ห น า | 101 (นางญานศิ า เจรีรตั น) (นางสาวสุรภี สกลุ รตั น) (นายชีวิต อจุ วาท)ี อาจารย 2 ระดบั 6 ผชู วยผอู าํ นวยการ ศนภอ. ผูอาํ นวยการ ศนภอ. การเขยี นคาํ กลา วรายงาน การเขยี นคํากลา วรายงานในการเปดหรอื ปด การประชุมสัมมนานัน้ จะมี 2 สวน คือคํากลาวรายงานของเจา ของงาน และคาํ กลา วเปดของประธานการเปด หรอื ปด การประชุม คํากลา วรายงานและคํากลาวเปด 1. คํากลา วรายงานพิธีเปด การประชุมสัมมนาจะกลา วถึงรายละเอียด หรือมีแนวทางการเขียนดงั น้ี 1.1 คาํ ขึน้ ตนนยิ มใชคาํ วา “เรยี น….” และขอบคุณ 1.2 บอกกลาวผูเขาประชุมและหนว ยงานหรือสถานะของผูเขาประชุม พรอ มท้ังบอกจํานวนผเู ขารวมประชมุ 1.3 บอกวตั ถุประสงคข องการประชุม 1.4 บอกระยะเวลาของการประชุม 1.5 บอกวิทยากรบุคคล หนวยงานทมี่ สี วนรวม มสี ว นเก่ียวขอ งชวยเหลอื สนบั สนนุ 2. คํากลาวเปดการประชุมมีแนวทางในการเขยี นดงั น้ี 2.1 คาํ ข้ึนตน หรอื คาํ ทักทาย จะเอยชื่อบุคคลตาํ แหนง ของผูเขาประชุม 2.2 บอกถึงความรูส ึกขอบคณุ บคุ คล วทิ ยากรหรอื หนว ยงานที่เก่ยี วของชว ยเหลอื 2.3 บอกขอเสนอแนะแนวทางขอ คดิ เหน็ ที่เปน ประโยชนต อการประชุม 2.4 อ ว ย พ ร แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ดี ที่ จ ะ ใ ห ก า ร ป ร ะ ชุ ม บ ร ร ลุ ผ ล ต า มวตั ถุประสงค สวนคํากลาวรายงานและคํากลา วปดการประชุม ก็จะมีลักษณะคลา ยกันแตจะมีรายละเอยี ดเกี่ยวกบั ผลของการดาํ เนนิ งานการประชุมเพ่ิมเขา มา และมีการมอบวุฒิบัตรหรือของทีร่ ะลึกอีกเทา นน้ั
102 | ห น า ตวั อยา ง คํากลา วรายงานในพธิ เี ปดการประชุมสมั มนา คณะกรรมการบรหิ ารองคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล (อบต.) ภาคตะวันออก ปง บประมาณ 2551 ณ โรงแรมสตาร อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั ระยอง วันที่ 26 สิงหาคม 2551 .................................... เรยี นทา นประธาน ผูอ าํ นวยการศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก ผูอ ํานวยการศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด หัวหนา ศูนยบ ริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอปลัด อบต. ประธาน อบต.เจา หนาทศี่ นู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ดิฉัน นางสาวสุรภี สกุลรัตน ในฐานะผูจ ัดการประชุมสัมมนารูส ึกเปน เกียรติอยา งยิง่ ท่ีทา นไดใหเ กียรติมาเปนประธานในการประชุมสัมมนาคร้งั นี้ การประชุมสัมมนาคร้ังนป้ี ระกอบดวยผปู ระชุมสัมมนาจาํ นวน 99 คน ดงั น้ี - ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 9 ทาน - หวั หนาศนู ยบริการการศึกษานอกโรงเรยี นอาํ เภอในภาคตะวนั ออก 27 ทา น - ปลดั อบต.จากจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 27 ทาน - ประธาน อบต. จากจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 27 ทา น - เจาหนา ทศี่ นู ยการศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ในภาคตะวนั ออก 9 ทาน วตั ถุประสงคข องการประชุมสัมมนา 1. เพอ่ื ใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีความรูค วามเขา ใจเกีย่ วกบั งานการศึกษานอกโรงเรยี นโรงเรยี น2. เพ่ือใหคณะกรรมการบริหาร อบต. มีสว นรว มในการวางแผนและจัดกิจกรรมการศึกษานอก 3. เพอ่ื ใหค ณะกรรมการบริหาร อบต. มีความเขา ใจเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ในสวนของการพฒั นาสังคม เดก็ สตรี และครอบครัว รวมกบั หนวยงานการศึกษานอกโรงเรยี น วิทยากรในการประชุมสัมนาประกอบดวย - ผอู าํ นวยการศนู ยก ารศึกษานอกโรงเรยี นภาคตะวนั ออก - ผูต รวจราชการสวนถอ งถนิ่ จงั หวดั ระยอง - รองประธานคณะกรรมการพฒั นาสตรีภาคตะวนั ออก ในโอกาสน้ี ดิฉันขอเรียนเชิญทานประธานไดกรุณากลาวเปด การประชุมและบรรยายพิเศษตามทที่ า นเหน็ สมควร ขอเรยี นเชญิ
ห น า | 103 ตําอยาง คํากลา วของประธาน พิธเี ปดการประชมุ สมั มนาคณะกรรมการบรหิ ารองคการบรหิ ารสว นตาํ บล (อบต.) ภาคตะวนั ออก ปงบประมาณ 2551 วันที่ 26 สิงหาคม 2551 ณ โรงแรมสตาร อาํ เภอเมือง จังหวดั ระยอง ................................................ทานผูอ ํานวยการศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนจังหวัด ทานหัวหนา ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอาํ เภอ ทา นปลดั อบต. ทา นประธาน อบต. เจา หนาทศี่ นู ยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั ทุกทา น ผมมีความยินดีท่ีไดมาเปน ประธานในการประชุมสัมมนาคณะกรรมการบริหารองคก ารสวนตําบล (อบต.) ภาคตะวันออก ปง บประมาณ 2551 ในวันน้ี นับวาเปน โอกาสท่ีดีที่งานการศึกษานอกโรงเรียนไดม ีโอกาสรวมประชุมสัมมนากับหนวยงานทางดานการปกครอง โดยเฉพาะเปนหนวยงานการปกครองสวนทองถิ่นที่สามารถนําประโยชนที่ไดจากการประชุมสัมมนาไปใชในการพัฒนาทองถิ่นไดโดยตรง ในปจจุบันการศึกษาเปน สิง่ จาํ เปน อยางยิง่ ตอการพัฒนาทุกดา น เนื่องจากเปนส่ิงท่ีจะชว ยใหเรามีความรูค วามเขา ใจท่ีถูกตอ งไดงายโดยเฉพาะในชุมชน ถา สมาชิกไดรับการศึกษานอ ยอาจจะเปนสาเหตุหน่ึงทําใหชุมชนประสบกับปญ หาตา งๆ ทั้งทางดา นความปลอดภัย ดา นสุขภาพ และปญหาสังคมอ่ืนๆ ท่จี ะตามมาโดยไมค าดคิด หนว ยงานของทางราชการไมว าจะเปนหนว ยงานทางการศึกษา หรือหนวยงานทางการปกครองยอ มตองมีภาระรับผิดชอบในการวมกันพัฒนาชุมชนและประเทศชาติ ดังน้ันถาหนวยงานของเรามีการรว มมือกันเปน อยา งดียอ มจะกอ ใหเกดิ ประโยชนมหาศาลแกสังคมและประเทศชาติได ในการประชุมสัมมนาครั้งน้ี ผมหวังเปนอยา งยิ่งวา ผูเ ขาประชุมสัมมนาทุกทานคงจะต้ังใจและใหค วามสนใจตลอดระยะเวลาของการประชุมสัมมนา เพ่ือนําความรูและประสบการณที่ไดไ ปปรับใชในการพฒั นาทอ งถน่ิ ตามความเหมาะสมและศกั ยภาพของชุมชน ขอขอบคุณวิทยากร เจา หนา ที่ศูนยก ารศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออก ผูอํานวยการศูนยก ารศึกษานอกโรงเรยี นจงั หวดั และผูท เี่ กยี่ วของทุกทาน ท่ีชวยทําใหโครงการน้ีดําเนินไปดวยความเรียบรอยในโอกาสน้ีผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัว จงดลบันดาลใหผ ูเ ขา ประชุมสัมมนาทุกทา นจงประสบแตความสุข ความเจริญ และขอใหการประชุมสัมมนาคร้งั นด้ี าํ เนนิ ไปอยา งสมั ฤทธิผล ผมขอเปด การประชุมสัมมนาคณะกรรมการบริหารองคก ารบริหารสวนตําบล (อบต.)
104 | ห น าภาคตะวนั ออก ปงบประมาณ 2551 ณ บดั น้ีการเขยี นตวั เลขไทย ตัวเลขไทยเกิดพรอมอักษรไทยมานานนับ 700 ป แตป จจุบันมีผูใ ชต ัวเลขไทยนอ ยมาก ดว ยเหตุน้ีจึงมีการรณรงคเ พื่อใหเ ห็นคุณคา และศิลปะของตัวเลขไทย ซึ่งคนไทยควรภูมิใจและใชอักษรไทยกบั เลขไทยเพื่อดาํ รงไวซ ง่ึ เอกลักษณทางภาษาไทยและเปนมรดกของชาตสิ บื ไปลักษณะการเขียนตวั เลขไทย การเขยี นตวั เลขไทยเขยี นคลายกับการเขยี นอกั ษรคือมหี วั มหี างแทบทุกตวั บางตวั คลายตัวอักษรเชน เลข ๓ คลา ย ตัว ต เลข ๘ คลาย ๘ (ไมไตค ู) เปนตน การเขียน เลข ๙ ก็เขียนคลา ยกับตัวอักษรขอมคนจึงไมนิยมเขียนเพราะมีความรูสึกเขียนยาก ไมคอยมีโอกาสไดใ ช ประกอบกับแบบฟอรม ตางๆ ท่ีใหกรอกขอ มลู มกั ใชเลขอารบคิ เปนสว นใหญ เพอ่ื เปน การสรา งจิตสํานึกของคนไทยในการอนุรักษการใชเลขไทยและเอกลักษณของชาติไทยควรดาํ เนนิ การดงั น้ี 1. สง เสริมใหเ ด็กเขียนเลขไทยต้ังแตร ะดับอนุบาลขึ้นไปจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เชนการเขียน วันท่ี เดือน พ.ศ. ในแบบฟอรม การกรอกขอ มูลตา งๆ แลว ฝก ใหเขียนเลขไทย ๑-๑o แลวเพ่ิมจาํ นวนถงึ ๑o 2. ในการเขียนรายงานตา งๆ ไมวา จะเปน รายงานแบบเปน ทางการหรือไมเ ปนทางการก็ใชเลขไทยรวมทั้งการกรอกขอ มูลในบัตรประจําตัวประชาชน หรือการไปติดตอ ธุรกิจธนาคารควรใชเลขไทย 3. เขยี นตวั เลขทพ่ี บเหน็ ในชวี ิตประจาํ วันเปน ตวั เลขไทย เชน บา นเลขท่ี เลขท่ีซอย เลขทะเทียนรถเบอรโทรศพั ท ฯลฯ ควรเขยี นเปนเลขไทย ฉะน้นั บคุ คลทุกระดบั ทกุ เพศทกุ วยั ท้ังหนว ยงานของรัฐและเอกชนควรหันมาใชเ ลขไทยพรอ มเพรียงกัน ซ่ึงเราคนไทยควรภูมิใจที่จะใชอ ักษรไทยกับเลขไทยคูก ันเพอื่ เปน การสรา งจติ สาํ นึกและแสดงเอกลักษณทางภาษาและวฒั นธรรมอนั ดีของชาตไิ ทย 4. รัฐบาล สวนราชการ และหนว ยงานที่เก่ียวขอ งไมมีการกําหนดนโยบาย สัง่ การใหส ว นราชการและหนวยงานเอกชนใชตวั เลขไทยในหนงั สอื ราชการและหนงั สอื ตดิ ตอ ราชการดว ยแสง 5. รณรงคใหประชาชนคนไทยใชเ ลขไทยในการเขียนและสื่อสารทุกประเภทตลอดเวลา ท้ังรณรงคใหส อื่ สารมวลชนใชต วั เลขไทยดวย การสงเสริมการใชเลขไทย ภาษาไทย เพื่อเนนการสรางจิตสํานึกและอนุรักษเอกลักษณไทยน้ัน กระทรวงศึกษาธิการไดม หี นังสือขอความรว มมือสวนราชการในกระทรวงศึกษาธิการตามหนังสือที่ศธ.o๒o๑ ๒/๔๓o ลงวันท่ี 10 มกราคม 2546 ขอความรว มมือ
ห น า | 105จากสว นราชการ เรื่องการใชเลขไทย เลขศักราช เลขปพุทธศักราช และอนุรักษภ าษาไทยเพ่ือสรา งจิกสํานึกของคนไทยในการอนรุ กั ษเอกลกั ษณของชาติ ขอใหหนวยงานราชการใชเ ลขไทยในหนังสือราชการใชเลขศักราชเปน พุทธศักราช ในกิจกรรมทุกดา น ซ่ึงเปนนโยบายของรัฐบาลตัง้ แตป 2543 ในฐานะที่เปนคนไทยคนหนง่ึ จงึ ตอ งรว มอนรุ กั ษเ อกลักษณไ ทยภาษาไทยดว ยการใชเลขไทย
106 | ห น าเรือ่ งท่ี 2 หลักการแตงคาํ ประพนั ธ คําประพันธห รือรอยกรองมีหลายประเภท เชน โคลง กลอน กาพย ฉันท และรา ยบทรอ ยกรองเปนขอความท่ปี ระดดิ ประดอยตกแตงคําภาษาอยา งมแี บบแผนและมีเงื่อนไขพิเศษบังคับไว เชน บังคับจาํ นวนคํา บังคับวรรค บังคับสัมผสั เรียกวา “ฉนั ทลกั ษณ” แนวทางการเขยี นบทรอยกรองมีดงั น้ี 1. ศึกษาฉันทลกั ษณของคําประพนั ธนน้ั ๆ ใหเ ขา ใจอยา งแจมแจง 2. คิดหรอื จนิ ตนาการวา จะเขยี นเรอ่ื งอะไร สรางภาพใหเกดิ ขึ้นในหวงความคิด 3. ลําดบั ภาพหรอื ลาํ ดับขอ ความใหเ ปนอยา งสมเหตผุ ล 4. ถา ยทอดความรูสึกหรอื จนิ ตนาการน้ันเปน บทรอยกรอง 5. เลอื กใชคาํ ทสี่ ือ่ ความหมายไดช ัดเจน ทําใหผ ูอา นเกิดภาพพจนและจินตนาการรว มกับผูประพนั ธ 6. พยายามเลอื กใชคาํ ท่ไี พเราะ เชน คิด ใชคําวา ถวลิ ผูหญงิ ใชคาํ วา นารี 7. แตง ใหถ กู ตอ งตามฉนั ทลักษณข องคําประพนั ธ การเขยี นโคลงสี่สภุ าพ มีหลักการเขยี นดงั น้ี บทหนง่ึ มี 4 บาท บาทหนง่ึ มี 2 วรรค เรียกวรรคหนา กับวรรคหลัง วรรคหนา มี 5 พยางคท ุกบาทวรรคหลังของบาทที่หน่ึงที่สองและท่ีสามมี 2 พยางค วรรคหลังของบาทที่ส่ีมี 4 พยางค และอาจมีคําสรอยไดใ นวรรคหลงั ของบาทท่หี นึง่ และบาทท่ีสาม มีสัมผัสบังคับตามที่กําหนดไวในผังของโคลง ไมนิยมใชสัมผัสสระ ใชแตส ัมผัสอักษร โคลงบทหน่ึงบังคับใชค ําท่ีมีวรรณยุกตเ อก 7 แหง และวรรณยุกตโ ท 4แหง คาํ เอกผอนผนั ใหใชค ําตายแทนได
ห น า | 107 การเขยี นกลอนสภุ าพ มีหลกั การเขยี นดังน้ี บทหน่ึงมี 4 วรรคหรือ 2 บาทๆ ละ 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ วรรครอง วรรคสง แตละวรรคมี 8 พยางค หรอื 7 หรอื 9 พยางคก ไ็ ด สัมผสั ใชพยางคสดุ ทายของวรรคทหี่ นึ่งสมั ผสั กับพยางคท ี่ 3 หรอื 5 ของวรรคท่ีสองและพยางคสุดทายของวรรคท่ีสอง สัมผัสกับพยางคสุดทายของวรรคท่ีสาม พยางคสุดทายวรรคที่สามสัมผัสกับพยางคท ่ี 3 หรือ 5 ของวรรคท่ีสี่ และพยางคส ุดทา ยของวรรคที่ส่ี สัมผัสกับพยางคสุดทา ยของวรรคที่สองในบทตอไป เรียกวา สมั ผสั ระหวา งบท เสียงวรรณยุกตท ี่นิยมในการแตง กลอนมีดังน้ี คือ พยางคส ุดทายของวรรคที่สองตอ งใชเสียงจัตวา หรือเสียงเอก หรือเสียงโท และพยางคสุดทา ยของวรรคท่ีส่ี นิยมใชวรรณยุกตสามัญหรือเสียงตรีและพยางคน้ีไมนิยมใชเ สียงวรรณยุกตท ี่ซ้ํากับพยางคสุดทายของวรรคที่สองหรือพยางคสุดทา ยของวรรคทีส่ าม
108 | ห น า การเขียนจะเกิดประสิทธิภาพอยางแทจ ริงจําเปน อยางยิง่ ท่ีผูเรียนจะตอ งมีความรูความเขา ใจในงานเขียนทุกประเภท ทั้งงานเขียนท่ีเปน รอ ยแกว และรอยกรอง โดยเฉพาะอยา งยิง่ งานท่ีเขียนเปนรอ ยกรองน้ัน ผูเขียนตองพยายามจดจําฉันทลักษณข องรอ ยกรองแตล ะชนิดใหถูกตองแมม ยํา จึงจะสามารถส่อื สารกับผูอน่ื ไดอ ยางสมบูรณ การเขียนกาพย แบง ออกเปน กาพยย านี กาพยฉบัง กาพยสุรางคนางคกาพยขับไม (1) กาพยย านี 11 มีลักษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั น้ี คณะ คณะของกาพยยานีมีดังน้ี กาพยบทหน่ึงที่ 2 บาท บาทท่ี 1 เรียกวา บาทเอก บาทท่ี 2เรยี กวา บาทโท แตล ะบาทมี 2 วรรค คอื วรรคแรกและวรรคหลงั พยางค พยางคห รือคําในวรรคแรกมี 5 คํา วรรคหลังมี 6 คํา เปน เชน น้ีท้ังบาทเอกและบาทโท จงึ นบั จาํ นวนไดบาทละ 11 คํา เลข 11 ซ่ึงเขยี นไวหลงั ชือ่ กาพยยานนี ้นั เพอื่ บอกจาํ นวนคาํ
ห น า | 109ผงั ของกาพยยานี 1 บทสัมผัส มสี ัมผสั เสนอระหวา งคําสดุ ทา ยในวรรคหนง่ึ ไปคาํ ทสี่ ามอกี วรรคหน่ึง ดังผังขางบน สว นสัมผัสในนัน้ ยึดหยุน ไดเสยี งวรรณยกุ ต มีขอ สงั เกตเก่ยี วกับการใชเสยี งวรรณยกุ ตใ นกาพยย านอี ยบู างประการคือ1.1 คําสดุ ทายของวรรคหลงั ของบาทโท ใชเ สยี งวรรณยกุ ตสามญั และจตั วาสว นใหญ1.2 ท่ใี ชค ําตายเสยี งตรี หรอื เอกก็มีบาง แตไ มค อ ยพบมากนกัวชิ าเหมอื นสนิ คา อน มีคา อยูเมอื งไกลตองยากลําบากไป จงึ จะไดส ินคา มาจงตั้งเอากายเจา เปนสาํ เภาอันโสภาความเพียรเปนโยธา แขนซายเปนเสาไปนว้ิ เปน สายระยาง สองเทาตางสมอใหญปากเปนนายงานไป อัชฌาสยั เปน เสบียงสตเิ ปน หางเสอื ถือทายเรือไวใหเทยี่ งถือไวอ ยา ใหเ อยี ง ตัดแลนเลี่ยงขามคงคาปญ ญาเปน กลอ งแกว สอ งดแู ถวแนวหนิ ผาเจา จงเอาหตู า เปนลาตา ฟง ดูลมขี้เกียจคอื ปลาราย จะทาํ ลายใหเ รอื จมเอาใจเปนปนคม ยิงระดมใหจมไปจงึ จะไดสินคามา คอื วชิ าอนั พศิ มัยจงหมั้นมั่นหมายใจ อยาไดครานการวิชาๆ2. กาพยฉบัง 16 มีลกั ษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั น้ี
110 | ห น า คณะ กาพยฉบังบทหน่ึงมีเพียง 1 บาท แตม ี 3 วรรค คือ วรรคตน วรรคกลางและวรรคทาย พยางค พยางคห รือคําในวรรคตน มี 6 คํา วรรคกลางมี 4 คํา วรรคทา ยมี6 คํา รวมทัง้ บทมี 16 คาํ จงึ เขยี นเลข 16 ไวห ลงั ชอ่ื กาพยฉ บัง ฉบังสิบหกความหมาย หนึ่งบทเรียงรายนับไดสิบหกพยางค เพอ่ื เปน แนวทาง สัมผัสรัดตรึง สมั ผสั ชดั เจนขออาง รอ ยรัดจัดทําใหห นไู ดค ดิ คาํ นงึ จงจํานําไป พยางคสุดทายวรรคหนึ่งสุดทายวรรคสองตองจํา สุดทายวรรคสามงามขําสัมผสั รัดบทตอ ไป บทหนึ่งกับสองวองไวเรยี งถอยรอ ยกาพยฉ บงัอ.ภาทิพ ศรีสุทธิ์3. กาพยส รุ างคนางค มีลกั ษณะบังคับของบทรอ ยกรอง ดงั น้ี คณะ บทหนง่ึ มี 7 วรรค เรยี งได 2 วธิ ีตามผัง ดงั น้ี
ห น า | 111สุรางคนางคนางค เจด็ วรรคจกั วาง ใหถ กู วธิ ีวรรคหนงึ่ สีค่ ํา จงจาํ ไวใ หด ี บทหนึ่งจึงมี ย่ีสิบแปดคาํหากแตง ตอ ไป สัมผัสตรงไหน จงใหแ มน ยาํคําทายวรรคสาม ตดิ ตามประจาํ สัมผสั กับคํา ทายบทตนแลอ.ฐปนยี นาครทรรพ ประพันธ พยางค จํานวนคําในวรรค มีวรรคละ 4 คํา 7 วรรค รวมเปน 28 คํา จึงเขียนเลข 28 ไวหลัง ช่ือกาพยสุรางคนางค สมั ผสั 1. มสี มั ผัสบังคับหรอื สมั ผัสนอก ดงั แสดงไวในผงั 2. เฉพาะหมายเลข (4) เปน สมั ผัสระหวา งบท 3. สัมผัสในยืดหยุนได บางทีก็เปนสัมผัสสระ บางทีก็เปน สัมผัสอักษร บางทีก็ไมม ีสัมผัสในเลย มงุ เอาคาํ ที่มีความหมายเปนใหญ ฉันท แบง เปนหลายชนิด เชน อินทรวิเชียรฉันท ภุชงคประยาตฉันท วิชชุมมาลาฉันท มาณวกฉันท วสันตดิลกฉันท อิทิ ฉันท เปน ตน และยังมีฉันทท ่ีมีผูป ระดิษฐข ึ้นใหมอีก เชน สยามมณีฉันท ของน.ม.ส. เปน ตน 1. อนิ ทรวิเชยี รฉันท 11 อนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท 11 มีความหมายวา “ฉันทท่มี ลี ลี าดจุ สายฟาของพระอนิ ทรเปนฉันทท ี่นิยมแตง กันมากที่สุด มลี ักษณะและจาํ นวนคําคลายกบั กาพยยานี 11 แตต า งกันเพยี งที่วาอินทรวเิ ชยี รฉนั ทนี้มีขอบงั คับ ครแุ ละลหุ
112 | ห น า 1. อินทรวิเชยี รฉนั ท 11 มีลกั ษณะบังคับของรอยกรอง ดงั น้ีตวั อยา งคําประพนั ธ พศิ เสนสรีรร ัว ยลเน้อื กเ็ นื้อเตน กร็ ะรกิ ระรวิ ไหว หติ โอเลอะหลงั่ ไป ทัว่ รา งและทัง้ ตัว ระกะรอยเพราะรอยหวาย และหลังละลามโล- เพง ผาดอนาถใจ จาก สามัคคีเภทคาํ ฉนั ท - ชติ บุรทตั คณะและพยางค อินทรวเิ ชยี รฉนั ทบทหนง่ึ มี 2 บาท เรยี กบาทเอกและบาทโท แตล ะบาทมี 2วรรค วรรคแรกมี 5 คาํ วรรคหลงั มี 6 คาํ รวมเปน 11 คํา ในแตละบาทเทากบั กาพยย านี สัมผสั บังคับสัมผสั 3 แหง คอื 1. คําสดุ ทา ยของวรรคแรกในบาทเอก สมั ผัสกบั คําที่ 3 ในวรรคหลงั 2. คําสดุ ทา ยของวรรคหลงั ในบาทเอก สมั ผสั กับคําสดุ ทา ยในวรรคแรกของบาทโท 3. คําสุดทา ยของวรรคหลังในบาทโทสัมผัสกับคําสุดทา ยในวรรคหลังของบาทเอกของฉันทบทตอไป ครุ-ลหุ มีการเรียง ครุ ลหุ ตามท่ีเขียนไวในแผน ถาจะดูเฉพาะลหุก็จะเห็นไดวา อยูที่คําที่ 3 ของวรรคแรกและคําท่ี 1,2,4 ของวรรคหลงั เปนเชนน้ีทุกวรรคไป แตละบาทจะมีครุ 7 ลหุ 4 อยูในตําแหนงที่แนนอนไมเปลย่ี นแปลง 2. ภุชงคประยาตฉนั ท 12 มีลกั ษณะบังคับของรอยกรอง ดงั น้ี ภุชงประยาต หรือ ภุชงคปยาต “ภุชงค” แปลวา งู หรือ นาค “ประยาต” แปลวาอาการหรืออาการเลื้อยของงู ภุชงคประยาต จงึ แปลวา ฉันทที่มีลีลางดงามประดุจอาการเลื้อยของงู
ห น า | 113 ผังภมู ิ ตวั อยา ง นรินทรไทยมทิ อ ถอน มนัสไทยประณตไท มผิ ูกรักมิภกั ดิบ ร มิพึ่งบารมีบุญ ถลนั จว งทะลวงจ้ํา บรุ ุษนาํ อนงคหนุน บรุ ุษรุกอนงคร นุ ประจญรวมประจัญบาญ ฉนั ทย อเกยี รตชิ าวนครราชสมี า คณะและพยางค ภุชงคประยาฉันท บทหน่ึงมี 2 บาท แตล ะบาทมี 2 วรรค วรรคแรกและวรรคหลังมีจํานวนคําเทา กัน คือ มีวรรคละ 6 คํา รวม 2 วรรค เปน 12 คํา มากกวาอินทรวิเชียรฉันท เพียง 1 คําเทา นนั้สัมผัสบังคับเหมอื นอินทรวเิ ชียรฉนั ท แตก าํ หนดครุ ลหุ ตางกันไปเลก็ นอย สัมผัส บังคับสัมผัสตามผังดังที่โยงไวใ หด ู จึงเห็นไดวา บังคับสัมผัสเหมือนอินทรวิเชียรฉันทบางแหงกวีอาจใชส มั ผัสอักษรได ครุ-ลหุ มีการเรียน ครุ ลหุ ตามที่เขียนไวใ นผัง ถา จะดูเฉพาะ ลหุ ก็จะเห็นไดว า อยูท ่ีคําท่ี 1 และคาํ ที่ 4 ทุกวรรค และเปน ระเบียบเชน น้ไี มเปลย่ี นแปลง 5. รา ย แบงเปน รายโบราณ รายสขุ ภาพ รายดน้ั และรา ยยาว รายยาวทเี่ รารูจ ักดี คือ รา ยยาว มหาเวสสนั ดรชาดก รายยาว คือรายไมมีกําหนดจํานวนคําในวรรคหนึ่งๆ วรรคทุกวรรคในรายอาจมีจํานวนคําแตกตา งกนั คือมากบางนอยบาง ใชแตงขึ้นเปนบทเทศน เชน รายยาวมหาเวสสันดรชาดกเปนตนและรายชนดิ นไี้ มต อ งอาศัยคําประพันธชนิดอ่ืน เรอื่ งใดประพันธเปนรา ยยาว ก็ใหเปน รายยาวตลอดทงั้ เรอ่ื ง ตัวอยาง อถ มหาสตฺโต ปางนัน้ สมเด็จพระเวสสันดรอดุลดวงกษัตริย ตรัสทอดพระเนตรเห็นพระอัครเรสถึงวิสัญญีภาพสลบลงวนั นน้ั พระทัยทาวเธอสําคัญวาพระนางเธอวางวาย จัดเอาวารีมาโสรจสรงลงที่พระอุระพระมัทรี หวังวาจะใหชุม ชื่นฟน สมปฤดีคืนมา แหงนางพระยานั้นแล(รายยาวมหาเวสสนั ดรชาดก กัณฑม ทั รี)
114 | ห น า บัญญตั ิรายยาว คณะ คาํ ในวรรคหนง่ึ ๆ ไมจ าํ กดั จาํ นวนแนน อน วรรคหน่ึงจะมีกคี่ าํ ก็ได สัมผัส คําสุดทายวรรคหนา สงสัมผัสไปยังคําใดคําหนึง่ ในวรรคตอไปและสงรับกันเชนนี้ตลอดไปจนจบรา ย คาํ สรอ ย สดุ ทา ยบทรา ยยาว ลงดวยคําสรอ ย เชน นน้ั เถดิ นน้ั แล นเ้ี ถิด เปน ตน คณะและพยางค รายสภุ าพบทหนง่ึ ๆ มตี ้ังแต 5 วรรคขึน้ ไป แตละวรรคมีคาํ 5 คํา จะแตง สักกีว่ รรคก็ได แตตอนตบตองจบดวยโคลงสอง สัมผัส มสี ัมผัสสง ทายวรรค และมีสัมผัสรับเปนเสียงวรรณยุกตเดียวกันตรงคําที่ 1-2-3 คําใดคําหนง่ึ จนถงึ ตอนทาย พอจะจบก็สงสัมผสั ไปยงั บาทตน ของโครงสองสุขภาพตอ จากนัน้ ก็บังคับสัมผัสตามแบบของโคลงสองสุภาพ จึงถือวาคบรายแตละบท สว นสัมผัสในน้ันไมบ ังคับตรวจสอบอีกคร้ัง มีท้ังสมั ผัสตรวจสอบอีกครงั้ คําเอก-คําโท มีบังคับคําเอก คําโท เฉพาะที่โคลงสองสุภาพตอนทายบทเทาน้ัน
ห น า | 115 คณะและพยางค รา ยสภุ าพบทหนึง่ ๆ มตี ง้ั แต 5 วรรคขึ้นไป แตละวรรคมีคํา 5 คาํ จะแตง สักก่วี รรคกไ็ ด แตต อนตบตองจบดวยโคลงสอง สมั ผสั มีสมั ผัสสงทายวรรค และมีสัมผัสรับเปน เสียงวรรณยุกตเ ดียวกันตรงคําท่ี 1-2-3 คําใดคําหนง่ึ จนถงึ ตอนทา ย พอจะจบก็สง สัมผัสไปยังบาทตน ของโครงสองสุขภาพตอจากนัน้ ก็บังคับสัมผัสตามแบบของโคลงสองสุภาพ จึงถือวา คบรายแตละบท สวนสัมผัสในน้ันไมบังคับตรวจสอบอีกครัง้ มีท้ังสมั ผัสตรวจสอบอีกคร้งั คาํ เอก-คําโท มีบังคับคําเอก คําโท เฉพาะที่โคลงสองสภุ าพตอนทายบทเทาน้ัน คําสรอ ย รางสุขภาพแตละบท มีคําสรอ ยไดเพียง 2 คํา คือสองคําสุดทา ยของบทตอจากคําสุดทายของโครงสองสุภาพตวั อยางรา ยสุภาพ ขาเการายอยาเอา อยารกั เหากวา ผม อยา รักลมกวา นา้ํ อยา รกั ถาํ้ กวา เรอื น อยา รกั เดอื นกวาตะวนั สบสง่ิ สรรพโอวาท ผูเ ปนปราชญพ ึงสดบั ตรับตรองปฏิบัติ โดยอรรถอนั ถอ งถว น (โคลงสอง) แถลงเลศเหตุเลือกลว น เลิศอางทางธรรม แลนา ฯ (สุภาษติ พระรว ง)
116 | ห น าเรอ่ื งที่ 3 มารยาทและนสิ ยั รกั การเขยี น มารยาทในการเขียน 1. ไมควรเขียนโดยปราศจากความรูเกีย่ วกับเรื่องนั้นๆ เพราะอาจเกิดความ ผดิ พลาด หากจะเขียนก็ควรศึกษาคนควาใหเกิดความพรอมเสียกอน 2. ไมเขียนเรื่องที่สงผลกระทบตอความมั่นคงของชาติหรือสถาบันเบื้องสูง 3. ไมเ ขยี นเพ่ือมงุ เนน ทําลายผูอ นื่ หรอื เพอ่ื สรา งผลประโยชนใ หแ กตน พวกพอ งตน 4. ไมเขยี นโดยใชอ ารมณส วนตวั เปนบรรทัดฐาน 5. ตองบอกแหลงที่มาของขอมูลเดิมเสมอ เพ่ือใหเกยี รตเิ จาของขอมลู นน้ั ๆ การสรา งนสิ ยั รกั การเขยี น ในการเร่ิมตนของการเขียนอะไรก็ตาม ผูเ ขียนจะเขียนไมออกถา ไมต ้ังเปา หมายในการเขียนไวล วงหนา วาจะเขยี นอะไร เขยี นทาํ ไม เพราะการเขยี นเรอ่ื ยเปอยไมท าํ ใหง านเขยี นนา อา นและถาทําใหงานช้ินน้ันไมมีคุณคา เทา ที่ควร งานเขียนที่มีคุณคาคืองานเขียนอยา งมีจุดหมาย มีขอ มูลขา วสารไรพรมแดนดงั เชนในปจ จบุ นั การมขี อมลู มากยอ มทําใหเ ปนผไู ดเปรยี บผูอ ่นื เปนอนั มาก เพราะยคุ ปจ จุบันเปนยุคแหงการแขงขันกันในทุกทางโดยเฉพาะในทางเศรษฐกิจ ใครมีขอ มูลมากจะเปนผูไ ดเ ปรียบคูแ ขง ขันอ่ืนๆเพราะการนําขอ มูลมาใชป ระโยชนไ ดเ ร็วกวา น้ันเอง การหม่ันแสวงหาความรูเ พื่อสะสมขอมูลตา งๆ ใหต วั เองมากๆ จงึ เปน ความไดเปรยี บ และควรกระทําใหเปนนสิ ยั ตดิ ตวั ไป เพราะการกระทําใดๆ ถาทําบอยๆ ทาํ เปน ประจาํ ในวนั หนง่ึ ก็จะกลายเปน นสิ ยั และความเคยชินท่ตี อ งทาํ ตอไป การคนควา รวบรวมขอ มูลเปน กิจกรรมท่ีจะทําใหเกิดความสนุกสนานทางวิชาการเพราะยิ่งคนควา ก็จะย่งิ ทาํ สงิ่ ท่ีนา สนใจมากขึ้น ผทู ่ฝี ก ตนใหเ ปน ผูใครรู ใครเ รียน ชอบแสวงหาความรูจะมีความสุขมากเมอ่ื ไดศึกษาคน ควา และไดพ บส่งิ แปลกๆใหมๆ ในภาษาไทย หรือในความรูแ ขนงอ่ืนๆ บางคนเมื่อคนควาแลวจะรวบรวมไวอยา งเปนระบบ สรปุ
ห น า | 117 การสรางนิสัยรักการเขียนและการศึกษาคนควา ตอ งเร่ิมจากเปนผูห ม่ันแสวงหาความรู มีใจรกั ทจี่ ะเขยี น เหน็ ประโยชนก ารเขยี นและหม่นั ฝกฝนการเขยี นบอยๆกจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. การเขยี นอะไร มีความสําคัญอยา งไร 2. การจะเขยี นเพ่อื สง สารไดดีจะตองทาํ อยางไรกิจกรรมท่ี 2 1. ใหผูเ รียนศึกษารายละเอียดของจดหมายแตละประเภท ทั้งรูปแบบคําขึ้นตน คําลงทาย แบบฟอรม ฯลฯ จากจดหมายจริงขององคกร บริษัทและหนว ยราชการ แลว เขียนรายงานเสนอ กศน.ที่สอนเพ่อื ตรวจสอบและประเมินผลระหวางภาค 2. ใหวิเคราะหก ารเขียนจดหมายในยุคปจ จุบันวามีการสือ่ สารดวยวิธีอ่ืนอีกหรือพรอมท้ังยกตัวอยางประกอบดวยกจิ กรรมท่ี 3 ใหผ ูเรียนหาโอกาสไปฟงการประชุมสาธารณะที่จัดขึ้นในชุมชน โดยอาจนัดหมายไปพรอมกันเปนกลุม สังเกตวิธีการดําเนินการประชุม การพูดในที่ประชุมจดบนั ทกึ สง่ิ ท่ีรบั ฟง จากท่ีประชมุ แลวนํามาพดู คยุ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ กบั เพอ่ื นๆ เมื่อมกี ารพบกลุมกจิ กรรมท่ี 4 ใ ห ผ ู เ รีย น เ ลือ ก จ ด บัน ทึ ก เห ตุ ก าร ณ ใ น ชีวิ ต ป ระ จํ า วัน โ ด ย เร่ิ ม ต้ั งแ ต วั นน้ี ไ ป จ นสิ้นสุดภาคเรียนพรอ มจัดลงใหก ับครู กศน. ตรวจ เพือ่ ประเมินใหเปนผลงานระหวางภาคเรยี นกจิ กรรม 5 ใหผ ูเขยี นเลขไทยตั้งแต ๑-oกจิ กรรม 6
118 | ห น า ใหผ ูเ รียนเขียนบทรอยกรองประเภทใดประเภทหนึ่งทีค่ ิดวาเพือ่ ถา ยทอดอารมณค วามรูสึก แลวนํามาเสนอตอกลุม หรอื ปด ปายประกาศใหเ พอ่ื นๆ อา นและตชิ มกจิ กรรม 7 ใหผ ูเรียนศึกษาบทรอ ยกรองประเภทตา งๆ ท่ีไดร ับการยกยอ งหรือชนะการประกวด นําไปอภปิ รายรวมกบั ครูหรอื ผูเรยี น ในวนั พบกลุมกจิ กรรม 8 ใหผเู รยี นแบงกลุม แลวรวบรวมตวั อยางบทรอ ยกรองที่แตงดวยคําประพันธที่จับฉลากไดตอ ไปนี้พรอ มทง้ั เขยี นแผนภูมปิ ระกอบใหถ ูกตอง และสงตวั แทนออกมาอธิบายในครั้งตอไปเมื่อพบกลุม 1. โคลงสีส่ ุภาพ 2. กลอนสภุ าพ 3. กาพยย านี 11 4. รา ยสภุ าพ
ห น า | 119บทท่ี 5 หลกั การใชภาษาสาระสาํ คญั การเขา ใจธรรมชาติและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษาจะชว ยใหใชภ าษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ เกิดความภาคภูมิใจและรักษาภาษาไทยไวเ ปนสมบัติของชาติผลการเรยี นรูที่คาดหวัง เม่ือศึกษาบทน้ีจบคาดหวงั วาผูเ รยี นจะสามารถ 1. เขา ใจธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลกั ษณะของภาษาไทย 2. เขา ใจอทิ ธพิ ลของภาษาถิ่นและภาษาตา งประเทศทีม่ ีตอ ภาษาไทย 3. เขาใจความหมายใชศพั ทบ ญั ญตั ิ คําสมาส คําสนธแิ ละคาํ บาลี สันสฤต 4. ใชค าํ ราชาศัพทและคาํ สุภาพไดเหมาะสมกับบุคคล 5. เขาใจและใชส าํ นวน คาํ พังเพย สภุ าษติ 6. ใชพ จนานกุ รมและสารานกุ รมไดถกู ตองขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 ธรรมชาติของภาษา เรอ่ื งท่ี 2 ถอ ยคาํ สาํ นวน สุภาษติ คําพังเพย เรอ่ื งที่ 3 การใชพจนานกุ รมและสารานกุ รม เรอ่ื งท่ี 4 คําราชาศัพท
120 | ห น าเร่อื งท่ี 1 ธรรมชาติของภาษาความหมายของภาษา ภาษา เปน คําที่เรายืนมาจากภาษา สันสกฤต ถา แปลตามความหมายของคําศัพทภาษา แปลวา ถอยคาํ หรอื คาํ พูดทีใ่ ชพ ดู จากนั คาํ วา ภาษา ตามรากศพั ทเดมิ จงึ มีความหมายแคบคือหมายถึงคําพูดแตเ พียงอยางเดียว ความหมายของภาษาตามความเขาใจของคนท่วั ไป เปน ความหมายที่กวาง คือภาษา หมายถึง สื่อทกุ ชนดิ ทส่ี ามารถทําความเขาใจกันได เชน ภาษาพูดใชเสียงเปนส่ือ ภาษาเขียนใชต ัวอักษรเปน สื่อ ภาษาใบใชก ริยาทา ทางเปนส่ือ ภาษาคนตาบอดใชอักษรท่ีเปนจุดนูนเปนส่ือ ตลอดท้ัง แสง สี และอาณัติสญั ญาณตา งๆ ลวนเปน ภาษาตามความหมายน้ีท้ังสิ้น ความหมายของภาษาตามหลักวิชา ภาษา หมายถึง สัญลักษณท ี่มีระบบระเบียบและมีแบบแผนทํ า ใ ห ค น เ ร า ส่ื อ ค ว า ม ห ม า ย กั น ไ ด ภ า ษ า ต า ม ค ว า ม ห ม า ย น้ี จ ะ ต อ ง มีสว นประกอบสาํ คญั คอื จะตองมี ระบบสัญลักษณ + ความหมาย + ระบบการสรางคํา + ระบบไวยากรณในภาษาไทยเรามีระบบสัญลักษณ ก็คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต ระบบการสรางคํา ก็คือ การนําเอาพยัญชนะ สระ และวรรณยุกตมาประกอบกันเปนคํา เชน พ่ี นอง พอ แม ฯลฯ ระบบไวยากรณ หรือเราเรียกวา การสรางประโยคคอื การนาํ คาํ ตา งๆ มาเรียงกันใหส ัมพันธก ันใหเ กิดความหมายตางๆ ซึ่งเปน หนวยใหญข ึน้ เมื่อนาํ สวนประกอบตา งๆ สมั พนั ธกนั แลว จะทําใหเ กิดความหมาย ภาษาตองมีความหมาย ถาหากไมมีความหมายกไ็ มเ รียกวาเปน ภาษาความสาํ คัญของภาษา 1. ภาษาเปน เครื่องมือในการติดตอสือ่ สาร ท่ีมนุษยใ ชส ่ือความเขา ใจกัน ถา ยทอดความรูความคิด อารมณ ความรูสกึ ซึ่งกนั และกนั 2. ภาษาเปนเครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรู ความคิดและความเพลิดเพลนิ 3. ภาษาเปน เคร่ืองมือในการประกอบอาชีพและการปกครอง โดยมีภาษากลางหรือภาษาราชการใชใ นการสือ่ สารทําความเขาใจกันไดทงั้ ประเทศ ทั่วทุกภาค 4. ภาษาชว ยบันทึกถายทอดและจรรโลงวฒั นธรรมใหด าํ รงอยู เราใชภาษาบันทึกเรอ่ื งราวและเหตุการณตา งๆ ในสังคม ตลอดทงั้ ความคิด ความเชอื่ ไวใ หค นรุนหลงั ไดท ราบและสบื ตออยางไมขาดสาย เมื่อทราบวา ภาษามีความสําคัญอยา งยิ่งสําหรับมนุษยแ ละมนุษยก็ใชภาษาเพ่ือการดําเนินชีวิตประจําแตเ ราก็มีความรูเก่ียวกบั ภาษากนั ไมม ากนกั จงึ ขอกลาวถึงความรูเกยี่ วกบั ภาษาใหศึกษากันดงั น้ี 1. ภาษาใชเสยี งส่ือความหมาย ในการใชเ สยี งเพอ่ื สอื่ ความหมายจะมี 2 ลกั ษณะ คือ
ห น า | 1211.1 เสยี งท่ีสมั พันธกบั ความหมาย หมายความวา ฟงเสียงแลว เดาความหมายไดเสียงเหลาน้ีมักจะเปน เสยี งที่เลยี นเสยี งธรรมชาติ เชน ครนื เปร้ียง โครม จกั ๆ หรอื เลยี น เสยี งสตั วรอ ง เชน กา อึง่ อา งแพะ เจี๊ยบ ตุก แก1.2 เสียงท่ีไมส ัมพันธกับความหมาย ในแตล ะ ภาษาจะมีมากกวาเสียงท่ีสัมพันธ กับความหมาย เพราะเสยี งตางๆ จะมีความหมายวา อยางไรนนั้ ข้ึนอยูกับขอ ตกลงกันของคนที่ใชภ าษาน้ันๆ เชนในภาษาไทยกาํ หนดความหมายของเสยี ง กิน วา นาํ ของใสป ากแลว เค้ียวกลืนลงคอ ภาษาอังกฤษใชเ สียงeat (อ๊ีท) ในความหมายเดยี วกันกับเสยี งกนิ2. ภาษาจะเกดิ จากการรวมกันของหนวยเลก็ ๆ จนเปน หนว ยท่ีใหญข้นึหนวยในภาษา หมายถึง สว นประกอบของภาษาจะมีเสียงคําและประโยค ผูใชภาษาสามารถเพิ่มจาํ นวนคาํ จาํ นวนประโยคขน้ึ ไดม ากมาย เชน ในภาษาไทยเรามีเสียงพยัญชนะ 21 เสียง เสียงสระ24เสียง เสียงวรรณยุกต 5 เสียง ผูเ รียนลองคิดดูวาเม่ือเรานําเสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกตมาประกอบกันก็จะไดคํามากมาย นําคํามาเรียงตอ กันก็จะไดวลี และประโยค เราจะสรา งประโยคข้ึนไดมากมาย และหากเรานําประโยคที่สรา งข้ึนมาเรียงตอกันโดยวิธีมารวมกัน มาซอนกันก็จะทําใหไดประโยคท่ยี าวออกไปเรอ่ื ยๆ3. ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง สาเหตุของการเปล่ียนแปลง1. การพูดกนั ในชวี ิตประจาํ วัน สาเหตุน้อี าจจะทาํ ใหเ กดิ การกลมกลืนเสยี ง เชน เสยี งเดมิ วาอยางน้ี กลายเปน อยา งงี้มะมว งอกพรอ ง กลายเปน มะมวงอกรอ งสามแสน กลายเปน สามเสนสจู นเยบ็ ตา กลายเปน สจู นยบิ ตา2. อทิ ธิพลของภาษาอน่ื จะเหน็ ภาษาองั กฤษมีอทิ ธพิ ลในภาษาไทยมากที่สดุ อยูในขณะน้ี เชนมาสาย มกั จะใชว ามาเลท(late)คําทักทายวา สวัสดี จะใช ฮัลโล (ทางโทรศัพท) หรือเปนอิทธิพลทางดานสํานวน เชนสาํ นวนทน่ี ยิ มพูดในปจจบุ นั ดงั น้ี“ไดรับการตอ นรับอยา งอบอุน” นา จะพูดวา “ไดร ับการตอนรับอยา งดี”“จับไข” นา จะพูดวา “เปนไข” นันทิดา แกว บัวสาย จะมาในเพลง “เธอ” นาจะพูดวา นันทิดาแกวบัวสาย จะมารองเพลง “เธอ”3. ความเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอ ม เมื่อมีความเจริญขึ้น ของเกา ก็เลิกใช ส่ิงใหมก ็เขา มาแทนท่ี เชน การหุงขาวสมัยกอ นการดงขา วแตป จจุบันใชห มอ หุงขางไฟฟา คําวา ดงขาว ก็เลิกใชไ ปหรือบา นเรือนสมัยกอนจะใชไ มไผป ูพื้นจะเรียกวา “ฟาก” ปจ จุบันใชกระเบื้อง ใชป ูน ปูแทนคําวา ฟากก็เลิก
122 | ห น าใชไปนอกจากน้ียังมีคําอกี พวกทเี่ รียกวา คําแสลง เปน คําท่ีมีอายใุ นการใชส้นั ๆ จะนิยมใชเฉพาะวัยเฉพาะคนในแตละยุคสมยั เม่ือหมดสมยั หมดวยั น้นั คาํ เหลาน้กี ็เลกิ ใชไ ป เชน กิก๊ จาบ ตัวอยา งคาํ แสลง เชน กระจอก กิ๊กกอ ก เจา ะแจะ ซา เวอ จาบ ฯลฯลักษณะเดนของภาษาไทย 1. ภาษาไทยมีตวั อักษรเปนของตนเอง เปน ที่ทราบวาภาษาไทยมีตัวอักษรมาต้ังแตคร้ังกรุงสุโขทัยแลว วิวัฒนาการตามความเหมาะสมมาเรอ่ื ยๆ จนถึงปจ จบุ นั โดยแบงเปน 3 ลักษณะ คือ 1. เสยี งแท มี 24 เสยี ง ใชรปู สระ 32 รปู 2. เสยี งแปรมี 21 เสยี ง ใชร ูปพยัญชนะ 44 ตวั 3. เสยี งดนตรีหรอื วรรณยกุ ตม ี 5 เสยี ง ใชร ปู วรรณยกุ ต 4 รปู 2. ภ า ษ า ไ ท ย แ ท ม ี พ ย า ง ค เ ดี ย ว ห รื อ เ ป น ภ า ษ า คํ า โ ด ด แ ล ะ เ ป น คํ า ท่ี มี อิ ส ร ะ ใ นตวั เอง ไมต องเปล่ียนรปู คาํ เม่อื นําไปใชในประโยค เชนเปนคาํ ทมี่ พี ยางคเดยี ว สามารถฟงเขาใจทันที คือ คาํ กริยา กิน นอน เดนิ นัง่ ไป มา ฯลฯ คาํ เรยี กเครอื ญาติ พอ แม ลุง ปา นา อา ปู ยา ฯลฯ คาํ เรยี กซ่ือสตั ว นก หนู เปด ไก มา ชาง ฯลฯ คําเรยี กช่อื ส่งิ ของ บาน เรอื น นา ไร เสอื้ ผา มีด ฯลฯ คําเรยี กอวยั วะ ขา แขน ตนี มอื หู ตา ปาก ฯลฯเปนคาํ อสิ ระไมเปลีย่ นแปลงรปู คาํ เม่ือนาํ ไปใชใ นประโยค เชน ฉันกินขาว พอ ตีฉนั คําวา “ฉัน” จะเปนประธานหรือกรรมของประโยคก็ตามยังคงใชร ูปเดิมไมเ ปล่ียนแปลง ซึ่งตา งภาษาอังกฤษ ถา เปนประธานใช “I” แตเปน กรรมจะใช “ME” แทน เปน ตน คําทุกคําในภาษาไทยมีลักษณะเปน อสิ ระในตวั เอง ซึ่งเปนลกั ษณะของภาษาคําโดด 3. ภาษาไทยแทมีตัวสะกดตามตรา ซึ่งในภาษไทยน้ันมีมาตราตะวสะกด8 มาตรา คอื แม กก ใช ก สะกด เชน นก ยาก มาก เดก็ แม กด ใช ด สะกด เชน ผดิ คดิ ราด อด แม กบ ใช บ สะกด เชน กบ พบ ดาบ รบั แม กง ใช ง สะกด เชน จง ขัง ลิง กาง
ห น า | 123 แม กน ใช น สะกด เชน ขน ทนั ปาน นอน แม กม ใช ม สะกด เชน ดม สม ยาม ตาม แม เกย ใช ย สะกด เชน ยาย ดาย สาย เคย แม เกอว ใช ว สะกด เชน เรว็ หวิ ขา ว หนาว 4. คําคําเดียวกัน ในภาษาไทยทําหนาท่ีหลายหนาที่ในประโยคและมีหลายความหมาย ซ่ึงในหลักภาษาไทยเรียกวา คําพอ งรปู พอ งเสยี ง เชน ไกข นั ยามเชา เขาเปนคนมอี ารมณข นั เธอนาํ ขนั ไปตกั นํ้า ขนั ในประโยคท่ี 1 เปน คาํ กริยาแสดงอาการของไก ขันในประโยคท่ี 2 หมายถึงเปน คนทอี่ ารมณสนกุ สนาน ขันในประโยคท่ี 3 หมายถงึ ภาชนะหรอื สง่ิ ของ เธอจกั ตอก แตเ ขา ตอกตะปู ตอกคาํ แรกหมายถงึ สงิ่ ของ ตอกคําท่ี 2 หมายถึง กริยาอาการ จะเหน็ วาคําเดยี วกันในภาษาไทยทาํ หนา ท่ีหลายอยางในประโยคและมีความหมายไดหลายความหมาย ซึง่ เปนลักษณะเดน อกี ประการหนง่ึ ของภาษาไทย 5. ภาษาไทยเปน ภาษาเรียงคํา ถาเรียงคําสลับกันความหมายจะเปลี่ยนไปเชน หลอนเปน นอ งเพอ่ื นไมใ ชเพอ่ื นนอ งคําวา “นอ งเพ่ือน” หมายถึงนอ งของเพ่ือน สว น “เพ่ือนนอง” หมายถึงเปนเพ่ือนของนอ งเรา (เพื่อนนองของเรา) โดยปกติ ประโยคในภาษาไทยจะเรียงลาํ ดบั ประธาน กริยา และกรรม ซ่งึ หมายถึงผูท ํา กริยาท่ีทําและผถู ูกกระทํา เชน แมวกัดหนูถา จะมคี ําขยายจะตอ งเรยี งคาํ ขยายไวห ลงั คําท่ีตอ งการขยาย เชน แมวดาํ กดั หนูอว น“ดาํ ” ขยายแมว และอวนขยายหนูแตถาจะมีคําขยายกริยา คาํ ขยายนัน้ จะอยหู ลงั กรรมหรอื อยูทายประโยค เชน หมูอวนกนิ ราํ ขา วอยางรวดเรว็คําวา อยางรวดเรว็ ขยาย “กิน” และอยูหลงั ราํ ขาว ซึง่ เปน กรรม 6. ภาษาไทยมคี าํ ตามหลงั จาํ นวนนบั ซง่ึ ในภาษาไทยเรียกวา ลักษณะนาม เชน
124 | ห น า หนงั สอื 2 เลม ไก 10 ตวั ชา ง 2 เชอื ก แห 2 ปาก รถยนต 1 คัน คําวา เลม ตัว เชือก ปาก คัน เปน ลักษณะนามที่บอกจํานวนนับของส่ิงของ ซึ่งเปน ลักษณะเดน ของภาษาไทยอกี ประการหนง่ึ 7. ภาษาไทยเปนภาษาดนตรี หมายถึง มีการเปลี่ยนระดับเสียงได หรือเรียกกันวา “วรรณยุกต”ทําใหภาษาไทยมลี ักษณะพเิ ศษ คือ 7.1 มีคําใชมากขึ้น เชน เสือ เส่ือ เส้ือ หรือ ขาว ขาว ขาว เม่ือเติมวรรณยุกต ลงไปในคําเดิมความหมายจะเปลี่ยนไปทันที 7.2 มีความไพเราะ จะสังเกตไดวา คนไทยเปน คนเจาบทเจากลอนมาแตโ บราณแลวก็เพราะภาษาไทยมวี รรณยุกตสงู ตํา่ เหมอื นเสยี งดนตรี ที่เออ้ื ในการแตงคําประพนั ธ เปนอยา งดี เชน “ชะโดดุกระดีโ่ ดด สลาดโลดยะหยอยหยอย กระเพอ่ื มนาํ้ กระพราํ่ พรอย กระฉอกฉานกระฉอนชล”จะเห็นวา เสียงของคําในบทประพันธน ้ีทําใหเ กิดจินตนาการหรือภาพพจนดังเหมือนกับเห็นปลาตา งๆกระโดดขนึ้ ลงในนาํ้ ท่เี ปนละลอก 7.3 ภาษาไทยนิยมความคลองจอง ไมวาจะเปนสํานวนหรือคําพังเพยในภาษาไทยจะมีคําคลอ งจอง เปน ทํานองสั่งสอนหรอื เปรียบเทียบอยูเ สมอ เชน รกั ดีหามจวั่ รกั ช่วั หามเสา นาํ้ มาปลากนิ มด น้ําลดมดกนิ ปลา ขา วยาก หมากแพง 7.4 คาํ ในภาษาไทยเลยี นแบบเสยี งธรรมชาติได เพราะเรามีเสยี งวรรณยุกตใ หใชถ ึง 5 เสียงเชน เลยี นเสยี งภาษาตางประเทศ เชน ฟตุ บอล วอลเลยบ อล เปาฮ้อื เตา เจย้ี ว ฯลฯ เลยี นเสยี งธรรมขาติ เชน ฟา รอ งครนื ๆ ฝนตกจก้ั ๆ ขาวเดอื ดคั่กๆ ระฆงั ดงั หงา งหงา ง ฯลฯ 8. ภาษาไทยมคี ําพองเสยี ง พองรปู คาํ พอ งเสยี ง หมายถึง คําทมี่ เี สยี งเหมอื นแตความหมายและการเขยี นตา งกัน เชน การ หมายถึง กิจ งาน ธรุ ะ กาน หมายถงึ ตดั ใหเ ตยี น กาฬ หมายถึง ดาํ
ห น า | 125 กาล หมายถึง เวลา การณ หมายถงึ เหตุ กานต หมายถงึ เปน ที่รกั กานท หมายถึง บทกลอน กาญจน หมายถึง ทอง คําพองรปู หมายถึง คาํ ท่รี ปู เหมอื นกันแตอ อกเสยี งและมีความหมายตา งกัน เชน - เพลา อา น เพ-ลา แปลวา เวลา - เพลา อา น เพลา แปลวา เบาๆ หรอื ตกั - เรอื โคลงเพราะโคลง อาน เรอื โคลงเพราะโค-ลง 9. ภาษาไทยมกี ารสรา งคาํ เปนธรรมชาติของภาษาทุกภาษาท่ีจะมีการสรางคําใหมอยูเ สมอ แตภาษาไทยมีการสรา งคํามากมายซ่งึ ตางกับภาษาอนื่ จงึ ทําใหม ีคําใชใ นภาษาไทยเปนจาํ นวนมาก คือ 9.1 สรางคําจากการแปรเสยี ง เชน ชมุ -ชอมุ 9.2 สรางคําจาการเปลยี่ นแปลงเสยี ง เชน วธิ ี-พิธี วหิ าร-พหิ าร 9.3 สรา งคําจากการประสมคาํ เชน ตู+ เยน็ เปน ตูเยน็ , พดั +ลม เปนพดั ลม 9.4 สรางคําจากการเปลยี่ นตาํ แหนงคาํ เชน ไกไข-ไขไ ก, เดนิ ทาง-ทางเดนิ 9.5 สรางคําจากการเปลย่ี นความเชน นยิ าม-เรอ่ื งทีเ่ ลาตอๆ กันมา, นยิ าย-การพดู เท็จ 9.6 สรางคําจาการนาํ ภาษาอ่ืนมาใช เชน กวยเต๋ยี ว เตา หู เสวย ฯลฯ 9.7 สรา งคําจากการคิดต้งั คําขึ้นใหม เชน โทรทัศน พฤตกิ รรม โลกาภิวตั น 10. ภาษาไทยมีคําสรอยเสริมบทเพ่ือใชพูดใหเสียงล่ืนและสะดวกปากหรือใหเ กิดจังหวะนาฟงเพิ่มข้นึ ซึ่งในหลักภาษาไทยเราเรยี กวา “คาํ สรอ ย หรอื คําอุทานเสรมิ บท” เชน เรอ่ื งบาบอคอแตก ฉันไมช อบฟง ฉันไมเออออหอหมกดวยหรอก ไมไปไมเปยกนั ละ คาํ แปลกๆ ทข่ี ดี เสนใตน นั้ เปน คําสรอ ยเสริมบทเพราะใชพ ูดเสริมตอ ใหเ สียงล่ืนสะดวกปากและนาฟง ซึ่งเราเรียกวา คําสรอยหรอื อุทานเสรมิ บท จาก 1 ถึง 10 ดังกลาว เปนลักษณะเดน ของภาษาไทย ซึ่งจริงๆ แลว ยังมีอีกหลายประการ ซ่ึงสามารถจะสงั เกตจากการใชภ าษาไทยโดย ทวั่ ๆ ไปไดอกี การยมื คาํ ภาษาอนื่ มาใชใ นภาษาไทย
126 | ห น า ภาษาไทยของเรามีภาษาอ่ืนเขามาปะปนอยูเ ปนจํานวนมาก เพราะเปนธรรมชาติของภาษาท่ีเปนเครือ่ งมือในการสื่อสาร ถา ยทอดความรูค วามคิดของมนุษยและภาษาเปน วัฒนธรรมอยา งหน่ึง ซึ่งสามารถหยิบยืมกนั ไดโดยมีสาเหตจุ ากอทิ ธิพลทางภูมิศาสตร คือ มีเขตแดนติดตอ กันอิทธิพลทางประวัติศาสตรท มี่ กี ารอพยพถิน่ ทอี่ ยู หรือยใู นเขตปกครองของประเทศอ่ืน อิทธิพลทางดานศาสนาไทยเรามรการนบั ถือศาสนาพราหมณ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต และอนื่ ๆ นอกจากน้ีอิทธิพลทางการศึกษา การคาขายแลกเปลย่ี นเทคโนโลยี จงึ ทําใหเ รามีการยมื คาํ ภาษาอืน่ มาใชเ ปนจาํ นวนมาก เชน 1. ภาษาบาลี สนั สกฤต ไทยเรารบั พุทธศาสนาลัทธหิ ายาน ซ่งึ ใชภาษาสันสกฤตเปนเครือ่ งมือมากอนและตอมาไดรบั พุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศม าอีกซ่ึงในภาษาบาลีเปน เครือ่ งมือในการเผยแพรไ ทยจึงรบั ภาษาบาลีสันสกฤตเขา มาใชในภาษาไทยเปนจาํ นวนมาก เชน กติกา กตเวทติ า กตัญู เขต คณะ จารีตญตั ติ ทุจริต อารมณ โอวาท เกษียณ ทรมาน ภกิ ษุ ศาสดา สงเคราะห สตั ว อทุ ศิ เปนตน 2. ภาษาจีน ไทยกับจีนมีความสัมพันธก ันอยางใกลช ิดทางดา นเชื้อชาติ ถ่ินท่ีอยูการติดตอ คาขาย ปจจุบันมีคนจีนมากมายในประเทศไทยจึงมีการยืมและแลกเปลีย่ นภาษาซึ่งกันและกัน ภาษาจีนที่ไทยยืมมาใชเปน ภาษาพูดไมใ ชภ าษาเขียน คําที่เรายืมจากภาษาจีนมีมากมายตัวอยางเชน กวยจ๊ับ ขิมจบั กัง เจง ซวย ซอี ว้ิ ตวั๋ ทูชี้ บะหมี่ หา ง ยีห่ อ หวย บงุ ก้ี อง้ั โล เกาเหลา แฮก ึ้น เปนตน 3. ภาษาอังกฤษ ชาวอังกฤษ เขา มาเกี่ยวขอ งกับชาวไทยต้ังแตส มัยอยุธยา มีการคิดตอ คาขายและในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการยกเลกิ อํานาจศาลกงสุลใหแกไ ทย และภาษาอังกฤษเปน ทีย่ อมรับกันทั่วโลกวา เปนภาษาสากลที่สามารถใชส่ือสารกันไดท ั่วโลก ประเทศไทยมีการสอนภาษาอังกฤษต้ังแตประถมศึกษาจึงทําใหเ รายืมคําภาษาอังกฤษมาใชใ นลักษณะคําทับศัพทอ ยา งแพรหลาย เชน โฮเตลลอตเตอรี่ เปอรเ ซ็นต บอย โนต กอลฟ ลิฟท สวิตช เบียร ชอลก เบรก กอก เกม เช็ค แสตมป โบนัสเทคนิค เกรด ฟอรม แท็กซ่ี โซดา ปม คอลัมน เปนตน และปจจบุ นั ยังมภี าษาอนั เกดิ จาการใชค อมพิวเตอรจาํ นวนหนง่ึ 4. ภาษาเขมร อาจดวยสาเหตุความเปน เพื่อนบา นใกลเคียงและมีการติดตอกันมาชา นานปะปนอยูในภาษาไทยบา ง โดยเฉพาะราชาศัพทและในวรรณคดีเชน บังคัล กรรไตร สงบ เสวย เสด็จ ถนอม เปนตนกจิ กรรม 1. ใหผูเรียนสังเกตและรวบรวม คําภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาอ่ืนๆ และเราใชกันในการพูดคุยและใชใ นการสือ่ สารมวลชนแลว บันทึกไว เพ่ือนําไปใชใ นการรายงานและการสือ่ สารตอ ไป 2. แบงผูเรียนเปน 2-3 กลุม ออกมาแขงกันเขียนภาษาไทยแทบ นกระดาษกลุม ละ15-20 คํา พรอมกบั บอกขอสงั เกตวา เหตุผลใดจงึ คดิ วา เปน คาํ ไทย
ห น า | 127การสรางคําข้ึนใชในภาษาไทย การสรา งคําในภาษาไทยมีหลายวธิ ี ท้งั วธิ ีเปนของเราแทๆ และวิธีท่ีเรานํามาจากภาษาอ่ืน วิธีท่ีเปนของเราไดแ ก การผันเสียงวรรณยุกต การซํ้าคํา การซอนคําและการประสมคํา เปน ตน สว นวิธีท่ีนํามาจากภาษาอน่ื เชน การสมาส สนธิ การเตมิ อปุ สรรค การลงปจจยั ดงั จะไดก ลา วโดยละเอยี ดตอไปน้ี 1. การผันเสียงวรรณยุกต วิธีการน้ีวรรณยุกตที่ตางออกไปทําใหไ ดค ําใหมเพ่ิมขน้ึ เชน เสอื เส่ือ เสือ้ นา นา นา นอง นอ ง นอ ง 2. การซํ้าคํา คือการสรา งคําดว ยการนําเอาคําที่มีเสียงและความเหมือนกันมาซ้ํากันเพื่อเปลี่ยนแปลงความหมายของคําแตกตางไปหลายลกั ษณะคือ 2.1 ความหมายคงเดมิ เขาก็ซนเหมอื นเดก็ ท่ัวๆ ไปลกู ยังเลก็ อยาใหน ่ังรมิ ๆไมป ลอดภัย 2.2 ความหมายเดนชดั ข้ึน หนกั ขึน้ หรอื เฉพาะเจาะจงขน้ึ กวาความหมายเดมิ สอนเทา ไหรๆ ก็ไมเช่อื กินอะไรๆ ก็ไมอ รอ ย บางคําตองการเนนความของคําใหม ากทีส่ ุดก็จะซ้ํา 3 คําดว ยการเปล่ียนวรรณยุกตของคาํ กลาง เชน ดดี ๊ีดี บางบา งบาง รอรอรอ หลอ ลอหลอ เปนตน 2.3 ความหมายแยกเปนสดั สวนหรอื แยกจาํ นวน เชน เก็บกวาดเปนหอ งๆไปนะ(ทลี ะหอ ง) พูดเปน เรอ่ื งๆ ไป (ทลี ะเรอ่ื ง) 2.4 ความหมายเปน พหูพจนเมื่อซา้ํ คาํ แลวแสดงใหเหน็ วา มีจาํ นวนเพ่มิ ข้ึน เชน เขาไมเ คยกลบั บานเปนปๆ แลว เดก็ ๆ ชอบเลน ซน ใครๆ ก็รู ชา ๆ ไดพ ราสองเลมงาม กนิ ๆ เขา ไปเถอะ จะเห็นวา คําที่ซํ้ากันจะมีทั้งคํานาม กริยา คําสรรพนาม และจะมีการบอกเวลา บอกจาํ นวนดวย 2.5 ความหมายผดิ ไปจากเดมิ หรอื เมอ่ื ซาํ้ แลว จะเกดิ ความหมายใหมห รือมีความหมายแฝง เชน เรอ่ื งหมๆู แบบน้สี บายมาก (เรอ่ื งงายๆ) อยๆู ก็รอ งขนึ้ มา (ไมมีสาเหต)ุ
128 | ห น าจะเห็นไดวาการนําคํามาซํ้ากันน้ันทําใหไดค ําที่มีรูปและความหมายแตกตางออกไป ดังน้ันการสรางคําซา้ํ จงึ เปนการเพม่ิ คาํ ในภาษาไทยใหมีมากขึ้นอยางหนง่ึ3. การซอ นคํา คือการสรางคําโดยการนําเอาคําต้ังแตส องคําข้ึนไปซึ่งมีเสียงตา งกันแตมีความหมายเหมือนกันหรือคลายคลึงกันหรือเปนไปในทํานองเดียวกันมาซอนคูกัน เชน เล็กนอย รักใคร หลงใหลบา นเรือน เปนตน ปกติคําที่นํามาซอนกันน้ันนอกจากจะมีความหมายเหมือนกันหรือใกลเคียงกันแลว มักจะมีเสียงใกลเ คียงกันดวย ทั้งน้ีเพ่ือใหอ อกเสียงไดงา ย สะดวกปาก คําซอ นทําใหเ กิดคําใหมห รือคําที่มีความหมายใหมเ กิดขึน้ ในภาษา ทําใหม ีคําเพ่ิมมากขึน้ ในภาษาไทย อันจะชวยใหการส่ือความหมายและการสื่อสารในชีวิตประจําวันมีประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึน คําที่นํามาซอนกันแลวทําใหเกิดความหมายน้นั แบง เปน2 ลักษณะ คอื 3.1 ซอนคําแลว มีความหมายคงเดิม การซอ นคําลักษณะน้ีจํานําคําท่ีมีความหมายเหมือนกันมาซอนกันเพ่ือไขความหรอื ขยายความซ่ึงกันและกัน เชน วางเปลา โงเ ขลา รูปรา ง ละทิง้ อิดโรย บาดแผล เปนตน 3.2 ซอนคําแลวมีความหมายเปลีย่ นแปลงไปจากเดมิ คําซอ นทเ่ี ปน คําทเ่ี กิดความหมายใหมน ้ีลกั ษณะคอื ก. ความหมายเชงิ อุปมา เชน ยุงยาก ออ นหวาน เบิกบาน เปนตน ข. ความหมายกวา งออก เชน เจบ็ ไข พน่ี อง ทุบตี ฆาฟน เปน ตน ค. ความหมายแคบเขา เชน ใจดาํ ปากคอ ญาตโิ ยม หยิบยืม นํ้าพักนํ้าแรง สม สุกลูกไม เปนตนการแยกลกั ษณะคําซอ นตามลกั ษณะการประกอบคําน้ันจะมีลักษณะคําซอ น 2 คําและคําซอนมามากกวาสองคํา เชน บา นเรือน สวยงาม ยากดีมีจน เจ็บไขไ ดป วย อดตาหลับขับตานอน จับไมไดไ ลไ มทนั เปน ตน4. การสรา งคาํ ประสม การสรางคําขึน้ ใชในภาษาไทยสว นหนง่ึ จะใชว ิธีประสมคําหรือวิธีการสรา งคําประสม โดยการนําเอาคําท่ีมีใชอยูในภาษาไทย ซ่ึงมีรูปคําและความหมายของคําแตกตา งกันมาประสมกันเพื่อใหเกิดคําใหม และมีความหมายใหมในภาษาไทย เชน พัดลม ไฟฟา ตูเย็น พอ ตา ลูกเสือแมน าํ้ เรอื รบ นาํ้ หอม นํา้ แขง็ เมอื งนอก เปน ตนคาํ ทีน่ ํามาประสมกันจะเปน คําไทยกบั คําไทยหรอื คาํ ไทยกับคาํ ตา งประเทศก็ได เชน - คาํ ไทยกับคาํ ไทย โรงเรยี น ลกู เขย ผีเสื้อ ไมเทา เปน ตน - คําไทยกับคาํ บาลี หลกั ฐาน (หลกั คาํ ไทย ฐานคําบาล)ี สภากาชาด พลเมอื ง ราชวงั ฯลฯ - คาํ ไทยกับคําสันสกฤต ทุนทรพั ย (ทนุ คาํ ไทย ทรพั ยค ําสันสกฤต) - คาํ ไทยกบั คาํ จนี เยน็ เจี๊ยบ (เยน็ คําไทย เจยี๊ บคําภาษาจีน) หวย
ห น า | 129 ใตด นิ นายหาง เกง จนี กินโตะ เขาหนุ ฯลฯ- คาํ ไทยกับคาํ เขมร ละเอยี ดลออ (ละเอยี ดคาํ ไทย ลออคําเขมร) ของ ขลงั เพาะชํา นายตรวจ- คาํ ไทยกับคําองั กฤษ เส้อื เช้ติ (เสอ้ื คาํ ไทย เช้ติ คําองั กฤษ) พวงหรดี เหยือกนํ้า ตูเ ซฟ นายแบงค ไขกอก แปป นํ้า ฯลฯ5. การสรางคําไทยโดยการนําวิธีการของภาษาอื่นมาใช การสรา งคําของภาษาอ่ืนท่ีนํามาใชในภาษาไทย ไดแก5.1 การสรางคําของภาษาบาลแี ละสนั สกฤต คือ ก. วิธีสมาส สมาสเปนวิธีสรา งศัพทอ ยางหน่ึงในภาษาบาลี สันสกฤตโดยการนําคําศัพทต ้ังแต2 คําขึ้นไปรวมเปน ศัพทใหมศัพทเดียว จะมีลักษณะคลา ยกับคําประสมของไทย แตค ําสมาสน้ันเปนคําท่ีมาขยาย มักจะอยูห นา คําหลัก สวนคําประสมของไทยน้ันคําขยายจะอยูขา งหลัง เชน คําวามหาบุรุษ คาํ วามหาบุรุษ คําวามหา แปลวา ยิ่งใหญ ซ่ึงเปน คาํ ขยาย จะอยูหนา คําหลกั คือ บรุ ษุ ดงั น้ัน คําวามหาบุรุษ แปลวา บรุ ุษผยู ่งิ ใหญ ซงึ่ ตางจากภาษาไทย ซง่ึ สว นมากจะวางคาํ ขยายไวหลงั คําท่ถี กู ขยายตวั อยา งคาํ สมาสในภาษาไทยพลศึกษา ประวตั ิศาสตร ปรยิ ัติธรรม กามเทพ เทพบุตร สนุ ทรพจน วิศวกรรม วิศวกร อากาศยาน สวสั ดกิ าร คหกรรมศาสตร วิทยาศาสตร วิทยากร พิธีกร ชีพจร มหกรรม ประวัติศาสตร โทรทัศนโทรเลข วารสาร นิตยสาร จุลสาร พิพิธภัณฑ วินาศกรรม อุบัติเหตุ ปญ ญาชน รมณียสถานสังฆทาน กจิ กรม อุทกภัย วทิ ยุศึกษา หตั ถศกึ ษา เปน ตน(ข) วิธีลงอุปสรรค วิธีสรา งคําในภาษาบาลีและสันสกฤตน้ันมีวิธีลงอุปสรรค (หรือบทหนา)ประกอบขางหนาศพั ทเพื่อใหไ ดคําทมี่ ีความหมายแตกตา งออกไป ซึ่งไทยเราไดนํามาใชจาํ นวนมาก เชนอธิ+การ เปน อธกิ าร(ความเปน ประธาน) อนุ+ญาต เปน อนญุ าต (การรบั รู)อธิ+บดี เปน อธบิ ดี (ผเู ปน ใหญ) อน+ุ ทิน เปน อนทุ นิ (ตามวนั ,รายวนั )อป+มงคล เปน อปั มงคล(ไมม ีมงคล) วิ+กฤต เปน วกิ ฤต (แปลกจากเดมิ )อป+ยศ เปน อปั ยศ (ไมม ียศ) ว+ิ เทศ เปน วเิ ทศ (ตางประเทศ) คําที่ลงอุปสรรคดังกลาวน้ีจัดวาเปนคําสมาส ทั้งนี้เพราะวิธีลงอุปสรรคเปนการรวบรวมศัพทภาษาบาลีและสันสกฤตเขาดวยกันและบทขยายจะวางอยูหนา บทที่ถูกขยายในภาษาบาลีและสันสกฤตการลงอปุ สรรคเขาขา งหนา คํา เปนวิธกี ารสมาสวธิ ีหนง่ึ นอกจากนี้ การลงอุปสรรคของภาษาบาลี ถูกนํามาใชในภาษาไทยแลว ไทยเรายังนําวิธีการลงอปุ สรรคมาใชก ับคําไทยและคาํ อนื่ ๆ ในภาษาไทยอกี ดว ย เชน
130 | ห น า สมรู หมายความวา รว มคิดกนั สมทบ หมายความวา รว มเขาดวยกัน ค. การสนธิ การสรางคําในภาษาบาลี สันสกฤต ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปคํา อันเนื่องมาจากการเปลย่ี นแปลงทางเสยี ง ซง่ึ เราเรียกวา “สนธิ” สนธิ เปนการเปล่ียนแปลงเสยี ง การสนธเิ ปนวิธีการสมาส โดยการเชื่อมคําใหกลมกลืนกัน คือทายเสียงคําตน กับเสียงของคําที่นํามาตอ จะกลมกลืนกัน เปน วิธีสรา งคําใหมในภาษาวิธีหน่ึง วิธีสนธิมี 3วธิ ีคือ 1. สระสนธิ คือการรวมเสียงสระตัวทายของคํานําหนากับสระตัวหนา ของคําหลังใหก ลมกลืนสนทิ กันตามธรรมชาติการออกเสยี ง อะ+อ เปน อา เชน สขุ +อภิบาล = สุขาภิบาล อะ+อุ หรอื อู เปน อุ อู หรอื โอ เชน อรณุ +อทุ ัย = อรุโณทัย ราช+อปุ โภค = ราชูปโภค ฯลฯ 2. พยัญชนะสนธิ เปนลักษณะการเชื่อมและกลมกลืนเสียงระหวา งคําที่สุดศัพทดวยพยัญชนะกับคําท่ขี ้นึ ตน ดว ยพยญั ชนะหรอื สระ เม่ือเสยี งอยูใกลกัน เสยี งหนง่ึ จะมอี ทิ ธิพลดึงเสียงพยัญชนะอีกเสียงหนง่ึ ใหมีลกั ษณะเหมอื นหรอื ใกลเคียงกัน พยัญชนะสนธิน้ีจะมีเฉพาะในภาษาสันสกฤตเทาน้ัน ในภาษาบาลีไมม ีเพราะศัพทใ นภาษาบาลีทกุ คาํ ตองสุดศัพทด ว ยสระ ตวั อยา ง เชน ธต เปลย่ี น เปน ทธ เชน พุธ+ต = พุทธ ราชน+บตุ ร = ราชบุตร ไทยใช ราชบุตร กามน-เทว = กามเทว ไทยใช กามเทพ 3. นฤคหติ สนธิ สนธนิ ิคหิตจะมีลักษณะการตอเช่ือมและกลมกลืนเสียงระหวางคําตน ท่ีลงทายดวยนิคหิต กับคําท่ีข้ึนตนดวยสระหรือพยัญชนะนิคหิตเทียบไดกับเสียงนาสิก ดังน้ัน นิคหิตจะกลายเปนนาสิกของพยัญชนะตัวที่ตามมา คือ ง ญ น ณ ม ถาตัวตามนิคหิตอยูวรรคเดียวกับ ง ก็จะเปลี่ยนเปน ง ถาอยูวรรคเดยี วกบั ญ หรอื น หรอื ณ หรอื ม ก็จะเปลย่ี นเปน ญ น ณม ตามวรรค เชน สํ + เกต = สงั เกต (เครื่องหมายรู) สํ + ถาร = สันถาร (การปูลาด) สํ + พนธ = สัมพันธ การนําวิธีการสรา งคําแบบคําสมาส คําลงอุสรรคและวิธีสนธิในภาษาบาลีสันสกฤตมาใชใ นภาษาไทย ถอื วา เปนการสรางคําหรอื เพิ่มคําในภาษาไทยมีมาก
ห น า | 1315.2 การสรา งคําของภาษาเขมร ไทยไดนําเอาวิธีสรา งคําของเขมรคือการแผลงคํามาใชในภาษาไทย ซง่ึ วธิ ีแผลงคาํ ในภาษาเขมรมหี ลายวธิ ีแตไ ทยเรานํามาใชบางวธิ เี ทาน้ันคําแผลง คือ คําที่เปล่ียนแปลงตัวอักษรใหม ีรูปลักษณะตา งไปจากคําเดิมแตย ังคงรักษาความหมายเดมิ หรอื เคา เดมิ เอาไวใ หพ อสงั เกตไดวิธแี ผลงคําในภาษาไทย ท่ีนํามาจากภาษาเขมรบางวิธคี อื1. ใชว ธิ ีเติม อํา ลงหนา คําแผลงใหมแ ตค งรปู สระเดมิ ไวท ีพ่ ยางคห ลงั เชนตรวจ เปน ตาํ รวจ เกดิ เปน กําเนิดเสรจ็ เปน สาํ เรจ็ เสยี ง เปน สาํ เนยี ง2. ใชว ิธีเติมอุปสรรค (หนวยหนาศัพท) บํ (บ็อม) ลงหนา คําแผลงสวนใหญไทยนาํ เอามาออกเสยี งบงั บนั บํา เชนเกดิ ลงอปุ สรรค บํ เปน บํเกดิ ไทยใชบงั เกิดดาล ลงอปุ สรรค บํ เปน บํดาล ไทยใชบนั ดาลการแผลงคําเปนวิธีสรางคําข้ึนใชใ นภาษาวิธีหน่ึงซึ่งไทยเอาแบบอยา งมาจากภาษาเขมรและภาษาอน่ื เชน ภาษาบาลี สันสกฤต เชนอายุ เปน พายุ อภริ มย เปน ภริ มยไวปลุย เปน ไพบูลย มาต เปน มารดาการแผลงคําของภาษาบาลี สันสกฤต สว นใหญเพ่อื จะไดออกเสยี งในภาษาไทยไดง ายและไพเราะขน้ึศพั ทบัญญัติ ศพั ทบญั ญตั ิ หมายถงึ คาํ เฉพาะวงการหรอื คาํ เฉพาะวชิ าที่ผูคิดขน้ึ เพือ่ ใชส ื่อความหมายในวงการอาชีพหรือในวิชาการแขนงใดแขนงหน่ึงโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพราะการศึกษาของเราไดข ยายตัวกวางขวางมากขึน้ การศึกษาจากตา งประเทศก็มีมากขึ้น เราตองรับรูค ําศัพทของประเทศเหลาน้ันโดยเฉพาะคําศัพทภาษาอังกฤษ ปจจบุ นั มีศัพทบญั ญตั ทิ ่ใี ชกนั แพรห ลายโดยทัว่ ไปจาํ นวนมากซ่งึ ผเู รยี นคงจะเคยเหน็ และเคยไดฟ งจากสอ่ื มวลชน ซึง่ จะเปนคําศพั ทเก่ยี วกบั ธรุ กิจ กฎหมาย วทิ ยาศาสตร ฯลฯ จะขอยกตัวอยางเพยี งบางคําดงั น้ี สินเช่อื Credit หมายถึง เงนิ ทเ่ี ปนหนไ้ี วด ว ยความเช่ือถือ เงนิ ฝด Deflation หมายถึง ภาวะเศรษฐกิจท่ีมีปริมาณเงินหมุนเวียน ในประเทศมีนอ ย การใชจ ายลดนอ ยลงทาํ ใหสนิ คา ราคาตก
132 | ห น าเงนิ เฟอ Inflation หมายถึง ภาวะเศรษฐกิจท่ีปริมาณเงินหมุนเวียนใน ประเทศมีมากเกินไป ทําใหราคาสินคา แพงและเงินเสื่อมคาทุนสาํ รอง ตกตํ่า ปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศมีนอยการใชจ ายทนุ สํารองเงนิ ตรา ลดนอ ยลง ทําใหสนิ คาราคาตกเงนิ ปน ผล Reserve fund หมายถึง เงินท่ีกันไวจากผลกําไรของกลอ งโทรทรรศน หางหุนส วนบริษัทตามที่กําหนดไวใ นก ฎหมาย หรือขอ บังคับกลอ งจลุ ทรรศน ของหา งหุน สว น บรษิ ัทนน้ั ๆจรวด Reserve หมายถึงทองคํา เงินตราตางประเทศหรือหลักทรัพยขปี นาวธุ ตางๆ ซึ่งใชเ ปนประกนั ในการออกธนบตั รหรอื ธนาคารบตั ร Dividend หมายถงึ สว นกําไรทบี่ ริษทั จํากัดจา ยใหแ กผูถ อื หุนจรวดนาํ วิถี Telescope กลอ งท่ีสอ งดูทางไกล Microscope กลองขยายดูของเลก็ ใหเหน็ เปนใหญ Rocket หมายถึง อาวุธหรือยานอวกาศที่ขับเคลื่อนดว ย ความเร็วสูงโดยไดเชื้อเพลิงในตัวเองเผาไหมเปน แกส พุง ออกมา จากสวนทา ยมที ้ังชนดิ ทใ่ี ชเชอ้ื เพลงิ แขง็ และชนดิ เชอ้ื เพลงิ เหลว Missile หมายถึง อาวุธซึ่งถูกสง อกไปจากผิวพิภพเพ่ือใช ประหัตประหารหรือทําลายในสงคราม โดยมีการบังคับทิศทาง ในตัวเอง เพ่ือนําไปสูเปา หมายการบังคับทิศทางนีบ้ ังคับเฉพาะ ตอนข้ึนเทานน้ั Guided Rocket หมายถึง ขีปนาวุธนําวิธีซึ่งขับเคลื่อน ดวยจรวดจานบิน Flying Saucer หมายถึง วัตถุบิน ลักษณะคลา ยจาน 2 ใบดาวเทยี ม ควํ่ าป ร ะ ก บ กัน มีผู อ า ง ว า เ คย เ ห็น บิ นบ นท อ งฟ า แล ะมี บ าง ค น เชื่อวาเปน ยานอวกาศมาจากนอกโลกหรือจากดาวดวงอ่ืน บาง คร้ังก็เรียกวา จานผี Satellite หมายถึง วัตถุท่ีมนุษยส รา งข้ึนเลียนแบบดาวบริวาร ของดาวเคราะห เพ่ือใหโ คจรรอบโลกหรือรอบเทหฟากฟาอ่ืน มีอุปกรณโทรคมนาคมดวย เชน การถายทอดคลื่นวิทยุและ โทรทัศนข ามประเทศขามทวปี เปน ตน
ห น า | 133แถบบันทึกเสยี ง Audiotape หมายถึง แถบเคลือบสารแมเหล็กใชบ ันทึก สญั ญาณเสยี งแถบบันทึกภาพ,แถบวีดิทัศน Videotape หมายถึง แถบเคลือบสารแมเหล็กใช บันทึกสัญญาณภาพโลกาววิ ัตน Globalization หมายถงึ การทาํ ใหแพรหลายไปทัว่ โลก คาํ ศัพทบ ัญญัติที่ยกมาลว นมีความหมายท่ีตองอธิบายและมักจะมีความหมายเฉพาะดานท่ีแตกตางไปจากความเขาใจของคนทัว่ ไป หากผูเ รียนตอ งการทราบความหมายท่ีถูกตองควรคนควา จากพจนานุกรมเฉพาะเร่ือง เชน พจนานุกรมศัพทแพทย พจนานุกรมศัพทธ ุรกิจ พจนานุกรมชางและพจนานุกรมศัพทก ฎหมาย เปน ตน หรือติดตามขา วสารจากส่ือตางๆท่ีมีการใชค ําศัพทเ ฉพาะดา นจะชวยใหเ ขาใจดีขนึ้ เพราะคําศัพทบญั ญตั เิ หมาะสมทีจ่ ะใชเฉพาะวงการและผมู ีพื้นฐานพอเขาใจความหมายเทานัน้กิจกรรม 1. ใหผ ูเ รียนรวบรวมคําศัพทบัญญัติจากหนังสือพิมพแ ละหนังสืออ่ืนๆ แลว บันทึกไวในสมุดเพอ่ื จะไดนาํ ไปใชใ นการพูดและเขยี นเม่ือมีโอกาส 2. ผสู อนยกคํามาถามที่เหน็ สมควรใหผูเ รยี นชว ยกนั แยกวาเปนคําสมาสหรอื คําประสม ประโยคในภาษาไทย ประโยคตอ งมีความครบ สมบูรณ ใหรูวา ใครทําอะไร หรือกลา วอีกอยา งหนง่ึ วา ประโยคตอ งประกอบดว ยประธานและกริยาเปน อยา งนอย เราสามารถแยกประโยคไดเ ปน 3 ชนดิ คือ ก. ประโยคแจง ใหท ราบ หรือประโยคบอกเลา ประโยคชนิดน้ีอาจจะเปน ประโยคส้ันๆ มีเพียงคาํ นามทําหนา ทป่ี ระธาน คํากริยาทําหนาที่เปนตัวแสดง เชน คนเดิน นกบิน แตบางทีอาจจะเปน ประโยคยาวๆ มคี วามสลบั ซบั ซอ นย่งิ ข้นึ ซง่ึ มคี ํานาม คํากรยิ า หลายคํา กไ็ ด ถา ประโยคแจง ใหท ราบนนั้ มเี นือ้ ความปฏิเสธก็จะมีคําปฏิเสธ เชน ไมมี หามิได อยูดวย เชน เขาไมม ารวมประชุมในวนั น้ี ข. ประโยคถามใหตอบหรอื ประโยคคาํ ถาม เปนประโยคที่ผูพูดใชถามขอความเพื่อใหผูฟ งตอบรูปประโยคคําถามจะมีคํา หรือไหม ใคร อะไร ท่ีไหน ก่ี เมื่อไร อยางไร ฯลฯ แตถา ประโยคถามใหตอบเปนประโยคถามใหต อบท่ีมีเนอ้ื ความปฏิเสธก็จะมคี ําปฏิเสธอยดู ว ย
134 | ห น าค. ประโยคบอกใหท ําหรือประโยคคําส่ัง เปนประโยคที่ผูพูดใชเ พ่ือใหผูฟ งกระทําอาการบางอยางตามความตองการของผูพูด การบอกใหผูอ ่ืนทําตามความตอ งการของตนน้ันอาจตอ งใชวิธีขอรอ งออนวอน วงิ วอน เชญิ ชวน บังคับ ออกคําสัง่ ฯลฯการเรียงลําดับในประโยคการเรียงลําดับในภาษาไทยมีความสําคัญมากเพราะถา เรียงลําดับตางกันความสัมพันธของคาํ ในประโยคจะผิดไป เชนสนุ ขั กดั งู สุนัขเปน ผทู าํ งูเปนผูถ ูกกระทํางูกัดสนุ ขั งเู ปน ผูท าํ สนุ ัขเปน ผูถ ูกกระทําโครงสรา งของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบง เปน 3 ชนดิ คอื ก. ประโยคความเดยี ว คอื ประโยคทีม่ งุ กลา วถงึ สิ่งใดสิง่ หน่ึงเพียงส่ิงเดียวและส่ิงน้ันแสดงกิริยาอาการหรอื อยใู นสภาพอยา งใดอยา งหนง่ึ แตเ พยี งอยา งเดียว ประโยคความเดยี วแบงออกเปนสว นสําคัญ 2สว น คอื ภาคประธานและภาคแสดง เชน ผูหญิงชอบดอกไม ถึงแมจ ะมีรายละเอียดเขาไปในประโยค ก็ยังเปน ประโยคความเดียว เชน ผูหญงิ คนนนั้ ชอบดอกไมส วย ข. ประโยคความซอ น คือ ประโยคความเดียวท่ีเพิ่มสวนขยายภาคประธานหรือภาคแสดงดว ยประโยค ทําใหโครงสรา งของประโยคเปลีย่ นไปแตถ าประโยคที่เพ่ิมข้ึนน้ันเปนประโยคชวยจํากัดความหมายของคาํ ถามหรอื คาํ กริยา ก็เปน ประโยคซอ น เชน ผหู ญงิ ทีน่ ่งั ขางๆ ฉันชอบดอกไมท อี่ ยูใ นแจกนั ประโยคท่ีชว ยจํากัดความหมายของคํานาม “ดอกไม” คือประโยคท่ีวา “ท่ีอยูในแจกัน” เปน ตน ค. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่มสี ว นขยายเพ่ิมขึ้นและสวนที่ขยายสัมพันธก ับประโยคเดิมโดยมีคําเชื่อม และ แตถา ฯลฯ อยูขา งหนาหรืออยูข างในประโยคเดิมหรือประโยคที่เพิ่มขึ้น ทําใหรูวาประโยคทัง้ สองสัมพนั ธก ันอยางไร เชน ผหู ญงิ ชอบดอกไมส ว นเดก็ ชอบของเลน เปน ประโยคความรวม ประโยคท่เี พมิ่ ขนึ้ และสมั พนั ธกบั ประโยคเดมิ โดยมคี ําเชอ่ื ม “สว น” มาขางหนาคือประโยค “เด็กชอบของเลน ” เปนตน
ห น า | 135เรื่องที่ 2 ถอยคําสํานวน สภุ าษติ คาํ พงั เพย 1. ถอยคําภาษาไทยมีลักษณะพิเศษหลายประการ สามารถเลือกใชใหเหมาะสมในการสื่อสาร เพ่อื ความเขา ใจในสง่ิ ตางๆ ไดอยางชดั เจน และตรงเปา หมาย 2. ถอยคาํ ภาษาไทยมีลกั ษณะเปน ศิลปะท่มี ีความประณตี สละสลวย ไพเราะ ลกึ ซ้งึ นาคิด นา ฟงรน่ื หู จงู ใจ และหากนาํ ไปใชไ ดเ หมาะกับขอความเรอ่ื งราวจะเพ่ิมคุณคาใหขอความหรือเรือ่ งราวเหลา น้ันมนี าํ้ หนกั นาคิด นา ฟง นา สนใจ นาตดิ ตามย่งิ ขน้ึ 3. ถอ ยคําภาษาไทย ถา รูจักใชใ หถ ูกตองตามกาลเทศะและบุคคลนับวา เปน วัฒนธรรมอันดีงามของชาตแิ ละของผูปฎิบัติถอ ยคําสํานวน ถอยคําสํานวนหมายถึง ถอยคําท่ีเรียบเรียง บางทีก็ใชวา สํานวนโวหาร คําพูดของมนุษยเ ราแยกออกไปอยา งกวางๆ เปน 2 อยา ง อยา งหนง่ึ พูดตรงไปตรงมาตามภาษาธรรมดา พอพูดออกมาก็เขาใจทันทีอกี อยางหนง่ึ พดู เปนเชงิ ไมตรงไปตรงมา แตใหม ีความหมายในคําพูดน้ันๆ คนฟง เขา ใจความหมายทันทีถาคําพูดน้ันใชก ันแพรหลาย เชน คําวา “ปากหวาน” “ใจงาย” แตถา ไมแพรห ลายคนฟง ก็ไมอาจเขา ใจทันที ตองคิดจงึ จะเขาใจหรอื บางทคี ิดแลว เขา ใจเปนอยา งอืน่ ก็ไดห รอื ไมเ ขา ใจเอาเลยก็ไดคําพูดเปน เชิงน้ี
136 | ห น าเราเรียกวา “สํานวน” การใชถอยคําที่เปนสํานวนน้ัน ใชในการเปรียบเทียบบาง เปรียบเปรยบา ง พูดกระทบบา ง พูดเลนสนกุ ๆ บา ง พูดเตอื นสติใหไดคิดบา ง สํานวนไทย หมายถงึ ถอ ยคําที่เรียบเรียงไวตายตัว เนือ่ งจากใชกันมาจนแพรห ลายอยูตัวแลว จะตดั ทอนหรอื สลับท่ีไมไ ด เชน สาํ นวนวา “เกบ็ เบ้ียใตถ นุ รา น”หมายความวาทํางานชนิดท่ีไดเงินเล็กนอยก็เอา ถา เราเปลี่ยนเปน “เก็บเงินใตถ ุนบาน” ซ่ึงไมใ ชสํานวนที่ใชก ัน คนฟง อาจไมเขาใจหรือเขา ใจเปนอยางอ่นื เชน เกบ็ เงนิ ฝง ไวใตถุนบา น ลักษณะชองสํานวนไทย 1. สํานวนไทยมีลักษณะท่ีมีความหมายโดยนัย โดยปกติความหมายของคํามีอยา งนอย 2ประการ คือ 1.1 ความหมายโดยอรรถ ไดแก ความหมายพื้นฐานของคําน้ันๆ โดยตรงเชน คําวา “กิน”ความหมายพ้นื ฐานทที่ ุกคนเขาใจกค็ ืออาการที่นาํ อะไรเขาปากเคี้ยวแลวกลืนลงไปในคอ เชน กินขาว กินขนม เปน ตน 1.2 ความหมายโดยนยั ไดแ ก การนําคํามาประกอบกันใชใ นความหมายท่ีเพิม่ จากพื้นฐานเชน คําวา กนิ ดบิ - ชนะโดยงา ยดาย กนิ โตะ - รมุ ทําราย กนิ แถว - ถูกลงโทษทุกคนในพวกนนั้ กินปรู อ นทอ ง - ทาํ อาการพริ ธุ ขนึ้ เอง 2. สํานวนไทยมีลักษณะมีความหมายเพื่อใหตีความ มีลักษณะติชมหรือแสดงความเห็นอยูในตวั เชน เกลอื เปน หนอน กนิ ปนู รอ นทอง ตกบนั ไดพลอยโจน งมเขม็ ในมหาสมุทร เปนตน 3. สํานวนไทย มีลกั ษณะเปน ความเปรยี บเทยี บหรือคําอุปมา เชน ใจดําเหมือนอีกา เบาเหมือนปยุ นุน รกั เหมอื นแกวตา แขง็ เหมอื นเพชร เปนตน 4. สํานวนไทยมีลักษณะเปนคําคมหรือคํากลาว เชน หนา ชื่นอกตรม หาเชา กินค่ํา หนาซื่อใจคดเปน ตน 5. สํานวนไทย มีลักษณะเปนโวหารมีเสียงสัมผัสคลองจองกัน หรือบางทีก็ยํ้าคํา เชน ชาวแดงแกงรอน ขุนขอ งหมองใจ จับมือถือแขน บนบานศาลกลาว กินจุบกินจิบ ประจบประแจง ปากเปยกปากแฉะ อ่ิมอกอิม่ ใจ เปนตนตัวอยา งสํานวนไทย
ห น า | 137 1. สํานวนท่ีมีเสียงสัมผัส สํานวนเหลาน้ีมักจะมีจํานวนคําเปนจํานวนคู ต้ังแต 4 คําจนถงึ 12 คําดงั น้ี 1.1 เรยี ง 4 คาํ เชน ขาวแดงแกงรอ น คอขาดบาดตาย โงเ งาเตาตนุ ฯลฯ 1.2 เรยี ง 6 คํา เชน คดในขอ งอในกระดูก ยุใหราํ ตาํ ใหร ั่ว นกมีหหู นมู ปี ก ฯลฯ 1.3 เรียง 8 คําเชน กินอยูกับปาก อยากอยูกับทอง ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง ,ความรูท วมหวั เอาตวั ไมรอด เปนตน 1.4 เรียง10 คํา เชน คนรักเทา ผืนหนัง คนชังเทาผืนส่ือ คบคนใหดูหนาซอื้ ผา ใหดูเนอื้ ดกั ลอบตองหมน่ั กู เจาชูตองหัน่ เก้ยี ว เปน ตน 1.5 เรียง 12 คํา เชน ปลูกเรือนตามใจผูอยู ผูกอูต ามใจผูนอน มีเงินเขานับเปนนอง มีมองเขานบั เปนพ่ี เลน กบั หมาหมาเลยี ปาก เลนกบั สากสากตอ ยหวั 2. สาํ นวนท่ไี มม เี สยี งสมั ผสั สาํ นวนเหลาน้ีมีมากมาย สว นมากมี่ต้ังแต 2 คําข้ึนไป จนถึง 8 คํา เชน 2.1 เรยี ง 2 คาํ เชน กนั ทา แกเผ็ด เขา ปง ตกหลมุ ตายใจ ฯลฯ 2.2 เรยี ง 3 คํา กวา งขวางคอ เกลอื เปนหนอน คลมุ ถงุ ชน ควา น้ําเหลว ฯลฯ 2.3 เรยี ง 4 คาํ เชน ก่ิงทองใบหยก กิง้ กา ไดทอง กินปูรอนทอ ง น้ําผึ้งหยดเดียว นอนตายตาหลบั ขา วใหมปลามัน เปนตน 2.4 เรยี ง 5 คาํ เชน ขนหนาแขงไมรว ง ตีงูใหหลงั หกั จบั ปูใสก ระตงั ฯลฯ 2.5 เรียง 6 คํา เชน กลืนไมเขา คายไมอ อก น้ิวไหนรา ยตัดน้ิวน้ัน บา นเมืองมีข่ือมีแปพลิกหนามือเปนหลงั มอื 2.6 เรยี ง 7 คาํ เชน กนิ บนเรอื นขร้ี ดหลังคา นกนอยทํารังแตพ อตัว ตําน้ําพริกละลายแมนํ้าสบิ ปากวาไมเ ทาตาเหน็ เรอ่ื งข้หี มรู าขห้ี มาแหง ฯลฯ สํานวน หมายถึง กลุมของวลี คําหรือกลุมคําท่ีนํามาใชใ นความหมายที่แตกตางไปจากความหมายเดมิ ความหมายท่ีเกิดขึน้ มักจะเปน ความหมายในเชิงอุปมา หรือเชิงเปรียบเทียบ ไมไ ดใหค ติธรรมแตจะเปน ความหมายท่ีกระชับและลึกซึ้ง เชน สํานวนวา เรื่องกลว ยๆ คําวา กลวยๆ ไมไ ดห มายถึงผลไมแตห มายถึง งา ยๆ เรื่องไมย ากเปน เรื่องงา ยๆ สํานวนภาษไทยอาจจะประกอบคําตัง้ แต 1 คําข้ีนไปจึงถึงหลายคาํ หรอื เปนกลุมตวั อยา งเชน ปากหวาน = พูดเพราะ ลกู หมอ = คนเกาของสถานทีใ่ ดสถานทหี่ นึ่ง หญา ปากคอก = เรอ่ื งงา ยๆท่ีคดิ ไมถึง
138 | ห น า กงกรรมกงเกวียน = กรรมสนองกรรม พกหนิ ดกี วาพกนุน = ใจคอหนกั แนนดกี วาหเู บา การใชสํานวนไปประกอบการสื่อสารน้ัน ผูใ ชตอ งรูค วามหมายและเลือกใชใหเหมาะสมกบั เพศ โอกาส และสถานการณ เชน เฒา หวั งู = มักจะใชเปรียบเทียบ หมายถึงผูช ายเทานั้น ไกแ กแ มป ลาชอ น = มกั ใชเ ปรยี บเทียบกับผูหญงิ เทานั้น ขบเผาะ = มักใชกับผูหญงิ เทาน้นั ไมใ ชก บั ผชู าย คําพังเพย มีความหมายลึกซึ้งกวาสํานวน ซึ่งจะหมาถึงถอยคําท่ีกลา วข้ึนมาลอยๆเปน กลางๆ มีลักษณะติชมหรือแสดงความเห็นอยูใ นตัว มีความหมายเปนคติสอนใจคําพังเพยเมื่อนําไปตีความแลวสามารถนาํ ไปใชประกอบการพดู หรอื เขยี นใหเหมาะสมกับเรอ่ื งท่เี ราตอ งการถา ยทอดหรือส่ือความหมายในการสอื่ สาร เชน ช้ีโพรงใหกระรอก = การแนะนาํ ใหค นอ่นื ทาํ ในทางไมด ี ปลกู เรอื นตามใจผอู ยู = จะทาํ อะไรใหคิดถงึ ผทู ีจ่ ะใชสง่ิ นั้น ราํ ไมด ีโทษปโ ทษกลอง = คนทาํ ผิดไมยอมรับผดิ กลบั ไปโทษคนอ่ืนนอกจากน้ยี ังมีคาํ พังเพยอกี มากทีเ่ ราพบเหน็ นาํ ไปใชอยเู สมอ เชน กําแพงมหี ปู ระตูมีชอ ง เหน็ กงจักรเปน ดอกบวั ทํานาบนหลงั คน เสยี นอยเสยี ยากเสยี มากเสยี งาย ฯลฯ สุภาษิต หมายถึง คํากลา วดี คําพูดที่ถือเปน คติ เพ่ืออบรมสั่งสอนใหท ําความดีละเวน ความชั่วสุภาษิต สวนใหญม ักเกดิ จากหลกั ธรรมคําสอน นทิ านชาดก เหตุการณห รอื คําสง่ั สอนของบุคคลสําคัญซ่ึงเปน ที่เคารพนับถอื เลอ่ื มใสของประชาชน ตวั อยาง เชน ตนแลเปน ท่พี ึ่งแหงตน ทําดีไดด ี ทําชวั่ ไดชว่ั ท่ใี ดมีรกั ท่ีนนั่ มีทุกข หวานพชื เชนไร ยอมไดผลเชน นั้น ความพยายามอยูทไ่ี หน ความสําเรจ็ อยูทน่ี ้นั ใจเปน นายกายเปน บา ว ฯลฯ การนาํ สาํ นวน คําพังเพย สภุ าษิตไปใชประกอบการถา ยทอดความรูค วามคิดอารมณค วามรูส ึกในชีวิตน้ัน คนไทยเรานิยมนําไปใชกันมาก ท้ังนี้เพราะสํานวน สุภาษิต คําพังเพย มีคุณคาและความสําคัญคือ
ห น า | 139 1. ใชเ ปน เครอ่ื งมอื อบรมสั่งสอน เยาวชนและบุคคลทัว่ ไปใหป ฏบิ ตั ิดี ปฏิบัติชอบในดา นตางๆเชน การพูด การถา ยทอดวัฒนธรรม การศึกษาเลาเรียน การคบเพื่อน ความรักการครองเรอื นและการดาํ เนนิ ชวี ิตดา นอน่ื ๆ 2. ถอ ยคําสํานวน คําพังเพย สุภาษิต สะทอนใหเ ห็นสภาพการดําเนินชีวิตความเปน อยูของคนสมัยกอ นจนถึงปจ จบุ นั ในดานสังคม การศึกษา การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ นสิ ยั ใจคอและอื่นๆ 3. สะทอ นใหเหน็ ความเชอ่ื ความคิด วสิ ัยทศั นของคนสมัยกอ น 4. การศึกษาสาํ นวน คาํ พังเพย สภุ าษติ ชวยใหม ีความคิด ความรอบรู สามารถใชภ าษาไดดีและเหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะและบุคคล กอปรท้ังเปนการชวยสืบทอดวัฒนธรรมทางภาษาไวใหค งอยูค ูชาติไทยตลอดไปกิจกรรม ใหผ ูเรียนรวบรวม สํานวน คําพังเพย สุภาษิต จากหนังสือและแหลง ความรูอ ่ืนๆ พรอ มศึกษาความหมายใหเขา ใจ เพ่อื นาํ ไปใชใ นการรายงาน การพูด การเขยี น ในชีวิตประจาํ วนัเรอื่ งท่ี 3 การใชพ จนานุกรมและสารานุกรมความสาํ คัญของพจนานกุ รม พจนานุกรมเปน หนังสืออางอิงที่สําคัญและเปน แบบฉบับของการเขียนหนังสือไทยในทางราชการและโรงเรียน เพ่ือใหก ารเขียนหนังสือไทยมีมาตรฐานเดียวกันไมลักล่ันกอ ใหเกิดเอกภาพ ทางภาษา อนั เปนวฒั นธรรมสว นหนง่ึ ของชาติไทย ตามปกติแลว เราจะเปด ใชเ ม่ือเกิดความสงสัยใครร ูใ นการ
140 | ห น าอา น เขียน หรือแปลความหมายของสํานวน หากเปด ใชบอยๆจะเกิดความรูค วามชํานาญ ใชไ ดรวดเร็วและถกู ตองความหมายของพจนานกุ รม คําวา พจนานุกรม เทียบไดก ับคําภาษาอังกฤษคือ Dictionary พจนานุกรม หมายถึง หนังสือรวบรวมถอ ยคาํ และสาํ นวนทใ่ี ชอยูในภาษาโดยเรียงลําดับตามอักษรแรกของคํา เร่ิมต้ังแตค ําท่ีข้ึนทายตนดวย ก.ไก ลําดบั ไปจนถึง คาํ ทีข่ ึ้นตน ดวย ฮ.นกฮกู ซง่ึ แตล ะคําพจนานกุ รมจะบอกการเขียนสะกดการันตบางคําจะบอกเสียงอา นดวย หากคําใดที่มีมาจากภาษาตางประเทศก็จะบอกเทียบไว บางคํามีภาพประกอบเพื่อเขาใจความหมายย่ิงข้ึน และสิ่งที่พจนานุกรมบอกไวทุกคําคือ ชนิดของคําตามไวยากรณก บั ความหมายของคาํ นน้ั ๆ พจนานุกรมจึงทําหนาที่เปนแหลงเรียนรูทางภาษาคอยใหความรูเกี่ยวกับการอาน การเขียนและบอกความหมายของถอ ยคาํ สาํ นวนใหเปน ทเี่ ขา ใจอยา งส้ัน งา ย รวบรดั หนังสือพจนานุกรมภาษาไทยฉบับที่ไดม าตรฐานและเปนที่ยอมรับทั่วไปคือ พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑติ ยสถานฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2525 และฉบบั ปรบั ปรงุ ป 2542 พจนานกุ รมจะเรยี งคําตามอักษรตวั แรกของคํา โดยลําดบั ตั้งแต ก.ไก ไปจนถึง ฮ.นกฮกู จงลาํ ดับคาํ 5 คํา ตอ ไปน้ตี ามหลักพจนานกุ รม หมู แมว เปด ไก นก (ถา เรยี งไมไ ดใหเปด พจนานกุ รมดูหรอื ถามผรู ู)วธิ ีใชพจนานกุ รม พจนานุกรมจัดเปนหนังสือประเภทไขขอ ขอ งใจทางภาษา ตามปกติแลว เราจะเปด ใชเ มื่อเกิดความสงสัยใครรใู นการอาน เขยี น หรอื แปลความหมายของถอ ยคาํ สาํ นวณ หากเปดบอ ยๆจะเกิดความคลองแคลว รวดเรว็ และถูกตอ ง
ห น า | 141ถาเปรียบเทียบวิธีใชพ จนานุกรมกับการพิมพด ีด วายน้าํ ขับรถ ทอผา หรือทํานา ก็คงเหมือนกันคือ ฝก บอยๆ ลงมือทําบอยๆ ทําเปน ประจาํ สม่ําเสมอ ไมชาจะคลองแคลวโดยไมรูต วัการใชพ จนานกุ รมจงึ ไมใชเรอ่ื งยากเยน็ อะไรขอแนะนาํ ขนั้ ตอนงายๆดงั น้ีข้ันท่ี 1 หาพจนานุกรมมาใชใ นมือหนึ่งเลม เปด อานคํานําอยา งละเอียด เราตอ งอานคํานําเพราะเขาจะอธิบายลกั ษณะและวธิ ีใชพจนานกุ รมเลมนนั้ อยางละเอยี ดขัน้ ท่ี 2 ศึกษารายละเอียดตางๆทจ่ี าํ เปนตองรู เพอื่ ความสะดวกในการเปดใช เชน อักษรยอ คํายอเปน ตน เพราะเมื่อเปดไปดูคาํ กบั คาํ หมายแลว เขาจะใชอ ักษรยอตลอดเวลาโปรดดูตัวอยา งจากพจนานุกรมฉบั บ รา ชบั ณฑิ ตย ส ถา น ฉบั บป รั บ ปรุ ง พุ ทธ ศั ก รา ช 2525หนา 9-10อกั ษรยอ ทใี่ ชพจนานุกรม(1) อักษรยอ ในวงเลบ็ (...) บอกที่มาของคาํ(2) อักษรหนาบทนิยาม บอกชนดิ ของคําตามหลักไวยากรณ(3) อักษรยอในวงเลบ็ หนาบทนิยาม บอกลกั ษณะของคําท่ีใชเ ฉพาะแหง(4) อักษรยอ หนงั สอื อางอิง(5) คาํ วา ” ดู” ท่ีเขยี นตอทา ยคาํ หมายความวาใหเปดดูในคําอนื่ เชน กรรม ภริ มย ดูกรรภริ มยบญั ชีอกั ษรยอท่ใี ชในพจนานุกรมนี้(1) อักษรยอในวงเลบ็ บอกท่ีมาของคํา :- ข = เขมร ต = ตะเลง ล = ละตนิ จ = จนี บ = เบงคอลี ส = สันสกฤต ช = ชวา ป = ปาล(ิ บาล)ี อ = องั กฤษ ญ = ญวน ฝ = ฝรัง่ เศษ ฮ = ฮนิ ดู ญ = ญปี่ นุ ม = มาลายู(2) อักษรยอหนา บทนิยาม บอกชนดิ ของคําตามไวยากรณ คือ :- ก. = กริยา ว. = วเิ ศษณ (คณุ ศพั ทหรอื กริยาวิเศษณ) น. = นาม ส. = สรรพนาม นิ = นิบาต สัน = สันธาน บ. = บุรพบท อ. = อุทาน(3) อักษรยอในวงเลบ็ หนา บทนิยาม บอกลักษณะของคําทใ่ี ชเ ฉพาะแหง คอื :-
142 | ห น า (กฎ) คอื คาํ ทใ่ี ชในกฎหมาย (กลอน) คือ คาํ ที่ใชใ นบทรอยกรอง (คณิต) คือ คําทใี่ ชใ นคณิตศาสตร (จรยิ ) คอื คําทใ่ี ชใ นจรยิ ศาสตร (ชวี ) คือ คาํ ท่ีใชใ นชวี วทิ ยา (ดารา) คือ คําทใ่ี ชในดาราศาสตร (ถนิ่ ) คือ คาํ ท่ีภาษาเฉพาะถ่ิน (ธรณี) คือ คาํ ที่ใชใ นธรณีวทิ ยา (บัญช)ี คอื คําท่ใี ชใ นการบัญชี (แบบ) คือ คําท่ีใชเฉพาะในหนงั สอื ไมใชค าํ ท่ัวไป เชน กนก ลปุ ต ลุพธ (โบ) คือ คาํ โบราณ (ปาก) คอื คาํ ทเ่ี ปน ภาษาปาก (พฤกษ) คอื คําท่ใี ชในพฤกษศาสตร(4) อักษรยอหนงั สอื ทีอ่ า งอิงมดี งั น้ี คอื :-กฎมนเทียรบาล ในกฎหมายราชบุรี : หนังสือกฎหมาย พระนิพนธในกรมหลวง ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ฉบับโรงพิมพก องลหุโทษ ร.ศ. 120กฎ.ราชบุรี : หนังสือกฎหมาย พระราชนิพนในกรมหลวง ราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ฉบับฉบับโรงพมิ พ กองลหโุ ทษ ร.ศ. 120กฎหมาย : หนงั สอื เรอ่ื งกฎหมายเมืองไทย หมอปรดั เลพิมพ จ.ศ. 1235กฐินพยหุ : ลิลติ กระบวนแหพระกฐนิ พยุหยาตรา พระนพิ นธใ นสมเดจ็ พระมหาสมณเจา กรมพระปรมมานุชติ ชโิ นรส. ฯลฯ
ห น า | 143 ขนั้ ท่ี 3 ศึกษาวธิ ีเรยี งคาํ ตามลําดับพยญั ชนะตวั แรกของคํา คอื เรยี ง ก.ไก ไปจน ฮ.นกฮูก สังเกตวาเขาเรียงไวอยางไร ลักษณะพิเศษท่ีแปลกออกไปคือ ตัว ฤ.ฤๅ. จะลําดับไวห ลังตัว ร.เรือ สว น ฦ.ฦๅ จะอยูหลังตัว ล.ลิง และหากคําใดใชพ ยัญชนะเหมือนกัน เขาก็ลําดับ โดยพิจารณารูปสระพิเศษอกี ดวย การลําดับคําตามรปู สระก็มลี กั ษณะท่ตี อ งสนใจเปนพเิ ศษ เขาจะเรยี งคําตามรปู ดงั น้ี คําที่ไมม ีรปู สระมากอ น แลวตอ ดวยคําทีม่ รี ปู สระ -ะ -า -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู เ-ะ เ- เ -ะื เ -ื -วั ะ -วั เ-า เ-าะ -ำ เ -ะี เ -ี แ- แ-ะ โ- โ-ะ ใ- ไ- โปรดดตู วั อยา งการเรยี งคาํ จากพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2525และ 2542 ขนั้ ท่ี 4 ศึกษาเครื่องหมายวรรคตอนท่ีใชในพจนานกุ รม เครื่องหมายจุลภาค (,) ใชคั่นความหมายหรือบทนิยามของคําที่มีความหมาย หลายอยางแตมีความหมายคลา ยๆ กันหรอื เปนไวพจนข องกัน ตวั อยา ง กระตอื รอื รน ก.รบี เรง, เรง รบี , ขมีขมัน, มีใจฝก ใฝเ รารอน เครือ่ งหมายอฒั ภาค(;) (1) ใชคั่นเครื่องหมายหรอื บทนิยามของคําท่ีมีความหมายหลายอยางแตค วามหมายมีนัยเนื่องกับความหมายเดมิ ตวั อยาง กงิ่ น. สว นทแี่ ยกออกจากลําตน,แขนง;ใชเ รยี กสว นยอยที่แยกออกไปจากสว นใหญข ึ้นอยูก ับสวนใหญ เชน ก่ิงอําเภอ ก่ิงสถานีตํารวจ;ลักษณะนามเรียกงาชางวา กิ่ง;เรือ ชนิดหน่ึงในกระบวนพยุหยาตรา (2) คนั่ บทนิยามท่ีมีความหมายไมสัมพนั ธก นั เลย ตัวอยาง เจรญิ (จะเรนิ )ก.เตบิ โต,งดงาม,ทําใหง อกงาม,เชนเจรญิ ทางไมตรี,มากขึน้ ,ท้ิง,เชน เจริญยา,ตัดเชน เจรญิ งาชา ง,สาธยาย,สวด,(ในงานมงคล) เชน เจรญิ พระพุทธมนต เปนตน (3) ค่ันอักษรยอ บอกท่มี าของคํา ตัวอยาง กณุ ฑล [ทน]น.ตุม ห.ู (ป. ; ส.) ค่นั อักษร ป. กับ อักษร ส. ซ่ึงมาจากคาํ วา บาลกี ับสันสกฤต
144 | ห น า เครอ่ื งวงเลบ็ เหล่ียม[ ] คําในวงเลบ็ เหลย่ี มเปนคาํ ที่บอกเสยี งอาน ตวั อยาง ราชการ [ราดชะกาน] เปนตน เครื่องหมายนขลขิ ติ ( ) อักษรยอ ท่ีอยใู นวงเลบ็ บอกที่มาของคาํ เชน (ข.) มาจากภาษาเขมร อักษรยอที่อยูในวงเล็บหนา บทนิยามบอกลักษณะคําท่ีใชเฉพาะแหง เชน (กฎ) ในภาษากฎหมาย เคร่ืองหมายยตั ิภงั ค (-) (1) เขยี นไวข า งหนา คําเพ่ือใหสงั เกตวาเปน คาํ ท่ีใชพ วงทา ยคาํ ศัพทอนื่ ตัวอยาง - เก็งกอย ใชเ ขาคกู บั คาํ เขยง เปน เขยง เกงกอย. (ไทยใหญ เกง วาเนอ่ื งในเลม การเลน.) (2) เขยี นไวหลงั คาํ เพือ่ ใหส งั เกตวามคี าํ พว งทา ย ตัวอยา ง โ-ขม- [โขมะ-] (แบบ) น. โกษม, ผา ใยไหม (ผาลินิน), ผา ขาว, ผา ปา น ประกอบวาโขมพัตถและแผลงเปน โขษมพสั ตร ก็ม.ี (ป. ; ส. เกษม.) (3) แทนคําอานของพยางคท ไ่ี มมปี ญ หาในการอา น ตวั อยาง กณุ ฑล [-ทน] น. ตุม ห.ู (ป.; ส.) เครอ่ื งหมายพนิ ทจุ ดุ ไวใตต วั ห ซ่ึงเปน อักษรนาํ เวลาอานไมอ อกเสยี ง เชน [เหฺลา] ไมอา นวา เห-ลา เครื่องหมายพนิ ทุจดุ ไวใ ตพยญั ชนะตวั หนา ทเ่ี ปนตวั อักษรควบหรอื กล้ํา ในภาษาไทยมี 3 ตัว ร ลว เทานนั้ ทอ่ี อกเสยี งควบกลํา้ นอกนนั้ ไมน ยิ ม ข้ันท่ี 5 ศึกษาตวั เลขท่ีเขยี นตอ ทายคํา ตัวเลขท่เี ขยี นตอ ทายคาํ หมายถึง คาํ นั้นมีหลายความหมายแตกตางกนั ตวั อยา ง กระทิง 1 น. ช่ือวัวปา ชนิด (Bos gaurus) ในวงศ Bovidace ขนยาวตวั สีดาํ หรอื ดาํ แกมนาํ้ ตาล ยกเวน แตท ตี่ รงหนา ผากและขาทั้ง 4 เปน ขาวเทาๆ หรอื เหลอื งอยางสที อง
ห น า | 145 กระทิง 2 น. ช่ือตน ไมชนิดหน่ึง (Calophyllum inophyllum) ในวงศGuttiferae ใบและผลคลายสารภี แตใ บข้ึนสันมากและผลกลมกวา เปลือกเมล็ดแข็ง ใชท ําลูกฉลากหรือกระบวยของเลน , สารภีทะเล หรอื กากะทิง ก็เรยี ก. กระทิง 3 น. ชื่อปลาน้าํ จืดจําพวกหน่ึง (Mastocembelus sp.) ในวงศMastocembelidaeมีหลายชนิด ตัวเรียวคอ นยาวคอ นขา งแบน พ้ืนสีนํ้าตาลแก บางตัวมีลายขาวเปนวงกลมๆ บางตัวมีลายเปน บัง้ ๆ คาดจากหลังถึงใตทอ ง มีครีบบนสันหลังยาวติดตอ ตลอดถึงหาง ปลายจมกู เลก็ แหลมผิดกวา ปลาธรรมดา อาศัยอยใู นแมนํา้ ลําคลองทวั่ ไป ใหผูเ รียนสังเกตความหมายของคําวา “กระทิง 1” “กระทิง 2” “กระทิง 3”วา เหมอื น หรอื แตกตางกนั เราเรยี ก “กระทิง 1” วา กระทิงในความหมายที่ 1 หมายถงึ ชอื่ ววั ปา.... เม่ือศึกษาเขา ใจพจนานุกรมทั้ง 5 ขั้นตอนแลว ควรฝก คน หาคําขอความหรือฝก ใชพจนานกุ รมดวยตนเองใหเ กดิ ความชํานาญ ก็จะเปนประโยชนกบั ตนเองตลอดชวี ติ ทีเดยี วสารานุกรม หนงั สอื สารานกุ รม เปนหนงั สอื รวมความรูต างๆ ในทุกแขนงวิชาใหรายละเอียดเกี่ยวกับประวัติความเปนมา วิวัฒนาการตา งๆ และความรูท ั่วไป อาทิ ภูมิศาสตร ประวัติศาสตร วิทยาศาสตร ฯลฯเรียงลาํ ดบั ไวอยา งดแี ตสว นใหญจะเรียงตามตัวอักษรและมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ จะมีการออกหนังสือเปนรายปเ พ่ิมเติม เพ่ือเปนการรวบรวมความรูว ิทยาการใหมๆ ท่ีเกิดขึ้นในรอบป การเลือกใชสารานกุ รมจงึ ควรเลอื กสารานุกรมท่ีพิมพในปล าสุด และเลือกใหส อดคลอ งกับความตอ งการของตนเองสารานุกรมจะมีทั้งสารานุกรมเฉพาะวิชา สารานุกรมทั่วไป สารานุกรมสําหรับเยาวชน สารานุกรมสําหรบั ผใู หญ มีทั้งสารานกุ รมหลายเลม จบและสารานกุ รมเลมเดยี วจบวิธีใชสารานกุ รม 1. พิจารณาวา เรอ่ื งทตี่ องการคน ควาเปน ความรูลกั ษณะใดเปนความรูท ั่วไปหรอื เปนความรูเฉพาะวชิ า 2. เลือกใชสารานุกรมตามเรื่องท่ีตนเองตองการตัวอยา ง ถาตอ งการคน หาความรูง ายๆ พื้นฐานทั่วไปก็ใหใชส ารานุกรมทัว่ ไปสําหรับเยาวชน แตถาตองการหาความรูพ ้ืนฐานอยางละเอียดก็ใชสารานุกรมท่ัวไปสําหรับผูใ หญ หรือถาตอ งการคน หาความรูเ ฉพาะวิชาก็ใหเ ลือกใชสารานุกรมเฉพาะวชิ า 3. ดูอักษรนาํ เลม หรอื คําแนะนาํ ท่สี ันหนงั สอื จะรูว า เรอ่ื งน้ันอยูในเลมใด 4. เปด ดูดรรชนีเพื่อดูเรื่องที่ตอ งการคนหาวา อยูในเลมใด หนาที่เทา ไหร และจะตองเลือกดูใหถูกลักษณะของสารานุกรม เชน เปดดูดรรชนีทา ยเลม แตส ารานุกรมเยาวชนและสารานุกรมบางชุด
146 | ห น าดรรชนีจะอยดู านหนา สว นสารานกุ รมสาํ หรบั ผูใหญและสารานุกรมบางชุดใหเปด ดูดรรชนีที่เลมสุดทา ยของชดุ 5. อานวิธีใชสารานกุ รมแตล ะชดุ กอ นใชและคนหาเรอ่ื งที่ตองการเรือ่ งที่ 4 คาํ ราชาศพั ท คนไทยมวี ฒั นธรรมท่ยี ึดถอื กนั เปน ปกติ คือการเคารพนับถือ ผูทีส่ ูงอายุ ชาติกําเนิดและตําแหนงหนาท่ี สื่อที่แส ดงออกอย า งชัดเจนคื อ ก ารแส ดงกิริย ามารย าทอันเคาร พนอบนอมและใชภาษาอยา งมรี ะเบียบแบบแผนอกี ดวย ภาษาที่ใชอยางมีระเบยี บและประดษิ ฐต กแตง เปน พิเศษเพื่อใชกบั บคุ คลท่มี ฐี านะตางๆ ทางสงั คมดงั กลาวแลว เรียกวาคาํ ราชาศัพท คาํ ราชาศัพท คอื คําท่ใี ชสำหรบั พระเจา แผนดินและพระบรมวงศานุวงศ แตป จ จุบันคําราชาศัพทมีความหมายรวมถึง คําสุภาพ ที่สุภาพชนตอ งเลือกใชใ หเ หมาะสมตามฐานะของบุคคลทุกระดับและเหมาะสมกับกาลเทศะดว ย คําสุภาพ พระยาอุปกติ ศิลปสาร ไดอ ธิบายไววาไมใชคาํ แขง็ กระดางไมแ สดงความเคารพ เชน โวย วา ย วะ ไมใชค าํ หยาบ เชน ใหใชอ จุ จาระแทนขี้ ปสสาวะแทนเยี่ยว ไมใ ชค ําที่นิยมกับของคําหยาบ เชนสากกระเบือเปรียบเทียบกับของลับผูช ายใหใชไ มต ีพริกแทน เปนตน ไมใชค ําผวน เชน ตากแดดใหใ ชใหมเ ปนผึ่งแดด เปนตน และไมพูดเสียงหว น เชน ไมร ู ไมเห็น และมีคําวา ครับ คะ คะ ขา ประกอบคาํ พูดดว ยลักษณะของคาํ ราชาศัพท 1. คํานามท่นี ํามาใชเ ปน ราชาศัพท 1.1 คาํ ทนี่ ํามาจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมรและคําไทย เมื่อจะใชเ ปน คําราชาศัพทจะตอ งใชพระบรมราช พระบรม พระราชและพระนาํ หนา คือ พระบรม พระบรมราช ใชนําหนาคํานามที่สมควรยกยองสําหรับพระเจาแผนดินโดยเฉพาะ เชน พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระบรมราโชวาท พระบรมราชวินิจฉัย พระบรมราชโองการ พระบรมมหาราชวัง พระบรมราชูปถัมภ พระราช ใชนําหนา คํานามท่ีสําคัญรองลงมา เชน พระราชสาสน พระราชประวัติ พระราชยาน พระราชโทรเลข พระราชวงั พระราชดาํ รัส พระราชบดิ า
ห น า | 147 พระ ใชนําหนาคํานามท่ัวไปบางคําเชน พระกร พระหัตถ พระเกศา พระอาจารย พระสหายพระเกาอ้ี พระเขนย พระย่ภี ู พระศอ พระอทุ ร บางทใี่ ชพระหรอื ทรง แทรกเขากลางเพ่ือแตงเปนคํานามราชาศัพทเ ชน กระเปาทรงถือ เครอ่ื งพระสําอาง 1.2 คําไทยสามัญ เม่ือใชเปนคาํ ราชาศัพทตอ งใชคําวา หลวง ตน ทรง พระที่นั่ง ประกอบหลังคํานามน้ัน เชน ลูกหลวง เรือหลวง รถหลวง วังหลวง ขางตน มาตน เครื่องตนเรอื ตน ชางทรง มาทรงเรอื พระทน่ี ัง่ รถพระทน่ี ่ัง ฯลฯ นอกจากน้ียังมีคํานามราชาศัพทท่ีใชค ําไทยนําหนาคําราชาศัพทซ ึ่งเปนการสรา งศัพทข ้ึนใชในภาษา เชน ผา ซับพระพกั ตร ถงุ พระบาท 2. คําสรรพนาม คําสรรพนามราชาศัพทน้ัน แบงเปน บุรุษสรรพนามแยกไปตามฐานะของผูใ ชราชาศัพทเ ชนเดยี วกนั บุรุษท่ี 1 (ผูพดู เอง) หญงิ ใช หมอ มฉัน ขา พระพุทธเจา ชายใช กระหมอม เกลา กระหมอ ม ขาพระพุทธเจา บุรษุ ที่ 2 (ผูพดู ดว ย) แยกไปตามฐานะของผทู ่ีพดู ดว ย เชน ใตฝ าละอองธุรีพระบาท ใชก ับพระมหากษัตริย พระบรมราชินีนาถ ใตฝ าละอองพระบาท ใชก ับพระบรมโอรสาธิราช ใตฝ าพระบาท ใชกบั เจานายช้นั รองลงมา เจา ฟา หรอื เจา นายชั้นผใู หญ พระบาท ใชก ับเจา นายช้นั ผูนอ ย เชนระดบั หมอมเจา บรุ ุษที่ 3 (ผพู ดู ถงึ ) ทั้งหญงิ และชายใชวา พระองค พระองคท าน 3. คาํ กรยิ าราชาศัพท คํากริยาราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตรยและเจา นายสวนใหญม ักจะใชตรงกันมีหลกั ในการแตงดงั น้ี 3.1 คํากริยาที่เปน ราชาศัพทโดยเฉพาะ เชน โปรด ประทับ ประชวน ประสูติ กร้ิว ดํารัสเสดจ็ บรรทม ฯลฯ คํากริยาเหลานไ้ี มตอ งมีคําวา ทรงนาํ หนา และจะนําไปใชในภาษาธรรมดาไมไ ดดว ย 3.2 คาํ กริยาที่ใชใ นภาษาธรรมดา เมื่อตองการแตง เปนกริยาราชาศัพทตองเติม ทรง ขา งหนาเชน ทรงจาม ทรงขับรอ ง ทรงยนิ ดี ทรงเลา เรยี น ทรงศึกษา ทรงเลน ทรงสดบั พระเทศนา ฯลฯ 3.3 คํานามที่ใชราชาศัพทบางคําที่ใชทรงนําหนา เชน ทรงพระกรุณาทรงพระราชดาํ ริ ทรงพระอักษร ทรงพระราชนพิ นธ ทรงพระราชดาํ ริ 3.4 คาํ นามบางคํา เมอ่ื ทรง นาํ หนาใชกริยาราชาศัพทไดต ามความหมาย เชน ทรงเครือ่ ง (แตงตวั ) ทรงเครอ่ื งใหญ (ตัดผม) ทรงศลี ทรงธรรม ทรงบาตร ทรงเรอื ทรงกีฬา ทรงรถ ทรงดนตรี
148 | ห น า4. คํากริยาบางคาํ มีใชต างกันตามนามชน้ัตวั อยา งเชน กิน เสวย ใชกับพระเจา แผน ดนิ พระบรมวงศานวุ งศ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ฉัน ใชกับพระสงฆ รบั ประทาน ใชก บั สุภาพชนทัว่ ไป ตาย สวรรคต ใชกบั พระเจาแผนดนิ สมเดจ็ พระบรมราชินี สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช ทวิ งคต ใชกบั สมเดจ็ พระบรมราชชนนี พระราชาตางประเท สน้ิ พระชนม ใชกบั พระบรมวงศานุวงศช ้ันสงู สมเดจ็ พระสงั ฆราช ส้ินชีพตกั ษัย ใชก ับหมอ มเจา ถึงชีพิตักษัย ใชกบั หมอ มเจา ถงึ แกพ ริ าลยั ใชก ับสมเดจ็ เจาพระยา เจาประเทศราช ถึงแกอสญั กรรม ใชก ับเจาพระยา นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี ถึงแกอ นจิ กรรม ใชก ับเจาพระยา ขา ราชการชนั้ สงู ถงึ แกก รรม ใชก บั สุภาพชนทว่ั ไป มรณภาพ ใชกับพระสงฆ การกราบบังคมทลู 1. ถากราบบังคมทูลพระเจาแผน ดิน เมื่อมิไดพ ระราชดํารัสถามตองขึ้นตน ดวยวา “ ขอเดชะฝาละอองธุรพี ระบาทปกเกลาปกกระหมอ ม ” แลวดาํ เนนิ เร่อื งไปจนจบทายการกราบบงั คมทลู ใชวา “ ดวยเกลาดว ยกระหมอมขอเดชะ ”ใชสรรพนามแทนพระองคทานวา “ ใตฝ าละอองธุลพี ระบาท ”ใชส รรพนามแทนตวั เราเองวา “ ขา พระพุทธเจา ”ใชค าํ รบั พระราชดาํ รสั วา “ พระพุทธเจา ขา ” 2. ถา มพี ระราชดาํ รัสถามข้นึ กอ นจะตอ งกราบบังคมทูล “ พระพุทธเจา ขอรับใสเ กลากระหมอม” หรอื กราบบังคมทูลยอๆ วา “ ดวยเกลา ดวยกระหมอมหรอื จะใชพ ระพทุ ธเจาขา ” กไ็ ด 3. เปน การดวนจะกราบบงั คมทูลเร่ืองราวกอนก็ได แตเม่ือกลา วตอนจบตอ งลงทายวา “ พระพุทธเจาขาขอรบั ใสเ กลา ใสก ระหมอ ม ” หรอื จะกราบบังคมทลู ยอ ๆ วา “ดว ยเกลา ดวยกระหมอ ม” ก็ได ถามีพระ
ห น า | 149ราชดาํ รสั ถามตดิ ตอไปแบบสนทนาก็ไมข นึ้ ตนวา “ขอเดชะฝาละอองธุลีพระบาทปกเกลา ปกกระหมอ ม”อกี แตตองลงทายวา “ดว ยเกลา ดว ยกระหมอม” เปน การตอบรบั ทุกครัง้ 4. ถาจะกราบบังคมทูลดว ยเรอ่ื งท่ไี มสมควรจะกราบบังคมทลู หรอื เปนเร่ืองหยาบไมส ุภาพตอ งข้ึนตนวา “ไมควรจะกราบบังคมทูลพระกรุณา”แลวดําเนินเรื่องไปจนจบ และลงทายดว ยวา “ดวยเกลา ดวยกระหมอม” 5. ถาพระเจาแผน ดินทรงแสดงความเอื้อเฟออนุเคราะหห รือทรงชมเชยตอ งกราบทูลเปนเชิงขอบคุณวา “พระมหากรุณาธิคุณเปนลน เกลาลนกระหมอม” หรือ “พระเดชพระคุณเปนลน เกลาลน กระหมอ ม” แลว กราบบังคมทูลสนองพระราชดํารัสไปตามเรอ่ื งท่ีพระราชดาํ รัสนั้น แลว จบลงดวยคําวา “ดวยเกลา ดว ยกระหมอ ม” 6. ถา พระเจา แผนดินมีพระราชดํารัสถามถึงความเปน อยูเ มื่อจะกราบบังคมทูลวา ตนเองสุขสบายดีหรือรอดพน อันตรายตางๆ มา ใหขึ้นตนวา “ดว ยเดชะพระบารมีปกเกลาปกกระหมอ ม ขา พระพทุ ธเจา เปน สขุ สบายด”ี หรอื “รอดพน อนั ตรายตา งๆ มาอยางไรและจบดว ยวา “ดว ยเกลาดวยกระหมอ ม” 7. เมอ่ื จะกราบบังคมทูลขอพระราชทานอภัยโทษหรือแสดงความเสียใจในสิ่งท่ีตนกระทําผิดตองขึ้นตน วา “พระอาญาไมพ น เกลา” แลว กราบบังคมทูลเรือ่ งราวท่ีตนทําผิดและลงทา ยดว ย “ดวยเกลา ดวยกระหมอม” หรืออาญาไมพ น เกลา ฯ “ขา พระพุทธเจาขอพระราชทานอภัยโทษ” ดําเนินเร่ืองไปจนจบแลว ลงทา ยวา “ดวยเกลา ดวยกระหมอ ม” 8. เม่ือจะถวายสิ่งของพระเจา แผนดิน หากเปน ของเล็กหยิบถือไดก ราบทูลวา“ขอพระราชทานทูลเกลา ถวาย” ถาเปนสิง่ ของใหญห ยิบถือไมไ ดกราบทูลวา “ขอพระราชทานนอมเกลาถวาย” เมื่อดาํ เนนิ เรอ่ื งจบแลววา “ดวยเกลาดวยกระหมอ ม” 9. การใชร าชาศัพทเขยี นจดหมาย พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั และสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ ใชค ําข้ึนตน วา “ขอเดชะ ฝาล ะ อองธุลีพ ระ บาทปกเก ล าปกก ระ หมอมข า พ ร ะ พุ ท ธ เ จ า .......(บ อ ก ช่ื อ ).......ข อ พ ร ะ ร า ช ท า น ก ร า บ บั ง ค ม ทู ล พ ร ะ ก รุ ณ า ท ร ง ท ร า บฝาละอองธุลพี ระบาท” ใชสรรพนามแทนพระองคว า “ใตฝ า ละอองธุลีพระบาท” ใชส รรพนามแทนตวั เองวา “ ขา พระพุทธเจา ” ใชคําลงทา ยวา “ควรมคิ วรแลว แตจ ะทรงพระกรณุ าโปรดเกลา โปรดกระหมอ ม ขาพระพุทธเจา ............ (บอกชื่อ)................ขอเดชะ ใชเ ขยี นหนาซอง “ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอ มถวาย.....(บอกช่อื ).......กจิ กรรม
150 | ห น า 1. ใหผูเ รยี นสงั เกตการใชค าํ ราชาศัพทจากสือ่ สารมวลชน เชน หนังสือพิมพ วิทยุและโทรทัศนโดยเฉพาะขาวพระราชสํานักแลวจาํ การใชใ หถูกตอ ง เพอ่ื นําไปใชเมอ่ื มโี อกาส 2. รวบรวมคําราชาศพั ทห มวดตางๆ เพอื่ ทาํ รายงานสงครู หรือเพื่อนําไปใชเ มื่อมีโอกาสใหผูเรยี นหาหนังสือพิมพรายวันมา 1 ฉบับแลวคน หาคําราชาศัพทแ ตล ะประเภทมาเทาทีจ่ ะได อยา งละคําก็ตาม พยายามหาคําแปลโดยใชพ จนานกุ รมหรอื ถามผูรูก็ไดน ําไปอา นใหเ พื่อนฟงแลวตอจากนัน้ จึงนําไปใหครูชว ยตรวจและขอคําวจิ ารณเ พ่ิมเตมิคําศพั ทท ่ใี ชส าํ หรบั พระภกิ ษุสงฆ เนือ่ งจากพระภิกษุ เปนผูท รงศีล และเปน ผูส ืบพระพุทธศาสนา การใชถ อยคํา จึงกําหนดไวเปนอีกหนง่ึ เฉพาะองคสมเด็จพระสังฆราช ซ่ึงถือเปนประมุขแหงสงฆนั้นกําหนดใชราชาศัพทเทียบเทาพระราชวงศชั้นหมอ มเจา แตถ า พระภิกษุน้ันเปน พระราชวงศอ ยูแลวก็คงใหใ ชร าชาศัพทตามลําดับชัน้ ท่ีเปน อยูแลวนนั้ การใชถอ ยคํา สําหรับพระภิกษุโดยท่ัวไป มีขอควรสังเกต พระภิกษุใชก ับพระภิกษุดวยกันหรือใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริยและพระราชวงศค นอ่ืนที่พูดกับทานหรอื พูดถึงทานจงึ จะใชราชาศัพท แตถ า พระองคทา นพูดกับคนอ่ืนจะใชภาษาสุภาพธรรมดาเชน มีผพู ดู ถงึ พระวา “พระมหาสนุ ทรกําลังอาพาธอยทู ี่โรงพยาบาล” พระมหาสนุ ทรพดู ถงึ ตวั ทา นเองก็ยอ มกลา ววา “อาตมากาํ ลงั อาพาธอยโู รงพยาบาล” มผี พู ดู ถงึ พระราชวงศพระองคหนง่ึ วา “พระองคเ จาดศิ วรกุมารกาํ ลังประชวร” พระองคเ จาเมือ่ กลา วถึงพระองคเ องยอ มรับสง่ั วา “ฉันกําลงั ปวย”ตัวอยา งคาํ ราชาศัพทส ําหรับพระภกิ ษุบางคํา คํานาม – ภัตตาหาร(อาหาร) ไทยทาน(สิ่งของถวาย) อาสนะ(ท่ีนั่ง) กุฏิ(ทพ่ี กั ในวดั ) เภสชั (ยารกั ษา โรค) ธรรมาสน(ที่แสดงธรรม) คาํ สรรพนาม – อาตมา(ภิกษุเรียกตนเองกับผูอ่ืน) ผม,กระผม(ภิกษุเรียก ตัวเองใชกับภิกษุดว ยกัน) มหาบพิตร (ภิกษุเรียกพระมหา กษั ตริ ย) โยม(ภิ ก ษุ เรี ย ก คนธ รรมดาท่ี เปนผู ใ หญก วา)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172