และมีความสามารถในการตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยที มี่ ีการเปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็วในยุค การค้าเสรี ซงึ่ แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ 12 ได้กำหนดกิจกรรมทางเศรษฐกจิ เปา้ หมาย ของประเทศที่มุ่งเนน้ การผลิตเพื่อสร้างมูลคา่ เพิ่มของสินค้าและขับเคลือ่ นกลุ่มคลสั เตอร์และอุตสาหกรรมราย สาขาให้เกิดความเข้มแข็ง รวมทั้งสร้างกรอบการพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมตรงตามความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมโดยแท้จริง โดยในการวางแผนการพัฒนากำลังคนจำเป็นต้องมีข้อมูลทางด้านประเภทของ สถานประกอบการ คุณลักษณะของกำลังคนที่ต้องการ ข้อมูลและความต้องการแรงงานหรือการขาดแคลน แรงงานของสถานประกอบการเพื่อให้สามารถพัฒนากำลังคนตอบสนองทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม เปา้ หมายของประเทศ (S-Curve) ประกอบดว้ ย 11 กลุ่มอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 1) อุตสาหกรรมยานยนต์ สมัยใหม่ 2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและท่องเที่ยว เชิงสขุ ภาพ 4) อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 6) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม 7) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 8) อุตสาหกรรมขนส่งและ การบิน 9) อตุ สาหกรรมเชื้อเพลงิ ชวี ภาพและเคมชี ีวภาพ 10) อุตสาหกรรมดจิ ิทัล และ11) โครงสร้างพื้นฐาน จากการศึกษาโครงการเตรียมศักยภาพแรงงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 ใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีความต้องการแรงงานตั้งแต่ปี 2563 – 2567 มีปริมาณจำนวนรวมทั้งสิ้นกว่า 2.24 ลา้ นคน ซง่ึ สามารถแบง่ ออกเปน็ ปี 2563 มีความต้องการแรงงานจำนวน 351,957 ราย และต้ังแต่ช่วงปี 2563-2567 มีความต้องการแรงงาน 1.75 ล้านคน นอกจากนี้ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor) หรือ EEC ในอุตสาหกรรมทุกประเภทจำเป็นต้องอาศัยบุคลากรท่ี มีความรู้ ทักษะและความสามารถที่เหมาะสมกับประเภทอุตสาหกรรมโดยเฉพาะอุตสาหกรรม 11 ประเภท พบว่าใน พ.ศ. 2565 อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ต้องการแรงงานมาก ที่สุด จำนวน 24,596 คน รองลงมา คือ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่และอุตสาหกรรมการเกษตรและ เทคโนโลยชี ีวภาพ จำนวน 21,897 คน และในปี พ.ศ. 2570 พบวา่ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเท่ียวกลมุ่ รายได้ดีและ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพต้องการแรงงานมากที่สุดเช่นเดียวกับ พ.ศ.2565 ซึ่งความต้องการในจำนวนสูงขึ้น 59,476 คน รองลงมาคือ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่และอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ จำนวน 47,732 คน เชน่ เดยี วกับ พ.ศ.2565 กระทรวงศึกษาธิการโดย นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศ นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านการอาชีวศึกษา โดยมุ่งเน้นจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลัง แรงงานที่มีคุณภาพ ตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความ ต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบัน โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการสื่อสาร ภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการพัฒนาครูอาชีวศึกษาให้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติ (Hand-on Experience) มีความเช่ยี วชาญเฉพาะ โดยการพัฒนาแบบเข้มข้น รวมทัง้ การใช้แพลตฟอร์มดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพ ภายใต้ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศการ อาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) เพื่อให้การผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา

2 ตอบสนองความต้องการของภาคประกอบการอย่างแท้จริง ในสาขาที่สอดคล้องนโยบายการพัฒนา 10 อตุ สาหกรรมเป้าหมายตามทิศทางการพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศท้ังในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และพนื้ ท่ีอื่น ๆ ทวั่ ประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองค์กรหลักในการผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการของภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม ธุรกิจและบริการ ของประเทศ มีสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 913 แห่ง แบ่งเป็นสถานศึกษาของรัฐ จำนวน 429 แห่ง และสถานศึกษาเอกชน จำนวน 484 แห่ง มีผู้เรียนอาชีวศึกษา จำนวนทั้งส้ิน 1,351,113 คน แบ่งเป็นระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ จำนวน 650,997 คน ระดบั ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง จำนวน 348,462 คน ระดับปริญญาตรี จำนวน 8,700 คน และ หลักสูตรระยะสั้น/หลักสูตร นอกระบบอนื่ จำนวน 342,954 คน ในปีงบประมาณ 2563 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของการ จัดการศึกษาอาชีวศึกษาตามบริบทที่แตกต่างกันตามพื้นที่การพัฒนาของภูมิภาค ที่สอดคล้องกับทิศทาง การพัฒนาประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 จึงได้กำหนดนโยบายในการพัฒนาอาชีวศึกษาสู่ ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา Excellent Center ทั้งในสถานศึกษาต้นแบบทั่วประเทศ และสถานศึกษา ในกลุ่ม EEC โดยมีวัตถุประสงค์ คือ ผลิตและพัฒนากำลังคนระดับกลางเร่งด่วนในสาขาที่เป็นความต้องการ ของประเทศตามโมเดลประเทศไทย 4.0 โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มแข็ง เพิ่มกำลังคน กลุ่มนักเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้าสู่กลุ่มอุตสาหกรรมรองรั บการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นผลจาก Digital Disruption เร่งยกระดับคุณภาพกำลังในกลุ่มผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา ผู้อยู่ในภาคแรงงาน ให้มีสมรรถนะใหม่ ทักษะใหม่ โดยกระบวนการสร้าง New Skill, Up Skill และ Re Skill พัฒนาสถานศึกษา ต้นแบบเพื่อการขยายผลการผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างมีกรอบและทิศทางที่เหมาะสม สอดคล้องกับ ทิศทางการพัฒนาประเทศ ภูมิภาค และความต้องการของสถานประกอบการ ตลอดจนมีการบริการจัดการ อาชีวศึกษาเชิงกลยุทธ์ บูรณาการทรัพยากรและความร่วมมือ (Strategic Alliance) และในปีงบประมาณ 2564 ได้รับจัดสรรงบประมาณโครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) งบประมาณรวมทั้งสิน้ 321,824,000 บาท วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐให้เป็นศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC) ให้เพียงพอสำหรับการผลิตและพัฒนากำลังคน (Re-skill , Up-skill , New-skill) ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ทั้งในดา้ นปริมาณและคุณภาพ 2. เพื่อพัฒนาระบบการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชากรวัยเรียนได้เข้าเรียนในสายอาชีวศึกษาเพิ่มมากขึ้น โดยผเู้ รียนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มคี ุณภาพได้มาตรฐานสากล แนวทางการพฒั นาคุณภาพอาชีวศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ดำเนินการโครงการพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางการ อาชีวศึกษา (Excellent Center) โดยการยกระดับคุณภาพอาชีวศึกษาให้มีศักยภาพในการแข่งขัน และตอบโจทย์การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย (อาชีวศึกษายกกำลังสอง) ด้วยการจับคู่สถานศึกษา ภาครัฐกับสถานประกอบการชั้นนำที่มีขีดความสามารถในการร่วมวิเคราะห์สมรรถนะตามสาขาอาชีพ

3 และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการสมัยใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จนนำไปสู่การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครู การพัฒนานักเรียนนักศึกษา และพัฒนาทรัพยากรทางการศึกษา ตลอดจน แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งยกระดับให้เป็นศูนย์ Human Capital Excellence Center (HCEC) เพื่อเป็นต้นแบบและเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาครูและบุคลากรในสาขาวิชาเฉพาะทาง พัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษา กำลังแรงงาน และประชาชนทั่วไป ให้มีทักษะและสมรรถนะที่ส อดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงานที่ในปัจจุบนั และอนาคต ตามทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย จำนวน 7 กลุ่มอุตสาหกรรม คือ ปิโตรเคมี (Petrochemical) เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล (Digital Business Technology) หุ่นยนต์เพื่อการอุตสาหกรรม (Robotics) เกษตรสมัยใหม่ (Smart Farming) อุตสาหกรรม การบิน (Aviation Industry) อุตสาหกรรมระบบราง (Railway Industry) และยานยนต์สมัยใหม่ (Next Generation Automotive) ธุรกิจโรงแรมและการบริการ (Hospitality Industry) โดยได้กำหนด แนวทางการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอาชีวศึกษา โดยสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดจ้ ดั กลมุ่ สถานศึกษาออกเปน็ 4 กลุม่ คอื 1. กลุ่มทั่วไป (Standard) เป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาทุกแห่งที่จัดการศึกษาตามมาตรฐานอาชีวศึกษา โดยสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะดำเนินการจัดงบประมาณและทรัพยากรเพื่อให้สถานศึกษากลุ่มทั่วไป ใหส้ ามารถจัดการศกึ ษาอาชวี ศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ อาทิ 1) ครู 1.1) สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาภาครัฐ : สนับสนนุ ครูอาชีวศึกษาให้เพียงพอกบั การจัดการเรียน การสอนอาชีวศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ 1.2) สถานศึกษาอาชีวศึกษาภาคเอกชน : เพิ่มเงินสมทบเงินเดือนครูอาชีวศึกษาเอกชน จำนวน 450 บาท เพื่อให้เป็นอัตราเดียวกันกับครูเอกชนสายสามัญ (15,050 บาท/เดือน/คน) เพอื่ ให้สถานศึกษามีงบประมาณเพียงพอต่อการบรหิ ารจัดการอยา่ งมีคุณภาพ 1.3) เพิ่มเติมสมรรถนะที่จำเป็นให้กับครูผู้สอน ในหัวข้อที่มีความทันสมัยและจำเป็น ตอ่ การนำไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอนใหก้ ับนกั เรียนนักศึกษาตามหลักสูตร 2) จัดสรรครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ทรัพยากรทางการศึกษา รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน ให้กับ สถานศึกษามีพร้อมต่อการจัดการเรียนการสอนอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานขั้นต่ำของการจัดการ ศึกษาตาม หลักสตู รอาชวี ศกึ ษา ท้ังระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) 2. กล่มุ เชยี่ วชาญเฉพาะ (Expert) เป็นสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาที่มบี ริบททางการศึกษาท่ีเอ้ือต่อการจัดการอาชวี ศึกษาในสาขาวิชาท่ีมี ความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่างมีคุณภาพ โดยมุ่งเน้นการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะดำเนินการจัดงบประมาณและทรัพยากรเพื่อให้สถานศึกษากลุ่มเชี่ ยวชาญ เฉพาะ ให้สามารถจดั การศกึ ษาอาชวี ศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ อาทิ 1) ครูในสาขาวิชาทีม่ คี วามเช่ยี วชาญเฉพาะ 1.1) จัดสรรหรือเกลี่ยอัตรากำลังให้มีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และได้รับการพฒั นาให้มีทกั ษะประสบการณจ์ รงิ ในสถานประกอบการ 1.2) เพิ่มเติมสมรรถนะที่จำเป็นให้กับครูผู้สอน ในหัวข้อที่มีความทันสมัยและจำเป็นต่อการ นำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนให้กับนักเรยี นนกั ศึกษาตามหลักสตู ร

4 1.3) สง่ ครูเขา้ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพ่ิมเติม โดยสถานประกอบการในสาขาวิชาท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ครูได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในสถานประกอบการ จนนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพตอ่ ไป 2) จัดสรรครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ทรัพยากรทางการศึกษา รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน ในสาขาวิชา ทมี่ คี วามเช่ียวชาญเฉพาะอยา่ งมคี ุณภาพ 3) มีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ และวิชาชพี ของครแู ละผูเ้ รียน 4) มกี ารพัฒนาหลกั สตู รร่วมกับสถานประกอบการอยา่ งต่อเนอ่ื ง ในสาขาวชิ าท่ีมคี วามเช่ยี วชาญเฉพาะ 3. กลมุ่ ความเป็นเลิศ (Excellence Center) เป็นสถานศึกษาอาชีวศึกษาที่มีบริบททางการศึกษาและบริบทเชิงพื้นที่ ที่เอื้อต่อการจัดการ อาชีวศึกษาในสาขาวิชาที่ตรงกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ( S-Curve) อย่างมีคุณภาพ โดยมุ่งเน้นการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่างเข้มข้น โดยสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษาจะดำเนนิ การจดั งบประมาณและทรพั ยากรเพื่อให้สถานศึกษากลุ่มความเป็นเลิศ ให้สามารถจัด การศึกษาอาชวี ศึกษาไดอ้ ย่างมีคณุ ภาพ อาทิ 1) ครใู นสาขาวชิ าทม่ี คี วามเปน็ เลิศ 1.1) จัดสรรหรือเกลี่ยอัตรากำลังให้มจี ำนวนท่ีเพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และไดร้ บั การพัฒนาให้มที ักษะประสบการณ์จริงในสถานประกอบการ 1.2) เพิ่มเติมสมรรถนะที่จำเป็นให้กับครูผู้สอน ในหัวข้อที่มีความทันสมัยและจำเป็น ตอ่ การนำไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนให้กบั นกั เรียนนักศึกษาตามหลกั สตู ร 1.3) ส่งครูเขา้ ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพเพิ่มเติม โดยสถานประกอบการในสาขาวชิ าท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้ครูได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในสถานประกอบการ จนนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพตอ่ ไป 1.4) พัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอน ดว้ ยแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพื่อการเรยี นรู้ (Digital Learning Platform) อยา่ งมีคณุ ภาพ 1.5) ได้รับใบรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบันคุณวุฒิ วชิ าชีพ ตรงตามระดับทีส่ ำเรจ็ การศึกษา 2) จัดสรรครุภัณฑ์และอุปกรณ์ ทรัพยากรทางการศึกษา รวมทั้งโครงสร้างพื้นฐาน ให้เป็น แหล่งเรียนรู้ด้านดิจิทัลที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนจัดหา แพลตฟอร์มดิจิทลั เพ่อื การเรยี นรู้ (Digital Learning Platform) ในสาขาวชิ าท่มี ีความเป็นเลิศอย่างมคี ณุ ภาพ 3) มีความร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศ หรือ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/ อุดมศึกษาในต่างประเทศ ในการแลกเปล่ียนเรียนร้ทู างวิชาการและวิชาชพี ของครูและผ้เู รยี น 4. มกี ารพัฒนาหลักสูตรให้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานอาชีพร่วมกบั สถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง สามารถเชื่อมโยงสมรรถนะอาชพี ในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา และมนี วัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ท่หี ลากหลาย ในสาขาวิชาทม่ี ีความเปน็ เลิศ 4.กลุ่มศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศการอาชีวศึกษา ( Human Capital Excellence Center : HCEC) เป็นสถานศึกษาที่มีความพร้อมและมีบริบทเชิงพื้นที่ในการยกระดับให้มีความเป็นเลิศและเชี่ยวชา ญ เฉพาะทางทั้งวิทยาลัย ในสาขาวิชาเฉพาะตาม Value Chain ของกลุ่มอาชีพในอุตสาหกรรมที่สอดคล้องกับ

5 ทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve) โดยมีความพร้อมในการยกระดับให้เป็น วิทยาลัยเฉพาะทางทั้งสถานศึกษา มีความร่วมมือกับสถานประกอบการทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ อย่างเข้มข้นในการจัดการอาชีวศึกษาทวิภาคีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจำนวนผู้เรียนทั้งหมดในสถานศึกษา โดยเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาครู และการพัฒนาผู้เรยี น รวมทง้ั การกำกบั คุณภาพในทุกขั้นตอนของการจดั การอาชวี ศกึ ษา โดยสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา จะดำเนินการจัดงบประมาณและทรัพยากรเพื่อให้สถานศึกษากลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ ให้สามารถจัดการศึกษา อาชวี ศกึ ษาได้อยา่ งมีคุณภาพ อาทิ 1) ครูในศูนยพ์ ัฒนาศกั ยภาพบคุ คลเพอ่ื ความเปน็ เลศิ การอาชวี ศึกษา 1.1) จัดสรรหรือเกลี่ยอัตรากำลังให้มีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และไดร้ บั การพฒั นาให้มีทกั ษะประสบการณจ์ ริงในสถานประกอบการ 1.2) เพิ่มเติมสมรรถนะที่จำเป็นให้กับครูผู้สอน ในหัวข้อที่มีความทันสมัยและจำเป็นต่อการ นำไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนใหก้ ับนกั เรียนนกั ศกึ ษาตามหลกั สตู ร 1.3) สง่ ครเู ข้าฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี เพิ่มเติม โดยสถานประกอบการในสาขาวชิ าท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้ครูได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงในสถานประกอบการ จนนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอนอยา่ งมีคณุ ภาพต่อไป 1.4) พัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอน ด้วยแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั เพอ่ื การเรยี นรู้ (Digital Learning Platform) อยา่ งมคี ณุ ภาพ 1.5) ได้รับใบรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบันคุณวุฒิ วิชาชีพ ตรงตามระดับที่สำเร็จการศึกษา หรือใบอนุญาตประกอบอาชีพ (License) จากหน่วยงานที่มีอำนาจ ในการรับรองมาตรฐานอาชพี 2. มีโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมทางการศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านดิจิทัล ที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จัดหาแพลตฟอร์มดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อย่างมีคุณภาพ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ตลอดจนมีแนวทาง การบำรุงรกั ษาใหม้ สี ภาพท่ีพร้อมใช้งานอย่างต่อเนื่อง จนนำไปสกู่ ารเป็น SMART College 3. มีความรว่ มมือกับสถาบนั การศึกษาอาชวี ศึกษา/อุดมศึกษาในตา่ งประเทศ ในการแลกเปล่ียน เรียนรู้ทางวิชาการของครู และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของผู้เรียน รวมทั้งการได้รับคุณวุฒิ ทางการศกึ ษาจากสถาบันการศึกษาในตา่ งประเทศทีม่ ีความรว่ มมือด้วย (Dual Degree) 4. มีการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลาย อาทิ Modular system และสามารถเชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิ ทางการศกึ ษาอาชวี ศึกษา ภายใตร้ ะบบสะสมหน่วยการเรยี นรู้ (Credit Bank) 5. เป็นศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาครูวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศและเชี่ยวชาญเฉพาะ ให้กบั ครใู นสถานศึกษาเครือขา่ ยทัง้ รัฐและเอกชน 6. เป็นศูนย์ประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ หรือศูนย์ทดสอบอื่น ๆ ในสาขาอาชพี ท่สี อดคล้องกับสาขาวชิ าภายใต้ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) 7. เป็นศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นให้กับภาคแรงงานที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะวิชาชีพ (Up Skill) หรือพัฒนาทักษะวิชาชีพ (Re Skill) และประชาชนทั่วไปที่ต้องการเรียนรู้ทักษะวิชาชีพใหม่ (New Skill)

6 8. จัดการศึกษาแบบประจำ (Boarding School) โดยมีหอพักภายในสถานศึกษาหรือเครือข่าย หอพักเอกชนที่มีคุณภาพ ซึ่งมีที่ตั้งไม่ไกลจากสถานศึกษา เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื งนอกเหนือเวลาการจัดการเรยี นการสอนปกติ อาทิ ทักษะการส่ือสารภาษาตา่ งประเทศ 9. มีการสร้างวิสาหกิจเพื่อการเรียนรู้และปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษา เพื่อสร้างโอกาส การเข้าสโู่ ลกอาชพี และการมีงานทำของผเู้ รียน ภาพแสดงความเชื่อมโยงของการพฒั นาคณุ ภาพสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาภายใต้โครงการพัฒนา ศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) ทั้งนี้ การพิจารณาคัดเลอื กสถานศึกษาอาชีวศึกษารัฐและเอกชนในแต่ละกลุม่ ให้เป็นไปตามแนวทาง ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับทิศทางการผลิตและพัฒนา กำลังคนในสาขาวชิ าที่เป็นเป้าหมายการพฒั นาอุตสาหกรรมของประเทศตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และความเหมาะสมกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศตอ่ ไป

7 แนวทางการดำเนินงานของสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ประกาศ แนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลิศ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) จดั ส่ง สถานศึกษาดำเนนิ การประชุมคณะผู้บรหิ าร ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษาเพื่อประชุมชีแ้ จงนโยบายการจัดการ สถานศึกษาภายใต้ ศนู ย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) สถานศึกษาจัดทำคำสั่งแตง่ ตั้ง - คณะกรรมการดำเนนิ งานระดบั สาขาวิชา - คณะกรรมการกลนั่ กรอง ระดบั สถานศกึ ษา สาขาวิชา ดำเนนิ การจัดทำข้อมูลตามแบบรายงานขอ้ มูล การจดั การอาชีวศึกษาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา คณะกรรมการกลน่ั กรอง ระดับสถานศกึ ษา ตรวจสอบข้อมูล ส่งสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา พิจารณาตามเกณฑ์การจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจดั ผา่ นชอ่ งทาง AMS e-Office และ ช่องทางไปรษณีย์ (ดว่ นพเิ ศษ EMS) สถานศึกษาภายใตศ้ ูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา สถานศึกษา ประเมนิ ระดับคุณภาพ และดำเนนิ การสรุปผล การพิจารณา การจัดกลุ่มสาขาวชิ า นำผลการจัดกลุ่มสาขาวชิ า ตามแนวทาง การจัดสถานศึกษาภายใตศ้ นู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางการ อาชวี ศึกษา (Excellent Center) เสนอตอ่ คณะ กรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้อำนวยการสถานศกึ ษารบั รองผลการจดั กลุ่มสาขาวชิ า และ จดั ส่งผลการจดั กลมุ่ สาขาวชิ า และข้อมลู ประกอบ

8 1. สถานศึกษาดำเนินการประชุมคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อประชุมชี้แจง นโยบายการจดั การสถานศกึ ษาภายใต้ ศนู ย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) เมื่อสถานศึกษาได้รับหนงั สือแจ้งประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรื่อง แนวทางการ จัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และคู่มือการ ดำเนนิ งานขบั เคลอื่ นศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) จากสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาแล้ว ให้สถานศึกษาดำเนินการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ให้กับคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา ทั้งสถานศึกษา เพื่อให้ทุกคนในสถานศึกษาได้รับทราบและมีส่วนร่วมในการดำเนินการทุกขั้นตอนอย่างมี คณุ ภาพ และเปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั 2. สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจดั ทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานระดบั สาขาวิชา และคำสงั่ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการกลนั่ กรอง ระดับสถานศึกษา สถานศึกษาดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ จำนวน 3 คณะ คือ คณะกรรมการ อำนวยการ ควรประกอบด้วย ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษา เปน็ ประธาน รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษาทกุ ฝ่าย เป็น กรรมการ และรองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ เปน็ กรรมการและเลขานุการ เพ่อื ดำเนนิ การกำหนดแนวทาง และ กำกับติดตาม การขับเคลื่อนการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) ระดบั สาขาวิชา ตัวอยา่ ง ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั ............................................... ประธานกรรมการ คณะกรรมการอำนวยการ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร กรรมการ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายพฒั นากิจการนักเรียนนกั ศึกษา กรรมการ 1. ........................................ รองผู้อำนวยการฝา่ ยแผนงานและความร่วมมอื กรรมการ 2. ........................................ รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยวิชาการ 3. ........................................ กรรมการและเลขานกุ าร 4. ........................................ 5. ........................................ คณะกรรมการกลน่ั กรองระดับสถานศึกษา ควรประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา เป็นประธาน รองผ้อู ำนวยการสถานศึกษาทุกฝ่าย เป็นกรรมการ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวิชาการ เป็นกรรมการและเลขานุการ และหัวหนา้ งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน เป็นผู้ช่วยเลขานกุ าร เพื่อดำเนินการ ตรวจสอบขอ้ มูลและ พจิ ารณาตามเกณฑ์การจัดกลมุ่ สาขาวชิ า นำเสนอผลการจดั กลุ่มสาขาวิชา รวมท้งั รายงานผลการพิจารณาการ จัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตวั อย่าง ประธานกรรมการ คณะกรรมการกลนั่ กรองระดับสถานศกึ ษา กรรมการ กรรมการ 1. ........................................ ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัย.......................................... กรรมการ 2. ........................................ รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยบริหารทรพั ยากร กรรมการและเลขานุการ 3. ........................................ รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายพัฒนากิจการนกั เรยี นนกั ศกึ ษา ผชู้ ว่ ยเลขานุการ 4. ........................................ รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมือ 5. ........................................ รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ 6. ........................................ หวั หน้างานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน

9 และคณะกรรมการจดั ทำข้อมูลระดบั สาขาวิชา ควรประกอบดว้ ย หัวหน้าสาขาวิชา เปน็ ประธาน ครู ทุกคนในสาขาวิชา เป็นกรรมการ และให้ครูจำนวน 1 คนในสาขาวิชา เป็นกรรมการและเลขานุการ เพ่ือ ดำเนินการจัดทำข้อมูลของสาขาวิชาตามแบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ตามแนวทางการจัดการ สถานศึกษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตาม(แบบที่ 6) ตัวอย่าง ประธานกรรมการ คณะกรรมการจัดทำขอ้ มลู ระดบั สาขาวิชา กรรมการ กรรมการ 1 สาขาวชิ า................................................... กรรมการ 1.1 ..................................................... หัวหนา้ สาขาวิชา 1.2 ..................................................... ครูในสาขาวิชา กรรมการและเลขานุการ 1.3 ..................................................... ครูในสาขาวชิ า 1.4 ..................................................... ครูในสาขาวชิ า 1.5 ..................................................... ครูในสาขาวชิ า 3. คณะกรรมการดำเนินงานระดับสาขาวิชา ดำเนินการจัดทำข้อมูลตามแบบรายงานข้อมูลการ จัดการอาชีวศึกษาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) คณะกรรมการดำเนินงานระดับสาขาวิชาตามที่ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่งของสถานศึกษา ดำเนินการ จัดทำข้อมูลของสาขาวิชาตามแบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) (แบบที่ 5) โดยสามารถศึกษารายละเอียด และตัวอย่างการกรอกข้อมูล ในคำชี้แจงการกรอกแบบรายงานข้อมูล พร้อมทั้งส่งแบบรายงานข้อมูลให้กับ คณะกรรมการกลั่นกรองระดบั สถานศกึ ษาตรวจสอบข้อมลู และพจิ ารณา 4. คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศึกษา ตรวจสอบข้อมูล พิจารณาตามเกณฑ์การจัดกลุ่ม สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และประเมนิ ระดบั คณุ ภาพของสาขาวิชา เมื่อทุกสาขาวิชาส่งข้อมูลรายงานตามแบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษา ตามแนวทางการ จัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ครบทุกสาขาวิชาแลว้ ให้คณะกรรมการกลั่นกรองระดับสถานศึกษา ดำเนินการตรวจสอบข้อมูลและพิจารณาตามเกณฑ์การจัดกลมุ่ สาขาวิชาตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) (แบบที่ 3.1) และบันทึกการตรวจสอบตามแบบการตรวจสอบ (แบบที่ 3) พร้อมทั้งสรุปผลการพิจารณาว่า สาขาวิชาอยู่ในกลุ่มใด ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เมื่อจัดกลุ่มสาขาวิชาตามแนวทางฯที่กำหนดแล้ว ให้คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสาขาวิชา ดำเนินการประเมินคุณภาพ ตามตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมิน (แบบที่ 4.1) และบันทึกผลการประเมินตาม แบบประเมนิ (แบบท่ี 4) พร้อมทัง้ สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพของแต่สาขาวชิ า

10 5. คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศึกษา ดำเนินการสรุปผลการพิจารณา การจัดกลุ่ม สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) เมื่อคณะกรรมการกลั่นกรองครบทุกสาขาวิชา ให้ดำเนินการจัดทำสรุปผลการพิจารณา การจัดกลุ่ม สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตาม(แบบท่ี 2) 6. คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศึกษา นำผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทาง การจัดสถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) เสนอต่อ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา คณะกรรมการกลั่นกรอง นำสรุปผลการพิจารณาการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัด สถานศึกษาภายใต้ศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) เสนอต่อคณะกรรมการบริหาร สถานศกึ ษา เพื่อเห็นชอบการจดั กลุ่มสาขาวิชาตอ่ ไป 7. ผู้อำนวยการสถานศึกษารับรองผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) เมื่อคณะกรรมการบริหารสถานศึกษาเห็นชอบการจัดกลุ่มสาขาวิชาแล้ว ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษา รับรองผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง แนวทางการ จดั การสถานศกึ ษา ภายใตศ้ ูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ตาม (แบบท่ี 1) 8. สถานศึกษาจัดส่งผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา และข้อมูลประกอบสำหรับสาขาวิชาที่มีผลการ พจิ าณาอยใู่ นกลุม่ ความเปน็ เลศิ (Excellent Center) และ กล่มุ ศูนยพ์ ฒั นาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็น เลิศทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) ให้สำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา ผ่านทาง AMS e - Office และทางไปรษณยี ์ แบบด่วนพเิ ศษ EMS สถานศึกษาจัดส่งข้อมูลผลการจัดกลุ่มสาขาวิชา ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และข้อมูลประกอบเฉพาะสาขาวิชาที่มีผลการ พจิ ารณาอยใู่ นกลุ่มความเป็นเลิศ (Excellent Center) และ กลุ่มศนู ยพ์ ัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ ทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) ให้สำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา โดยจดั ชดุ เอกสารตามลำดับ ดงั นี้ แบบที่ 1 แบบสรุปผลการพิจารณาการจัดกลุ่มสาขาวิชาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ ศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) แบบที่ 2 ตารางสรุปผลการพจิ ารณาการจดั กลมุ่ สาขาวชิ า ตามแนวทางการจดั การสถานศกึ ษา ภายใต้ ศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) แบบที่ 3 แบบตรวจสอบสำหรับคณะกรรมการกลั่นกรองระดับสถานศึกษา ตามแนวทางการจัดการ สถานศกึ ษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) แบบที่ 3.1 เกณฑ์การตรวจสอบ สำหรับการจัดกลุ่มสาขาวิชาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) แบบท่ี 4 แบบประเมินคุณภาพตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศทางการ อาชวี ศึกษา (Excellent Center)

11 แบบที่ 4.1 ตวั ชว้ี ัด และเกณฑ์การประเมนิ ตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนย์ความเป็น เลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) แบบที่ 5 แบบรายงานข้อมูลการจัดการอาชีวศึกษาตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) (เฉพาะสาขาท่ีมีผลการพิจารณาอยู่ในกลุ่มความเป็น เลิศ (Excellent Center) และ กลมุ่ ศูนยพ์ ฒั นาศกั ยภาพบคุ คลเพื่อความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC)) แบบที่ 6 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำข้อมูลการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ผ่านช่องทาง AMS e-Office ภายในวนั ที่ 19 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 พรอ้ มทัง้ ชอ่ งทางไปรษณีย์ (ด่วน พิเศษ EMS) มายังที่อยู่ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ 319 ถนนราชดำเนินนอก เขตดุสิต แขวงดุสติ กรุงเทพ 10300 แผนการดำเนนิ งาน สำนักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษามแี ผนในการดำเนินงานโครงการยกระดับคณุ ภาพอาชวี ศึกษาให้มี ศักยภาพในการแข่งขันและตอบโจทย์การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย (อาชีวศึกษายกกำลังสอง) ในปงี บประมาณ 2564 ดงั นี้ ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลาเรม่ิ ระยะเวลา สิน้ สดุ 1 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาประกาศแนวทางการจัดการ 18 ม.ค. 64 31 ม.ค. 64 สถานศึกษาภายใต้ศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) 31 ม.ค. 64 2 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา แต่งตง้ั คณะกรรมการขับเคล่อื นศูนย์ 18 ม.ค. 64 ความเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 3 คณะกรรมการขบั เคลอื่ นศนู ย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent 25 ม.ค. 64 31 ม.ค. 64 Center) จดั ทำเครอ่ื งมอื การคดั เลอื กสถานศึกษาตามประกาศแนวทางการ จัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนย์ความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent 1 ก.พ. 64 5 ก.พ. 64 Center) 8 ก.พ. 64 9 ก.พ. 64 4 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาแจง้ ประกาศใหส้ ถานศึกษาทราบและ ดำเนินการ 5 สถานศึกษาดำเนินการประชมุ คณะผ้บู รหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา เพ่อื ประชมุ ชแี้ จงนโยบายการจดั การสถานศึกษาภายใต้ ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 6 สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจดั ทำคำสัง่ แตง่ ตง้ั 8 ก.พ. 64 9 ก.พ. 64 คณะกรรมการดำเนนิ งานระดับสาขาวิชา และคำสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการ กล่ันกรอง ระดบั สถานศกึ ษา

12 ลำดับ กิจกรรม ระยะเวลาเร่มิ ระยะเวลา ส้นิ สุด 7 คณะกรรมการดำเนนิ งานระดับสาขาวชิ า ดำเนินการจัดทำขอ้ มลู ตามแบบ 10 ก.พ. 64 รายงานข้อมลู การจดั การอาชวี ศึกษาตามแนวทางการจดั การสถานศกึ ษา 15 ก.พ. 64 ภายใต้ศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 15 ก.พ. 64 8 คณะกรรมการกลนั่ กรอง ระดับสถานศึกษา ตรวจสอบข้อมลู พจิ ารณาตาม 10 ก.พ. 64 17 ก.พ. 64 เกณฑก์ ารจัดกล่มุ สาขาวิชา และประเมินระดบั คณุ ภาพของสาขาวิชา 19 ก.พ. 64 ตามแนวทางการจดั สถานศกึ ษาภายใตศ้ ูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศึกษา 19 ก.พ. 64 (Excellent Center) 19 ก.พ. 64 9 คณะกรรมการกลนั่ กรอง ระดบั สถานศกึ ษา ดำเนนิ การสรุปผลการพจิ ารณา 16 ก.พ. 64 23 ก.พ. 64 การจัดกลมุ่ สาขาวิชา ตามแนวทางการจัดสถานศึกษาภายใตศ้ ูนยค์ วามเป็นเลิศ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 25 ก.พ. 64 26 ก.พ. 64 10 คณะกรรมการกล่ันกรอง ระดบั สถานศกึ ษา นำผลการจดั กลุ่มสาขาวชิ า ตาม 18 ก.พ. 64 แนวทางการจัดสถานศกึ ษาภายใตศ้ นู ยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) เสนอต่อ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา 11 ผู้อำนวยการสถานศึกษารับรองผลการจดั กลุ่มสาขาวชิ า ตามแนวทางการจดั สถานศกึ ษาภายใต้ศนู ย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) 12 สถานศกึ ษาจดั ส่งผลการจดั กลมุ่ สาขาวิชา และข้อมูลประกอบสำหรบั สาขาวชิ า 22 ก.พ. 64 ที่มผี ลการพิจารณาอยู่ในกลมุ่ ความเปน็ เลิศ (Excellent Center) และ กลมุ่ ศนู ยพ์ ัฒนาศักยภาพบุคคลเพอื่ ความเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) ให้สำนักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา ผ่านทาง AMS e - Office และทางไปรษณีย์ แบบด่วนพิเศษ EMS 13 ฝ่ายเลขานุการฯ รวบรวมเอกสารจากสถานศกึ ษา ดำเนินการสรุปขอ้ มลู และ จำแนกสาขาวิชาตามกลุ่มอาชพี ในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S- Curve) พรอ้ มทั้งนำเสนอตอ่ คณะอนกุ รรมการกลั่นกรอง ระดบั สำนกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 14 คณะอนุกรรมการกลัน่ กรอง ระดบั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 24 ก.พ. 64 พจิ ารณาคัดเลือกสถานศึกษาในสงั กดั แต่ละกลุ่ม ให้เป็นไปตามแนวทางท่ี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากำหนด 15 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นำผลการพจิ ารณาคดั เลือก สถานศึกษา กลุ่มความเป็นเลิศ (Excellent Center) และ กลมุ่ ศูนยพ์ ัฒนา ศกั ยภาพบคุ คลเพื่อความเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) เสนอตอ่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร

13 ลำดับ กจิ กรรม ระยะเวลาเริม่ ระยะเวลา สิ้นสดุ 16 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาประกาศผลการคัดเลอื กสถานศึกษา ภายใต้โครงการพฒั นาศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent 26 ก.พ. 64 Center) 15 ม.ี ค. 64 17 สถานศกึ ษาท่ไี ดร้ ับคัดเลอื กภายใตโ้ ครงการพฒั นาศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการ 1 มี.ค. 64 อาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ดำเนินการจัดตัง้ ศนู ยภ์ ายในโครงสรา้ งการ 1 มี.ค. 64 19 มี.ค. 64 บริหารสถานศกึ ษา (เทยี บเทา่ งาน /แผนก ) และแตง่ ตั้งบุคลากรประจำศนู ย์ 15 ม.ี ค. 64 ความเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) 1 เม.ย. 64 18 สถานศึกษาดำเนินการจดั ทำแผนพัฒนาสถานศกึ ษาและแผนการดำเนินงาน สู่ ความเปน็ เลิศเพอื่ ยกระดับ คณุ ภาพอาชวี ศึกษาให้มีศักยภาพในการแขง่ ขนั และตอบโจทย์การพฒั นาอุตสาหกรรมของประเทศ (อาชีวะยกกำลงั สอง) ใน สาขาวชิ าที่ไดร้ บั มอมหมายจากสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 19 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาอนมุ ตั ิแผนพฒั นาสถานศกึ ษาและ แผนการดำเนินงาน สูค่ วามเป็นเลศิ เพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพอาชีวศึกษาใหม้ ี ศักยภาพในการแข่งขนั และตอบโจทย์การพัฒนาอตุ สาหกรรมของประเทศ (อาชีวะยกกำลังสอง) 20 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาจัดสรรงบประมาณใหก้ ับสถานศึกษา เพ่อื ดำเนินงานตามแผนทกี่ ำหนด 21 สถานศึกษาดำเนินการพฒั นา/ปรบั ปรุงหลักสตู รในระบบและหลกั สตู รวิชาชพี 1 เม.ย. 64 16 เม.ย. 64 ระยะส้ัน ใหส้ อดคลอ้ งกบั สมรรถนะทีส่ ถานประกอบการตอ้ งการและ 14 พ.ค. 64 สอดคล้องกับมาตรฐานอาชพี ทงั้ ในระดับประเทศและระดับสากล 31 ส.ค. 64 22 สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการดำเนินการพฒั นาครวู ชิ าชพี แบบเข้มขน้ 19 เม.ย. 64 ให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ัติ (Hand- on Experience) รวมทั้งการ 1 พ.ค. 64 ใช้แพลตฟอร์มดจิ ิทลั เพอื่ การเรยี นรู้ ในการจัดการอาชีวศึกษาอยา่ งมคี ุณภาพ 23 สถานศึกษาดำเนนิ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน สภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา ครภุ ณั ฑแ์ ละอปุ กรณ์ แพลตฟอรม์ ดิจิทัลเพ่ือการเรียนรู้ ภายใตบ้ รบิ ททาง การศกึ ษาและบริบทเชงิ พ้นื ทีอ่ ยา่ งมคี ุณภาพ 24 สถานศึกษารว่ มกับสถานประกอบการ จดั การเรียนการสอนเพอื่ ผลติ และ 17 พ.ค. 64 พัฒนากำลงั คนในสาขาวชิ าท่สี อดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการพัฒนาอตุ สาหกรรม 17 พ.ค. 64 เปา้ หมายของประเทศ ทง้ั หลักสูตรในระบบและหลักสตู รวิชาชีพระยะสน้ั ( Up Skill Re Skill New Skill ) 25 สถานศึกษาบริหารจดั การตามมาตรฐาน ตัวช้วี ดั และเกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษาภายใตศ้ ูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 26 คณะกรรมการขับเคล่อื นศนู ยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent 1 ก.ค. 64 Center) กำกับติดตามและประเมนิ ผลการดำเนินงานของสถานศกึ ษาและ รายงานผลตอ่ ผู้บรหิ ารระดับสูงตามลำดบั

14 ลำดับ กจิ กรรม ระยะเวลาเริม่ ระยะเวลา สน้ิ สดุ 27 สถานศึกษารายงานผลการดำเนนิ งานการผลติ และพฒั นากำลังคนในสาขาวิชา ท่สี อดคล้องกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ ทัง้ 30 ก.ย. 64 หลักสตู รในระบบและหลกั สตู รวชิ าชพี ระยะสนั้ ( Up Skill Re Skill New Skill ) ภายใต้ศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ภาพแสดงแผนการดำเนนิ งานโครงการยกระดับคุณภาพอาชีวศกึ ษาใหม้ ีศกั ยภาพในการแขง่ ขนั และ ตอบโจทย์การพัฒนาอตุ สาหกรรมของประเทศไทย (อาชีวศึกษายกกำลังสอง)

15 หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องกับการดำเนนิ การขบั เคลอื่ น (สว่ นกลาง) สำนักงานคณะกรรมการคณะกรรมการการอาชีวศึกษามุ่งเน้นกระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วม ตามบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานภายใน เพื่อดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการยกระดับ คณุ ภาพอาชวี ศึกษาร่วมกับสถานประกอบการช้นั นำ ดังน้ี 1. สำนกั ความรว่ มมอื มีบทบาทหน้าที่ในการประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการชั้นนำที่ลงนามความร่วมมือ กับสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐ ตลอดจนการกำกับติดตามการดำเนินงานตามเอกสารความร่วมมือ MOU ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยกำหนดรูปแบบความร่วมมือในการยกระดับคุณภาพ อาชีวศึกษาร่วมกับสถานประกอบการชั้นนำ เพื่อเป็นต้นแบบและเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาครูและบุคลากร ในสาขาวชิ าเฉพาะทาง พฒั นาผู้เรยี นอาชีวศึกษา กำลังแรงงาน และประชาชนท่ัวไป ใหม้ ที ักษะและสมรรถนะ ทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน 2. สำนักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชีพ มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสาขางาน และพฒั นารายวิชาใหม่ ท่ีมีความทนั สมยั ตรงกบั ความตอ้ งการของสถานประกอบการ รปู แบบการจัดการเรยี น การสอนให้ผู้เรียนมีสมรรถนะอาชีพที่กำหนด กำกับดูแลการจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิ อาชวี ศึกษาแหง่ ชาติ 3. สำนกั พัฒนาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษา มีบทบาทหน้าท่ใี นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูได้รบั การฝึกประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพในสถาน ประกอบการ ในสาขาอาชพี ทีร่ ว่ มมอื กับสถานประกอบการช้นั นำ การทดสอบมาตรฐานอาชีพเพ่ือขอใบรับรอง จากหนว่ ยงานกำกับดูแลมาตรฐานอาชพี อาทิ สถาบนั คณุ วฒุ ิวิชาชพี 4. ศนู ยอ์ าชวี ศกึ ษาทวิภาคี มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานประกอบการดำเนินการฝึกงาน/ฝึกอาชีพ กบั ผู้เรยี นอย่างมีคุณภาพ และเปน็ ไปตามมาตรฐานทก่ี ำหนด 5. หนว่ ยศกึ ษานเิ ทศก์ มีบทบาทหน้าที่ในการนิเทศการจัดการเรียนการสอนของครูในสถานศึกษาและของครูฝึก ในสถานประกอบการในรปู แบบที่หลากหลาย การผลติ ส่ือดิจิทลั (Digital Content) และจดั การเรียนการสอน ด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อย่างมีคุณภาพ เพื่อยกระดับคุณภาพ ผู้เรียนให้มีสมรรถนะอาชีพตรงตามเป้าหมายของโครงการฯกำหนด และมีมาตรฐานในระดับ ที่สถานประกอบการยอมรับ 6. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกำลังคนอาชีวศึกษา มีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาและสถานประกอบการอย่างมีคุณภาพ ภายใต้ Platform ท่ีหน่วยงานต้นสังกัดกำหนด 7. สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศกึ ษา มีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและสนับสนุนงบประมาณในดำเนินการขับเคลื่อน การดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพอาชีวศึกษาร่วมกับสถานประกอบการชั้นนำ ให้เกิดประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผล

16 8. สำนักบริหารงานบคุ คลและนติ กิ าร มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมและสนบั สนุนให้สถานประกอบการดำเนินการฝึกงาน/ฝกึ อาชีพกบั ผ้เู รยี นอยา่ งมคี ุณภาพ และเปน็ ไปตามมาตรฐานทกี่ ำหนด 9. สำนักตดิ ตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา มีบทบาทหน้าที่ในการกำกับ ติดตาม การดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการยกระดับ คุณภาพอาชีวศึกษาให้มีศักยภาพในการแข่งขันและตอบโจทย์การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย (อาชีวศึกษายกกำลงั สอง) และรายงานผลการดำเนินงานตามแผนและเป้าหมายของโครงการอยา่ งต่อเนื่อง 10.สำนกั บริหารการอาชีวศกึ ษาเอกชน มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนพัฒนาครู ผู้เรียน อยา่ งมีคณุ ภาพ และเป็นไปตามมาตรฐานทก่ี ำหนด

17 ภาคผนวก

18 ประกาศสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เรือ่ ง แนวทางการจดั การสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนย์ความเปน็ เลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) ---------------------------------------------------- ตามท่ี กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านการอาชีวศึกษา โดยมุ่งเน้นจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลังแรงงานที่มีคุณภาพ ตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษา และตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมี การจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบัน โดยเน้นให้ผู้เรียน มีทักษะการคิดวิเคราะห์และการสื่อสารภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการพัฒนาครูอาชีวศึกษา ให้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติ (Hand-on Experience) มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ โดยการพัฒนา แบบเข้มข้น รวมทั้งการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพ ภายใต้ ศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) นนั้ เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาเป็นไปตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนา อาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงประกาศแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ ูนยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) เป็น 4 กลมุ่ ดงั นี้ 1. กลมุ่ ทั่วไป (Standard) 1. สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาต่าง ๆ ตามหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา ภายใตม้ าตรฐานการอาชวี ศกึ ษา 2. สาขาวชิ ามคี รวู ิชาชีพในการจัดการเรียนการสอน 3. สถานศึกษามีโครงสร้างพื้นฐาน มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอน ที่พร้อมต่อการจัด การเรียนการสอนอย่างมีคณุ ภาพ 4. สถานศกึ ษาจัดการอาชีวศึกษาเพือ่ ผลติ และพัฒนากำลงั คนเพอ่ื ตอบความต้องการของชุมชน 5. สถานศกึ ษาตอ้ งได้รบั รองคณุ ภาพสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด 2. กลมุ่ เชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) 1. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ในสาขาวชิ าที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ 2. ครูในสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และได้รับการฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพในสถานประกอบการ /3. สถานศึกษา...

19 3. สถานศึกษาต้องมีโครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมทางการศึกษาที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์ และอปุ กรณ์ทีเ่ พียงพอตอ่ การจดั การเรียนการสอน ในสาขาวชิ าที่มีความเชย่ี วชาญเฉพาะอยา่ งมีคุณภาพ 4. สถานศึกษาจัดการอาชวี ศกึ ษาเพอ่ื ผลติ และพฒั นากำลังคนเพอ่ื ตอบความต้องการของชุมชน 5. สถานศึกษาต้องได้รบั รองคุณภาพสถานศึกษาอาชีวศึกษาจากต้นสงั กัด 6. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาในประเทศ ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ และวชิ าชพี ของครแู ละผเู้ รยี น 7. สถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการอย่างต่อเนื่อง ในสาขาวิชาที่มี ความเชยี่ วชาญเฉพาะ 8. สถานศึกษามีบริบททางการศึกษาและบริบทเชิงพื้นที่ ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชา ที่มคี วามเช่ียวชาญเฉพาะใหม้ คี ณุ ภาพ 3. กลุ่มความเปน็ เลิศ (Excellent Center) 1. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี อย่างเขม้ ข้นในสาขาวชิ าทม่ี คี วามเป็นเลศิ 2. ครูในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และได้รับการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ตลอดจนมีความสามารถ ในการผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอนด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งมีใบรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคล ตามมาตรฐานอาชพี จากสถาบันคุณวฒุ วิ ชิ าชพี ตรงตามระดบั ที่สำเรจ็ การศึกษา 3. สถานศกึ ษาต้องมโี ครงสร้างพื้นฐานและสภาพแวดล้อมทางการศึกษาใหเ้ ป็นแหล่งเรยี นรู้ด้านดิจิทัล ที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จัดหาแพลตฟอร์มดิจิทัล เพอื่ การเรยี นรู้ (Digital Learning Platform) ในสาขาวิชาทมี่ คี วามเป็นเลิศ อย่างมคี ุณภาพ 4. สถานศึกษาจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือผลติ และพัฒนากำลงั คน ในสาขาวชิ าทต่ี รงกับทิศทางการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve) 5. สถานศกึ ษาตอ้ งไดร้ บั รองคุณภาพสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาจากตน้ สังกดั 6. สถานศึกษามีความรว่ มมือกบั สถาบันการศึกษาอาชวี ศกึ ษา/อุดมศึกษาในประเทศหรอื ต่างประเทศ ในการแลกเปล่ยี นเรยี นรทู้ างวชิ าการและวชิ าชพี ของครแู ละผ้เู รยี น 7. สถานศึกษาต้องพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพร่วมกับสถานประกอบการ อย่างต่อเนื่อง สามารถเชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา และมีนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ในสาขาวชิ าทีม่ ีความเปน็ เลศิ 8. สถานศึกษามีบริบททางการศึกษาและบริบทเชิงพื้นที่ ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชา ท่ีมคี วามเปน็ เลศิ ใหม้ คี ุณภาพ 9. สถานศึกษาเสริมสร้างให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะและคุณลักษณะตามความ ต้องการของสถานประกอบการ และจบแล้วตอ้ งมงี านทำ /4. กลุ่มศนู ย.์ ..

20 4. กลุ่มศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) 1. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการทั้งในประเทศหรือต่างประเทศในการ จดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีอย่างเขม้ ขน้ โดยเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลกั สูตร การพฒั นาการจัดการ เรยี นรู้ การพัฒนาครู และการพฒั นาผู้เรยี น รวมทง้ั การกำกบั คุณภาพในทกุ ข้ันตอนของการจัดการอาชีวศึกษา ในสาขาวชิ าเฉพาะตาม Value Chain ของกลมุ่ อาชพี ในอตุ สาหกรรม 2. ครูมีจำนวนที่เพียงพอต่อการจัดการอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพ และได้รับ การฝึกประสบการณ์ ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ตลอดจนมีความสามารถในการผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอนด้วยแพลตฟอรม์ ดิจิทัลเพื่อการเรยี นรู้ (Digital Learning Platform) อย่างมีคุณภาพ รวมทง้ั มใี บรับรองผลการประเมนิ สมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบันคณุ วุฒวิ ชิ าชีพ ตรงตามระดับ ที่สำเร็จการศึกษา หรือใบอนุญาตประกอบอาชีพ (License) จากหน่วยงานที่มีอำนาจในการรับรองมาตรฐาน อาชีพ 3. สถานศกึ ษาตอ้ งมีโครงสร้างพ้นื ฐานและสภาพแวดล้อมทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ แหล่งเรยี นรู้ด้านดิจิทัล ที่มีคุณภาพ มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จัดหา แพลตฟอร์มดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อย่างมีคุณภาพ มีสิ่งแวดล้อมที่ดี ตลอดจนมีแนวทาง การบำรงุ รกั ษาใหม้ ีสภาพทพ่ี ร้อมใชง้ านอย่างตอ่ เนื่อง จนนำไปส่กู ารเปน็ SMART College 4. สถานศึกษาจัดการอาชีวศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคน ในสาขาวิชาเฉพาะตาม Value Chain ของกลุ่มอาชีพในอุตสาหกรรมท่ีสอดคล้องกบั ทิศทางการพฒั นาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve) โดยมีความพร้อมในการยกระดบั ให้เป็นวิทยาลัยเฉพาะทางทัง้ สถานศกึ ษา 5. สถานศกึ ษาต้องได้รบั รองคุณภาพสถานศึกษาอาชีวศึกษาจากตน้ สงั กัด 6. สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถาบนั การศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ ในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ทางวิชาการและวิชาชีพของครู และผูเ้ รยี น รวมทงั้ อาจได้รับคณุ วุฒิทางการศึกษาจาก สถาบันการศกึ ษาในประเทศหรอื ตา่ งประเทศท่มี ีความร่วมมอื ดว้ ย (Dual Degree) 7. สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลาย อาทิ Modular system และสามารถเชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการทำงานสู่ระบบคุณวุฒิ ทางการศึกษาอาชีวศึกษา ภายใต้ระบบสะสมหนว่ ยการเรียนรู้ (Credit Bank) 8. สถานศึกษามีบริบททางการศึกษาและบริบทเชิงพื้นที่ ที่เอื้อต่อการจัดการอาชีวศึกษาในสาขาวิชา ท่มี ีความเป็นเลิศและเชย่ี วชาญเฉพาะให้มีคุณภาพ 9. สถานศึกษามีการเสริมสร้างให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะและคุณลักษณะ ตามความต้องการของสถานประกอบการ หรอื ได้รับการรับรองสมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพในระดับประเทศ หรือระดับสากล และจบแลว้ ตอ้ งมงี านทำ 10. เป็นศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาครูวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศและเชี่ยวชาญเฉพาะ ใหก้ บั ครใู นสถานศกึ ษาเครือขา่ ยทง้ั รฐั และเอกชน /เปน็ ศูนย.์ ..

21 11. เป็นศูนย์ประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในระดับประเทศหรือระดับสากล หรือศูนย์ ทดสอบอื่น ๆ ในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชาภายใต้ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ ทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) 12. เป็นศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นให้กับภาคแรงงานที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะวิชาชีพ (Up Skill) หรือพฒั นาทักษะวิชาชพี (Re Skill) และประชาชนทว่ั ไปทต่ี อ้ งการเรียนรู้ทกั ษะวชิ าชพี ใหม่ (New Skill) 13. สถานศึกษาต้องจัดการศึกษาแบบประจำ (Boarding School) โดยมีหอพักภายในสถานศึกษา หรือเครือข่ายหอพักเอกชนที่มีคุณภาพ ซึ่งมีที่ตั้งไม่ไกลจากสถานศึกษา เพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพผู้เรยี น ไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื งนอกเหนือเวลาการจัดการเรียนการสอนปกติ อาทิ ทกั ษะการสอื่ สารภาษาต่างประเทศ 14. สถานศึกษาต้องสร้างวิสาหกิจเพื่อการเรียนรู้และปฏิบัติงานจริงในสถานศึกษา เพื่อสร้างโอกาส การเขา้ สู่โลกอาชีพและการมีงานทำของผู้เรยี น ท้ังน้ี การพิจารณาคัดเลือกสถานศึกษาอาชีวศึกษารัฐและเอกชนในแต่ละกลุ่ม ให้เป็นไปตามแนวทาง ที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับทิศทางการผลิตและพัฒนา กำลังคนในสาขาวิชาทีเ่ ป็นเป้าหมายการพฒั นาอุตสาหกรรมของประเทศตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และความเหมาะสมกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศต่อไป ประกาศ ณ วันท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2564

22 คำสงั่ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ี 104/2564 เรื่อง แต่งต้งั คณะกรรมการขับเคลื่อนศูนยค์ วามเปน็ เลิศทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ด้านการอาชีวศึกษา โดยมุ่งจัดการศึกษาเพื่อผลิตกำลังแรงงานที่มีคุณภาพ ตามความเป็นเลิศของแต่ละ สถานศึกษาและตามบริบทของพื้นที่ สอดคล้องกับความต้องการของประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือ ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน โดยเน้น ให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการสื่อสารภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมุ่งเน้นการพัฒนาครู อาชีวศึกษาให้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติ (Hand-on Experience) มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยการพัฒนาแบบเข้มข้นรวมทั้งการใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ ทั้งนี้เพื่อให้การจัดการศึกษา มคี ณุ ภาพและประสิทธิภาพ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เล็งเห็นถงึ ศักยภาพของการจัดการศึกษา อาชีวศึกษาตามบริบทที่แตกต่างกันตามพื้นที่การพัฒนาของภูมิภาค จึงกำหนดนโยบายในการพัฒนา อาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา ( Excellent Center) ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนระดับกลางในสาขาทีเ่ ปน็ ความต้องการของประเทศตามโมเดล ประเทศไทย 4.0 โดยความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มแข็ง เพิ่มกำลังคนในกลุ่มนักเทคโนโลยี และนวัตกรรมเข้าสู่กลุ่มอุตสาหกรรมรองรับการเปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นผลจาก Digital Disruption เร่งยกระดับ คุณภาพกำลังคนในกลุ่มผู้สำเรจ็ การศึกษาอาชีวศึกษา ผู้อยู่ในภาคแรงงาน ให้มีสมรรถนะใหม่ ทักษะใหม่ โดย กระบวนการสร้าง New Skill, Up Skill และ Re Skill รวมทั้งการจัดตั้งศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคล เพื่อความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) โดยการถ่ายทอด องค์ความรู้ ทักษะ และสมรรถนะ ที่ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ รวมถึงทักษะใหม่ที่จำเป็น ต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมอย่างต่อเน่ือง และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้สู่การผลิตนวตั กรรม ทจ่ี ะชว่ ยเสริมสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขนั ระดบั ชาติและนานาชาติ ดงั นัน้ เพ่อื ใหก้ ารดำเนินการขับเคลื่อนศนู ย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) บรรลุตามวัตถุประสงค์และเกิดประโยชน์สูงสุด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงแต่งตั้ง คณะกรรมการขบั เคลอ่ื นศูนย์ความเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการอำนวยการ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประธานกรรมการ 1. นายสเุ ทพ แกง่ สนั เทียะ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รองประธานกรรมการ 2. นายยศพล เวณุโกเศศ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา รองประธานกรรมการ 3. นายมณฑล ภาคสวุ รรณ์ ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รองประธานกรรมการ 4. นายอรรถพล สงั ขวาสี รักษาราชการแทนรองเลขาธิการคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา /5. เรืออากาศโท...

23 -2- กรรมการ 5. เรืออากาศโท สมพร ปานดำ ที่ปรึกษาด้านมาตรฐานอาชวี ศึกษาช่างอุตสาหกรรม กรรมการ 6. ที่ปรกึ ษาด้านมาตรฐานอาชีวศกึ ษาเกษตรกรรมและประมง กรรมการ 7. ทป่ี รึกษาด้านมาตรฐานอาชวี ศึกษาธุรกิจและบริการ กรรมการ 8. นายวณิชย์ อ่วมศรี ผู้ชำนาญการด้านการขับเคลื่อนนโยบายอาชีวศึกษา กรรมการ เพื่อพฒั นาศูนย์การเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง (Excellent Center) กรรมการ 9. นางศริ พิ รรณ ชมุ นุม ผู้ชำนาญการด้านการขับเคลื่อนนโยบายอาชีวศึกษา เพื่อพฒั นาศูนย์การเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง กรรมการ (Excellent Center) 10. นางปัทมา วรี ะวานิช ผู้ชำนาญการด้านการขับเคลื่อนนโยบายอาชีวศึกษา กรรมการ เพือ่ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศเฉพาะทาง (Excellent Center) กรรมการ 11. นายสรุ ตั น์ จั่นแย้ม ผู้ชำนาญการด้านการพัฒนาและความร่วมมือ (กรอ.อศ.) วิชาชีพระยะสั้นและการจัดการ กรรมการ อาชีวศกึ ษาทวภิ าคี กรรมการ 12. นายสาโรจน์ ขอจ่วนเตีย๋ ว ผู้ชำนาญการด้านการพัฒนาและความร่วมมือ กรรมการ (กรอ.อศ.) วิชาชีพระยะสั้นและการจัดการ กรรมการ อาชวี ศึกษาทวภิ าคี 13. นายพันธศุ์ ักด์ิ โรจนากาศ ผู้ชำนาญการด้านการพัฒนาและความร่วมมือ กรรมการ (กรอ.อศ.) วิชาชีพระยะสั้นและการจัดการ กรรมการ อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี กรรมการ 14. นายสง่า แตเ่ ชอ้ื สาย ผอู้ ำนวยการสำนักความรว่ มมือ กรรมการ 15. นายวทิ วัต ปญั จมะวตั ผอู้ ำนวยการสำนักนโยบายและแผนการอาชวี ศึกษา 16. ผอู้ ำนวยการสำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา กรรมการ 17. นายสุรพงษ์ เอิมอุทยั นกั ทรัพยากรบุคคลชำนาญการพิเศษรักษาราชการแทน /23. นายจรูญ... ผ้อู ำนวยการสำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบคุ ลากร อาชีวศึกษา 18. นางสาวก้านทพิ ย์ ชาตวิ งศ์ ผ้อู ำนวยการสำนักบริหารการอาชีวศึกษาเอกชน 19. นายศริ ิชัย จำเนยี รสวสั ดิ์ ผู้อำนวยการศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและกำลังคน อาชวี ศึกษา 20. นางรุง่ นภา จิตตป์ ระสงค์ ผอู้ ำนวยการศูนย์อาชีวศึกษาทวภิ าคี 21. นายราตรีสวสั ดิ์ ธนานนั ต์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกปัตตานี ปฏิบัติหน้าที่ รองผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ รักษาราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ 22. ผูอ้ ำนวยการสำนักบริหารงานบคุ คลและนิติการ

24 -3- 23. นายจรญู เตชะเจรญิ กจิ ผอู้ ำนวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชวี ศึกษา กรรมการ 24. นายนติ ิ นาชิต ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ รักษาการ หวั หนา้ หนว่ ยศึกษานิเทศก์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการและเลขานุการ รองผู้อำนวยการสำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษา และวิชาชีพ รักษาราชการแทนผู้อำนวยการ สำนัก มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและวชิ าชีพ มีหน้าทรี่ บั ผิดชอบ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. กำหนดนโยบายการขับเคลือ่ นศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) 2. กำกับและติดตามการขับเคลื่อนนโยบายศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายอยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล 3. ให้คำปรึกษาข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) ใหเ้ ป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และบรรลุตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่กำหนด 2. คณะกรรมการดำเนนิ งาน 1. นายมณฑล ภาคสุวรรณ์ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ 2. นางสาวยุพดี รงุ่ เรอื ง สำนักความร่วมมือ กรรมการ กรรมการ 3. นางสาธกิ า ศภุ กรี ติโรจน์ สำนักความร่วมมือ กรรมการ กรรมการ 4. นางสาวบุบผา เป็ดทิพย์ สำนักความร่วมมือ กรรมการ กรรมการ 5. นางสาวพนาวรรณ กลา้ แข็ง สำนักความร่วมมือ กรรมการ กรรมการ 6. นางสาวอังคณา จันทร์แสงศรี สำนักความร่วมมือ กรรมการ กรรมการ 7. นางปาณิสา สขุ รตั นาชยั สกุล สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชวี ศึกษา กรรมการ กรรมการ 8. นางสรพศั ย้ิมนวล สำนักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 9. นางสาวอุษณี ตันติชัยรัตนกูล สำนักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 10. นางสาวดารากร ปญั ญาทิพย์ สำนักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษา กรรมการ 11. นางนิตยร์ ดี ดำดว้ ง สำนักพฒั นาสมรรถนะครูและบคุ ลากรอาชวี ศึกษา 12. นายยงยทุ ธ ใจซอื่ ดี สำนักพฒั นาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชวี ศึกษา 13. นางสาวธณทั อร วรรณจรูญ สำนักพัฒนาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษา 14. นายดสุ ิต สนิ สขุ สำนักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรอาชีวศึกษา 15. นายนพคณุ มานะวสิ าร สำนักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศึกษา 16. นางสาวยศวดี ท่งั ทอง สำนักพฒั นาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา 17. นายกิตตภิ ณ แกว้ ตา สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา 18. นางมาลี อษุ ณะอำไพพงษ์ สำนักนโยบายและแผนการอาชวี ศกึ ษา 19. นางสุรีพร สังข์ออ่ น สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา /20. ว่าทร่ี ้อยตรี...

25 -4- 20. ว่าที่ร้อยตรี อทิ ธิพัทธ์ สมจู สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 21. นายกติ ติธชั สนั ธานเดชา สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 22. นายย่ิงศักดิ์ ไกรพินิจ สำนักติดตามและประเมินผลการอาชวี ศึกษา กรรมการ กรรมการ 23. นางสาวบญุ ญะวิภาตันทนานนท์ สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 24. นางสาวพรประภา ถาวร สำนักติดตามและประเมินผลการอาชวี ศึกษา กรรมการ กรรมการ 25. นางสาวขวญั ใจ แซ่ลิม้ สำนักติดตามและประเมินผลการอาชวี ศึกษา กรรมการ กรรมการ 26. นางสาวพจนีย์ ศรีสวัสด์ิ สำนักติดตามและประเมนิ ผลการอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 27. นางวิไลจิตต์ เอ่ียมตปนยี ะ สำนักบริหารงานบุคคลและนิติการ กรรมการ กรรมการ 28. นายพินนั ผลทรพั ย์ สำนักบริหารงานบุคคลและนิติการ กรรมการ กรรมการ 29. นายจักรพนั ธ์ พทุ ธวงศ์ สำนักบริหารงานบุคคลและนติ ิการ กรรมการ กรรมการ 30. นางสาวนารถนัฎดา มรี าศรี สำนักอำนวยการ กรรมการ กรรมการ 31. นางสาวปญิ นนั ท์ วณิชชากร ศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี กรรมการ กรรมการ 32. นายเจตน์สฤษฏ์ิ ทาเกิด ศนู ย์อาชวี ศึกษาทวิภาคี กรรมการ 33. นายศภุ ชยั สขุ มุ าลจันทร์ ศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและกำลังคนอาชีวศึกษา กรรมการ กรรมการ 34. นางนชุ รตั น์ เพง็ วนั ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและกำลังคนอาชวี ศึกษา กรรมการ กรรมการ 35. นายไพรัตน์ พรมมา หน่วยศึกษานิเทศก์ กรรมการ กรรมการ 36. นางสาวโสภดิ า ล้มิ วัฒนาพนั ธ์ หน่วยศึกษานิเทศก์ กรรมการ กรรมการ 37. นางสาวดุษฎี น้อยใจบญุ หนว่ ยศึกษานิเทศก์ 38. นางทพิ วรรณ์ วงศว์ เิ ชยี ร สำนกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ 39. นางสาวพรรษชล ทองค่ยุ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ 40. นางสาวอรวรรณ พรมไหม สำนกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวชิ าชีพ 41. นางสาวเพญ็ นภา ไพรบูรณ์ สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวชิ าชีพ 42. นายเอกสทิ ธ์ิ ปรมะ รองผู้อำนวยการวทิ ยาลัยเทคนิคชัยภูมิ 43. นายจักรี ราชนลิ รองผอู้ ำนวยการวทิ ยาลัยเทคนิคพมิ าย 44. นายกมล เรียงไธสง รองผอู้ ำนวยการวิทยาลยั เทคโนโลยี และการจัดการหนองสองห้อง 45. นายสมศักดิ์ มาตรทะเล รองผู้อำนวยการวิทยาลยั เทคนิคสรุ นารี 46. นายพงษศ์ าสตร์ อภธิ รรมพงศ์ รองผอู้ ำนวยการวิทยาลยั เทคนิคสุรนารี 47. นายฉัตรชัย สวุ รรณดี รองผูอ้ ำนวยการวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสระบรุ ี 48. นางสาวกรรณกิ าร์ แดนสีแกว้ รองผอู้ ำนวยการวิทยาลัยสารพดั ชา่ งอุบลราชธานี 49. นางมุทิตา ชัยเพชร รองผู้อำนวยการวิทยาลยั สารพัดชา่ งสกลนคร 50. นางสาวภทั รพรหอ่ ประภทั ร์พงศ์ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคจุฬาภรณ์ (ลาดขวาง) 51. นางสาวสริ ิลกั ษณ์ ศรธี ธิ ง รองผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาอุตรดติ ถ์ 52. นางสาวพัชรินทร์ อักษรผอม รองผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนคิ ตรัง /53. นายนิติ...

26 -5- 53. นายนิติ นาชิต ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี กรรมการและเลขานุการ 54. นางภคพร เพชรรัตน์ ปฏิบัติหน้าที่ รองผู้อำนวยการสำนัก มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ รกั ษา กรรมการและ ราชการแทนผู้อำนวยการสำนักมาตรฐาน ผชู้ ่วยเลขานกุ าร การอาชีวศึกษาและวชิ าชีพ สำนกั มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและวิชาชีพ กรรมการและ ผูช้ ่วยเลขานกุ าร 55. นางวัลยา นอ้ ยนาม สำนกั มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวิชาชพี กรรมการและ 56. นางสาวอัจฉราภรณ์ เสมคำ สำนักมาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวิชาชีพ ผู้ช่วยเลขานุการ 57. นายพิศาล บญุ มาวาสนาสง่ สำนกั มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวชิ าชีพ กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ 58. นายพิเชษฐ มที องคำ สำนกั มาตรฐานการอาชีวศกึ ษาและวิชาชีพ กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ มหี น้าทร่ี ับผิดชอบ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ดำเนนิ การจัดตัง้ ศนู ยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) 2. ดำเนินการกำหนดเกณฑ์และเครอ่ื งมือในการคัดเลอื กสถานศกึ ษาเขา้ รว่ มศูนยค์ วามเปน็ เลศิ ทางการ อาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) 3. ดำเนินการประเมินและคัดเลือกสถานศึกษาเพื่อเข้าร่วมศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และนำผลการคัดเลอื กสถานศกึ ษาเสนอผ้บู รหิ ารต่อไป 4. ดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานตามภารกิจที่รับมอบหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล โดยมีการกำกับติดตามการดำเนนิ งานอย่างใกลช้ ดิ จากหน่วยงานท่ีได้รบั มอบหมายต่อไป 5. ดำเนินงานตามทส่ี ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษามอบหมาย ให้ประธานกรรมการตามคำสั่งนี้สามารถแต่งตั้งอนุกรรมการเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสมเพื่อให้ การดำเนินงานเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อยและบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ ท้ังน้ี ตงั้ แต่บัดนีเ้ ปน็ ต้นไป สง่ั ณ วนั ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564

แบบท่ี 1 แบบสรปุ ผลการพิจารณาการจัดกลุ่มสาขาวชิ าและระดับคุณภาพ ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) ---------------------------------------------------- ตามที่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ประกาศเรื่อง แนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) เพ่อื เป็นแนวทางการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาภาครัฐและภาคเอกชน โดยแบง่ ได้ 4 กลุม่ คอื กล่มุ ทว่ั ไป (Standard) กลมุ่ เชย่ี วชาญเฉพาะ (Expert) กลุ่มความเปน็ เลิศ (Excellent Center) และกลมุ่ ศูนย์พัฒนาศกั ยภาพบุคคลเพื่อความเปน็ เลศิ ทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) ซึ่งการพิจารณาคัดเลือกสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและ ภาคเอกชนในแต่ละกล่มุ เปน็ ไปตามแนวทางที่สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากำหนด โดยคำนึงถึงความ สอดคล้องกบั ทิศทางการผลิตและพัฒนากำลังคนในสาขาวชิ าที่เป็นเป้าหมายการพฒั นาอตุ สาหกรรมของประเทศ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและความเหมาะสมกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเชิงพื้นที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพ และความสามารถในการแข่งขันของประเทศตอ่ ไป น้ัน บัดนี้ คณะกรรมการกลั่นกรองได้พิจารณาตามหลักเกณฑ์แบบประเมิน ฯ เรียบร้อยแล้ว จึงขอประกาศ ตามคุณลักษณะ จำนวน ....... กลมุ่ ดงั นี้ 1. กลุ่มศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพ่ือความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Human Capital Excellence Center : HCEC) 1.1 สาขาวชิ า ระดบั คุณภาพ ............... 2. กล่มุ ความเป็นเลิศ (Excellent Center) 2.1 สาขาวิชา ระดบั คุณภาพ ............... 2.2 สาขาวิชา ระดับคุณภาพ ............... 3. กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) 3.1 สาขาวิชา ระดบั คุณภาพ ............... 3.2 สาขาวชิ า ระดับคุณภาพ ............... 3.3 สาขาวิชา ระดับคุณภาพ ............... 4. กลุ่มทัว่ ไป (Standard) 4.1 สาขาวชิ า ระดบั คุณภาพ ............... 4.2 สาขาวชิ า ระดับคุณภาพ ............... 4.3 สาขาวชิ า ระดบั คุณภาพ ............... 4.4 สาขาวชิ า ระดับคุณภาพ ............... ทัง้ นี้ ต้งั แต่ บัดน้เี ปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ .......เดือน................พ.ศ. 2564 (..............................................) ผอู้ ำนวยการวิทยาลัย...............................

ตารางสรปุ ผลการพจิ ารณาก ตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศูนย์ความเ วิทยาลัย……………………………………………… Standard Expert 1.สาขาวชิ า…………………………………… 1.สาขาวิชา…………………………………… ระดับคุณภาพ ............... ระดบั คณุ ภาพ ............... 2.สาขาวชิ า…………………………………… 2.สาขาวิชา…………………………………… ระดบั คุณภาพ ............... ระดบั คณุ ภาพ ............... 3.สาขาวชิ า…………………………………… 3.สาขาวิชา…………………………………… ระดับคณุ ภาพ ............... ระดบั คณุ ภาพ ............... 4.สาขาวชิ า…………………………………… ระดับคณุ ภาพ ............... ........................................... ........................................... ( (.......................................................) (......................................................) คณะกรรมการกลน่ั กรอง คณะกรรมการกลั่นกรอง ผรู้ ับรอง (........................................ ผู้อำนวยการสถาน

การจัดกลุ่มสาขาวชิ า แบบที่ 2 เปน็ เลศิ ทางการอาชวี ศกึ ษา (Excellent Center) ……………………………………………… HCEC Excellent 1.สาขาวิชา…………………………………… 1.สาขาวิชา…………………………………… ระดบั คณุ ภาพ ............... ระดบั คุณภาพ ............... 2.สาขาวิชา…………………………………… ระดบั คุณภาพ ............... ........................................... ........................................... (... ..................................................) (....................................................... ) คณะกรรมการกลน่ั กรอง คณะกรรมการกลน่ั กรอง ...........................) นศกึ ษา

29 แบบตรวจสอบ แบบท่ี 3 สำหรบั คณะกรรมการกลั่นกรอง ระดับสถานศกึ ษา ตามแนวทางการจดั การสถานศึกษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเป็นเลศิ ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) -------------------------------------------------- ชื่อสถานศึกษา ............................................................................................................... .................................... ประเภทสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา  รัฐ  เอกชน ระดับ  ปวช.  ปวส.  ทล.บ. สาขาวิชา……………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาขางาน…………………………………………………………………………………………………………………………………………… รายการประเมิน 1. ความร่วมมอื กบั สถานประกอบการ  ไมม่ ีความรว่ มมอื  มีความร่วมมือ  ในพ้นื ท่บี รกิ าร  นอกพ้ืนทบ่ี ริการ/นอกจงั หวัด  ต่างประเทศ 2. ความรว่ มมอื กับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคี  ไม่มคี วามร่วมมือ  มคี วามร่วมมือกบั สถานประกอบการอย่างเข้มข้น  1.1 การพฒั นาหลักสูตร  1.2 การพัฒนาครู  1.3 การพัฒนานกั เรียนนักศกึ ษา  1.4 การสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา 3. อตั ราสว่ นครตู ่อนกั เรยี นนักศกึ ษา  3.1 มขี อ้ มลู ครู  3.2 อตั ราส่วน ครู : นักเรียน นกั ศกึ ษา อตั ราสว่ น ........... : .............. 4. ครูมีความสามารถในการผลิตสื่อดิจิทัล (Digital Content) และจัดการเรียนการสอนด้วยแพลตฟอร์มดิจิทัล เพอื่ การเรียนรู้ (Digital Learning Platform) อย่างมคี ุณภาพ  ไมม่ ี  มี จำนวน……….คน ……………………รายวชิ า

30 5. ครูมีใบรับรองผลการประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพจากสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ หรือ มาตรฐานฝีมือแรงงานจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือ ใบอนุญาตประกอบอาชีพ (License) จากหนว่ ยงานทม่ี ีอำนาจในการรบั รองมาตรฐานอาชพี  ไม่มี  มี จำนวน……….คน 6. โครงสร้างพนื้ ฐานและสภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา 6.1 ครภุ ณั ฑแ์ ละอุปกรณ์  ไม่มี  มี  ผลการคำนวณ ไม่ เพียงพอ  ผลการคำนวณ เพยี งพอ 6.2 นำระบบเครอื ขา่ ยอจั ฉริยะ และเทคโนโลยีดิจิทลั เขา้ มาใชใ้ นสถานศกึ ษา  ไม่มี  มี 6.3 แพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั เพื่อการเรยี นรู้ (Digital Learning Platform)  ไม่มี  มี 6.4 มีศักยภาพในการพัฒนาสู่การเป็น SMART College  ไม่มี  มี 7. การจัดการอาชวี ศกึ ษาเพอื่ ผลติ และพัฒนากำลงั คน  7.1 ตอบสนองความต้องการของชุมชน  7.2 ตอบสนองทิศทางการพฒั นาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (S-Curve) 8. ความร่วมมือกบั สถาบนั การศึกษาอาชีวศกึ ษา/อุดมศกึ ษาในประเทศ  ไม่มีความร่วมมือ  มคี วามร่วมมอื 9. ความรว่ มมือกับสถาบนั การศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา/อดุ มศกึ ษาตา่ งประเทศ  ไมม่ ีความร่วมมอื  มคี วามร่วมมือ 10. การพฒั นาหลักสูตรใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานอาชพี 10.1 การพัฒนาหลกั สูตรร่วมกับสถานประกอบการ  ไม่มี  มี

31 10.2 ความเช่อื มโยงสมรรถนะอาชีพกบั ระบบคณุ วฒุ ิทางการศึกษา  ไม่มี  มี 11. นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้  ไม่มี  มี 12. ระบบสะสมหนว่ ยการเรยี นรู้ (Credit Bank)  ไมม่ ี  มี 13. การเสริมสร้างให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีสมรรถนะและคุณลักษณะตามความต้องการ ของสถานประกอบการ และจบแลว้ ตอ้ งมีงานทำ 13.1 โครงการเสริมสรา้ งสมรรถนะผเู้ รียน  ไมม่ ี  มี 13.2 การทดสอบมาตรฐานอาชีพของนกั เรียนนกั ศกึ ษา  ไมม่ ี  มี 14. ข้อมลู การมีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษา (ปีการศกึ ษา 2562) ภาวะการมงี านทำร้อยละ ........................ 15. เป็นศูนย์ฝกึ อบรมและพฒั นาครูวชิ าชีพในสาขาวิชา  ไมเ่ ปน็  เป็น 16. เป็นศนู ยป์ ระเมนิ สมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในระดบั ประเทศหรือระดับสากล 16.1 ระดับประเทศ  ไมเ่ ป็น  เป็น 16.2 ระดับสากล  ไม่เป็น  เปน็ 17. เป็นศูนย์ฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้นให้กับภาคแรงงานที่ต้องการเพิ่มพูนทักษะวิชาชีพ (Up Skill) หรอื พัฒนาทักษะวชิ าชพี (Re Skill) และประชาชนทวั่ ไปทต่ี ้องการเรยี นรู้ทักษะวชิ าชีพใหม่ (New Skill)  ไมเ่ ป็น  เปน็

32 18. หอพักนักเรยี นนักศึกษา 18.1 ในสถานศกึ ษา  ไม่มี  มี 18.2 เครือข่ายหอพกั เอกชนที่มคี ณุ ภาพ  ไมม่ ี  มี 19. มีโรงแรม/ทพี่ ักภายในสถานศกึ ษาสำหรบั บรกิ ารใหก้ บั ครูและประชาชนท่วั ไป  ไมม่ ี  มี 20. มวี ิสาหกจิ เพ่อื การเรยี นรูใ้ นสถานศึกษา  ไมม่ ี  มี 21. บริบททางการศกึ ษาและบรบิ ทเชงิ พืน้ ท่ี ทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรยี นการสอนในสาขาวชิ า ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................. ............................................................................................ สรุปผลการพจิ ารณา  Standard  Expert  Excellent Center  HCEC ................................................. ................................................... ........................................... (....................................................) (..................................................) (..............................................) ................................................. ................................................... (....................................................) (..................................................)

33 แบบท่ี 3.1 เกณฑก์ ารตรวจสอบ สำหรบั การจัดกลุม่ สาขาวชิ า ตามแนวทางการจัดการสถานศกึ ษา ภายใต้ศนู ยค์ วามเป็นเลิศทางการอาชวี ศึกษา (Excellent Center) รายการประเมิน Standard Expert Excellent HCEC 1.ความรว่ มมือกับ - มีรายการประเมนิ ขอ้ 1 - มรี ายการประเมนิ ข้อ 1 - มีรายการประเมนิ ขอ้ 1 - มรี ายการประเมิน ข้อ 1 สถานประกอบการ “มีความรว่ มมือ” “มคี วามรว่ มมอื ” “มคี วามร่วมมือ” “มคี วามรว่ มมือ” - มรี ายการประเมิน ข้อ 2 - มรี ายการประเมนิ - มรี ายการประเมนิ มีความรว่ มมอื กบั สถาน ประกอบการอยา่ งเขม้ ข้น ข้อ 2 มีความรว่ มมือกับ ข้อ 2 มีความร่วมมือ (ไม่ครบทุกรายการ) สถานประกอบการอยา่ ง กับสถานประกอบการ เข้มขน้ (ครบทกุ อยา่ งเขม้ ข้น (ครบทุก รายการ) ประกอบดว้ ย รายการ) ประกอบดว้ ย • ขอ้ 1.1 • ขอ้ 1.1 • ข้อ 1.2 • ขอ้ 1.2 • ข้อ 1.3 • ข้อ 1.3 • ข้อ 1.4 • ข้อ 1.4 2. ครู - มีรายการประเมิน ขอ้ - มรี ายการประเมนิ ข้อ 3.1 - มรี ายการประเมิน ขอ้ 3.1 - มรี ายการประเมิน ข้อ3.1 3.1 - มรี ายการประเมิน ข้อ 3.2 - มรี ายการประเมิน ขอ้ 3.2 - มรี ายการประเมิน ขอ้ 3.2 มีจำนวนอตั ราครตู ่อ มจี ำนวนอัตราครูตอ่ มจี ำนวนอัตราครูตอ่ นกั เรยี นนักศกึ ษาเกิน นกั เรียนนกั ศกึ ษาเกิน นักเรียนนกั ศึกษาเกนิ กวา่ กว่าเกณฑก์ ำหนดหรือ กว่าเกณฑ์กำหนดหรอื เกณฑ์กำหนดหรือ มากกว่า มากกว่า มากกว่า เชน่ 20:1 เช่น 20:1 เชน่ 20:1 หรอื 19 :1 หรอื 19 :1 หรือ 19 :1 และมีรายการประเมนิ ข้อ 2 และมีรายการประเมนิ ขอ้ 2 และมรี ายการประเมนิ ขอ้ 2 รายการท่ี 1.2 การพฒั นา รายการที่ 1.2 การพัฒนา รายการที่ 1.2 การพฒั นา ครู หวั ขอ้ การฝึก ครู หัวขอ้ การฝึก ครู หวั ข้อการฝกึ ประสบการณ์ทักษะ ประสบการณ์ทกั ษะ ประสบการณ์ทกั ษะ วชิ าชีพในสถาน วิชาชีพในสถาน วชิ าชีพในสถาน ประกอบการ ประกอบการ ประกอบการ -มีรายการประเมิน ข้อ 4 -มีรายการประเมนิ ข้อ 4 -มีรายการประเมนิ ข้อ 5 -มีรายการประเมิน ขอ้ 5

รายการประเมิน Standard Expert Excellent 34 HCEC 3.โครงสรา้ งพื้นฐาน - มรี ายการประเมิน ข้อ 6.1 - มรี ายการประเมิน ขอ้ 6.1 - มรี ายการประเมนิ ข้อ6.1 - มรี ายการประเมนิ ข้อ6.1 และสภาพแวดลอ้ ม และมผี ลการคำนวณความ และมผี ลการคำนวณ และมผี ลการคำนวณ ทางการศกึ ษา เพียงพอขอครุภณั ฑ์ และ ความเพียงพอของ ความเพียงพอของ อุปกรณ์ ต่อ จำนวน ครภุ ณั ฑ์และอุปกรณ์ ต่อ ครุภณั ฑ์และอปุ กรณ์ ตอ่ นักเรียน นักศกึ ษา ทีเ่ ขา้ จำนวนนกั เรียน จำนวนนักเรียน นกั ศกึ ษา ใชบ้ ริการตอ่ คร้งั ตาม นักศึกษา ทเ่ี ขา้ ใช้บรกิ าร ท่ีเข้าใช้บริการตอ่ ครง้ั บริบทสาขาที่จดั การเรยี น ตอ่ คร้งั ตามบริบทสาขาท่ี ตามบรบิ ทสาขาทจ่ี ัดการ การสอน จัดการเรยี นการสอน เรียนการสอน - มีรายการประเมนิ ขอ้ 6.2 - มีรายการประเมนิ ข้อ 6.2 - มรี ายการประเมนิ ข้อ 6.3 - มีรายการประเมิน ข้อ 6.3 4. การจดั การ - มีรายการประเมิน ขอ้ 7.1 - มีรายการประเมิน ขอ้ 7.1 - มรี ายการประเมิน ข้อ 6.4 - มีรายการประเมิน ข้อ 8 - มีรายการประเมนิ ขอ้ 7.2 - มีรายการประเมนิ ข้อ 7.2 อาชีวศกึ ษาเพอ่ื ผลิต - มีรายการประเมิน ขอ้ 10 (10.1) และพัฒนากำลังคน 5.ความรว่ มมอื กับ - - มรี ายการประเมนิ ขอ้ 8 - มีรายการประเมนิ ขอ้ 8 สถาบนั การศึกษา อุดมศกึ ษา ในประเทศ - มีรายการประเมนิ ขอ้ 9 - มีรายการประเมนิ ข้อ 9 หรือต่างประเทศ 6.การพัฒนาหลกั สูตร - - มรี ายการประเมิน - มรี ายการประเมิน ขอ้ 10 (10.1) ขอ้ 10 (10.1) - มีรายการประเมิน - มรี ายการประเมิน ข้อ 10 (10.2) ข้อ 10 (10.2) 7.การเสริมสรา้ งให้ - - มรี ายการประเมนิ ข้อ 11 - มีรายการประเมนิ ขอ้ 11 ผ้เู รยี นและผสู้ ำเรจ็ - มีรายการประเมนิ ขอ้ 12 การศกึ ษามสี มรรถนะ - ตามมาตรฐานอาชพี - - - มรี ายการประเมนิ ข้อ 13 - มีรายการประเมิน ขอ้ 13 - 8.ศูนย์ฝกึ อบรมและ - มีรายการประเมิน ขอ้ 14 - มีรายการประเมิน ข้อ 14 พัฒนาครวู ิชาชพี ภาวะการมงี านทำ ภาวะการมีงานทำ 9.ศูนยป์ ระเมนิ นอ้ ยกว่า ร้อยละ 80 ร้อยละ 80 ขึน้ ไป สมรรถนะบุคคลตาม - - - มีรายการประเมนิ ขอ้ 15 มาตรฐานอาชพี 10. วิสาหกจิ เพอ่ื การ - มรี ายการประเมิน ข้อ 19 เรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา -- - มรี ายการประเมิน ข้อ 16 - - - มีรายการประเมนิ ข้อ 20

แบบประเมินคณุ ภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศนู ย์ความเป็นเลิศ 35 ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) แบบที่ 4 กล่มุ ท่ัวไป (Standard) สถานศกึ ษา............................................................................... สาขาวิชา........................................................................ ตัวช้วี ัด รายการดำเนินงาน เกณฑ์การให้ ระดบั คะแนน สรปุ คะแนน 0 1 2 3 4 คะแนน 1.1 รปู แบบการจัด 1. มีการจดั การเรียนการสอนใน 0 – ไม่มีการดำเนินงาน การเรียนการสอน ระบบ 1 - มีการดำเนนิ งาน 1 2. มีการใช้หลกั สูตรที่เปดิ สอนตาม รายการ เกณฑ์ท่ตี ้นสังกัดกำหนด 2 - มีการดำเนนิ งาน 2 3. มกี ารเพ่มิ เติมคำอธบิ ายรายวชิ า รายการ ในหลักสูตรให้มีความทนั สมัย 3 - มีการดำเนินงาน 3 4. มกี ารประเมินการใช้หลกั สตู ร รายการ 4 – มกี ารดำเนนิ งาน ครบทกุ รายการ 1.2 ครวู ชิ าชพี 1. มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาวิชาชพี ตรงตาม 0 - ไม่มีการดำเนินงาน สาขาวิชาทส่ี อน 1 - มกี ารดำเนินงาน 1- 2. ได้รบั การพฒั นาตามเกณฑ์ท่ี 2 รายการ ก.ค.ศ. กำหนด 2 - มีการดำเนินงาน 3 3. มกี ารสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ รายการ ทางวชิ าชีพ (PLC) ในสาขาวิชา 3 - มีการดำเนินงาน 4 4. มกี ารจดั ทำแผนการสอน รายการ 5.มีการจัดทำวจิ ัยในชัน้ เรยี น 4 - มีการดำเนนิ งาน ครบทุกรายการ 1.3 โครงสรา้ งพืน้ ฐาน 1. มหี ้องเรียน หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 0 – ไม่มกี ารดำเนินงาน ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ สื่อ ในการจัด 1 - มกี ารดำเนินงาน 1 และสอ่ื การสอน การเรียนการสอน รายการ 2. มหี ้องเรียน ห้องปฏบิ ตั ิการ 2 - มกี ารดำเนินงาน 2 สะอาด และเป็นระเบยี บ พรอ้ มใช้ รายการ งาน 3 - มีการดำเนนิ งาน 3 3. มคี รุภัณฑ/์ อุปกรณ์ สือ่ ที่ รายการ สามารถใชง้ านได้ 4 – มกี ารดำเนนิ งาน 4. มีการดูแล ซ่อมแซม/ปรบั ปรุง ครบทุกรายการ ครภุ ณั ฑ/์ อุปกรณ์ สอ่ื ให้ สามารถ ใชง้ านได้ตามปกติ 1.4 การผลิตและ 1. มกี ารพัฒนาผเู้ รียนให้มี 0 - ไม่มีการดำเนนิ งาน พฒั นากำลังคน สมรรถนะตามที่หลักสตู ร 1 - มีการดำเนนิ งาน กำหนด 1-2 รายการ 2. มกี ารสำรวจความตอ้ งการของ 2 - มกี ารดำเนินงาน 3 ชมุ ชนก่อนเปิดสอนตาม รายการ หลักสูตร 3 - มีการดำเนนิ งาน 4 3. มกี ารจดั กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร รายการ ใหผ้ เู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะตามท่ี 4 - มกี ารดำเนินงาน ชุมชนตอ้ งการ ครบทกุ รายการ

36 ตวั ช้ีวดั รายการดำเนนิ งาน เกณฑ์การให้ ระดบั คะแนน สรุป คะแนน 0 1 2 3 4 คะแนน 4. มกี ารประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี 5. มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของ ชมุ ชนต่อผู้เรียนและผสู้ ำเร็จ การศกึ ษา 1.5 การรบั รองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนินการตามมาตรฐาน 0 - ไม่มกี ารดำเนินงาน การอาชวี ศกึ ษา 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 2. มกี ารวางแผนการดำเนนิ งาน 1-2 รายการ อย่างมคี ณุ ภาพ 2 - มกี ารดำเนินงาน 3. มกี ารดำเนนิ งานตามแผนท่ี 3-4 รายการ กำหนด 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5 4. มกี ารกำกับตดิ ตามการ รายการ ดำเนินงานทกุ ข้นั ตอน 4 - มีการดำเนนิ งาน 5. มกี ารรายงานผลการดำเนินงาน ครบทกุ รายการ ตอ่ ผู้ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 6. มกี ารจดั ทำรายงานการประเมิน ตนเอง ตามมาตรฐานการ อาชีวศึกษา อยา่ งต่อเนอ่ื ง รวมคะแนน ค่าคะแนนเฉล่ยี สรปุ ผลการประเมนิ  ดี  ปานกลาง  พอใช้  ดมี าก เกณฑก์ ารประเมนิ 3.51 - 4.00 หมายถึง มีผลการประเมินอยใู่ นระดับ ดีมาก ค่าคะแนนเฉลย่ี 2.51 - 3.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอย่ใู นระดบั ดี คา่ คะแนนเฉลยี่ 1.51 - 2.50 หมายถึง มผี ลการประเมินอยใู่ นระดบั ปานกลาง ค่าคะแนนเฉลย่ี 1.00 - 1.50 หมายถงึ มีผลการประเมนิ อยู่ในระดับ พอใช้ คา่ คะแนนเฉลีย่ (....................................) (....................................) (....................................) (....................................) กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (.........................................) ประธาน

แบบประเมนิ คุณภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศ 37 ทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) แบบที่ 4 กล่มุ เชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สถานศึกษา............................................................................... สาขาวิชา........................................................................ ตวั ชวี้ ัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับคะแนน สรปุ 0 1 2 3 4 คะแนน 2.1 รูปแบบการจดั การ 1. มีการจดั การเรียนการสอนใน 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน เรยี นการสอน ระบบ 1 - มกี ารดำเนนิ งาน 1-2 2. มีการจัดการเรยี นการสอนระบบ รายการ ทวภิ าคี 2 - มีการดำเนินงาน 3-4 3. มีการใช้หลกั สูตรทเ่ี ปิดสอนตาม รายการ เกณฑ์ทต่ี น้ สังกัดกำหนด 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5 4. มีการเพิม่ เติมคำอธบิ ายรายวิชา รายการ ในหลกั สตู รใหม้ ีความทันสมัย 4 - มีการดำเนินงานครบ 5. มกี ารจัดทำแผนการฝึกอาชีพ ทกุ รายการ รว่ มกบั สถานประกอบการ 6. มีการประเมนิ ผลหลักสูตร รายวิชา 2.2 ครูวชิ าชีพ 1. มีจำนวนครวู ิชาชีพเพยี งพอต่อ 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน การจัดการเรียนการสอนอยา่ งมี 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2 คณุ ภาพ รายการ 2. มวี ุฒิการศึกษาวชิ าชพี ตรงตาม 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4 สาขาวชิ าท่ีสอน รายการ 3. ไดร้ ับการพฒั นาตามเกณฑ์ท่ี 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5-6 ก.ค.ศ. กำหนด รายการ 4. ไดร้ ับการฝึกประสบการณ์ทกั ษะ 4 - มีการดำเนินงานครบ วชิ าชีพในสถานประกอบการ ทุกรายการ 5. มกี ารสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ ทางวชิ าชีพ (PLC) ในสาขาวชิ า 6. มีการจดั ทำแผนการสอน/ แผนการฝึกอาชีพ 7.มีการจัดทำวจิ ยั ในชั้นเรยี น 2.3 โครงสร้างพื้นฐาน 1. มีห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน ครุภณั ฑ์/อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ สือ่ ในการ 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2 และสื่อการสอน จดั การเรยี นการสอน รายการ 2. มีหอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ัติการ 2 - มีการดำเนนิ งาน 3 สะอาด และเปน็ ระเบยี บ รายการ พรอ้ มใชง้ าน 3 - มีการดำเนนิ งาน 4 3. มีครภุ ณั ฑ์/อุปกรณ์ สือ่ ท่ี รายการ สามารถใช้งานได้ 4 - มีการดำเนนิ งานครบ 4. มีครุภณั ฑ์/อปุ กรณ์ ส่ือ ท่ี ทกุ รายการ เพยี งพอต่อการจัดการเรยี นการ สอน 5. มีการดูแล ซอ่ มแซม/ปรับปรงุ ครภุ ณั ฑ/์ อปุ กรณ์ ส่ือ ให้ สามารถใชง้ านไดต้ ามปกติ

38 ตัวชวี้ ัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดบั คะแนน สรปุ 0 1 2 3 4 คะแนน 2.4 การผลิตและพฒั นา 1. มีการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ี 0 - ไมม่ ีการดำเนนิ งาน กำลงั คน สมรรถนะตามทีห่ ลกั สตู รกำหนด 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 2. มกี ารสำรวจความต้องการของ รายการ ชุมชนกอ่ นเปิดสอนตาม 2 - มีการดำเนินงาน 3 หลักสตู ร รายการ 3. มกี ารจัดกิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร 3 - มีการดำเนนิ งาน 4 ใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ลักษณะตามที่ รายการ ชมุ ชนตอ้ งการ 4 - มีการดำเนนิ งานครบ 4. มกี ารประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ทกุ รายการ 5. มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของ ชมุ ชนต่อผเู้ รียนและผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษา 2.5 การรบั รองคณุ ภาพ 1. มีการดำเนนิ การตามมาตรฐาน 0 - ไม่มีการดำเนินงาน การอาชวี ศกึ ษา 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-2 2. มีการวางแผนการดำเนินงาน รายการ อยา่ งมคี ุณภาพ 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 3-4 3. มีการดำเนินงานตามแผนที่ รายการ กำหนด 3 - มีการดำเนินงาน 5 4. มีการกำกับตดิ ตามการ รายการ ดำเนินงานทุกขัน้ ตอน 4 - มีการดำเนินงานครบ 5. มกี ารรายงานผลการดำเนินงาน ทกุ รายการ ตอ่ ผูท้ ่เี กี่ยวขอ้ ง 6. มีการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง ตามมาตรฐานการ อาชีวศกึ ษา อยา่ งต่อเนอ่ื ง 2.6 ความรว่ มมือกบั 1. มบี นั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ 0 - ไม่มกี ารดำเนนิ งาน สถาบันการศึกษา 2. มีแผนการพฒั นาครู 1 - มีการดำเนนิ งาน 1-2 ในประเทศ 3. มีแผนการพฒั นานกั เรียน รายการ นกั ศกึ ษา 2 - มกี ารดำเนินงาน 3 4. มกี ารดำเนนิ งานตามข้อตกลง รายการ ความร่วมมอื อยา่ งต่อเนื่อง 3 - มีการดำเนนิ งาน 4 5. มกี ารติดตามการดำเนนิ งาน รายการ ตามขอ้ ตกลงความร่วมมอื 4 - มีการดำเนินงานครบ ทกุ รายการ 2.7 พัฒนาหลักสตู ร 1. มกี ารพัฒนาหลกั สตู รรายวิชา 0 – ไม่มกี ารดำเนนิ งาน ร่วมกับสถาน ร่วมกบั สถานประกอบการ 1 – มกี ารดำเนินงาน 1 ประกอบการ 2. มีการจดั แผนการเรยี นรว่ มกบั รายการ สถานประกอบการ 2 – มกี ารดำเนินงาน 2 3. มีการศึกษาความคาดหวังของ รายการ สถานประกอบการตอ่ สมรรถนะ 3 – มีการดำเนินงาน 3 ผู้เรียนและผ้สู ำเร็จการศึกษา รายการ 4. มีการประเมนิ การใชห้ ลกั สตู ร 4 – มีการดำเนินงาน ครบทกุ รายการ 2.8 บริบทเชงิ พน้ื ที่ 1. มีสถานประกอบการจำนวนมาก 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน ที่เอ้อื ตอ่ การ ในพ้นื ท่ี 1 - มกี ารดำเนินงาน 1-3 จดั การอาชวี ศึกษา 2. มเี ขตอตุ สาหกรรม/นคิ ม รายการ อุตสาหกรรมในพ้นื ท่ี 2 - มกี ารดำเนนิ งาน 4-5 3. มสี ถาบนั อุดมศึกษาในพืน้ ท่ี รายการ

39 ตวั ชี้วัด รายการดำเนนิ งาน เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับคะแนน สรปุ 1234 คะแนน 4. มีศนู ย์การเรียนร้ทู างวิชาชพี ใน 3 - มีการดำเนนิ งาน 6-7 0 พ้นื ท่ี รายการ รวมคะแนน 5. มที ำเลที่ต้ังท่เี หมาะสม 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบ 6. มกี ารคมมนาคมทสี่ ะดวก ทกุ รายการ 7. ชมุ ชนให้ความสำคญั กับการ อาชีวะและเทคนิคศกึ ษา 8. ขนาดพื้นทภ่ี ายในสถานศกึ ษา สามารถรองรับการขยายกำลัง การผลติ และพัฒนากำลงั คนใน อนาคต คา่ คะแนนเฉลยี่ สรปุ ผลการประเมิน  ดี  ปานกลาง  พอใช้  ดีมาก เกณฑก์ ารประเมนิ 3.51 - 4.00 หมายถงึ มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดับ ดมี าก คา่ คะแนนเฉลย่ี 2.51 - 3.50 หมายถงึ มผี ลการประเมินอยใู่ นระดับ ดี ค่าคะแนนเฉลย่ี 1.51 - 2.50 หมายถึง มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ค่าคะแนนเฉลยี่ 1.00 - 1.50 หมายถงึ มผี ลการประเมินอยู่ในระดบั พอใช้ ค่าคะแนนเฉลีย่ (....................................) (....................................) (....................................) (....................................) กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ (.........................................) ประธาน

แบบประเมินคณุ ภาพตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใตศ้ นู ยค์ วามเป็นเลิศ 40 ทางการอาชีวศกึ ษา (Excellent Center) แบบที่ 4 กลุ่มความเปน็ เลศิ (Excellent Center) สรปุ สถานศกึ ษา............................................................................... คะแนน สาขาวิชา........................................................................ ตัวชว้ี ดั รายการดำเนินงาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั คะแนน 3.1 รปู แบบการจัดการ 01234 เรียนการสอน 1. มีการจดั การเรยี นการสอนใน 0 - ไมม่ กี ารดำเนนิ งาน 3.2 ครูวชิ าชพี ระบบ 1 - มีการดำเนินงาน 1-2 2. มกี ารจดั การเรียนการสอน รายการ ระบบทวิภาคีอยา่ งเขม้ ขน้ 2 - มกี ารดำเนินงาน 3-4 3. มีการใช้หลักสูตรที่เปดิ สอน รายการ ตามเกณฑท์ ต่ี ้นสงั กัดกำหนด 3 - มกี ารดำเนนิ งาน 5 4. มกี ารเพ่มิ เตมิ คำอธิบาย รายการ รายวชิ าในหลกั สูตรให้มคี วาม 4 - มกี ารดำเนนิ งานครบ ทันสมัย ทุกรายการ 5. มีการจดั ทำแผนการฝกึ อาชพี รว่ มกบั สถานประกอบการ 6. มีการประเมินผลหลกั สูตร รายวิชา 1. มีจำนวนครูวิชาชพี เพียงพอตอ่ 0 - ไมม่ กี ารดำเนินงาน การจดั การเรยี นการสอนอยา่ ง 1 - มีการดำเนินงาน 1-3 มีคณุ ภาพ รายการ 2. มวี ฒุ กิ ารศกึ ษาวิชาชพี ตรง 2 - มีการดำเนนิ งาน 4-6 ตามสาขาวชิ าท่สี อน รายการ 3. ได้รับการพฒั นาตามเกณฑ์ที่ 3 - มีการดำเนินงาน 7-9 ก.ค.ศ. กำหนด รายการ 4. ไดร้ ับการฝึกประสบการณ์ 4 - มีการดำเนนิ งานครบ ทักษะวิชาชพี ในสถาน ทกุ รายการ ประกอบการ 5. มกี ารสรา้ งชมุ ชนแห่งการ เรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ใน สาขาวชิ า 6. มกี ารจัดทำแผนการสอน/ แผนการฝกึ อาชพี 7. มีการจดั ทำวิจยั ในชัน้ เรยี น 8. มคี วามสามารถในการผลติ ส่ือ ดจิ ิทัล (Digital Content) 9. มคี วามสามารถในการจัดการ เรียนการสอนดว้ ยแพลตฟอรม์ ดิจทิ ัลเพ่ือการเรยี นรู้ (Digital Learning Platform) อยา่ งมี คุณภาพ 10.มใี บรับรองผลการประเมิน สมรรถนะบุคคลตามมาตรฐาน อาชีพจากสถาบนั คณุ วฒุ ิ วิชาชีพ