Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PM2.5 Emagazine

PM2.5 Emagazine

Published by eventsmb, 2022-07-26 17:03:08

Description: PM2.5 Emagazine

Search

Read the Text Version

สารจากผู้อำ�ำนวยการสำำ� นักงานการวจิ ยั แหง่ ชาติ ด้วยประเทศไทยเผชิญปัญหามลภาวะทาง PบMรบิ 2ท.5ขทอ่ีเงหปมระาเะทสศมไทกยับ ทอาร่ี กนุ าแศรงฝมนุ่ากลขะนึ้อทองกุ ขปนี โาดดยไเมฉ่เพกานิ ะพ2นื้.5ทกไี่ มรคงุ เรทอพนมห(PาMนค2.5ร) ภายใต้ชุดโครงการ และปริมณฑล และภาคเหนือของประเทศไทย ด้านการป้องกันและ ซง่ึ หนว่ ยงานภาครฐั และภาควชิ าการมคี วามพยายาม แก้ไขปัญหาฝุ่นละออง ศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน และรัฐบาล ข น า ด เ ล็ ก ยPอMย่า2.ง5บู ขอ ง ยกระดับมาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองเป็นวาระ ประเทศไท รณ า ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ผ ล ผ ลิ ต แห่งชาติ โดยความร่วมมือของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ดำ�ำเนินการตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระ สำำ� หรบั แผนงานและโครงการในกลมุ่ เรอื่ ง P25M623.5 แหง่ ชาตกิ ารแก้ปญั หามลพิษดา้ นฝุน่ ละออง ทไ่ี ดร้ บั ทนุ อดุ หนนุ การวจิ ยั ประจำำ� ปงี บประมาณ สำ�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวง ไดม้ ผี ลผลติ และผลสำำ� เรจ็ ทส่ี ามารถผลกั ดนั ไปสกู่ ารใช้ การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมได้ ประโยชนไ์ ด้ วช. จงึ เหน็ สมควรจดั ทำำ� เอกสารเผยแพร่ สนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรมตามแผนงานสำำ� คัญ ผลงานวิจัย รวมท้ังการจัดสัมมนาวิชาการเผยแพร่ ของประเทศ ภายใตก้ รอบการวจิ ยั และนวตั กรรมกลุ่ม ผลการดำ�ำเนินงานของโครงการวิจัยในประเด็น เถรึงอ่ื กงาPรMป2้อ.5งทกเ่ี ันนน้แกลาะรแวกจิ ้ไยั ขเชปงิ ัญรกุ หเาพเอื่ร่ืสอรงา้คงุณควภาามพตอระาหกนาศกั กเพา่ืรอปใหอ้ ง้ทกุกนั ภแาลคะสแก่วไ้นขทปี่เญั กห่ียาวฝขนุ่้อลงะไดออ้ทงรขานบาถดึงเลแก็นวPทMา2.ง5 รแะลดะมคค่าวฝาุ่นมลเหะอ็นอจงาขกนทาุกดภเาลค็กส่วPนMท2่ีเ.ก5 ี่ยโวดขย้อกงารเพปื่อระนำช�ำุมสู่ วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หา และการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ กดิ ความยั่งยนื รวมถึงให้ทกุ คนเกดิ ความตระหนกั และ การกำ�ำหนดแผนงานวิจัยตอบโจทย์ผู้ใช้ประโยชน์ มีจิตสำ�ำนึกด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม และหวังเป็น ตามความต้องการของประเทศ โดยมีกลไกความ อย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ร่วมมือทางวิชาการระหว่างสำ�ำนักงานการวิจัย และผู้ที่สนใจสามารถนำ�ำผลงานไปประยุกต์ต่อยอด แห่งชาติและกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) ซ่ึง คพ. งานวจิ ัยให้เกดิ องคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และนวตั กรรม เป็นหน่วยงานหลักท่ีมีบทบาทในการแก้ไขปัญหา ใหม่ ซ่ึงเป็นพื้นฐานการสร้างกลไกการขับเคล่ือน คฝุ่พนล. ระว่ อมอกงันขกนำ�ำาหดนเลด็กแผPนMงา2.น5 วขิจอยั งทป่ีสราะมเาทรศถตวอชบ.โจแทลยะ์ เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเพื่อให้ ประเทศไทยมีอากาศบริสุทธิ์ และประชาชนมีความ ใน การแก้ ไ ข ปั ญห าเพื่ อ ให ้ เกิ ดผ ล งาน วิ จั ย เปน็ อยู่ทด่ี จี ากการมสี ภาวะแวดล้อมท่ดี ขี น้ึ และนวัตกรรมที่สามารถขับเคล่ือนสู่การนำ�ำไปใช้ ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก ดร.วิภารตั น์ ดีอ่อง ผอู้ ำ�ำนวยการสำำ� นกั งานการวิจัยแหง่ ชาติ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม

Cส OาNTรENบั TSญ 1 กลุ่มบรหิ ารจัดการเชงิ พื้นท่ี - กAกPใกกRแแPDนผบaาาาาoseeพบนรรรรrslsvitพตปจจนื้eงeeciำcัด�sารalรyทฒัำolลนsะวrทีก่eำDเpcmจอว�มนรำhmseวจิแงนิาุงeicเินยัสแzเPมคenำทiนว�เesnาrรชtำพทหวoiตาtิงdooทารมgะบoรifnหงบัsาrหกรูfmกatง์หกMาณาrPmกาาiานรebMรoาการกaคจuรกdoตาsา2รัดบt.eรnาuดิ5รแiกรoกlรลแrสtiIหิดennาrกรnะนิasราภะg้า้tไaใnจฝรขeนาจtnfาsจgมoค่นุเเoทชยdpัดrลกrsงิaขPคoกพcลoนAtนrโMาoeนาษิtlโmารvdamยงโ2ดดแeลt.บb5iหTา้แpยoาiPโลนeลoeดnีเยcMพะฝ่งnsยใอhกsiนtุ่น่ือำ2กtงno�.iกPลบ5ำคาoouเาะMนรpรn์ปlrอรรoวิดacร2คอเaจิgre.ทะ5tnPวงัยกyiาSmบcaMกอPปfultคาoบyarัญM2lมุรar.snaท5เtป2หitaกmาeภs.e5รgางดิgาioมิแฝเpetiคอคลcifาmoุน่gกนมะณflลCผaielภุาขี nuะtoรnลอาiอPetขnntคกiงอoMนgtpฝfทรrงnrสaะุน่oตุ2aPท.r่งP5almลยิMtsใบnMiในะภcนeดอdi2พูมun2.wบ้า5อ.l5จิt้นืรนa:oBงhา:รทtเขrAeaกศeยกkกี่นnกรeารcmราgiษcกาณanงุดkฐรoasาเไทoBีศใกtneศมชtkพึกaิจoeขเ่้รsกnrษmอมMะtสนิgบuาง(หังiePkdพบกc2าคtoyM,แรน.rน้ืม5บkoุงsคiท2nเบopส.ไทaร5กี่ มcจo)ุขnพBำรแคi�lภidำaงุลianมลรtาlเnะaท,MอหอพปBgnaพนางรa eknนกRมิมnto(dคrาPณeหgkoรรghMkาpจแMฑiนeoลัดoo2ลaคk.elะnก5l i ป)รttt าrhaแรใoรลนnมิ คipะพmณRณุoป้ืนlpรeฑiภทิมtgaลaาี่กciณn oพtรsnฑงุอR เลาทeก gพาiมoศnห (าBนMครR ) 8 10 - 14 18 - 22 26 - 30 - 34 38 - 40 DFoervmelaotpiomneunstionfgaAirirqQuualaitliytypBoleicnyefmit eAasssuersessmtoenmt iMtigoadteeliPngMS2.5yasitrempoilnluBtioanngbkyokinMveesttriogpaotilnitganthReeSgeioconn(dBaMryRA),eTrohsaoilla nd 44 DแEกกEกหssาาาeลttรรรtiieปหป่งmmrกรราำmaa�ะะแำเเttหเมมiiiนnnnลนินิ ิดagg่งแแtอกหหissำoน�ลลooำnุภเ่ง่งนuuากกorrดิำำคcc��fลำำฝeeเเsนนะssุน่อeดิดิ cทaaอแแonnุตงลลnddลยิะะdกกอภffaooลลยมู rrrไไทแิyกกmmลุตกกaะaaิยeกาาttภrรรiiลoooูมเเไกกnnsกิขดิิดoอกmmฝฝlงาs่นุุ่นeeฝรoccเุน่กPPuhhดิMMraaPcฝnnM22eiiนุ่..55sss2ลทmm.ท5oะุตตุใอfนิยooยิอaอภffภmงาssูมมูขกeebิในิในccานiาeศแooภดnอnnใาไนt่งddมคเเPaaมช่เเกหMrrยีือyyินนงง2อื.PPใเ25ชหขMM.iยีม5อnง-่22งไ..Cลใ55มปำห�hiiครำมnnพiะรa่เ:ูนCNอทnศ นhศgoกึiจไraทMtษาhnยกาaegตปi rMnฏลCอกิiTatดริyihิย:ป–aาAีi2lLฟa5yanิส6emdกิ a4 pสr -hเ์ rคuoมnu ี nBdascianm paign in 2021 - 46 48 - 50 - 52 - 54 ของสารอนิ ทรียร์ ะเหยง่ายทางชีวภาพเหนือเรอื นยอดปา่ ไม้ในภาคเหนือ Secondary Source and Chemical Mechanism of FPoMre2.s5tFCoarmnoaptiyoinnfNroomrthPehrynsTichaali-lCahnedmical reaction 60 of Biogenic Volatile Organic Compounds above 64 - การป้องกนั และจดั การไฟปา่ พรุควนเครง็ ดว้ ยการเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ทอ้ งถ่ินเชิงพ้ืนทเี่ พอ่ื ลดผลกระทบตอ่ สุขภาพจากมลภาวะทางอากาศ Prevention and Management of Kuankreng Peat Swamp Forest Fire and Air Pollution Affecting Human Health 70 by Capacity Building of Local Residents - ประเทศไทยไร้หมอกควนั ระยะท่ี 3 (ภาคเหนือ) Haze Free Thailand Phase III (Northern) 74 - ทโคารงงเลกือารกศทกึ ี่กษ่อาใหก้เากรดิ ลคดวPามMย2ัง่.5ยจนื าแกลกะเาปร็นลทด่ียกอามรเรผับาขพอ้นืงทเกีก่ ษาตรรเกกษรตรบนดอยในภาคเหนือ ด้วยรปู แบบ (model) PแนMว2ท.5าRงปe่าdปuรcะtชioาnรฐั iเnพh่ือiลgดhกlaาnรdเกsดิ mแลaะizลeุกลinามthขeองnไoฟrปth่าดreอgยiพonระwบiาtทh Farme Acceptance and Sustainable Solution - จังหวัดลำ�ำปาง Guidelines for the civil state forest in the restoration of forest to reduce the occurrence and spread of forest fires in Doi Phrabat, Lampang Province - การพฒั นาระบบเก็บข้อมลู การสะสมปรมิ าณเชอ้ื เพลิงโดยกระบวนการวิเคราะห์ภาพเพอ่ื กำ�ำหนดวนั ชงิ เผา Development of Fuel Data Collecting System by Image Processing for Determining Prescribed Burning Day - ปลกู ปา่ เศรษฐกิจพชิ ิตหมอกควนั ที่ อ.แม่แจม่ จ.เชียงใหม่ : กรณศี ึกษาการปลกู พชื แบบผสมผสานในพนื้ ท่โี ลง่ แจ้งทด่ี ินเส่อื มสภาพ Reforestation with the Economic Plants for Haze Reduction: A case Study of Integrated Cropping Systems on Degraded Land 2 กลมุ่ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ - Pนกแลวาhัะรัตaภศrกาmกึ รรษระaมทาcแทาeบงuาเบงtศiเยcทรอ้aษคlนฐโtนหกeโลจิcลใงัhยนเีnกเีโภoร่ยี สคlวัoชัตกgก่าบัyงรผๆรinลมทnจเพี่เoืา่ก�กvอีย่ aฝลวt่นุดiขoล้อปnัะงัญอfใoอหนrงาเขขทmตนาiพงาnสดื้นiุmขุเทลภiกี่ก็ zารiพ(nงุ PอgเทัMนั พhเ2eกม.ิ5aิด)หlจtตาhานอ่ กpคอrรPัตoMรbาl2กe.5mา รsนอcaนuโรsงeพdยbาyบPาลMแ2.ล5ะ อตั ราการเสียชีวิต - Retrospective study on effects of particulate matter on hospitalization, mortality and economic burden in associated diseases in Bangkok 3 กลมุ่ เทคโนโลยีและนวัตกรรม - aDกnาedรvพeoัlัฒothpนemrาตeA้n้นtmtแaบolบpsแprพohลgeตrraiฟcmอPรoa์ม์ rftภaiูcูมิGlสิeIาsSร ส&นSเทpศaแcลeะดTาeวcเhทีnยี oมlเoพื่g�อyกPาlรaบtfรoิหิ rาmรจfััดorกาthรePHMo2l.i5sแtลicะอMนุaุภnาaคgในemชั้�นeบnรtรoยfาPกMาศ2.แ5บ บองค์ร์ วม - Dโคeรvงeกlาoรpพmฒั enนtาaตl น้Pแrบoบgrแaพmลตoฟf อaรGม์ IภSมู &สิ าSรpสaนcเทeศTแeลcะhดnาoวlเoทgียyมเPพl่ือatกfoารrmบริหfoาrรtจhดั eกMารaPnMag2e.5mแลenะอtนoภุfาPคMใน2.ช5น้ั aบnรdรoยtาhกeาrศA tmospheric Particles

- กD(AกCาาseaรรsvsพปeeesรlัฒosะSเpiมนntmuินาgdรแesะyหnบoลtiบunง่tขhrทUc้อeี่มepมาPspลูฝMeo่นุPrf2ลM.Ng5ะrIอo2no.5rอfutเoงhพnขredm่ือนr-nลาlaeดดtTviเปoลheญัnก็al iPหlSPaMาyMnมs2d.2tล5).e5พ umเชsษิ iงิอfnoพาgrก้ืนNAาทศie่โีrดaในPยrอoบRนlรู leuาณaคtliาตoTกnอiาmันรRใeกกeับdsลขau้ขอ้tcอeมtงlilูลoปitnดรeะาiเoวnทbเศทtshไียeทeมrยvnแaล(eกtะaiกoรr-ณาnfรuศีaตtnึกuรdวrษeจาgวใfrนoัดoพrพuT้นืnื้นhทdผaีภ่ ิวmiาlaแคeบnaเหบdsนu NอืreeตamอrนeRnบetน a)l Time 76 78 - - กPกาาreรรdปคiราcะดtเiมกoินาnรคoณวfา์ PมPMเMหม22..55าะfสoสําrมหสTรhําบั หaปiรรlับaะnเสทdรศ้าiไงnทแยtนhใวนeปอnอ้ นeงาaกคrนั ต-ไfอฟuนัtเuพใกrื่อeลกภ้uาnารยdบใeรตrิห้ สcาlภรimาจวัดaะtกeกาาcรรhไฟเaปnปลgา่ี่ยแeนลแcะปoหลnมงdอภiกtูมiคoิอวnาันก(ใcนาaศพs้ืน(eกทsร่กีtณuลdมุ่ศี yจกึ ังiษnหาวuในดัpภภpาาeคคrเเnหหoนนrอืือtตhตeออrนนnบบTนนhข2aอ iงlaปnรdะเ)ท ศไทย) 80 82 - Feasibility Assessment of Forest Fire Protection Zones for Forest Fire and Smog Management in Upper Northern Provincial Cluster 2 - กกThาารรeพจำd�ัฒำeแvนนeกาlแoแหบpลบmง่จำeก�ำำn�ลำtเอนoงิดfกฝlาaุ่นรnขถdนดาuถดsอเeลยrก็กeกาgรวrใ่าeชs2ท้ s.่ดี 5ioินไnม(LคmUรoอRdน)elใเพน(พLื่อUพนื้ Rทย)ีเ่าขกfตoรเrมณPือ์ปงMรจิม2งั .5าหณpวrัดePพdMิษicณ2t.i5nโุ ใลgนกเiข nตBกaรnุงgเทkพoมkหaาrนeaครaแnลdะปvรicิมiณnitฑyล 84 86 - Source apportionment of particulate matters size less than 2.5 micron in urban areas of Phitsanulok 4 ก ลมุ่ การจดั การแหล่งกำ�ำเนดิ - แหลง่ ที่มาของฝ่นุ ละอองขนาดเล็กกวา่ 2.5 ไมครอนในพ้นื ทก่ี รงุ เทพฯ และปริมณฑล 90 SSโbคyooรuuuงrrกscciาeenรsgaวopจิ cยัfphแoPeหrmMtลiio2ง่ c.5กnaำi�mlnำเaนeBnิดnadtnPopgMfakrP2ot.5iMkcแl2aลe.5nะaกadgnลNidไnกegmกarาteebรccyเhกhPaดิnnrฝioqi่นุsvumทienตุ cpยิ erภsoูม cบิeรsิเsวณofใกseลc้ผoิวnดdินarดyว้ pยaเทrtคicนlคิeอinงคmป์ รicะrกoอmบeทtาeงoเคroมlีแoลgะiสcaถlาcนoะทnาdงitอioาnยุข องฝ่นุ - 92 94 - การวเิ คราะห์คุณลกั ษณะ การเกดิ อทิ ธิพลของแหลง่ กำ�ำเนิด และมาตรการควบคมุ ทีเ่ หมาะสม เพ่ือการจดั การ Secondary particulate ใIนnฝteุ่นgrPaMte2d.5 เชิงบูรณาการ mitigation management of secondary particulate in PM2.5 : characteristic, formation, source contribution and appropriate measures analysis 5 กลุ่มเทคโนโลยี นวตั กรรม - การเฝ้าระวังและเตอื นภยั ปญั หาหมอกควนั โดยเครือ่ งตรวจวดั คณุ ภาพอากาศระบบเซน็ เซอร์ DustBoy ในประเทศไทย ระยะท่ี 3 98 Haze Monitoring and Warning Systems by DUSTBOY Air Quality Sensors in Thailand Phase 3 - กกDาาeรรvพพelัฒัฒopนนmาาคอeุณุปntกภoราณfพmต์อiริฐnวมiจaอวtญuัดrฝแeบุ่นQบPCไมMM่ต2้อ.a5งnดเdผ้วยาLดเiทg้วคhยนtวคิสัSดcQaุพCtอtMeลrิเiแมnลอgะ-รLb์จiaาgsกheน้td�้ำSำยPcาMaงtธ2t.e5รrรSiมneชgnา s ตขoิ นrsาดwเลitก็hดAว้ rยtiเfทicคiโaนlโลInยtปีelญั ligญenาปceระaดnษิ dฐ์ และ IoT 102 IoT 104 - The development of the quality of non-burning brining bricks using polymeric materials from natural rubber latex - กระถางชวี มวลจากฟางขา้ วเพอื่ ควบคุมการปลดปล่อยธาตุอาหารพชื 106 Rice Straw Biomass Pot for Controlled Release of Plant Nutrients - การใชพ้ ชื ยนื ต้นบำ�ำบัดฝนุ่ ละอองอย่างย่งั ยืน 108 Sustainable PM Phytoremediation by Perennials Plants - พPCศKโคกัoonัฒรtnoยงeนdwภกnาoาาltแeiพรaMลdพตlะgoถัฒoน้ esfา่ไนsมDยTeา้บทersคeาvอeองeDดชlนSeอoนโvppงดิดeคemมใlcค์นoอeiวกpeสnาmsาเtมพรA&eดร่อื nbูด้กั เTtiปา้จlrPiน็นบัatyrกอnฝoาุปstุน่joรefกeใPcรชCrtMณ้aไftมopo2์ใย้.rนt5uaืน กPbrตาeMsน้รoa2ดใ.rนn5ดูbกdCซาdoRับรenฝeลvttุ่นดiaacmลฝienะุ่นiอPnAขอaaนirrงtาtebใiดนdcoเอurลAnาlก็aiกertPาeFPศMimhnทy2eaม่ี.t5toเี Ptสreaน้errmผt2iา่c.e5ศudนูlmiaaยttieก์icoลrMnoาanงbtsไytมei่เPnrกe(ินUrPer2Mnb.5na2.ni5ไa)ม lAsคrรPeอalaนsn (tPs M2.5) ในพ้ืนทเ่ี มือง 110 112 - 114 - - แผ่นกรองอากาศจากโฟมยางธรรมชาตทิ ่เี ตมิ ถา่ นก่อกัมมันตแ์ ละทำ�ำการเคลอื บดว้ ยไคโตซานเพอ่ื กรองอนุภาคไมเ่ กนิ 2.5 ไมโครเมตร และปอ้ งกันแบคทเี รีย 118 Air filter obtained from natural rubber latex foam with activated carbon and coatedchitosan for filtered particulated mแผa่นtวteสั rด2ุค.อ5มmโพicสrิตomลวeดteนrาโ(นPซMลิ 2เ.ว5)อfรi/์lถtrา่aนtiไoมn้ไ,ผa่ในnกdาaรnกำt�iำbจaัดcแtลeะrลiaดฝ่นุ ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน - of PM2.5 120 Ag nanowire/bamboo charcoal composite materials transparent for capture and elimination - การพัฒนาไสก้ รองอากาศซิลิกอนคาร์ไบด์จากเซลลโู ลสพชื เคลือบดว้ ยสารโฟโตคะตะลสิ ต ์ 122 Development of Silicon Carbide Air Filters from Cellulose Coated with Photocatalyst - Dกกาาeรรvขพeยlฒัoาpยนmกาำ�เeำคลnรงัt่ือกoงาfฟรoผอuลกtติอdoวากสัoดาrศุคaภiอrามpยพuนอrอiสfกiทิeอขrาอuคงtาiไรlฮiโzดดinรยอgใชกp้ปซhฏีอoกิ ะtพริoยิ cาาaไทเtรaตง่ l์แyเชลtงิiะcแไทสdทงeใาgนเrนกaยีาdมรaสไtดiลoอาnอยกoPfไซMPคM2์เ.พ5 2.ือ่5 ใช้เป็นสารเคลือบแผน่ กรองสำ�ำหรับหนา้ กากอนามยั 126 128 - Iทn่ีมdปี uรsะtสriทิ aธl ิภUาpพsสcaงู lใiนnกgาoรกf รHอyงdrPoMxy2.a5pในatรiะtดeับaอnตุdสTาiหtaกnรiuรมmเพd่อื ioปxอ้ iงdกeนั Cโรoคmตpดิ oตs่อitเeกยี่MวaกtบัerรiะaบlบuทsาinงgเดaินsหาaยFใจilทte่ีเrกeดิ dข-้ึนCเoนaอ่ื tงinจgากMปaัญteหrาiaPl Mfo2r.5Filtering FกaาcรeลดMปaรsิมkาณHaอvนinุภgาคHเขigมhา่ คPวrนัoดtำe�ำcจtาioกnไอEเสffยีicเคieรn่อื cงyยoนfตP์ดMเี ซ2ล.5ทfี่ใoชr้เชpื้อrเeพvลeิงnผtiสoมnเอinทfาeนctอioลu-ไsบdโอisดeีเซasลe-ดrเีeซsลpแiลraะtอoปุ rกyรsณysก์ tรeอmงมcลauพsษิ inอgนุภbาyคPเขMม2า่ .5 - 132 Diesel Engine’s Particulate Matters Reduction using Ethanol-Biodiesel-Diesel Fuel Blends and Particulate Filter - PกาMร2แ.5กr้ปeัญduหcาtiPoMn 2b.5yจnาoกnก-าbรuเผrnาiใnบgออ้ sยuดgaว้ rยกcaาnรใeช้เuคsรiื่อngงจaักgรrกicลuเกltษuตraรl machinery 136

1 กลุ่มบริหารจัดการเชงิ พ้นื ท่ี



แกเพผรณน่อื งีศบากึ รนษรวาพจิเทยันื้ าทเชป่กี ิงรัญบุงเูรทหณพามาฝหกาานุ่ นรลคดระ้าแอนลอะเทปงรคมิ โPนณMโฑลลย2.ี 5 : ผูอ้ ำ�ำนวยการแผนงาน : รองศาสตราจารย์ ดร.ศิรมิ า ปัญญาเมธกี ลุ สังกัด : ภาควชิ าวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Email : [email protected] ทมี วิจัยและสงั กัด : ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทรรศนีย์ พฤกษาสิทธิ์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์สงิ่ แวดลอ้ ม คณะวิทยาศาสตร์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั รัฐบาลได้ประกาศให้การแก้ไขปัญหาฝุ่น ในรถโดยสารประจำำ� ทาง รถบรรทกุ มปี ระสทิ ธภิ าพ ละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอนเปน็ วาระแหง่ ชาติ ร้อยละ 18 (4) การตรวจจับควันดำ�ำฝุ่นลดลงได้ ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2562 แตป่ ญั หานก้ี ย็ งั ถกู ตง้ั คำำ� ถามวา่ ร้อยละ 4 และ (5) การลดปริมาณซัลเฟอร์ “สาเหตแุ ละการแกไ้ ขนนั้ ถกู ตอ้ งเหมาะสมหรอื ไม”่ ในน้้� ำำมันเชอื้ เพลิงเบนซนิ ลดฝุน่ ได้ร้อยละ 3 โดยเฉพาะแหล่งกำ�ำเนิดจากภาคการขนส่ง โดยเน้นท่ีการควบคุมแหล่งกำ�ำเนิดมลพิษ แผนงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการจัดลำ�ำดับ (source) ท่สี ำ�ำคัญในพืน้ ที่กรงุ เทพฯและปริมณฑล ความสำ�ำคัญของมาตรการต่างๆ ที่ภาครัฐ ไดแ้ ก่ ภาคการขนสง่ ฝนุ่ ทตุ ยิ ภมู /ิ ภาคอตุ สาหกรรม และภาคส่วนที่เก่ียวข้องดำ�ำเนินการในพ้ืนท่ี และการเผาในท่ีโลง่ ซึ่งภาครฐั ไดก้ ำ�ำหนดมาตรการ กรุงเทพมหานครด้วยแบบจำ�ำลองการตัดสินใจ เหล่าน้ีบ้างแล้วแต่ต้องมีเป้าหมายท่ีชัดเจน เชิงนโยบายอย่างง่าย โดยแบบจำ�ำลองฯน้ี เป็น ในการกำ�ำหนดนโยบาย/กฎหมาย โดยพิจารณา ผลผลิตท่ีเกิดจากความเชื่อมโยงของโครงการย่อย ท้ังในมิติของแหล่งกำ�ำเนิดและมิติของเวลา และ ได้แก่ (ก) การตรวจวดั และวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ ดำ�ำเนินการให้สอดคล้องกับ next stage and ทางเคมี (ข) ความสัมพันธ์ระหว่างการจราจร development measures และฝุ่น และ (ค) แบบจำ�ำลองการกระจายตัวของ การควบคุมแหล่งกำ�ำเนิดจากภาคการขนส่ง ฝุ่นจากแหล่งกำ�ำเนิดในและนอกพื้นท่ี รวมถึง และความหนาแน่นของการจราจรในเมือง อทิ ธิพลของความเป็นเมอื ง ควรพิจารณาในมิติของการทำ�ำให้การเดินทาง ผลจากการประเมินมาตรการของรัฐด้วย ข อ ง ค น เ มื อ ง มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ป ร ะ ห ยั ด แบบจำ�ำลองการตัดสินใจเชิงนโยบายอย่างง่าย รั ก ( ษ ์ ) สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม ซ่ึ ง คื อ ก า ร ป รั บ ป รุ ง เพื่อลดปัญหา Pา รMว2ั .ส5 ในกรุงเทพมหานครได้ดังนี้ ระบบขนส่งสาธารณะ ทางเดินเท้า ในด้าน (1) การจัดก ดุทางการเกษตร ได้แก่ การควบคุมการเผาในที่โล่ง ควรพิจารณา การทำำ� ปยุ๋ หมกั และฟางขา้ วแปรรปู ลดฝนุ่ ไดร้ อ้ ยละ ในมิติการจัดการปัญหาเศษวัสดุทางการเกษตร 26 (2) ฝนุ่ ลดลงรอ้ ยละ 20 สำำ� หรบั นโยบายสง่ เสรมิ แบบครบวงจร (Better management of ยานพาหนะไฟฟ้าโดยเฉพาะรถขนส่งสาธารณะ agricultural crop residues) จึงเป็นการ (3) การติดต้ัง Diesel Particulate Filter(DPF) จัดการคุณภาพอากาศแบบยงั่ ยืน 8 งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝุน่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 Research Program on Integrated Technology BfaonrgkmokitMigetartoipnoglitPaMn 2.5: A case study in Region (BMR) The Cabinet has made the problem of Filter (DPF) in buses and trucks would yield PThMis2.5daislema pmaart, of national agenda since 2019. 18 percent efficient; (4) black smoke enforcement however, has been questioned would cut dust emissions by 4 percent, whether “Is the sources and measures and (5) reduction of sulfur content in gasoline applicable or not?” that originate from the fuels cboyulfdoclouwsienrgPMon2.5 by 3%. transport sector for instance. This research the control of major program therefore aims to prioritize measures pollution sources in Bangkok and its vicinity, implemented by government and related such as the transport sector, secondary sectors in Bangkok area with a simple policy dust/industrial sectors, and open burning. decision-making model. Even it is named Although Thai government has already as simplicity, the model has been approved regulated certain measures, a strong political among sub-projects in this research program, will is required to define the policies/laws. namely (a) measurement and analysis of This is because the implementation demand chemical composition, (b) relationship between both consideration of space (source) and time. traffic and bPoMth2.5,inasnidde(ca) nthde dispersion model Moreover, the mitigation should be related to allocated outside Bangkok the next stage and development measures. including the effect of urbanization. Ultimately, controlling of transport sector Theresultsoftheassessmentofgovernment and urban traffic density should provide measures with a simple policy decision better mobility instead which is making the city model to reduce PmMa2n.5agperombelenmt osf in Bangkok travel safe, economic, environmental friendly are as follows (1) agricultural options, by means of improving public transport, crop residue i.e. composting and processed pedestrianpaths. Intermsofcontrollingbiomass er(2ilce)ecPtsrMticra2.w5vdehcecoicruleeladss,reeebdsyupc2ee0cipPaelMlryc2.e5pnbutybolnic2p6trroapmnesrocpteionnrgtt burning a better management of agricultural crop residues should be considered as an alternative. These would be described as vehicles (3) installation of Diesel Particulate a sustainable management of air quality. 9

กแลาะรอตงรควจ์ปวริเะคกรอาบะหท์หาางกเคามรกขี อระงจฝานุ่ยลขนะอาอดง ขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นท่ีกรงุ เทพมหานคร ภายใตแ้ ผนงานวจิ ยั : แผนงานวิจัยเชิงบรู ณาการด้านเทคโนโลยเี พอ่ื บรรเทาปญั หาฝุน่ ละออง PM2.5 : กรณศี ึกษาพน้ื ท่กี รงุ เทพฯ และปริมณฑล Integrated Technology Research Plan for mitigating PM2.5 : A case study in Bangkok and Metropolitan Region (BMR) หัวหน้าโครงการ : ดร.วยิ งค์ กงั วานศภุ มงคล สังกดั : ศนู ยน์ าโนเทคโนโลยแี หง่ ชาต ิ สำำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ E-mail : [email protected] ทมี วิจัยและสงั กดั : ดร.อรรณพ คลํ้าชน่ื , ศศิธร เอือ้ วริ ยิ ะวทิ ย,์ ดร.รัฐพร แสนเมอื งชิน, นางสาวพิชญา หมนื่ ศรี ศนู ย์นาโนเทคโนโลยแี หง่ ชาต ิ สํานกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอ้ ม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ดร.ธัญภัสสร์ ทองเยน็ ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละการจัดการสงิ่ แวดล้อม คณะส่ิงแวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ โครงการวิิจััยนี้้�ศึึกษาองค์์ประกอบทางเคมีี จากความเขม้ ขน้ โดยมวลและการกระจายตวั และสััดส่่วนแหล่่งกำเนิิดของฝุ่�นละอองขนาดเล็็ก ของฝุน่ พบวา่ ความเข้มข้นฝ่นุ สงู (80-180 µg/m3) โดยเก็็บตััวอย่่างฝุ่�นละอองขนาดเล็็กในบรรยากาศ ในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม และความเข้มข้น สำ�ำหรับพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร สถานีตรวจวัด ของฝนุ่ ต่�่ำำลง (20-85 µg/m3) ในช่วงเดอื นเมษายน อากาศของกรมควบคุมมลพิษ 3 แห่ง ได้แก่ ถึงกันยายน และมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น (40-190 สถานีกรมประชาสัมพันธ์อารีย์ สถานีการเคหะ µg/m3) อีกคร้ังในช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม ชุุมชนดิินแดง และสถานีีกรมอุุตุุนิิยมวิิทยาบางนา ทโด่ีสยูงพทบ่ีสฝุดุ่นจชา่วกงทPุกMสถ0.5า-น1 ี แพลบะว่าPคMว2า.5ม-1เ0ขม้มีสขัด้นสข่วอนง โดยใช้้อุุปกรณ์์เก็็บตััวอย่่าง NanoSampler ที่� สามารถเก็บ็ และแยกตามขนาดฝุ่�นละอองขนาดเล็ก็ สารคารบ์ อนทง้ั หมด (TC) ประกอบดว้ ยสารคารบ์ อน เPใปนM็น็ ช่2่.ว56-ง10เชั้ด�ืนแือลนดะังัมนีP้ก�MรPา>M1ค00ม.1โ,ถดึPึงยMธดัันำ0.1เว-น0าิ.5ินค, กมPาMรพเ0ก.5.็-ศ็บ1,.ตัPัว2Mอ5ย1่6-2่า.45ง, อนิ ทรยี ์ (OC) และธาตคุ ารบ์ อน (EC) สงู ทสี่ ดุ ในชว่ ง PซM่ึงส0า.5ร-1ค.0าแรล์บะอมนคี ทวาั้งมหเมขดม้ ใขนน้ แTตC่ละต่ช�่ำ่วำสงดุ ฝในุ่นชมว่ีแงนPวMโน>1้ม0 รวมทง้ั หมด 40 ครงั้ ตอ่ สถานี จากนนั้ จงึ นำำ� ตวั อยา่ ง สอดคล้องกนั ในทกุ สถานี ความเขม้ ข้น OC ทีพ่ บ ไปวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อประเมินองค์ประกอบ ในทุกช่วงฝุ่นสูงกว่าความเข้มข้น EC โดยท่ีมี ของฝุ่น ข้อมูลฝุ่นท่ีจำ�ำแนกทางเคมีถูกใช้ ความเข้มข้นท่ีสูงในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม เพื่อประเมินแหล่งกำ�ำเนิดของฝุ่นโดยอาศัย และความเข้มข้นลดต่่� ำำลงในช่วงเดือนเมษายนถึง แหล่งขอ้ มูลตา่ งๆ รวมทง้ั เทคนคิ ทางสถติ ิ กรกฎาคม และพบว่าสถานีดินแดงมีความเข้มข้น 10 งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝุน่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 คารบ์ อนสูงท่สี ุดทงั้ OC และ EC ซ่งึ มีแหล่งกำ�ำเนิด ในกรงุ เทพมหานครตงั้ แตเ่ ดอื นมกราคมถงึ ธนั วาคม มาจากการเผาไหม้เช้ือเพลิงและฝุ่นทุติยภูมิ 2564 ระบุด้วยแบบจำ�ำลองการแยกตัวประกอบ จากผลการวิเคราะห์ไอออนละลายน้้� ำำใน เมทริกซ์เชิงบวก (Positive Matrix Factorization องค์ประกอบของฝุ่น พบค่าความเข้มข้นของ (PMF) receptor model) โดยอาศัยข้อมูลหลัก ไอออนรวมมีแนวโน้มสอดคล้องกับความเข้มข้น เกย่ี วกับฝนุ่ และองคป์ ระกอบทางเคมี ผลการศกึ ษา ฝนุ่ โดยมวล ความเข้มขน้ รวมของไอออนละลายน้�้ำำ พบว่า แหล่งกำ�ำเนิดหลักของฝุ่นละอองขนาด ใ น ทุ ก ช ่ ว ง ฝุ ่ น ใ น เ ดื อ น ม ก ร า ค ม ถึ ง มี น า ค ม ไ(รม้อเ่ กยนิละ2.458)ไมฝคุ่นรทอุตนิย(ภPูมMิ 21.5) มาจากไอเสียรถยนต์ มีค่าสูง และลดต่่� ำำลงในเดือนเมษายนถึงกันยายน (ร้อยละ 21) การเผา จากนั้นมีแนวโน้มเริ่มสูงข้ึนในเดือนตุลาคมถึง ในท่โี ลง่ (รอ้ ยละ 13) ฝุ่นจากโรงงานอตุ สาหกรรม ธนั วาคม และความเขม้ ขน้ รวมของไอออนละลายน้้� ำำ และฝุ่นถนน (ร้อยละ 8) ฝุ่นทุติยภูมิ 2 ท่ีมาจาก ชใน่วชงว่ฝงุ่นPอMื่นๆ2.5-1แ0ล(เะดจอื านกเมสษัดาสย่วนนถขงึอกงนั ไอยอายอนน)ลจะะลสางู ยกนว้า้�่ำำ แอมโมเนยี มซลั เฟตเปน็ หลกั (รอ้ ยละ 7) และฝนุ่ จาก เกลือทะเล (ร้อยละ 3) และเม่อื จำำ� แนกแหลง่ กำ�ำเนิด PซโสดMััลดยเส2ฟ.ใ่5วนต-1น0ไชทอแ่วอ่ีสลงอูงะนPโPดMM(Sย>0Oท.1104่ีท,2พ-ั้ง)PบไMนใไนนเ0ทสเ.ท5ัดร-1รตสต่วไแไอนอลอทอะอี่สอนูงนPแMแ(ลNล1ะOะ-2ซใ.35ัลน- เ)ชพฟใ่วบนตง ของฝุ่นตามช่วงขนาด พบว่า แหล่งกำ�ำเนิดหลัก ไขออเงสฝยี ุ่นรถลยะนอตอ์ง(รขอ้นยาลดะเล6็ก5ล) ะฝเนุ่ อทียตุ ดยิ ภ(Pมู Mิ (0ร.1อ้ )ยมลาะจ1า7ก) ฝุ่นถนน (ร้อยละ 14) และฝุ่นจากเกลือทะเล ไอออนมีแหล่งกำ�ำเนิดมาจากยานพาหนะและฝุ่น (มร้อแี หยลละง่ กา4ํ เ)นสดิ ำำ�หหลรกั บั มฝาุ่นจาลกะไอออเสงยีขรนถายดนเลตก็์ (รอ้(PยMละ0.54-21.5)) ละอองลอยทุติยภูมิ จากผลการวิเคราะห์ธาตุ โลหะหนกั ในองคป์ ระกอบของฝนุ่ พบวา่ ความเขม้ ขน้ การเผาในท่ีโล่ง (ร้อยละ 29) ฝุ่นจากเกลือทะเล ธาตโุ ลหะหนกั รวมมปี รมิ าณทน่ี อ้ ยกวา่ ความเขม้ ขน้ (ร้อยละ 13) ฝุ่นทุตยิ ภูมิ (ร้อยละ 7) ฝ่นุ จากโรงงาน ของสารคารบ์ อนและไอออนละลายน้�้ำำในทกุ ชว่ งฝนุ่ อตุ สาหกรรม (รอ้ ยละ 7) และฝนุ่ ดนิ (รอ้ ยละ 3) และ โดยความเข้มข้นของโลหะหนักแต่ละช่วงฝุ่น หแหลลักง่ มทาม่ี จาาสำกำ� หฝุร่นบั จฝานุ่ กหกยาารบก(่อPสMร2.้า5-ง10) มแี หลง่ กาํ เนดิ จะแตกต่างกันไป แตพ่ บเหล็ก (Fe), โซเดียม (Na), (ร้อยละ 50) แมกนเี ซยี ม(Mg),อะลมู เิ นยี ม(Al)และโพแทสเซยี ม(K) ฝุ่นดิน (ร้อยละ 23) ฝุ่นทุติยภูมิ (ร้อยละ 14) ในปริมาณสูงในทุกสถานี ซึ่งมีแหล่งกำ�ำเนิดมา และฝุ่นจากโรงงานอุตสาหกรรม (ร้อยละ 13) จากการจราจร อตุ สาหกรรม ฝนุ่ ดิน ฝนุ่ ถนน และ โดยฝุ่นละอองขนาดเล็กส่วนใหญ่มาจากการมี การเผาวสั ดุชวี มวล ส่วนร่วมของมนษุ ย์ แหล่งกำ�ำเนิดของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ใ2น.5แตไล่ มะคชรว่ องนได(Pแ้ Mก่ 2P.5)Mแ0.1ล,ะPกMาร0.ม5-2ีส.5่วนแลร่วะมPขMอง2.ฝ5-ุ่1น0 11

Particle size distribution and composition analysis of fine particulate matter (PM2.5) in Bangkok This research analyzed the chemical from April to September, and it tended to composition of particulate matter (PM) increase (40-190 µg/m3) again during October- and the source apportionment of PM in the December. The higher mass proportions of atmosphere by collecting airborne PM samples PM were found tinhePhMig0h.5e-1statnodtalPcMar2b.5o-1n0 arcaenogues. in Bangkok area. The PM sampling devices From all stations, (NanoSampler) were set up in three air quality matter (TCM) concentration, organic carbon monitoring stations of the Pollution Control (OC) and elemental carbon (EC), was found Department, namely the Ari Public Relations ticnhoentTchCeenMtPrcaMoti0no.5cn-1e.n0wtarraasntiiognnethinaenePdacMthh>1Pe0Mrlaornwagneegs,etwtTehnCedMres Department station, Din Daeng Community Housing Station, and the Bangna Meteorological Department station for collecting the PM to be consistent across all stations. The OC samples. The PM can be collected and concentrations found in all PM ranges were PssaeMmp0a.p5r-l1ae,tsePdMwe1i-nr2e.t5o, taP6kMer2na.5n-1b0geeatwsn:deePPnMMJ0>a.11n,0.uPTaMhrye0.1aP-0nM.5d, higher than EC concentrations. Both higher OC and EC concentrations were found from January to March and decreased during December 2021, a total of 40 times per station. April to July. The results also indicated that Subsequently, the samples were chemically the Din Daeng station had the highest analyzed to assess the composition of PM. concentrations of both OC and EC, The chemically speciated PM data were used which originated from fuel combustion to assess the origin of PM using knowledge and secondary aerosol. From the analysis on existing markers for several sources results of dissolved ions in the PM as well as a statistical technique. composition, total ion concentration was From the total mass concentration and found to be consistent with the PM mass distribution of PM, the results indicated that concentration. The total concentration of PM mass concentrations were high (80-180 dissolved ions was high in all PM ranges µg/m3) during January to March. Lower PM in January to March, then decreased in April to mass concentration (20-85 µg/m3) was found September, and increased again in October to 12 งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 December. The results also indicated the total (PMF) receptor model by using primary data rcaonngceen(tAraptriiol ntoofSdeipstseomlvbeedr)iownsasinhtihgehePrMt2h.5a-1n0 on PM and their chemical compositions. that of the other PM ranges. The proportion of The result indicated that the main emission SadrainaeniOsnrtd4sohg2o-eseawlosvPlehe.MsrdieFhg2.irohf5oo-r1won0mpmseaednitrntdhcraaeetPhfnfhMreitceiagP>seg1huM0melrtp0ais.so1en,sfrgoiPcoefNeMsnntO.h0atB.35ean--og1dwateahsnnaeaoNdsclfyOoPfsSn3oM-idOsuaa1n4n-or22dd-y.f5, s(isnaeodmcuuormscntedorsianaroiluydfmuPPsMMts/u2r1.o5l(fawa2dt1eed%r)eu)(st,7rtao%(8fpf)%iecna)en,bmsdueircasnosginienoddgnasr((y14e83aPs%%Ma))l2t,, heavy metal elements in the PM composition, (3%). When particulate matters were separated by size range, it was also found that the largest contr ibutors etmo iussltiroanfin(e65f%ra)c,tisoenc,oPnMda0r.1y, were traffic the results indicated that the total heavy metal PM (17%), road dust (14%) and aged concentration was lower than carbonaceous smeaaisnaeltm(i4s%si)o.nFsoorufricneesfwraecrteiotnra, fPficMe0.m5-2i.5s,sitohne matter and ionic concentrations which found in all PM ranges. The concentrations of heavy (41%), waste and open burning (29%), aged metals in each PM range were varied, but seasalt (13%), secondary PM (7%), industrial iron (Fe), sodium (Na), magnesium (Mg), dust (7%), and soil dust (3%). Four sources aluminum (Al) and potassium (K) in high iden tified for coarse fractio ndu, sPt (M232%.5-1)0, concentrations at all stations were found. They were construction dust (50%), soil originated from traffic emission, industry, soil secondary PM (14%), and industrial dust dust, road dust and biomass burning. (13%). Most of the PM mass originated from The major emission sources of fine anthropogenic contributions. particulate matter less than 2.5 micrometers (BPPaMMn0g.25k.-52o).5k,afnardnomdthPJeManc2u.o5a-n1r0tyrmitboaustDisoecnfersmacobtfeiorPn2Ms002i.1n1, were identified with positive matrix factorization 13

จกภาาคดั กรากพรขนฒาั สง่รในนแพานื้หแทน่ีกลรวงุ งเ่ททพกามำงหำ� กานเาคนรรแดิลบะปรรPหิมิ ณาMฑรล 2.5 ภายใต้แผนงานวจิ ยั : แผนงานวจิ ยั เชิงบูรณาการด้านเทคโนโลยีเพ่ือบรรเทาปญั หาฝนุ่ ละออง PM2.5 กรณศี ึกษาพืน้ ท่ีกรงุ เทพฯ และปริมณฑล Integrated Technology Research Plan for mitigating PM2.5: A case study in Bangkok and Metropolitan Region (BMR) หวั หน้าโครงการ : ดร.อรณชิ า อนุชติ ชาญชัย สังกดั : สถาบันการขนสง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั Email : [email protected] ทมี วิจยั และสงั กดั : ดร.พฒั นพงษ์ แสงหัตถวัฒนา, ดร.ภาธินนั ท์ ไทยทัตกุล สถาบนั การขนส่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ ได้แก่ ของ PใMน2โ.5คแรตงกกตาา่รงนก้ีไนั ดม้ใาชก้แซบง่ึบมจผีำ�ำลลมอางจกาากรปถจั ดจถยั ออนื่ย 1) เพ่ือระบุมาตรการเชิงพ้ืนท่ีท่ีมีศักยภาพในการ การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือวิเคราะห์ความสัมพันธ์ มลดาจมาลกภภาาวคะกทาารงขอนาสกง่าศ2โ)ดยเพเฉอ่ื พอาธะบิ าPยMคว2.า5มอสันัมเพนนั่ือธง์ ระหว่างตัวแปรภาคการขนส่งต่อความเข้มข้น ระหว่างตัวแปรภาคการขนส่งต่อ ดP้าMน2ป.5รระ่วชมากกับร ของอคง์ปPระMก2อ.5บแตลาะมป3ร)ะเเภพทื่อรรถะยบนุปตร์ ิโมดายณมจีพรื้นาทจศี่รแึกลษะา ตัวแปรต้นอื่นๆ ได้แก่ ตัวแปร ตัวแปรด้านสภาพภูมิอากาศ ตัวแปรด้านการ ใช้ประโยชน์ที่ดิน และตัวแปรการเผาไหม้ในท่ีโล่ง หลักคือพ้ืนท่ีภายในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีน้้� ำำเงิน ผลจากแบบจำำ� ลองพบวา่ รถกระบะ รถบรรทกุ ขนาด ในการสำ�ำรวจข้อมูลปริมาณจราจรได้ทำ�ำการสำ�ำรวจ อใหยญา่ ง่ แมลนี ะยั รสำถำ� เคมญัลข์ อนยาา่ ดงใไหรกญต็ ส่ าง่ มผจลาตกอ่ แปบรบมิ จาำณำ� ลฝอนุ่ งพPบMว2า่.5 ปริมาณจราจรที่อยู่ใกล้ตำ�ำแหน่งสถานีตรวจวัด คุณภาพอากาศของ คพ. และ กทม. โดยแบ่งรถ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อ แPลMะ2ป.5 ัจมจาัยกทท่ีเก่ีส่ียุดวกคับือกปารัจเจผัยาดไห้านม้ ออกเปน็ 8 ประเภท ไดแ้ ก่ รถจกั รยานยนต์ รถยนต์ สภาพภูมิอากาศ รถกระบะ รถตู้ รถเมลข์ นาดเล็ก รถเมล์ขนาดใหญ่ ในท่ีโล่ง เพ่ือให้สามารถนำ�ำเสนอข้อเสนอเชิง รถบรรทุกขนาดกลาง และรถบรรทุกขนาดใหญ่ นโยบายที่มีประสิทธิภาพได้ ในโครงการได้ทำ�ำการ ผ ล จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า พ บ ว ่ า ป ริ ม า ณ จ ร า จ ร มี รวบรวมมาตรการในการแก้ปัญหาจากงานวิจัย ความแตกตา่ งกันในแต่ละพ้นื ที่ แต่สัดส่วนรถแตล่ ะ ในอดีต มาตรการที่รัฐเคยทำ�ำหรือเคยมีแผน ประเภทไม่แตกต่างกันมากนัก ทั้งในวันหยุด และ จะทำ�ำ และมาตรการที่ต่างประเทศใช้ เพ่ือหา วนั ธรรมดา และแมว้ า่ ปรมิ าณจราจรจะไมแ่ ตกตา่ ง มาตรการเบื้องต้นที่เป็นไปได้จริง และนำ�ำไป กันมากนักในฤดูแล้งและฤดูฝน แต่ความเข้มข้น สำ�ำรวจความคิดเห็นของทั้งภาคประชาชนและ 14 งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 ภาคผู้ประกอบการ นอกจากน้ียังได้ทำ�ำการสำ�ำรวจ โดยในระยะส้ันควรเน้นมาตรการที่จะช่วย มาตรการท่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ เปล่ียนให้ประชนชนไปใช้ขนส่งสาธารณะมากข้ึน เดนิ ทาง ภายใตส้ ถานการณส์ มมตติ า่ งๆ ผลจากการ ส่วนในระยะยาว ควรมุ่งเน้นมาตรการส่งเสริม สำ�ำรวจพบว่า สำ�ำหรับกลุ่มผู้ประกอบการขนส่งนั้น การใช้งานรถท่ีปล่อยมลพิษต่�่ำำหรือยานยนต์ไฟฟ้า นโยบายของรัฐบาลควรสนับสนุนให้เปลี่ยนไปใช้ และมาตรการเสริม เช่น มีการปรับวิธีการ รถบรรทกุ ทมี่ กี ารปลอ่ ยมลพษิ ต่่� ำำโดยอาจมมี าตรการ คำ�ำนวณภาษีรถยนต์ตามปริมาณการปล่อยมลพิษ เสริม เช่น มีเงินอุดหนุนและการมีละเว้นภาษี ลดภาษีนำ�ำเข้ารถยนต์ไฟฟ้า สนับสนุนให้เปล่ียนไป ในปีแรก และการส่งเสริมการพัฒนาอุปกรณ์กรอง ใช้รถยนต์ส่วนบุคคลท่ีมีการปล่อยมลพิษต่่� ำำโดยมี ภฝุ่นาคลปะรอะอชงาชPนM2ค.5วใรนแรบถ่งบเปรร็นทรุกะ ส่วนมาตรการ เงินอุดหนนุ และการมลี ะเว้นภาษีในปีแรก ยะส้ันกลางยาว 15

Research Program on Integrated Technology fMoertrmoitpioglaittainngRPeMg2i.o5n: A(BcMasRe) study in Bangkok This research has three objectives, and heavy truck are lseisgsnitfhicaanntmlyetaefofercotloPgMic2a.5l 1) to identify potential ptooliecyxatomriendeuctheePMre2l.a5 tfiroonm- but their effects are transport sector, 2) and open burning factor. To provide policy ship between traffic variables TahnedstPuMdy2.a5,reaanids recommendation, this research gathered initial 3) to identify traffic composition. policy from literature, past and proposed the area within MRT Blue Line. The traffic count measuresfromgovernmentagency,andpolicies survey was conducted from major roads near implemented in other countries. Then select BMA and PCD air monitoring station. Traffic potential policy to survey effect and feed back composition was classified into eight types, from both of public and transport business i.e., motorcycle, car, pick-up, van, micro bus, sector. Moreover, stated preference survey was bus, medium truck, and heavy truck. The results also conducted, to analyze the effective measure showthevariationintermsoftotaltrafficvolume to motivate people to switch from using of each station but not for the proportion of personal car to public transport. For transport traffic composition. Also, there is no significant business sector, government policy should difference between traffic volume in weekday support and promote low emission vehicle andweekend.Eventhoughtrafficvolumebetween with secondary policy, e.g., tax subsidiary, wet and dry season is not much different, promote aftertreatment device, e.g., DPF. PotMhe2.r5 is obviously does, which is caused from For public sector, policy should be divided into factors other than traffic factors. short and long term. In short term, it should This research uses Land Use Regression emphasize on policy which motivate people to (LUR) model to examine the relationship switch to use public transport instead of using between traffic factor and PsMoc2.i5o, -indcelmudoignrgaopthhiecr, personal car. But in long term, shifting to low explanatory factors, i.e., emission vehicle or EV should be consider with meteorological, land use, and open burning secondary policy, e.g., carbon tax calculating, factors. The results conclude that pick-up, bus, subsidiary. 16 งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 17

แบบจำำ� ลองสำ�ำหรบั การติดสินใจเชิงนโยบาย ในการควบคุมปรมิ าณ PMในบรรยากาศของกรุุงเทพมหานครและปริมิ ณฑล 2.5 ภายใตแ้ ผนงานวจิ ยั : แผนงานวจิ ยั เชิงบูรณาการดา้ นเทคโนโลยีเพื่อบรรเทาปญั หาฝ่นุ ละออง PM2.5 กรณีศกึ ษาพ้ืนท่ีกรุงเทพฯ และปริมณฑล Integrated Technology Research Plan for mitigating PM2.5: A case study in Bangkok and Metropolitan Region (BMR) หวั หน้าโครงการ : ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประพัทธ์ พงษ์เกียรติกุล สังกดั : ภาควิชาวศิ วกรรมส่ิงแวดลอ้ มคณะวศิ วกรรมศาสตรม์ หาวิทยาลยั เทคโนโลย ี พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี E-mail : [email protected] ทีมวจิ ัยและสังกดั : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกบดนิ ทร์ วนิ จิ กุล สาขาวิชาการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม คณะส่งิ แวดล้อม ทรพั ยากรและการพฒั นา สถาบันเทคโนโลยแี ห่งเอเชยี (AIT) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พมิ พ์พร พลเพชร ภาควิชาวิศวกรรมเคมคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ในชว่ งระยะเวลา 10 ปที ผ่ี า่ นมา มลพษิ ทาง ขกอารงลPดMม2ล.5พแิษละเพป่ือระชเ่วมยนิ ใปนรกะาสรทิตธัดภิสาินพใจขเอชงิงมนาโตยรบกาายร มอากั กมาคี ศา่ โสดงู ยเกเฉนิ พกาวะา่ มคา่ลมพาิษตจราฐกาฝนุ่นขอขงนปารดะเลเท็กศ(แPลMะ2ไ.5ด)้ รวมถึงการพัฒนาแบบจำ�ำลองพลศาสตร์ของไหล ทวีความรุนแรงมากยิ่งข้ึนในเขตกรุงเทพมหานคร เชิงคำ�ำนวณ (Computational Fluid Dynamic และปริมณฑล โครงการวิจัยนี้มีเป้าหมายในการ หรอื CFD) เพอื่ ศกึ ษาอทิ ธพิ ลของรปู แบบเมอื งและ พฒั นาแบบจำำ� ลองสำำ� หรบั การตดั สนิ ใจเชงิ นโยบาย จสาภกาผพลทกาางรอศุตกึ ุนษิยามพวบทิ วยา่ าตพอ่นื้ กทาขี่ รอกงรกะรจงุ าเทยขพอมงหาPนMค2ร.5 (ใDนบeรcรisยiาoกnาศtขoอoงlก) รเุงพเทื่อพคมวหบาคนุมคปรแริลมะาปณริมPณMฑ2ล.5 และปริมณฑลน้ัน ได้รับอิทธิพลจากแหล่งกำ�ำเนิด โดย Decision tool น้ถี ูกพัฒนาขน้ึ มาในรูปแบบ ของ PM2.5 ภายนอกมากถงึ 55.9% ของฝนุ่ ทงั้ หมด Microsoft excel ทสี่ ามารถปรบั ค่าการลดลงของ สัดส่วนการดำ�ำเนินมาตรการการลดมลพิษต่างๆ ใเพนื่อกแรุสงเดทงพถมึงคหวาานมคเขร้แมลข้ะนปขอริมง ณPฑMล2.ไ5ดท้โด่ีเปยลไม่ีย่ตน้อไปง เสียเวลาและทรัพยากรในการใช้แบบจำ�ำลอง ทางคณติ ศาสตรอ์ น่ื ๆ โดยใชก้ ารพฒั นาแบบจำำ� ลอง Weather Research and Forecasting (WRF) – Comprehensive Air Quality Model with Extensions (CAMx) เพื่อประเมินคา่ ความเข้มขน้ 18 งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 ที่พบในพื้นที่ อย่างไรก็ตามมาตรการการห้ามเผา สเค่งียผงลเใพหิ่ม้คข่า้ึนคถวึงาม2เข6้ม%ข้นแขตอ่สง่งผPลMต2่อ.5ค่าในคบวารมิเวเขณ้มใขก้นล้ ในท่ีโล่ง เป็นมาตรการท่ีให้ผลการเปลี่ยนแปลง ไมดาถ้ กงึ ท2่ีส6ุด%โ(ด3ย-7ส2า%มา)รขถอลงดฝคนุ่ วทางั้ มหเมขด้มทขเ่ี้นกขดิ อขงนึ้ ใPนMเข2ต.5 แขอคง่ปรPะMม2า.5ณใน7บ%ริเวสณำ�ำหทไ่ีรกับลบอรอิเวกณไปรใิมหถเ้ พนิ่มนขในึ้นพเพ้ืนียทงี่ กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ในขณะทมี่ าตรการ Street canyon และบรเิ วณกลมุ่ อาคารหนาแน่น การใชน้ ้�้ำำมันกำำ� มะถันต่่� ำำสามารถลดปริมาณ -P6M%2.5) เช่น กลุ่มอาคารในพื้นที่สยาม เขตปทุมวัน และ ได้เพียง 2% โดยเฉล่ีย (หรือในช่วง 0 ในพื้นที่อาคารที่อยู่อาศัย เขตดินแดง พบว่า ท้งั นีม้ าตรการอยา่ งอืน่ กอ่ ให้เกิดการเปล่ียนแปลง รคะวยาะมรเ่ขน้มโดขย้นรขออบงอาPคMาร2ใ.5นพมีื้คน่ทาส่ีดูงังมกาลก่าวอกาาจรชเพ่วิ่มย สข่องเงสรPิมMร2ถ.5ยนแตต์กEตV่างยกังันเอปอ็นกอไีกปหนโดึ่งมยามตารตกรากราทร่ี หใหาก้กาบรรรเิ ะวบณาดยงัอกาลกา่ าวศมแกี ลาะรฝผนุ่ สมPขMอ2.ง5อดาขี กน้ึ าศนเอนกอ่ื จงาจกานก้ี สทาี่เกมิาดรขถึ้นลใดนเPขMต2ก.5รไุงดเ้มทาพกมถหึง า2น0ค%รแขลอะงฝปนุ่ รทิมั้งณหฑมดล การไหลแบบปั่นป่วนน้อย การปลูกต้นไม้ นอกจากนี้ โครงสร้างขนาดใหญ่ เช่น รางและ ท่ีเหมาะสมอาจช่วยลดค่าความเข้มข้นของ PM2.5 สถานีรถไฟฟ้า ที่ถูกสร้างขึ้นในพื้นที่ที่มีลักษณะ ได้เชน่ กนั เป็น Street canyon เช่น พน้ื ทสี่ ยาม เขตปทมุ วนั 19

Policy Decision Modeling for Ambient PM2.5 Strategic Controls in Bangkok Metropolitan Region Particulate Matter pollution, especially (WRF) – Comprehensive Air Quality Model sPtMan2.d5,awrdhhicahs is often higher than the national with Extensions (CAMx) model which has been become more critical in Bangkok developed to etshteimeaffteectPivMen2.e5 scsonofcepnotlrlauttiioonn and surrounding provinces during the past and to assess ten years. This project aimed at developing mitigation measures. Furthermore, a “Decision tool” to help decision makers to a Computational Fluid Dynamic (CFD) model select the right policies to control ambient has been developed to determine the PThMe 2D.5eciinsioBnatonoglkwoaks Metropolitan Region. influences the urban geography and developed on the Microsoft mtahneadtteso5ur5or.r9loo%guynodofinnagPmMpbr2i.oe5 vnditinscpPeeMsrs2.iw5oenor.veIetriwnBfalasunefognukcnoeddk Excel platform, and it can provide changes in from the sources outside the area. The most iPnMd2.i5ffceornecnetnptroaltiicoineswhaeren the degree of controls applied. The benefit of the Decision model is, thus, easy and quick, influencing control measures to reduce and it do not consume times and resources abbymu r 3bn-ii7ne2gn%,tw(P2h6Mic%h2.5icnawanvaersreadgauec)r.ee LsPotMrwi2c-.s5tuciolofnunrcfoeunnetlrpoaoptliioecnny which is the problem when running the (10 ppm) can reduce dispersion model. The relationship between only 2% on average PdeMci2s.5ioenmtoisosl iwoans and concentration in the oPrMin2.5acoranncgeentroafti0o-n6%by. developed from the outputs of the Weather Research and Forecasting In addition, promotion of EV car was also one of 20 งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 ceoffneccetnivtreatipoonliacryouwndhi2c0h%c.aLnarrgeedsutcruectPuMre2s.5, e.g., Skytrain track and stations, in the street canyon area, i.e., Siam area in Pathumwan sDuibssttrainctti,alliynicnreaapsreodximPaMte2.a5recao(ni.cee.,nbtyra2t6i%on) and slightly in an area further away (i.e., by 7%). PbyMt2h.5ecroonacdenintrasttiroenet is particularl y hi gh canyon area and in dense-building areas (i.e., Siam area in Pathumwan District and residential area near the elevated highway in Din Daeng District). Increasing the distance around the buildings in these areas may help improve the ventilation tianrnedheigprehladPnuMtcine2g.5PamMrea2a.y5s concentration. In addition, dust from the air. with low air mixing, proper help reduce the particulate 21

การประเมนิ มาตรการการแก้ไขมลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละออง PMและผลกระทบดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สขุ ภาพ 2.5 ภายใตแ้ ผนงาน : การประเมนิ มาตรการตามแผนปฏิบตั ิการขับเคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพิษ ด้านฝนุ่ ละออง” Evaluation of measures under the National Road Map : Solution for Particulate Matter Pollution หวั หนา้ โครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.ภคั พงศ์ พจนารถ สังกดั : สถาบนั บัณฑิตพฒั นบริหารศาสตร์ Email : [email protected], [email protected] ทมี วจิ ัยและสงั กัด : วิสาขา ภู่จินดา, จุฑารัตน์ ชมพันธ์,ุ อดศิ ร์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ ทพิ วรรณ ประภามณฑล, ชาครติ โชติอมรศกั ด์ิ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ เบญจวรรณ ธวชั สุภา กรมอนามยั พันศักดิ์ ถิรมงคล กรมควบคมุ มลพิษ แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ กำ�ำหนดสถานการณ์ที่ใกล้เคียงความเป็นจริง “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละออง” ในปี 2562 ที่สุด โดยที่การลดการเผาในที่โล่งร้อยละ 40 กำำ� หนดใหม้ ลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละอองเปน็ ประเดน็ สำำ� คญั จในะชสว่ างมทาเี่ กรดิ ถปลญั ดหกาาหรมปอลก่อคยวนั PอMยา่2.ง5ไรไกดต็ ้มาามกในทชี่สว่ ุดง ท่ีต้องเร่งดำ�ำเนินการแก้ไข จากแผนปฏิบัติการ มีการกำ�ำหนดมาตรการในการจัดการปัญหา ท่ีไม่ใช่ฤดูหมอกควัน การลดกำ�ำลังการผลิต ฝนุ่ ละออง รPะMเ2ม.5ิ ในหลากหลายประเดน็ คณะผวู้ จิ ยั ร้อยละ 10 ของโรงงานอุตสาหกรรมหรือ ทำ� ำ ก า ร ป นมาตรการที่สำ�ำคัญ จำ�ำนวน การตรวจจับรถยนต์และเรือควันดำ�ำอย่างเข้มงวด 11 มาตรการจากแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน จทะ่ีสสุดามตา้นรทถลุนดสป่วรนิมเพาณิ่มกแาลระปกลา่อรยวิเคPรMา2ะ.5ห์ไตด้น้มทาุนก วาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้าน ฝุ่นละออง” และหน่วยงานอ่ืน โดยศึกษาปริมาณ ประสิทธิผลจากการประเมินผลกระทบทาง กสัางรคปมลแ่อลยะPสMุข2ภ.5 ที่ลดลง ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจแสดงให้เห็นว่า มาตรการการทำ�ำงาน าพ แล ะประสิทธิผลของการ จากระยะไกลและการลดการเผาในท่ีโล่ง เป็น นำำ� มาตรการมาปฏบิ ตั ิ จากท้ังหมด 11 มาตรการ มาตรการท่ีควรถูกนำ�ำไปใช้ในช่วงวิกฤติหมอกควัน พบว่า 8 มาตรการสามารถทำ�ำให้ปริมาณ ในขณะที่มาตรการการลดกำ�ำลังการผลิตของ การปล่อย PM2.5 ลดลงได้โดยตรงจากการ โรงงานอุตสาหกรรมหรือการห้ามรถบรรทุก 22 งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 ขนาดใหญ่เข้าพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานครไม่ส่งผลให้ ใทผนลุกเกขร1ตะ0ทกบรมุงขคเอทกงพก. ามตรห่รอาบั นสลมคับผรมสแั .รละขะยอปะงรสิมน้ั PณจMาฑก2.ล5PMทจ2ี่เะ.5พสพิ่ม่งบขผวึ้นลา่ ผเกลดิ กครวะาทมคบมุ้ดค้าา่นในสัดงคา้ นมกพาบรวล่าดมPาMต2ร.5กจาารกทกี่เาลรือปกรมะเามในิช้ ส่วนใหญ่ส่งผลกระทบต่อสังคมในระดับต่�่ำำยกเว้น ต่อการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด มาตรการการลดกำ�ำลังการผลิตของอุตสาหกรรม หรือโรคทางเดินหายใจถึงร้อยละ 3-4 การใช้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสังคมในระดับสูง จากการ แบบจำ�ำลอง CIPPI ประเมินประสทิ ธผิ ลของการนำ�ำ สำ�ำรวจพบว่าประชาชนจะมีความพึงพอใจสูงสุด มาตรการมาปฏิบัติและการบูรณาการผลกระทบ ต่อมาตรการที่เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมเช่น ในทุกด้าน แสดงให้เห็นว่าแต่ละมาตรการก่อให้ การเพ่มิ พ้นื ที่เขยี วในเขตกรุงเทพมหานคร สำำ� หรับ เกิดประสิทธิผลท่ีแตกต่างกัน โดยที่มาตรการ การศึกษาผลกระทบต่อสุขภาพในภาพรวม ท่ีก่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดสามลำ�ำดับแรก พบ ว่าระ ดในับเขPตMกร2ุง.5เทจพามกหโมานเดคลรแทล่ีพะัฒปรนิมาณจฑาลก คือ การลดการเผาในที่โล่ง การบังคับใช้กฎหมาย ค่า AOD อย่างเข้มงวดสำ�ำหรับรถยนต์และเรือท่ีมีควันดำ�ำ ในช่วงปี 2553-2562 แสดงแนวโน้มท่ีลดลง และการทำำ� งานจากระยะไกล ในช่วงครึ่งหลังอย่างมีนัยสำ�ำคัญ และการศึกษา 23

Assessment pooflmlueatisounraensdtothseolevceoPnMom2.5ic, particulate social, and health impacts National Road Map: Solution for from entering the Bangkok do not result in Particulate Matter Pollution in 2019 clearly Acocscto-redffiencgtitvoentehsessinoctiearlmims opfacretdauscsiensgsPmMen2.5t., indicates that pollution from Particulate Matter is an important issue that must be urgently it was found that most measures had a low addressed. From the Road Map, various impact on society, except for the reducing measures have been set for managing rPtMan2.t5 industrial production capacity, which had a problems. W e assessed 11 impo high impact on society. Our survey indicated measures from the Action Plan by PCD and that usually people are most satisfied with the other agencies by studying the amount of measures that are visibly benefit and concrete, tPhMe 2e.5ceomnoismsyio, nssocrieedtyu,ctainodn, the impact on such as increasing green areas in Bangkok. health, and the lFeovreltshferoomvearamllohdeelaldtehveimloppaecdtfrsotmudtyh,ePAMO2D.5 effectiveness of the implementation of the measures. Eight measures from eleven in Bangkok and its vicinity during 2010-2019 measures were found to be able to reduce showed a significant decline in the second PesmcMei2ns.5aseiromionisss.sciDoounursldindgibreepcortellyldubutacioseneddetohpneistmohdeoers,etaPflriMsotm2ic.5 half. The study of the effects of short-term the scenario of reducing open burning mveixcgpi/nomist3yu,rotefhePtoMrisP2.k5Moin2f.5cdrfeeoaautshnedfirnothmBaatcnafgorkdroioekvvaaesnrcydul1iat0sr by 40 percent. However, during the non-smoke disease or respiratory disease would increase season, decreasing of 10 percent of industrial up to 3-4 percent. Using the CIPPI model to production capacity or strictly ban of black assess the effectiveness of the implementation smoke cars and ships are measures that could of measures and integration of impacts from rceodsut-ceefPfeMct2i.v5 eenmeissssiaonnaslymsoisstf.roMmartghienaelccoonsot manidc all dimensions, it is found that each measure produces different efficacy. The top three most impact assessment show that work-from- effective measures are: Reducing or banning remote measure and reducing open burning open burning, Strict enforcement or banning measure should be prioritized during the smog of black smoke cars and boats, and Working crisis while reducing the production capacity remotely. of industrial plants and the ban on large trucks 24 งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 25

กโดายรกจดัารทำว�ำจิ แยั นกวาทราเงกกิดาอรนจภุัดากคาทรุตฝิยนุ่ ภPูมMิจา2.ก5 การ ใชร้ ะบบแบบจำำ� ลองการจดั การคณุ ภาพอากาศ ในพ้นื ทก่ี รงุ เทพมหานครและภาคกลาง หัวหน้าโครงการ : รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ สังกัด : บณั ฑติ วทิ ยาลยั รว่ มดา้ นพลังงานและสงิ่ แวดล้อม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี Email : [email protected], [email protected] ทีมวิจยั และสังกัด : ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกพล จันทร์เพ็ญ, ดร.พัชชาพลอย วงศ์มหาดเล็ก, นางสาวอรชร กำ�ำเนิด บัณฑติ วิทยาลัยรว่ มด้านพลงั งานและสิง่ แวดล้อม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี ทุติยภกูมาิใรนศบกึ ษรรายนา้ีเปก็นากศากรรศุงึกเษทาพกฯาแรเลกะิดปฝรนุ่ ิมณPMฑ2ล.5 การปล่อยของประเทศไทย คิดเป็น 60%, 40%, 25% และ 34% ตามลำำ� ดบั และแหลง่ กำำ� เนดิ หลกั ที่ โดยใช้แบบจำ�ำลองคุณภาพอากาศ และบัญชี มคี วามแปรผนั สงู ดา้ นการกระจายตวั เชงิ พนื้ ทแี่ ละ การปล่อยมลพิษทางอากาศความละเอียดสูง ชว่ งเวลาการปลอ่ ย พรอ้ มทงั้ มกี ารปลอ่ ยมลพษิ ทาง (High Resolution) ด้านการกระจายตัวเชิงพ้ืนท่ี อากาศในปริมาณสูงในช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม และช่วงเวลาการปล่อย (Spatial-Temporal ได้แก่ การเผาเศษวัสดุการเกษตรในท่ีโล่ง และ Distribution) ของประเทศไทยในปีค.ศ. 2019 การใช้ปุ๋ย Urea ในการเพาะปลกู พชื นาและพชื ไร่ (พ.ศ. 2562) ที่ได้จัดทำ�ำข้ึนสำ�ำหรับการศึกษาน้ี โดยเฉพาะในพ้นื ท่ภี าคกลาง โดยเฉพาะ นอกจากนี้ ผลการศึกษาการกระจายตัว จากผลการศึกษาพบว่าการปล่อยมลพิษ จเำช�ำิงลพอื้นงทค่ีขุณอภงฝาพุ่นอPาMกา2.ศ5 ในบรรยากาศโดยใช้แบบ ฝปุ่นริมPาณM22.53ปกฐโิมลภตมู ันิ ในกรุงเทพฯ และปรมิ ณฑลมี ชี้ให้เห็นว่าในช่วงเดือน หรือคิดเป็น 6% ของปรมิ าณ มพก้ืนรทาี่ดค้ามนฝตนุ่ ะPวันMต2.ก5 เใฉนียบงรเรหยนาือกแาลศะมตปี ะรวมิ ันาตณกสเงูฉสียดุ งใในต้ ท่ีปล่อยของประเทศไทย และสำ�ำหรับสารมลพิษ ปNPrรHeะ3cเทuสศrัดsไoสทr่วยsนคไกดดิ า้เแรปกป็น่ ลS1่อO1ย2%เ,ท,Nีย2Oบ7X%ก,ับ,Nก1Mา4ร%VปOลแC่อลsะยแข4ลอ%ะง ของกรุงเทพฯและปริมณฑล ซึ่งอยู่ในสภาวะท่ีลม หลกั มาจากทศิ ตะวนั ออกและตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ทม่ี คี วามเรว็ ต่�่ำำมากหรอื มคี า่ นง่ิ เปน็ ศนู ย์ และพบวา่ ตามลำ�ำดับ และในส่วนของภาคกลาง การปล่อย เสทฝดัุ่นดตุ ือสยิ Pน่วภMมนมู ก2ขปิ .5รอราทงะคปตุกมริยอิ-มภบมาูมดีนณว้ิอายฝยคุทู่่น(มS่ีปOPรโ4Mดะ)มย22.-าส5(ณ่ว5ปน5ฐ7%ทม2่ีเ)ภ:ป,2ูมS็8นOิตฝต่อAุ่นลป(อ2รPด6ิมMช%าว่ณ2).ง5, มสNำำ�ลMหพVริษOบั ฝสCุ่นาsรPมแMลล2พะ.5ษิ ปNฐPHมr3ภecสูมuัดมิ rสีปs่วoรนมิrsกาณาไดรปแ้97กล่่อพSยนัOเตท2,นัียNบแOกลับXะ, 26 งานวจิ ัยและนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 (แNลHะ4ภ)-าย(1ใต8้้%ภา)พแฉลาะย ((NScOe3)n-a(r<io1)%ที)่่�มตีีมาามตลรำ�ำกดาับร ฝ(จเซำพNน่ำ�ุ่ึงียHเชPพง้ี4ใMาเ)หล-ะ2้็เก.ท(5ห1นทา็น6ง้อตุ %เบยยิคเภท)มปมูบขี ็นแยิอาลงังท(คะฝSสงุ่นำOเ�(ำปN4คP)น็ O2ัMญ-632ข(8).5-5:อ35ท(ง2%<ุตมแ1ยิ)าล,%ภตะSูมร)อOปิกงตAคราาปบั์รม(ใรเ2ปลนะำ8�กำลก%ดอ่ียาับบน)ร, ควบคุุมการปล่่อยมลพิิษทางอากาศจากการเผา เศษวััสดุุการเกษตรในที่�โล่่ง, การจราจรทางถนน, การใชป้ ยุ๋ Urea, การจดั การมลู สตั ว์ และ การเผาไหม้ เชอ้ื เพลงิ ในอตุ สาหกรรมการผลติ ในพนื้ ทกี่ รงุ เทพฯ ใคนวบภคาุมคกกาลรารงะทบาางยทิSศOต2ะวจันากอแอหกลเ่งฉกียำ�ำงเเนหิดนทือี่ตข้ังออยงู่ ปริมณฑล และภาคกลาง ในช่วงเดือนมกราคม ปปรรมิิมณาณฑฝลุ่นสามPาMร2ถ.5ลดในลบงไรดรถ้ ยงึ าปกราะศมการณุงเ4ท6พ%ฯ และ กรุงเทพฯ ปริมณฑล โดยท่ี สฝจ(เทำพNน�ำ่ัุด้ังียHเนสพPง4ี้่วMาเ)ในล-ะน2ข็กท.(5ก1อนาทร7งง้อณตุ ป%เยยคิ ีทรเภ)มปิม่ีมมูขี า็นแีกปอิณลางรร(ะฝฝบSั เุ่นพนุ่Oเ(ป่ิมN4PนP็)มO2MM-6า3ต28(2).5.-55:ร36กท(2ป%<าตุ ฐแร1ยิ)มลล,%ภภะดSมู)อกูมOปิงิจิตตคAรก่อาป์บั รปม(รเร2ปรละมำ5ิม�กำลก%าดอ่ียาณับบน)ร, ระบายจากการผลิตปูนซีเมนต์และโรงกลั่นน้�้ำำมัน เชอ้ื เพลิง ทต่ี ั้งอยูใ่ นพ้ืนท่ภี าคกลาง พบวา่ ปรมิ าณ สฝุา่นมาPรMถ2ล.5ดลในงเบพร่ิมรเยตาิมกไาดศ้ถกึงรปุงรเะทมพาฯณแล4ะ8ป%ริมโณดฑยทลี่ สัดส่วนของปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิต่อปริมาณ 27

Development of air quality policy measures tthoemSiteicgoantdeaPrMy2.A5 earirospoolllFuotrimonatbiyoninuvseisntgigAairtiQnugality Benefit Assessment Modeling System in Bangkok Metropolitan Region (BMR), Thailand This study aims at investigating the cultivation. aseWcoRnFd-aCrAyMPxMa2i.5r formations in BMR using The emission inventory results showed quality modeling platform, tahmaot utnhteedptroim2a3rykilPoMton2.5s emissions in BMR with the spatially and temporally high-resolution or 6% of Thailand’s air pollutants and greenhouse gases emission itehnmecilrsuesldaioitninvgse.pSFrooOpr2o,sretNicoOonxns,dtoaNrTMyhVaPiOMlaCn2.d5s’,psraeemncduisrssNiooHrns3s,, inventory in Thailand for the year 2019 specifically established for this study based on the GAINS model methodology and were 11%, 27%, 14%, and 4%, respectively. country-specific data collected from national Regarding the central region, the primary statistics and satellite data, and complemented PanMd2t.5heempriospsoiortniosnatomtohuenntaetdiontoal 97 kilotons, with field and questionnaire surveys for road emissions of transport, agricultural open burnings, and crop SO2, NOx, NMVOCs, and NH3, was 60%, 40%, 28 งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 25%, and 34%, respectively. High variations I(nNHc4a)-s(e17o%f )a,dadnidtio(NnOal3)-m(e<a1s%ur)e, srestopercetidvueclye. in spatial and temporal distribution during January-March were observed for agricultural emissions activities from cement production waste burnings and urea fertilization, especially and fuel refineries located in the central in the central region. region, it was found that the fuarmthbeier nret dPuMce2d.5 From air quality simulation results, concentrations in BMR can be it was found that PinMJ2a.5naumarbyi,epnat rctoicnucleanrltyraintiotnhes by approximately 48%, with the proportion were the highest Twes(oNmlhfhigHipiishls4er)srti-lemiytosh(nam1uer6lcyto%sopdpnto)ioetfiricaneosindtlaesdmtctiooooe(unnNa(tSsdOtouOah3frr)e4ey-)ss2ie(m-Pt<c(oMp51oi5o%nm2%r.d5)tpaa,)slrn,ertytmSielrlsOPeopaAMnleettc(2do6.2t5iu8f8vwr:S%ei3nlOa2y)gs2,., northwestern and southwestern parts of BMR, when the prevailing wind was from the east and northeast direction with very low speeds, less than 2 m/s. aTphperopxriimmaatreylyto72s:e2c8onthdraoryugPhMou2.5t ratios were January, for sources located in the central I(wJnNaanHasud4)cad-orit(ymi1o8tpno%o, stM)he,edaarsnocidmhf ,((uSNalaOnOtd4i3o))2-n-th((r<e5e15s%s%uel)tc),s,orsnSehdOsoapAwreyc(e2tdPi6vMt%ehla2y).5t,. region in the northeastern direction of BMR. under the scenario incorporating measures to control emissions from agricultural waste burnings, road traffic, use of urea fertilizer, manure management, and fuels combustion in the manufacturing industry, in BMR and the central region during January, the ambient PbyMa2.p5 pcroonxcimenattrealtyio4n6s%in, BMR can be reduced with the proportion of swplrhiigmihleatlrytyhmetoosdspeiefciceoidantdtiooanr(ySoOPf4M)s22e-.5c(5oa6dn%jdua)sr,tyeSdOPAtMo(26.2585w:%3a2)s,, 29

ทกาตุ รปยิ รภะเมมู นิ ิใแนหลภง่ ากำำ�คเนเหดิ แนลอืะกขลอไกงกปารรเกะดิ เทฝนุ่ศPไทMย2.5 ผู้อำ�ำนวยการแผนงาน : รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร จันทระ สงั กดั : มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ Email : [email protected] ทมี วิจยั และสงั กัด : รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร จนั ทระ (หัวหน้าโครงการย่อยท่ี 1) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ดร.ทิพวรรณ ประภามณฑล (หัวหนา้ โครงการยอ่ ยที่ 2) มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม ่ ดร.รัชดาภรณ์ จนั ทร์ถา (หวั หน้าโครงการย่อยที่ 3) สถาบันวิจยั ดาราศาสตร์แห่งประเทศไทย (องคก์ ารมหาชน) การแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศท่ีย่ังยืน (34-37%) สว่ นการเปรยี บเทยี บสดั สว่ นแหลง่ กำำ� เนดิ จจำำั�ดเกปาน็ รตแอ้ ลงะทครวาบบคถุมงึ แกหารลปง่ กลำำ�่อเยนมดิ ลฝพนุ่ ิษPMง2า.5นเวพิจอ่ื ัยกนาี้มรี เชงิ เวลา ใชข้ อ้ มลู ของ อ.เมอื ง จ.เชยี งใหมใ่ นปี 2563 ระหว่างช่วงในและนอกฤดูหมอกควันพบว่า วตั ถุประสงคเ์ พ่ือ 1) ประเมนิ แหล่งกำำ� เนดิ ทั้งแบบ สัดส่วนการเผาชีวมวลในช่วงหมอกควัน (48%) ปขอฐงมปภรูมะิแเทละศทไทุตยิยภ2ูม)ิขศอึกงษฝุ่นาควPาMม2ส.5ัมใพนันภธา์รคะเหหวน่าือง สูงกว่าช่วงฤดูฝน (6%) ในขณะที่แหล่งกำ�ำเนิด จราจรในช่วงหมอกควันมีเพียง 10% ซึ่งน้อยกว่า สารมลพิษทางอากาศและปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยา ชว่ งฤดฝู น (69%) สว่ นฝนุ่ ทตุ ยิ ภมู ใิ นชว่ งหมอกควนั เพ่ือประเมินกลไกและกระบวนการทางฟิสิกส์เคมี มีสัดส่วนประมาณ 27% ส่วนฤดูฝนมีเพียง 1% บรรยากาศของการเกิดฝุ่นทุติยภูมิในบรรยากาศ ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั ขอ้ สรปุ ทว่ี า่ ฝนุ่ ทตุ ยิ ภมู เิ กดิ จากการ โดยใช้แบบจำ�ำลองคณิตศาสตร์จำ�ำลองสถานการณ์ ทำ�ำปฏิกิริยาของสารมลพิษในบรรยากาศในช่วง ภPMา2ค.5เ 3) เสนอแนวทางในการจดั การ กPาMร2ป.5 ในพน้ื ท่ี ท่ีมีการสะสมในพ้ืนที่เป็นเวลานาน การศึกษาสาร หนื อของประเทศไทย ใน ระเมิน อินทรีย์ระเหยง่ายในอากาศซ่ึงมีศักยภาพในการ โแดหยลเง่ นกำ้น�ำเตนัวดิ บฝ่งนุ่ ช้ีแPMหล2.5่ง ไดใ้ ชอ้ งคป์ ระกอบทางเคมี ผลิตโอโซนและละอองลอยทุติยภูมิ พบสารเด่น กำ�ำเนิดฝุ่นแต่ละประเภท ท่ีปลอ่ ยจากธรรมชาติ คือ ไอโซพรีน และสารเด่น ไปประมวลผลโดยแบบจำ�ำลอง PMF เพ่ือ ทป่ี ลอ่ ยจากยานพาหนะ ไดแ้ ก่ เบนซนี โดยไอโซพรนี เปรียบเทียบสัดส่วนของแหล่งกำ�ำเนิดเชิงพื้นที่ ที่ปล่อยจากป่ามีความสัมพันธ์กับฤดูกาลและ ในชว่ งฤดหู มอกควนั ปี2560ระหวา่ งอ.เมอื งจ.เชยี งใหม่ การผลัดใบของต้นไม้ ไอโซพรีนเป็นสารต้ังต้น และ อ.นานอ้ ย จ.นา่ น พบวา่ มีสัดส่วนของการเผา ของสารหลายชนิด เม่ือมีปริมาณในบรรยากาศสูง ชีวมวลในพ้ืนที่ที่น่าน (50%) มากกว่าที่เชียงใหม่ จะพบสารทุติยภูมิในปริมาณสูงด้วย เช่น (40%) แต่สดั สว่ นการปลอ่ ยมลพิษจากการจราจร เมธาโครลีนและ เมทิลไวนิลคีโตน ในพื้นท่ี ของเชียงใหม่ (23%) มากกว่าน่าน (16%) ภาคเหนือมีปริมาณการปลดปล่อยสารไอโซพรีน โดยสัดส่วนฝุ่นทุติยภูมิมีปริมาณใกล้เคียงกัน กว่า 10 ล้านตันคาร์บอน/ปี จากแบบจำ�ำลอง 30 งานวิจัยและนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 สภานีเก็บตวั อยา่ งฝนุ่ PM2.5 MEGAN และ WRF-Chem พบว่า ความเข้มข้น การใช้ประโยชน์ท่ีดิน การลดการปล่อยมลพิษ ของละอองลอยไกลออกซาน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ จากแหลง่ กำำ� เนดิ ทง้ั การเผาในทโี่ ลง่ และการจราจร จากปฏิกิริยาออกซิเดชันของไอโซพรีนเพิ่มข้ึน ในช่วงปีที่มีสภาวะแล้งมาก ควรมีการวางแผน ตามความเข้มขน้ ของ BVOCs ในระบบ โดยเฉพาะ บริหารจัดการเช้ือเพลิงในพื้นที่เส่ียงล่วงหน้า ในอนุภาคขนาดละเอียด (0.156 - 0.625 µm) และควรงดการเผาโดยเด็ดขาดในวันท่ีมีสภาพ ซง่ึ อาจสง่ ผลตอ่ ปรมิ าณฝนุ่ ทตุ ยิ ภมู ใิ นชน้ั บรรยากาศ อากาศปิด และควรจัดให้มีระบบขนส่งสาธารณะ ไใดน้พสื้นำ�ำทห่ีภรับาคแเนหวนทือาขงใอนงกปารระจเัดทกศาไรทปยัญอยห่าางยPั่งMย2ืน.5 ในเมอื งเพอ่ื ลดปรมิ าณการจราจรและลดการปลอ่ ย ควรเนน้ การแกไ้ ขปญั หาทตี่ น้ เหตุ ไดแ้ ก่ การจดั การ มลพิษ 31

Estimating sources and formation mechanism of secondary PM2.5 in Northern Thailand Long term solutions to air pollution reactions during prolonged accumulation. req uires so urce apportionme nt of uPaMlit2.y5 Additionally, volatile organic compounds as guide lin e for developing ai rq (VOCs) were investigated because of their management strategies. The objectives of properties to facilitate the production of ozone this study were to 1) apportion the sources of and secondary aerosols. The dominating primary a2n)dsstuedcyonthdearryelPatMio2n.5s in Northern biogenic VOCs (BVOCs) was isoprene, while Thailand, between air those of anthropogenic VOCs were benzene pollutants and meteorological factors and from vehicles. Isoprene emission was found to mechanisms of photochemical reactions be seasonal related to leaf phenology. Isoprene of ambient secondary particulates and was also a precursor to many secondary gases p3)ololuffteiorngsu.idPeMlinFemfoordtehlewmasanuasgeedmtoenatpopfoPrtMio2n.5 and particles such as metacrolenin and methyl the sources of primary and secondary tPi Mo n2.5. vinyl ketone. The estimation of isoprene based on its chemical composi emission in Northern Thailand was approximately 10 MTonC y-1. The results from MEGAN and SpatialsourcecontributioninChiangMaiandNan WRF-CHEM models showed that concentrations was investigated in 2017. Biomass burning of glyoxan, an isoprene oxidation product, contribution in Nan (50%) was higher than increased in corresponding with BVOCs that of Chiang Mai (40%), while traffic emission particularly fine particles (0.156 - contribution in Chiang Mai (23%) was higher 0.625 µm). It may subsequently affect the than that in Nan(16%).Contributionof secondary amount of ambient secondary aerosols. aerosols was comparable (34-37%). Guideline for sustainable management of aPtMth2e.5 Temporal source contribution during smoke in Northern Thailand should be insistently haze and non-smoke haze periods was root of the problems by managing land use and investigated in Chiang Mai 2020. Biomass reducing the emission from open burning and burning contribution was much higher in smoke traffic. During years with strong drought, haze period (48%) than in wet season (6%). biomass management in high-risk areas of In contrast, traffic contribution in smoke haze open burning should be planed and no open period was only 10% but proportionately burning should be allowed during days with increase to 69% in wet season. Secondary low air ventilation. In addition, city public aerosol contribution was 27% in smoke haze transportation should be promoted and season and only 1% was found in wet season, implemented to reduce traffic volume as well in compliance with the fact that secondary as pollutant emission. aerosols occur from atmospheric chemical 32 งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 33

กทาตุรปยิระภเมนิมู แหิในลง่ แกำำ�อเนง่ ดิ เแชละยี กลงไใกหกามรเ-่กดิลำฝำ� นุ่ พPMนู 2.5 ภายใต้แผนงาน : การประเมินแหล่งกำำ� เนดิ และกลไกการเกดิ ฝ่นุ PM2.5 ทตุ ยิ ภมู ิในภาคเหนอื ของประเทศไทย ภายใตแ้ ผนงาน : Estimating sources and formation mechanism of secondary PM2.5 in Northern Thailand หัวหน้าโครงการย่อย : รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร จันทระ สังกัด : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ Email : [email protected] ทีมวจิ ยั และสงั กดั : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ว่าน วริ ยิ า/ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ดร. ดวงเดือน เทพนวล/ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ ดร. ณัตติพร ยะบงึ / มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ดร. วิทยา ทาลา/ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ พนื้ ทภ่ี าคเหนอื ของประเทศไทยประสบปญั หา ในช่วงฤดูแล้ง (มีนาคม-เมษายน) ของ 3 ปี มลพิษทางอากาศในช่วงฤดูแล้งเป็นประจำ�ำทุกปี คอื 2559, 2560 และ 2563 มาจากการเผาชีวมวล ด้วยปัจจัยทางด้านภูมิศาสตร์ของพ้ืนที่ สภาวะ (รอ้ ยละ 19 - 48) ฝุ่นทุตยิ ภมู ิ (ร้อยละ 28 – 49) อุตุนิยมวิทยาที่เอื้อต่อการสะสมของมลพิษใน และการจราจร (รอ้ ยละ 10 – 33) การเปลย่ี นแปลง บรรยากาศ และการมีแหล่งกำ�ำเนิดมลพิษใน สัดส่วนรายปีข้ึนอยู่กับสภาวะภูมิอากาศ โดย พ้ืนที่เป็นจำ�ำนวนมาก โดยเฉพาะการเผาชีวมวล ปี 2563 เป็นปีท่ีเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมิน ท่ีสภาพอากาศมีความแล้ง มีปริมาณฝนน้อย แหล่งกำ�ำเนิดท้ังแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิของ ทำ�ำให้พบสัดส่วนการเผาชีวมวลสูงกว่าในปี 2560 คฝนุ่วามPMสัม2.พ5 ใันนธแ์รอะ่งหเชวีย่างงใสหามร่-มลำล�ำพพิษนู ทแาลงะอา2ก)าศศแกึ ลษะา ท่ีมีปรากฏการณ์ลานีญา ทำ�ำให้มีปริมาณฝนและ ความชื้นในบรรยากาศสูง สำ�ำหรับช่วงนอกฤดู ปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยา เพื่อประเมินกลไกการ หมอกควนั (เดอื นกรกฎาคม) ซงึ่ ไมม่ กี ารเผาในทโี่ ลง่ เกดิ ฝนุ่ ทตุ ยิ ภมู ใิ นบรรยากาศโดยหลกั การปฏกิ ริ ยิ า จพรบาวจ่ารแหแลล่งกะำ�ำไเมน่มิดีกหาลรักสขะอสงฝมุ่นขอPงMม2ล.5พมิษาทจุาตกิยกภาูมริ เคมีทางแสง โดยมีการนำ�ำเข้าข้อมูลความเข้มข้น และองค์ประกอบทางเคมีของตัวอย่างฝุ่น 2P5M620.5 เนอื่ งจากปจั จยั ทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา เชน่ ความเรว็ ลม ของจังหวัดเชียงใหม่ ในช่วงปี 2559- และปริมาณฝน ที่ช่วยลดระดับมลพิษ นอกจากนี้ และมีการวิเคราะห์องค์ประกอบของฝุ่น ไอPอMอ2น.5 ยังมีการศึกษาองค์ประกอบของสารอินทรีย์ ปี 2563 ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบโลหะ คารบ์ อน ระเหยง่ายในอากาศ ซ่ึงมีศักยภาพในการผลิต ละลายน้้� ำำ และ สารประกอบอินทรีย์ละลายน้�้ำำ โอโซนและละอองลอยทุติยภูมิ โดยพบสารหลาย ดแล้วยะแนำบ�ำไบปจำใำ� ชล้หอางสัดPoสs่วiนtiแvหe ลM่งกaำt�ำrเiนxิดFขaอcงtoฝุ่นrizaPtMio2n.5 ชนิดท้ังที่ปลอ่ ยจากธรรมชาติ เช่น ไอโซพรนี และ ท่ีปล่อยจากกิจกรรมมนุษย์ เช่น เบนซีน และ (PMF) ผลการศึกษาพบว่า แหล่งกำ�ำเนิด PM2.5 สารท่ีมีโครงสร้างคล้ายเบนซีน โดยปริมาณสาร 34 งานวิจยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563 ค่าฝุ่น PM2.5 รายวัน เหล่านมี้ คี วามสัมพนั ธ์กบั แสงและอณุ หภมู ิ ซง่ึ เป็น ปจั จัยทสี่ ำำ� คัญตอ่ ความสามารถในการระเหย และ การเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันในภาวะที่มีแสงเป็น ตัวกระตุ้น (photooxidation) โดยสรุปพบว่า อากาศของพ้ืนที่ภาคเหนือตอนบนมีมลพิษ มากในช่วงฤดูแล้ง ท้ังในรูปแบบอนุภาคและ กขอ๊าซงมนโดุษยยฝ์เุ่ปน็นPหMลัก2.5 ปฐมภูมิเกิดจากกิจกรรม เช่น การเผาชีวมวล และ การจราจร โดยปริมาณมลพิษที่ปล่อยจาก การจราจรมีปริมาณใกล้เคียงกันตลอดท้ังปี ส่วนมลพิษทุติยภูมิเกิดจากการปฏิกิริยาเคมี ของมลพิษปฐมภูมิท่ีสะสมในพื้นที่ในช่วงที่มี มลพิษหมอกควัน จึงมีปริมาณน้อยในช่วง นอกฤดูหมอกควัน 35

Estimating sources and formation mechanism of secondary PM2.5 in Chiang Mai – Lamphun Basin Northern Thailand annually experienced year 2017 with high precipitation and humidity. air pollutionin dry season because of geographic For non-burning season (July), the main source characteristic and meteorological condition soef cPoMn2d.5awryasaefrroomsoltsrafwfiacs. No accumulation of that cause air pollutants to accumulate in observed because the basin. The pollution is further worsen by of wind and rain scavenging to disperse and substantial local biomass burning activities. reduce atmospheric pollutants. Additionally, Theobjectivesofthisprojectwereto(1)apportion ambient volatile organic compounds (VOCs) the source of primary and secondary sPtMud2y.5 were investigated because of their properties to in Chiang Mai-Lamphun Basin and (2) facilitate the production of ozone and secondary the relations between air pollutants and aerosols. Biological VOCs such as isoprene meteorological factors and mechanism of and anthropogenic affect VOCs such as benzene photochemical reactions of ambient secondary and benzene homologues were related to particulates. Chemical composition datasets temperature and solar intensity, which affect of PCMhi2a.5nfgroMmapi raenvidoucshestmudicieasl in 2016-2017 on volatility and photooxidation of compounds. in composition This project revealed high air pollutants in ocafrPboMn2.c5oanntaelnytzse,dwainter20s2o0lubinlecliuodnisnagnmd wetaatlesr, Northern Thailand both in forms of particulate and gas phases during the burning season. soluble organic carbons were used for source Primary pollutants are mostly emitted from aFapcptoorrtizioatniomnen(PtMoFf )P. MTh2e.5 by Positive Matrix anthropogenic activities such as biomass results showed that burning and traffic, while traffic emission is the sources o2f0P1M72.5ainnddry2s0e2as0onw(eMraercbhitoomAparsils) relatively constant for the whole year. Secondary in 2016, pollutants were produced from chemical burning (19 - 48 percent), secondary aerosols reactions of accumulated primary pollutants (28 - 49 percent) and traffic (10 - 33 percent) during smoke haze period. Therefore, their with yearly variation based on meteorological concentrations were low in non-smoke haze conditions. El Niño year 2020 with drought and period. low precipitation had higher proportion of PNMiñ2a.5 from biomass burning than those of La 36 งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกันและแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 37

กละาอรอหงลาอแหยทลตุ ่งิยกำภ�ำูมเนขิ อิดงฝุ่น 2P56M4 2.5 ในอากาศในเมืองเชยี งใหม่ : ศกึ ษาตลอดปี ภายใตแ้ ผนงาน : การประเมนิ แหลง่ กำ�ำเนิดและกลไกการเกิดฝุ่น PM2.5 ทตุ ยิ ภมู ใิ นภาคเหนือของประเทศไทย ภายใตแ้ ผนงาน : Estimating sources and formation mechanism of secondary PM2.5 in Northern Thailand หัวหน้าโครงการย่อย : ดร.ทพิ วรรณ ประภามณฑล สงั กัด : สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ Email : [email protected] ทมี วจิ ัยและสงั กัด : ดร.แสวง กาวชิ ยั สถาบันวิจยั วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สชุ าติ เกยี รติวัฒนเจรญิ คณะเทคนคิ การแพทย ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุษริ ะ บุตรดี คณะวิทยาศาสตร์ พลังงานและสิ่งแวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื วิทยาเขตระยอง โครงการนี้ ได้ทำ�ำการศึกษาการหาแหล่ง การเผาไหมส้ งู พบธาตุท่ีมคี ่าเฉลยี่ สงู 3 ธาตุ ไดแ้ ก่ กบใำนำ�นเเแนมผดิือน่ ลงกะเรชออีอยงงงลใ2อห4ยมชท่ ั่วตุ โโยิดมภงยมูเวกขิัน็บอเวงตน้ฝัวนุ่วอนั PยMต่าลง2.อฝ5 ุดใ่นนปอีP2าMก56า2ศ4.5 ซิิลิิกอน (Si) อะลููมิิเนียี ม (Al) และ โซเดีียม (Na) ณ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ อาคาร 3 ตามลำดัับ เมื่�อประมวลผลองค์์ประกอบพีีเอเอช ด้ว้ ยวิิธีี Diagnostic ratio พบว่า่ บPู รMณ2.5์ จเากิกิดกจาากร กระบวนการเผาไ ห ม ้ ท่ี ไม่สม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยอยู่ห่างจากสถานี เผาไหม้ชีวมวลหรือเช้ือเพลิงฟอสซิล จากการ ตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ ประมวลผลด้วย Positive Matrix Factorization ต.ศรภี มู ิ อ.เมอื งเชียงใหม่ ประมาณ 3.2 กิโลเมตร ช(P่วMงหF)มอพกบควว่าันฝนุ่ ปPี Mพ.2ศ.5. ในพน้ื ทเ่ี ขตเมอื งเชยี งใหม่ ไมวดเิีโคพ้ตรลัวาีไอะซหยค่์อาลงงิกคฝอป์ุ่นะรโะรPกมMอาบ2ต.5ิกทไา1ฮง8โเคด0มรคีบตาันวรอฝ์บุ่นยอ่านPงM(จพ2.5าีเอพกเกบอาวชร่า) 2564 มีแหล่งกำ�ำเนิดมา เป็นละอองลอยปฐมภูมิ 3 สว่ น ประกอบด้วยการ เผาไหมช้ ีวมวล ร้อยละ 52.7 ฝนุ่ ดนิ รอ้ ยละ 7.8 ที่เป็นสารก่อมะเร็ง และ ไม่ก่อมะเร็ง เท่ากับ และละอองลอยทะเล ร้อยละ 4.0 และเป็น รอ้ ยละ 57.6 และ 42.2 ของพอี เี อชรวม ตามลำำ� ดบั ละอองลอยทตุ ยิ ภมู ิ รอ้ ยละ 35.0 ผลจากการวจิ ยั น้ี สารกลุ่มไอออน พบ ซัลเฟตไอออน มากที่สุดถึง บ่งชี้ถึงการเผาชีวมวลเป็นแหล่งกำ�ำเนิดหลักของ ร้อยละ 47.8 และรองลงมาคือไนเตรทไอออน ฝจะนุ่ เปPน็Mข2อ้.5มใลูนเชพว่ มิ่ งเเตกมิดิ ใหหมก้ อบั กผคกู้ วำำ�นั หนแลดะนผโยลบกาายรวติจอ่ ยั ไปน้ี ร้อยละ 19.2 ในช่วงเวลาท่ีมีการเผาไหม้สูงพบ แอนไอออนมีสัดส่วนมากกว่าแคทไอออน ช่วงที่มี 38 งานวจิ ัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปีงบประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563 Determination of secondary aerosol sources of ambient PM2.5 in Chiang Mai City: A year-round campaign in 2021 This project was conducted to investigate detected greater than cationic species and three toinhneCfshiloitaeunrrsgceoMovaefirsce2ict4yoh.nPodMuarr2sy.5eosvragemraynpilocetshaewerreodrseaoycloiinnlleP2cM0t2e2d1.5 metals which were the most abundant including Silicon (Si), Aluminum (Al) and Sodium (Na), respectively. Diagnostic ratio method was at the Research Institute for Health Sciences employed to investigate the detected PAHs in building 3, Chiang Mai University which about order to identify their sources and found that 3.2 km from Air Quality Monitoring Station it was incomplete combustion from biomass operated by Pollution Control Department or fossil fuel combustion. Positive Matrix which located at Sriphum subdistrict, Factorization (PMF) was then employed to Muang Chiang Mai. One hundred eighty of identify sources of wPMas2.5f.oDuunrdintghrsemeopkrei-mhaazrye cPhMe2m.5 ifcilatelrscowmepreosciotilloenc.teIdt and analyzed for period in 2021, it was found that aerosol sources including biomass burning polycyclic aromatic hydrocarbons (PAHs) (52.5%), soil dust (7.8%) and sea salts (4.0%) with carcinogenic and non-carcinogenic and secondary aerosol source accounted for characteristics were 57.6% and 42.2% of total 35.0%. This study results indicate that biomass PAHs, respectively. Among ionic species, burning was the major source during sulphate ion was the most abundant, 47.8% and smoke-haze period in Chiang Mai and also nitrate was the second abundant, 19.2%. add on to the information for policy makers During smoke-haze period, anionic species were 39

ทจแกหาาากงลรชปง่เวีฏกกภกิำิดาำ�ริ พฝเยิ นเาุ่นหดิฟลนอสิ อืะกินอเรสุภออื เ์ คนางมยคขขีอนฝอดาุ่นงปดสทา่ าไไตุมรมอิย้เ่ใกนนิ ภภินทูมารค2ียิแเลร์.ห5ะะนเกหอืไมยลงคไ่ากรยอน ภายใต้แผนงาน : การประเมินแหล่งกำำ� เนิดและกลไกการเกดิ ฝนุ่ PM2.5 ทุติยภูมใิ นภาคเหนอื ของประเทศไทย ภายใต้แผนงาน : Estimating sources and formation mechanism of secondary PM2.5 in Northern Thailand หวั หน้าโครงการย่อย : ดร. รชั ดาภรณ์ จันทร์ถา สังกดั : สถาบันวจิ ัยดาราศาสตร์แหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) Email : [email protected] หรือ [email protected] ทมี วจิ ัยและสังกัด : ดร. วนิสา สุรพพิ ธิ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) ดร. พรพรรณ อุตมงั มหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร จันทระ มหาวิทยาลยั เชียงใหม ่ ดร. วทิ ยา ทาลา มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธีรชยั อำ�ำนวยล้อเจริญ มหาวทิ ยาลยั พะเยา ล ะ อ อ ง อิ น ท รี ย ์ ทุ ติ ย ภู มิ เ กิ ด ไ ด ้ จ า ก เสาสูงในพื้นท่ีป่า 3 ประเภท ได้แก่ ป่าดิบเขา ปฏิกิริยาออกซิเดชันในช้ันบรรยากาศของ (จ.เชียงใหม่) ป่าเต็งรัง (จ.พะเยา) และป่าปลูก สารประกอบต้ังต้นที่ปล่อยออกมาท้ังจาก (จ.ลำ�ำปาง) ในช่วงฤดูแล้ง ฤดูฝน และต้นฤดูแล้ง กิจกรรมของมนุษย์และจากแหล่งกำ�ำเนิด ปี 2564 ทำ�ำการประเมินการปลดปล่อยสาร ทางชีวภาพ โดยเฉพาะสารประกอบอินทรีย์ ไอโซพรีน และโมโนเทอร์พีนจากข้อมูลระบบ ระเหยง่าย เช่น ไอโซพรีน โมโนเทอร์พีน ที่มีผล สารสนเทศภูมิศาสตร์ และวิเคราะห์หาชนิด ตอ่ การเกดิ ฝนุ่ ทตุ ยิ ภมู ิ การวจิ ยั ครงั้ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ และปริมาณสารอินทรีย์ระเหยทางชีวภาพ เพื่อ 1) วิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบ ด้วยเทคนิคเทอร์มอลดีซอร์บชันแก๊สโครมาโท อินทรีย์ระเหยทางชีวภาพท่ีปลดปล่อยจากพืชท่ี กราฟีแมสสเปกโตรเมทรี รวมถึงทำ�ำการคำ�ำนวณ แตกต่างกัน 2) เข้าใจถึงกลไกและกระบวนการ ด้วยแบบจำ�ำลองคณิตศาสตร์ WRF-Chem ทางฟิสิกส์เคมีบรรยากาศของการเกิดละอองลอย เ พ่ื อ ท ด ส อ บ ผ ล ข อ ง ส า ร อิ น ท รี ย ์ ร ะ เ ห ย ทุติยภูมิโดยอาศัยแบบจำ�ำลองคณิตศาสตร์จำ�ำลอง ง่ายต่อการสร้างฝุ่นทุติยภูมิ การประเมิน ภ3ส)ถาคาเสนเหนกนอาือแรนณโว์ดทPยาทMงำ�ใำ2นก.5กาาใรนรเกจพ็บัด้ืนกตทัาวี่ภรอายPค่าMเงหอ2.น5ากืใอนาพศแ้ืบนลทนะี่ การปลดปล่อยสารบีวีโอซีในพื้นท่ีภาคเหนือ พบวา่ มีความเข้มข้นการปลดปล่อยสารไอโซพรีน 10.38 ล้านตันคาร์บอน/ปี และโมโนเทอร์พีน 40 งานวิจยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 โดยป่าปลูกพบปริมาณไอโซพรีนสูงสุดช่วงฤดูฝน ส่วนป่าเต็งรังสูงสุดในช่วงต้นฤดูแล้ง นอกจากน้ี ยังพบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำ�ำคัญระหว่าง ปริมาณสารไอโซพรีนกับผลิตภัณฑ์ออกซิเดชัน ไอโซพรนี ทตุ ยิ ภมู ิ (เมธาโคลนี และเมทลิ ไวนลิ คโี ตน) ซ่ึงมักมีค่าสูงตามปริมาณไอโซพรีนที่เพ่ิมข้ึน ผลจากการคำำ� นวณดว้ ยแบบจำำ� ลองทางคณติ ศาสตร์ พบวา่ บวี โี อซแี สดงความสมั พนั ธใ์ นทศิ ทางเดยี วกนั กับระดับไกลอกซาลและละอองลอยทุติยภูมิ จากไกลอกซาล โดยเฉพาะอนุภาคที่มีขนาด เส้นผา่ นศูนยก์ ลางของอนุภาคแหง้ ระหว่าง 0.156 ถงึ 0.625 ไมครอน บวี โี อซที ำำ� ใหร้ ะดบั ความเขม้ ขน้ ของฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ ในพน้ื ทก่ี ารคำำ� นวณเพม่ิ ขนึ้ 0.06 ถึง 0.52 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เม่ือลดการปล่อยก๊าซไนตริกออกไซด์จากกิจกรรม ของมนษุ ย์ 40% ทำำ� ใหร้ ะดบั ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ ใน พ้นื ทก่ี ารคำ�ำนวณลดลง 0.1 ถึง 1.2 ไมโครกรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร แตอ่ าจพบการเพม่ิ ขนึ้ ของฝนุ่ ละออง ขนาดเล็กเลก็ น้อยในบางพนื้ ท่ี เชน่ จงั หวดั ลำ�ำปาง ซึ่งการศึกษาคร้ังนี้จะช่วยให้เข้าใจผลกระทบ ของการปล่อยสารบีวีโอซีต่อการเกิดละลอง 0.45 ล้านตันคาร์บอน/ปี โดยเชียงใหม่ปล่อยสาร ลในอภยาทคุตเหิยนภอื ูมคิ วทรค้ังวนบ้ีแคนมุ วแทหาลงง่ กกำำ�าเรนจดิ ัดมกลาพรษิ ทPง้ั Mจา2ก.5 ทั้งสองตัวสูงท่ีสุดท่ี 28% และ 26% รองลงมา แหล่งกำ�ำเนดิ ปฐมภมู แิ ละทุตยิ ภมู ิ เชน่ การเผาไหม้ คอื แมฮ่ อ่ งสอน (17%, 15%) และนา่ น (14%, 14%) ในที่โล่ง การจราจร ระบบขนส่งสาธารณะ ตามลำ�ำดบั ผลการวิเคราะห์ตวั อยา่ งอากาศ พบวา่ และสนบั สนนุ การใชพ้ ลงั งานสะอาด ซง่ึ ไมเ่ พยี งแต่ การปลดปล่อยสารไอโซพรีนปริมาณเฉลี่ยสูงที่สุด ลดการปล่อยสารมลพิษสู่ชั้นบรรยากาศโดยตรง ที่ป่าเต็งรัง ป่าปลูก และป่าดิบเขา ตามลำ�ำดับ แตย่ งั ชว่ ยลดการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมใี นชน้ั บรรยากาศ ซึ่งปริมาณไอโซพรีนท่ีปลดปล่อยออกมามีความ ระหว่างสารตั้งต้นทางชีวภาพและสารมลพิษ สัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศอย่างมีนัยสำ�ำคัญ อื่นๆ ได้ (p = 0.01) ท้ังนี้ท่ีป่าผลัดใบมีการแตกใบใหม่ ช่วงฤดูฝน ซึ่งขนาดและอายุของใบมีผลต่อการ สังเคราะห์แสงและการปลดปล่อยสารไอโซพรีน 41

Secondary Source and Chemical Mechanism of PrMe2.5aFocrmtaitoionn from Physical-Chemical of Biogenic Volatile Organic Compounds above Forest Canopy in Northern Thailand Secondary organic aerosol (SOA) is thebiogenicvolatileorganiccompoundsemission produced from atmospheric chemical oxidation from different plant species 2) to understand processesofprecursorsthatareemittedfromboth atmospheric physicochemical mechanisms anthropogenic and biogenic emission sources. driven secondary aerosol formation and simulate bPyMp2e.5rfsoirtmuaintigonthseoWveeratthheer Northern Thailand Research and Forecasting Model and 3) to suggest APMir 2s.5ammpitliegsatwioenrse over the Northern Thailand. collected at the flux towers located in a hill evergreen forest (Chiang Mai Province), a deciduous dipterocarp forest (Phayao Province) and a forest plantation (Lampang Province) during dry season, wet season, and early dry season in 2021. The emission of isoprene and monoterpene at the forests were estimated by using a geographic information system (GIS). Gas chromatography with mass spectrometry technique was utilized to identify BVOC species and analyze the concentrations. Furthermore, the weather research and forecasting model coupled with chemistry module (WRF-Chem) was performed to investigate the effects of BVOCs on secondary aerosol formation. The results from this Biogenic volatile organic compounds (BVOCs), study show that the levels of isoprene and particularly, isoprene and monoterpene, monoterpene emission in Northern Thailand play an important role in SOA formation. are 10.38 and 0.45 million tons of carbon per The objectives of this research are 1) to quantify year, respectively. The highest emission of 42 งานวิจยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปงี บประมาณ 2563

งานวิจัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 both compounds was observed in Chiang Mai from the WRF-Chem model showed that BVOC (28% and 26%), followed by those emissions has a direct relationship with glyoxal and in MaeHongSon(17%,15%)andNan(14%,14%), secondary organic aerosol of glyoxal; especially, respectively. The highest average isoprene aerosols with dry diameter range from 0.156 to concentration was found at the deciduous 0.625 µm. BVOC enhanced the domain-wide dipterocarp forest, followed by those Dcoenccreenastreastioinnasnotfh ProMp2o.5gaebnoiuctN0O.06emtoi s0s.5io2n µ(g40/m%3). concentrations collected at the forest plantation lhoeovdwetreovsPeorM,ms2.me5 raealdlreiunacctsrioe(aniss.eefs.r,oinmLPu0Mm.12p.5tacona1ng.)2b.eµEfgov/umenn3d;, andthehillevergreenforest,respectively.Moreover, isoprene showed a positive relationship with air temperature (p=0.01). Photosynthesis and the isoprene emissions also depended on size and this study reveals the impact of BVOC age of foliage, types of forest and seasons. ienmtishsisionresgoinonSOsAhofuorldmabteione,sPtaMbl2i.5shmeidtigbataisoends Wefoundthat,theforestplantationmainlyemitted isoprene during wet season, while the highest on emission reduction from anthropogenic isoprene emission was observed during dry sources, such as open burnings, traffic, public season at the deciduous dipterocarp forest. transport systems; on the other hand, using Isoprene levels had strong correlations with clean energy should be supported. These the secondary isoprene oxidation products mitigations not only directly reduce pollution (i.e., methacholine and methyl vinyl ketone), emissions to the atmosphere, but also retard which increases in isoprene level enhanced the atmospheric chemical reactions between those oxidation product levels. The results biogenic precursors and other pollutants. 43

ดกาว้ รยปกอ้ างรกเสนั รแมิ ลสะรจ้าัดงกศากั รยไฟภปาพ่าพทร้อุคงวถนน่ิ เเคชรงิ ง็พน้ื ที่ เพื่อลดผลกระทบต่อสขุ ภาพจากมลภาวะทางอากาศ ผู้อำ�ำนวยการแผนงาน : ศาสตราจารย์ ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล สังกดั : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Email : [email protected] โครงการการป้องกันและจัดการไฟป่า (BaP-TEQ) ในอนุภาคฝุ่นละอองในช่วงที่ได้รับ พรุควนเคร็งด้วยการเสริมสร้างศักยภาพ ท้องถิ่น ผลกระทบจากไฟป่ามีค่าประมาณ 5 เท่าของช่วง เชิงพื้นท่ีเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพจากมลภาวะ ปกติเช่นกัน สำ�ำหรับผลกระทบต่อสุขภาพของ ทางอากาศ มีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นศึกษาแนวทาง ประชากรในเขตพน้ื ท่ปี า่ พรุควนเคร็งไดด้ ำำ� เนนิ การ การป้องกันการเกิดไฟป่าพรุควนเคร็งและ แบ่งเป็นสองส่วน คือ การประเมินผลกระทบ ผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมและศึกษา คุณภาพชีวิตของชาวบ้านในชุมชน โดยการ แนวทางการสร้างความเข้มแข็งให้คนในพื้นที่ผ่าน ใชก้ ารสมั ภาษณโ์ ดยแบบสอบถาม พบวา่ ประชาชน การเรียนรู้สถานการณ์และผลกระทบของไฟป่า มีผลกระทบคุณภาพชีวิตจากฝุ่นและน้�้ำำสะอาดใน ตลอดจนศกึ ษาแนวทางการบรหิ ารจดั การเชงิ พน้ื ที่ ช่วงท่ีเกิดไฟไหม้ และพื้นที่รอบนอกมีผลกระทบ ต้นแบบโดยชุมชนเพื่อขยายผลในการแก้ปัญหา ด้านความปลอดภัยในชุมชน และได้สร้างและ ไฟป่าพรุควนเคร็งอย่างย่ังยืน งานวิจัยนี้ได้ดำ�ำเนิน มีการจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่จากฐานข้อมูล การสร้างแพลตฟอร์มกลางรวบรวมข้อมูลผ่าน 43 แฟ้ม เพ่ือการวิเคราะห์ผลกระทบสุขภาพ เว็บไซท์ www.pkk.airthai.in.th เพื่อรวบรวม ระยะยาว โดยใช้ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูลสำำ� หรบั การประเมนิ ความเส่ยี ง ปกป้อง และ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ด ้ ว ย อ นุ ก ร ม เ ว ล า แ ล ะ การบริหารจัดการไฟป่าในพื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง dynamic linear model พบผลกระทบในด้าน จากแผนท่ีความเสี่ยงไฟไหม้ 13 ปีย้อนหลัง โรคทางเดินหายใจและโรคหัวใจและหลอดเลือด พบว่าไฟไหม้มักจะเกิดในพื้นที่ป่าพรุสมบูรณ์และ สำ�ำหรับแนวทางการบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่ ป่าพรุเสื่อมโทรมคิดเป็น 49% ของพื้นที่ไฟไหม้ ต้นแบบได้ดำ�ำเนินการร่วมกับชุมชนตำ�ำบลเคร็ง ท้ังหมด นอกจากนี้เมื่อพิจารณาพื้นที่แปลงป่าพรุ อำ� ำ เ ภอช ะ อวด จั งห วั ดนคร ศรี ธร ร ม ร าช ที่เกิดไฟไหม้ พบว่าในปี 2550-2562 ตำ�ำบลเคร็ง โดยร่วมกันจัดทำ�ำแผนท่ีความเสี่ยงการเกิดไฟป่า มจี ดุ ความรอ้ นสงู สดุ และสว่ นใหญเ่ กดิ ในพน้ื ทแี่ ปลง ที่นำ�ำปัจจัยต่างๆ มาวิเคราะห์โดยกระบวนการ กระจูดคิดเป็น 40% ของจุดความร้อนทั้งหมด มีส่วนร่วมกับชุมชน และร่วมกันจัดทำ�ำแผน นอกจากน้ีพบว่าปัจจัยสำ�ำคัญที่ส่งผลต่อการเกิด การจัดการทุ่งกระจูดและแผนการจัดการไฟ ไฟไหม้ป่าพรุควนเคร็งในแต่ละปี คือ การควบคุม ในพ้ืนที่ตำ�ำบลเคร็งโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ระดับน้้� ำำภายในพรุ และเมื่อพิจารณาผลกระทบ รวมทั้งได้นำ�ำเทคนิคการตรวจหาไฟด้วย ด้านมลพิษทางอากาศพบว่า ความเข้มข้นของ กลอ้ ง CCTV แบบ real time และการแจ้งเตอื น ฝสูนุู่งสลุุดะเอทอ่่างกขัับนา6ด6P.5M2µ.5gช/ว่ mงไ3ฟมปีีคา่ ่ป่าเี 2ป็5็น625มเคี ทา่่่าเฉขลอยี่ง เมื่อมีปัจจัยส่ิงแวดล้อมผิดปกติที่มีความเสี่ยง ต่อการเกิดไฟ โดยการสร้างระบบการเตือนภัย ค(1ว8า.ม8เ-ข1้้ม3ข.้6น้ เµฉgลี่�/ยmรา3ย) เดแือืลนะพขอบงว่่าPคM่่า2ค.5วใานมช่เว่ป็ง็นปพกิิษติิ ไว้ที่องค์การบริหารส่วนตำ�ำบลเคร็ง โดยให้ชุมชน เปน็ ผูด้ ูแลรกั ษาเป็นหลกั 44 งานวจิ ยั และนวตั กรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563

งานวิจยั และนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563 Prevention and Management of Kuankreng Peat Swamp Forest Fire and Air Pollution Affecting Human Health by Capacity Building of Local Residents The project aims to explore measures 5PMti2m.5 ecsonacsenhtirgahtioans averaged 66.5 µg/m3, for prevention of forest fire in Kuankreng peat the monthly avarage swamp forest and impact on human health in in the normal period (18.8-13.6 µg/m3). the area nearby as well as empowering local Thetoxicity(BaP-TEQ)wasabout5timesaswell. people to learn negative effects of the forest Interview of local people shows that those fires and work together to prevent the fires. lived in the fire areas were largely affected by Model for area-based management has been the air pollutionand water quality while people proposed. Fire data collected in the past 13 living adjacent to the areas felt insecure due to years were used to evaluate risk of burning the fires. Health analysis of people in the area and the maps have been generated and kept using the data from 43-file database, and time in the data platform which can be publictly series and dynamic linear model shows accessed via the web (www.pkk.airthai.in.th). influence on respiratory and heart deseases. Results show that about 49% of the fires For the Kreng Model involving engagement occured in abundant and degraded swamp ofpeopleinTambonKreng,detailedfireriskmap forests. In the burnt area during 2007-2019, intheareawascreated,andthefiremanagement 40% of the fire hotspots took place in Lepironia procedure was planned together. articulata (Retz.) Domin growing areas. This includes fire survey by real time The most important factor to determine CCD camera and the warning system managed theseriousnessofthefiresisthelevelofwaterin by local entity established at the Tambon the swamp. During the 2019 strong fire period, Administration Office. 45

ประเทศไทยไรห้ มอกควนั ระยะที่ 3 (ภาคเหนอื ) ผู้อำ�ำนวยการแผนงาน : รองศาสตราจารย์ ดร.เสรมิ เกียรติ จอมจนั ทรย์ อง สังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ E-mail : [email protected] โครงการประเทศไทยไรห้ มอกควนั (ภาคเหนอื ) (1) การพัฒนาความรู้ระบบพยากรณ์อากาศและ ระยะท่ี 3 มกี ารนำำ� องค์ความร้แู ละเทคโนโลยที ไี่ ด้ แอพพลิเคชั่นเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ พัฒนาขึ้นในระยะที่ 1 และระยะที่ 2 มาต่อยอด ปญั หาหมอกควนั ในพนื้ ทภี่ าคเหนอื ของประเทศไทย เพ่ือใช้งานและขยายผล (Implementation (2) การดำ�ำเนินการทบทวนและถอดบทเรียน and Extension) ใน 9 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ การบรหิ ารจดั การหมอกควนั ในเขตพนื้ ท่ี 9 จงั หวดั จังหวดั เชียงราย เชยี งใหม่ ตาก น่าน พะเยา แพร่ ภาคเหนอื และ(3)การวเิ คราะหเ์ ชงิ นโยบายและแผน แม่ฮ่องสอน ลำ�ำปาง และลำ�ำพูน ซึ่งประสบปัญหา ในการจดั การปญั หาในเขตพนื้ ที่ 9 จงั หวดั ภาคเหนอื ดโดา้ นยคเฉณุ พภาาพะอในากชา่วศงแฤลดะฝูแนุ่ ลP้งMโ2.ด5 มยาใอนยรา่ ะงยยาะวทนี่ าน1 และการสร้างเครือข่ายในเขตพื้นท่ี 9 จังหวัด ภาคเหนือ ซึ่งทางคณะผู้วิจัยได้บรรลุวัตถุ คณะผู้วิจัยได้ทำ�ำการศึกษาค้นหาข้อเท็จจริง ประสงค์ คือ (1) การได้พัฒนาระบบฐานข้อมูล (Fact-finding) ถึงสาเหตุและแหล่งกำ�ำเนดิ ฝุน่ ควัน และแอพพลิเคชั่นสนับสนุนการจัดการปัญหา เพื่อหาแนวทางลดการแพร่กระจายของหมอก หมอกควนั ไดแ้ ก่ 1.BurnCheck 2.FireD 3.AirVista ควัน อาทิ ศึกษาแนวทางการปรับเปล่ียนการใช้ และ 4. www.hazefreethailand.org ท่ีดิน ออกแบบห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) (2) การได้ทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ทางการเกษตร ศึกษาผลกระทบของหมอกควัน อุปสรรค และชอ่ งวา่ ง (gap) ในการบริหารจดั การ ในชมุ ชน และศกึ ษาการแพรก่ ระจายของหมอกควนั หมอกควันในเขตพื้นท่ี 9 จังหวัดภาคเหนือ และ ในประเทศไทย ต่อมาในระยะท่ี 2 คณะผู้วิจัย (3) การได้ทราบถึงสภาพปัญหาของหมอกควัน ได้นำ�ำข้อมูลองค์ความรู้ที่ได้จากระยะที่ 1 แนวทางการดำำ� เนนิ นโยบาย กลไกเสรมิ แรงเชงิ บวก มาทำ�ำการจำ�ำลองต้นแบบและทดลองใช้งาน เพ่ือจูงใจ และวิธีการนำ�ำองค์ความรู้และเครื่องมือ (Modeling and Proof of Technology) ของ พยากรณ์หมอกควันและคุณภาพอากาศ ระบบคาดการณ์หมอกควันโดยมีจังหวัดเชียงใหม่ ไปพัฒนาและถ่ายทอดเพื่อจัดการปัญหาในพ้ืนที่ เป็นต้นแบบ สร้างเครือข่ายประเทศไร้หมอกควัน รวมทั้งสร้างความเข้มแข็งกับเครือข่ายวิจัย สำ�ำหรับกลุ่มประเทศอาเซียนท่ีมีพรมแดนติดต่อ เพื่อให้สามารถทำ�ำงานแก้ปัญหาฝุ่นควันได้ กับประเทศไทย และบูรณาการการเกษตร อย่างย่ังยืน ทั้งน้ี คณะผู้วิจัยได้ศึกษาและจัดทำ�ำ เชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นรวมถึงการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแก่ภาครัฐ ภาคเอกชน ส่งเสรมิ การทำำ� ปศุสตั วเ์ พ่อื ลดการเผาในทโี่ ล่ง และภาคประชาสังคม เพ่ือให้เกิดการบูรณาการ สำ�ำหรับการดำ�ำเนินการของโครงการ การแกป้ ัญหาหมอกควันแบบมสี ่วนรว่ ม ระยะท่ี 3 เป็นการต่อยอดองค์ความรู้โดย 46 งานวิจัยและนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจัยและนวตั กรรมประเด็นแนวทางการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 Haze Free Thailand Phase III (Northern) The Haze Free Thailand Project (Northern provinces, and (3) analyzing policy and plan Region) Phase 3 has utilized the knowledge in managing haze problem in 9 Northern and technology obtained from Phase 1 and provinces thoroughly including building Phase 2 by implementing and expanding the network in those 9 Northern provinces. those tools in 9 northern provinces, namely: Thus, the research team has achieved these ChiangRai,ChiangMai,Tak,Nan,Phayao,Phrae, objectives as follows by (1) having successfully Mae Hong Son, Lampang and Lamphun developed air quality forecast and applicable provinces. Tfohrisaarleoansguftfiemrse,aiersqpueacliitaylalynddPuMrin2g.5 software applications for haze problem problems management – 1. Burn Check 2. Fire D the dry season. In Phase 1, the research team 3. Air Vista and 4. www.hazefreethailand.org, conducted a fact-finding study to investigate (2) identifying the strengths, weaknesses, the causes and sources of haze to find suitable opportunities, obstacles, and gaps of haze guidelines for reducing the spread of haze: management in the 9 northern provinces, and reforming the land use, redesigning an agricultural (3) learning the existing problems of haze, supply chain as well as observing the spread proper policy formulation, reward-based of haze and its effect on the community. system, and means to transmit knowledge Subsequently, in Phase 2, the research team and employ forecast tools in the 9 northern applied the knowledge from Phase 1 for provinces including strengthening research modeling and as a Proof of Technology (POT) of networks to sustainably solve the problem of the Haze forecasting system, with Chiang Mai haze. Furthermore, the research team has also province as a model. Furthermore, Phase 2 has studied and formulate policy recommendation also created a network of haze-free countries for government, private sector, and civil for ASEAN countries sharing borders with society to integrate the participatory solutions Thailand and facilitated the integration of local for haze problem. culture and wisdom into agriculture in addition to promotion of livestock farming to reduce open burning. The implementation of Haze Free Thailand Phase 3 is to expand the body of knowledge by (1) developing air quality forecast and applicable software applications for 9 Northern provinces’ haze management, (2) reviewing learning experiences and case studies collectively and locally in 9 Northern 47

จโคากรกางรลกดาการรเศผาึกพ้ืนษทาก่ี ากรเากษรตลรบดนดอPยMในภ2า.ค5เหนอื ด้วยรปู แบบ (model) ทางเลือกทกี่ ่อใหเ้ กิดความย่ังยืน และเปน็ ท่ียอมรับของเกษตรกร หัวหนา้ โครงการ : นางเขมวรรณ ดวงจันทร์ สงั กัด : สำ�ำนักงานเกษตรจงั หวดั เชียงใหม่ Email : [email protected] ทมี วิจัยและสงั กัด : รองศาสตราจารย์ ดร. ธีรนุช เจรญิ กจิ คณะผลติ กรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโ่ จ้ ดร.สรุ ชัย ศาํ ลริ ศั สำำ� นกั ฟารม์ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ นางมฑั นา ธรรมใจ, นางสาวศันสนยี ์ ศรวี ชิ ยั สำำ� นักงานเกษตรจงั หวดั เชยี งใหม่ นางสาวธญั ลกั ษณ์ ตาสขุ , นางเกศราภรณ์ สีเงนิ , นายอนุชา กา๋ ใจ สำำ� นกั งานเกษตรอำ�ำเภอเชียงดาว จงั หวดั เชยี งใหม่ การวิิจััยนี้้�มีีวััตถุุประสงค์์ เพื่�อหารููปแบบ เลือกแนวทางท่ีต้องการ และ 4) ทดลองปฏิบัติ ทางเลืือกในการปรัับเปลี่�ยนพฤติิกรรมการเผา ในพ้ืนทีจ่ รงิ เพื่�อเตรีียมพื้�นที่�เพาะปลููกข้้าวโพด และหาเงื่�อนไข หลัังจากที่�เกษตรกรได้้รัับองค์์ความรู้� ปัจั จัยั ที่่�มีอี ิทิ ธิพิ ลให้เ้ กษตรกรเลิกิ เผาพื้�นที่�เพาะปลูกู เห็นหลักฐานเชิงประจักษ์ และเห็นตัวอย่างความ อย่างย่ังยืน โดยได้เลือกพื้นท่ีที่เกิดจุดความร้อน สำ�ำเร็จ ตามขั้นตอนท่ีกำ�ำหนดไว้ ผู้วิจัยพบว่า สูงสุด และปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์มากท่ีสุด คือ เกษตรกรเกิดความเชื่อมั่นว่าทำ�ำให้เป็นจริงได้ บา้ นแกนอ้ ย ตำำ� บลเมอื งนะ อำำ� เภอเชยี งดาว จงั หวดั ในพนื้ ท่ี มคี วามไดเ้ ปรยี บดา้ นสภาพพนื้ ที่ ภมู อิ ากาศ เชยี งใหม่ และเลอื กรบั สมคั รกลมุ่ เกษตรกรตวั อยา่ ง การตลาด และความเชื่อมั่นหน่วยงานในพื้นที่ 80 ราย ท่ีมคี วามต้องการเขา้ รว่ มโครงการฯ และ ที่สามารถเป็นที่ปรึกษาได้ และจากการ ยอมรับการปรับเปล่ียนพืชทางเลือกในพ้ืนท่ีของ สอบถามความเห็นในการเข้าร่วมเวทีประชาคม ตนเอง รายละ 4 ไร่ รวมเปน็ พน้ื ท่ี 320 ไร่ ระดมความคดิ เหน็ เกษตรกรเกอื บทกุ รายไมล่ งั เลใจ วธิ กี ารวจิ ยั ใชก้ ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การศกึ ษา และตดั สนิ ใจเลอื กไมผ้ ลเปน็ พชื ทางเลอื ก ในทดลอง จากข้อมูลมือสอง การสัมภาษณ์ การสำ�ำรวจ การปลกู ไมผ้ ลแซมขา้ วโพด โดยไมผ้ ลทต่ี อ้ งการปลกู และการสังเกต เพ่ือให้ได้ข้อมูลมาวิเคราะห์โดย คือ มะม่วง ซึ่งต้องปลูกต้นตอลงในพ้ืนท่ีก่อน การบรรยาย และใชส้ ถติ พิ รรณนา เพอ่ื หาคา่ รอ้ ยละ จะเปลยี่ นยอดพนั ธด์ุ ตี ามทเ่ี กษตรกรตอ้ งการ ซง่ึ เมอ่ื และคา่ เฉลย่ี วธิ กี ารดำำ� เนนิ การวจิ ยั แบง่ เปน็ 4 ขนั้ ตอน ลงตน้ ตอมะมว่ งแซมในพน้ื ทขี่ า้ วโพดแลว้ เกษตรกร ไดแ้ ก่ 1) สำำ� รวจและวเิ คราะหพ์ นื้ ที่ 2) ใหอ้ งคค์ วามรู้ จะไม่สามารถเผาพื้นที่น้ันได้ จึงสามารถประเมิน และจัดศึกษาดูงานในพ้ืนท่ีที่ประสบความ พ้ืนที่ลดการเผาได้ ตามจำ�ำนวนพื้นท่ีท่ีเข้าร่วม สำำ� เรจ็ 3) จัดเวทปี ระชาคม ระดมความเหน็ และ โครงการ 48 งานวิจัยและนวตั กรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563

งานวิจยั และนวัตกรรมประเด็นแนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำำ� ปงี บประมาณ 2563 PM 2.5 Reduction in highlands maize in the north region with Farmer Acceptance and Sustainable Solution This research aims to find an alternative After the farmers received the knowledge model to modify the burning behavior for corn and saw empirical evidence of success production and find conditions factors accordingtothespecifiedprocedureresearchers influencing farmers to stop burning sustainably. found that Farmers were convinced that this The studied area was selected as the area can be accepted and applied in the area. that generates the highest heat point and the It has an advantage in terms of area, climate, most maize planting, therefore Ban Kae Noi, marketing and confidence in the local agency Mueang Na Sub-district, Chiang Dao District that can be contributed to the project. Chiang Mai Province was the studied area in From the forum brainstorm, almost all farmers this study and recruit 80 sample farmers who did not hesitate and decided to choose fruit want to join the project and accepting to modify trees as alternative crops. In the selected alternative crops in their own areas of 4 rai studied area, the desired fruit tree is mango, each, totaling an area of 320 rai which must be planted from rootstock Research Methods Using Data Collection before grafting the new varieties later. Second-hand data studies, interviews, surveys When the mango rootstock is planted in the and observations to obtain data for narrative corn area, farmers will not be able to burn that analysis and use descriptive statistics to area. Therefore, the area to reduce incineration find the percentage and the mean method of can be assessed according to the number of conducting research is divided into 4 steps areas participating in the project. as follows: 1) survey and analyze the area 2) provide knowledge 3) Organize a community forum, brainstorm opinions and choose the desired approach, and 4) do practical field experiments. 49

แนวทางปา่ ประชารฐั เพอ่ื ลดการเกิดและลกุ ลาม ของไฟปา่ ดอยพระบาท จังหวดั ลำ�ำปาง หัวหน้าโครงการ : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมรัตน์ พทุ ธไทย สังกดั : คณะส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล Email : [email protected] ทมี วิจยั และสงั กดั : ดร.บริบูรณ์ บุญยูฮ่ ง (นักวิชาการอสิ ระ) ดร.ไสว วงั หงษา (นักวชิ าการอสิ ระ) นายชาญ อทุ ธิยะ (นักวจิ ัยชาวบ้าน) นางสาวดวงพร เกียรติดำ�ำรง กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพันธพ์ุ ชื สถานการณ์ไฟป่าในพื้นท่ีรอบดอยพระบาท ไม้ไม่ผลัดใบ 26 ชนิด (15.48%) และไม่สามารถ จังหวัดลำ�ำปาง ทำ�ำให้เกิดปัญหาหมอกควันและฝุ่น ระบุได้ 8 ชนิด (4.76%) จากการประเมินสาเหตุ โสดุขยภเฉาพพาอะนPาMมัย2.5ขสอง่งผปลรกะรชะาทชบนตใอ่นกพาื้นรดทำำ�ี่ รงงาชนวี วติ ิจแัยลนะ้ี การเกิดไฟป่าพบว่าสาเหตุหลักที่ทำ�ำให้เกิดไฟป่า คือการล่าสัตว์ รองลงมาคือการเก็บหาของป่า มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประเมนิ สาเหตขุ องการเกดิ ไฟปา่ ในส่วนของแนวทางการแก้ไขปัญหา คือ การออก รวมถึงแนวทางและวิธีการในการลดการเกิดไฟป่า กฎกติกาชุมชนท่ีเข้มงวด การกำ�ำหนดวันห้ามเผา เพื่อฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของป่าบริเวณ การแบ่งขอบเขตพ้ืนท่ีระหว่างหมู่บ้านและตำ�ำบล ดอยพระบาท การเก็บข้อมูลงานวิจัยโดย ท้ังพ้ืนที่ทำ�ำกินและพ้ืนท่ีป่า การบังคับใช้กฎหมาย สำ�ำรวจสังคมพืชและความหนาแน่น ด้วยวิธี อย่างเคร่งครัดการให้ความรู้ความเข้าใจแก่คน Point-Centered Quarter Method (PCQM) ในพนื้ ที่ สรา้ งความรว่ มมอื ผา่ นเครอื ขา่ ยปา่ ประชารฐั ในพน้ื ทป่ี า่ ชมุ ชนรอบดอยพระบาท และดำำ� เนนิ การ เพ่ือลดปัญหาไฟป่า ข้อเสนอแนะของโครงการ สัมภาษณ์เชิงลึกด้านข้อมูลไฟ่ป่าผ่านเครือข่าย ด้านการลดการเกิดไฟป่าและการฟื้นฟูอนุรักษ์ ป่าประชารัฐ จำ�ำนวน 144 คน จาก 36 หมู่บ้าน ป่าดอยพระบาทคือการเพิ่มความชุ่มช้ืนให้กับป่า รอบดอยพระบาท ระหว่างเดือนมกราคม 2564 และการเพ่ิมจำ�ำนวนไม้ไม่ผลัดใบท่ีเหมาะสมกับ ถึงเดือนกรกฎาคม 2564 ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะพื้นที่เพ่ือสร้างแนวกันชนธรรมชาติ และ ชนดิ พนั ธไ์ุ มท้ งั้ หมด 167 ชนดิ เปน็ ไมผ้ ลดั ใบ 98 ชนดิ แก้ปญั หาไฟปา่ ลกุ ลามอย่างต่อเน่ือง (58.33%) ไม้ก่ึงผลัดใบ 36 ชนิด (21.43%) 50 งานวจิ ยั และนวัตกรรมประเดน็ แนวทางการป้องกนั และแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ประจำ�ำปีงบประมาณ 2563


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook