Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pdf_20220220_000905_0000

pdf_20220220_000905_0000

Published by supaporn091045, 2022-02-19 17:21:21

Description: pdf_20220220_000905_0000

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยีดิทัลเพื่อ การจัดการอาชีพ

เทคโนโลยีดิทัลเพื่อ การจัดการอาชีพ จัดทำโดย นางสาว สุภาพร วินทะชัย ปวส 1/3

บทที่1 Big Date Big Data สําคัญอย่างไรในยุค ปัจจุบัน

BIG DATA (บิ๊ก ดาต้า) บิ๊กดาต้า (BIG DATA) คือคํานิยามของข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ทุกชนิดที่อยู่ ในองค์กร ของเราไม่ว่า จะเป็น ข้อมูลบริษัท ข้อมูลลูกค้า SUPPLIERS พฤติกรรมผู้บริโภค TRANSACTION ไฟล์เอกสารต่างๆที่ เกี่ยวข้องท้ังหมด รวมไปจนถึง รูปภาพ URLS ลิงค์ต่างๆที่คุณเก็บไว้ ฯลฯ ท่ีมีปริมาณมากจนกระทั่ง ซอฟต์แวร์ปกติท่ัวไป ไม่สามารถรองรับการเก็บข้อมูลหรือประมวลผลได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เพิ่มซึ่งอีกนัยนึง Big Data คือ ข้อมูลจํานวนมากมหาศาลของบริษัททุกเรื่อง ทุกแง่มุม ทุกรูปแบบที่ คุณพอจะนึกออก ซึ่งอาจเป็นข้อมูลที่มีโครงสร้าง ชัดเจน (Structured Data) เช่น ข้อมูลที่เก็บอยู่ใน ตารางข้อมูลต่างๆ หรือ อาจเป็นข้อมูลกึ่งมีโครงสร้าง (Semi-Structured Data) เช่น ล็อกไฟล์ (Log files) หรือแม้กระท่ังข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้าง (Unstructured Data) เช่น ข้อมูลการโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ผ่าน สังคมเครือข่าย (Social Network) เช่น Facebook, twitter หรือ ไฟล์จําพวกมีเดีย เป็นต้น โดยอาจจะ เป็นข้อมูล ที่มาจากภายในองค์กร และภายนอกที่มาจากการติดต่อกับ Supplier หรือ จากทุกช่องทางการ ติดต่อกับลูกค้า แต่ทั้งหมดนี้ก็ยังคงเป็นเพียงข้อมูลดิบท่ี รอการนํามาประมวลและวิเคราะห์ เพ่ือนําผลท่ี ได้มาสร้างมูลค่าทางธุรกิจ ข้อมูลเหล่าน้ีอาจจะไม่ได้อยู่ในรูปแบบที่องค์กรสามารถนําไปใช้ได้ทันที แต่อาจ มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรบางอย่างแฝงอย

1. มีปริมาณมาก (Volume) ปัจจัยข้อแรกแน่นอนว่าคําว่า Big Data มีคําว่า “Big” นั่นก็คือข้อมูลที่มีขนาด ใหญ่ ซึ่งสามารถเป็นได้ท้ังรูปแบบ Online และ Offline ซึ่ง ส่วนมากแล้วจะมีปริมาณมากกว่าหน่วย TB (Terabyte) ขึ้นไป หรือ ปริมาณของ ข้อมูล ที่ต้องมีคุณค่า และมีมากพอ 2. มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (Velocity) ส่งผ่านข้อมูล Update กัน อย่างต่อเน่ือง (Real-time) จนทํา ให้การวิเคราะห์ง่ายๆแบบ Manual เกิด ข้อจํากัด หรือไม่สามารถจับรูปแบบหรือทิศทางของข้อมูลได้ หรือ ความเร็ว ของข้อมูลท่ีเข้ามา และการค้นหาข้อมูล แต่ถ้าเข้ามาแล้วค้นหาไม่เร็วไม่ ถือว่าเร็ว 3. หลากหลายประเภทหรือแหล่งที่มา (Variety) หมายถึงรูปแบบของข้อมูลทที่ แตก ต่างกันออกไป ทั้งใน รูปแบบ ตัวอักษร วิดีโอ รูปภาพ ไฟล์ต่างๆ ฯลฯ และหลาก หลายแหล่งท่ีมาเช่น Social Network หรือ Platform E- Commerce ต่างๆ 4. ยังไม่ผ่านการประมวลผล (Veracity) ยังไม่ผ่านการ Process ให้อยู่ในรูป แบบของข้อมูลดิบ (Raw Data) ที่สามารถใช้สร้างประโยชน์ต่อองค์กรได้ หรือ คุณภาพของข้อมูล ต้องเช่ือถือได

ทำไมต้อง? Bag Data คุณเป็นลูกค้าของธุรกิจเหล่านี้หรือไม่ Netflix, Youtube, Facebook, Twitter, Google, Walmart, Starbucks หนึ่งใน เทคโนโลยีที่ทําให้บริษัทเหล่านี้ประสบความสําเร็จคือ Big Data พวกเขามีข้อมูลในมือจํานวม หาศาล สามารถนํามาใช้วิเคราะห์เพ่ือ หาโอกาสทางธุรกิจ และตัดสินใจในเรื่องสําคัญๆจากผลประมวลจาก ข้อมูล เหล่านั้น ไม่ใช่แค่ต่างชาติเท่านั้นที่กระโจนเข้าสู่เรื่องราวของ Big Data ใน ประเทศไทยก็เช่นกัน การตื่นตัวในการ นําข้อมูลไปใช้ของภาคธุรกิจ ที่ เพ่ิมมากขึ้น เป็นหน่ึงสิ่งท่ีสะท้อนความสําคัญและการเติบโตของ Big Data ใน ประเทศไทยได้เป็นอย่างดี ข้อมูลจากศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ และธุรกิจ (Economic Intelligence Center) เมื่อเดือน กันยายน 2017 ท่ีผ่านมา พบว่าบริษัทช้ันนําของไทยจากหลากหลาย อุตสาหกรรมรวม 62 แห่ง กว่า 56% เร่ิมใช้ Big Data เพื่อ พัฒนาการขายและการตลาดเป็นหลัก และใช้ประโยชน์จากการ ปรับปรุงสินค้า/ บริการให้ตอบ โจทย์ความต้องการของผู้บริโภคยุค ใหม่ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในขณะที่ภาคการผลิตสนใจนํา ข้อมูล Big Data ไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อเพิ่ม Productivity ใน กระบวนการผลิตและการดําเนินงาน

ประโยชน์ท่ีจะนํา Big Data ไปใช้ มี 3 เรื่องใหญ่ 1. ลดค่าใช้จ่าย ช่วยตัดสินใจ สร้างโอกาสให้ธุรกิจ 2.การออกโปรดักส์หรือบริการใหม่ มีข้อมูลทําให้ออกผลิตภัณฑ์ได้ถูกใจ ลูกค้า แม้อาจไม่ได้ดีที่สุด ก็ตาม ซ่ึงองค์กรขนาดใหญ่จะใช้ big data มา วิเคราะห์ตลาด แม้แต่วิเคราะห์คู่แข่ง และ ดูพฤติกรรมลูกค้า สนใจอะไร ใช้วัดเสียงสะท้อนผู้บริโภค 3. การมีข้อมูลทําให้ออกผลิตภัณฑ์ได้รวดเร็วกว่า และถูกใจลูกค้ากว่า แม้ อาจไม่ได้ดีท่ีสุดก็ตาม “หลายๆ ผู้ประกอบการนํา Big data มาวิเคราะห์ตลาด และดูข้อมูลคู่ แข่งว่า ทําอะไรบ้าง ไปถึง ไหนแล้ว และดูพฤติกรรมลูกค้าว่าสนใจอะไร ชอบอะไร โดยดูจาก consumer voice ดู keyword อะไรที่จะโดนใจผู้ บริโภคทําให้ปีเดียวอาหารเสริมยี่ห้อหนึ่งทํายอดขายได้ 600 ล้านบาท

บทที่2 IOT IoT หรือ Internet of Things (อินเทอร์เน็ตของ สรรพสิ่ง) หมายถึง วัตถุ อุปกรณ์ พาหนะ สิ่งของ เครื่องใช้ และสิ่งอำนวยคว ามสะดวกในชีวิตอื่น ๆ ที่ มนุษย์สร้างขึ้นโดยมีการฝังตัวของวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์ เซ็นเซอร์ และการเชื่อมต่อ กับเครือข่าย ซึ่งวัตถุสิ่งของเหล่านี้ สามารถเก็บ บันทึกและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ อีกทั้ง สามารถรับ รู้สภาพแวดล้อมและถูกควบคุมได้จากระยะไกล ผ่าน โครงสร้างพื้นฐานการเชื่อมต่อเข้ากับสมาร์ทโฟน เท่านั้น แต่ IoT สามารถประยุกต์ใช้กับอุปกรณ์ทุก อย่างที่ถูกออกแบบมาให้เชื่อมโยงกันได้บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตเพื่อที่จะสามารถสื่อสารกันได้

ประโยชน์และความ เสี่ยงของ IOT เทคโนโลยี INTERNET OF THINGS มีประโยชน์ใน หลายด้านทั้งเรื่องการเก็บข้อมูลที่แม่น ยําและเป็นปัจจุบัน ช่วยลดต้นทุน แถมยังช่วยเพิ่ม ผลผลิตของพนักงานหรือผู้ใช้งานได้ แม้ว่าแนวโน้มของ IOT มีแต่จะเพิ่มขึ้นด้วยคุณา ประโยชน์ ตามที่ได้กล่าวมาแล้ว แต่ประโย ชน์ใดๆนั้นก็มาพร้อมกับความเสี่ยง เพราะความท้าทายใน การรักษาความปลอดภัยของ เครือข่ายใหม่ที่เกิดขึ้นน้ัน จะผลักดันให้ผู้เชี่ยวชาญมีการ รับมือทางด้านความปลอดภัยมาก ข้ึน ในทางตรงกันข้ามแฮกเกอร์ หรือผู้ไม่หวังดีก็ทํางาน หนักเพ่ือที่จะเข้าควบคุม โจมตีเครือ ข่าย หรือเรียกค่าไถ่ในช่องโหว่ที่ IOT มีอยู่ ฉะนั้นผู้ เชี่ยวชาญ ด้านความปลอดภัยทาง IOT จึงจําเป็นต้องพัฒนามาตรการ และระบบรักษาความ ปลอดภัยไอทีควบคู่กันไป เพื่อให้ธุรกิจ และการใช้งาน IOT

วิวัฒนาการยุค 5G ยุค 1G ซ่ึงเป็นยุคท่ีใช้ระบบ ANALOG คือใช้สัญญาณวิทยุในการส่งคลื่นเสียง โดยไม่รองรับการส่งผ่านข้อมูลใดๆท้ังส้ินซึ่งนั่นก็หมายความว่าสามารถ ใช้งาน ทางด้านVOICEได้อย่างเดียว คือ โทรออก-รับสายเท่านั้นไม่มีการรองรับการใช้ งานด้านDATAใดๆ ทั้งส้ิน แม้แต่การรับ-ส่ง SMS ก็ยังทํา ไม่ได้ในยุค 1G ยุค 2G สามารถ รับ-ส่งข้อมูลต่างๆและติดต่อเชื่อมโยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้นเร่ือยๆ จนเกิดการกําหนดเส้นทางการเชื่อมกับสถานีฐาน หรือที่ เรียกว่า CELLSITE และ ก่อให้เกิด ระบบ GSM (GLOBAL SYSTEM FOR MOBILIZATION) ซึ่งทําให้เราสามารถถือโทรศัพท์เครื่องเดียวไป ใช้ได้เกือบทั่ว โลก หรือท่ีเรียกว่าROAMING ยุค 2G น้ี ถือเป็นยุคเริ่มต้นแห่งการเฟื่ องฟูของ โทรศัพท์มือถือเลย (พิทวัส กัลยาและเจริญชัย บวรธรรม รัตน , 2551 ยุค 3G หรือ THIRD GENERATION ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 จุดเด่นท่ีสุดของ 3G นั้นเป็นเรื่องของความเร็วในการเช่ือมต่อและการ รับ-ส่งข้อมูล โดยเน้นการเชื่อมต่อแบบไร้สายด้วยความเร็วสูง ทําให้ ประสิทธิภาพในการรับ ส่งข้อมูลต่างๆ รวดเร็วมากขึ้น พร้อมท้ังสามารถใช้ บริการ MULTIMEDIA ได้อย่างสมบูรณ์แบบ และ มีประสิทธิภาพแบบมาก ย่ิงขึ้น เช่น การรับ-ส่ง FILE ท่ีมีขนาดใหญ่ , การใช้บริการ VIDEO/CALL CONFERENCE , DOWNLOAD เพลง , ดู TV STREAMING ต่างๆ ซ่ึงถ้า เปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แล้ว ... 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับส่งข้อมูลที่มากกว่าเยอะเลยคุณสมบัติ หลักที่เด่นๆ อีกอย่างหน่ึงของระบบ 3G ก็คือ ALWAYS ON คือ มีการเชื่อมต่อกับระบบ เครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดโทรศัพท์ด้วย (พิทวัส กัลยาและ เจริญชัย บวรธรรมรัตน , 2551 ยุค 4G คือเทคโนโลยีการส่ือสารไร้สายผ่านอุปกรณ์แบบเคลื่อนท่ี (โทรศัพท์มือ ถือและแทบเล็ต) ในยุคท่ี 4 หรือ 4TH GENERATION MOBILE COMMUNICATIONS อาจจะเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า LTE (LONG TERM EVOLUTION) แต่เดิมได้ถูกวางไว้เป็นระบบ 3.9G แต่ต่อมาได้ถูกพัฒนา ความเร็วการเชื่อมต่อให้มากขึ้นและเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ 4G นั่นเองจุดกําเนิด ของระบบ 4G ความเร็วของระบบ 4G ไว้ท่ี 1GBPS แต่ด้วยขีดจํากัด ทางด้าน เทคโนโลยีและความพร้อมของผู้ให้บริการ จึงทําให้ความเร็วได้เพียง 100-120 MBPS และอัพโหลดท่ีระดับความเร็ว 50 MBPS เท่านั้น

ยุค 5G ตอนน้ีเป็นเทคโนโลยีใหม่ ของเครือข่ายโทรศัพท์มือถือได้มีการพัฒนาไป อย่างรวดเร็ว รวมถึงการเกิดขึ้นและเติบโตของอุปกรณ์ดีไวซ์ชนิด ใหม่ๆ หลาย ประเทศก็เริ่มทดลองเทคโนโลยีน้ีเพื่อนําออกมาใช้อยู่ จะผสมผสานเทคโนโลยี สารพัด สามารถส่งข้อมูลจาก WIFI จาก 900 1800 2100 เข้ามาที่เครื่อง ของเรา ใน TRAFFIC ที่เราต้องการ เพราะมันก็จะกระโดดขึ้นไปในระดับกิ๊กกะ บิทต่อวินาที ไม่ใช่เมกะบิทแล้ว มีความเร็วสูง กว่า 4G เป็น 1,000 เท่า สามารถดาวน์โหลดไฟล์ขนาด 8 ก๊ิกกะไบท์ ใช้เวลา 6 วินาทีเท่านั้น โดย 5G จะเช่ือมโยงกับอุปกรณ์หรือ THINGS หรือ สิ่งของทุกสรรพสิ่งท่ีเราต้องการ ธุรกิจโมเดลก็จะเปล่ียนไปอย่างมากมาย SME ที่เป็นธุรกิจขนาดเล็กที่มีนวัต กรรมก็จะรุ่งขึ้นมา 5G จะเข้ามาแทนที่ เครือข่ายแบบมีสายและ WI-FI ที่เราใช้ กันอยู่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นการใช้งานส่วนบุคคล หรือใช้งานในองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจาก เร่ืองความเร็วของการรับส่งข้อมูล การตอบ สนองที่รวดเร็วกว่าและการปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้คลื่นความถ่ีท่ีดีขึ้นแล้ว อุปกรณ์บน เครือข่าย 5G ยังใช้พลังงานน้อยกว่า 4G อีกด้วย ซึ่งถือเป็นความ สามารถที่จําเป็นสําหรับการเติบโตของ INTERNET OF THINGS ในอนาคต อีก ทั้ง 5G ยังสามารถเข้ามาแก้ปัญหาบางอย่างของ 4G ได้แก่ การเชื่อมต่อ อุปกรณ์ที่หลากหลายขึ้น การใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพสูง และมาตรฐาน ทาง เทคนิคท่ียอมรับท่ัวโลก ซ่ึงจะทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมและ สังคมอย่างรวดเร็วอย่างท่ีไม่เคยปรากฏมาก่อน เช่น ทําให้เกิดโอกาส สําหรับ การเช่ือมต่อในเมืองอัจฉริยะ (SMART CITY) การผ่าตัดระยะไกลในวงการ แพทย์ รถยนต์ไร้คนขับ และ INTERNET OF THING (เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ, 2559)

วิวัฒนาการยุค 5G ระบบ 5G เป็นพื้นฐานของแนวคิด INTERNET OF THING และ MACHINE TO MACHINE ซึ่งเป็นการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่า จะเป็น เครื่องมือ ยาน พาหนะ หรือ อาคารส่ิงก่อสร้างที่มีการติดตั้งวงจรอิเลคทรอนิกส์ ซอฟแวร์ เซ็นเซอร์ และเครือข่ายการเช่ือมต่อต่างๆ ท่ีทําให้ อุปกรณ์เหล่านี้สามารถส่งผ่านข้อมูลถึงกัน โดยมีความล่าช้าของเวลา (TIME LAG) น้อยมาก ทําให้สามารถใช้เพื่อการพัฒนา เทคโนโลยีต่างๆ ท่ีเคยทํา ไม่ได้ในอดีต เช่น การผ่าตัดทางไกลที่แพทย์สามารถทําการ ผ่าตัดให้คนไข้ที่อยู่ในอีกซีกโลกได้ ดังนั้น หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนจึงต้อง เร่งพัฒนา เทคโนโลยีให้รองรับกับระบบน้ี ซึ่งการพัฒนาเหล่าน้ีจะเปล่ียนวิถีชีวิตใน อนาคตของผู้คนโดยส้ินเชิง เครือข่ายแบบไร้สายในยุค 5G ซึ่งมีความสามารถในการ ส่งข้อมูลในปริมาณท่ีมากกว่าระบบ 4G ถึง 1,000 เท่า โดยผิวเผินระบบ 5G ถูก มองว่า เป็นเพียงระบบใหม่ที่ถูกนํามาใช้ทดแทนระบบเดิมด้วย ประสิทธิภาพท่ีสูงกว่า ดังเช่นท่ีระบบ 4G มาทดแทนระบบ 3G แต่ในความจริงแล้ว 5G เป็นเทคโนโลยีท่ีมี ความเร็วสูง และความสามารถในการส่งข้อมูล ปริมาณมาก จึงทําให้อุปกรณ์ที่รองรับ ระบบนี้ จะไม่จํากัดเพียงแค่โทรศัพท์ อีกต่อไป แต่จะรวมไปถึงเครื่องมือ เครื่องใช้ และระบบสาธารณูปโภคทั้งหมด วิวัฒนาการยุค 5G

ข้อดีและข้อเสีย ข้อดี INTERNET OF THINGS - เพิ่มความสะดวกสบายในการทํางานและการดําเนินชีวิต เช่น หลอดไฟท่ีเปิดหรือ ปิดเองได้เตามเวลาที่ตั้งไว้ผ่านมือถือ เป็นต้น - เพ่ิมความรวดเร็วและประสิทธิภาพในการทํางาน ทําให้สามารถทํางานได้อย่าง รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยําขึ้นได้ - ช่วยลดต้นทุนในด้านต่าง ๆ ลงได้จากการใช้ IOT เช่น แผงเกษตรกรรมที่มีการใช้ IOT ให้รดน้ําตามเวลาและระดับความช้ืนที่กําหนด เป็นต้น ข้อเสีย INTERNET OF THINGS - เพิ่งพาระบบอินเทอร์เน็ต หากไม่สามารถเชื่อมอินเทอร์เน็ตได้อาจเกิดปัญหาต่าง ๆ ตามมา เช่น ไม่สามารถส่ังงานอุปกรณ์ได้ เป็นต้น - ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากอุปกรณ์ถูกเชื่อมโยงกันด้วยเครือข่ายเดียวกัน ทําให้ต้องการบํารุงและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลกับซอฟต์แวร์ของ อุปกรณ์อยู่ เสมอ - ความผิดพลาดที่เกิดจากการประมวลผลผิดพลาด อุปกรณ์ IOT อาจเกิดปัญหา ประมวลผลผิดพลาดได้ เนื่องจากการเขียนโปรแกรมที่ไม่รัดกุม และ พอมีอุปกณ์ ตัว ไหนตัวหน่ึงประมวลผลผิดพลาดจะส่งผลทําให้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่ออยู่ด้วย ประมวลผลผิดพลาดไปตาม

บทที่ 3 Blockchain Blockchain คืออะไร? Blockchain คือเทคโนโลยีการประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลแบบกระจายศูนย์ หรือที่เรียก ว่า Distributed Ledger Technology (DLT) ซึ่งเป็นรูปแบบการบันทึกข้อมูลที่ใช้ หลักการ Cryptography ร่วมกับกลไก Consensus โดยข้อมูลที่ถูกบันทึกในระบบ Blockchain นั้นจะสามารถทำการแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยาก ช่วยเพิ่มความถูกต้อง และ ความน่าเชื่อถือของข้อมูล

สรุปแล้ว เราต้องใช้ธนาคารเพราะ เราไม่สามารถแสดงความเป็นเจ้าของเงินในรูปแบบดิจิทัลได้ เราไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้องของเงินที่โอนมาได้ พูดง่าย ๆ ก็คือ เราทำธุรกรรมในรูปแบบดิจิทัลที่น่าเชื่อถือ กันเองไม่ได้นั้นแหละ มันก็เลยเป็นโอกาสทางด้านธุรกิจขึ้นมา โดยที่ธุรกิจเหล่านี้ เป็นเสมือนตัวกลางที่น่าเชื่อถือให้ทั้งสองฝ่าย โดยที่เราต้อง เชื่อใจว่า ตัวกลางนั้นจะซื่อสัตย์ จะอัพเดทดูแลบัญชีให้ทุกคน อย่างถูกต้องเสมอ ก่อนอื่นขอให้คุณนึกถึงภาพเปรียบ เทียบการสองสิ่งของหากหากัน โดยมี บุคคลอื่นเป็นพ ยานรับรูปด้วยก่อน ตัวอย่างที่น่าจะทํา ให้ หลายคนเห็นภาพได้ง่ายๆก็คือ “การ เล่นไพ่” การเล่นไพ่นั้้นผู้เล่นจะถูก จัดให้อยู่ในวง ไพ่ที่เปิดรับในที่นี้เราขอเทียบวงไพ่แต่ละ วงที่ เกิดขึ้นก็เหมือนกับการมี Network ต่างๆในแต่ละอุตสาหกรรม พูดง่ายๆก็ คือวงไพ่ที่ เกิดขึ้นนั้น ก็เปรียบได้กับ Blockchain Network

ประโยชน์ที่ได้จากการตัดตัวกลาง

การทำงานจริงๆของ Blockchain 1.อันดับแรกเลย Alex ก็จะกรอกข้อมูลบัญชีของ katie ลงไปพร้อม กับจำนวนเงนิ ที่การโอนและ Sigก การ ดำเนินการด้วย Private Key ของเขาลงไป ซึ่งตามทได้อธิบ บทความที่แล้วว่าตัว Blockchain มันไม่ได้บอกว่าใครเป็นใคร ดังนั้น บัญชีของ Alex katle จะถูกเก็บเป็นตัวเลขรหัสบัญชียาวๆเท่านั้น ตามรูปด้านล่างเลย 2.จากการดำเนินการที่เกิดขึ้นระบบจะทำการสร้างสิ่งที่เรียก ว่าTransactioกเพื่อบอก ใครทำอะไร และทำการบันทึกลายน้ำลงไปด้วยHashfunctionเพื่อ ป้องกันมีคนมาแก้ไขดำเนนิการตาบรูป ด้านล่าง 3.ซึ่งในการสร้าง Transaction แต่ละครั้ง ระบบก็จะไปตรวจสอบ Transaction ก่อนหน้าเพื่อดู ควาบถูกต้องว่า Alex มีเงินพอที่จะโอนหรือเปล่าด้วย ดังนั้น อื่นๆtransaction แต่ละตัวระบบก็จะรู้ความ เป็นไปของบัญชีแต่ละ บัญชีนั่นเอง 4.พอถึงช่วงเวลานึง ระบบก็จะเอา transaction ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานั้นทั้งห บดบารวกันในสิ่งที่ เรียกว่า Bเock และระบบก็จะนำข้อมูลทั้งหมดใน Block นั้น ไปเช้า Hashfunctเon ขึ้นมาเพื่อป้องกัน คนมาแก้ไข งเock นั้นๆ เช่นใน ตัวอย่าง BlocK 0 ได้ตัวเลขเป็น 0x236 5.ถัดบาระบบก็จะนำ งเock ไปเก็บ โดยมันจะมีการบันทึกไว้ด้วยว่า Bเock ที่มัน สร้างนั้นมันต่อกับ Bloch รหัสอะไร ซึ่งเราเรียกขั้นตอนนี้ว่าการต่อกันหรือการ Chan กันนั่นเอง

ลักษณะเด่นๆของ Blockchain 1. ทุกๆ ข้อมูลที่มีการบันทึกลงไปใน Blockchain นั้นจะไม่สามารถถูกลบออกไปใต้ และสามารถติดตามลำดับการบันทึก ข้อมูสย้อนหลังทั้งหมดได้อย่างโปร่งใส 2. ข้อมูลภายใน Blockchain นี้จะถูกกระจายไปจัดเก็บบนHardware หลายๆเครื่อง ซึงเราจะเรียก Hardware แต่ละ ชุดนี้ว่า Node โตยจะมีการรับประกันว่าข้อมูลเหล่า นั้นจะเหมือนกันทั้งหมส์ ซึ่ง Node เหล่านี้จะเก็บเอาไว้ในองค์กรเดียวกัน เหรือกระจาย ช่วยกันเก็บในหลายองค์กรก็ได้เช่นกับ 3. การบันทันทีกข้อมูลใตๆ ลงไปใน Blockchan นั้นจะต้องได้รับการตรวจสอบ และยืนยันจาก Node อื่นๆ ตามเงื่อนไข การตรวจสอบที่กำหนด ก่อนที่จะมีการบันทึก ข้อมูลเหล่านั้นเข้าระบบและกระจ่ายให้ Node ต่างๆ บันทึกข้อมูลชุด เดียวกันลงไป เพื่อให้สามารถปรับใช้งานได้ตามความต้องการ 4. รองรับการเข้ารหัสสำหรับข้อมูลแต่ละชุดได้ ดังนั้นถึงแม้ข้อมูลของเราจะถูก กระจายไปยัง Node อื่นๆ และอาจถูก บางคนมองเห็น แต่คนอนึ่ ๆ ก็ จะไม่สามารถถอดรหัสข้อความของเราได้ นอกจากตัวเราเอง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ข้อมูลเหล่านี้ที่เราอนุญาตให้เข้าถึงได้เท่านั้น

บทที่4ธุรกรรม ใน ธุรกิจ ดิจิตอล ความหมายของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล การท าธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล หมายถึง การ ดำเนินการต่าง ๆ ในเรื่องของการเงินหรือแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ เช่น สมาร์คโฟน Mobile App หรือ E-wallet ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และทุกคนสามารถท าได้ถ้ามีบัญชีธนาคารหรือพร้อมเพย์

ความหมายของระบบการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล การทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล หมายถึง การดำเนินการต่าง ๆ ในเรื่องของ การเงินหรือแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ โดยใช้เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ เช่น สมาร์ทโฟน Mobile App หรือ E-wallet ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และทำได้ทุกคนที่มีบัญชีธนาคารหรือมีพร้อมเพย์ ความสำคัญของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล ระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลมีความสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้การทำธุรกิจนั้น มีความมั่นคงขึ้น เพราะได้อำนวยความสะดวกให้การทำธุรกรรมทางการเงิน เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา และนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงทางสังคม พฤติกรรม ผู้บริโภค และเศรษฐกิจโลก จากผลสำรวจธุรกรรมการชำระเงินผ่านบริการ Mobile Banking ของธนาคารแห่งประเทศไทย พบว่า ประเทศไทยมี จำนวนบัญชีลูกค้าที่ใช้บริการ Mobile Banking มากกว่า 37 ล้านบัญชี เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกันในปีที่แล้วกว่า 11 ล้านบัญชี

ปรเภทของระบบธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัล Digital Banking ธุรกรรมที่ท าผ่าน Digital Banking ได้ เช่น • การโอนเงิน โดยโอนจากเจ้าของบัญชีผู้โอนไปสู่เจ้าของบัญชีผู้รับโอน ผ่านโทรศัพท์มือถือ • ช ารพค่าสินค้าและบริการ โดยผ่านแอปพลิเคชั่นของธนาคาร • บริการเรียกดูข้อมูลและจัดการบัญชีต่าง ๆ • ซื้อ-ขาย-สับเปลี่ยนกองทุน และจัดการรายการซื้อขายต่าง ๆ • Talk to Net Officer ท าธุรกรรมผ่านระบบ VDO Call โดยเจ้าหน้าที่ Net Officer ที่จะท าธุรกรรมพร้อมส่งสลิปรายการให้ผ่าน E-mail • ตั้งค่าการใช้ระบบ เปลี่ยน Net ID, Password, ตั้งค่าวงเงินการท า รายการ จัดการบัญชี • ช าระเงินกู้ของตนเอง ช าระเงินกู้ของบุคลอื่น ขออนุมัติสินเชื่อเบื้องต้น • ขอข้อมูลเครดิตบูโรกับ National Credit Bureau • ส่งซื้อธนบัตรต่างประเทศสกุลเงินต่าง ๆ ล่วงหน้า ข้อดีและผลกระทบของ Digital Banking ข้อดีของ Digital Banking • เพิ่มความสะดวกให้ลูกค้าผู้ใช้บริการ • ทำให้มีเวลาเหลือไปบริหารหรือทำงานอื่น ๆ • ลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อด้านธุรกรรม • ลดความเสี่ยงจากการถอนเงินจ านวนมาก ๆ จากธนาคาร • ในส่วนของธนาคาร ลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนเปิดสาขาใหม่ ผลกระทบจาก Digital Banking • ธนาคารต้องปิดสาขาลงหลายแห่ง และมีแนวโน้มลดจ านวนพนักงาน • พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไป เนื่องจากใช้จ่ายสะดวก • การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง • การด าเนินชีวิตผูกติดไว้กับอินเทอร์เน็ต สัญญาณ Wi-Fi หน้าจอสมาร์ตโฟน • ในอนาคตธนาคารอาจไม่ใช่สถาบันการเงินส าคัญส าหรับเศรษฐกิจอีกต่อไป • การจารกรรมเปลี่ยนรูปแบบไป ต้องมีการค้นหาทางป้องกัน

ผลกระทบจาก Digital Banking ธนาคารต้องปิดสาขาลงหลายแห่ง ในอนาคตมีแนวโน้มอาจต้องลดจำนวน พนักงาน ทำให้คนต้องหางานทำใหม่ พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนไป เนื่องจากการใช้จ่ายสะดวก ง่ายขึ้น ส่งผล ให้การตัดสินใจซื้อสินค้าเร็วมากเกินไป มีแนวโน้มการใช้จ่ายเกินตัวง่ายขึ้น การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลลดน้อยลง ส่งผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ที่สื่อสาร กับเทคโนโลยีมากเกินไป การดำเนินชีวิตถูกผูกไว้กับอินเทอร์เน็ต สัญญาณ wi-fi หน้าจอสมาร์ทโฟน เมื่อขาอินเทอร์เน็ตแล้ว ธุรกรรมทางการเงินมีผลชะงัก ในอนาคตธนาคารอาจไม่ใช่สถาบันการเงินสำคัญสำหรับเศรษฐกิจอีกต่อไป เพราะธุรกิจอื่น ๆ สามารถพัฒนาเรื่องการเงินอิเล็กทรอนิกส์เป็นของตนเองได้ การจารกรรมเปลี่ยนรูปแบบไป จึงมีการคิดค้นหาทางป้องกัน เช่น การลวง ลูกค้า เพื่อโกงเงินจากอินเทอร์เน็ตแบงค์ เป็นต้น วิธีการทำธุรกรรมในธุรกิจดิจิทัลล็อกอิน Touch ID QR Code จ่ายและรับเงิน แจ้งเตือนเพื่อจ่าย รายการโอนเงินล่วงหน้า E-Market บริการต่าง ๆ ใน E- Marketplaceสารบัญธุรกิจ / Business Directory ประกาศความต้องการทางธุรกิจ /Trade Leads E-Catalog หรือแค็ตตาล็อกออนไลน์ ประกาศความต้องการซื้อ-ขายสินค้า และบริการ การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ซื้อ-ผู้ขาย บริการเว็บไซต์สำเร็จรูป

ประเภทของธุรกรรมการเงินดิจิทัล (Fintech) Banking Technology Lending Technology Cryptocurrency Payment Technology Application Programing Interface (API Data) Regulation Technology Insurance Technology/ Insurtech ประเภทของ Fintech แบ่งตามกลุ่มด้านการเงิน กลุ่มการชำระเงิน/โอนเงิน (Payments/Transfers) กลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุน (Investments กลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการให้สินเชื่อและเงินทุน (Lending & Financing) ธุรกรรมการเงินดิจิทัลพร้อมเพย์ Picture4 ประโยชน์ของพร้อมเพย์ จุดเด่นคือ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินเข้าบัญชีพร้อมเพย์ จะถูกกว่าอัตราที่ ถูกเรียกเก็บกันอยู่ โดยการโอนเงินปกติ ไม่ว่าจะเป็นการโอนผ่านช่องทาง ไหน ธนาคารพาณิชย์ จะคิดค่าธรรมเนียมการโอนเงินข้ามเขตและข้าม ธนาคาร อัตราค่าธรรมเนียมอยู่ที่ 25–35 บาทต่อครั้ง ทำไมต้องบัตรประชาชน การใช้หมายเลขบัตรประชาชน จะช่วยให้รัฐบาลโอนเงินได้ตรงกับ วัตถุประสงค์มากที่สุดและถึงตัวบุคคลจริง ๆ ซึ่งจะช่วยป้องกันการรั่วไหล ทุจริต เนื่องจากที่ผ่านมาการโอนเงินช่วยเหลือต่าง ๆของรัฐบาล จะผ่าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อนำเงินไปแจกจ่ายให้ผู้ที่ได้รับความช่วย เหลืออีกทอดหนึ่ง ซึ่งบ่อยครั้งพบว่าไม่ถึงตัวผู้รับจริง

สรุปประเด็นสำคัญ Digital Banking หมายถึง การทำธุรกรรมด้วยระบบการทำธุรกรรมของ ธนาคารในระบบดิจิทัล เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่มีการพัฒนาให้มี sampling rate สูง เป็นสัญญาณที่เป็นระบบไม่ต่อเนื่อง ทำให้คุณภาพของข้อมูลดีขึ้น Mobile Banking เป็นตัวช่วยสำคัญแห่งยุคดิจิทัลที่เข้ามาอำนวยความ สะดวกให้การทำธุรกรรมทางการเงิน เกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา และนำมาซึ่ง ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม พฤติกรรมผู้บริโภค และเศรษฐกิจโลก ประเภทของ Fintech แบ่งตามกลุ่มด้านการเงิน มีดังนี้ กลุ่มการชำระเงิน/โอนเงิน (Payments/Transfers) กลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการลงทุน (Investments) กลุ่มธุรกรรมที่เกี่ยวกับการให้สินเชื่อและเงินทุน (Lending & Financing)

บทที่ 5 สื่อสังคม ออนไลน์กับธุรกิจ ดิจิทัล

ในปัจจุบันทุกคนคงจะปฏิเสธไม่ได้เกี่ยวกับใช้สื่อสังคมออนไลน์หรือที่เรียก กันว่า Social Media เพื่อเป็นช่องทางติดต่อสื่อสาร การแสดงความคิด เห็น การเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ จนเรียกได้ว่าเป็นอีกหนึ่งสังคมในโลก ออนไลน์ก็ว่าได้ ซึ่งนับได้ว่าเป็นส่วนส าคัญในการด าเนินชีวิตของคนในยุค ปัจจุบัน จากรูปเป็นการแสดงข้อมูลสถิติการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ของ ประเทศไทยในปี 2561 โดยอันดับหนึ่งของสื่อสังคมออนไลน์ที่ถูกใช้งานมากที่สุดคือ Facebook คิด เป็น75 % ถัดมาเป็น YouTube คิดเป็น 72% Line คิดเป็น 64% และอื่นๆ เว็บไซต์มาร์เก็ตบัซซ (Marketbuzzz) ได้เผยผลส ารวจการใช้งาน สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในแต่ละวัน สามารถแบ่งผู้ใช้งานเป็น 2 ประเภท คือ ภาคธุรกิจ และ คน ทั่วไป โดยในภาคธุรกิจทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่กว่า 89% ใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในการด าเนินงานธุรกิจต่าง ๆ เช่น การใช้ Facebook ในการท าการตลาดออนไลน์ เพื่อเป็นช่องทางการ โฆษณาและสามารถเข้าถึงลูกค้า ได้โดยตรงและกว่า 71% ของบุคคลทั่วไปนั้นใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการติดต่อ สื่อสารกัน

สื่อประเภทที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นหนึ่งในเป้าหมายทางการสื่อสารทางการ ตลาดของหลาย ๆ องค์กร เนื่องจากเป็นสื่อที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยไม่มีค่าใช้จ่าย และ อาจมีผลประโยชน์ต่อธุรกิจในระดับ มากไปจนถึงมหาศาล ใน 4 ประเด็นดังนี้ 1. สร้างการรับรู้แบรนด์ อาจมีผู้คนจ านวนมากที่เป็นลูกค้าที่อยู่บนโลกสื่อสังคมออนไลน์ที่อาจไม่เคย เห็นหรือได้ยินเกี่ยวสินค้า และแบรนด์สื่อที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นบนสื่อในวงกว้างจะช่วยให้พวก เขาได้รับรู้ว่ามีแบรนด์อยู่ มี ลักษณะหรือคุณภาพเป็นอย่างไร ซึ่งจะช่วยเพิ่มโอกาสในการขายหากสินค้า และบริการตรงตามความต้องการ ของกลุ่มคนเหล่านั้น 2. สร้างความน่าเชื่อถือ ผู้บริโภคสมัยใหม่ฉลาด มีความคิดเป็นของตัวเอง และเท่าทันสื่อมากขึ้น จน อาจเกิดค าถามต่อการ สื่อสารที่มาจากแบรนด์โดยตรงว่าเป็นความจริงมากน้อยเพียงใด เข้าข้างตัว เองมากแค่ไหน สื่อที่ไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายเป็นสื่อที่เกิดขึ้นจากลูกค้าผู้ใช้งานจริง หรือบุคคลในสังคมที่ไม่ได้มี ส่วนได้ส่วนเสียกับแบรนด์ จึงท าให้ มีลักษณะเป็นกลางและมีความน่าเชื่อถือในกลุ่มผู้บริโภคสูงกว่าการสื่อสารที่ ถูกส่งจากนักการตลาดโดยตรง การสื่อสารการตลาดเพื่อให้ได้มาซึ่งสื่อที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายที่มีคุณภาพ จึง มีความส าคัญต่อความน่าเชื่อถือ ของสินค้าและแบรนด์

3. เพิ่มการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย การพูดถึงหรือแบ่งปันคอนเทนต์ต่อ ๆ กันบนสื่อสังคมออนไลน์มักเกิดขึ้นเมื่อ เนื้อหานั้นโดนใจ ผู้คน รู้สึกมีความเกี่ยวข้องกับเนื้อหานั้น จึงต้องการแชร์ให้ผู้ที่อยู่ในวงสังคมได้รับ ทราบ เป็นการสร้างตัวตนบนสื่อ สังคมรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นการสร้างแรงกดดันทางสังคมให้คนในวงสังคม ปฏิบัติตามอีกที เมื่อผู้ที่อยู่ในวงสังคม เดียวกันได้รับสารจากเพื่อนจึงอาจแชร์ต่ออีกทอดด้วยเช่นเดียวกัน โดยกลุ่ม คนที่อยู่ในวงสังคมเดียวกันมักมี ลักษณะบางอย่างร่วมกัน หรือมีความสนใจคล้ายคลึงกัน ดังนั้นการมุ่ง ออกแบบคอนเทนต์ให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย จนเกิดการแชร์หรือพูดถึงจะช่วยเพิ่มการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายคนต่อ ๆ ไปใน วงสังคมได้อีกมาก 4. ตัวชี้วัดผลตอบแทนจากการลงทุน ในการท าธุรกิจคุณจ าเป็นต้องวัดผลตอบแทนจากการลงทุนได้ (return of investment: ROI) สื่อ ประเภทไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายนับเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดด้วยเช่นเดียวกัน โดยสื่อ ดิจิทัลสามารถดึงข้อมูลเกี่ยวกับการ มองเห็น การเข้าถึงเนื้อหาของบุคคลรายเก่า รายใหม่ ตลอดจนจ านวนครั้ง ที่มีการพูดถึงสินค้าหรือแบรนด์บน แพลตฟอร์มและลักษณะของการพูดถึง ซึ่งจะช่วยให้ค านวณได้ว่าการสื่อสาร การตลาดที่ลงทุนลงไปนั้นมีความ คุ้มค่ามากน้อยเพียงใด ควรไปต่อหรือมีการวางแผนปรับปรุง

สำหรับคนที่เริ่มอยากลงทุนทำธุรกิจออนไลน์เป็นของตนเองในช่วงนี้ รวม ทั้งมือใหม่อยากทำธุรกิจมีเงินลงทุนไม่มาก 5 ธุรกิจที่ไพรซ์ซ่าอยากแนะนำ นี้น่าจะสามารถช่วยให้คุณประกอบการตัดสินใจได้เพระาเป็นธุรกิจออนไลน์ ที่ลงทุนต่ำ หรืออาจไม่ต้องลงทุนเพียงลงแรงเท่านั้น และสามารถทำได้ หลากหลายช่องทาง

5.2 คุณลักษณะของสื่อสังคมออนไลน์ คุณลักษณะของสื่อสังคมออนไลน์จะมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับ เทคโนโลยี Web 2.0 เนื้อหาใน สื่อสังคม ออนไลน์ ผู้ใช้สร้างข้อมูลส่วนตัวที่เป็นตัวแทนของผู้ใช้งานบนเว็บไซต์ และสื่อสังคม ออนไลน์ช่วยสร้างสังคม ออนไลน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 5.2.1 สื่อสงัคมออนไลน์เป็นอินเทอร์เน็ตแอปพลิเคชันที่ใช้เทคโนโลยีตัง้แต่ Web 2.0 ขึ้น ไป Web2.0 เป็นเว็บที่ใช้งานอยู่ในปจัจุบนัทม่ี กีารใชเ้พ่อืเขยีนบลอ็ก (Blog) แชร์รูปภาพ, ร่วมเขียนวีกิ(Wiki) แสดง ความคิดเห็น (Post Comment) พูดคุยกัน ทั้งจากเจ้าของเว็บไซต์ หรือจากผู้คนที่เข้า มาใช้งานเว็บไซต์, หา แหล่งข้อมูลด้วยอาร์เอสเอส (RSS) เพื่อฟีด (Feed) มาอ่าน รวมทั้งกูเกิล (Google) เว็บยุค 2.0 จะให้ความส าคัญ กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ โดยที่ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะมีส่วนร่วมต่อเว็บไซต์มากขึ้น ผู้เข้าชมเว็บไซต์ สามารถสร้างข้อมูล (Content) ของเว็บไซต์ขึ้นมาได้เองหรือสามารถก าหนดค าส าคัญของเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้องข้อมูล (tag content) ท า ให้ข้อมูลในเว็บไซต์นั้นมีการ update และพัฒนา ปรับปรุง อย่างรวดเร็ว ท าให้เป็น เว็บไซต์ ที่มีรูปแบบของการ สื่อสารเป็นแบบสองทาง (Two Way Communication) 5.2.2เนื้อหาในสื่อสังคมออนไลน์ถูกสร้างโดยผู้ใช้งานสื่อสังคม ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ สร้างเนื้อหา และเพิ่มเติมเนื้อหาได้ หรือแก้ไขข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้ จึงท าให้เนื้อหาของสื่อสังคม ออนไลน์จึงเป็นเนื้อหา ของผู้สร้างเอง 5.2.3 ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์สามารถสร้างข้อมูลส่วนตัวที่เป็ นตัวแทนของผู้ใช้งานบน เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชนั สื่อสงัคมออนไลน์นั้น เช่น ผู้ใช้งาน Instagram ผู้ใช้สามารถสร้าง โฟรไฟล์ส่วนตัวได้ใช้เป็น ตัวแทนของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ อีกตัวอย่างหนึ่งก็เป็น Facebook ผู้ใช้งานก็จะมี User ในการใช้งาน ซึ่งจะเป็น ตัวแทนเราในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ผู้ใช้งานอาจจะมี โฟรไฟล์ในงาน 2 User โด ยมีโฟร์ไฟล์ที่แตกต่างกันใน ตามลักษณะวัตถุประสงค์ในการใช้งานได้แสดงได้ดังภาพที่ 5.1 ภาพที่ 5.1 แสดง Logo Facebook และ Instagram

5.2.4 สื่อสังคมออนไลน์ช่วยในการสร้างกลุ่มสังคมออนไลน์จากผู้ใช้เราสามารถสร้าง เป็น ชุมชน (Community) ในตัวอย่างในเพจการลงทุน ใน Facebook ซึ่งเป็นลักษณะของ ชุมชนที่มีความสนใจด้านการลงทุน แสดงได้ดังภาพที่ 5.2 กลุ่มคน (Group) มาสร้างเป็นกลุ่มผู้ร่วมกันได้ เรียกว่ากลุ่ม สังคมออนไลน์ได้ ภาพที่ 5.2 แสดง ชุมชน ในเพจการลงทุนใน Facebook ที่มา: Facebook (2020) 5.3 ความแตกต่างของสื่อสังคมออนไลน์กับสื่อประเภทอื่น 5.3.1 การกระจายตัวของเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งเป็ นแบบไวรัล (Viral) การก ระจายตัว เนื้อหาแบบไวรัล คือ การสื่อสารแบบปากต่อปาก แบบโดยผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก(Facebook) ทวิ ตเตอร์(Twitter) และยูทูป (YouTube) เป็ นต้น หรือลักษณะการพูดถึงกันไป ทอด ๆ ถ้าเป็นที่เป็นกระแสหลัก ก็ จะถูกการแชร์ไปอย่างรวดเร็ว และมีการน าหลักการนี้มาใช้ในการตลาดออนไลน์ ถ้ามี การน าสื่อสังคมออนไลน์ซึ่ง เป็นแบบไวรัลไปใช้ในธุรกิจดิจิทัลก็จะท าให้ต้นทุนทางการตลาดต า่ และมีการ ปฏิสัมพันธ์กันได้ซึ่งมีความ แตกต่างจากสื่อประเภทอื่น เช่น การดูโทรทัศน์จะเป็นการกระจายแบบหนี่งต่อหลายๆ แต่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กันกับ ผู้รับชม 5.3.2 การที่เนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์สามารถถูกเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา ข้อดีของสื่อ สังคม ออนไลน์ก็คือการเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาและหลากหลายอุปกรณ์ ตัวอย่างเช่นถ้า ต้องการจะดูรายการโทรทัศน์ท

สรุป สื่อสังคมออนไลน์กับธุรกิจดิจิทัลมีความส าคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศไทย โดย จะต้องทราบของคุณลักษณะของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีลักษณะได้แก่ สื่อสังคมออนไลน์เป็น แอปพลิเคชันที่ใช้ เทคโนโลยีตั้งแต่ Web 2.0 ขึ้นไป เนื้อหาในสื่อสังคมออนไลน์ถูกสร้างโดยผู้ใช้งานสื่อสังคม ผู้ใช้ สื่อสังคมออนไลน์ สามารถสร้างข้อมูลส่วนตัวที่เป็นตัวแทนของผู้ใช้งานบนเว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันสื่อสังคม ออนไลน์นั้น และสื่อ สังคมออนไลน์ช่วยในการสร้างกลุ่มสังคมออนไลน์ความแตกต่างของสื่อสังคมออนไลน์กับสื่อ ประเภทอื่นได้แก่ การกระจายตัวของเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์ซึ่งเป็นแบบไวรัล การที่เนื้อหาบนสื่อสังคม ออนไลน์สามารถถูก เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา ปริมาณเนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์ที่มีจ านวนมาก และคุณภาพของสื่อ สังคมออนไลน์มี ความแตกต่างกัน และการที่เนื้อหาบนสื่อสังคมออนไลน์สามารถถูกดัดแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลา ประเภทของสื่อ สังคมออนไลน์จะสามารแบ่งได้ประเภทดังนี้ เครือข่ายสังคม (Social networking site) ไมโครบล็อก (Micro-blog) เว็บไซต์ท่ีให้บริการแบ่งปนัส่ือออนไลน์(Video and photo sharing website) บล็อกที่มีสื่อ สิ่งพิมพ์เป็นเจ้าของ เว็บไซต์ (Blogs hosted by media outlet) วิกิ และพื้นที่สาธารณะของกลุ่ม (Wikis and online collaborative space) กลุ่มหรือพื้นที่แสดงความคิดเห็น (Forums, discussion board and group) เกมออนไลน์ที่ มีผู้เล่นหลายคน (Online multiplayer gaming platform) ข้อความสั้น (Instant messaging) และการแสดงตน ว่าอยู่ ณ สถานที่ใด (Geo-Spatial tagging) หน้าที่ของสื่อสังคมออนไลน์มีรายละเอียดดังนี้ การระบุตัวตน (Identity) การ สนทนา (Conversations) การแบ่งปนัข้อมูล (Sharing) การมีตัวตน (presence) ความสัมพันธ์ (Relationships) ชื่อ เสียง (Reputation) และการ สร้างกลุ่ม (Groups) ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ในธุรกิจดิจิทัลอันได้แก่ การเปลี่ยนแปลง ของวัฏจักรการ บริโภค การเปลี่ยนของประเภทข้อมูลที่ผู้ใช้เข้าถึงได้ การมีส่วนร่วมของผู้บริโภค และบุคคลที่มี อิทธิพลต่อการ ตัดสินของผู้บริโภค

บทที่ 6 ธุรกิจดิจิทัล โมไบล์

ธุรกิจดิจิทัลโมบาย (Digital Mobile Business) เป็นกระบวนการท า ธุรกรรมออนไลน์ต่างๆโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและเทคโนโลยีเคลื่อนที่ไร้สาย เนื้อหาของธุรกรรมอยู่ในรูปของข้อมูลสารสนเทศ ที่เป็น สัญญาณดิจิทัลในรูปของข้อความ ภาพ และเสียง รวมถึง การให้บริการต่างๆ ผ่านเทคโนโลยีเคลื่อนที่ไร้สาย เทคโนโลยีเคลื่อนที่ไร้สายประกอบด้วย 1.ระบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไร้สาย เช่น โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไร้สายต่างๆ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ที่สวมใส่ได้ 2.แอปพลิเคชันบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไรสายต่างๆ สำหรับช่วย สนับสนุนการเชื่อมต่อ ประสานหรือการอินเทอร์เฟซระหว่างระบบอุปกรณ์กับผู้ใช้งาน

คุณลักษณะของแพล็ตฟอร์มระบบธุรกิจดิจิทัลโมบายและความส าคัญของธุรกิจ ดิจิทัลโมบาย 1. สามารถสนับสนุนให้ผู้ใช้งาน ท าธุรกรรมต่างๆ ได้ง่าย ในเวลาใด และจาก สถานที่ใดๆ ก็ได้ เป็นการ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันและการให้บริการของธุรกิจ รักษาลูกค้าและผู้ใช้ บริการให้คงอยู่ และส่งผลให้ เกิดการใช้ประโยชน์จากข้อมูลได้ 2. สามารถปรับเปลี่ยนฟังก์ชันระบบการให้บริการได้ตามความต้องการของผู้ใช้ งาน เป็นการเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขั้นและการให้บริการของธุรกิจรักษาลูกค้าและผู้ใช้บริการ ให้คงอยู่ และส่งเสริมการ สร้างสรรค์นวัตกรรม 3. สามารถรองรับโมบายแอปพลิเคชันส าหรับบริการธุรกิจดิจิทัลจากหลากหลาย ผู้ให้บริการหรือ นักพัฒนาแอปพลิเคชันทั่วไปได้ เป็นการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและการ ให้บริการของธุรกิจ รักษา ลูกค้าและผูใช้บริการให้คงอยู่ และส่งเสริมการสร้างสรรค์นวัตกรม 4. สามารถรองรับเทคโนโลยีหรือเทคนิคใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาเป็นการเพิ่ม ความสามารถใน การแข่งขันและการให้บริการของธุรกิจรักษาลูกค้าและผู้ใช้บริการให้คงอยู่ และส่ง เสริมการสร้างสรรค์นวัตกรม 5. สามารถคงรักษาข้อมูลธุรกรรมส าคัญต่างๆ ไว้ได้แม้ว่ามีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน ฮาร์ดแวร์ของระบบธุรกิจดิจิทัลโมบายที่ให้บริการ เป็นการเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันและการให้บริการ ของธุรกิจ รักษาลูกค้าและผู้ใช้บริการให้คงอยู่ และส่งผลให้เกิดการใช้ประโยชน์ จากข้อมูลได้

โมบายมิดเดิลแวร์ เป็นซอฟต์แวร์เชื่อมการใช้งานระหว่างระบบปฏิบัติ การหรือเชื่อมแอปพลิเค ชันที่แตกต่างกัน นั่นคือ เป็นซอฟต์แวร์ที่ท างานคั่นระหว่างระบบปฏิบัติ การของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไร้สายประเภทต่างๆ และ แอปพลิเคชันหรือโมบายแอปพลิเคชันที่ติดตั้งอยู่บนอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สายเหล่านั้น สามารถเชื่อมต่อประสานหรืออินเทอร์เฟซ (Interface) เข้ากับอุปกรณ์ที่มีระบบปฏิบัติการหรือแอปพลิเคชันที่ต่าง กันได้เพื่อให้การใช้งานด าเนินไปได้อย่างอัตโนมัติ - พัฒนาและบริหารจัดการแอปพลิเคชันที่ท างานบนเว็บและ แอปพลิเคชันที่ท างานบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่อัจฉริยะ- รวบรวมกลุ่มผู้ใช้งานที่สามารถท างานภายใต้ระบบต่างๆ ที่เป็นเบื้อง หลังของโมบายเว็บ เซอร์วิส หรือแหล่งทรัพยากรข้อมูลบนคลาวด์ได้ - รักษาความมั่นคงปลอดภัยและบริหารจัดการอุปกรณ์อิเล็กทรอกนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สาย - รักษาความมั่นคงปลอดภัยของการเชื่อมต่อข้อมูล การขนส่งข้อมูลและ ข้อมูลแอปพลิเคชันต่างๆ ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไร้สาย เทคโนโลยีระบุตัวตนด้วยคลื่นวิทยุ หรืออาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identification : RFID) น ามาใช้ใน ธุรกรรมดิจิทัลโมบาย ส าหรับถ่ายโอนข้อมูลต่างๆ ที่เก็บไว้ในแท็ก อิเล็กทรอนิกส์บนสินค้าและผลิตภัณฑ์ เช่นข้อมูลระบุตัวตน รหัสและราย ละเอียดของสินค้าและผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีบลูทูธ (Bluetooth Technology) เป็นเทคโนโลยี มาตรฐานสามารถเชื่อมต่อการรับส่งข้อมูล

ระหว่างอุปกรณ์แบบไร้สายโดยใช้พลังงานต่ ามาก นำมาใช้งานส าหรับ ธุรกรรมดิจิทัลโมบาย เช่น การเข้าถึง อุปกรณ์ต่างๆ ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เคลื่อนที่ไร้สาย เช่น การใช้หู ฟังไร้สาย เทคโนโลยีบีคอน (Beacon Technology) เป็นเทคโนโลยีกระจาย สัญญาณและส่งข้อมูลภายในระยะรัศมี โดยรอบโดยมีการติดตั้งตัวกระจายสัญญาณบลูทูธ 4.0 พลังงานต่ า ตามจุดต่างๆ เพื่อให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สาย เช่น แท็บเล็ตหรือโทรศัพท์สมาร์ตโฟนที่เปิดใช้งานอุปก รณบลูทูธและติดตั้งแอปพลิเคชันที่ เกี่ยวข้องสมารถรับสัญญาณและข้อมูลที่ส่งออกมาได้ เทคโนโลยีไวไฟ (Wi-Fi) เป็นเทคโนโลยีส าหรับเครือข่ายแลนไร้สาย ใช้ งานเชื่อมต่อเครือข่ายแลนกับอุปกรณ์ สื่อสารไร้สายตามมาตรฐานของเทคโนโลยีไวไฟ IEEE 802.11x แต่ละ รุ่น เทคโนโลยีซิกบี (ZigBee) เป็นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายที่ใช้ส าหรับ เครือข่ายตัวรับรู้ไร้สายตามมาตรฐาน IEEE 801.15.4 ซึ่งมีการทำงานที่ไม่ซับซ้อน มีอัตราบิตหรืออัตราส่งข้อมูลต่ า และประหยัดค่าใช้จ่าย

แนวทางการประยุกต์เทคโนโลยีสำหรับธุรกิจดิจิทัลโมบาย - การตลาดเคลื่อนที่ (Mobile Marketing) เป็นกิจกรรมสำคัญที่จากเป็น สำหรับการทำธุรกิจ ดิจิทัลมบาย องค์กรธุรกิจสามารถเข้าถึงลูกค้าและน าเสนอสินค้าได้ตลอดเวลา และ กระทำได้ไม่ว่าลูกค้าจะอยู่ที่ใดก็ตาม เนื่องจากลูกค้ามีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เคลื่อนที่ไร้สายพกพาอยู่ตลอดเวลา - การใช้โมบายคูปอง โมบายคูปอง หรือ Mobile Coupon เป็นตั๋วหรือคูปอง อิเล็กทรอนิกส์ ที่แสดงผ่านโทรศัพ์สมาร์ตโฟน สามารถใช้แลกเปลี่ยนเป็นส่วนลดทางการซื้อ ขายหรือใช้แทนจำนวนเงินส าหรับการซื้อสินค้าหรือเข้ารับบริการใดๆ - การชำระเงินเคลื่อนที่ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเคลื่อนที่ไร้สายและโทร ศัพท์สมารต์โฟ นส่งผลต่อความน ายมในการใช้บริการการช าระเงินเคลื่อนที่ (Mobile Payment) ท าให้ ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกรวดเร็ว และระบบมีความมั่นคงปลอดภัย สามารถ ดึงดูด ลูกค้าให้ซื้อสินค้าและบริการต่างๆ ขององค์กรธุรกิจอย่างต่อเนื่อง

บทที่ 7 ความมั่นคงปลอดภัย ในการทำธุรกรรมดิจิทัล

ในโลกยุคปัจจุบัน ปัจจุบันผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงและใช้บริการ ด้านข้อมูลผ่านระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ไม่จำกัดเวลาและ สถานที่ ในขณะเดียวกัน ข้อมูลขนาดใหญ่ของผู้ใช้งานที่อยู่ใน ระบบมีความเสี่ยงต่อการถูกโจมตี ขโมย หรือถูกท าลายได้ เช่น การขโมยข้อมูลธุรกรรมทางการเงิน การสร้างไวรัสโจมตีระบบ ปฏิบัติการ เป็นต้น หากไม่มีระบบการรักษาความมั่นคง ปลอดภัยที่ดีเพียงพอ ซึ่งภัยคุกคามทางไซเบอร์เหล่านี้สามารถ สร้างความเสียหายแก่ตัวผู้ใช้งานได้ แนวคิดเรื่องการรักษาความ มั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) จึงต้องถูก พัฒนาไปพร้อมกับความก้าวหน้าของระบบเทคโนโลย ระบบ CYBER SECURITY ระบบ Cyber Security จ าเป็นต่อทุกอุตสาหกรรม แต่เนื่อง ด้วยความจำเป็นเร่งด่วนและ ผลกระทบที่รุนแรง ได้ถูกนำมาใช้อย่างมากในอุตสาหกรรมการ เงินและการธนาคาร เนื่องจากใน โลกยุคปัจจุบัน ในหลาย ๆ ประเทศมีการเปิดเสรีทางการเงินการ ธนาคารเพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ ให้เข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมทางการเงิน รวมถึงการซื้อขาย แลกเปลี่ยน และการท าธุรกรรม ทางการเงินสามารถท าได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้งานบนสมา ร์ทโฟน สถาบันการเงินจึงเห็นความ จ าเป็นในการพัฒนาระบบการท าธุรกรรมทางการเงินควบคู่ไป กับระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัย เพื่อให้ผู้ใช้งานเกิดความมั่นใจ อันจะส่งผลให้ e-commerce และ e-banking เติบโตในภาพรวม

ความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล(DIGITAL SECURITY)DigitaSecuritระบบความปลอดภัยในการทำาธุรกรรม ดิจิทัล เป็นทักษะหนึ่งที่ต้อง ตระหนักรู้วิธีป้องกันและหลีกเลี่ยง เพราะในโลกธุรกิจดิจิทัลแฝงไปด้วย ภัยอันตรายต่าง ๆมากมาย ที่อาจจะท าให้องค์กรหรือธุรกิจได้รับความ เสียหายได้ ไม่ว่าจะเป็นการถูกแฮกบัญชี การ ถูกโจรกรรมข้อมูลสำคัญการถูกขโมยรหัสผ่านการถูกละเมิดทรัพย์สิน ทางปัญญา การถูกโจรกรรมทรัพย์สิน หรือการติดไวรัส และการโจมตี เฟิร์มแวร์ซึ่งล้วนแต่เป็นภัยร้ายต่อองค์กรหรือ ธุรกิจแทบทั้ง ปัจจัยที่สำคัญของ DIGITAL SECURITY 1. บุคลากร (Personal) องค์กรจะต้องมีบุคลากรที่มีประสบการณ์และมี ความเชี่ยวชาญ มีความสามารถในด้านความปลอดภัยสูงโดยต้องอยู่ภายใต้การรับรอง ของหน่วยงานสากลหรือ Certificate 2. เครื่องมือ (Tool) การเลือกใช้อุปกรณ์ดิจิทัลและซอฟต์แวร์ที่ทันสมัย ได้รับการยอมรับ แล้วว่าสามารถป้องกันและมีความแม่นยำในการวิเคราะห์ภัยคุกคาม สามารถป้องกันการโจมตี เฟิร์มแวร์ซึ่งเป็นภัยใหญ่ที่สุดในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การรักษาความมั่นคงปลอดภัยโครงสร้างพื้นฐาน 1. ฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ (Hardware and its peripheral) 2. ซอฟต์แวร์(Software) 3. โครงสร้างพื้นฐานระบบเครือข่าย (Network) 4. ขั้นตอนระเบียบปฏิบัติ (Procedure) 5. ผู้ใช้งาน (User) หลักการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในการทำธุรกรรมดิจิทัล 1. การรักษาความลับ (Confidentiality) 2. การรักษาความครบถ้วนสมบูรณ์ (Integrity) 3. การรักษาความพร้อมใช้ (Availability) การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในการทำาธุรกิจดิจิทัล 1. การระบุตัวตน (Identification) 2. การพิสูจน์ทราบตัวตน (Authentication) 3. การอนุญาตใช้งาน (Authorization) 4. การตรวจสอบได้ (Accountability) ภัยคุกคามด้านความมั่นคงปลอดภัย ภัยคุกคาม (Threat) หมายถึง สิ่งที่ทำให้เกิดความเสียหายของข้อมูล ไม่ ว่าจะเป็นส่วนใดส่วนหนึ่งของข้อมูลเมื่อข้อมูลนั้นการคุกคามโดยภัยคุกคาม นี้ถ้าไม่ได้มีการป้องกันที่รัดกุมแล้วนั้นก็จะเป็นสาเหตุที่จะทำให้ข้อมูลนั้น เกิดการเสียหายได้ โดยการโจมตีของกลุ่มที่ไม่หวังดีเช่นจาก บุคคลภายในองค์กรเองหรือกลุ่มเจาะระบบ (Hacker) แต่อย่างไรก็ดี ถ้า มีการจัดการที่ดีต่อข้อมูลทำให้ข้อมูลนั้นปลอดภัยรัดกุมอยู่เสมอ ภัยต่าง ๆ ก็ไม่สามารถที่จะท าให้ข้อมูลเสียหายได้

ระบบ Cyber Security จำเป็นต่อทุกอุตสาหกรรม แต่เนื่อง ด้วยความจ าเป็นเร่งด่วนและ ผลกระทบที่รุนแรง ได้ถูกนำมาใช้อย่างมากในอุตสาหกรรมการ เงินและการธนาคาร เนื่องจากใน โลกยุคปัจจุบัน ในหลาย ประเทศมีการเปิดเสรีทางการเงินการ ธนาคารเพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ ให้เข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมทางการเงิน รวมถึงการซื้อขาย แลกเปลี่ยน และการท าธุรกรรม ทางการเงินสามารถท าได้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตที่ใช้งานบนสมา ร์ทโฟน เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับข้องกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในการท า ธุรกรรมดิจิทัล ได้แก่ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยทางกายภาพ วิทยาการรหัสลับ (Cryptography) ไฟร์วอลล์(Firewall) เป็นเทคโนโลยีที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อป้องกันภัย คุกคามและการโจมตีทางเครือข่าย หลักทั่วไปของการใช้งานไฟร์วอลล์ระบบตรวจจับผู้บุกรุก (Intrusion Detection System) และ แอนตีไวรัสซอต์แวร์(Anti-Virus Software)

สรุป สรุปแบ่งประเด็นที่เกี่ยวข้องออกเป็น 5 ความเสี่ยงที่ส าคัญ คือ ความเสี่ยงด้าน สภาพแวดล้อม ความ เสี่ยงด้านภูมิรัฐศาสตร์ ความเสี่ยงด้านสังคม ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี และ ความเสี่ยงด้านเศรษฐกิจ ส่วนภัย คุกคามทางไซเบอร์ ที่ส่งผลกระทบกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศพอมีหลายรูป แบบ เช่น การยืนยันตัวตน ล้มเหลว โปรแกรมประสงค์ร้ายต่าง ๆ การค้นหาช่องโหว่บนเว็บไซต์ จากผู้ไม่ ประสงค์ดี การโจมตีไปยัง เป้าหมายโดยตรง การปลอมแปลงเวบ็ ไซตใ์นการท าธุรกรรมดจิทิลัและโปรแก รมทไ่ีม่พงึประสงคเ์พ่อืกระทา การ บางสิ่ง เป็นต้น ซึ่งล้วนแต่เป็นภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบต่อหน่วยงาน หรือ องค์กรที่มีผลกระทบชนิดเบาไปจนถึง ชนิดรุนแรงในรูปแบบที่แตกต่างกันไป ส่วนความเสี่ยง คือ ผลของความไม่ แน่นอนที่ส่งผลต่อองค์กรหรือ เหตุการณ์ทเ่ีกดิ ขน้ึและก่อใหเ้กดิผลเชงิลบต่อเป้าหมายขององค์กร สามาถแบ่ง ตามประเภทของความเสี่ยงและ ภัยคุกคามธุรกรรมดิจิทัล ได้คือ ความเสี่ยงด้านข้อมูลสารสนเทศ ความเสี่ยงด้าน อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ความเสี่ยง ด้านซอฟต์แวร์ ความเสี่ยงด้านผู้ใช้งาน ความเสี่ยงด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ความเสี่ยงด้านเครือข่ายสื่อสาร และความเสี่ยงด้านกระบวนการใช้งาน ประเทศไทยให้ความส าคัญเป็นอย่างมาก ในการลงทุนเพื่อพัฒนาระบบ รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์โดยมีอัตราการลงทุนทางไซเบอร์ในปี ค.ศ.2020 ถึง 17.6 พันล้านเหรียญ

บทที่ 8 กฎหมายและ จริยธรรมและการทำ ธุรกรรมดิจิทัล

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอดีตเมื่อมีเหตุการณ์ความเสียหายที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ กระทำความผิด หรือสร้างความเสียหายแก่ระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมา แต่ละครั้ง มักจะไม่สามารถเอาผิดผู้ที่กระทำความผิดได้ ผู้ก่อความผิด สามารถอยู่ ณ สถานที่ใดในโลกก็ได้ ทำให้ยากที่จะนำตัวผู้กระทำความ ผิดมาลงโทษ และความเสียหายที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์กระทำผิด ก็สร้างความเสียหายและส่งผลกระทบต่อผู้คนจำนวนมากและรวดเร็ว แต่ยังไม่มีกฎหมายมารองรับและสามารถนำมาใช้ลงโทษได้ ปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศ อาทิ พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการทำธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ตลอดจนกฎหมายลิขสิทธิ์ เป็นต้น ปัจจุบัน ได้มีพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ที่ได้เริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 แล้วพระราชบัญญัติได้ผ่าน ความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติแห่งชาติวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 จากนั้นได้มีการเสนอร่างพระราชบัญญัติเพื่อลงพระปรมาภิไธย และได้ ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาวันที่ 18 มิถุนายน 2550 ส่งผลให้ พระราชบัญญัติมีผลบังคับใช้ภายในสามสิบวัน ซึ่งก็คือ วันที่ 18 กรกฎาคม 2550 และกลายเป็น “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550” ที่ใช้ในปัจจุบัน ในที่นี้จะขอนำเสนอ เฉพาะพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และกฎหมายลิขสิทธิ์ที่จะเป็น ประโยชน์ในการใช้งานด้านสารสนเทศ



กฎหมายลิขสิทธิ์ และการใช้งานโดยธรรม (Fair Use) กฎหมายลิขสิทธิ์ภายใต้พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2537 ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี สารสนเทศและการใช้งานโดยธรรม (Fair Use) ก็คือมาตรา 15 ที่มีสาระสำคัญ ในการคุ้มครองลิขสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ เช่น สิทธิในการทำซ้ำหรือดัดแปลง งาน การ เผยแพร่งานต่อสาธารณชน และให้เช่าต้นฉบับหรือสำเนางานบางประเภท เป็นต้น ดังนั้นลิขสิทธิ์จึงเป็นสิทธิแต่ผู้เดียว ของเจ้าของลิขสิทธิ์ อันเกิดจากงาน สร้างสรรค์ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ นอกจากนี้ก็มีมาตรา 32 ถึง มาตรา 36 และมาตรา 43 ในหมวด 1 ส่วนที่ 6 ว่าด้วยข้อยกเว้นการละเมิด ลิขสิทธิ์ ให้สามารถนำข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ได้โดยไม่ต้องขออนุญาต หรือเป็นการ ใช้งานโดยธรรม ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย 4 ประการดังนี้ 1) พิจารณาว่าการกระทำดังกล่าวมีวัตถุประสงค์การใช้งานอย่างไร ลักษณะ การนำไปใช้มิใช่เป็นเชิงพาณิชย์ แต่ควรเป็นไปในลักษณะไม่หวังผลกำไร อาจใช้ เพื่อการศึกษา หรือประโยชน์ส่วนตัว การใช้เพื่อการติชมหรือวิจารณ์ เป็นต้น 2) ลักษณะของข้อมูลที่จะนำไปใช้ซึ่งข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อเท็จจริง เป็นความ จริง อันเป็นสาธารณประโยชน์ ซึ่งทุกคนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3) จำนวนและเนื้อหาที่จะคัดลอกไปใช้เมื่อเป็นสัดส่วนกับข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ ทั้งหมด 4) ผลกระทบของการนำข้อมูลไปใช้ที่มีต่อความเป็นไ

ปัจจุบันธุรกิจจำเป็นต้องเก็บเอกสารทางการค้าที่เป็นกระดาษจำนวนมาก ทำให้เกิดค่าใช้จ่ายและความไม่ปลอดภัยขึ้น กฎหมายฉบับนี้เปิดทางให้ธุรกิจ สามารถเก็บเอกสารเหล่านี้ในรูปไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ได้ตามมาตรา 10 ที่กล่าว ว่า ในกรณีที่กฎหมายกำหนดให้นำเสนอหรือเก็บรักษาข้อความใดในสภาพที่ เป็นมาแต่เดิมอย่างเอกสารต้นฉบับ ถ้าได้นำเสนอหรือเก็บรักษาในรูปข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่าได้มีการนำเสนอหรือเก็บ รักษาเป็นเอกสารต้นฉบับตามกฎหมายแล้ว ซึ่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้ใช้วิธี การที่เชื่อถือได้ในการรักษาความถูกต้องของข้อความตั้งแต่การสร้างข้อความ จนเสร็จสมบูรณ์ และสามารถแสดงข้อความนั้นในภายหลังได้ความถูกต้อง ของข้อความตามมาตราที่ 7 ให้พิจารณาถึงความครบถ้วนและไม่มีการ เปลี่ยนแปลงใดของข้อความ เว้นแต่การรับรองหรือบันทึกเพิ่มเติม จะเห็นว่า ประเด็นสำคัญของการเก็บรักษาข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์คือ การรักษาความถูก ต้องของข้อมูล ซึ่งแฮชฟังก์ชั่น (Hash Function) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการ ลายมือชื่อดิจิทัลสามารถนำมาใช้เพื่อการ ไวรัสคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่พัฒนาขึ้นเพื่อก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อข้อมูล หรือระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งในปัจจุบันไวรัสคอมพิวเตอร์ได้พัฒนารูป แบบ เทคนิคการแพร่กระจาย ความสามารถ รวมทั้งความรุนแรง ในการก่อความ เสียหายแก่ระบบแตกต่างไปจากเดิมมาก ซึ่งรูปแบบของไวรัสคอมพิวเตอร์ได้ พัฒนาให้มีรูปแบบดังนี้ 2.1.1 หนอนอินเทอร์เน็ต (Internet Worm) หมายถึง โปรแกรมที่ออกแบบมา ให้สามารถแพร่กระจายไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ด้วยตัวเอง โดยอาศัย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อีเมล หรือการแชร์ไฟล์ ทำให้การแพร่กระจาย เป็นไปอย่างรวดเร็วและเป็นวงกว้าง

การโพสต์ข้อมูลเท็จ สำหรับการโพสต์ข้อมูลเท็จ หรือการใส่ร้าย กล่าวหาผู้อื่น การหลอกลวงผู้ อื่นให้หลงเชื่อ หรือการโฆษณาชวนเชื่อใดๆ ที่จะส่งผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจ สังคม หรือก่อให้เกิดความเสื่อมเสียต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เหล่านี้ เป็นการกระทำตามมาตรา 14 และ มาตรา 15 ของพระราช บัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 นอกจาก นี้การฟอร์เวิร์ดอีเมล หรือการส่งต่ออีเมลก็ถือเป็นความผิดด้วย เพราะมี ส่วนในการเป็นผู้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวด้วย การสแปมเมล (จดหมายบุกรุก) ความผิดฐานการสแปมอีเมล จะเกี่ยวข้องกับมาตรา 11 ในพระราช บัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ลักษณะ การกระทำ เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมลไปให้บุคคลอื่น โดยการซ่อนหรือปลอมชื่อ อีเมล และหากการส่งอีเมลไปให้ผู้รับคนใดคน หนึ่งมากเกินปกติ ก็ถือว่าเป็นการส่งอีเมลสแปมเช่นกัน บางครั้งการส่ง อีเมลในลักษณะที่ผู้รับไม่ต้องการก็อาจเรียกว่า อีเมลขยะ (Junk Email)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook