แผนการจัดการเรียนรู “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปองกันการทุจรติ ” ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๓ สาํ นักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ รว มกับ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑
แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต” ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ ร่วมกับ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑
แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกนั การทุจรติ ” ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ จ�ำนวนพิมพ์ ๑๓,๒๘๗ เล่ม ผจู้ ดั พมิ พ์ ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ ร่วมกบั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พมิ พท์ ี่ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กดั สาขา ๔ ๑๔๕ , ๑๔๗ ถ.เลย่ี งเมอื งนนทบรุ ี ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร. ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๐๗-๙ , ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๕ E-mail : [email protected] www.co-opthai.com
สารบญั หน้า โครงสร้างรายวชิ า ๑ หน่วยท่ี ๑ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๓ หนว่ ยที่ ๒ ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๖๘ หนว่ ยท่ี ๓ STRONG : จิตพอเพยี งตา้ นทุจริต ๘๐ หน่วยท่ี ๔ พลเมอื งและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๘๙ ภาคผนวก ๑๐๗ l คำ�สงั่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท ่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ เรือ่ ง แตง่ ตง้ั คณะอนุกรรมการจัดทำ� ๑๐๘ หลักสตู รหรือชุดการเรยี นรูแ้ ละส่อื ประกอบการเรียนรู้ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต l รายชื่อคณะทำ�งานจัดทำ�หลักสตู รหรอื ชดุ การเรยี นรู้และสือ่ ประกอบการเรยี นรู้ ๑๑๒ ดา้ นการป้องกันการทุจรติ กลุ่มการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน l รายชือ่ คณะบรรณาธกิ ารกจิ หลกั สตู รหรือชุดการเรียนร้แู ละสือ่ ประกอบการเรียนรู้ ๑๑๖ ด้านการป้องกันการทจุ รติ กลมุ่ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน l รายช่อื คณะผปู้ ระสานงานการจดั ทำ�หลักสตู รหรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้ ๑๑๘ ดา้ นการปอ้ งกนั การทุจริต กลุ่มการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน สำ�นกั งาน ป.ป.ช.
โครงสร้างรายวชิ า ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ลำ�ดบั หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่ือง จ�ำ นวน ช่ัวโมง ๑. การคดิ แยกแยะระหวา่ ง ๑. การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ การขดั กันระหวา่ งประโยชน์ ๑๒ ผลประโยชนส์ ว่ นตนและ สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม ผลประโยชน์สว่ นรวม ๒. การวิเคราะห์ วจิ ารณ์ สังเคราะห์ ผลประโยชนส์ ่วนตน ออกจากผลประโยชนส์ ่วนรวม โดยใชร้ ะบบคิดฐานสอง ท่สี ่งผลกระทบตอ่ ประเทศในระดบั สงั คมโลก ๓. การทุจรติ ทเ่ี กิดจากระบบการคิดฐานสิบ ในสถานการณต์ า่ งๆ ทส่ี ง่ ผลต่อประเทศ และสงั คมโลก ๔. การทจุ รติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในโลกและจรยิ ธรรมทใี่ ชใ้ นการแกป้ ญั หา การทจุ รติ ทเี่ กดิ ขึ้นในโลก ๕. ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน และผลประโยชนส์ ว่ นรวมที่เกิดขน้ึ ในประเทศ ๖. รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ นและแนวทางการปอ้ งกัน ผลประโยชนท์ ับซอ้ นในกลุ่มประเทศอาเซียน ๒. ความละอายและความไมท่ นตอ่ ๑. ลักษณะความละอายและความไม่ทนต่อการทุจรติ ๕ การทจุ ริต ในระดับโลก ๒. การลงโทษทางสังคมในระดับโลก ๓. ตัวอยา่ งความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต ๓. STRONG : จติ พอเพยี ง ของประเทศตา่ งๆ ในระดับโลก ๑๓ ตา้ นทุจริต ๑. การดำ�เนินงาน บรษิ ัทสรา้ งการดีโดยยึดหลัก STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ รติ S = Sufficient (พอเพียง) T = Transparent (โปร่งใส) R = Realise (ตื่นรู้) O = Onward (มุ่งไปข้างหน้า) N = Knowledge (ความรู้) G = Generosity (ความเอ้ืออาทร) ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 1
ล�ำ ดับ หนว่ ยการเรยี นรู้ เร่ือง จำ�นวน ๔. พลเมอื งกบั ความรับผิดชอบ ชวั่ โมง ๑. แนวทางการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดี ๑๐ ตอ่ สงั คม ๑.๑ ดา้ นสังคม ๔๐ ๑.๒ ด้านเศรษฐกิจ ๑.๓ ดา้ นการเมอื ง การปกครอง ๒. การพจิ ารณาความเปน็ พลเมือง ๒.๑ ดา้ นคุณคา่ คา่ นยิ ม ๒.๒ ความรู้ ความเข้าใจ ๒.๓ ทักษะและพฤติกรรม ๓. การสรา้ งสำ�นกึ พลเมืองต่อสังคมโลก รวม 2 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”
หน่วยท่ี ๑ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๑ ชอ่ื หน่วย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตน เวลา ๒ ชว่ั โมง และผลประโยชน์ส่วนรวม ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสำ� คญั ของการตอ่ ต้านและป้องกนั การทุจรติ ๒.จุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถ ๒.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับผลประโยชน์ส่วนตนกบั ผลประโยชน์ส่วนรวม ๒.๒ สามารถวิเคราะห์สถานการณ์การขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ สว่ นรวมได้ ๒.๓ ตระหนกั และเห็นความส�ำคญั ของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจรติ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) สถานการณ์การขดั กันระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๒) ตัวอยา่ งการขดั กันระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวมในรปู แบบต่างๆ ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) ๑) ความสามารถในการคดิ (ทกั ษะการสังเกต ทกั ษะการระบุ) ๒) ความสามารถในการสอ่ื สาร (อา่ น ฟัง พดู เขยี น) ๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (วเิ คราะห์ จดั กลุม่ สรปุ ) ๓.๓ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค/์ ค่านยิ ม ๑) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ๒) ซือ่ สตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นสิ่งท่ดี ีงามเพ่อื สว่ นรวม ๓) กตัญญูตอ่ พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครูบาอาจารย์ ๔) ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเลา่ เรยี นทงั้ ทางตรง และทางอ้อม ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 3
๕) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม ๖) มีศีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผู้อ่ืน เผอ่ื แผ่ และแบ่งปัน ๗) เขา้ ใจเรยี นร้กู ารเปน็ ประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ท่ถี กู ต้อง ๘) มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จกั การเคารพผใู้ หญ่ ๙) มสี ติร้ตู ัว รคู้ ิด รู้ท�ำ รปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว ๑๐) รู้จักด�ำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด�ำรัส ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เม่ือยามจ�ำเป็นมีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จ�ำหน่ายและพรอ้ มที่จะขยายกิจการเมอ่ื มคี วามพร้อม เมอื่ มภี มู คิ ุ้มกันท่ีดี ๑๑) มีความเข้มแข็งท้ังร่างกายและจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต่�ำ หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้ ชว่ั โมงที่ ๑ ๑) ครนู ำ� ขา่ ว (วดี ทิ ศั น)์ เรอ่ื ง เตอื นสงั่ เกบ็ โตะ๊ ร้านผดั ไทยประตผู ี และวดี ทิ ศั น์ เรอื่ ง แกท้ จุ รติ คิดฐาน ๒ มาให้นักเรียนดู จากนั้นครูให้นักเรียนจับคู่สนทนาท่ีได้ดูขา่ ววา่ เกิดอะไร เพราะเหตุใด และ ท�ำสรุปเปน็ Mind Mapping น�ำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน นกั เรียนและครสู รปุ รว่ มกันทีละเร่ือง ๒) ครูน�ำวดี ีทัศน์ เร่อื ง ร้ทู นั การโกง ตอนผลประโยชนท์ บั ซ้อน ภยั เงียบ ท�ำลายชาติ มาให้ นักเรียนดูที่หน้าชั้นเรียน จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันจ�ำแนกแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชน์สว่ นรวมพร้อมอภิปรายจากวดี ิทศั น์ที่รบั ชม ๓) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง เก่ียวกับผลประโยชน์ส่วนตนและ ผลประโยชนส์ ่วนรวม พร้อมทั้งสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงวถิ ีชวี ิตสภาพนนั้ ๆ ๔) จากวีดีทัศน์ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น มนุษย์มีความสัมพันธ์ ปรบั วิธคี ดิ พฤติกรรมเปลยี่ น สงั คมเปลยี่ น ประเทศชาติเปลย่ี นโลกเปล่ยี นอย่าไร จากวดี ีทศั นท์ ่ไี ด้รบั ชม จากน้ันให้นกั เรียนท�ำ Mind Mapping พร้อมสรปุ น�ำเสนอหนา้ ชั้นเรียน ๕) ให้นกั เรยี นจับคู่ส�ำรวจสภาพปัญหาสาเหตุการทจุ ริตในโรงเรียน ช่ัวโมงที่ ๒ ๑) สนทนาอภปิ รายทบทวนประเด็นผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ๒) แบง่ นกั เรยี นออกเป็น ๕ กลุ่ม กลมุ่ ละเทา่ ๆ กัน พรอ้ มแจกกระดาษชารต์ และปากกาเคมี ๓) แจกใบความรู้ท่ี ๑ - ๓ ดงั นี้ ใบความรทู้ ่ี ๑ เรื่อง การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม 4 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต”
ใบความรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง ตวั อยา่ งการขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม ในรปู แบบต่างๆ ใบความรทู้ ่ี ๓ เร่ือง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันการขัดกันระหว่างประโยชน์ สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม ๔) แต่ละกลุ่มศึกษาใบความรูท้ ่ี ๑ - ๓ พรอ้ มสรุปประเด็นส�ำคัญจากใบความรลู้ งกระดาษ ชาร์ตและนำ� เสนอหนา้ ช้ันเรียน ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชน์สว่ นรวม ๖) มอบหมายชิ้นงานให้นักเรียนสืบค้น เรื่อง ของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวมทพี่ บในสงั คมปจั จบุ ันและจดั ทำ� เป็นรายงานสง่ ๔.๒ สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้ ๑) ส่อื การเรยี นรู้ ๑.๑ วดี ิทัศน์ เรอ่ื ง เตอื นสั่งเกบ็ โต๊ะร้านผัดไทยประตผู ี ๑.๒ วดี ทิ ัศน์ เรอ่ื ง แก้ทุจรติ คดิ ฐาน ๒ ๑.๓ วดี ิทัศน์ เร่อื ง รูท้ ันการโกง ตอนผลประโยชน์ทบั ซอ้ นภัยเงยี บทำ� ลายชาติ ๑.๔ กระดาษชารต์ พรอ้ มปากกาเคมี ๑.๕ ใบความรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๖ ใบความรู้ที่ ๒ เรื่อง ตัวอย่างการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวมในรปู แบบต่างๆ ๑.๗ ใบความรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั การขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม ๒) แหล่งการเรยี นรู้ ๒.๑ แหลง่ เรียนรู้ในโรงเรียน ชมุ ชน/สถานการณท์ ี่พบได้ในชุมชน ๒.๒ ห้องสมดุ โรงเรยี น ๕. การประเมินผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑) การสังเกต ๒) การประเมนิ ช้ินงาน ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 5
๕.๒ เครือ่ งมอื ทีใ่ ช้ในการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำ� งานของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล ๒) แบบประเมนิ ชิน้ งาน ๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ ๑) เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพพฤติกรรมการทำ� งานของนักเรยี น เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๗ - ๑๐ ดี ๔-๖ ๑-๓ พอใช้ ปรบั ปรงุ ๒) เกณฑ์การตัดสินคุณภาพผลงาน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ - ๑๓ พอใช้ ตำ�่ กว่า ๑๐ ปรับปรงุ ๖. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชือ่ ........................................ครูผสู้ อน (.......................................) ............./............./............. 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”
๗. ภาคผนวก แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานของนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล กลมุ่ ที…่ ….......... ค�ำช้แี จง ผูส้ อนสังเกตการทำ� งานของนกั เรยี น โดยใส่เคร่อื งหมาย ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ความเปน็ จรงิ พฤตกิ รรม การมีสว่ น การรับฟัง ความรบั รวม ร่วมแสดง ความคดิ ผิดชอบตอ่ คะ ความ ความคดิ เหน็ ของ การตอบ งานทไ่ี ด้ แนน สนใจ เห็นในการ คำ�ถาม รับมอบ อภิปราย ผอู้ ื่น ชอ่ื -สกุล ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๒ ๑ ๐ ๑๐ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. เกณฑ์การประเมิน ให้คะแนน ๐ ถา้ การทำ� งานนน้ั อยใู่ นระดับตอ้ งปรับปรงุ ให้คะแนน ๑ ถ้าการทำ� งานนน้ั อยใู่ นระดับพอใช้ ใหค้ ะแนน ๒ ถา้ การท�ำงานนั้นอยูใ่ นระดบั ดี ลงชอื่ …………………………………………………ผปู้ ระเมนิ (…………………………..…………………..) ……………../………………../……………. ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ 7
แบบประเมินชนิ้ งาน ค�ำชแ้ี จง ให้ครูผู้สอนประเมินผลงานนักเรียนตามรายการที่ก�ำหนดแล้วใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง ทต่ี รงกับหมายเลข ที่ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ๔๓๒๑ ๑. ตรงตามจดุ ประสงค์ ๒. มีความถกู ตอ้ ง ๓. ภาษาที่ใช้ / วิธกี ารน�ำเสนอเข้าใจงา่ ย ๔. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ ๕. มีความเปน็ ระเบียบชดั เจน เกณฑก์ ารประเมิน ให้ ๔ คะแนน ผลงานสมบูรณช์ ัดเจน ให้ ๓ คะแนน ผลงานมขี ้อบกพร่องบางสว่ น ให้ ๒ คะแนน ผลงานมขี ้อบกพรอ่ งเปน็ สว่ นใหญ ่ ให้ ๑ คะแนน ผลงานมีขอ้ บกพรอ่ งมาก เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๘ - ๒๐ ดมี าก ๑๔ - ๑๗ ดี ๑๐ - ๑๓ พอใช้ ตำ่� กว่า ๑๐ ปรับปรงุ 8 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกันการทุจรติ ”
ใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม กำรทุจริตเป็นหน่ึงในประเด็นท่ีทั่วโลกแสดงควำมกังวล อันเนื่องมำจำกเป็นปัญหำที่มีควำม ซบั ซอ้ น ยำกตอ่ กำรจดั กำรและเกยี่ วขอ้ งกบั ทกุ ภำคสว่ นเปน็ ทยี่ อมรบั กนั วำ่ กำรทจุ รติ นน้ั มคี วำมเปน็ สำกล เพรำะมีกำรทุจริตเกิดขึ้นในทุกประเทศ ไม่ว่ำจะเป็นประเทศที่พัฒนำแล้วหรือประเทศท่ีก�ำลังพัฒนำ กำรทุจริตเกิดขึ้นทั้งในภำครัฐและภำคเอกชน หรือแม้กระทั่งในองค์กรท่ีไม่แสวงหำผลก�ำไรหรือองค์กร เพ่ือกำรกุศลในปัจจุบันกำรกล่ำวหำและกำรฟ้องร้องคดี กำรทุจริตยังมีบทบำทส�ำคัญในด้ำนกำรเมือง มำกกว่ำช่วงที่ผ่ำนมำ รัฐบำลในหลำยประเทศมีผลกำรปฏิบัติงำนที่ไม่โปร่งใสเท่ำที่ควร องค์กรระดับ โลกหลำยองค์กรเสื่อมเสยี ชอ่ื เสียง เนอื่ งมำจำกเหตุผลด้ำนควำมโปรง่ ใส สื่อมวลชนทั่วทง้ั โลกต่ำงเฝำ้ รอ ทจ่ี ะได้นำ� เสนอข่ำวออ้ื ฉำวและกำรประพฤติผิดจริยธรรม ด้ำนกำรทุจริต โดยเฉพำะบุคคลซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งระดับสูงต่ำงถูกเฝ้ำจับจ้องว่ำจะถูกสอบสวน เม่ือใด อำจกล่ำวได้ว่ำกำรทุจริตเป็นหนึ่งในปัญหำใหญ่ท่ีจะขัดขวำงกำรพัฒนำประเทศให้เป็นรัฐ สมัยใหม่ ซ่ึงต่ำงเป็นท่ีทรำบกันดีว่ำกำรทุจริตควรเป็นประเด็นแรกๆ ที่ควรให้ควำมส�ำคัญในวำระของ กำรพฒั นำประเทศของทกุ ประเทศ เหน็ ไดช้ ดั วำ่ กำรทจุ รติ สง่ ผลกระทบอยำ่ งมำกกบั กำรพฒั นำประเทศ โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ ในประเทศ ท่ีก�ำลังพัฒนำ เช่นเดียวกันกับกลุ่มประเทศในภูมิภำคเอเชียแปซิฟิกก็มีควำมกังวลในปัญหำกำรทุจริต ด้วยเช่นเดียวกัน โดยเห็นพ้องต้องกันว่ำกำรทุจริตเป็นปัญหำใหญ่ท่ีก�ำลังขัดขวำงกำรพัฒนำเศรษฐกิจ กำรเมือง และสังคม ให้กำ้ วไปสู่รฐั สมยั ใหมแ่ ละควรเป็นปัญหำท่ีควรจะต้องรีบแกไ้ ขโดยเร็วทีส่ ดุ กำรทุจริตนั้นอำจเกิดขึ้นได้ในประเทศที่มีสถำนกำรณ์ ดังต่อไปน้ี ๑) มีกฎหมำย ระเบียบ หรือ ข้อก�ำหนดจ�ำนวนมำกที่เก่ียวข้องกับกำรด�ำเนินกำรทำงธุรกิจ ซึ่งจะเป็นโอกำสท่ีจะท�ำให้เกิดเศรษฐผล หรือมูลค่ำเพิ่ม หรือก�ำไรส่วนเกินทำงเศรษฐกิจ และโดยเฉพำะอย่ำงย่ิงหำกมำตรกำร หรือข้อก�ำหนด ดังกล่ำวมีควำมซับซ้อน คลุมเครือเลือกปฏิบัติ เป็นควำมลับ หรือไม่โปร่งใส ๒) เจ้ำหน้ำที่ผู้มีอ�ำนำจ มีสิทธิ์ขำดในกำรใช้ดุลยพินิจ ซ่ึงให้อิสระในกำรเลือกปฏิบัติเป็นอย่ำงมำกว่ำจะเลือกใช้อ�ำนำจใด กับใครก็ได้ ๓) ไม่มีกลไกที่มีประสิทธิภำพ หรือองค์กรที่มีหน้ำที่ควบคุมดูแลและจัดกำรต่อกำรกระท�ำ ใดๆ ของเจ้ำหน้ำที่ที่มีอ�ำนำจโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งประเทศที่ก�ำลังพัฒนำ กำรทุจริตมีแนวโน้มท่ีจะเกิด ขึน้ ไดอ้ ย่ำงมำก โดยไมใ่ ช่เพยี งเพรำะวำ่ ลักษณะประชำกรนั้นแตกต่ำงจำกภูมิภำคอ่นื ท่ีพัฒนำแลว้ หำก แต่เป็นเพรำะกลุ่มประเทศที่ก�ำลังพัฒนำนั้นมีปัจจัยภำยในต่ำงๆ ท่ีเอื้อ หรือสนับสนุนต่อกำรเกิดกำร ทุจริต อำทิ ๑) แรงขับเคล่ือนที่อยำกมีรำยได้เป็นจ�ำนวนมำกอันเป็นผลเน่ืองมำจำกควำมจน ค่ำแรง ในอัตรำท่ีต่�ำ หรือมีสภำวะควำมเส่ียงสูงในด้ำนต่ำงๆ เช่น ควำมเจ็บป่วย อุบัติเหตุ หรือกำรว่ำงงำน ๒) มีสถำนกำรณ์ หรือโอกำสที่อำจก่อให้เกิดกำรทุจริตได้เป็นจ�ำนวนมำก และมีกฎระเบียบต่ำงๆ ที่ อำจน�ำไปสู่กำรทุจริต ๓) กำรออกกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรมที่ไม่เข้มแข็ง ๔) กฎหมำยและ ระดับชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี ๓ 9
ประมวลจริยธรรมไม่ได้รับการพัฒนาให้ทันสมัย ๕) ประชากรในประเทศยังคงจ�ำเป็นต้องพึ่งพา ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ๖) ความไมม่ เี สถยี รภาพ ทางการเมอื ง และเจตจำ� นงทางการเมอื ง ทไี่ ม่เข้มแขง็ ปัจจัยตา่ ง ๆ ดังกลา่ วจะน�ำไปส่กู ารทจุ ริตไม่วา่ จะเปน็ ทจุ ริตระดับบน หรือระดับล่างกต็ าม ซ่ึงผลท่ีตามมาอย่างเห็นได้ชัดเจนมีด้วยกันหลายประการ เช่น การทุจริตท�ำให้ภาพลักษณ์ของประเทศ ด้านความโปรง่ ใสนน้ั เลวร้ายลง การลงทนุ ในประเทศโดยเฉพาะอย่างยงิ่ จากนกั ลงทนุ ต่างชาตลิ ดนอ้ ยลง ส่งผลกระทบท�ำให้การเติบโตทางเศรษฐกิจลดน้อยลงไปด้วยเช่นกัน หรือการทุจริตท�ำให้เกิดช่องว่าง ของความไมเ่ ทา่ เทยี มทก่ี วา้ งขนึ้ ของประชากรในประเทศ หรอื อกี นยั หนงึ่ คอื ระดบั ความจนนนั้ เพม่ิ สงู ขนึ้ ในขณะท่ีกลุม่ คนรวยกระจกุ ตวั อยู่เพียงกลุม่ เลก็ ๆ กลุ่มเดียว นอกจากน้ี การทุจริตยังท�ำให้การสร้างและปรับปรุงสาธารณูปโภคต่างๆ ของประเทศน้ันลดลง ทง้ั ในด้านปริมาณและคณุ ภาพ รวมทัง้ ยังอาจน�ำพาประเทศไปสู่วิกฤติทางการเงินทีร่ ้ายแรงไดอ้ กี ดว้ ย การเปล่ียนแปลงวิธีคิด (Paradigm Shift) จึงเป็นเร่ืองส�ำคัญอย่างมากต่อการด�ำเนินงาน ด้านการต่อต้านการทุจริต ตามค�ำปราศรัยของประธานท่ีได้กล่าวต่อท่ีประชุมองค์การสหประชาชาติ ณ นครนวิ ยอรก์ สหรฐั อเมรกิ า เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ วา่ “การทจุ รติ เปน็ หนงึ่ ในความทา้ ทายทม่ี คี วามสำ� คญั มากในศตวรรษท่ี ๒๑ ผู้น�ำโลกควรจะเพิ่มความพยายามข้ึนเป็นสองเท่าที่จะสร้างเคร่ืองมือท่ีมีความ เข้มแข็งเพ่ือร้ือระบบการทุจริตท่ีซ่อนอยู่ออกให้หมดและน�ำทรัพย์สินกลับคืนให้กับประเทศต้นทาง ทถี่ กู ขโมยไป…” ทง้ั นไ้ี มเ่ พยี งแต่ผูน้ �ำโลกเท่าน้นั ท่ีตอ้ งจรงิ จังมากข้ึนกบั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เราทุกคน ในฐานะประชากรโลกก็มีความจ�ำเป็นที่จะต้องเอาจริงเอาจังกับการต่อต้านการทุจริตเช่นเดียวกัน โดยทั่วไปอาจมองว่าเป็นเรื่องไกลตัวแต่แท้ท่ีจริงแล้วการทุจริตน้ันเป็นเร่ืองใกล้ตัวทุกคนในสังคมมาก การเปลยี่ นแปลงระบบวธิ กี ารคดิ เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั หรอื ความสามารถในการการแยกแยะระหวา่ งประโยชน์ สว่ นตนออกจากประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งเกดิ ขน้ึ กบั ทกุ คนในสงั คมตอ้ งมคี วามตระหนกั ไดว้ า่ การกระทำ� ใดเปน็ การลว่ งลำ�้ สาธารณประโยชน์ การกระทำ� ใดเปน็ การกระทำ� ทอ่ี าจเกดิ การทบั ซอ้ น ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม ต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็น อันดับแรกก่อนทจ่ี ะค�ำนงึ ถงึ ผลประโยชนส์ ่วนตนหรอื พวกพ้อง การทุจริตในสังคมไทยระหว่างช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมาส่งผลเสียต่อประเทศอย่างมหาศาล และเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุกมิติ รูปแบบการทุจริตจากเดิมที่เป็นการทุจริต ทางตรงไมซ่ บั ซอ้ น อาทิ การรบั สนิ บน การจดั ซอื้ จดั จา้ ง ในปจั จบุ นั ไดป้ รบั เปลย่ี นเปน็ การทจุ รติ ทซี่ บั ซอ้ น มากข้ึน ตัวอย่างเช่น การทุจริตโดยการท�ำลายระบบการตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐ การกระท�ำที่เป็น การขัดกนั แหง่ ผลประโยชนห์ รือผลประโยชน์ทบั ซ้อนและการทจุ ริตเชงิ นโยบาย ประเทศไทยมีความพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริตโดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องได้ร่วมกันสร้าง เคร่ืองมือกลไก และก�ำหนดเป้าหมายส�ำหรับการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เริ่มตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน การด�ำเนินงานได้สร้างความตื่นตัวและเข้ามามีส่วนร่วม ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตามบทบาทของแต่ละหน่วยงาน จึงมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิง ท่ีจะต้องปรบั ฐานความคดิ และสร้างความตระหนักร้ใู ห้ทกุ ภาคส่วนของสังคม 10 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”
ส�ำหรับประเทศไทยได้ก�ำหนดทิศทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตซึ่งมีความสอดคล้อง กับสถานการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และความรุนแรง รวมถึงการสร้างความ ตระหนักในการประพฤติปฏิบัติตนด้วยความซ่ือสัตย์สุจริตของคนในสังคม ทั้งน้ี ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ใน ฐานะองค์กรหลัก ด้านการด�ำเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต รวมทั้งบูรณาการการท�ำงาน ด้านการต่อต้านการทุจริต เข้ากับทุกภาคส่วน ดังน้ัน สาระส�ำคัญท่ีมีความเช่ือมโยงกับทิศทาง การปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ทส่ี �ำนักงาน ป.ป.ช. มดี งั น้ี ๑. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๒. วาระการปฏริ ูปท่ี ๑ การป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของสภาปฏิรูป แหง่ ชาติ ๓. ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) ๔. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ๕. โมเดลประเทศไทยสคู่ วามมนั่ คง มั่งคัง่ และยงั่ ยนื (Thailand ๔.๐) ๖. ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ ก�ำหนดในหมวดท่ี ๔ หน้าท่ีของ ประชาชน ชาวไทยวา่ “...บคุ คลมหี นา้ ทไี่ มร่ ว่ มมอื หรอื สนบั สนนุ การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบทกุ รปู แบบ” ถือได้ว่าเป็นครั้งแรกท่ีรัฐธรรมนูญได้ก�ำหนดให้การป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นหน้าท่ีของ ประชาชนชาวไทยทุกคน นอกจากนี้ ยังก�ำหนดชัดเจนในหมวดที่ ๕ หน้าที่ของรัฐว่า “รัฐต้องส่งเสริม สนับสนุน และให้ความรู้แก่ประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริต และประพฤติมิชอบทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพ่ือป้องกันและขจัดการทุจริตและ ประพฤติมชิ อบดงั กล่าวอยา่ งเข้มงวด รวมท้งั กลไกในการสง่ เสรมิ ให้ประชาชนรวมตัวกนั เพอื่ มสี ่วนรว่ ม ในการรณรงค์ใหค้ วามรตู้ ่อตา้ นการทจุ รติ หรือช้ีเบาะแส โดยได้รบั ความคมุ้ ครองจากรฐั ตามท่ีกฎหมาย บัญญตั ”ิ การบริหารราชการแผน่ ดนิ รัฐตอ้ งเสรมิ สรา้ งให้ประชาชนได้รบั บริการทสี่ ะดวกมีประสิทธภิ าพ ที่ส�ำคัญ คือ ไม่เลือกปฏิบัติตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซึ่งการบริหารงานบุคคลของ หน่วยงานของรัฐต้องเป็นไปตามระบบคุณธรรมตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยอย่างน้อยต้องมีมาตรการ ปอ้ งกันมใิ หผ้ ูใ้ ดใชอ้ �ำนาจ หรือกระทำ� การโดยมชิ อบแทรกแซงการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ หรอื กระบวนการแตง่ ตง้ั หรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ และรัฐต้องจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพ่ือให้หน่วยงานใช้เป็นหลักในการก�ำหนดประมวลจริยธรรมส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน ซ่ึงต้อง ไม่ต�่ำกว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว การท่ีรัฐธรรมนูญได้ให้ความส�ำคัญต่อการบริหารราชการ ที่มีประสิทธิภาพ และการบริหารบุคคลท่ีมีคุณธรรมนั้นสืบเนื่องมาจากช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ได้เกิดปัญหาที่เก่ียวข้องกับการบริหารบุคคลมีการโยกย้ายแต่งตั้งที่ไม่เป็นธรรม บังคับ หรือช้ีน�ำให้ ข้าราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติงานโดยไม่ยึดม่ันในหลักผลประโยชน์แห่งรัฐรวมถึงการมุ่งเน้น การแสวงหาผลประโยชนใ์ หก้ บั ตนเองรวมถงึ พวกพอ้ ง รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ จึงได้มีความพยายามท่ีจะแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าต้องการสร้างประสิทธิภาพในระบบการบริหาร ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 11
งานราชการแผ่นดิน และเจ้าหน้าที่ของรัฐต้องยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลและมีคุณธรรมจริยธรรม ตามที่กำ� หนดเอาไว้ วาระการปฏิรูปที่ ๑ การป้องกันและปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบของสภาปฏริ ปู แห่งชาติ สภาปฏิรูปแห่งชาติในฐานะองค์กรท่ีมีบทบาท และอ�ำนาจหน้าที่ในการปฏิรูปกลไก และ ปฏิบัติงาน ด้านการบริหารราชการแผ่นดินได้มีข้อเสนอ เพื่อปฏิรูปด้านการป้องกัน และปราบปราม การทจุ ริต และประพฤติมิชอบ เพ่อื แก้ไขปญั หาดังกลา่ วใหเ้ ป็นระบบมปี ระสทิ ธิภาพ ยัง่ ยนื เปน็ รูปธรรม ปฏิบัติได้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และบริบทของสังคมไทย โดยเสนอให้มียุทธศาสตร์การแก้ไข ปญั หา ๓ ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย (๑) ยทุ ธศาสตรก์ ารปลูกฝัง “คนไทย ไม่โกง” เพื่อปฏริ ูปคนใหม้ ี จิตสำ� นึก สร้างจติ สำ� นกึ ท่ตี ัวบคุ คลรับผิดชอบช่ัวดีอะไรควรทำ� อะไรไม่ควรทำ� มองว่าการทจุ ริตเปน็ เร่อื ง นา่ รงั เกียจเป็นการเอาเปรยี บสงั คม และสงั คมไมย่ อมรบั (๒) ยุทธศาสตรก์ ารป้องกนั ด้วยการเสรมิ สรา้ ง สังคมธรรมาภิบาล เพ่ือเป็นระบบป้องกันการทุจริต เสมือนการสร้างระบบภูมิต้านทานแก่ทุกภาคส่วน ในสังคม (๓) ยุทธศาสตร์การปราบปราม เพื่อปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการต่อกรณีการทุจริต ให้มีประสิทธิภาพให้สามารถเอาตัวผู้กระท�ำความผิดมาลงโทษได้ ซึ่งจะท�ำให้เกิดความเกรงกลัวไม่กล้า ทจี่ ะกระท�ำการทุจรติ ขึ้นอีกในอนาคต ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) สภาขบั เคลอื่ นการปฏริ ปู ประเทศไดก้ ำ� หนด ให้กฎหมายว่าด้วยยุทธศาสตร์ชาติมีผลบังคับภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ หรือภายในรัฐบาลนี้ และก�ำหนด ให้หน่วยงานของรัฐทุกหน่วยงานน�ำยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ แผนพัฒนาด้านต่างๆ มาเป็นแผนแม่บทหลักในการก�ำหนดแผนปฏิบัติการ และแผนงบประมาณ ยุทธศาสตร์ชาติดังกล่าว เปน็ ยุทธศาสตรท์ ่ยี ดึ วัตถปุ ระสงคห์ ลักแห่งชาติเปน็ แมบ่ ทหลัก ทิศทางด้านการป้องกัน และปราบปราม การทจุ รติ การสร้างความโปรง่ ใส และธรรมาภิบาลในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ของหน่วยงานภาครฐั ทกุ หนว่ ยงานจะถกู ก�ำหนดจากยทุ ธศาสตรช์ าติ สภาขับเคล่ือนการปฏิรูปแห่งชาติ วางกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ในระยะ ๒๐ ปี โดยมีกรอบ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” คตพิ จนป์ ระจำ� ชาตวิ า่ “มน่ั คง มงั่ คง่ั ยง่ั ยนื ” ประกอบดว้ ย ๖ ยทุ ธศาสตร์ คอื ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ความมั่นคง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ยทุ ธศาสตร์ ท่ี ๓ การพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสความเสมอภาค และ เท่าเทียมกันทางสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ การปรบั สมดุลและพฒั นาการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ในยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ ไดก้ �ำหนด กรอบแนวทางท่สี ำ� คญั ๖ แนวทางประกอบด้วย (๑) การปรบั ปรงุ การบริหารจัดการรายได้ และรายจา่ ย ของภาครัฐ (๒) การพฒั นาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครฐั (๓) การปรบั ปรุงบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างของหน่วยงานภาครัฐให้มีขนาดทเ่ี หมาะสม (๔) การวางระบบบริหารงานราชการ แบบบูรณาการ (๕) การพัฒนาระบบบริหารจัดการก�ำลังคน และพัฒนาบุคลากรภาครัฐในการปฏิบัติ ราชการ 12 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ”
(๖) การต่อต้านการทุจริต และประพฤติมชิ อบ (๗) การปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมาย ระเบยี บ และขอ้ บงั คบั ให้มีความชัดเจน ทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับข้อบังคับสากลหรือข้อตกลงระหว่างประเทศ ตลอดจนพฒั นาหนว่ ยงานภาครัฐ และบุคลากรท่ีมีหนา้ ท่ีเสนอความเห็นทางกฎหมายใหม้ ีศกั ยภาพ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ก�ำหนดใน ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ การบรหิ ารจดั การภาครัฐ การป้องกันการทุจริต และประพฤตมิ ิชอบ และธรรมาภิบาล ในสังคมไทยในยุทธศาสตร์นี้ ได้ก�ำหนดกรอบแนวทางการป้องกัน และปราบปรามการทุจริต และ คอร์รัปชัน มุ่งเน้นการส่งเสริมและพัฒนาปลูกฝังค่านิยม วัฒนธรรม วิธีคิด และกระบวนทัศน์ให้คน มคี วามตระหนกั มคี วามรเู้ ท่าทนั และมีภมู ติ ้านทานตอ่ โอกาส และการชกั จูงใหเ้ กดิ การทุจรติ คอรร์ ปั ชนั และมีพฤติกรรมไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ รวมท้ังสนับสนุนทุกภาคส่วนในสังคมได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการป้องกัน และปราบรามการทุจริต และมุ่งเน้นให้เกิดการส่งเสริมธรรมาภิบาล ในภาคเอกชน เพอื่ เป็นการตดั วงจรการทจุ รติ ระหวา่ งนักการเมือง ข้าราชการ และนกั ธุรกิจออกจากกัน ทง้ั นก้ี ารบรหิ ารงานของส่วนราชการต้องมีความโปรง่ ใส และตรวจสอบได้ โมเดลประเทศไทยสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง และยั่งยืน (Thailand ๔.๐) เป็นโมเดลที่น้อมน�ำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเป็น ๒ ยุทธศาสตร์ส�ำคัญ คือ (๑) การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน (Strength from Within) และ (๒) การเชื่อมโยงกับประชาคมโลกในยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งจากภายใน Thailand ๔.๐ เน้นการปรับเปล่ียน ๔ ทิศทาง และเน้นการพัฒนาท่ีสมดุลใน ๔ มิติ มิติที่หยิบยก คือ การยกระดับ ศกั ยภาพ และคุณค่าของมนุษย์ (Human Wisdom) ด้วยการพัฒนาคนไทยใหเ้ ป็น “มนุษยท์ ีส่ มบูรณ”์ ผ่านการปรับเปลี่ยนระบบนิเวศน์ การเรียนรู้เพ่ือเสริมสร้าง แรงบันดาลใจบ่มเพาะความคิดสร้างสรรค์ ปลูกฝังจิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เน้นการสร้างคุณค่าร่วม และค่านิยมที่ดี คือ สังคมท่ีมีความหวัง (Hope) สังคม ท่เี ป่ียมสขุ (Happiness) และสงั คมที่มีความสมานฉันท์ (Harmony) ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ระยะท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ที่ก�ำหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand) ก�ำหนดยุทธศาสตร์หลักออกเป็น ๖ ยทุ ธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่สี �ำคญั คือ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้นการกระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิด ภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต” โดยเริ่มต้ังแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม สร้างวัฒนธรรมต่อต้าน การทุจริต ปลูกฝังความพอเพียง มีวินัยซื่อสัตย์ สุจริต มีจิตสาธารณะ จิตอาสา และความเสียสละ เพื่อสว่ นรวม ปลกู ฝังความคิดแบบดิจิทัล (Digital Thinking) ใหส้ ามารถคดิ แยกแยะระหว่างประโยชน์ สว่ นตัวและประโยชน์สว่ นรวม และประยุกตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ เคร่ืองมือต้านทุจรติ สาระส�ำคัญทั้ง ๖ ด้านดังกล่าวจะเป็นเครื่องมือช้ีน�ำทิศทางการปฏิบัติงาน และการบูรณาการ ด้านต่อต้านการทุจริตของประเทศโดยมีส�ำนักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรหลักในการบูรณาการงานของ ภาคส่วนตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกัน และเพอ่ื ให้เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกนั ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ 13
ใบความรู้ ๒ ตัวอยา่ ง การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมในรปู แบบต่างๆ ๑. การรบั ผลประโยชนต์ า่ งๆ ๑.๑ นำยสุจริต ข้ำรำชกำรชั้นผู้ใหญ่ ได้เดินทำงไปปฏิบัติรำชกำรในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่ง ในวนั ดังกล่ำว นำยรวย นำยก อบต. ได้มอบงำช้ำงจำ� นวนหนงึ่ ค่ใู หแ้ ก ่ นำยสุจรติ เพือ่ เป็นของท่ีระลกึ นำยสุจริต ได้มอบงำช้ำงดังกล่ำวให้หน่วยงำนต้นสังกัด ตรวจสอบมูลค่ำพร้อมทั้งด�ำเนินกำรให้ถูกต้อง ตำมระเบียบ และกฎหมำย แต่ต่อมำ นำยสุจริต พิจำรณำแล้วเห็นว่ำไม่สมควรรับงำช้ำงดังกล่ำวไว ้ จึงเรง่ ใหห้ น่วยงำนต้นสงั กัดคนื งำช้ำงใหแ้ ก ่ นำยรวย ตำมพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรป้องกัน และปรำบปรำมกำรทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มำตรำ ๑๐๓ ประกอบประกำศคณะกรรมกำร ป.ป.ช. เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ำรรับทรพั ย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยำของเจ้ำหน้ำท่ีของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๓ ข้อ ๗ ประกอบข้อ ๕ (๒) ได้ก�ำหนดว่ำ เจ้ำหน้ำที่ของรัฐผู้ใด ได้รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดจำกบุคคลอื่น ที่มิใช่ญำติ ซ่ึงมี มูลค่ำเกินกว่ำสำมพันบำท แล้วประสงค์จะรับทรัพย์สินน้ันไว้เป็นสิทธิของตนจะต้องแจ้งรำยละเอียด ข้อเท็จจริงเก่ียวกับกำรรับทรัพย์สินน้ันต่อผู้บังคับบัญชำ หรือผู้มีอ�ำนำจแต่งต้ังถอดถอน หรือ คณะกรรมกำร ป.ป.ช. หรอื ประธำนสภำผูแ้ ทนรำษฎร หรอื ประธำนวฒุ ิสภำ หรอื ประธำนสภำทอ้ งถิ่น แล้วแต่กรณี ในทันทีที่สำมำรถกระท�ำได้ เพ่ือให้วินิจฉัยว่ำมีเหตุผลควำมจ�ำเป็น ควำมเหมำะสม และ สมควรทีจ่ ะใหเ้ จำ้ หน้ำท่ีของรัฐผู้นนั้ รบั ทรพั ย์สนิ นัน้ ไว้เปน็ สทิ ธขิ องตน หรอื ไม่ เม่ือข้อเท็จจริงในเรื่องน้ีปรำกฏว่ำ เม่ือนำยสุจริต ข้ำรำชกำรช้ันผู้ใหญ่ ได้รับงำช้ำงแล้ว ได้ส่งให้หน่วยงำนต้นสังกัดตรวจสอบมูลค่ำ พร้อมท้ังด�ำเนินกำรให้ถูกต้องตำมระเบียบและกฎหมำย แต่ต่อมำ นำยสุจริต พจิ ำรณำเหน็ วำ่ ไมส่ มควรรบั งำชำ้ งดังกล่ำวไว ้ จึงสง่ คนื ให้ นำยรวยไป โดยใชร้ ะยะ เวลำในกำรตรวจสอบระเบยี บแนวทำงปฏบิ ตั ิ และขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพื่อควำมรอบคอบ และสง่ คนื งำชำ้ ง แก่นำยรวยภำยใน ๓ วนั จำกขอ้ เท็จจรงิ จึงฟงั ได้วำ่ นำยสุจริตมไิ ดม้ ีเจตนำ หรอื มคี วำมประสงคท์ ่ีจะรับ งำชำ้ งนั้นไวเ้ ป็นสทิ ธขิ องตนแต่อยำ่ งใด ๑.๒ กำรท่ีเจ้ำหน้ำที่ของรัฐรับของขวัญจำกผู้บริหำรของบริษัทเอกชน เพื่อช่วยให้บริษัทเอกชน รำยนัน้ ชนะกำรประมูลรับงำนโครงกำรขนำดใหญข่ องรัฐ ๑.๓ กำรที่บริษัทแห่งหน่ึงให้ของขวัญเป็นทองค�ำมูลค่ำมำกกว่ำ ๑๐ บำท แก่เจ้ำหน้ำที่ในปี ที่ผ่ำนมำ และปีนี้เจ้ำหน้ำท่ีเร่งรัดคืนภำษีให้กับบริษัทนั้นเป็นกรณีพิเศษ โดยลัดคิวให้ก่อนบริษัทอ่ืนๆ เพรำะคำดว่ำจะได้รับของขวญั อกี ๑.๔ กำรที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐไปเป็นคณะกรรมกำรของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสำหกิจ และได้รับ ควำมบันเทิงในรูปแบบต่ำงๆ จำกบริษัทเหล่ำน้ัน ซ่ึงมีผลต่อกำรให้ค�ำวินิจฉัย หรือข้อเสนอแนะ ที่เปน็ ธรรม หรือเปน็ ไปในลกั ษณะทเี่ อ้ือประโยชนต์ ่อบรษิ ทั ผ้ใู ห้น้นั ๆ 14 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกันการทจุ ริต”
๑.๕ เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ไดร้ บั ชดุ ไมก้ อลฟ์ จากผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั เอกชน เมอื่ ตอ้ งทำ� งานทเี่ กย่ี วขอ้ ง กบั บรษิ ทั เอกชนแหง่ นนั้ กช็ ว่ ยเหลอื ใหบ้ รษิ ทั นนั้ ไดร้ บั สมั ปทาน เนอื่ งจากรสู้ กึ วา่ ควรตอบแทนทเ่ี คยไดร้ บั ของขวัญมา ๒. การท�ำธุรกจิ กับตนเองหรอื เปน็ คสู่ ัญญา ๒.๑ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค หารายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชน ได้อาศัยโอกาสท่ีตนปฏิบัติหน้าท่ี เร่งรัดภาษีอากรค้างผู้ประกอบการรายหน่ึงหาประโยชน์ให้แก่ตนเองด้วยการขายประกันชีวิตให้แก่ หุ้นส่วนผู้จัดการของผู้ประกอบการดังกล่าว รวมท้ังพนักงานของผู้ประกอบการน้ันอีกหลายคน ในขณะท่ีตนก�ำลังด�ำเนินการเร่งรัดภาษีอากรค้าง พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวเป็นการอาศัย ต�ำแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรง ตาม มาตรา ๘๓ (๓) ประกอบมาตรา ๘๔ แหง่ พระราชบญั ญตั ิระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒.๒ การทเี่ จ้าหนา้ ทใี่ นกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จ้างทำ� สญั ญาใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั ซอื้ คอมพวิ เตอร์ สำ� นักงานจากบรษิ ทั ของครอบครวั ตนเอง หรอื บริษัททต่ี นเองมีหุ้นส่วนอยู่ ๒.๓ ผู้บริหารหน่วยงานท�ำสัญญาเช่ารถไปสัมมนาและดูงานกับบริษัทซ่ึงเป็นของเจ้าหน้าท่ี หรือบรษิ ัทท่ีผู้บริหารมหี นุ้ สว่ นอยู่ ๒.๔ การท่ีผู้ตรวจสอบบัญชีภาครัฐรับงานพิเศษเป็นที่ปรึกษา หรือเป็นผู้ท�ำบัญชีให้กับบริษัท ทต่ี อ้ งถกู ตรวจสอบ ๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซื้อที่ดินย่านถนนรัชดาภิเษก ใกล้กับศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย จากกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการก�ำดูแลของธนาคาร แห่งประเทศไทย กระทรวงการคลงั โดยอดีตนายกรฐั มนตรี ซ่ึงในขณะนน้ั ดำ� รงต�ำแหน่งนายกรัฐมนตรี ในฐานะเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ดูแลกิจการของกองทุนฯ ได้ลงนามยินยอมในฐานะคู่สมรสให้ภรรยา ประมูลซื้อที่ดินและท�ำสัญญาซื้อขายท่ีดิน ส่งผลให้เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาซ้ือที่ดิน โฉนดแปลงดงั กลา่ ว อนั เป็นการขดั กนั ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ การฝ่าฝืนตอ่ กฎหมาย มคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๐ (๑) ๓. การท�ำงานหลงั จากออกจากต�ำแหนง่ หนา้ ทีส่ าธารณะ หรอื หลังเกษยี ณ ๓.๑ อดีตผู้อ�ำนวยการ โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง เพ่ิงเกษียณอายุราชการไปท�ำงานเป็นที่ปรึกษา ในบรษิ ัทผลติ หรอื ขายยา โดยใชอ้ ทิ ธิพลจากท่เี คยด�ำรงตำ� แหนง่ ในโรงพยาบาลดังกล่าว ใหโ้ รงพยาบาล ซ้ือยาจากบริษัทท่ีตนเองเป็นท่ีปรึกษาอยู่พฤติการณ์เช่นนี้ มีมูลความผิดท้ังทางวินัย และทางอาญา ฐานเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจท�ำให้ผู้อื่นเช่ือว่า ตนมีต�ำแหน่งหรือหน้าที่ท้ังที่ตนมิได้มีต�ำแหน่งหรือหน้าที่น้ัน เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้ ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 15
โดยชอบด้วยกฎหมายส�ำหรับตนเองหรือผู้อ่ืน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒๓ ๓.๒ การท่ีผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ขององค์กรด้านเวชภัณฑ์และสุขภาพออกจากราชการไป ทำ� งาน ในบริษทั ผลติ หรือขายยา ๓.๓ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่เกษียณแล้วใช้อิทธิพลที่เคยด�ำรงต�ำแหน่ง ในหน่วยงานรัฐ รับเป็นท่ีปรึกษาให้บริษัทเอกชนที่ตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอา้ งวา่ จะได้ติดต่อกับ หน่วยงานรฐั ได้อยา่ งราบรืน่ ๓.๔ การวา่ จา้ งเจา้ หนา้ ทผ่ี เู้ กษยี ณมาทำ� งานในตำ� แหนง่ เดมิ ทห่ี นว่ ยงานเดมิ โดยไมค่ มุ้ คา่ กบั ภารกจิ ที่ไดร้ บั มอบหมาย ๔. การท�ำงานพิเศษ ๔.๑ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภาษี ๖ ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค ได้จัดต้ังบริษัท รับจ้าง ท�ำบัญชี และให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับภาษี และมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับบริษัท โดยรับจ้าง ท�ำบัญชี และยื่นแบบแสดงรายการให้ผู้เสียภาษีในเขตจังหวัดท่ีรับราชการอยู่ และจังหวัดใกล้เคียง กลับมีพฤติการณ์ช่วยเหลือผู้เสียภาษีให้เสียภาษีน้อยกว่าความเป็นจริง และรับเงินค่าภาษีอากรจาก ผู้เสียภาษีบางรายแล้ว มิได้น�ำไปย่ืนแบบแสดงรายการช�ำระภาษีให้ พฤติการณ์ของเจ้าหน้าที่ดังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับกรมสรรพากรว่าด้วยจรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๙ (๗) (๘) และอาศัยต�ำแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัย อยา่ งไมร่ ้ายแรงตามมาตรา ๘๓ (๓) แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ อีกท้งั เปน็ การปฏิบัติหน้าท่รี าชการโดยมิชอบ เพ่ือให้เกิดความเสยี หายแกท่ างราชการโดยรา้ ยแรง และปฏบิ ัติ หน้าที่ราชการโดยทุจริต และยังกระท�ำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรงเป็นความผิด วินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๘๕ (๑) และ (๔) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๔.๒ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐอาศัยต�ำแหน่งหน้าที่ทางราชการรับจ้างเป็นที่ปรึกษาโครงการ เพ่ือใหบ้ รษิ ัทเอกชนที่วา่ จ้างน้ันมีความน่าเชื่อถอื มากกวา่ บรษิ ทั คแู่ ขง่ ๔.๓ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ท�ำงานท่ีได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มที่ แต่เอาเวลา ไปรบั งานพิเศษอืน่ ๆ ท่อี ยนู่ อกเหนอื อ�ำนาจหน้าที่ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากหน่วยงานตามกฎหมาย ๕. การรขู้ อ้ มูลภายใน ๕.๑ นายชา่ ง ๕ แผนกชุมสายโทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ี องค์การโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทย ไดน้ �ำขอ้ มลู เลขหมายโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทรี่ ะบบ ๔๗๐ MHZ และระบบปลดลอ็ คไปขายใหแ้ กผ่ อู้ นื่ จำ� นวน ๔๐ หมายเลข เพอื่ นำ� ไปปรบั จนู เขา้ กบั โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทท่ี น่ี ำ� ไปใชร้ บั จา้ งใหบ้ รกิ ารโทรศพั ทแ์ กบ่ คุ คลทวั่ ไป คณะกรรมการ ป.ป.ช. มมี ตชิ มี้ ลู ความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๗ และ มาตรา ๑๖๔ 16 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”
และมีความผิดวินัย ข้อบังคับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยว่าด้วยการพนักงาน พ.ศ. ๒๕๓๖ ขอ้ ๔๔ และ ๔๖ ๕.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพ่ีน้องไปซื้อ ท่ีดนิ บรเิ วณโครงการดงั กลา่ ว เพอ่ื ขายให้กบั ราชการในราคาทสี่ งู ข้ึน ๕.๓ การที่เจ้าหน้าท่ีหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ อุปกรณ์ท่ีจะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนท่ีตนรู้จัก เพื่อให้ได้ เปรยี บในการประมูล ๖. การใชท้ รัพยส์ นิ ของราชการเพ่ือประโยชนส์ ว่ นตน ๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อ�ำนาจหน้าท่ีโดยทุจริต ด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าที่น�ำเก้าอี้ พร้อมผ้าคุมเก้าอี้ เครื่องถ่ายวิดีโอ เครื่องเล่นวิดีโอ กล้องถ่ายรูป และผ้าเต็นท์ น�ำไปใช้ในงานมงคล สมรส ของบุตรสาว รวมทั้งรถยนต์ รถต้สู ่วนกลาง เพ่ือใชร้ บั สง่ เจ้าหนา้ ท่เี ขา้ รว่ มพิธี และขนย้ายอปุ กรณ์ ท้ังที่บ้านพักและงานฉลองมงคลสมรสท่ีโรงแรม ซ่ึงล้วนเป็นทรัพย์สินของทางราชการ การกระท�ำของ จ�ำเลยนับเป็นการใช้อ�ำนาจโดยทุจริตเพื่อประโยชน์ส่วนตนอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ได้ช้ีมูลความผิดวินัยและอาญา ต่อมาเร่ืองเข้าสู่กระบวนการในช้ันศาล ศาลพิเคราะห์พยาน หลักฐานโจทก์แล้วเห็นว่าการกระท�ำของจ�ำเลย เป็นการทุจริตต่อต�ำแหน่งหน้าท่ีฐานเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าท่ีซื้อท�ำจัดการหรือรักษาทรัพย์ใดๆ ใช้อ�ำนาจในต�ำแหน่งโดยทุจริตอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ และเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ จงึ พพิ ากษาใหจ้ ำ� คุก ๕ ปี และปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท ค�ำใหก้ ารรบั สารภาพเปน็ ประโยชน์ แกก่ ารพจิ ารณา คดี ลดโทษใหก้ ่ึงหนงึ่ คงจ�ำคกุ จ�ำเลยไว้ ๒ ปี ๖ เดอื น และปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท ๖.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ผู้มีหน้าท่ีขับรถยนต์ของส่วนราชการ น�ำน�้ำมันในรถยนต์ไปขาย และน�ำเงินมาไว้ใช้จ่ายส่วนตัวท�ำให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพื่อซ้ือน้�ำมันรถมากกว่า ที่ควรจะเป็น พฤติกรรมดังกล่าวถือเป็นการทุจริตเบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพ่ือประโยชน์ ของตนเอง และมคี วามผิดฐานลักทรัพย์ ๖.๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีรัฐ ผู้มีอ�ำนาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่ายค่าน�้ำมันเชื้อเพลิง นำ� รถยนตข์ องสว่ นราชการไปใช้ในกิจธรุ ะสว่ นตวั ๗. การน�ำโครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กต้ังเพือ่ ประโยชน์ในทางการเมือง ๗.๑ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลแห่งหน่ึงร่วมกับพวก แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายละเอียด โครงการปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในต�ำบลที่ตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบ จากสภาฯ และ ตรวจรบั งานทงั้ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ งตามแบบรปู รายการทกี่ ำ� หนด รวมทงั้ เมอ่ื ดำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ ได้ติดป้ายช่ือของตนและพวกการกระท�ำดังกล่าวมีมูลเป็นการกระท�ำการฝ่าฝืนต่อความสงบเรียบร้อย หรือสวัสดิภาพของประชาชนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอ�ำนาจหน้าที่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 17
มมี ลู ความผดิ ทง้ั ทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงและทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี นงั สอื แจง้ ผลการพจิ ารณา ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหผ้ มู้ อี ำ� นาจ แตง่ ตง้ั ถอดถอน และสำ� นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตงั้ ทราบ ๗.๒ การที่นักการเมืองในจังหวัด ขอเพิ่มงบประมาณเพ่ือน�ำโครงการตัดถนน สร้างสะพาน ลงในจังหวดั โดยใชช้ ่อื หรือนามสกุลของตนเองเป็นชื่อสะพาน ๗.๓ การทีร่ ฐั มนตรีอนุมัติโครงการไปลงในพน้ื ท่ีหรือบ้านเกิดของตนเอง ๘. การใช้ต�ำแหนง่ หนา้ ทแ่ี สวงหาประโยชน์แก่เครอื ญาติ พนักงานสอบสวนละเว้นไม่น�ำบันทึกการจับกุมท่ีเจ้าหน้าที่ต�ำรวจชุดจับกุมท�ำข้ึนในวันเกิดเหตุ รวมเขา้ สำ� นวน แตก่ ลับเปลีย่ นบนั ทกึ และแก้ไขขอ้ หาในบันทึกการจับกมุ เพื่อช่วยเหลือผตู้ ้องหา ซึง่ เป็น ญาติของตนให้รับโทษนอ้ ยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พจิ ารณาแล้วมมี ลู ความผิดทางอาญาและทางวนิ ัย อยา่ งร้ายแรง ๙. การใช้อิทธิพลเข้าไปมผี ลตอ่ การตดั สินใจของเจา้ หนา้ ทีร่ ฐั หรือหน่วยงานของรฐั อนื่ ๙.๑ เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ต�ำแหน่งหน้าท่ีในฐานะผู้บริหาร เข้าแทรกแซงการปฏิบัติงานของ เจา้ หน้าท่ี ใหป้ ฏบิ ตั หิ น้าที่โดยมชิ อบด้วยระเบยี บ และกฎหมายหรอื ฝ่าฝืนจริยธรรม ๙.๒ นายเอ เป็นหัวหน้าส่วนราชการแห่งหน่ึงในจังหวัด รู้จักสนิทสนมกับ นายบี หัวหน้า ส่วนราชการอีกแห่งหน่ึงในจังหวัดเดียวกัน นายเอ จึงใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัวฝากลูกชาย คือ นายซี เข้ารับราชการภายใตส้ ังกดั ของนายบี ๑๐. การขดั แย้งกนั แห่งผลประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชนส์ ว่ นรวมประเภทอื่นๆ ๑๐.๑ การเดินทางไปราชการต่างจังหวัด โดยไม่ค�ำนึงถึงจ�ำนวนคน จ�ำนวนงาน และจ�ำนวนวัน อย่างเหมาะสม อาทิ เดินทางไปราชการจ�ำนวน ๑๐ วัน แต่ใช้เวลาในการท�ำงานจริงเพียง ๖ วัน โดยอกี ๔ วัน เปน็ การเดนิ ทางท่องเทย่ี วในสถานทต่ี ่าง ๆ ๑๐.๒ เจา้ หนา้ ท่ผี ปู้ ฏิบัติไม่ใชเ้ วลาในราชการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเตม็ ท่ี เน่อื งจากต้องการปฏบิ ัติงาน นอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบิกเงนิ งบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏิบัตงิ านนอกเวลาราชการได้ ๑๐.๓ เจา้ หนา้ ที่ของรัฐลงเวลาปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ โดยมไิ ด้อย่ปู ฏบิ ตั งิ านในช่วงเวลาน้นั อยา่ งแท้จรงิ แตก่ ลบั ใชเ้ วลาดังกลา่ วปฏบิ ัติกจิ ธุระสว่ นตวั 18 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การป้องกันการทุจริต”
ใบความรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง กฎหมายท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการป้องกนั การขดั กนั ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวม พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มำตรำ ๑๒๖ นอกจำกเจ้ำพนักงำนของรัฐท่ีรัฐธรรมนูญก�ำหนดไว้เป็นกำรเฉพำะแล้วห้ำมมิให้ กรรมกำร ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ และเจ้ำพนักงำนของรัฐท่ีคณะกรรมกำร ป.ป.ช. ประกำศ กำ� หนด ดำ� เนนิ กิจกำรดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) เป็นคู่สัญญำหรือมีส่วนได้เสียในสัญญำที่ท�ำกับหน่วยงำนของรัฐท่ีเจ้ำพนักงำนของรัฐผู้นั้น ปฏิบัติหน้ำท่ีในฐำนะท่ีเป็นเจ้ำพนักงำนของรัฐซ่ึงมีอ�ำนำจไม่ว่ำโดยตรงหรือโดยอ้อมในกำรก�ำกับ ดูแล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ดำ� เนนิ คดี (๒) เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้ำงหุ้นส่วนหรือบริษัทที่เข้ำเป็นคู่สัญญำกับหน่วยงำนของรัฐ ที่เจ้ำพนักงำนของรัฐผู้น้ันปฏิบัติหน้ำท่ีในฐำนะที่เป็นเจ้ำพนักงำนของรัฐซึ่งมีอ�ำนำจไม่ว่ำโดยตรงหรือ โดยออ้ มในกำรกำ� กับ ดูแล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ด�ำเนินคด ี เว้นแตจ่ ะเป็นผถู้ ือหุ้นในบริษัทจ�ำกัดหรือ บริษทั มหำชนจ�ำกัดไมเ่ กนิ จำ� นวนทค่ี ณะกรรมกำร ป.ป.ช. ก�ำหนด (๓) รับสัมปทำนหรือคงถือไว้ซึ่งสัมปทำนจำกรัฐ หน่วยรำชกำร หน่วยงำนของรัฐ รัฐวิสำหกิจ หรือรำชกำรส่วนท้องถิ่น หรือเข้ำเป็นคู่สัญญำกับรัฐ หน่วยรำชกำร หน่วยงำนของรัฐ รัฐวิสำหกิจ หรอื รำชกำรสว่ นทอ้ งถนิ่ อนั มลี กั ษณะเปน็ กำรผกู ขำดตดั ตอน หรอื เปน็ หนุ้ สว่ นหรอื ผถู้ อื หนุ้ ในหำ้ งหนุ้ สว่ น หรือบริษัทท่ีรับสัมปทำน หรือเข้ำเป็นคู่สัญญำในลักษณะดังกล่ำว ในฐำนะที่เป็นเจ้ำพนักงำนของรัฐ ซง่ึ มอี �ำนำจไม่วำ่ โดยตรงหรือโดยอ้อมในกำรกำ� กบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ด�ำเนนิ คด ี เว้นแตจ่ ะเป็น ผู้ถอื หุน้ ในบริษัทจ�ำกัดหรือบริษัทมหำชนจำ� กัดไม่เกนิ จำ� นวนทคี่ ณะกรรมกำร ป.ป.ช. กำ� หนด (๔) เข้ำไปมีส่วนได้เสียในฐำนะเป็นกรรมกำร ท่ีปรึกษำ ตัวแทน พนักงำนหรือลูกจ้ำงในธุรกิจ ของเอกชนซึ่งอยู่ภำยใต้กำรก�ำกับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหน่วยงำนของรัฐท่ีเจ้ำพนักงำน ของรัฐผู้น้ันสังกัดอยู่หรือปฏิบัติหน้ำที่ในฐำนะเป็นเจ้ำพนักงำนของรัฐ ซึ่งโดยสภำพของผลประโยชน์ ของธุรกิจของเอกชนนั้นอำจขัดหรือแย้งต่อประโยชน์ส่วนรวม หรือประโยชน์ทำงรำชกำร หรือกระทบ ตอ่ ควำมมีอสิ ระในกำรปฏบิ ัตหิ น้ำทข่ี องเจ้ำพนกั งำนของรัฐผู้นัน้ ให้น�ำควำมในวรรคหนึ่ง มำใช้บังคับกับคู่สมรสของเจ้ำพนักงำนของรัฐตำมวรรคหน่ึงด้วย โดยใหถ้ อื วำ่ กำรดำ� เนนิ กจิ กำรของคสู่ มรสเปน็ กำรดำ� เนนิ กจิ กำรของเจำ้ พนกั งำนของรฐั เวน้ แตเ่ ปน็ กรณี ทค่ี ู่สมรสนน้ั ด�ำเนินกำรอยกู่ ่อนทเี่ จำ้ พนกั งำนของรฐั จะเข้ำด�ำรงต�ำแหนง่ คสู่ มรสตำมวรรคสองใหห้ มำยควำมรวมถงึ ผซู้ งึ่ อยกู่ นิ กนั ฉนั สำมภี รยิ ำโดยมไิ ดจ้ ดทะเบยี นสมรสดว้ ย ท้ังน ้ี ตำมหลกั เกณฑ์ทคี่ ณะกรรมกำร ป.ป.ช. ก�ำหนด เจ้ำพนกั งำนของรัฐที่มีลักษณะตำม (๒) หรอื (๓) ตอ้ งด�ำเนินกำรไมใ่ หม้ ลี ักษณะดงั กล่ำวภำยใน สำมสิบวนั นับแตว่ นั ทเี่ ข้ำด�ำรงตำ� แหน่ง ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี ๓ 19
มาตรา ๑๒๘ ห้ามมิให้เจ้าพนักงานของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดอันอาจคํานวณ เป็นเงินได้จากผู้ใด นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาตามหลักเกณฑ์และจํานวนท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุพการี ผู้สืบสันดาน หรือญาติท่ีใหต้ ามประเพณหี รอื ตามธรรมจรรยาตามฐานานรุ ูป บทบัญญัติในวรรคหน่ึงให้ใช้บังคับกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดของผู้ซ่ึงพ้นจาก การเปน็ เจ้าพนักงานของรฐั มาแล้วยังไมถ่ ึงสองปดี ว้ ยโดยอนุโลม ประกาศคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรมการทจุ รติ แหง่ ชาติ เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารรับทรัพยส์ นิ หรือประโยชนอ์ ืน่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๓ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๐๓ แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วย การป้องกนั และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการปอ้ งกัน และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติจึงก�ำหนดหลักเกณฑ์ และจ�ำนวนทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดที่เจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับ จากบุคคลไดโ้ ดยธรรมจรรยาไว้ ดงั นี้ ข้อ ๓ ในประกาศน้ี “การรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา” หมายความว่า การรับทรัพย์สิน หรือ ประโยชนอ์ น่ื ใดจากญาติ หรอื จากบคุ คลทใ่ี หก้ ันในโอกาสต่างๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรอื วัฒนธรรม หรือใหก้ ันตามมารยาทท่ปี ฏิบตั ิกันในสังคม “ญาติ” หมายความวา่ ผบู้ ุพการี ผู้สืบสนั ดาน พี่น้องรว่ มบดิ ามารดา หรือร่วมบดิ า หรือมารดา เดียวกัน ลุง ป้า น้า อา คู่สมรส ผู้บุพการี หรือผู้สืบสันดานของคู่สมรส บุตรบุญธรรม หรือผู้รับ บุตรบญุ ธรรม “ประโยชนอ์ น่ื ใด” หมายความวา่ สง่ิ ทมี่ ลู คา่ ไดแ้ ก่ การลดราคา การรบั ความบนั เทงิ การรบั บรกิ าร การรับการฝกึ อบรม หรอื สิ่งอนื่ ใดในลกั ษณะเดียวกนั ข้อ ๔ ห้ามมิใหเ้ จ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ผ้ใู ด รบั ทรัพย์สิน หรือประโยชนอ์ นื่ ใดจากบุคคลนอกเหนือจาก ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ นั ควรไดต้ ามกฎหมาย หรอื กฎ ขอ้ บงั คบั ทอี่ อกโดยอาศยั อำ� นาจตามบทบญั ญตั ิ แห่งกฎหมาย เวน้ แต่การรบั ทรัพย์สนิ หรอื ประโยชนอ์ น่ื ใดโดยธรรมจรรยาตามท่ีก�ำหนดไว้ในประกาศนี้ ข้อ ๕ เจา้ หน้าที่ของรัฐจะรบั ทรัพยส์ นิ หรือประโยชนอ์ ื่นใดโดยธรรมจรรยาได้ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดจากญาติ ซึ่งให้โดยเสน่หาตามจ�ำนวนที่เหมาะสม ตามฐานานรุ ปู (๒) รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ญาติ มีราคา หรือมูลค่าในการรับ จากแต่ละบคุ คลแตล่ ะโอกาสไม่เกินสามพนั บาท (๓) รับทรัพย์สนิ หรือประโยชนอ์ ่ืนใด ทีก่ ารให้นน้ั เปน็ การใหใ้ นลกั ษณะใหก้ ับบคุ คลทั่วไป 20 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เติม การป้องกันการทจุ รติ ”
ขอ้ ๖ การรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนอ์ ืน่ ใดจากต่างประเทศ ซง่ึ ผใู้ หม้ ไิ ด้ระบใุ หเ้ ป็นของสว่ นตัว หรือมีราคา หรือมูลคา่ เกินกว่าสามพันบาท ไมว่ า่ จะระบุเปน็ ของสว่ นตัวหรอื ไม่ แตม่ ีเหตุผลความจ�ำเปน็ ท่ีจะต้องรับไว้เพ่ือรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้น้ัน รายงานรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์ดังกล่าวให้ผู้บังคับบัญชา ทราบโดยเร็ว หากผู้บังคับบัญชาเห็นว่าไม่มีเหตุท่ีจะอนุญาตให้เจ้าหน้าที่ผู้น้ันยึดถือทรัพย์สิน หรือ ประโยชน์ดังกล่าวนัน้ ไวเ้ ป็นประโยชนส์ ่วนตนให้เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐผนู้ น้ั ส่งมอบทรพั ย์สนิ ใหห้ นว่ ยงานของ รัฐที่เจ้าหน้าทีข่ องรฐั ผนู้ ้ันสังกัดทันที ข้อ ๗ การรบั ทรัพยส์ นิ หรอื ประโยชน์อืน่ ใด ทไี่ ม่เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ หรือมีราคา หรอื มีมลู ค่า มากกว่าท่ีก�ำหนดไว้ในข้อ ๕ ซ่ึงเจ้าหน้าที่ของรัฐได้รับมาแล้ว โดยมีความจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องรับไว้ เพอ่ื รกั ษาไมตรี มติ รภาพ หรอื ความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผนู้ น้ั ตอ้ งแจง้ รายละเอยี ด ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์น้ันต่อผู้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นหัวหน้าส่วนราชการ ผูบ้ ริหารสงู สดุ ของรฐั วสิ าหกิจ หรอื ผ้บู รหิ ารสูงสดุ ของหนว่ ยงาน สถาบนั หรอื องคก์ รทเี่ จ้าหน้าทีข่ องรัฐ ผู้น้ันสังกัด โดยทันทีที่สามารถกระท�ำได้ เพื่อให้วินิจฉัยว่ามีเหตุผลความจ�ำเป็น ความเหมาะสม และ สมควรท่จี ะใหเ้ จ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ผนู้ นั้ รบั ทรพั ยส์ ินหรอื ประโยชน์นั้นไวเ้ ป็นสทิ ธิของตนหรอื ไม่ ในกรณที ผ่ี ู้บงั คับบัญชา หรือผบู้ ริหารสูงสดุ ของรฐั วิสาหกจิ หนว่ ยงาน หรือสถาบัน หรอื องคก์ ร ที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้นั้นสังกัด มีค�ำส่ังว่าไม่สมควรรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์ดังกล่าวก็ให้คืนทรัพย์สิน หรอื ประโยชนน์ นั้ แกผ่ ใู้ หโ้ ดยทนั ที ในกรณที ไี่ มส่ ามารถคนื ใหไ้ ด้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผนู้ น้ั สง่ มอบทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชน์ดังกล่าวให้เปน็ สิทธิของหน่วยงานทีเ่ จ้าหนา้ ที่ของรัฐผู้นัน้ สังกดั โดยเรว็ เม่อื ไดด้ ำ� เนินการตามความในวรรคสองแลว้ ใหถ้ อื วา่ เจา้ หน้าทข่ี องรฐั ผ้นู ั้น ไมเ่ คยไดร้ บั ทรัพยส์ ิน หรอื ประโยชน์ดงั กลา่ วเลย ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ได้รับทรัพย์สินไว้ตามวรรคหน่ึงเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง หรือเทียบเท่า หรือเป็นกรรมการ หรือผู้บริหารสูงสุดของ รัฐวสิ าหกจิ หรือเปน็ กรรมการ หรอื ผูบ้ รหิ ารสูงสดุ ของหน่วยงานของรัฐ ใหแ้ จง้ รายละเอยี ดขอ้ เท็จจรงิ เกี่ยวกับการรบั ทรพั ยส์ ินหรือประโยชนน์ ้ันต่อผูม้ อี ำ� นาจแตง่ ต้ังถอดถอน สว่ นผทู้ ี่ด�ำรงต�ำแหนง่ ประธาน กรรมการ และกรรมการในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ หรือผู้ด�ำรงต�ำแหน่งท่ีไม่มีผู้บังคับบัญชาท่ี มีอ�ำนาจถอดถอนให้แจ้งต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท้ังน้ี เพื่อด�ำเนินการตามความในวรรคหนึ่งและ วรรคสอง ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ได้รับทรัพย์สินตามวรรคหน่ึง เป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกสภาท้องถิ่น ให้แจ้งรายละเอียดข้อเท็จจริงเก่ียวกับการรับ ทรพั ยส์ นิ หรอื ประโยชนเ์ ทา่ นน้ั ตอ่ ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ประธานวฒุ สิ ภา หรอื ประธานสภาทอ้ งถน่ิ ทเ่ี จ้าหนา้ ทขี่ องรฐั ผูน้ นั้ เปน็ สมาชกิ แลว้ แตก่ รณี เพ่อื ดำ� เนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ขอ้ ๘ หลักเกณฑ์การรบั ทรพั ยส์ ิน หรือประโยชน์อืน่ ใดของเจา้ หนา้ ทีข่ องรฐั ตามประกาศฉบับน้ี ใหใ้ ช้บงั คับแกผ่ ู้ซงึ่ พน้ จากการเป็นเจ้าหนา้ ท่ีของรฐั มาแลว้ ไม่ถึงสองปดี ว้ ย ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ 21
ระเบียบส�ำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการให้ หรือรับของขวญั ของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ โดยทท่ี ผ่ี ่านมา คณะรฐั มนตรี ไดเ้ คยมมี ตคิ ณะรฐั มนตรเี กย่ี วกบั แนวทางปฏบิ ตั ิ ในการใหข้ องขวญั และรับของขวัญของเจ้าหน้าท่ีของรัฐไว้หลายครั้ง เพื่อเป็นการเสริมสร้างค่านิยมให้เกิดการประหยัด มิให้มีการเบียดเบียนข้าราชการโดยไม่จ�ำเป็น และสร้างทัศนคติท่ีไม่ถูกต้อง เน่ืองจากมีการแข่งขันกัน ให้ของขวัญในราคาแพงทั้งยังเป็นช่องทางให้เกิดการประพฤติมิชอบอื่นๆ ในวงราชการอีกด้วย และ ในการก�ำหนดจรรยาบรรณ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทตา่ งๆ ก็มีการก�ำหนดในเรื่องท�ำนองเดียวกัน ประกอบกับคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ประกาศก�ำหนดหลักเกณฑ์ และจ�ำนวนท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อ่ืนใดโดยธรรมจรรยาได้ ฉะน้ันจึงสมควร รวบรวมมาตรการเหล่านั้น และก�ำหนดเป็นหลักเกณฑ์การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ของรัฐในการให้ ของขวัญและรับของขวัญไว้เป็นการถาวรมีมาตรฐานอย่างเดียวกันและมีความชัดเจน เพ่ือเสริม มาตรการของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติให้เป็นผลอย่างจริงจัง ท้ังนี้ เฉพาะในสว่ นทีค่ ณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาตไิ มไ่ ด้ก�ำหนดไว้ อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรีโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี จึงวางระเบียบไวด้ ังต่อไปน้ี ขอ้ ๓ ในระเบยี บน้ี “ของขวัญ”หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใด ท่ีให้แก่กัน เพื่ออัธยาศัยไมตรี และให้หมายความรวมถึงเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดท่ีให้เป็นรางวัล ให้โดยเสน่หา หรือเพื่อ การสงเคราะห์ หรือใหเ้ ปน็ สินนำ�้ ใจ การใหส้ ิทธิพเิ ศษ ซง่ึ มใิ ช่เป็นสิทธทิ ีจ่ ัดไวส้ �ำหรับบคุ คลท่ัวไปในการ ได้รับการลดราคาทรัพย์สินหรือการให้สิทธิพิเศษในการได้รับบริการ หรือความบันเทิงตลอดจน การออกค่าใช้จ่ายในการเดินทาง หรือท่องเที่ยวค่าท่ีพัก ค่าอาหาร หรือส่ิงอ่ืนใดในลักษณะเดียวกัน และไม่วา่ จะใหเ้ ป็นบตั ร ตัว๋ หรือหลักฐานอ่นื ใด การชำ� ระเงนิ ให้ลว่ งหนา้ หรือการคนื เงินใหใ้ นภายหลัง “ปกติประเพณีนิยม” หมายความว่า เทศกาล หรือวันส�ำคัญ ซึ่งอาจมีการให้ของขวัญกัน และ ให้หมายความรวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดง ความขอบคุณ การต้อนรับ การแสดง ความเสยี ใจ หรอื การให้ความชว่ ยเหลอื ตามมารยาททีถ่ ือปฏบิ ัตกิ ันในสังคมด้วย “ผูบ้ งั คับบญั ชา” ให้หมายความรวมถึง ผู้ซ่ึงปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี หัวหนา้ หนว่ ยงาน ที่แบง่ เป็นการภายใน ของหน่วยงานของรัฐ และผู้ซ่ึงด�ำรงต�ำแหน่งในระดับท่ีสูงกว่า และได้รับมอบหมายให้มีอ�ำนาจ บงั คบั บญั ชาหรอื ก�ำกับดูแลดว้ ย “บุคคลในครอบครัว” หมายความว่า คู่สมรส บุตร บิดา มารดา พ่ีน้องร่วมบิดามารดา หรือ ร่วมบิดา หรือมารดาเดยี วกัน ข้อ ๔ ระเบียบน้ีไม่ใช้บังคับกับกรณีการรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึง่ อยู่ภายใตบ้ งั คับกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ ขอ้ ๕ เจา้ หน้าทีข่ องรฐั จะใหข้ องขวญั แก่ผูบ้ ังคบั บัญชา หรือบคุ คลในครอบครวั ของผูบ้ งั คับบัญชา นอกเหนอื จากกรณปี กติประเพณนี ยิ มท่ีมีการให้ของขวัญแก่กนั มิได้ 22 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกันการทุจริต”
การให้ของขวัญตามปกติประเพณีนิยมตามวรรคหน่ึง เจ้าหน้าที่ของรัฐจะให้ของขวัญที่มีราคา หรือมูลค่าเกินจ�ำนวนท่ีคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติก�ำหนดไว้ส�ำหรับ การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าท่ีของรัฐตามกฎหมายประกอบ รัฐธรรมนญู ว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทจุ รติ มิได้ เจ้าหน้าที่ของรัฐจะท�ำการเรี่ยไรเงิน หรือทรัพย์สินอ่ืนใด หรือใช้เงินสวัสดิการใดๆ เพ่ือมอบให้ หรือจดั หาของขวัญ ใหผ้ ูบ้ งั คบั บญั ชา หรอื บุคคลในครอบครวั ของผูบ้ งั คบั บัญชาไมว่ า่ กรณีใดๆ มไิ ด้ ข้อ ๖ ผู้บังคับบัญชาจะยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้บุคคลในครอบครัวของตนรับของขวัญจาก เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ซงึ่ เปน็ ผูอ้ ยูใ่ นบงั คับบัญชามไิ ด้เวน้ แตเ่ ป็นการรับของขวญั ตามขอ้ ๕ ข้อ ๗ เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั จะยนิ ยอม หรอื รู้เหน็ เป็นใจใหบ้ ุคคลในครอบครวั ของตนรบั ของขวญั จาก ผูท้ เี่ ก่ียวขอ้ งในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ขี องเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐมไิ ด้ ถา้ มใิ ช่เป็นการรับของขวัญตามกรณีที่ก�ำหนด ไวใ้ น ข้อ ๘ ผู้ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าที่ของรัฐตามวรรคหนึ่ง ได้แก่ ผู้มาติดต่องาน หรือ ผู้ซ่งึ ไดร้ บั ประโยชน์จากการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หน้าทข่ี องรัฐ ในลักษณะดังตอ่ ไปน้ี (๑) ผูซ้ ง่ึ มีค�ำขอใหห้ น่วยงานของรัฐดำ� เนนิ การอยา่ งหนง่ึ อยา่ งใด เช่น การขอใบรบั รอง การขอ ให้ออกค�ำสั่งทางปกครอง หรอื การรอ้ งเรยี น เป็นต้น (๒) ผู้ซ่ึงประกอบธุรกิจ หรือมีส่วนได้เสียในธุรกิจ ท่ีท�ำกับหน่วยงานของรัฐ เช่น การจัดซ้ือ จดั จ้าง หรอื การได้รบั สัมปทาน เป็นตน้ (๓) ผู้ซึ่งก�ำลังด�ำเนินกิจกรรมใดๆ ที่มีหน่วยงานของรัฐ เป็นผู้ควบคุม หรือก�ำกับดูแล เช่น การประกอบกิจการโรงงาน หรอื ธรุ กจิ หลักทรัพย์ เป็นตน้ (๔) ผู้ซ่ึงอาจได้รับประโยชน์ หรือผลกระทบจากการปฏิบัติหน้าที่ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ข้อ ๘ เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐ จะยนิ ยอม หรือรู้เหน็ เป็นใจให้บคุ คลในครอบครวั ของตนรบั ของขวัญจาก ผู้ที่เก่ียวข้องในการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐได้เฉพาะกรณี การรับของขวัญท่ีให้ตามปกติ ประเพณนี ิยม และของขวญั นนั้ มรี าคา หรือมูลค่าไมเ่ กนิ จำ� นวนท่คี ณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทจุ ริตแห่งชาติกำ� หนดไวส้ ำ� หรบั การรับทรัพย์สิน หรอื ประโยชนอ์ ื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าหนา้ ท่ี ของรฐั ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ข้อ ๙ ในกรณีท่ีบุคคลในครอบครัวของเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐรับของขวัญแล้ว เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐทราบ ในภายหลัง ว่าเป็นการรับของขวัญโดยฝ่าฝืนระเบียบน้ี ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติก�ำหนดไว้ส�ำหรับการรับทรัพย์สิน หรือ ประโยชนอ์ น่ื ใด โดยธรรมจรรยาของเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ทมี่ รี าคา หรอื มลู คา่ เกนิ กวา่ ทก่ี ำ� หนดไว้ ตามกฎหมาย ประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ข้อ ๑๐ ในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐผู้ใดจงใจปฏิบัติเกี่ยวกับการให้ของขวัญ หรือรับของขวัญ โดยฝ่าฝืนระเบียบนี้ ใหด้ �ำเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ 23
(๑) ในกรณีท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นข้าราชการการเมือง ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นประพฤติ ปฏิบัติไม่เป็นไปตามคุณธรรม และจริยธรรม และให้ด�ำเนินการตามระเบียบที่นายกรัฐมนตรีก�ำหนด โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรวี า่ ดว้ ยมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของขา้ ราชการการเมอื ง (๒) ในกรณที ี่เจา้ หน้าทขี่ องรัฐเปน็ ขา้ ราชการประเภทอน่ื นอกจาก (๑) หรือพนกั งานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือพนักงานของรัฐวิสาหกิจให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้นั้นเป็นผู้กระท�ำความผิด ทางวนิ ัย และให้ผ้บู งั คับบญั ชามีหน้าทด่ี ำ� เนินการใหม้ ีการลงโทษทางวนิ ัยเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ผนู้ ั้น ข้อ ๑๑ ใหส้ �ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรฐั มนตรี มีหน้าท่สี อดส่อง และใหค้ ำ� แนะน�ำในการปฏบิ ัติ ตามระเบียบน้ีแก่หน่วยงานของรัฐ ในกรณีท่ีมีผู้ร้องเรียนต่อส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายรัฐมนตรีว่า เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดปฏิบัติในการให้ของขวัญ หรือรับของขวัญฝ่าฝืนระเบียบนี้ ให้ส�ำนักงานปลัด สำ� นกั นายกรัฐมนตรแี จ้งไปยังผบู้ งั คบั บัญชาของเจา้ หน้าท่ขี องรัฐผ้นู น้ั เพื่อดำ� เนินการตามระเบยี บน้ี ขอ้ ๑๒ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการเสรมิ สรา้ งใหเ้ กดิ ทศั นคตใิ นการประหยดั แกป่ ระชาชนทว่ั ไปในการแสดง ความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการต้อนรบั หรือการแสดงความเสยี ใจ ในโอกาสตา่ งๆ ตามปกติ ประเพณีนิยมให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐพยายามใช้วิธีการแสดงออกโดยใช้บัตรอวยพร การลงนาม ในสมุดอวยพร หรือใช้บัตรแสดงความเสยี ใจ แทนการให้ของขวัญ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าท่ีเสริมสร้างค่านิยมการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดง การต้อนรับ หรือการแสดงความเสียใจ ด้วยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง แนะน�ำ หรือ ก�ำหนดมาตรการจูงใจท่ีจะพัฒนาทัศนคติ จิตส�ำนึก และพฤติกรรมของผู้อยู่ในบังคับบัญชาให้เป็นไป ในแนวทางประหยัด ระเบยี บส�ำนกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการเรย่ี ไรของหน่วยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๔ ขอ้ ๔ ในระเบียบนี้ “การเร่ยี ไร” หมายความวา่ การเกบ็ เงนิ หรอื ทรัพย์สนิ โดยขอรอ้ งให้ชว่ ยออกเงนิ หรือทรัพยส์ นิ ตามใจสมคั ร และใหห้ มายความรวมถงึ การซอ้ื ขาย แลกเปล่ียน ชดใช้ หรอื บริการ ซ่งึ มีการแสดงโดยตรง หรอื โดยปริยายวา่ มใิ ชเ่ ปน็ การซ้อื ขาย แลกเปลยี่ น ชดใช้ หรือบริการธรรมดา แต่เพือ่ รวบรวมเงนิ หรือ ทรพั ยส์ ิน ทีไ่ ด้มาทงั้ หมด หรือบางสว่ นไปใชใ้ นกิจการอย่างใดอยา่ งหนึ่งน้ันดว้ ย “เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไร” หมายความว่า เข้าไปช่วยเหลือ โดยมีส่วนร่วมในการจัด ให้มกี ารเรยี่ ไรในฐานะเปน็ ผู้รว่ มจัดใหม้ ีการเร่ียไร หรือเป็นประธานกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำ� งาน ที่ปรึกษา หรือในฐานะอน่ื ใดในการเรย่ี ไรนั้น ข้อ ๖ หน่วยงานของรัฐจะจัดให้มีการเรี่ยไรหรือเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเร่ียไรมิได้ เว้นแต่ เป็นการเรี่ยไร ตามข้อ ๑๙ หรือได้รับอนุมัติจาก กคร. หรือ กคร.จังหวัด แล้วแต่กรณี ท้ังน้ี ตาม หลักเกณฑท์ ี่ก�ำหนดไว้ในระเบยี บนี้ 24 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจรติ ”
หน่วยงานของรัฐ ซึ่งจะต้องได้รับอนุญาตในการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไร นอกจากจะต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเร่ียไรแล้วจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ท่ีก�ำหนดไว้ในระเบียบนี้ด้วย ในกรณีน้ี กคร. อาจก�ำหนดแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานรัฐดังกล่าว ใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคุมการเร่ียไรก็ได้ ข้อ ๘ ให้มีคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรของหน่วยงานของรัฐ เรียกโดยย่อว่า “กคร.” ประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ ผู้แทนส�ำนักนายก รฐั มนตรี ผู้แทนกระทรวงกลาโหม ผูแ้ ทนกระทรวงการคลัง ผแู้ ทนกระทรวงมหาดไทย ผแู้ ทนกระทรวง ศึกษาธิการ ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข ผู้แทนส�ำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ผู้แทนส�ำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ผู้แทนส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และ ผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงนายกรัฐมนตรีแต่งต้ังอีกไม่เกินส่ีคน เป็นกรรมการ และผู้แทนส�ำนักงานปลัดส�ำนัก นายกรฐั มนตรีเป็นกรรมการและเลขานกุ าร กคร. จะแต่งตั้งข้าราชการในส�ำนักงานปลัดส�ำนักนายกรัฐมนตรีจ�ำนวนไม่เกินสองคนเป็น ผ้ชู ่วยเลขานกุ ารก็ได้ ข้อ ๑๘ การเรีย่ ไรหรอื เข้าไปมสี ่วนเกี่ยวขอ้ งกับการเรย่ี ไรที่ กคร. หรือ กคร.จังหวดั แล้วแต่กรณี จะพิจารณาอนุมัติให้ตามขอ้ ๖ ได้นน้ั จะต้องมีลักษณะ และวตั ถปุ ระสงค์อย่างหน่งึ อยา่ งใด ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นการเร่ียไรทีห่ นว่ ยงานของรฐั เปน็ ผดู้ ำ� เนินการ เพ่ือประโยชนแ์ ก่หน่วยงานของรฐั นน้ั เอง (๒) เปน็ การเรย่ี ไรทห่ี น่วยงานของรัฐเป็นผ้ดู ำ� เนนิ การ เพอ่ื ประโยชนแ์ ก่การป้องกัน หรือพัฒนา ประเทศ (๓) เป็นการเรีย่ ไรทหี่ น่วยงานของรัฐเป็นผู้ดำ� เนนิ การ เพื่อสาธารณประโยชน์ (๔) เป็นกรณีที่หน่วยงานของรัฐเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไรของบุคคล หรือนิติบุคคล ทไี่ ด้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการควบคมุ การเร่ียไร ตามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ การเรย่ี ไรแล้ว ข้อ ๑๙ การเร่ียไร หรือเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเรี่ยไร ดังต่อไปนี้ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง ขออนมุ ตั จิ าก กคร. หรอื กคร.จงั หวัด แล้วแตก่ รณี (๑) เปน็ นโยบายเร่งดว่ นของรฐั บาล และมีมติคณะรฐั มนตรใี ห้เร่ยี ไรได้ (๒) เปน็ การเรีย่ ไรทรี่ ัฐบาล หรือหน่วยงานของรัฐจำ� เปน็ ตอ้ งดำ� เนนิ การ เพอ่ื ช่วยเหลอื ผู้เสียหาย หรอื บรรเทาความเสยี หายทเ่ี กดิ จากสาธารณภยั หรอื เหตกุ ารณใ์ ดท่ีสำ� คญั (๓) เปน็ การเรี่ยไรเพื่อรว่ มกันทำ� บุญเน่อื งในโอกาสการทอดผา้ พระกฐินพระราชทาน (๔) เป็นการเรี่ยไรตามข้อ ๑๘ (๑) หรือ (๓) เพ่ือให้ได้เงิน หรือทรัพย์สิน ไม่เกินจ�ำนวนเงิน หรือมูลคา่ ตามที่ กคร. ก�ำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (๕) เป็นการเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเร่ียไรตามข้อ ๑๘ (๔) ซึ่ง กคร. ได้ประกาศใน ราชกจิ จานเุ บกษา ยกเว้นใหห้ น่วยงานของรัฐด�ำเนนิ การได้โดยไมต่ ้องขออนมุ ตั ิ (๖) เป็นการให้ความร่วมมือกับหน่วยงานของรัฐอ่ืนที่ได้รับอนุมัติ หรือได้รับยกเว้นในการ ขออนุมัตติ ามระเบียบนแี้ ลว้ ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ 25
ข้อ ๒๐ ในกรณีท่หี น่วยงานของรฐั ได้รับอนุมตั ิ หรือไดร้ บั ยกเวน้ ตามข้อ ๑๙ ใหจ้ ัดให้มีการเรยี่ ไร หรอื เข้าไปมสี ่วนเก่ียวขอ้ งกับการเรยี่ ไรใหห้ นว่ ยงานของรัฐด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ (๑) ใหก้ ระทำ� การเร่ียไรเปน็ การทัว่ ไป โดยประกาศ หรือเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน (๒) ก�ำหนดสถานที่ หรอื วธิ กี ารท่ีจะรบั เงิน หรือทรพั ยส์ นิ จากการเรี่ยไร (๓) ออกใบเสร็จ หรือหลักฐานการรับเงิน หรือทรัพย์สินให้แก่ผู้บริจาคทุกครั้ง เว้นแต่โดย ลักษณะแห่งการเร่ียไรไม่สามารถออกใบเสร็จ หรือหลักฐานดังกล่าวได้ ก็ให้จัดท�ำเป็นบัญชีการรับเงิน หรอื ทรพั ยส์ นิ นน้ั ไว้เพอ่ื ใหส้ ามารถตรวจสอบได้ (๔) จัดท�ำบัญชีการรับจ่าย หรือทรัพย์สินท่ีได้จากการเรี่ยไรตามระบบบัญชีของทางราชการ ภายในเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ส้ินสุดการเรี่ยไร หรือทุกสามเดือน ในกรณีที่เป็นการเร่ียไรท่ีกระท�ำ อย่างต่อเนื่อง และปิดประกาศเปิดเผย ณ ท่ีท�ำการของหน่วยงานของรัฐที่ได้ท�ำการเร่ียไรไม่น้อยกว่า สามสิบวัน เพื่อให้บุคคลท่ัวไปได้ทราบ และจัดให้มีเอกสารเกี่ยวกับการด�ำเนินการเรี่ยไรดังกล่าวไว้ ณ สถานทสี่ �ำหรับประชาชนสามารถใชใ้ นการค้นหา และศึกษาข้อมูลขา่ วสารของราชการด้วย (๕) รายงานการเงินของการเรี่ยไรพร้อมท้ังส่งบัญชีตาม (๔) ให้ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้จัดท�ำบัญชีตาม (๔) แล้วเสร็จ หรือในกรณีที่เป็นการเร่ียไรที่ได้กระท�ำ อยา่ งตอ่ เน่ือง ให้รายงานการเงนิ พร้อมท้ังสง่ บัญชดี ังกล่าวทกุ สามเดือน ขอ้ ๒๑ ในการเร่ยี ไร หรอื เข้าไปมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกับการเรี่ยไร ห้ามมใิ หห้ น่วยงานของรฐั ดำ� เนนิ การ ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) ก�ำหนดประโยชน์ที่ผู้บริจาค หรือบุคคลอื่นจะได้รับซ่ึงมิใช่ประโยชน์ที่หน่วยงานของรัฐ ได้ประกาศไว้ (๒) ก�ำหนดให้ผู้บรจิ าค ตอ้ งบริจาคเงนิ หรอื ทรัพยส์ นิ เป็นจ�ำนวน หรอื มูลคา่ ท่ีแน่นอน เวน้ แต่ โดยสภาพมีความจ�ำเป็นต้องก�ำหนดเป็นจ�ำนวนเงินท่ีแน่นอน เช่น การจ�ำหน่ายบัตรเข้าชมการแสดง หรอื บัตรเขา้ ร่วมการแข่งขัน เป็นต้น (๓) กระท�ำการใดๆ ท่ีเป็นการบังคับให้บุคคลใดท�ำการเรี่ยไร หรือบริจาค หรือกระท�ำการ ในลักษณะที่ ท�ำให้บุคคลน้ันต้องตกอยู่ในภาวะจ�ำยอม ไม่สามารถปฏิเสธ หรือหลีกเลี่ยงท่ีจะไม่ช่วย ทำ� การเรยี่ ไร หรอื บรจิ าค ไม่ว่าโดยทางตรง หรอื ทางอ้อม (๔) ให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐออกท�ำการเร่ียไร หรือใช้ สั่ง ขอร้อง หรือบังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือบุคคลอ่นื ออกท�ำการเรยี่ ไร ข้อ ๒๒ เจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเข้าไปมีส่วนเก่ียวข้องกับการเร่ียไรของบุคคล หรือนิติบุคคลท่ีได้รับ อนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการเร่ียไรตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรซึ่งมิใช่หน่วยงาน ของรัฐจะตอ้ งไมก่ ระท�ำการ ดงั ต่อไปน้ี (๑) ใช้ หรือแสดงต�ำแหน่งหน้าท่ีให้ปรากฏในการด�ำเนินการเรี่ยไรไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา ดว้ ยส่งิ พิมพต์ ามกฎหมายว่าด้วยการพมิ พ์ หรือส่ืออย่างอนื่ หรอื ดว้ ยวิธีการอ่นื ใด (๒) ใช้ ส่ัง ขอรอ้ ง หรือบงั คบั ให้ผ้ใู ตบ้ งั คับบัญชา หรอื บุคคลใดช่วยท�ำการเรี่ยไรให้ หรอื กระท�ำ ในลักษณะที่ท�ำให้ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือบุคคลอื่นนั้นต้องตกอยู่ในภาวะจ�ำยอมไม่สามารถปฏิเสธ หรอื หลีกเลีย่ งท่ีจะไม่ชว่ ยทำ� การเรี่ยไรให้ได้ไมว่ า่ โดยทางตรง หรือทางอ้อม 26 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”
แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยท่ี ๑ ช่ือหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ สงั เคราะห์ผลประโยชน์ เวลา ๒ ช่ัวโมง สว่ นตนออกจากผลประโยชนส์ ว่ นรวม โดยใช้ระบบคดิ ฐาน ๒ ที่ส่งผลกระทบตอ่ ประเทศในสังคมโลก ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความส�ำคัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกันการทุจรติ ๒. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นสามารถ ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั ระบบการคิดฐาน ๒ ๒.๒ สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใชร้ ะบบคดิ ฐาน ๒ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศในสงั คมโลก ๒.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำคัญของการต่อต้านและปอ้ งกันการทจุ ริต ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ ระบบคิด “ฐาน ๒ (Digital)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีสามารถเลือกไดเพียง ๒ ทางเทา่ นัน้ คอื ๐ (ศูนย) กับ ๑ (หนงึ่ ) และอาจหมายถงึ โอกาสทจ่ี ะเลอื กไดเพยี ง ๒ ทาง เชน ใชกับ ไมใช, จรงิ กบั เทจ็ , ทําไดก บั ทําไมไ ด, ประโยชน์ส่วนตนกับประโยชนส ว นรวม เปน ตน ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกิด) ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร (ทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการพดู ทกั ษะการเขยี น) ๒) ความสามารถในการคดิ (ทกั ษะการวเิ คราะห์ ทกั ษะการจัดกลุ่ม ทกั ษะการสรุป) ๓.๓ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์/คา่ นิยม ๑) มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ๒) ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณใ์ นสิ่งท่ดี งี ามเพือ่ ส่วนรวม ๓) ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเลา่ เรียนท้งั ทางตรง และทางอ้อม ๔) มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดตี อ่ ผู้อืน่ เผ่ือแผ่ และแบง่ ปัน ๕) มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผ้นู ้อยรูจ้ กั การเคารพผใู้ หญ่ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 27
๖) มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต�่ำ หรือกิเลส มีความ ละอาย เกรงกลัวต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (วิธีสอน โดยการจดั การเรียนรู้แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ) (Role Playing) ๔.๑ ขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี ๑ ขน้ั ที่ ๑ ข้นั อนุ่ เครื่อง ๑) แจ้งวัตถุประสงค์ และรูปแบบกิจกรรม ท่ีจะให้นักเรียนปฏิบัติการเรียนการสอน โดยแสดงบทบาทสมมตุ กิ ารกระทำ� ทีเ่ กิดจากการคิดระบบฐาน ๒) นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ เป็น ๕ กลุม่ ๓) ศึกษาใบความร้ทู ี่ ๔ เรอ่ื ง ระบบคดิ ฐาน ๒ ๔) แต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรปุ ลงกระดาษชาร์ต พร้อมนำ� เสนอหนา้ ชน้ั เรียน ขน้ั ท่ี ๒ ข้ันคัดเลอื กผแู้ สดง ๑) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันก�ำหนดบทบาท การแสดงให้สอดคล้องกับใบความรู้ ทน่ี กั เรียนได้ศึกษาตามหวั ขอ้ ต่อไปน้ี โดยการจับฉลาก - การนำ� วัสดุครภุ ณั ฑ์หลวงมาใชส้ ่วนตวั - การรับของขวญั จากผ้มู าตดิ ต่อราชการ - การใชโ้ ทรศพั ท์หลวงในเร่ืองส่วนตวั - การน�ำอุปกรณ์ไฟฟ้ามาชารต์ ทที่ ำ� งาน - การใช้น้�ำประปาหลวงมาล้างรถยนต์สว่ นตัว ๒) รว่ มกันเขยี นบทละคร ๓) แต่ละกลมุ่ คดั เลือกสมาชกิ เพอื่ รับบทบาทการแสดงตามความชอบและถนัด ๔) ซกั ซ้อมการแสดงตามทไ่ี ดต้ กลงกันไว้ ข้นั ที่ ๓ ข้ันจัดฉาก ๑) ออกแบบ และจดั ฉากตามท่ีได้ตกลง ๒) ครกู ำ� กบั ตดิ ตามดแู ล และแนะนำ� การออกแบบจดั ฉาก ใหอ้ ยใู่ นความเหมาะสมพอเพยี ง และสอดคล้องกับเน้อื เร่อื งที่แตล่ ะกล่มุ ก�ำหนดจากการจับฉลาก ขนั้ ที่ ๔ ขนั้ เตรียมผสู้ ังเกตการณ์ ครูอธบิ าย และช้ีแจงนักเรียนแต่ละกล่มุ ถงึ ประเดน็ ในการสอ่ื สารผ่านบทบาทสมมตุ ิ ช่วั โมงท่ี ๒ ขั้นท่ี ๕ ขน้ั แสดง และตดั สนิ การแสดง แสดงบทบาทสมมุตจิ นครบทกุ กลมุ่ 28 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิม่ เตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”
ขั้นที่ ๖ ข้ันอภิปรายและประเมนิ ผล ร่วมกันอภิปรายประเด็น จากเรื่องที่ได้รับชมการแสดง ท้ังเห็นด้วย และไม่เห็นด้วย ในพฤตกิ รรมของผแู้ สดง ขน้ั ท่ี ๗ ขนั้ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และสรุป ๑) ร่วมกันอภิปราย แลกเปล่ียนประสบการณ์ของแต่ละคนในชีวิตจริง เพ่ือให้ผู้นักเรียน มี แนวคดิ ท่ีกวา้ งขวางมากขน้ึ ๒) รว่ มกนั สรปุ องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการเรยี นวา่ จะมผี ลกระทบตอ่ ประเทศในสงั คมโลกอย่างไร เปน็ ผงั มโนทัศน์ ขั้นท่ี ๘ ขั้นสรุปอา้ งองิ ๑) มอบหมายให้นักเรียน คิดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับบทบาทของแต่ละคน ในสถานการณ์ใหม่ ท่ีใกล้เคียงกับเร่ืองที่ได้เรียนไปแล้ว เพื่อจะน�ำไปสู่การตัดสินใจท่ีจะปรับปรุงพฤติกรรมที่เหมาะสม ในการปฏบิ ัตติ น ๒) ร่วมกันต้ังปณิธานในการป้องการการทุจริตให้หมดไปจากสังคมไทย เพื่อให้เกิดภาพ ลกั ษณะ ที่ดใี นสงั คมโลก ๔.๒ สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรียนรู้ ๑) สื่อการเรยี นรู้ ๑.๑ ใบความรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื ง ระบบคดิ ฐาน ๒ ๑.๒ เครื่องคอมพิวเตอรท์ เี่ ชอื่ มตอ่ ระบบอินเตอร์เนต็ ๒) แหลง่ เรียนรู้ ๒.๑ หอ้ งสมุดโรงเรยี น ๒.๒ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://web.uprightschool.net/ https://www.nacc.go.th/more_news.php?cid=๕๙๒ https://youtube/FEfrARhWnGc ๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ วธิ ีการประเมิน ๑) ประเมินชน้ิ งาน/การน�ำเสนองาน ๒) สังเกตพฤตกิ รรมการท�ำงานรายบคุ คล ๓) สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๔) ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 29
๕.๒ เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมิน ๑) แบบประเมินชิ้นงาน/การนำ� เสนองาน ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำงานรายบุคคล ๓) สงั เกตคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๔) ตรวจสอบทดสอบหลังการเรยี น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ ๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ ๑) แบบประเมินการนำ� เสนอผลงาน นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดับ ดีขึน้ ไป ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดับ ดีขน้ึ ไป ๓) แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินในระดบั ดีขึน้ ไป ๖. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครผู ู้สอน (.......................................) ............./............./............. 30 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทุจริต”
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ที่ ๔ เรือ่ ง ระบบคดิ ฐานสอง (Digital) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสอง (Digital)” เป็นระบบกำรคดิ วเิ ครำะห์ขอ้ มูล ทสี่ ำมำรถเลอื กไดเ้ พยี ง ๒ ทำงเทำ่ นน้ั คือ ๐ (ศนู ย)์ กบั ๑ (หน่ึง) และอำจหมำยถึงโอกำสท่ีจะเลือกได้เพียง ๒ ทำง เช่น ใช่กับไม่ใช่, จริงกับเท็จ, ท�ำได้กับท�ำไม่ได้, ประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ ตน้ จึงเหมำะกับกำรนำ� มำเปรยี บเทียบกบั กำรปฏบิ ตั ิงำน ของเจ้ำหนำ้ ทขี่ องรัฐท่ตี ้องสำมำรถแยก เรือ่ งต�ำแหน่งหนำ้ ทีก่ ับเรื่องส่วนตัวออกจำกกันไดอ้ ย่ำงเดด็ ขำด และไมก่ ระท�ำกำรทเ่ี ป็นกำรขัดกันระหวำ่ งประโยชน์สว่ นบุคคลและประโยชนส์ ว่ นรวม “กำรปฏบิ ตั งิ ำน แบบใช้ระบบคิดฐำนสอง (Digital)” คือ กำรที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ มีระบบกำรคิดท่ีสำมำรถแยก เร่ือง ต�ำแหน่งหน้ำท่ีกับเรื่องส่วนบุคคลออกจำกกันได้อย่ำงชัดเจนว่ำส่ิงไหนถูก ส่ิงไหนผิด สิ่งไหนท�ำได้ สิ่งไหนท�ำไม่ได้ ส่ิงไหนคือประโยชน์ส่วนบุคคล สิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนรวม ไม่น�ำมำปะปนกัน ไม่น�ำ บุคลำกรหรือทรัพย์สินของรำชกำรมำใช้ เพื่อประโยชน์ส่วนบุคคล ไม่เบียดบังรำชกำร เห็นแก่ ประโยชน์ส่วนรวมหรือของหน่วยงำนเหนือกว่ำประโยชน์ของส่วนบุคคล เครือญำติ และพวกพ้อง ไม่แสวงหำประโยชน์จำกต�ำแหน่งหน้ำที่รำชกำร ไม่รับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจำกกำรปฏิบัติ หนำ้ ท ี่ กรณเี กดิ กำรขดั กนั ระหวำ่ งประโยชนส์ ว่ นบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวมกจ็ ะยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ หลกั ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๓ 31
การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐมีระบบการคิดที่ สามารถแยกออกอยา่ งชดั เจนวา่ สงิ่ ไหนถกู สิ่งไหนผิด ส่ิงไหนท�ำได้ส่ิงไหนท�ำไม่ได้ ส่ิ ง ไ ห น คื อ ป ร ะ โ ย ช น ์ ส ่ ว น ต น ส่ิ ง ไ ห น คือประโยชน์ส่วนรวม ไม่น�ำมาปะปน กัน ไม่น�ำส่ิงของราชการมาใช้เพ่ือ ประโยชน์ส่วนตน ไม่เบียดบังราชการ เ ห็ น แ ก ่ ป ร ะ โ ย ช น ์ ส ่ ว น ร ว ม ห รื อ ข อ ง หนว่ ยงานเหนอื กวา่ ประโยชนข์ องสว่ นตน ไมแ่ สวงหาประโยชน์จากตำ� แหนง่ หนา้ ท่ี ราชการ ไม่รับทรัพย์สินหรือประโยชน์ อ่นื ใดจากการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี กรณเี กิดการ ขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชน์ส่วนรวม จะต้องยึดประโยชน์ สว่ นรวมเปน็ หลกั ไมร่ บั ของขวญั จาก สงั คมโลกสมยั ใหมย่ คุ ผู้มาติดต่อราชการ แยกประโยชน์ส่วนตนออก ไม่ใชโ้ ทรศัพทห์ ลวง จากประโยชน์สว่ นรวม ในเรือ่ งสว่ นตวั เห็นประโยชนส์ าธารณะ ไม่น�ำอปุ กรณ์ไฟฟ้า มาก่อนประโยชนส์ ว่ นตน ส่วนตัวมาชาร์ต ที่ท�ำงาน ไมย่ อมรับกบั ค�ำพดู ท่ีว่า ไมใ่ ชน้ า้ํ ประปาหลวง “ทจุ รติ บ้างไมเ่ ปน็ ไร ถ้าเราไดป้ ระโยชน”์ ล้างรถส่วนตวั ไมน่ �ำวสั ุดครภุ ณั ฑ์หลวง ไปใชส้ ่วนตัว 32 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”
แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยท่ี ๑ ช่ือหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรือ่ ง การทุจริตท่เี กดิ จากการคดิ ระบบคดิ ฐาน ๑๐ เวลา ๒ ชว่ั โมง ในสถานการณต์ า่ งๆ ท่ีสง่ ผลกระทบต่อประเทศ และสังคมโลก ๑. ผลการเรยี นรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ ๒. จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ ๒.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั ระบบการคดิ ฐาน ๑๐ ๒.๒ สามารถคิดแยกแยะการทุจริตที่เกิดจากการคิดระบบคิดฐาน ๑๐ ในสถานการณ์ต่างๆ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศ และสังคมโลก ๒.๓ ตระหนักและเหน็ ความสำ� คัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจรติ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ระบบคิด “ฐาน ๑๐ (Analog)” เปน ระบบการคดิ วเิ คราะหขอมลู ทีม่ ตี วั เลขหลายตัว และ อาจหมายถงึ โอกาสทจี่ ะเลอื กไดห ลายทาง เกดิ ความคดิ ทหี่ ลากหลาย ซบั ซอ น หากนํามาเปรยี บเทยี บกบั การปฏบิ ตั ิงานของ เจาหนาท่ีของรฐั จะทําใหเ จาหนาทขี่ องรฐั ตองคิดเยอะตองใชด ุลยพนิ ิจเยอะ อาจจะ นําประโยชน์สวนบุคคลและประโยชนสวนรวมมาปะปนกันไดแยกประโยชนสวนบุคคล และประโยชน สวนรวมออกจากกันไมไ ด ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด) ๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร (ทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการพดู ทกั ษะการเขยี น) ๒) ความสามารถในการคดิ ๓.๓ ทกั ษะการวิเคราะห์ (ทกั ษะการจดั กลมุ่ ทักษะการสรปุ ) ๓.๔ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์/ค่านยิ ม ๑) มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ๒) ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ดุ มการณใ์ นส่ิงทด่ี งี ามเพื่อส่วนรวม ๓) ใฝห่ าความรู้ หมน่ั ศกึ ษาเลา่ เรียนทง้ั ทางตรง และทางออ้ ม ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ 33
๔) มีศีลธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผู้อ่ืน เผ่ือแผ่ และแบ่งปนั ๕) มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ ๖) มคี วามเขม้ แขง็ ทงั้ รา่ งกาย และจติ ใจไมย่ อมแพต้ อ่ อำ� นาจฝา่ ยตำ�่ หรอื กเิ ลส มคี วามละอาย เกรงกลวั ต่อบาปตามหลกั ของศาสนา ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยการจดั การเรียนร้แู บบค้นพบ) (Discovery Method) ๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี ๑ ขั้นท่ี ๑ ข้ันนำ� ๑) ครรู ว่ มกบั นกั เรยี นถามตอบเกย่ี วกบั อาชพี ใดในประเทศไทยทไี่ มพ่ บการทจุ รติ ในอาชพี นนั้ ๆ ๒) ครรู ว่ มถามตอบกบั นกั เรยี นเกยี่ วกบั การคดิ ระบบฐาน ๑๐ ในอาชพี ใดทสี่ รา้ งความเสยี หาย ใหแ้ กป่ ระเทศชาตไิ ดม้ ากท่สี ดุ ๓) รว่ มกนั ถามตอบเกีย่ วกับอาชพี ทน่ี ักเรยี นพบการทจุ ริตในกลุ่มนักเรยี นได้หรือไม่ ขัน้ ท่ี ๒ ข้ันสอน ๔) ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเปน็ ๕ กล่มุ และใหน้ ่ังเปน็ กลมุ่ ๕) ครูแจกใบความรู้ท่ี ๕ ระบบคิดฐาน ๑๐ และใบงานท่ี ๑ การวิเคราะห์สถานการณ์ การทุจรติ ท่ีเปิดข้ึนทงั้ ในประเทศ และต่างประเทศ ให้กับนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม ๖) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้ ระบบคิดฐาน ๑๐ จากใบความรู้ ห้องสมุด และแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ ๗) นกั เรียนร่วมกนั จัดท�ำใบงานท่ี ๑ ๘) ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ ในส่วนที่นักเรยี นสงสยั และซกั ถาม ชว่ั โมงที่ ๒ ขัน้ ท่ี ๓ ขัน้ ฝึกทกั ษะ ๑) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั สนทนาแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั หวั ขอ้ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ๒) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันท�ำใบงานที่ ๑ การวิเคราะห์สถานการณ์การทุจริตท่ีเกิดขึ้น ทง้ั ในประเทศ และตา่ งประเทศ โดยใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนในกลมุ่ ชว่ ยกนั คดิ หาคำ� ตอบ และชว่ ยกนั อธบิ าย ค�ำตอบให้เพ่ือนในกล่มุ ฟังจนทุกคนในกล่มุ มีความรคู้ วามเขา้ ใจท่ีถูกต้องชัดเจน ๓) ครสู ุ่มเลอื กนักเรียน ๓ คน ของแต่ละกลุ่ม นำ� เสนอคำ� ตอบในใบงานท่ี ๑ หนา้ ชั้นเรียน ๔) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีโอกาสถามตอบในประเด็นที่สงสัย และให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนซึ่งกนั และกนั ๕) ครเู ปน็ ผูต้ รวจสอบความถกู ตอ้ ง และอธิบายเพมิ่ เติมในสว่ นทบ่ี กพรอ่ ง 34 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เติม การปอ้ งกันการทุจรติ ”
ขัน้ ที่ ๔ สรปุ ผล ๑) ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นำ� ขอ้ มลู ไปจดั บอรด์ เพอื่ การเรยี นรขู้ องเพอื่ นรว่ มชน้ั และนักเรียนอนื่ ทีส่ นใจเพ่มิ เตมิ ๒) นกั เรยี นสรปุ ความรูท้ ไี่ ดล้ งสมดุ ของแต่ละคน ๓) ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปการปอ้ งกันการทุจริตดว้ ยการเลิกคดิ ระบบฐานสบิ ๔) ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ การปอ้ งกันการทุจรติ ทอี่ าจจะเกิดข้นึ ในอนาคต ๔.๒ สอ่ื การเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้ ๑) ใบความรู้ท่ี ๕ ระบบคดิ ฐาน ๑๐ ๒) ใบงานท่ี ๑ การวิเคราะหส์ ถานการณก์ ารทุจรติ ทเี่ กิดขน้ึ ท้ังในประเทศ และตา่ งประเทศ ๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕.๑ วิธกี ารประเมิน ๑) ประเมนิ ใบงานที่ ๑ ๒) ประเมนิ การนำ� เสนองาน ๕.๒ เคร่อื งมือทใี่ ช้ในการประเมนิ แบบประเมินผลงานใบงานท่ี ๑ ๖. บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ........................................ครูผสู้ อน (.......................................) ............./............./............. ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 35
๗. ภาคผนวก ใบความรู้ท่ี ๕ เรอื่ ง ระบบคดิ ฐาน ๑๐ (Analog) ระบบคดิ “ฐานสบิ (Analog)” เป็นระบบกำรคิดวิเครำะห์ข้อมูลท่ีมีตัวเลขหลำยตัว และอำจหมำยถึงโอกำสท่ีจะเลือกได้ หลำยทำงเกิดควำมคิดที่หลำกหลำยซับซ้อน หำกน�ำมำเปรียบเทียบกับกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำท่ี ของรัฐ จะท�ำให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐต้องคิดเยอะต้องใช้ดุลยพินิจเยอะ อำจจะน�ำประโยชน์ส่วนตน และประโยชนส์ ว่ นรวมมำปะปนกนั ไดแ้ ยกประโยชนส์ ว่ นบคุ คล และประโยชนส์ ว่ นรวมออกจำกกนั ไมไ่ ด้ “การปฏิบัติงานแบบใช้ระบบคิดฐานสิบ (Analog)” คือ กำรที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐยังมีระบบ กำรคิดที่ยังแยกเร่ืองต�ำแหน่งหน้ำท่ี กับเร่ืองส่วนตนออกจำกกันไม่ได้ น�ำประโยชน์ส่วนตน และ ประโยชน์ส่วนรวมมำปะปนกันไปหมด แยกแยะไม่ออกว่ำสิ่งไหนคือประโยชน์ส่วนตน สิ่งไหนคือ ประโยชน์ส่วนรวม นำ� บุคลำกร หรือทรพั ยส์ ินของรำชกำรมำใช้เพื่อประโยชน์ส่วนบคุ คล เบียดบังเวลำ รำชกำรเห็นแก่ประโยชน์ส่วนบุคคล เครือญำติ หรือพวกพ้อง เหนือกว่ำประโยชน์ของส่วนรวม หรือ ของหน่วยงำนจะคอยแสวงหำประโยชน์จำกต�ำแหน่งหน้ำท่ีรำชกำร กรณีเกิด กำรขัดกันระหว่ำง ประโยชนส์ ่วนบคุ คล และประโยชน์ส่วนรวมจะยดึ ประโยชน์ส่วนตนเป็นหลกั 36 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทุจรติ ”
ทำ� ไมจงึ ใช้ ระบบเลขฐานสบิ (Analog) “ทจุ ริต”และ ระบบเลขฐานสอง (Digital) มาใช้แยกแยะการแก้ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐยังมีระบบการคิดที่น�ำ ประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมา ปะปนกันไปหมด แยกแยะไม่ออกว่าส่ิงไหน คือประโยชน์ส่วนตนสิ่งไหนคือประโยชน์ ส่วนรวม น�ำสิ่งของราชการมาใช้เพื่อ ประโยชน์ส่วนตน เบียดบังราชการ เห็นแก่ ประโยชน์ส่วนตนเหนือกว่าประโยชน์ของ สว่ นรวมหรอื ของหนว่ ยงาน จะคอยแสวงหา ประโยชน์จากต�ำแหน่งหน้าท่ีราชการเพ่ือ ตนเอง เครือญาติ หรือพวกพ้อง กรณีเกิด การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและ ประโยชน์ส่วนรวม จะต้องยึดประโยชน์ สว่ นตนเปน็ หลกั ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 37
ใบงานท่ี ๑ เร่ือง การวิเคราะห์สถานการณก์ ารทุจรติ ทีเ่ กดิ ขึน้ ทั้งในประเทศ และตา่ งประเทศ คำาส่งั ๑. ให้นักเรยี นศกึ ษาและวิเคราะห์ขา่ วทกี่ ำาหนดให้และตอบคาำ ถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี จาำ คกุ ๒ ปี ๖ เดือน “หมอชัยวัน” ฐานใช้รถหลวงงานแตง่ ลูกสาว ศำลอำญำพิพำกษำจำ� คุก ๒ ป ี ๖ เดือน ปรบั หมน่ื บำท “นำยแพทยช์ ยั วนั เจรญิ โชคทว ี อดึตคณบดีคณะแพทยศำสตร์ วชิรพยำบำล น�ำรถหลวง-อุปกรณ์ไปใช้ในงำนแต่งลูกสำว สุดหรูทั้งท่ีบ้ำน ที่โรงแรม โดยศำลยังปรำนี ลดเหลือจ�ำคุก ๒ ปีครึ่ง ปรับหนึ่งหม่ืนบำท โดยโทษจ�ำคุกใหร้ อลงอำญำ ๒ ปี ศำลอำญำรัชดำ อ่ำนค�ำพิพำกษำ ในคดีที่อัยกำรเป็นโจทก์ยื่นฟ้องนำยแพทย์ชัยวัน เจริญโชคทวี อดีตคณบดีคณะแพทยศำสตร์วชิรพยำบำล ฐำนเป็นเจ้ำพนักงำนมีหน้ำท่ีซื้อ ท�ำ จัดกำรหรือรักษำทรัพย์ใด ๆ ใช้อ�ำนำจในต�ำแหน่งโดยทุจริตอันเป็นกำร เสียหำยแกร่ ฐั และเป็นเจ้ำพนักงำนปฏิบตั หิ น้ำทห่ี รือละเว้นกำรปฏบิ ัติหน้ำทโ่ี ดยมิชอบ หรือปฏบิ ัต ิ หรือละเวน้ กำรปฏิบัติหนำ้ ท่ีโดยทจุ รติ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๑๕๑ และ ๑๕๗ จำกกรณี เม่ือวันที่ ๑๓ มกรำคม ๒๕๕๔ ขณะจ�ำเลย ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะแพทยศำสตร์ ได้ใช้ อ�ำนำจหน้ำท่ีโดยทุจริต ด้วยกำรส่ังให้เจ้ำหน้ำที่น�ำเก้ำอี้ ๑๐๐ ตัว พร้อมผ้ำปลอกคุมเก้ำอี้/เคร่ืองถ่ำยวิดีโอ ๒ เครื่อง/เคร่ืองเล่นวิดีโอ/กล้องถ่ำยรูป และผ้ำเต็นท์ หลำยผืน เพื่อน�ำไปใช้ในงำนวิวำห์บุตรสำวจ�ำเลย ที่บำ้ นพกั ส่วนตัว รวมทง้ั รถยนต์ รถตู้ ส่วนกลำงอีก ๔ คนั เพ่ือใช้รับสง่ เจ้ำหนำ้ ทีเ่ ขำ้ ร่วมพธิ ี และขนย้ำยอปุ กรณ ์ ท้ังทีบ่ ำ้ นพักและงำนฉลองมงคลสมรสทโ่ี รงแรม ซง่ึ ล้วนเปน็ ทรพั ย์สินของทำงรำชกำร กำรกระท�ำของจ�ำเลยนับเป็นกำรใช้อ�ำนำจโดยทุจริต เพ่ือประโยชน์ส่วนตัว อันเป็นกำรเสียหำยแก่รัฐ และคณะแพทยศำสตร ์ วชริ พยำบำล ต่อมำเดอื นกันยำยน ๒๕๕๖ คณะกรรมกำรปอ้ งกนั และปรำบปรำมกำร ทจุ รติ แห่งชำต ิ หรือ ป.ป.ช. ได้ชี้มลู ควำมผิดวนิ ยั และอำญำกับจ�ำเลย โจทก์จึงขอให้ศำลพิพำกษำลงโทษจำ� เลย ตำมควำมผดิ ด้วย คร้งั แรกจ�ำเลยให้กำรปฏเิ สธ แตต่ อ่ มำให้กำรรบั สำรภำพไม่ตอ่ สูค้ ดี ผลการตดั สิน ศำลพิเครำะห์พยำนหลักฐำนโจทก์แล้วเห็นว่ำ กำรกระท�ำของจ�ำเลยเป็นกำรทุจริตต่อต�ำแหน่งหน้ำที่ ตำมฟอ้ ง จงึ พพิ ำกษำใหจ้ ำ� คกุ ๕ ป ี และปรบั ๒๐,๐๐๐ บำท คำ� ใหก้ ำรรบั สำรภำพ เปน็ ประโยชนแ์ กก่ ำรพจิ ำรณำคดี ลดโทษให้กึ่งหนง่ึ คงจำ� คุกจำ� เลยไว ้ ๒ ปี ๖ เดือน และปรบั ๑๐,๐๐๐ บำท อย่ำงไรก็ดี จ�ำเลยได้ส�ำนึกผิด และชดใช้ค่ำเสียหำยคืนให้แก่รัฐทันที ประกอบกับเป็นแพทย์ ทำ� คณุ ประโยชน์ตอ่ สังคม และไม่เคยตอ้ งโทษจ�ำคุกมำกอ่ น ศำลจึงเห็นควรใหร้ อลงอำญำ 38 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เติม การป้องกันการทุจริต”
๒. จงตอบค�ำถามต่อไปน้ใี ห้ถกู ตอ้ งเหมาะสมทีส่ ดุ ๑. หัวข้อข่าว ................................................................................................................................................. ๒. ความสงสยั ท่ีเกดิ ข้นึ หลงั จากอา่ นข่าว ................................................................................................................................................. ๓. ข้อสังเกตไดจ้ ากขา่ ว ................................................................................................................................................. ๔. สิ่งท่สี ัมผัสได้จากขา่ ว ................................................................................................................................................. ๕. สำ� รวจข้อเท็จจรงิ ของขอ้ มูลทไ่ี ด้จากข่าว ................................................................................................................................................. ๖. สืบค้นขอ้ มูลเพม่ิ เติมท่ไี ด้คือ ................................................................................................................................................. ๗. จากจุดที่สงสัย จุดที่สังเกต ได้สัมผัส ส�ำรวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลจากข่าวที่ได้ศึกษา วิเคราะห์แล้วนนั้ พบประเด็นสำ� คญั คือ ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ๘. จากขา่ วขา้ งตน้ ผลการตัดสนิ จะเป็นเช่นไร ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. ๙. หมอชยั วนั ใช้ระบบการคิดแบบใด จึงได้ดำ� เนินการเช่นขา่ วข้างตน้ .............................................................................................................................................. ๑๐. นักเรยี นจะนำ� กรณีตัวอย่างดังขา่ วไปประยุกต์ใชใ้ นการดำ� เนนิ ชีวติ อยา่ งไร .............................................................................................................................................. ๑๑. จากเหตุการณข์ ้างตน้ จะสง่ ผลกระทบต่อประเทศ และสังคมโลก อยา่ งไร ผลต่อประเทศ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ผลต่อสังคมโลก .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ 39
แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ ๑ ช่ือหน่วย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ เรื่อง การทุจรติ ท่ีเกดิ ข้นึ ในโลกและจริยธรรม เวลา ๒ ชว่ั โมง ที่ใชใ้ นการแกป้ ญั หาการทจุ รติ ทเ่ี กิดในโลก ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำคัญของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทุจริต ๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นักเรยี นสามารถ ๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถคดิ แยกแยะการทุจริตทเ่ี กดิ ขึน้ ในโลก และจริยธรรมที่ใช้ ในการแกป้ ัญหาการทจุ ริตทีเ่ กดิ ในโลก ๒.๒ ตระหนกั และเห็นความส�ำคญั ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจริต ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ ความรู้ การทจุ รติ ท่ีเกิดข้นึ ในโลก และจริยธรรมทีใ่ ช้ในการแก้ปญั หาการทจุ ริตทีเ่ กดิ ในโลก ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด) ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๑.๑ ความสามารถในการคดิ ๑.๒ ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ ๑.๓ ทักษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ ๒) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ (กระบวนการทำ� งานกลุ่ม) ๓.๓ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค/์ ค่านยิ ม ๑) มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ๒) ซือ่ สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นสิ่งทดี่ งี ามเพือ่ สว่ นรวม ๓) กตญั ญตู ่อพอ่ แม่ ผูป้ กครอง ครบู าอาจารย์ ๔) ใฝห่ าความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรยี นท้งั ทางตรง และทางออ้ ม ๕) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม ๖) มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี ่อผู้อนื่ เผ่อื แผ่ และแบ่งปนั ๗) เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขทถี่ กู ต้อง 40 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทจุ รติ ”
๘) มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ ๙) มสี ติรู้ตวั รคู้ ดิ รู้ท�ำ รปู้ ฏบิ ตั ิตามพระราชดำ� รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ๑๐) รูจ้ กั ด�ำรงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามพระราชด�ำรัสของพระบาท สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั รัชกาลที่ ๙ รจู้ ักอดออม ไว้ใชเ้ ม่ือยามจ�ำเปน็ มไี วพ้ อกนิ พอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจา่ ย จ�ำหน่าย และพรอ้ มทีจ่ ะขยายกิจการเมอื่ มีความพรอ้ ม เม่ือมภี ูมคิ ุ้มกนั ท่ดี ี ๑๑) มีความเข้มแข็งท้ังร่างกาย และจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต�่ำ หรือกิเลส มีความ ละอาย และเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ ๑ ขน้ั ที่ ๑ เตรียมการ ครูเตรียมวีดีโอให้นักเรียนดู เร่ือง นิมนต์ย้ิมเดลี่คนดีไม่คอร์รัปชัน ตอน แป๊ะเจี๊ย ตอน ส่งเสริมลูกน้อง และวีดีโอ เรื่อง รับสินบน ฉายท่ีหน้าช้ันเรียน แล้วครูพูดสอบถามนักเรียนว่าวีดีโอ ท้ัง ๒ เรื่อง มีผลอย่างไรต่อชุมชน สังคม ด้านจริยธรรมกับการทุจริต ยกตัวอย่างประเทศไทยของเรา มีลักษณะอย่างไร แล้วให้นักเรียนออกมาบอก และอธิบายประกอบสถานการณ์ว่าอะไรเป็นจริยธรรม อะไรเปน็ การทุจริต ข้นั ที่ ๒ เสนอตัวอยา่ ง ๑) แจกกระดาษขนาด A๔ ใหน้ ักเรยี นคนละ ๑ แผน่ ใหน้ กั เรียนสรปุ Mind Map ตาม ท่คี รกู ำ� หนดลงบนกระดาษให้ถูกตอ้ ง ไวน้ ำ� เสนอนิทรรศการ ๒) นักเรียนน�ำเสนอผลงานตนเอง และศึกษาความรู้จากคลิปต่างๆ เพ่ิมเติม เพื่อเสริม ความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ ช่ัวโมงที่ ๒ ขนั้ ท่ี ๓ เปรียบเทยี บ ๑) นักเรียนแบง่ กลมุ่ ละ ๓ กล่มุ ละๆ ๔ คน ร่วมกันศึกษาความรู้ และสรุปสาระส�ำคัญตาม ประเด็นท่ีครูก�ำหนดจากสถานการณ์ที่นักเรียนได้ดูแล้วให้ตัวแทนกลุ่มออกมาจับสลากหมายเลขกลุ่ม และรบั สถานการณ์จำ� ลองที่ ๑ - ๔ ตามล�ำดับท่จี ับฉลากได้ ๒) ครกู �ำหนดระยะเวลาในการท�ำงานกล่มุ ร่วมกันตามความเหมาะสม แล้วส่มุ ตวั แทนกลมุ่ ออกมาน�ำเสนอความรูท้ ีห่ น้าช้ันเรยี น ตามลำ� ดบั กลมุ่ ที่ ๑ - ๓ ๓) นักเรียนกลุ่มอื่นๆ ต้ังประเด็นค�ำถามหลังจากท่ีตัวแทนกลุ่มน�ำเสนอความรู้จบแล้ว กลุม่ ละ ๑ คำ� ถาม แล้วให้กล่มุ ทเ่ี ป็นเจา้ ของเรอ่ื งชว่ ยกนั ตอบคำ� ถามให้ถกู ตอ้ ง ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ 41
ขนั้ ที่ ๔ สรปุ กฎเกณฑ์ ๑) นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นความรู้ท่ีได้รับจดลงในสมุดแล้วครูต้ังประเด็นค�ำถาม ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตอบ หรอื สุม่ เรยี กนักเรียนให้ตอบเป็นรายบุคคล ๒) นักเรียนร่วมกันศึกษาความรู้ ตามสถานการณ์จ�ำลอง และร่วมแสดงความคิดเห็นว่า ลักษณะของสถานการณ์จ�ำลองที่ได้รับมีความแตกต่างระหว่างจริยธรรมและการทุจริตมีความส�ำคัญ ตอ่ ชมุ ชน สงั คม หรือไมอ่ ยา่ งไร ๓) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ ความรเู้ ป็น Mind Map และวิเคราะหแ์ สดงความคดิ เหน็ ๔) ให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างการทุจริตที่เกิดข้ึนในโลก ณ ปัจจุบัน และจะร่วมกัน สร้างตระหนกั ใหค้ วามส�ำคัญเรือ่ งน้ไี ด้อยา่ งไร ๕) ครูอธิบายใหน้ ักเรียนทราบว่า จรยิ ธรรม และการทุจรติ ของแตล่ ะชมุ ชน สงั คมมคี วาม สอดคลอ้ ง หรือเก่ียวข้องกับวถิ ีชวี ิต ถ้าคนเราไม่เหน็ ความส�ำคญั หรอื แยกแยะไม่ออกว่าผลกระทบทเี่ กิด จะสง่ ผลต่อสงั คมโลกในอนาคตในดา้ นต่างๆ อยา่ งไร ๖) นักเรียนได้รับการช้ีแนะจากครูผู้สอนให้สามารถศึกษาความรู้เสริมเพ่ิมเติม เร่ือง ความแตกต่างระหว่างจริยธรรม และการทุจริต ของโรงเรียนสุจรติ ไดใ้ นเว็ปไซตข์ องโรงเรียนสจุ ริต ข้ันที่ ๕ นำ� ไปใช ้ ๗) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันก�ำหนดแนวทางว่าจริยธรรมใดสามารถแก้ปัญหาการทุจริต ทั้งในประเทศ และสังคมโลกได้ และน�ำมาเขียนใส่ในกระดาษชาร์ตที่ครูแจกให้ แล้วให้สมาชิกในกลุ่ม ช่วยกันเผยแพร่ให้นักเรียน ครู ชุมชน หรือน�ำมาจัดป้ายนิเทศ เพื่อปลุกจิตส�ำนึกกระตุ้นจริยธรรม ตา้ นทุจรติ ๘) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาน�ำเสนอผลงานท่ีหน้าชั้นเรียน โดยครูและ เพ่ือนนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้เมื่อเจอสถานการณ์ การทุจริตในอนาคต และเหตกุ ารณ์ปัจจุบนั ๔.๒ สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้ ๑) สอ่ื การเรยี นรู้ ๑.๑ว ดี โี อ เร่ือง นมิ นตย์ ้มิ เดลี่คนดไี ม่คอร์รัปชนั ตอน แป๊ะเจี๊ยะ ตอน ส่งเสรมิ ลูกนอ้ ง ๑.๒ วีดีโอ เร่อื ง รับสินบน ฯลฯ ๑.๓ หนงั สอื เรียน/หนังสือพิมพ์ ฯลฯ ๒) แหล่งการเรยี นรู้ ๒.๑ แหล่งเรยี นรูใ้ นโรงเรยี น ชมุ ชน/สถานการณ์ที่พบได้ในชมุ ชน ๒.๒ หอ้ งสมดุ โรงเรยี น ๒.๓ ห้องเทคโนโลยใี นโรงเรยี น 42 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกนั การทจุ รติ ”
๕. การประเมินผลการเรียนรู้ ๕.๑ เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมนิ ๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำงานของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล ๒) ผลงานนกั เรยี น ๕.๒ เกณฑ์การตัดสนิ ๑) เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ (ขอ้ ๑) ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๗ - ๙ ดี ๔ - ๖ พอใช้ ๑ - ๓ ปรบั ปรงุ ๒) เกณฑ์การตดั สินคุณภาพพฤตกิ รรมการทำ� งานของนกั เรยี น ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๘ - ๑๐ ดี ๕–๗ ๐-๔ พอใช้ ปรบั ปรงุ ๖. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ลงชอื่ ........................................ครผู สู้ อน (.......................................) ............./............./............. ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 43
แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ เร่ือง ผลกระทบที่เกดิ จากการขัดกนั ระหว่าง เวลา ๒ ชวั่ โมง ผลประโยชน์สว่ นตน และประโยชนส์ ว่ นรวมทเ่ี กดิ ข้ึนในประเทศ ๑. ผลการเรียนรู้ ๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ ส่วนรวม ๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้ ๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสำ� คญั ของการต่อต้านและป้องกันการทจุ รติ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๒.๑ สามารถแยกแยะ พรอ้ มยกตวั อยา่ งระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้ ๒.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๒.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ� คญั ของการต่อต้านและป้องกนั การทจุ รติ ๓. สาระการเรยี นรู้ ๓.๑ ความรู้ ๑) ประโยชน์ส่วนตน หมายถึง การท่ีบุคคลทั่วไปในสถานะเอกชน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในสถานะเอกชนได้ท�ำกิจกรรม หรอื ไดก้ ารกระท�ำต่างๆ เพื่อประโยชนส์ ่วนตน ครอบครัว ญาติ เพือ่ น หรอื ของกลุ่มในสังคม ทีม่ คี วามสมั พนั ธ์กันในรูปแบบต่างๆ เช่น การประกอบอาชีพ การคา้ การลงทนุ เพ่อื หาประโยชนใ์ นทางการเงนิ หรือในทางทรัพยส์ นิ ตา่ งๆ เปน็ ต้น ๒) ประโยชน์ส่วนรวม หรอื ประโยชน์สาธารณะ หมายถึง การท่ีบุคคลใดๆ ในสถานะท่เี ป็น เจา้ หนา้ ท่ี ของรัฐ (ผู้ดำ� รงตำ� แหนง่ ทางการเมือง ขา้ ราชการ พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ หรอื เจ้าหนา้ ทข่ี องรฐั ในหน่วยงานของรัฐ) ได้กระท�ำการใดๆ ตามหน้าท่ี หรือได้ปฏิบัติหน้าที่อันเป็นการด�ำเนินการในอีก ส่วนหน่ึงท่ีแยกออกมาจากการด�ำเนินการตามหน้าที่ในสถานะของเอกชน การกระท�ำการใดๆ ของ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั จงึ มวี ตั ถปุ ระสงคห์ รอื มเี ปา้ หมาย เพอ่ื ประโยชนข์ องสว่ นรวม หรอื การรกั ษาผลประโยชน์ สว่ นรวม ๓) การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐ หมายถงึ การทเี่ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ไดต้ กอยใู่ นฐานะเปน็ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ในรปู แบบตา่ งๆ ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ ห้ามไว้ และยังได้เข้าไปพิจารณาด�ำเนินการในกิจการสาธารณะที่เป็นการด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าท่ี ในกิจการของรัฐ เพื่อประโยชน์ของรัฐ แต่เมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐพิจารณาได้มีผลประโยชน์ส่วนตนเขา้ ไป 44 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจริต”
แอบแฝง หรือได้น�ำประโยชน์ส่วนตนเข้าไปมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ หรือเข้าไปเกี่ยวข้องในการตัดสิน ใจในการดำ� เนินการใดๆ ตามอำ� นาจหน้าท่ีของการดำ� เนนิ งานทีเ่ ป็นกจิ การสว่ นรวมของรัฐ ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กดิ ) ๑) ความสามารถในการคดิ ๑.๑ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ ๑.๒ ทักษะกระบวนการคิดเชงิ สรา้ งสรรค์ ๒) ความสามารถในการสื่อสาร (อา่ น ฟัง พดู เขียน) ๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ (การสังเกต การระบุ จำ� แนก วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรปุ ) ๓.๓ คุณลักษณะที่พึงประสงค/์ ค่านิยม ๑) มศี ีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวงั ดตี ่อผ้อู ่นื เผ่ือแผ่ และแบ่งปนั ๒) มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรจู้ ักการเคารพผใู้ หญ่ ๓) มสี ติรู้ตัว รูค้ ดิ รทู้ ำ� รูป้ ฏบิ ัติตามพระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ๔) มีความเข้มแข็งท้ังร่างกาย และจิตใจไม่ยอมแพ้ต่ออ�ำนาจฝ่ายต�่ำ หรือกิเลสมีความ ละอายเกรงกลวั ต่อบาปตามหลักของศาสนา ๔. กิจกรรมการเรียนรู้ ๔.๑ ขนั้ ตอนการเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี ๑ ขน้ั น�ำ ๑) ครูอ่านพระราชด�ำรัส หรือพระบรมราโชวาท ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมให้เพ่ือน นกั เรียนฟงั ๒) สนทนาอภิปราย เกี่ยวกับพระราชด�ำรัส หรือพระบรมราโชวาท ที่เก่ียวกับประโยชน์ สว่ นรวม โดยครพู ยายามเช่ือมโยง ขนั้ สอน ๑) ชมคลปิ วีดโี อ พระราชดำ� รสั ในหลวง ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยทมี่ าของคลิปวดี ีโอ คอื https://www.youtube.com/watch?v=HUwr๑tDiEFI&feature=youtu.be ๒) สนทนาอภิปราย เก่ียวกับคลิปวีดีโอ พระราชด�ำรัสของในหลวงเมื่อวันท่ี ๕ ธันวาคม ๒๕๕๖ โดยครพู ยายามชใี้ ห้เห็นเร่ืองของการนกึ ถึงประโยชนส์ ่วนรวม ๓) แจกใบความรู้ เร่ือง มารู้จักประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม และการขัดกัน ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ให้นกั เรียนศึกษา ๔) แจกใบงาน เรอื่ ง มารจู้ กั ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม และการขดั กนั ระหวา่ ง ประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม ใหน้ ักเรยี นลงมือปฏบิ ตั ิ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ 45
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124