บทที่การสรา้ งใบสั่งงาน/ใบประลอง เนื้อหาสาระในบทนี้ กล่าวถึง ท่ีใช้งานของใบสั่งงาน (Job Sheet) และใบประลอง (Lab Sheet) ความหมายของใบส่ังงาน (Job Sheet) และใบประลอง (Lab Sheet) ส่วนประกอบที่สาคัญ ๆ ของ ใบสั่งงานและใบประลอง ส่วนประกอบของใบตรวจงานของใบส่ังงาน (Job Sheet) และใบประลอง (Lab Sheet) ท่ใี ชง้ านของใบสัง่ งานและใบประลอง ขอ้ คานึงถึงในการสร้างใบสัง่ งานและใบประลองท่ีใช้งานของใบสั่งงานและใบประลอง ในรายวิชาภาคทฤษฎี หลงั จากผูเ้ รยี นได้รบั ขอ้ มลู (Information) ครบถ้วนแล้ว จะต้องมีใบงาน (Work Sheet) ไว้สาหรับให้ตรวจสอบว่า ข้อมูลข่าวสารท่ีได้รับไปน้ันครบถ้วนเพียงพอหรือไม่ท่ีจะใช้แก้ปัญหา มอี ะไรท่ีควรจะทบทวนหรอื คน้ หาเพ่มิ เตมิ อกี บ้าง รายวิชาภาคปฏิบัติหรือวิชาประลองก็เช่นเดียวกัน หลังจากท่ีได้มีการถกปัญหาในส่วนทฤษฎี (หวั งาน) ทเ่ี กย่ี วข้องแลว้ จะตอ้ งมใี บสง่ั งานให้ผู้เรยี นใชเ้ ป็นแนวทางในการฝกึ ปฏิบัติให้เกิดทักษะหรือใช้ ใบประลองเพอ่ื การทดลองใหท้ ราบข้อมลู ข้อเทจ็ จริงในเรือ่ งนั้นเปน็ อย่างไร (A) Application (Job Sheet/Lab Sheet) 1 ชว่ ง บทเรยี น ภาพที่ 12-1 การใชใ้ บสัง่ งาน/ใบประลองในรายวชิ าภาคปฏิบัติ/ประลองMot(ivMa)tion Infor(Im)ation Pro(gPr)ess
► บทที่ 12 การสรา้ งใบสงั่ งาน/ใบประลอง 95ความหมายของใบสงั่ งานและใบประลองใบส่ังงาน ใบสั่งงาน เป็นเอกสารที่กาหนดรูปแบบ วิธีการ และเง่ือนไขต่าง ๆ ใน การปฏิบัติ เพ่ือฝึกผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามวัตถุประสงค์การสอนที่ได้(Job Sheet) กาหนดไว้ ใบประลอง เปน็ เอกสารท่ีกาหนดรปู แบบ วิธีการ และขั้นตอนการทดลองใบประลอง เพ่ือพิสูจน์ทราบผลเชิงทฤษฎีด้วยวิธีการทดลอง (ทดลอง บันทึกข้อมูล(Lab Sheet) วเิ คราะห์และสรปุ ผล)ส่วนประกอบของใบสง่ั งาน ใบสั่งงาน ช่อื งาน รายละเอียดเพ่ิม คาส่งั : คาสงั่ ชื่องาน 1. วสั ดุ เครื่องมืออปุ กรณ์ วัสดุ St. 37 100x90 mm. 2. ภาพงาน ขั้นตอนการทางาน 3. 4. ขั้นตอนการทางาน ชอ่ื ผฝู้ กึ หดั ชื่อผู้ควบคุมชือ่ นักศกึ ษา ผคู้ วบคมุ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์
► บทท่ี 12 การสรา้ งใบสง่ั งาน/ใบประลอง 96ตัวอยา่ งใบส่งั งาน (Job Sheet) ใบสงั่ งานรายวชิ า ปฏิบัติงานเชือ่ มไฟฟา้ 1ช่อื งาน งานเช่ือมไฟฟา้ ต่อชนท่าราบวสั ดุ St. 37 ขนาด 180x40 มม. 2 ชน้ิ คาส่งั : ให้นกั ศึกษา 1. เชื่อมไฟฟา้ ตอ่ ชนชนิ้ งานในท่าราบ 2. เขยี นขน้ั ตอนและเครอ่ื งมืออุปกรณ์ท่ีใช้ 3. ใชเ้ วลาฝกึ ปฏิบัติ ไม่เกนิ 6 ช่วั โมง ระวัง !! แสงและควันจากการ ARC มอี นั ตรายต่อสุขภาพ ตอ้ งใช้หน้า กากกนั แสงทกุ ครั้งที่ทาการเชอื่ มหนา 3 มม.ขั้นตอนการทางาน วัสดุ เครื่องมืออุปกรณ์ ชอ่ื นกั ศกึ ษา : ผู้ควบคุม : ห้อง/ชน้ั : วันท่ี :ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 12 การสรา้ งใบสง่ั งาน/ใบประลอง 97ตวั อย่างใบตรวจงาน ใบตรวจงานรายวิชา ปฏิบัติงานเช่อื มไฟฟา้ 1ชอ่ื งาน งานเชอื่ มไฟฟ้าตอ่ ชนท่าราบวัสดุ St. 37 ขนาด 180x40 มม. 2 ชิ้น คาสัง่ : ให้นกั ศึกษา 1. เชื่อมไฟฟ้าต่อชนชิ้นงานในท่าราบ 2. เขยี นข้นั ตอนและเคร่ืองมืออปุ กรณ์ท่ใี ช้ 3. ใช้เวลาฝกึ ปฏบิ ัติ ไม่เกนิ 6 ช่ัวโมง แสงและควนั จากการ ARC มี อันตรายต่อสุขภาพใชห้ นา้ กาก กันแสงทกุ ครัง้ ทที่ าการเชื่อม หนา 3 มม.จุดพจิ ารณา ผลการปฏบิ ัติ หมายเหตุ ผ่าน ไม่ผา่ น1. การซึมลึกของแนวเชอ่ื มตลอดแนว2. ความสม่าเสมอของแนวเชื่อม3. ความตรงของแนวเช่ือมตลอดแนว4. ชนิ้ งานไม่คดงอหรอื บดิ เบยี้ ว5. ฯลฯผลการพิจารณา : ช่อื นักศึกษา : ผคู้ วบคุม : หอ้ ง/ชน้ั : วันท่ี :ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 12 การสรา้ งใบสง่ั งาน/ใบประลอง 98ขอ้ คานงึ ถงึ ในการสร้างใบส่งั งาน ใบสั่งงาน (Job Sheet) ใชใ้ นช่วงการฝึกหัดปฏิบัติ ซ่งึ เป็นช่วงที่ผเู้ รยี นผ่านการตรวจสอบทฤษฎีหัวงาน ทเี่ ก่ียวข้องมาแล้ว โดยการสรา้ งมขี ้อพิจารณาถงึ ดงั น้ี 1. แบบงานที่กาหนดไว้ในใบส่ังงาน (Job Sheet) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะตามวัตถุประสงค์ การสอนของงาน (Job) นน้ั (ตรวจสอบดวู า่ ครบถว้ นหรือไม)่ 2. ระดับของการฝึกทักษะ เก่ียวข้องกับความถ่ีและจานวนคร้ังในการฝึก จะต้องพิจารณาถึง ระยะเวลาและปรมิ าณวสั ดุท่ใี ชใ้ นการฝกึ รว่ มด้วย 3. รายการฝึกทักษะที่จะตรวจสอบ และวิธีการปรับแต่งการฝึกปฏิบัติในใบส่ังงาน (Job Sheet) ที่ได้ ออกแบบมานั้น สามารถปฏบิ ัติหรอื ดาเนินการไดง้ า่ ย 4. ความต่อเน่ืองของการฝึกทักษะ ผลงานหรอื ชิน้ งานทเี่ กดิ จากการฝึกทักษะ จะต้องมีการวางแผนใช้ อย่างประหยัดหรือใช้งานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด 5. การปฏิบัติงานตามใบสงั่ งาน (Job Sheet) ที่ออกแบบมาน้นั มีความปลอดภยั เปน็ ท่ีนา่ เช่อื ถอื ได้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 12 การสรา้ งใบสงั่ งาน/ใบประลอง 99ส่วนประกอบของใบประลอง ชื่อเร่อื ง ใบประลองรายวิชา : ภาพหรือแบบงานชอ่ื เร่ือง : คาสั่ง : 1. 2. คาสงั่ 3. 4.หมายเลขชน้ิ งานที่จะวดั ขนาดที่วดั ได้ (มม.) VC-01 abcde f g VC-02 VC-03 ขอ้ มลู VC-04 VC-05สรปุ ผล :ชอ่ื นกั ศกึ ษา : การสรุปผล ผู้ควบคมุ :หอ้ ง/ชน้ั : ช่ือผู้ฝกึ หดั วันท่ี : ชอ่ื ผคู้ วบคุมผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 12 การสรา้ งใบสงั่ งาน/ใบประลอง 100ตวั อยา่ งใบประลอง f g ใบประลอง รายวชิ า : งานวดั ละเอียด 1. ชอ่ื งาน : การวัดขนาดด้วยเวอร์เนยี รค์ ารล์ ิปเปอร์ d c VC-xx eคาสงั่ bวตั ถปุ ระสงค์ aเครอ่ื งมืออปุ กรณ์ ให้วดั ขนาดช้ินงานที่กาหนดและบันทกึ ค่าในใบประลอง เพอ่ื ฝกึ ทกั ษะการวดั ขนาดด้วยเวอร์เนียร์คาลปิ เปอร์ 1. เวอรเ์ นียร์คาลิปเปอร์ 0.05 มม. 1 อนั 2. ชิ้นงานฝกึ วัดขนาดด้วยเวอรเ์ นยี ร์ 5 ชน้ิหมายเลขช้นิ งาน ขนาดทวี่ ดั ได้ (มม.) g VC-01 abcde f VC-02 VC-03 VC-04 VC-05ผล/ขอ้ สรุปช่ือนักศึกษา : ผู้ควบคมุ :ห้อง/ชน้ั : วนั ท่ี :ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 12 การสรา้ งใบสง่ั งาน/ใบประลอง 101ใบตรวจงานประลอง f g ใบตรวจงานประลอง รายวชิ า : งานวดั ละเอยี ด 1. ชื่องาน : การวดั ขนาดด้วยเวอร์เนียร์คารล์ ิปเปอร์ d c VC-xx eคาสง่ั bวตั ถปุ ระสงค์ aเคร่อื งมอื อุปกรณ์ ให้วดั ขนาดช้ินงานท่กี าหนดและบนั ทึกค่าในใบประลอง เพื่อฝึกทักษะการวัดขนาดดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1. เวอร์เนยี รค์ าลิปเปอร์ 0.05 มม. 1 อัน 2. ชิ้นงานฝึกวดั ขนาดดว้ ยเวอร์เนยี ร์ 5 ชิ้นหมายเลขช้ินงาน ขนาดที่กาหนด (มม.) VC-01 a bcde f g VC-02 125.15 25.25 26.25 40.05 10.15 25.15 50.55 VC-03 125.05 25.15 26.15 40.15 10.05 25.05 50.45 VC-04 125.25 25.20 26.05 40.00 10.10 25.10 50.45 VC-05 125.10 25.20 26.35 40.45 10.25 25.25 50.45 125.25 25.15 26.35 40.15 10.25 25.10 50.50ผล/ขอ้ สรุปช่ือนกั ศึกษา : ผู้ควบคมุ :ห้อง/ชน้ั : วันท่ี :ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 12 การสรา้ งใบสง่ั งาน/ใบประลอง 102ข้อคานึงในการสรา้ งใบประลอง ใบประลอง (Lab Sheet) เป็นเอกสารท่ีสร้างไว้ เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ในการฝึกปฏิบัติหรือประลองภายใน หอ้ ง Lab ซึ่งจะต้องผา่ นการศึกษาทฤษฎีทีเ่ ก่ยี วข้องมาแล้ว การสรา้ งจะต้องคานงึ ถึง 1. รปู แบบการประลอง ตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกหัดหรือพสิ จู น์ทราบผลทางทฤษฎีในแง่มุมต่าง ๆ ของหัวขอ้ เรอ่ื งดงั กล่าวอยา่ งครบถว้ น 2. การออกแบบใบประลอง จะตอ้ งคานึงถึงวัสดุอปุ กรณ์ เวลาในการประลอง และการบันทึกรวบรวม ขอ้ มูล ท่ีสามารถดาเนนิ การไดค้ รบถ้วนสมบรู ณ์ 3. คา่ ใช้จ่ายในการประลอง ไดม้ กี ารวางแผน จัดหาและจดั เตรยี มเอาไว้อยา่ งเพียงพอตอ่ การใชง้ าน 4. ได้เตรียมการตรวจสอบผลการประลอง และวธิ ีการแจ้งผลการประลองให้นักศกึ ษาไดท้ ราบ 5. การฝึกหรือการประลองใน Lab ต่าง ๆ พจิ ารณาแล้วว่ามีความปลอดภัยเปน็ ทน่ี า่ เช่อื ถอื ได้สรปุ บทเรียน 1. ใบส่ังงาน (Job Sheet) และใบประลอง (Lab Sheet) มีไว้เพื่อการปฏิบัติหรือการประลองใน รายวิชาภาคปฏบิ ัติและวชิ าประลองใหผ้ ู้เรียนไดเ้ กดิ ทกั ษะตามวัตถุประสงค์การสอนท่ีวางไว้ 2. ใบสัง่ งานจึงต้องมีแบบงาน คาส่ัง และรายละเอียดต่าง ๆ ให้ผู้เรียนได้ฝึกหัด ครูผู้สอนเองก็ต้องมี เกณฑ์ระบุไว้ในใบตรวจงานว่าผลการฝึกท่ีพอใจ ใช้ได้หรือไม่ได้อย่างไร ซ่ึงจะต้องแจ้งให้ผู้เรียนได้ ทราบผลการฝึกหดั ด้วย 3. การสร้างใบส่ังงานมีขอ้ คานึงถงึ หลายประการ เช่น การครอบคลุมทักษะตามวัตถุประสงค์การสอน ระดับความยากของการฝึก วิธีการตรวจสอบ ความต่อเน่ืองของการฝึกหรือชิ้นงานฝึก ที่จะทาให้ เกิดความประหยดั และความปลอดภยั เป็นต้น 4. ใบประลอง (Lab Sheet) เป็นเอกสารกาหนดวิธกี าร เงอ่ื นไขในการทดลองหรือประลอง เพ่ือฝึกหัด หรอื พิสูจนท์ ราบผลทางทฤษฎีโดยการทดลอง นอกจากจะบอกรายละเอียดให้ทราบว่ามีจุดประสงค์ อยา่ งไรในการทดลองแล้ว จะต้องมีที่บันทกึ ผลและการแปลผลการทดลองดว้ ย 5. การออกแบบสรา้ งใบประลอง (Lab Sheet) มีวิธีการเช่นเดียวกับการสร้างใบส่ังงาน (Job Sheet) ที่จะต้องคานึงถึงสิ่งที่จะฝึกหัดให้ผู้เรียนมีสมรรถนะตามวัตถุประสงค์กาหนด ดาเนินการอย่าง ประหยดั มีประสิทธิภาพและปลอดภัยผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
บทท่ีการสรา้ งสือ่ การสอน(Teaching Aids) เน้ือหาสาระในบทนี้ กล่าวถึง ความหมายของส่ือการสอน ตัวอย่างส่ือท่ีนิยมใช้ในการเรียนการสอน ขอ้ พจิ ารณาเบอื้ งต้นในการใช้ส่ือการสอน แนวคิดเบื้องต้นในการพิจารณาเลือกสื่อจากนามธรรมไปหา รูปธรรม หลักการเลือกส่ือชนิดคาพูดคาบรรยาย สื่อภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว หุ่นจาลองและของจริง ความตอ้ งการใชส้ อ่ื การเรยี นการสอน ข้อคานงึ ถึงเก่ียวกับการเลอื กใช้ส่ือในการเรยี นการสอนความหมายของสอื่ การสอน สอ่ื ผู้รับผูส้ ง่ ภาพท่ี 13-1 ส่ือเปน็ ตัวกลางในการถ่ายทอดหรอื ส่งข้อมลู ขา่ วสารส่ือการสอน (Teaching Aids) คอื ส่ิงตา่ ง ๆ ทีใ่ ชเ้ ปน็ ตวั กลางในกระบวนการถ่ายทอดข้อมูลขา่ วสารระหว่างผู้ส่งกบั ผ้รู บั (เช่น ครูกบั ผู้เรียน) ซึง่ อาจเปน็ คาพูดคาเขียน รูปภาพ สญั ลักษณ์ หรือแมก้ ระทั่งลกั ษณะสีหน้าท่าทางก็ตาม
► บทท่ี 13 การสรา้ งสื่อการเรยี นการสอน 104สอื่ ที่นิยมใช้ในการเรียนการสอน สอื่ การสอนมมี ากมายหลายรปู แบบ การนาไปใชข้ ้นึ อย่กู ับปจั จยั หลาย ๆ อย่าง อย่างไรก็ดี หากจะมอง โดยภาพรวมแล้ว จะพบว่าสอ่ื การสอนที่ใชก้ นั มาก ได้แก่ ข้อมลู ทีเ่ สนอบนกระดานดา แผ่นใส แผ่นภาพ หุ่นจาลอง ของจรงิ และสื่อผสมทน่ี าเอาสือ่ การสอนหลาย ๆ อยา่ งมาประกอบกันข้อพจิ ารณาเบอ้ื งตน้ ในการใช้สอื่ หนา้ ทีห่ ลกั ของสือ่ ก็คือ เป็นตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ การพิจารณาเลือกใช้ส่ือ ในการเรยี นการสอนจะตอ้ งคานึงถงึ ปจั จยั ต่าง ๆ ดงั นี้วัตถุประสงค์ จะใชส้ ือ่ พนื้ ฐานความรู้เนอื้ หาวิชา อะไรสอน และประสบการณ์ความคุ้มคา่ ในการใช้ สิง่ อานวย ความสะดวกภาพท่ี 13-2 ขอ้ พจิ ารณาเบือ้ งตน้ ในการเลอื กใช้ส่ือการสอน1. วัตถปุ ระสงค์และเน้ือหาวิชา โดยท่ีวัตถุประสงค์การสอนและเนื้อหาวิชามักจะไปด้วยกัน กล่าวคือ วตั ถุประสงค์เปน็ ตัวกาหนดขอบเขตของเน้อื หาว่าควรมปี รมิ าณเทา่ ไร เน้ือหาวิชาที่มีความยากง่าย ต่างกันย่อมต้องการสื่อในการส่งข้อมูลข่าวสารท่ีแตกต่างกันด้วย หรือแม้แต่พฤติกรรมตาม วัตถุประสงค์การสอน กเ็ ปน็ ปัจจยั ในการจดั กจิ กรรมการสอนและการใช้สอื่ ท่ีแตกตา่ งกัน2. พ้ืนฐานความรขู้ องผ้เู รียน พน้ื ความรมู้ คี วามสาคญั ย่งิ ตอ่ การรับรูเ้ น้อื หาใหม่ สอ่ื ก็เป็นอีกส่วนหนึ่ง ที่จะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับประสบการณ์และพ้ืนความรู้ของผู้เรียน เพราะหากว่าผู้เรียนไม่ คนุ้ เคยกับสือ่ การสอนแล้ว กจ็ ะเปน็ การยากในการทาความเขา้ ใจเนื้อหาอีกดว้ ย3. ความคุม้ คา่ ในการใช้ แม้จุดประสงคห์ ลกั ในการจัดการเรียนการสอนจะอยู่ที่การเรียนรู้ของผู้เรียน แตท่ วา่ การลงทุนลงแรงสรา้ งส่อื กับระยะเวลาที่ใชง้ าน จานวนคร้ังที่จะใช้ได้ ค่าใช้จ่ายในการสร้าง กจ็ ะตอ้ งนามาพิจารณาดว้ ยว่ามคี วามเหมาะสมและเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด4. สงิ่ อานวยความสะดวกตา่ งๆ การใช้ส่ือการสอนหลายอย่างต้องใช้เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ประกอบ การพิจารณาเลอื กใช้ส่ือกับผู้เรียนกลุ่มน้ัน ณ สถานที่ใด จะต้องดูด้วยว่ามีส่ิงอานวยความสะดวก ต่าง ๆ เพียงพอหรอื ไม่ อย่างไรกต็ าม ในประเด็นน้ีอาจต้องพิจารณาถึงการจัดเก็บและการนาออก ใชด้ ้วยว่ามีความสะดวกในการใช้และมจี านวนมากน้อยเพยี งใดในการนามาใช้ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 13 การสรา้ งสื่อการเรยี นการสอน 105แนวคดิ ในการพิจารณาเลอื กสอ่ื หลังจากได้พิจารณาในข้ันต้น ถึงวัตถุประสงค์และเนื้อหาวิชา พ้ืนฐานความรู้และประสบการณ์ผู้เรียน ความค้มุ คา่ ในการใช้และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ แล้ว ถัดมาเป็นแนวคิดเบื้องต้นในการพิจารณา เลอื กสื่อใชส้ ือ่ ในการเรียนการสอน โดยดาเนนิ การดงั น้ี ของจรงิ รปู ธรรม หุ่นจาลอง ภาพเคลอื่ นไหว ภาพนิ่ง ข้อพจิ ารณาเบ้อื งต้น คาพดู -คาเขยี น นามธรรมภาพที่ 13-3 แนวคดิ ในการพจิ ารณาเลอื กใช้สือ่ ในการเรยี นการสอนคาพูด/คาบรรยาย คาพดู คาเขียน หรือคาบรรยาย อาจเปน็ การพดู ด้วยปากเปลา่ ในช้นั เรียน การเขยี นขอ้ ความในกระดาษ หรือจดั ทาเป็นเอกสารมขี ้อพจิ ารณา ดงั น้ี คาพดู -คาเขยี นข้อความสัน้ ๆ คาอธิบายยาวต้อง คาอธบิ ายยาวไม่ การเรยี บเรยี ง ตอ้ งการเรียบเรียงเขียนแผน่ ใส จดั ทาเป็น คาพูดเขยี นกระดาน เอกสาร คาบรรยายภาพที่ 13-4 ข้อพิจารณาในการเลือกใชส้ อื่ คาพดู คาเขียนหรือคาบรรยายผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 13 การสรา้ งสือ่ การเรยี นการสอน 106ภาพน่งิ ภาพ สามารถสื่อความหมายได้ดีกว่าข้อความ ดังคาพูดท่ีว่า “ภาพ 1 ภาพ แทนคาพูดได้เป็นพันคา” ภาพมหี ลายแบบ การเลือกใชภ้ าพนิ่งเป็นสือ่ นั้นมีขอ้ พจิ ารณา ดังน้ี ภาพนิ่งลายเส้น 2 มติ ิ ลายเสน้ 3 มิติ ภาพสเกต็ ภาพถา่ ย เวลาเขยี น เวลาเขียน จดั ทาเป็น จัดทาเปน็น้อยกว่า 3 นาที มากกว่า 3 นาที แผน่ ใส แผน่ ใส แผน่ ภาพ ภาพสไลด์ เขียนใน จัดทาเป็น กระดานดา แผน่ ใส ภาพที่ 13-5 ข้อพิจารณาในการเลือกใชส้ ่ือภาพนิง่ภาพเคลอ่ื นไหว ภาพเคลอ่ื นไหว หมายถึง ภาพนั้นสามารถเล่อื นตาแหน่งจากจดุ หนึ่งไปอกี ตาแหนง่ หน่ึงได้ หรือเปน็ การ เคลอ่ื นไหวแบบตอ่ เนอ่ื งกไ็ ด้ การใช้ภาพเคล่ือนไหวเป็นส่อื มขี ้อพิจารณาถงึ ดงั น้ี ภาพเคลื่อนไหว 2 มิติ 3 มิติเล่ือนด้วยมอื เลื่อนอัตโนมตั ิ ลายเสน้ ภาพถ่าย แผน่ ใส ภาพยนต์ เลือ่ นด้วยมือ เลอ่ื นอตั โนมตั ิ แผ่นภาพ วิดโี อ แแผผ่น่นภใาสพ ภาวพดิ ยโี อนต์โมเดลฉายบน โอเวอรเ์ ฮดภาพที่ 13-6 ขอ้ พจิ ารณาในการเลือกใช้สอ่ื ภาพเคล่ือนไหวผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 13 การสรา้ งสอื่ การเรยี นการสอน 107หุ่นจาลอง หุ่นจาลอง ใช้สื่อความหมายในสิ่งท่ีต้องการจะให้เห็นรูปร่างลักษณะหรือการทางานคล้าย ๆ ของจริง การเลอื กใช้หุน่ จาลองเป็นสอ่ื มีหลักการในการพจิ ารณา ดงั นี้ ห่นุ จาลองแบบตายตวั เคลื่อนท่ีได้ แยกชิ้นได้ ขบั ดว้ ยมือ แยกช้นิ ไม่ได้ ใชม้ อเตอรข์ ับภาพที่ 13-7 ข้อพิจารณาในการเลือกใชส้ ่อื หนุ่ จาลองของจริง ของจรงิ ในท่ีน้ี คอื อุปกรณ์หรือเครือ่ งมอื ท่ีใชท้ างานได้จริง การนามาใช้ประกอบหรือเป็นสื่อในการเรียน การสอน มีหลกั การพจิ ารณา ดังนี้ ของจริงแสดงในชั้นเรยี น นานักเรียนไปดู ภาพท่ี 13-8 ขอ้ พิจารณาในการเลอื กใชส้ อ่ื ของจริงความตอ้ งการในการใชส้ ่อื เหตุผลสาคญั ในการใช้ส่ือในการสอนนัน้ เปน็ เพราะว่า 1. เนอ้ื หายากแกก่ ารทาความเขา้ ใจ 2. ชว่ ยประหยัดเวลาในการสอน 3. ช่วยใหบ้ ทเรียนนา่ สนใจเพม่ิ มากขึน้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 13 การสรา้ งส่ือการเรยี นการสอน 108ข้อคานงึ ถึงเก่ียวกบั สอ่ื การเลือกใชส้ ่ือการสอน นอกจากจะหวังผลท่ีการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เป็นไปได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว แลว้ ยังจะตอ้ งพิจารณาถึงสงิ่ ต่าง ๆ ควบคู่ไปดว้ ย ดังนี้ 1. ความคุ้มค่าทางวิชาการ 2. ค่าใช้จ่ายในการจัดสรา้ ง 3. ความประณตี ของผลงาน 4. ความคล่องตัวในการนาออกใช้และการเกบ็ 5. ความสะดวกรวดเร็วในการใช้งานสรปุ บทเรยี น 1. ส่ือ คือ ส่ิงต่าง ๆ ท่ีใช้เป็นตัวกลางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ เพ่ือใช้ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ส่ือ ในการเรียนการสอนมีมากมาย ต้ังแต่การเขียนในกระดานดา การจัดทาเป็นแผ่นใส แผ่นภาพ หุ่นจาลอง หรอื ของจริง 2. การจะเลอื กใช้ส่อื ในการเรยี นการสอนมขี ้อพิจารณาในเบอื้ งตน้ ดังนคี้ ือ 2.1. วตั ถปุ ระสงค์การสอน/เน้อื หา 2.2. พืน้ ฐานความรู้และประสบการณ์ผ้เู รียน 2.3. ความคุ้มค่าในการใช้ 2.4. ส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ 3. แนวคิดในการเลือกสื่อเพ่ือใช้ในการเรียนการสอน อาจมองจากสื่อท่ีเป็นนามธรรมไปหาส่ือที่เป็น รูปธรรมมากกว่า โดยพิจารณาจากคาพูดคาเขียน ไปหาภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว หุ่นจาลองและ ของจรงิ 4. การใช้สื่อนอกจากจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วแล้ว ยังจะช่วย ประหยัดเวลาในการสอน และทาให้การเรียนน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม การท่ีจะสร้างสื่อ ไปใช้ในการเรียนการสอนจริง จะต้องคานึงถึงเรื่องความคุ้มค่าทางวิชาการ ค่าใช้จ่ายในการสร้าง เวลาในการใช้ ความประณตี และความปลอดภัยในการใช้สือ่ ต่าง ๆ เหล่านัน้ ดว้ ยผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
บทท่ีการวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นการสอนเนื้อหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง ความหมายของคาว่า “การวัดผล” และ “การประเมินผล” การวัดและการประเมินผลย่อย การประเมินผลรวม การวัดผลในวิชาภาคทฤษฎี สรุปผลเก่ียวกับคุณภาพที่ดีของขอ้ สอบวชิ าภาคทฤษฎี แนวคดิ และวธิ ีการวัดผลในวิชาภาคปฏิบัติ การวัดและการประเมินผลงานปฏิบัติการวัดผลในรายวชิ าประลอง การตรวจให้คะแนนและการประเมินรายวชิ าประลองความหมายของการวดั ผลและประเมินผล การวดั ผล (Measurement) หมายถงึ การกาหนดค่าแทนคุณลักษณะท่ีต้องการจะวัด โดยใช้เครื่องมือ ที่มีคุณภาพไปทาการวัดหรือไปตรวจสอบ เช่น ใช้ข้อสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้เรียน ใชแ้ บบทดสอบภาคปฏิบัติวดั สมรรถนะในการทางานของผู้เรียน เปน็ ตน้ความรู้ คะแนนท่ีได้ เทยี บกับเกณฑ์ แก้ปัญหา ขอ้ สอบ วนิ ิจฉยั ผา่ น/ไม่ผ่าน ภาพที่ 14-1 ลักษณะทัว่ ไปของการวดั ผลและการประเมินผลส่วนการประเมินผล (Evaluation) เปน็ กระบวนการในการวินิจฉัยตัดสินคุณค่าคุณลักษณะของส่ิงท่ีวัดมาเทียบกับเกณฑ์ว่าควรผ่านหรือไม่ สอบได้หรือสอบตกในทานองน้ี ดังน้ัน กระบวนการประเมินผลจะต้องทาหลงั จากท่ีไดม้ ีการวัดผลมาก่อนแล้วเสมอ
► บทท่ี 14 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 110การประเมินผลการเรยี นการสอน การประเมนิ ผลการเรียนการสอน แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะ ดงั นี้ 1. การประเมินผลย่อย (Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลในระหว่างภาคเรียน อาจเป็น หลังการเรียนการสอน 3-4 คร้ัง หรือจะบ่อยคร้ังเท่าท่ีเห็นสมควรก็ได้ เป็นการกระตุ้นความสนใจ ในการเรยี นของผูเ้ รียนได้วธิ ีหน่ึงบทเรียนที่ บทเรยี นที่ บทเรียนที่ บทเรยี นที่ บทเรยี นที่ 1 2 3 4 n Formative Evaluation (1)ภาพที่ 14-2 ลักษณะการประเมนิ ผลย่อย (Formative Evaluation)2. การประเมินผลรวม (Summative Evaluation) เป็นการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนในตอน ปลายภาคเรียน มีวัตถุประสงค์เพ่ือนาคะแนนท่ีวัดได้มาจัดระดับว่าได้เกรดเท่าไร และตัดสินผลว่า สอบได้หรอื สอบตก เป็นการประเมนิ ผลการเรียนในภาพรวมBEnethrayvior BEexhitavior QPeuoaplilfeied Course Final Yes Exam Noภาพท่ี 14-3 ลักษณะการประเมนิ ผลรวม (Summative Evaluation)ท้งั น้ี ไม่วา่ จะเปน็ การประเมนิ ผลยอ่ ยหรอื ประเมินผลรวม จะต้องดาเนินการตามวัตถุประสงค์การสอนท่ีกาหนดไว้ นั่นหมายความวา่ การวดั ผลจะต้องเป็นตัวแทนหรือครอบคลมุ ทกุ วัตถุประสงค์การสอนในทุกหัวขอ้ เรอ่ื ง หากเปน็ วิชาภาคปฏบิ ตั ิก็จะตอ้ งครอบคลมุ งานยอ่ ยที่ไดศ้ ึกษาหรือฝกึ หัดผ่านไปแลว้การวัดและประเมินผลในวิชาทฤษฎี เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวดั และประเมินผลในวิชาทฤษฎีส่วนใหญ่จะเป็นข้อสอบ ซึ่งอาจใช้ Test Blueprint ช่วยคานวณโครงสรา้ งและจานวนข้อในแบบทดสอบตามเวลาที่กาหนดก็ได้ ส่ิงสาคัญมากท่ีสุดอีกอย่าง หนึง่ ในการวัดและประเมินผลการเรียนวชิ าในภาคทฤษฎี ก็คือ คุณภาพของข้อสอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คณุ ภาพของคาถามผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 14 การวัดและประเมินผลการเรยี นการสอน 111ตวั อยา่ งการให้เนอ้ื หาตามวัตถปุ ระสงค์การสอน หลงั จากน้นั เปน็ การใช้คาถามเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจในเน้อื หาดงั กล่าว ซึง่ จะเห็นไดว้ า่ คาถามแตล่ ะขอ้ มรี ะดับความยากทแ่ี ตกตา่ งกัน วัตถปุ ระสงค์ หลงั จากจบบทเรียนแลว้ ผูเ้ รยี นสามารถอธิบายวิธกี ารเขยี นเส้นและมมุ ตา่ ง ๆ ในงานร่างแบบ โดยใชไ้ ม้ทีและไมเ้ ซต็ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 30/60/90 45/45/90 ไม้เซ็ต ไม้ทีเนื้อหาเราใช้ไม้ทีและไม้เซ็ตขนาดมุม 30/60/90 และ 45/45/90 องศา ในการร่างแบบ โดยใช้ไม้ทีลากเส้นแนวขนานหรอื ตง้ั ฉาก ส่วนไม้เซ็ตนามาประกอบกับไม้ที ในการทามุมขนาด 30 องศา60 องศา เชน่ หากเราจะทามุม 60 องศา กับเส้นขนาน เราก็ใช้ไม้ทีลากเส้นขนาน จากนั้นใช้ไม้เซ็ต 60/30/90 องศา มาทาบและลากเส้นตามขอบมุม 60 องศา ก็จะได้มุม 60 องศา ท่ีตอ้ งการ เป็นต้นข้อสอบ(1) เรามีวธิ ีเขียนมุม 60 องศา กบั แนวระดับ ด้วยไม้ทแี ละไม้เซ็ตอย่างไร ?(2) จงอธิบายข้ันตอนการสรา้ งมุม 75 องศา กับแนวระดับดว้ ยไมท้ แี ละไม้เซต็ ?(3) การสร้างมุม 15 องศา กับแนวระดับโดยใช้ไมท้ แี ละไม้เซ็ตมวี ธิ ีการเขียนอย่างไร ?วเิ คราะห์(1) ข้อสอบข้อแรก มีคาถามเป็นลักษณะการฟ้ืนคืน (หรือ Recall) ถามในส่ิงท่ีครูเคยสอน หรอื เคยถกปญั หาน้ีมาแล้ว ผู้เรียนในห้องส่วนใหญ่จะตอบได้ เป็นคาถามท่ีง่ายเพราะเป็น แคก่ ารลอกเลยี นหรอื ฟน้ื คืนความรเู้ ก่ามาตอบเทา่ น้นั(2) ข้อสอบข้อที่สอง เป็นปัญหาใหม่ ยังไม่เคยถูกนามาถกกันในช้ันเรียน แม้วิธีการเขียนจะ อธิบายเช่นเดียวกบั ส่งิ ท่คี รูเคยสอน แต่ขนาดมมุ 75 องศา ไม่มีในไม้เซต็ ซึง่ การแก้ปัญหา ทาไดโ้ ดยการรวมเซ็ต 30+45=75 องศา เปน็ คาถามให้แก้ปัญหาทีย่ ากขึน้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 14 การวัดและประเมินผลการเรยี นการสอน 112(3) ข้อสอบข้อที่สาม เป็นคาถามใหม่ในลักษณะใหม่ ไม่เคยถูกถกกันมาก่อนเลย ไม้เซ็ตมุม 15 องศา ก็ไม่มี ข้อสอบข้อนี้จึงมีระดับความยากมากกว่า 2 ข้อท่ีผ่านมา การแก้ปัญหา รูปแบบเดิมไมไ่ ดแ้ ล้ว ขอ้ สอบขอ้ น้ีจึงสามารถวัดการสง่ ถ่ายความรูไ้ ด้ข้อสรุปของคาถามท่ียกตัวอย่างมา ก็คือ เราจะต้องพิจารณาคาถามให้มีความยากเหมาะสมกับระดับของวัตถุประสงค์การสอน กล่าวคือ ถ้าวัตถุประสงค์การสอนเน้นการฟื้นคืนความรู้ข้อสอบก็วัดแค่การฟื้นคืนก็ได้ หากวัตถุประสงค์การสอนเน้นการประยุกต์ ข้อสอบก็จะต้องมีระดบั ความยากสามารถวัดการประยกุ ต์ความรู้ได้วตั ถุประสงค์หลงั จากจบบทเรยี นแล้วผ้เู รยี นจะสามารถอธิบายถึงความโตมุมลม่ิ สกัดท่ีมอี ิทธพิ ลต่อแรงต้านจากเน้ือวสั ดุ ความแข็งของวัสดุ แรงที่ใชต้ อกสกัดและอายุการใช้งานของคมตดัข้อสอบใหเ้ ตมิ คาวา่ ออ่ น/แข็ง นาน/สน้ั มาก/น้อย ลงในช่องว่างขา้ งล่าง จุดพิจารณา ๏ ความแข็งของวสั ดุ ๏ แรงทีใ่ ชต้ อกสกดั ๏ แรงต้านจากเนอื้ วสั ดุ ๏ อายกุ ารใชง้ านของคมตดัวเิ คราะห์ขอ้ สอบชุดน้ี มคี าถามวัดได้ครอบคลุมเงื่อนไขต่าง ๆ ของวตั ถุประสงค์การสอน จึงเป็นข้อสอบทีว่ ัดครอบคลุมเนือ้ หาตามวตั ถปุ ระสงค์การสอนทก่ี าหนดขอ้ สอบ(1) รถยนตน์ ่งั โดยท่ัวไปทาด้วยโลหะอะไร ? (คาตอบ คอื เหล็กเหนียว)(2) นากเปน็ โลหะผสมระหวา่ งอะไรกบั อะไร ? (คาตอบ คือ ทองคา+ทองแดง)(3) การศกึ ษาระดบั ปวช. หรอื ปรญิ ญาตรี ต้องการครูท่ีมีวุฒิสงู กว่า ?ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 14 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 113 วิเคราะห์ (1) คาถามข้อที่ 1 เป็นคาถามค่อนข้างกว้าง อาจมีคาตอบถูกได้หลายคาตอบ แม้ครูตั้งใจให้ ตอบเหลก็ เหนียว แต่อาจมผี เู้ รียนตอบโลหะอนื่ ๆ และเป็นคาตอบท่ีถูกดว้ ย (2) คาถามและคาตอบในข้อ 2 ชัดเจนว่าต้องเป็นทองคากับทองแดงเท่านั้นท่ีผสมแล้วได้นาก ดงั นน้ั ไม่ว่าจะตรวจเมอื่ ใด ตรวจทไ่ี หน หรือใครเป็นผ้ตู รวจกจ็ ะไดค้ ะแนนคงท่ีแนน่ อน (3) คาถามข้อที่ 3 คาตอบหาข้อสรุปจริงเชิงวิชาการไม่ได้ ตัดสินผลก็ไม่ได้ เป็นคาถามที่ไม่มี คณุ คา่ ทางวชิ าการแตป่ ระการใด ขอ้ สรุป ในภาพรวมการสร้างข้อสอบวัดและประเมินผลการเรียน จะตอ้ งมีคณุ ภาพเบ้อื งต้น ดังนี้ 1. วดั ตรงตามวัตถปุ ระสงค์การสอน โดยการพิจารณาท่ี 1.1 พฤติกรรมในการตอบคาถาม 1.2 ระดบั ความยากของข้อคาถาม 2. ออกขอ้ สอบครอบคลมุ หรอื เป็นตวั แทนที่ดีตามวตั ถปุ ระสงค์ 3. ขอ้ สอบมีความเปน็ ปรนัย (Objectivity) โดยการพจิ ารณาที่ 3.1 มีคาถามชัดเจนอา่ นตคี วามไดต้ รงกนั ทันที 3.2 การให้คะแนนคงที่แน่นอนไม่วา่ จะตรวจ ทไ่ี หน เม่ือใด หรือใครเปน็ ผู้ตรวจก็ตาม 4. มคี วามสะดวกในการทา รวมถึงการตรวจใหค้ ะแนนด้วยการวดั และประเมนิ ผลวชิ าปฏบิ ัติ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลและประเมินผลวิชาปฏิบัติ จะต้องให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติงานจริง รายวิชา หน่งึ ๆ อาจมหี ลายงานที่ทาการฝึก มที ักษะมากมายท่ีต้องการเกิดแก่ผู้เรียน แต่การวัดและประเมินผล มีเวลาจากัด ดงั น้นั การสรา้ งแบบทดสอบภาคปฏิบตั ิอาจพจิ ารณาข้อมูลก่อนสร้างแบบทดสอบดังน้ี 1. เลือกงานใดงานหนึง่ ทีเ่ ป็นตัวแทนงานอ่ืน ๆ มาทาการทดสอบ 2. รวมทักษะจากงานต่าง ๆ และคดิ สรา้ งแบบงานใหม่เพอ่ื ทดสอบแบบทดสอบในภาคปฏิบตั ิ แบบทดสอบภาคปฏบิ ตั ิ เปน็ แบบทดสอบท่ีสามารถวัดทักษะต่าง ๆ ท่ีฝึกในงานต่าง ๆ ของรายวิชาน้ัน ไว้ในแบบทดสอบชดุ เดยี วกนั และจะต้องมีใบประเมินผลควบคู่กับแบบทดสอบ เพ่ือใช้ตรวจสอบผลการ ปฏิบัติงานของผเู้ รียน ซึง่ มรี ายละเอียดดงั นี้ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 14 การวดั และประเมินผลการเรยี นการสอน 1141. ส่วนประกอบของแบบทดสอบ แบบทดสอบภาคปฏบิ ตั ิรายวชิ า : ช่ืองาน ชน้ั ปีท่ี :ช่อื งาน : เวลาทา :วัสดุ St. 37 50 x 60 mm. คาสง่ั : 1. คาสงั่ 2. 3.แบบ/ภาพงาน 4. ขนั้ ตอนการทางาน วสั ดุ เครอื่ งมือ/อปุ กรณ์ ขน้ั ตอนการทางาน ชื่อผสู้ อบ เวลาทใี่ ชท้ าช่อื นักศึกษา ผ้คู วบคุมเวลาเรมิ่ : น. เวลาเสรจ็ : น. ใชเ้ วลา : นาทีผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 14 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 1152. สว่ นประกอบของใบประเมนิ ผล ชื่องาน ใบประเมินผลชื่องาน : น. เวลาเสร็จ : ช้นั ปที ่ี : บันทกึ เวลาชอ่ื ผสู้ อบ : เวลาทา :เวลาเรม่ิ : น. ใช้เวลา : นาที นาทีวัสดุ St. 37 50x60 mm.แบบ/ภาพงาน ชน้ิ ที่ 2 ช้นิ ที่ 1จดุ พิจารณา ผล ทาได้ ตัวคณู คะแนน คะแนน ขนาด คะแนน เตม็ ท่ีได้ช้ินท่ี 1. 1. ช่องใส่คะแนน 2. 3. จุดตรวจใหค้ ะแนนชน้ิ ท่ี 2. 1. 2. 3. ชอ่ื ผ้ตู รวจ วันที่ผู้ตรวจผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 14 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 116การใหค้ ะแนนงานปฏบิ ัติ 1. วธิ ีการให้คะแนน การให้คะแนนงานปฏิบัติ ทาได้ 2 ลักษณะ คือ การพิจารณาจุดต่าง ๆ ที่ต้องการวัดผลแล้วให้คะแนน และโดยการใชเ้ ครอื่ งมอื ไปวดั ทจ่ี ดุ วัดนน้ั แล้วใหค้ ะแนน ซ่ึงมีรายละเอยี ดการใหค้ ะแนน ดังนี้ (1) โดยการพิจารณาแล้วใหค้ ะแนน (Subjective Valuation) เป็นการให้คะแนนโดยอาศยั การสงั เกต ใช้ความคิดเห็นหรือความรสู้ ึก พิจารณาจุดท่ีวัดผล เช่น การเตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์ การใช้เคร่ืองจักร ความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน ความสะอาด ความสาเร็จของงาน คุณภาพการใช้งาน เป็นตน้ คะแนน คุณภาพผลงาน 10 ผลงานดี ลกั ษณะสว่ นใหญด่ ี ผลงานใช้งานได้ดี 6 ผลงานพอใช้ ลกั ษณะพอใช้ ผลงานพอใช้งานได้ 1 ผลงานไม่ดี ลักษณะไม่ดี ผลงานใชง้ านไมไ่ ด้ 0 กรณไี ม่มผี ลงานออกมาเลย (2) โดยการใชเ้ ครือ่ งมอื วดั เทียบแล้วใหค้ ะแนน (Objective Valuation) เปน็ การใหค้ ะแนนโดยพจิ ารณาที่ขนาดของงาน (หรือชน้ิ งาน) จดุ ที่จะวัด เช่น ขนาดความ ยาวชิ้นงาน ความหยาบผิว ขนาดความโตของมุม เป็นต้น ซ่ึงสามารถใช้เครื่องมือวัดไป วดั หรือตรวจสอบขนาดได้แนน่ อน คะแนน คณุ ภาพผลงาน 10 ขนาดอยู่ในพิกดั ท่ีกาหนดให้ 7 ขนาดอยู่นอกพิกดั ไม่เกิน 25% ของขนาดกาหนด 3 ขนาดอยนู่ อกพิกดั ไม่เกนิ 50% ของขนาดกาหนด 1 ขนาดอยู่นอกพิกดั เกนิ กวา่ 50% ของขนาดกาหนด 0 กรณีไม่มผี ลงานออกมาเลย 2. ตัวคณู (Factor) ตัวคูณ คือ ค่าน้าหนักของจุดที่นามาพิจารณา ด้วยเหตุท่ี ส่วนประกอบของชิ้นงานแต่ละช้ินหรือการ ทางานแต่ละข้ันตอนมีความสาคัญไม่เท่ากัน จุดท่ีเน้นมากจะมีน้าหนักคะแนนความสาคัญมาก จุดท่ีไม่ คอ่ ยสาคัญกจ็ ะมีน้าหนักคะแนนนอ้ ย โดยใช้ตวั คณู 1-5 เพิม่ ความสาคัญของแต่ละจุดที่พจิ ารณาผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 14 การวัดและประเมินผลการเรยี นการสอน 1173. เวลาในการทางาน (Working Speed)เวลาท่ีใช้ในการสอบปฏิบัติ เป็นเวลาเฉลี่ยสาหรับการทางานนั้นให้สาเร็จ อาจต่อเวลาสอบได้อีกแต่ไม่ควรเกิน 10% ของเวลาท่ีกาหนด เวลาทเ่ี พิ่มข้ึนหรอื ลดลงจะมีผลตอ่ การให้คะแนนดว้ ย กล่าวคือ (1) การเพิ่มจะเพ่มิ ให้เฉพาะผู้ท่ไี ด้คะแนนจากการสอบ เกินกว่า 75% เทา่ นัน้ (2) ในแต่ละ 2% ของเวลาท่ีเรว็ หรอื ชา้ กว่าเวลากาหนด จะเพิม่ หรอื ลด 1 คะแนน (3) การเพ่ิมหรอื ลดคะแนนนี้ ไมค่ วรเกนิ กว่า 5 คะแนน สาหรบั ผูส้ อบแตล่ ะคนการประเมินผลงานปฏิบัติ 1. การคิดคะแนนงานปฏบิ ตั ิ การประเมินผลงานปฏบิ ัติสว่ นใหญจ่ ะนยิ มประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ คะแนนจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติ จึงต้องนามาคานวณเปน็ เปอร์เซ็นต์สมบูรณ์กอ่ นทจี่ ะนาไปเทยี บกบั เกณฑ์ ดงั นี้ เปอรเ์ ซ็นต์ทท่ี าได้ = คะแนนทไ่ี ด้ 100 คะแนนเต็ม2. การประเมนิ ผลแบบอิงเกณฑ์การประเมินผล เปน็ การจัดระดบั ผเู้ รยี นว่ามคี วามสามารถอย่ใู นระดบั ใด สว่ นใหญจ่ ะเป็นการประเมินผลแบบองิ เกณฑ์ การประเมนิ ผลงานปฏิบตั ทิ าโดยการนาเปอร์เซ็นต์ที่ทาได้เทียบกบั เกณฑ์กาหนดดงั น้ีเปอร์เซ็นต์ ระดบั คะแนน คุณภาพผลงาน90 ข้ึนไป A ดที ุกจดุ ใช้งานได้ ทางานได้75 ถึง 89 B อย่ใู นข้ันใช้ได้ และทางานได้60 ถงึ 74 C อยู่ในระดบั ปานกลาง30 ถึง 59 D อยู่ในระดบั ตา่ ใชง้ านไม่ได้ตา่ กว่า 30 F งานไมส่ าเร็จผล ไม่มีผลงานออกมาการวดั และประเมนิ ผลวชิ าประลอง จุดประสงค์ในวิชาประลองอาจมองไดใ้ น 2 แง่มุม คือ การเนน้ ทางฝึกทักษะในบางรายวิชา และการเน้น พิสูจน์ทราบผลทางทฤษฎีในบางรายวิชา ดังนั้น ผู้สอนจะต้องพิจารณาว่าจะวัดทักษะเป็นสาคัญ หรือ จะวัดภาคทฤษฎีเป็นสาคัญ หรือจะต้องดาเนินการท้ังสองอย่าง มีทั้งการวัดผลภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติการประลองตามแบบทดสอบที่ได้สรา้ งไว้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 14 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 118แบบทดสอบวชิ าประลอง หากรายวิชาดังกล่าวนั้น เน้นการฝึกทักษะเช่นเดียวกับรายวิชาภาคปฏิบัติ การออกข้อสอบก็จะต้อง ครอบคลุมเรอ่ื งราวต่าง ๆ ในแบบทดสอบชุดเดียวกันและจะตอ้ งมใี บประเมนิ ผลประกอบดว้ ย ดงั นี้ 1. ส่วนประกอบของแบบทดสอบ แบบทดสอบวชิ าประลองรายวชิ า : ชอ่ื งานประลอง ช้ันปที ่ี :ชอ่ื งาน : เวลาทา : นาทีแบบ/ภาพงาน คาสัง่ : 1. คาสั่ง 2. 3. 4. ตารางใสบ่ ันทกึ มูลจุดทว่ี ดั หรอื ตรวจสอบ เคร่ืองมอื วัด-ตรวจสอบ ผล-ขนาด สรุปผลชอ่ื นกั ศึกษา ชื่อผสู้ อบ ผคู้ วบคุม เวลาที่ใช้ทาเวลาเร่ิม : น. เวลาเสร็จ : น. ใช้เวลา : นาทีผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 14 การวดั และประเมินผลการเรยี นการสอน 1192. ส่วนประกอบของใบประเมินผล ใบประเมินผลวชิ าประลองรายวิชา : ชือ่ งานประลอง ชั้นปที ี่ :ชื่องาน : เวลาทา : นาที แบบ/ภาพงาน คาสงั่ : จดุ ทวี่ ดั หรือตรวจสอบ 1. คาส่งัA. ขนาด 20 H7 2.B. ขนาด 40.50 มม.C. ขนาด 20.15 มม. 3. 4. คา่ เกณฑท์ จี่ ัดทาไว้ เคร่อื งมอื วัด-ตรวจสอบ ผล-ขนาด สรปุ ผล เกจทรงกระบอก พอดี พอดี เวอรเ์ นยี รค์ าลปิ เปอร์ 40.55 มม. โตกวา่ ขนาดกาหนด เวอร์เนยี ร์คาลปิ เปอร์ 20.15 มม. เท่ากับขนาดกาหนดช่ือนกั ศึกษา ช่ือผสู้ อบ ผู้ควบคุม เวลาที่ใช้ทาเวลาเร่ิม : น. เวลาเสร็จ : น. ใช้เวลา : นาทีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 14 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน 120สรปุ บทเรยี น 1. การวัดผล (Measurement) หมายถึง การกาหนดค่าแทนคุณลักษณะท่ีต้องการจะวัด โดยใช้ เคร่ืองมือที่มีคุณภาพไปทาการวัด ส่วนการประเมินผล (Evaluation) เป็นการวินิจฉัยตีค่าผลจาก การวดั เทียบกบั เกณฑ์วา่ ใชไ้ ดห้ รอื ไม่ได้ สอบไดห้ รอื สอบตก ในทานองนี้ 2. การประเมินผลการเรียน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ การประเมินผลย่อย (Formative Evaluation) เป็นการประเมินผลในระหว่างภาคเรียน และการประเมินผลรวม (Summative Evaluation) ช่วง หลงั ภาคเรยี น มจี ดุ ประสงค์เพอื่ นาผลมาพิจารณาจัดระดับคะแนนในรายวิชานั้น ๆ 3. การวัดและประเมินผลวิชาภาคทฤษฎี มีส่ิงที่จะต้องพิจารณาเกี่ยวกับลักษณะคาถามของข้อสอบ และแบบทดสอบ กล่าวคือ ข้อคาถามหรือข้อสอบท่ีใช้จะต้องวัดตรงตามวัตถุประสงค์ ครอบคลุม หรือเปน็ ตัวแทนท่ีดี มีความเป็นปรนยั และมคี วามสะดวกในการใช้ 4. การวดั และประเมนิ ผลวชิ าปฏบิ ัติ จะต้องใหผ้ ู้เรยี นท่ีสอบไดล้ งมอื ปฏิบัติงานจรงิ แบบทดสอบจะต้อง ครอบคลมุ ทักษะของแต่ละงานในรายวชิ า การตรวจให้คะแนนและการประเมินผลควรท่ีจะให้ผู้เรียน ได้รับทราบขอ้ กาหนดตา่ ง ๆ ลว่ งหนา้ 5. สาหรับการวัดและประเมินผลวิชาประลอง ให้พิจารณาดูว่ารายวิชาน้ัน เน้นการฝึกทักษะหรือการ พสิ จู นท์ ราบผลทางทฤษฎีหรือทงั้ สองอย่าง เพื่อทจ่ี ะไดส้ รา้ งแบบทดสอบได้เหมาะสมกับจุดประสงค์ ดังกล่าวผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
บทท่ีการวางแผนและจัดสรา้ งแผนบทเรียน เน้ือหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง ความหมายของ “แผนบทเรียน” (Lesson Plan) (หรือแผนการสอน) ความจาเป็นของการมีแผนบทเรียน วิธีการจัดทาโครงการสอนก่อนการทาแผนบทเรียน ส่วนประกอบ สาคัญของแผนบทเรียน การวางจดั สร้างแผนบทเรยี น การลงรายละเอียดแผนบทเรยี น (รูปแบบ MIAP) เช่น การเขียนวัตถุประสงค์การสอน วิธีการนาเข้าสู่บทเรียน กิจกรรมในการปฏิบัติการ และส่ิงที่แนบ มาดว้ ยกับแผนบทเรยี น เปน็ ต้นความหมายของแผนบทเรยี น แผนบทเรยี น (Lesson Plan) เป็นเครื่องมอื ทีค่ รูผสู้ อนสร้างขึ้นโดย กาหนดกิจกรรมต่าง ๆ เอาไว้ล่วงหน้าก่อนจัดการเรียนการสอน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีเป้าหมาย เป็นแผนบทเรียนในที่น้ีใช้สาหรับการสอนในครั้งหนึ่ง ๆ เท่านั้น เช่น แผนการสอนในวิชาทฤษฎี 3 คาบ หรือแผนการสอนในวิชา ปฏบิ ัติ 7 คาบ ประกอบดว้ ยทฤษฎหี ัวงาน 1 คาบและฝึกทักษะการ ปฏิบัติงานอกี 6 คาบ เป็นตน้ ภาพที่ 15-1 แผนบทเรียนเปน็ เครอ่ื งมือกาหนดแนวทางในการจัดการเรยี นการสอน
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สร้างแผนบทเรยี น 122ความจาเปน็ ของแผนบทเรียน ภาพท่ี 15-2 ความจาเปน็ ของแผนบทเรียนตอ่ การเตรียมการสอนหากจะถามวา่ ในหวั ข้อเรื่องนั้นจะสอนเน้ือหาอะไรแค่ไหน ด้วยวิธีสอนแบบใด จัดแบ่งเวลาในการสอนอย่างไร ปัญหาดังกล่าวจะหมดไปหากครูผู้สอนได้มีการวางแผนและจัดทาแผนบทเรียนเอาไว้ก่อนเพราะแผนบทเรยี นนอกจากจะช่วยให้มองเหน็ ขนั้ ตอนในการดาเนินการที่ชัดเจนแล้ว ยังทาให้เกิดความมัน่ ใจในการสอนและเปน็ ขอ้ มูลในการปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนในโอกาสตอ่ ไปการเตรียมการกอ่ นจดั ทาแผนบทเรยี น แผนบทเรียนใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนแต่ละคร้ังตามโครงการสอน ดังน้ัน ก่อนจัดทา แผนบทเรียนครูผู้สอนจะต้องวิเคราะห์และจัดทาโครงการสอนตลอดภาคเรียนเอาไว้ โดยการพิจารณา วตั ถุประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า และคาอธิบายรายวิชา ให้สอดคล้องกับเวลาท่ีกาหนด โครงการสอนวิชา : งานวัดละเอยี ด 1 หน่วยกิต : 2(1-2) จานวนคาบ หมายเหตุสอนคร้ังที่ หัวขอ้ เรื่อง 31. เครอื่ งมือวัดและสอบขนาด/กฎโรงงานในงานวัด 3 32. การวดั ขนาดดว้ ยบรรทัดเหลก็ 3 33. การวดั ขนาดดว้ ยเวอร์เนยี ร์คารล์ ิปเปอร์4. การวัดขนาดดว้ ยเวอร์เนียรว์ ดั ลกึ5. การวัดขนาดด้วยไมโครมเิ ตอรว์ ดั นอก6. ฯลฯผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรียน 123ส่วนประกอบของแผนบทเรียน แผนบทเรียนหรือแผนการสอนมหี ลายรปู แบบ อย่างไรก็ดี หากพจิ ารณาถึงสว่ นประกอบหลักทสี่ าคัญ ของแผนบทเรียน (หรือแผนการสอน) แลว้ อาจสรุปได้ดังน้ี รายละเอียดของวชิ า แผนบทเรยี นวิชา ระดบัเร่อื ง เวลา นาที1. วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ข. รายละเอียดระบไุ วใ้ น….. ก. ความสามารถ รายการวตั ถปุ ระสงค์2. การนาเข้าสู่บทเรยี น ข. คาถามประกอบ ก. อุปกรณช์ ่วยสอน รายละเอียดการปฏิบตั ิการ การนาเข้าสูบ่ ทเรียน สง่ิ ท่ีแนบมาดว้ ย3. การปฏิบตั กิ ารเวลา (x นาท)ีหมายเลขวตั ถุประสงค์ขัน้ สนใจปัญหา บรรยายขัน้ ศึกษาขอ้ มลู ถามตอบ สาธติขน้ั พยายามขน้ั สาเร็จผล กระดานดาอุปกรณ์ แผน่ ใสชว่ ยสอน ของจรงิ ใบงาน ใบทดสอบ4. สงิ่ ทแ่ี นบมาด้วยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 15 การวางแผนและจดั สร้างแผนบทเรียน 124การวางแผนสร้างแผนบทเรียน ในการวางแผนการสอนหรือแผนบทเรียนน้ัน เบอื้ งต้นจะต้องพิจารณากอ่ นวา่ จะจัดการเรียนการสอน อย่างไร จะแบ่งการสอนออกเป็นก่ี MIAP (หรอื กีร่ อบ) เชน่ ในเวลา 180 นาที สาหรับวิชาภาคทฤษฎี อาจแบง่ เป็น 3 MIAP 0 60 120 180MIAP MIAP MIAP (1) (2) (3) 180 นาทีหรอื รายวชิ าภาคปฏบิ ตั ิ 4 คาบ ทีม่ ีทฤษฎี 1 คาบ และปฏิบตั ิ 3 คาบ เป็นต้น0 60 120 180 240 MI A P 240 นาที ภาพท่ี 15-3 การแบง่ MIAP ในแผนบทเรยี นของวิชาทฤษฎีและปฏิบตั ิ หลงั จากน้ัน ใหพ้ ิจารณาดวู า่ จานวน MIAP กับรายการวตั ถุประสงค์การสอนที่แบง่ ไว้ในแต่ละ MIAP มคี วามเหมาะสมกนั จรงิ หรอื ไม่ หากเห็นวา่ ทุกสิง่ มีความสอดคล้องกันดีแลว้ จึงมาลงรายละเอยี ดในใบ แผนบทเรยี นต่อไปข้อคานึงถึงในการแบง่ MIAP หากแบ่งบทเรียนออกเปน็ MIAP ยอ่ ยมากเกินไป (เวลาแตล่ ะ MIAP สัน้ ) จะทาให้ข้ันให้เน้อื หาและข้นั พยายามลดลง กิจกรรมในข้นั อน่ื ๆ จะต้องเรง่ รดั มากข้ึน จะตอ้ งมใี บงาน (Work Sheet) มากข้ึนด้วย หากแบง่ เปน็ MIAP น้อย ๆ ช่วงเวลาให้เน้ือหาจะยาว อาจสง่ ผลใหค้ วามตั้งใจของผู้เรยี นลดลงผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 15 การวางแผนและจัดสรา้ งแผนบทเรยี น 125การลงรายละเอยี ดในแผนบทเรยี น1. วตั ถุประสงค์การสอนให้เขียนรายการวัตถุประสงค์การสอน (หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม) และรายละเอียดเน้ือหาตามวัตถปุ ระสงค์ โดยระบุลาดบั ทข่ี องใบเนอื้ หา ใบงานและใบทดสอบ ท่ีมเี นื้อหาดงั กล่าวปรากฏอยู่ แผนบทเรยี น ระดบั : ปวช. 1 เวลา : 150 นาทีวชิ า : Technical Drawing I ข. รายละเอียดระบุไว้ใน…..เรอื่ ง : Section IS 1 IS 21. วัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม WS 1, TS IS 3 ก. ความสามารถ WS 2, TS 1. บอกเหตผุ ลและความจาเป็นในการเขยี นภาพตัดได้ IS 4 2. บอกหลกั การในการเขยี นภาพตัดเตม็ ได้ WS 3, TS 3. เขียนภาพตัดเตม็ จากภาพ 3 มิติทก่ี าหนดให้ไดอ้ ย่างถูกต้อง 4. บอกหลักเกณฑใ์ นการเขียนภาพตัดครง่ึ ได้ 5. เขียนภาพตดั คร่ึงจากภาพ 3 มิติท่ีกาหนดให้ได้อย่างถูกต้อง 6. บอกหลักเกณฑใ์ นการเขยี นภาพตัดพเิ ศษได้ 7. เขียนภาพตดั พิเศษจากภาพ 3 มิตทิ ี่กาหนดได้อย่างถกู ต้อง2. การนาเข้าสู่บทเรยี นเป็นการสรา้ งความสนใจเพอ่ื นาเข้าสู่บทเรียนในชว่ งเวลาส้นั ๆ โดยระบุสือ่ หรอื อุปกรณช์ ว่ ยสอน พรอ้ มกับรายการคาถามประกอบในช่วงเรมิ่ ต้น 1-2 คาถาม2. การนาเข้าสบู่ ทเรียน ข. คาถามประกอบ ก. อปุ กรณช์ ่วยสอนAB ช้นิ งาน A มรี ูปทรงภายใน เป็นอยา่ งไร ? รูปทรงภายในชนิ้ งาน B เป็นอยา่ งไร ? จากภาพเหน็ เมด็ มะนาวก่ีเม็ด ?ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 15 การวางแผนและจัดสรา้ งแผนบทเรียน 126 2. การนาเข้าสู่บทเรียน ก. อปุ กรณช์ ว่ ยสอน ข. คาถามประกอบ C D รปู ภายนอกของช้นิ งาน C E เป็นอย่างไร ? การตัดควรตัดอยา่ งไร จึงจะ เห็นทั้งรูปรา่ งและภายใน ? สิง่ ทต่ี ้องการแสดงในการตดั ชน้ิ งานนี้ คอื อะไร ? ดังนนั้ การตัดช้ินงาน ควรจะตัดแนวไหน ?3. การปฏบิ ตั กิ ารการปฏิบตั ิการ เปน็ การลงรายละเอยี ดการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในแตล่ ะ MIAP ตามหมายเลขวตั ถปุ ระสงค์การสอน ข้ันตอนการเรยี นรู้ และอุปกรณช์ ว่ ยสอนที่จะใช้ในข้นั ตอนตา่ ง ๆ3. การปฏิบตั ิการเวลา (x นาที) 0 50 100 150 6-7หมายเลขวัตถปุ ระสงค์ 1-2-3 4-5ขั้นสนใจปัญหาขนั้ ศกึ ษา บรรยายขอ้ มูล ถามตอบ สาธิตขน้ั พยายามขั้นสาเรจ็ ผล กระดานดาอปุ กรณ์ แผ่นใสชว่ ยสอน ของจรงิ ใบงาน ใบทดสอบ4. สง่ิ ท่ีแนบมาด้วย IS 1-3, WS 1-3, OHP 1 แผ่น ของจริง (ผลมะนาว)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 15 การวางแผนและจัดสร้างแผนบทเรยี น 1274. สงิ่ ที่แนบมาดว้ ยส่ิงท่ีแนบมาด้วยกับใบแผนบทเรียน เป็นการระบุเอกสารและอุปกรณ์ช่วยสอนท้ังหมดท่ีใช้ในการเรียนการสอนตามแผนบทเรยี นนน้ั ๆ ไดแ้ ก่ส่งิ ตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ ใบเนอื้ หาหรือใบสรปุ เนอ้ื หา (IS : Information Sheet) ใบงานหรือแบบฝกึ หดั (WS : Work Sheet/Exercise) ใบทดสอบทา้ ยบทเรยี น (TS : Test Sheet) ใบสัง่ งานและใบประเมินผล (JS : Job Sheet/Evaluation Sheet) รายการเครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ ดลอง (Teaching Aids/Equipment) ฯลฯโดยเขยี นรหสั แทน เชน่ IS 1-3, WS 1-3, TS แผน่ ใส 2 แผ่น, Chalk Board Layout 1 แผ่น เปน็ ตน้3. การปฏบิ ัตกิ ารเวลา (x นาที) 0 50 100 150 6-7หมายเลขวตั ถุประสงค์ 1-2-3 4-5ขัน้ สนใจปัญหาขน้ั ศกึ ษา บรรยายขอ้ มูล ถามตอบ สาธติข้นั พยายามขนั้ สาเรจ็ ผล กระดานดาอปุ กรณ์ แผ่นใสช่วยสอน ของจรงิ ใบงาน ใบทดสอบ4. ส่ิงทีแ่ นบมาดว้ ย IS 1-3, WS 1-3, OHP 1 แผ่น ของจรงิ สงิ่ ท่ีแนบมาด้วยกับแผนบทเรยี นตัวอยา่ งแผนบทเรียน (ในหน้าถัดไป)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรียน 128 แผนบทเรยี น ระดบั ปวช. 1 เวลา 120 นาทีวชิ า ทฤษฏีชา่ งเบอ้ื งต้นเร่อื ง คมตัดและสกดั ข. รายละเอยี ดระบุไวใ้ น IS-1, WS-1 ข้อ 1-2 /TS1. วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม IS-1, WS-1 ข้อ 3-4 /TS ก. ความสามารถ 1. จาแนกความแตกต่างระหว่างงานปาดผิวและงานตดั เฉอื นได้ IS-2, WS-1 ขอ้ 5 /TS 2. อธบิ ายถึงอิทธพิ ลของขนาดมุมลิ่ม ที่มีผลตอ่ แรงตัดเฉอื น IS-2, WS-2 ขอ้ 1 /TS ความแข็งของวัสดุ และอายุการใชง้ านของคมตดั IS-3, WS-2 ข้อ 2-3 /TS 3. ระบุตาแหน่งมมุ คาย มุมลิ่ม และมมุ หลบของสกดั IS-3, WS-2 ขอ้ 2 /TS 4. อธิบายถึงส่วนประกอบคมตัดท่มี ีผลโดยตรงต่อมุมหลบ 5. เลือกใช้ชนิดสกดั ที่เหมาะสมกับลกั ษณะงานแต่ละประเภท 6. เลอื กใช้สกดั ท่มี ีมุมลม่ิ เหมาะสมกับวัสดุงานชา่ งทวั่ ไป2. การนาเข้าส่บู ทเรยี นก. อุปกรณช์ ว่ ย ข. คาถามประกอบ(1) แตงกวา, มีดปอก (แสดงการปอก, หั่น) - สิ่งที่ครูแสดงมอี ะไรท่ตี ่างกันบ้าง ?(2) ภาพ A B - อนั ไหนมีเศษ อันไหนไม่มีเศษ ? - การตดั เฉอื นภาพ A ตา่ งจาก B อยา่ งไร ? - ภาพไหนทาให้เกิดเศษช้นิ งาน ?3. การปฏบิ ตั กิ ารเวลา (นาที) 0 50 100 120หมายเลขวัตถปุ ระสงค์ 1-3 4-6 1-6ข้นั สนใจปัญหา บรรยายขนั้ ศึกษาข้อมูล ถามตอบ สาธติขนั้ พยายามขน้ั สาเรจ็ ผล กระดานดา แผ่นใสอุปกรณ์ช่วยสอน ของจริง ใบงาน ใบทดสอบ4. สิง่ ท่แี นบมาด้วย IS 1-3, WS 1-2, TS 1 , OHP 1, Chalkboard Layoutผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรยี น 1291. งานปาดผิวและงานตดั เฉือน ใบเน้ือหาท่ี 1 รอยยน่ รอยตัด คมตดั มมุ ลิ่ม ผวิ แยกจดุ พิจารณาแนวแรง งานปาดผวิ งานตัดเฉอื นเศษวสั ดุ เอยี งทามมุ ตั้งฉากแรงทต่ี ้องการ ไม่มี มี มาก นอ้ ย2. อทิ ธิพลของมุมลม่ิ ต่อแรงทใ่ี ชต้ ดั และอายุการใช้งานของสกดัจุดพิจารณา นอ้ ย มากใชแ้ รงตอกสกัด แยกได้ดี แยกไม่ดีการตดั แยกวสั ดุ สน้ั (ท่ือง่าย) นาน (ทอื่ ยาก)อายใุ ชง้ านคมตดั นอ้ ยแรงต้านจากชิ้นงาน มากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรยี น 130 ใบเน้ือหาที่ 23. มุมตา่ ง ๆ ของสกดั = มมุ หลบ ลดการเสยี ดสีผิวงาน = มุมล่มิ ตัดเฉือนช้ินงาน = มุมคาย สาหรบั คายเศษ มุม + + = 90 องศา4. อทิ ธพิ ลของมมุ ฟรีหรอื มุมหลบจุดพจิ ารณา มุมฟรีมาก มมุ ฟรีนอ้ ย ตั้งชนั เกินไป เอนราบเกนิ ไปเกดิ จากตัง้ สกัดเศษโลหะ หนาขน้ึ บางลงผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรียน 131 ใบเนอ้ื หาที่ 35. ชนิดของสกดั และท่ีใช้งาน คมตดั ท่ีปลายของสกดั ต้องแขง็ กว่าเนอ้ื โลหะท่ีจะตดั ฉะน้นั สกดั สว่ นมากจงึ ทาด้วยเหลก็ กล้าท่ใี ช้สาหรบั ทาเคร่อื งมือ คมตดั จะถูกชุบให้แขง็ ตรงปลายสดุ ของสกดั จะแข็งมากท่สี ุด ความแข็งนคี้ ่อย ๆ ลดลงจนถึง โคน ทัง้ นีเ้ พอ่ื ใหส้ กัดรับแรงตอกจากค้อนได้ดี ตรงโคนของสกัดจะต้องออ่ นเพ่อื ที่จะไดไ้ ม่เกดิ สะเกด็ เวลาใช้ คอ้ นตอกลงไป ตรงตวั สกดั ซงึ่ เป็นท่ีจบั จะมนโคง้ เอาไว้เพอื่ ให้จับไดง้ า่ ย สกัดซง่ึ ต้องการความทนทานสงู จะ ทาด้วยเหลก็ ผสมโครเมียม-วาเนเดียม สกัดปลายแบน ใชใ้ นการตดั ถากผิวโลหะ สกดั ปลายมน ตกแตง่ งานหลอ่ หรอื รอยเช่อื ม ใชส้ กดั แผน่ โลหะในแนวโค้ง สกัดปากจง้ิ จก ใช้สาหรับเซาะรอ่ ง สกัดปลายเซาะ ใช้สาหรับเซาะร่องบนผวิ โค้ง สกัดปลายบาน ใช้สาหรับทะลวงแผน่ โละที่ สกัดปลายตัด เจาะไว้ให้เปน็ รู ใช้สาหรบั ตดั แผน่ โลหะหรอื โลหะข้นึ รปู6. การเลือกมมุ ล่ิมใหเ้ หมาะสมกบั วสั ดงุ านขนาดความแขง็ ชนดิ ของวสั ดุงาน ขนาดมมุ ล่ิม วสั ดุแขง็ เหล็กผสม เหลก็ ท่ีมีส่วนผสมคาร์บอน 60 - 70 แข็งปานกลาง ทองบรอนซ์ หรอื ทองเหลอื ง 50 - 60 วสั ดุออ่ น ตะก่วั อลูมเิ นียม ทองแดง 20 - 40ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรยี น 132 ใบงานท่ี 1วชิ า ทฤษฎีช่างเบอ้ื งตน้ เร่อื ง คมตัดและสกัดชอ่ื ........................................................ ชน้ั ปวช. ปีท่ี 11. เลอื กคาตอบทกี่ าหนดใหท้ างขวามือ มาใส่ในชอ่ งว่างดา้ นซ้ายมอื ลกั ษณะที่เกิดขน้ึ ในงานตัด ก. รอยยน่ ข. ผวิ ตดั ค. ผวิ แยก ง. เนือ้ ทีเ่ ผอ่ื2. จงบอกลักษณะงาน \"ตัด / ปาดผิว\" ลงในชอ่ งว่าง การตัดด้วยกรรไกร เป็นงาน........................................................................................ การตดั ดว้ ยเลือ่ ย เปน็ งาน........................................................................................ การตัดงานด้วยสกดั เป็นงาน........................................................................................3. มมุ ลิ่มใหญใ่ ช้กบั งานทเ่ี ปน็ วัสดุ \"อ่อน - แขง็ \"4. วัสดอุ ่อนควรใช้เคร่ืองมือท่ีมมี ุมล่ิม \"ใหญ่ - เลก็ \"5. จงสเกต็ ภาพ แนวการออกแรง มุมล่มิ มุมฟรี และมมุ คาย ลงในภาพข้างลา่ ง มุมลิ่ม ( ) มมุ ฟรี ( ) มุมคาย ( ) ทศิ ทาง ()6. มุมคายของคมสกดั จะมากหรอื นอ้ ย ขึน้ อยกู่ ับ \"วสั ดุงาน - วัสดมุ ีด\"7. สาหรับวัสดุเหนียวจะใชเ้ คร่อื งมอื ตัดที่มมี ุมคาย \"น้อย - มาก\"8. สาหรบั วสั ดเุ ปราะจะใชเ้ คร่ืองมือตัดที่มีมุมคาย \"นอ้ ย - มาก\"9. อายกุ ารใชง้ านของคมตัดจะย่งิ ยาว ถ้าหาก \"มุมคาย - มุมลิ่ม - มมุ ฟรี\" โตข้นึ10. ในงานสกัดหากตงั้ สกัดให้เกิดมมุ ฟรีมากมุมตดั จะ \"น้อย - มาก\"ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 15 การวางแผนและจัดสรา้ งแผนบทเรยี น 133 ใบงานท่ี 2 เร่อื ง คมตัดและสกัด วิชา ทฤษฎชี ่างเบอื้ งต้น ชน้ั ปวช. ปีท่ี 1 ชอ่ื .......................................................... 1. ขดี เสน้ ใต้ขอ้ ความตามลักษณะการใช้งานสกัดปาดผิวชนิ้ งาน ลักษณะซ่ึงเกดิ จาก การวางสกดัมมุ ฟรตี งั้ สกัด “มากไป / น้อยไป” “มากไป / นอ้ ยไป”เกิดจากตง้ั สกดั “ชันไป / ราบไป” “ชันไป / ราบไป”เศษโลหะ “หนาขนึ้ / บางลง” “หนาข้นึ / บางลง”2. จงตอบคาถามโดยเติมคาที่เหมาะสมลงในช่องว่างต่อไปนี้ วัสดุ : เหลก็ วัสดุ : เหลก็ ใชส้ กัด............... มมี ุมลมิ่ .............. ใช้สกัด................ มีมุมลม่ิ ............... วสั ดุ : เหลก็ ใช้สกัด............... วัสดุ : เหล็ก มมี ุมลมิ่ .............. ใช้สกดั ................ มีมุมล่มิ ............... วสั ดุ : เหลก็ วัสดุ : เหลก็ ใช้สกัด................ ใชส้ กดั ............... มีมุมล่มิ ............... มีมุมลม่ิ ..............3. จงสเก็ตภาพลาดับขั้นตอนการขน้ึ รูปชิน้ งานข้างล่างดว้ ยการใช้สกดั พรอ้ มทั้งบอกชอ่ื สกัด ทใี่ ชใ้ นการทางาน ชนิ้ งานเตรยี มผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ชน้ิ งานสาเร็จ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 15 การวางแผนและจัดสรา้ งแผนบทเรียน 134 แบบทดสอบท้ายบทเรียน เรื่อง คมตดั และสกัดวิชา ทฤษฎีช่างเบอื้ งตน้ ชน้ั ปวช. ปที ่ี 1ชอ่ื .....................................................คาสั่ง จงเติมคาหรือขีดเสน้ ใต้ขอ้ ความท่ถี ูกต้อง 1. จงบอกลกั ษณะงานทีใ่ ช้สกดั เพอื่ \"ตดั - ถาก\" ลงในช่องวา่ งขา้ งลา่ ง --------------------- ---------------------2. จงบอกชื่อของสกัดท่ีใชง้ านตามรปู ------------------------- ---------------------- ---------------------- ---------------------3. จงเลือกเติมคาวา่ \"เหล็กเหนียว - อลูมเิ นยี ม\" และ \"ไดด้ ี - ไมด่ ี\" ลงในช่องวา่ งข้างรูป สาหรบั โลหะช้นิ งาน ตา้ นทานแรงท่ิมแทง4. จงบอกช่อื มุมตา่ ง ๆ ของสกดั มุม A คอื ........................ มุม C คือ .......................... มุม B คอื ........................ 3 มุมรวมกนั ............องศา5. มุมฟรเี ป็นสง่ิ ท่จี าเป็น เพ่ือใช้ลด..................................................ระหวา่ งคมตดั กับชิ้นงาน6. เศษโลหะจะหลดุ จากผวิ งานได้ง่าย ถา้ หากวา่ มุม........................ใหญ่7. อายกุ ารใช้งานของสกัดจะมากขน้ึ ถ้าหากมุม....………...............โต8. อายุการใช้งานของคมตดั หมายถึง ชว่ งเวลาระหว่างการ..........เครอื่ งมอื สองครัง้9. หากวางสกัดชันมากจะมีผลทาให้มุม...................เพิ่มขึ้น และเศษทอ่ี อกมาจะ \"บางลง - หนาข้ึน\"10. รูปทางขวามือ แสดงถึงการใชส้ กัดเพ่อื \"ขนั - คลาย\" โดยวธิ ีการ \"ผา่ นัต - หมุนนัต\" ออกจากชนิ้ งาน11. สกดั ทหี่ ัวเยินเปน็ ดอกเห็ดต้องเจยี รไนทงิ้ เพราะ ........................................................................................ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรียน 135 แผนรา่ งกระดานดาผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรียน 136 แผน่ ใสวัสดแุ ข็ง สกดั ท่ีใช้สาหรบั มุมล่ิมปานกลางวัสดุอ่อน เหล็กผสม เหลก็ มสี ่วนผสมคาร์บอน 60-70 ทองบรอนซ์ หรอื ทองเหลอื ง 50-60 ตะกั่ว อลมู เิ นียม ทองแดง 20-40ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 15 การวางแผนและจดั สรา้ งแผนบทเรียน 137สรปุ บทเรียน 1. แผนบทเรียน (Lesson Plan) มีไว้เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการจัดการเรียนการสอน โดย จัดทา 1 แผนบทเรียน ต่อการสอน 1 คร้ัง เช่น สอนทฤษฎี 3 คาบ ใน 1 ครั้ง ก็จะต้องมีแผน บทเรยี น 1 ชุด เป็นตน้ 2. แผนบทเรียนประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๆ กล่าวคือ มีรายการวัตถุประสงค์ การนาเข้าสู่บทเรียน การปฏบิ ตั กิ าร ซ่ึงจะแสดงเวลาของการแบ่ง MIAP การจาแนกวัตถุประสงค์ กระบวนการสอนใน แต่ละ MIAP และสิ่งท่ีแนบมาด้วย ท่ีพร้อมใชส้ าหรบั การจดั การเรียนการสอนไดท้ นั ที 3. แผนบทเรยี น นอกจากจะใช้เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนแล้ว ยังจะช่วยให้มีการพัฒนา ปรบั ปรงุ ตามรายละเอียดต่าง ๆ ในการจัดการเรยี นการสอน ใหม้ คี วามกา้ วหนา้ ต่อไปในอนาคตผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
บทที่กปารระเทมดนิ ลผอลงรใาชย้แวลชิะา เนื้อหาในบทนี้ กล่าวถึง เหตุผลของความจาเป็นที่ต้องมีการทดลองใช้ และปรับปรุงแก้ไขบทเรียนหรือ รายวชิ าท่พี ฒั นา ปจั จยั สาคญั ทเี่ ปน็ ตัวบง่ บอกว่า “บทเรียนดีมีคุณภาพ” กระบวนการในการทดลองใช้ และปรับปรุงแก้ไขบทเรียน เหตุผลของความจาเป็นที่ต้องมีการใช้จริงและประเมินผลบทเรียน (หรือ รายวิชา) ปัจจัยสาคัญในการเตรียมการก่อนการใช้จริงและประเมินผล วิธีการเก็บข้อมูล การแปลผล คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพของบทเรียนกระบวนการพฒั นาหลักสตู รรายวิชา ภาพที่ 16-1 กระบวนการในการพฒั นาหลกั สูตรรายวชิ า การเตรียมการเรยี นการสอนมกั จะเริ่มต้นดว้ ยการวเิ คราะห์ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องเพ่ือนามาออกแบบ สร้างบทเรียนท้ังรายวิชา ทาการทดลองใช้ในเบื้องต้นช้ันเรียน เพื่อนาข้อมูลมาปรับปรุงแก้ไขในส่วนที่ ยงั บกพร่อง เมื่อปรับปรุงสมบูรณ์เรียบร้อยแล้วจึงดาเนินการใช้จริงกับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย พร้อมกับ การประเมินผลกิจกรรมเพือ่ พจิ ารณาวา่ บทเรียนต่าง ๆ ในวชิ าท่ีพัฒนานน้ั มคี ณุ ภาพเพยี งใด
► บทท่ี 16 การทดลองใชแ้ ละประเมนิ ผลรายวิชา 139สงิ่ ทจ่ี ะบง่ บอกวา่ บทเรยี นดี สง่ิ ท่จี ะบ่งบอกวา่ บทเรยี นทีส่ รา้ งขน้ึ ดีหรือไม่น้ัน หลักสาคัญอยู่ที่ผลการใช้บทเรียนในการเรียนการสอน กล่าวคือ หากบทเรยี นมีคุณภาพดีกจ็ ะสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนมผี ลสัมฤทธ์ิท่ีสงู กวา่ การสอนแบบเดมิ ความก้าวหน้าในการเรียนรอ้ ยละ 70 วิชาทีพ่ ฒั นาผลการสอบ ใชส้ อนกับ ผลสมั ฤทธ์ิ ความพึงพอใจกอ่ นเรยี น กลุม่ ตัวอยา่ ง ในการเรียน ในการเรยี นทาข้อสอบ เกณฑ์ร้อยละ 80 เกณฑร์ ้อยละ 80 พงึ พอใจในระดับไดร้ ้อยละ 15 ทาได้ร้อยละ 95 ทาได้ร้อยละ 85 “มาก” ภาพท่ี 16-2 การพิจารณาประสทิ ธิภาพและคุณภาพของบทเรยี น อย่างไรก็ตาม การใช้บทเรียนที่พัฒนาขึ้นในการเรียนการสอน ยังมีประเด็นอื่นท่ีจะต้องพิจารณาด้วย เช่น ผลจากการทากิจกรรมในระหว่างการเรียนการสอน ความก้าวหน้าในการเรียน หรือแม้แต่ความ พึงพอใจในการเรยี นของผู้เรยี น เปน็ ต้นการทดลองใช้และปรบั ปรงุ แก้ไขบทเรียน ภาพที่ 16-3 การทดลองใชแ้ ละปรับปรงุ แกไ้ ขบทเรียนการทดลองใช้บทเรียนทพี่ ัฒนาขึ้น ทาได้ 3 ลกั ษณะ คอื (1) ให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ตรวจสอบ (2) ทดลองกบั ผู้เรยี นกลุม่ ทดลอง หรือ (3) ดาเนินการทัง้ สองอย่างควบคู่กนั ไปผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 16 การทดลองใชแ้ ละประเมินผลรายวชิ า 1401. การใหผ้ ู้เชยี่ วชาญเป็นผ้ตู รวจสอบ รายวิชา ประเมนิ รวบรวมขอ้ มูล ปรับปรุงแก้ไข ทีพ่ ฒั นา คณุ ภาพโดย และ ตาม แบบประเมิน ผเู้ ชย่ี วชาญ สรปุ ผลโดยผ้เู ชย่ี วชาญ ขอ้ เสนอแนะ ภาพท่ี 16-4 การปรับปรงุ แก้ไขบทเรียนจากผลการตรวจสอบโดยผเู้ ช่ียวชาญผู้เช่ียวชาญ (Expert) หมายถึง บุคคลผู้ที่มีความรู้ความสามารถและเป็นท่ียอมรับในวงการวิชาชีพดังกลา่ ว ในการพัฒนาหลกั สูตรอาจใช้ผู้เช่ียวชาญ 3-5 คน เป็นผู้ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาภาษาท่ีใช้ โดยผู้พัฒนานาเอกสารไปช้ีแจงโดยตรงกับผู้เช่ียวชาญ หรือจะจัดทาเป็นเอกสารพร้อมแบบประเมนิ ให้ผูเ้ ชยี่ วชาญประเมนิ กไ็ ด้2. การทดลองใชก้ บั ผเู้ รยี นกลมุ่ ทดลองรายวิชา เครือ่ งมอื เกบ็ วิเคราะหข์ อ้ มูล ปรับปรงุ แก้ไขที่พฒั นา รวบรวมข้อมลู และ จากขอ้ มลู สรุปผล ผลการทดลอง ใช้กับ กลุม่ ทดลอง ภาพท่ี 16-5 การปรบั ปรุงแก้ไขบทเรียนจากผลการการทดลองใช้บทเรียนกบั กลุ่มทดลองกลุ่มทดลองในที่นี้ หมายถึง ผู้เรียนจานวนหน่ึงซ่ึงมีลักษณะเดียวกันกับผู้เรียนที่เราจะนาบทเรียนในรายวชิ าน้ีไปขยายผล การทดลองเป็นการนาบทเรียนไปจัดการเรียนการสอนกับกลุ่มท่ีเลือกมา 1 กลุ่มเพอื่ พิจารณาผลการเรียนการสอน โดยอาจสอบถามความเหน็ ในการเรยี นดว้ ยก็ได้ ข้อมูลจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผลจากการทดลองใช้กับกลุ่มทดลอง หากมีส่วนบกพร่องเล็กน้อยก็ทาการปรับปรุงแก้ไขให้เรียบร้อย รอการใช้จริงและประเมินผลต่อไป หากมีส่วนที่ตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไขมาก ก็จะตอ้ งกลับไปทบทวนรายละเอียดต่าง ๆ ในข้ันการออกแบบอีกครง้ั หน่งึผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 16 การทดลองใชแ้ ละประเมินผลรายวิชา 141การใชจ้ รงิ และประเมนิ ผล ภาพท่ี 16-6 การใช้บทเรยี นในช้นั เรยี นจรงิ และการประเมนิ ผลการใช้บทเรียนในชั้นเรียนจริงและการประเมินผล เป็นกระบวนการสุดท้ายในการออกแบบและพัฒนารายวชิ า เพอ่ื การพิสจู น์ทราบว่า เม่ือได้นาไปใช้ในการเรียนการสอนจริงแล้วผลอย่างไร มีคุณภาพหรือประสทิ ธภิ าพแคไ่ หน ซง่ึ มีส่ิงตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องจะต้องพจิ ารณาถงึ ดังนี้(1) กลุม่ ตวั อย่างที่ใชใ้ นการเกบ็ ข้อมูลกลุ่มตวั อยา่ งในทีน่ ้ี หมายถึง กลุ่มผู้เรียนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นตัวแทนผู้เรียนทั้งหมดได้หากแต่ผเู้ รยี นในสถานศึกษามจี านวนมาก กส็ ามารถการทดลองมากกว่า 1 กลมุ่ ก็ได้ โดยใช้วิธีการทางสถิตมิ าชว่ ยในการคัดเลอื กกลุม่ ตวั อยา่ งช่างไฟฟา้ ช่างอเิ ล็กฯ ชา่ งยนต์ ช่างเชอื่ ม X1 X2 X3 X4ชา่ งเขียนแบบ ช่างกอ่ สร้าง ช่างจิก๊ ช่างกลโรงงาน X5 X6 X7 X8 ภาพที่ 16-7 การพิจารณาขอ้ มลู จากผ้เู รยี นเพ่อื คัดเลือกเป็นกลุ่มตัวอยา่ งหากพสิ จู นไ์ ด้ว่า X1 ถึง X8 มีค่าไมแ่ ตกตา่ งกนั ผู้สอนอาจเลือกกลุ่มใดกลุ่มหน่ึงมาเป็นกลุ่มตัวอย่างและเก็บขอ้ มูลเพ่อื อธบิ ายผลการพัฒนารายวชิ าก็ได้ หรอื หากสามารถทาได้จะนาผู้เรียนจากทุก ๆ กลุ่มมารวมกันเปน็ กลุ่มตัวอย่างก็จะได้ตัวแทนทดี่ จี ากกลมุ่ ต่าง ๆผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 16 การทดลองใชแ้ ละประเมินผลรายวิชา 142(2) เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการวดั และตรวจสอบผลในการหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบทเรียน อาจต้องใช้เคร่ืองมือหลาย ๆ อย่างประกอบกัน เช่นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน ใช้วัดผลก่อนและหลังการเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจใช้สารวจความคิดเหน็ ในการเรยี นการสอน เปน็ ตน้ โดยใช้เคร่อื งมือต่าง ๆ ในการเรยี นการสอน ดังนี้แบบทดสอบ 1 2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น วัดผลสัมฤทธ์ิ วดั ผล รายวชิ า วดั ผลกอ่ นเรียน ที่พฒั นา หลังเรยี น บทเรยี นซอ่ มเสริม 3ภาพท่ี 16-8 เคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผลการใชบ้ ทเรียนในรายวชิ าท่พี ฒั นาส่วนที่ (1) คือ แบบทดสอบวัดพ้ืนฐานก่อนเรียน เพื่อพิจารณาว่าผู้เรียนมีพื้นความรู้เพียงพอหรือไม่ที่จะศึกษาในวิชาหรือในบทเรียนที่พัฒนา ส่วนที่ (2) คือ การวัดผลสัมฤทธ์ิในการเรียนโดยรวม และในส่วนท่ี (3) เป็นการตรวจสอบการส่งเสริมการเรยี นรู้จากการเรยี นการสอนโดยใช้บทเรียนที่พัฒนาข้ึนมาซง่ึ จะมีแบบฝกึ หดั ใบสั่งงาน แบบทดสอบทา้ ยบทเรียนอยภู่ ายในแผนบทเรยี นแตล่ ะครง้ั แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Prerequisite Test) เปน็ แบบทดสอบวัดพ้ืนความร้ขู องผู้เรียนกอ่ นเข้าศึกษาในบทเรียนหรือรายวิชาทีพ่ ฒั นา มีวตั ถปุ ระสงค์ในการตรวจสอบ 2 ประการ คอื1. วดั เฉพาะพื้นความรู้จรงิ ๆ เพอ่ื การปรับแต่งซ่อมเสริมกอ่ นเขา้ สู่บทเรียนใหม่2. เพื่อใหท้ ราบความกา้ วหน้าในการเรียน โดยเปรียบเทยี บคะแนนวดั ผลกอ่ นเรยี น กบั หลังเรยี น ซ่งึ ใช้แบบทดสอบชดุ เดยี วกนั แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) หรือแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน จะต้องเป็นเครื่องมือท่ีมีคุณภาพตามหลักวิชาการ กล่าวคือ มีความเท่ียงตรง (Validity) อานาจการจาแนกสูง(Discrimination Power) มีดัชนีความยาก (Difficulty Index) อยู่ในเกณฑ์ และมีค่าความเช่ือม่ัน(Reliability) สูงด้วย ก่อนทดลองใช้บทเรียนกับกลุ่มตัวอย่าง จะต้องสร้างและปรับปรุงแบบทดสอบหลังเรยี นหรือแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี นให้มคี ณุ ภาพเสยี กอ่ นผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 16 การทดลองใชแ้ ละประเมินผลรายวชิ า 143แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิในการเรยี นการสรา้ งและหาคุณภาพแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิในการเรียน ดาเนินการตามขน้ั ตอนดังนี้ เรม่ิ วางแผนเพ่ือสร้างข้อสอบ สรา้ งแบบทดสอบฉบบั รา่ ง ทดลองใชก้ บั กลุ่มทดลอง ปรับปรงุ แก้ไข ผลวิเคราะห์ ไมผ่ า่ น ผา่ น สรา้ งแบบทดสอบฉบบั สมบรู ณ์ จบ ภาพที่ 16-9 การสรา้ งและหาคณุ ภาพแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ในการเรยี นการสร้างเรมิ่ จากการวางแผนเพอ่ื สรา้ งขอ้ สอบ โดยการพจิ ารณาความเท่ียงตรงของข้อสอบเป็นหลักในข้ันต้น เช่น การออกข้อสอบจะต้องคานึงถึงพฤติกรรมและระดับความยากที่กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์การสอน ลักษณะความเป็นปรนัยของข้อคาถาม หรือแม้แต่จานวนข้อสอบท่ีจะครอบคลุมหรือเป็นตัวแทนท่ีดีของวัตถุประสงค์การสอน เป็นต้น หลังจากน้ันจึงสร้างแบบทดสอบฉบับร่าง ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ หรือจะนาไปทดลองกับผ้เู รียนกลุ่มทดลองเคร่ืองมือ แล้ววิเคราะห์คุณภาพเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน แลว้ จงึ ปรับปรุงเป็นแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ใิ นการเรยี นฉบับสมบรู ณ์ นอกจากเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและตรวจสอบผล ที่สร้างขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลผลการเรียนของผ้เู รียนในรายวชิ าที่พฒั นาแลว้ การหาประสิทธภิ าพของบทเรียนในการเรียนการสอนก็จะต้องเก็บข้อมูลเพ่อื ดูว่าบทเรียนตา่ ง ๆ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ได้มากน้อยเพียงใด สิ่งท่ีจะต้องจัดความพร้อมไว้กอ่ น คือ ใบงานหรือแบบฝึกหัด (Work Sheet หรือ Exercise Sheet) ใบสั่งงาน (Job Sheet) และใบประลอง (Lab Sheet) ซง่ึ จะต้องสร้างตามหลกั วชิ าการดว้ ยผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167