► บทท่ี 16 การทดลองใช้และประเมินผลรายวิชา 144(3) กระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมลู(3.1) ในส่วนภาพรวมทง้ั รายวชิ า เปน็ การวัดผลกอ่ นและหลังการเรยี น พฤตกิ รรมกอ่ นเรียน พฤติกรรมหลังเรียนผลการสอบ ผา่ น รายวิชา ผลการสอบ ผ่านก่อนเรยี น ท่ีพฒั นา หลงั เรยี น1 ไม่ผ่าน ไมผ่ า่ น 2บทเรยี นซอ่ มเสริม ภาพที่ 16-10 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลกอ่ นเรยี นและหลังเรียนเป็นการพสิ ูจนท์ ราบว่า ตลอดท้ังรายวิชาผู้เรียนมีพัฒนาการเพิ่มข้ึนมากน้อยเพียงใด โดยการนาผลคะแนนเฉล่ียจากการสอบก่อนเรียน (1) และหลังเรียน (2) มาเปรียบเทียบกัน หรืออาจพดู ไดว้ า่ ผเู้ รยี นมคี วามก้าวหน้าในการเรียนเพ่ิมขึ้นเท่าไร(3.2) ในสว่ นของแตล่ ะบทเรียน เป็นการวัดการสง่ เสริมการเรียนรู้ บทเรียนที่ 1 บทเรยี นท่ี 2MIAP MIAP ผลการสอบ ผ่าน (1) (2) ย่อย1 ไมผ่ า่ น 2 ภาพท่ี 16-11 การเกบ็ ขอ้ มูลการส่งเสริมการเรียนรขู้ องบทเรียนข้อมูลจากใบงาน (Work Sheet) (1) บ่งบอกว่าการให้เน้ือหาโดยวิธีการที่ได้พิจารณานั้นส่งเสริมการเรียนรู้ของผ้เู รยี นไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด ปกติจะต้ังค่าเฉลี่ยไว้ประมาณร้อยละ 80 ในส่วนที่ (2) เป็นการทดสอบย่อย เพ่ือพิจารณาว่าผู้เรียนมีผลการเรียนในบทเรียนน้ันเพียงใดผ่านเกณฑ์จะเรยี นในบทเรียนตอ่ ไป หรอื ควรกลับไปทบทวนบทเรียนท่ผี ่านมาอกี คร้งัผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 16 การทดลองใชแ้ ละประเมินผลรายวิชา 145ท้ังน้ี กระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากการทดลองใช้บทเรียนในรายวิชาท่ีพัฒนา สามารถเขยี นข้นั ตอนการจัดกิจกรรมและการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี เริม่ ปฐมนเิ ทศกลมุ่ ตัวอยา่ งX1 วัดผลก่อนเรียน E1 การเรยี นการสอนบทเรียนที่ 1 WS ไม่ผ่าน สอบยอ่ ย WS ผ่าน การเรยี นการสอนบทเรียนที่ 2 ไมผ่ า่ น สอบย่อย WS ผา่ น การเรียนการสอนบทเรยี นท่ี nX2 วัดผลหลงั เรียน E2 จบ ภาพที่ 16-12 ขั้นตอนการจดั กจิ กรรมและการเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเรียนการสอนผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 16 การทดลองใชแ้ ละประเมนิ ผลรายวิชา 146(4) การวิเคราะหแ์ ละสรุปผลการใชบ้ ทเรยี น (4.1) พฒั นาการในการเรยี นรู้ เป็นการทดสอบค่าความแตกต่างระหว่างคะแนนก่อนเรียนและ หลังเรียน ( X1 กับ X2 ) อาจพิจารณาเป็นรายบุคคลหรือท้ังกลุ่ม ใช้สถิติ t-test ใน การทดสอบความแตกตา่ งของค่าคะแนนเฉล่ยี (4.2) ความกา้ วหนา้ ในการเรยี น เป็นการหาช่วงความตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ( X1 กบั X2 ) คิดเปน็ รอ้ ยละ ซง่ึ อาจคดิ ความก้าวหน้าในการเรียนของกลุ่มท้ังรายวิชา หรือเป็นรายหนว่ ย (รายหวั ขอ้ เรอื่ ง) ก็ได้ (4.3) ประสิทธิภาพในการเรียนการสอน โดยการใช้บทเรียนในรายวิชาท่ีพัฒนาข้ึน พิจารณา จากคะแนนเฉลี่ยระหวา่ งเรียน (E1) และคะแนนเฉลย่ี หลงั เรียน (E2) ของกลุ่มตัวอย่าง ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นการสอน ตงั้ ค่า E1/E2 ไว้ที่เฉล่ียรอ้ ยละ 80/80ประสิทธภิ าพ E1 / E2โดยท่ี คะแนนเฉล่ียร้อยละหลงั การเรยี น คะแนนเฉลีย่ ร้อยละระหว่างเรยี น E1 = คะแนนระหว่างเรียน x 100 คะแนนเต็ม E2 = คะแนนสอบที่ได้ x 100 คะแนนเต็มในการจดั การเรียนการสอนโดยปกติ คา่ E1 จะมากกวา่ E2ตัวอย่าง E1 / E2 86.5 / 82.6 แสดงใหเ้ หน็ ว่า ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (Process) = 86.5 = 82.6 ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (Result)นอกจากนน้ั อาจสารวจความพึงพอใจของกล่มุ ตัวอย่างต่อการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าทีพ่ ัฒนาเพม่ิ เติม เพ่อื นาข้อมูลทีไ่ ด้มาพจิ ารณาจดั การเรยี นการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียนเพม่ิ มากขนึ้ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 16 การทดลองใชแ้ ละประเมินผลรายวชิ า 147ส่ิงทมี่ ักจะต้องปรบั ปรงุ แกไ้ ข 1. วตั ถุประสงคก์ ารสอนไม่ชัดเจน ข้อความไม่สมบรู ณ์ เชน่ ข้อความทเี่ ขยี นเป็นวัตถุประสงค์การสอน อ่านเข้าใจยาก ไม่ได้กาหนดเกณฑ์ (หรอื มาตรฐาน) และ/หรอื เง่ือนไขท่คี วรจะระบไุ ว้ เป็นตน้ 2. เน้ือหาวิชาไม่ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์การสอน ขาดการแยกย่อยและจัดลาดับอย่างเหมาะสม ขาดการวิเคราะห์ความสาคัญของเนือ้ หาเพือ่ จัดทาใบเนอ้ื หาหรือสาระสาคญั ในการสอน 3. ส่ือการสอนไม่สามารถส่งข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพได้ ขาดการวิเคราะห์ขีดความสามารถของส่ือ หรือเลือกใชส้ ่อื การสอนไม่เหมาะสมกบั เนอื้ หาและวิธีการสอนท่กี าหนดไว้ 4. วิธีการสอนไมไ่ ด้พฒั นาไปดว้ ย สว่ นใหญ่ครจู ะสอนแบบเดมิ ๆ ใช้วิธีการสอนแบบบรรยายเป็นหลัก ผูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมนอ้ ย การปรบั แตง่ ระหว่างการเรียนการสอนไมค่ อ่ ยมี 5. เขียนคาถามในแบบฝึกหัด แบบทดสอบไม่ชัดเจน การเฉลยล่าช้าเสียเวลา หรือในกรณีใบสั่งงาน การออกแบบงาน การกาหนดเวลาฝกึ ไมส่ อดคลอ้ งกับระดบั ทักษะที่ต้องการ 6. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ทาได้ยาก เพราะจานวนผู้เรียน ทางดา้ นชา่ งอุตสาหกรรมบางสาขาวชิ ามนี อ้ ย จงึ ทาให้ขาดกลุ่มที่จะทาการทดลองเครอ่ื งมือสรปุ บทเรยี น 1. การทดลองใช้และปรับปรุงบทเรียน (หรือรายวิชา) ที่พัฒนาขึ้น ก่อนท่ีจะนาไปใช้จริงอย่างเป็น ทางการเปน็ ส่ิงจาเป็น เพราะจะทาใหเ้ กิดความมน่ั ใจว่ามีผลการดาเนินการท่เี ชื่อถือไดร้ องรบั 2. การทดลองใช้และปรับปรุงบทเรียน (หรือรายวิชา) จะทาโดยการให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบหรือการ ทดลองกบั กลมุ่ ย่อย เพอื่ นาผลมาปรบั ปรงุ แกไ้ ขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ให้ครบถ้วนสมบรู ณ์ก็ได้ 3. การใช้จริงและประเมินผล จะต้องศึกษาและจัดเตรียมส่ิงต่าง ๆ เอาไว้ให้พร้อม ไม่ว่าจะเป็นการ เลือกกลมุ่ ตวั อยา่ ง การสรา้ งเคร่อื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และสรุปผลการทดลองใช้ 4. คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพการเรยี นการสอนโดยใช้บทเรียนท่ีพัฒนาขึ้น สามารถพิจารณาได้จากผล การวิเคราะห์ข้อมูล เช่น พัฒนาการในการเรียนรู้ ความก้าวหน้าในการเรียน การส่งเสริมการ เรยี นรู้ของบทเรยี น ผลสมั ฤทธใ์ิ นการเรียน หรือความพงึ พอใจในการเรยี น เปน็ ตน้ 5. หลงั จากการนารายวชิ าท่ีพฒั นาขึ้นไปใช้และประเมินผล อาจมีหลายสิ่งที่จะต้องปรับปรุงแก้ไข เช่น วัตถุประสงค์การสอน เนื้อหาวิชา วิธีการสอน ส่ือการสอน การวัดและประเมินผล ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้หากผู้พัฒนาไดม้ ีประสบการณห์ ลายคร้ัง ก็จะช่วยลดข้อผดิ พลาดต่าง ๆ ลงได้มากผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บรรณานุกรม 148บรรณานกุ รม 1. พสิ ิฐ เมธาภัทร และธีระพล เมธีกุล, ยุทธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค, กรงุ เทพมหานคร; คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , 2529. 2. วิเชียร เกตุสิงห์, “คู่มือการวิจัย : การวิจัยเชิงปฏิบัติ” เอกสารประกอบการสอนวิชาวิธีวิจัยขั้นสูง หลักสูตรครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , มถิ ุนายน 2534. 3. วเิ ชียร เกตสุ ิงห์, “สถติ วิ ิเคราะห์สาหรบั การวิจยั ”, เอกสารประกอบการสอนวิชาสถิตขิ ั้นสูง หลักสูตรครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและพัฒนาหลักสูตร ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื , มิถนุ ายน 2534. 4. สุชาติ ศิริสุขไพบลู ย์, การสอนทักษะปฏิบัติ, กรงุ เทพมหานคร; โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2526. 5. สุชาติ ศิริสขุ ไพบูลย์, เทคนคิ และวธิ กี ารสอนวิชาชีพ, กรุงเทพมหานคร; โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2527. 6. สุรศกั ด์ิ หลาบมาลา, วจิ ัยการศึกษา, กรุงเทพมหานคร; สานักพิมพ์แพรพ่ ทิ ยา, 2523. 7. สุราษฎร์ พรมจันทร์, การพัฒนาหลักสูตรรายวิชา, กรุงเทพมหานคร; ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื , 2530. 8. สรุ าษฎร์ พรมจันทร์, การวดั ผลการศึกษา, กรุงเทพมหานคร; ภาควชิ าครุศาสตรเ์ คร่ืองกล คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ, 2530. 9. สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์, “การออกแบบบทเรยี น” เอกสารการสอนวชิ าการออกแบบบทเรียน, ภาควิชา ครุศาสตร์เคร่ืองกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, มิถนุ ายน 2546. 10. Davies, I.K, Instructional Technique, New York; McGraw-Hill Inc, 1981. 11. Mager, R.F, and Beach, K.M, Developing Vocational Instruction, Belmont; Fearon Publishing, 1967. 12. Romiszowski, A.J, Designing Instructional Systems, New York; Nichols Publishing, 1981. 13. UNESCO, Info TVE 8: Curriculum Development in Technical and Vocational Education, Paris; 1982.ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► อภิธานศพั ท์ 149อภธิ านศัพท์พฤติกรรม (Behavior) หมายถงึ การกระทาการแสดงออกด้วยอากัปกริยา รวมถึงลักษณะสีหน้าท่าทาง ซึ่งบ่งบอกถึงความรู้สึกภายใน เช่น การพูด การอธิบาย การกระโดด การเลื่อยความรู้ (Knowledge) การแสดงออกทางสีหน้าทา่ ทาง จงั หวะการพดู ความดังของเสียง เปน็ ตน้ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารซึ่งอยู่ในสมองหรือในตัวบุคคล ซึ่งอยู่ได้ใน 2 ลักษณะทกั ษะ (Skills) คือ การจดจา (Remembering) และ/หรือความเข้าใจ (Understanding) โดยที่ ความเขา้ ใจต้องอาศัยพ้นื ฐานข้อมลู จากการจามาผสมผสานเข้าด้วยกันกิจนสิ ยั (Habit) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีต้องการให้สาเร็จลุล่วงลงไป ซ่ึงต้อง ทาการฝึกฝนหรอื พฒั นาใหเ้ กดิ ขนึ้ โดยใช้เวลาและจานวนคร้ังในการฝึกหัดให้เกิดความสามารถทาง ความชานาญ ซึ่งจะส่งผลใหส้ ามารถทางานไดเ้ รว็ ขน้ึ และถกู ตอ้ งมากขนึ้สติปญั ญา หมายถึง ลกั ษณะส่วนตนของแตล่ ะบุคคล ซง่ึ แสดงออกภายใต้สถานการณ์ต่าง ๆ(Intellectual Skill) จากความรู้สึกนึกคิด ความเชื่อ ความตระหนัก ความรับผิดชอบ โดยท่ีลักษณะความสามารถทาง ดงั กลา่ วจะเปน็ สิง่ ทีต่ ิดตวั บคุ คลน้นั ตลอดไปทักษะกล้ามเนือ้(Physical Skills) หมายถงึ ความสามารถในการใช้ความรู้ทีม่ ีอย่ใู นสมอง ไปคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้กิจนสิ ยั ใน สาเร็จลุล่วงลงไป คนเราแต่ละคนมีความรู้และประสบการณ์ไม่เท่ากัน ส่งผลให้การทางาน ความสามารถทางสตปิ ญั ญาของแตล่ ะคนแตกต่างกันไปด้วย(Work Habit) หมายถึง ความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือ (รวมถึงประสาทสัมผัสต่าง ๆ ของการฟืน้ คนื ความรู้ ร่างกาย) ทางานร่วมกับเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ตามข้ันตอนที่กาหนด แล้วได้(Recall Knowledge) ชิน้ งานหรอื ผลงานที่ถกู ต้องในเวลาทเ่ี หมาะสมการประยุกต์ความรู้ หมายถึง การแสดงออกของบุคคลท่ีสะท้อนถึงความตระหนัก ความรับผิดชอบ(Apply Knowledge) ความเสียสละ ความเอาใจใส่ ฯลฯ ซ่ึงเป็นผลทางภาวะจิตใจในการยอมรับและการสง่ ถา่ ยความรู้ การตอบสนองต่อภาวะและเหตกุ ารณ์น้ัน(Transfer Knowledge) เป็นการใช้ความรู้เก่าที่มีอยู่ (หรือความรู้เดิม) โดยการลอกเลียน (Cramming) ไปแก้ปัญหาเหมือนที่เคยได้มีประสบการณ์มาแล้ว หากแก้ปัญหาน้ันได้ถือว่ามี ความสามารถในระดบั ฟ้นื คนื ความรู้ (Recall Knowledge) เป็นการใช้ความรู้ที่มีอยู่ไปแก้ปัญหาใหม่ ซ่ึงไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน แต่ ลักษณะการแก้ปัญหายังใช้วิธีการเดิม หากแก้ปัญหาดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า มีความสามารถทางสตปิ ญั ญาระดับประยุกตค์ วามรู้ (Apply Knowledge) เป็นการใช้ความรู้ที่มีอยู่ผสมผสานกันไปแก้ปัญหาใหม่ในลักษณะใหม่ซึ่งไม่เคยมี ประสบการณ์มาก่อน หากแก้ปัญหาน้ัน ๆ ได้แสดงว่ามีความสามารถทาง สติปัญญาในระดับส่งถ่ายความรู้ (Transfer Knowledge)ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► อภิธานศพั ท์ 150การเลยี นแบบ เป็นความสามารถทางทักษะกล้ามเนื้อในระดับต้น ที่สังเกตเห็นได้จากการใช้(Imitation) กล้ามเน้ือ ปฏิบัติงานตามรูปแบบซึ่งเคยได้พบได้เห็นมา ผลงานอาจไม่ดี อาจใช้การทาด้วย เวลาในการทามากกว่าทคี่ วรจะเป็น แตก่ ไ็ ดผ้ ลงานหรอื ชิน้ งานออกมาความถูกตอ้ ง เป็นความสามารถทางทักษะกล้ามเนื้อซ่ึงสูงขึ้นกว่าข้ันเลียนแบบ เกิดจากการ(Control) ฝึกฝนทักษะมากขึ้น สามารถใช้กล้ามเนื้ออย่างผสมผสานต่อเนื่อง ได้ผลงานท่ีความชานาญ ถกู ต้องในเวลาทก่ี าหนดหรอื เปน็ อัตโนมตั ิ เปน็ ความสามารถทางทักษะกล้ามเนื้อข้ันสูงสุด เกิดจากการฝึกปฏิบัติงานนั้นจน(Automatism)การยอมรับ เปน็ ความเคยชนิ รปู แบบการแสดงออกของทกั ษะจะผสมผสานอยา่ งกลมกลืน ได้(Receiving) ผลงานท่ีถกู ต้องในเวลาอันรวดเรว็การตอบสนอง เปน็ การแสดงออกภายใต้ภาวะซึ่งถูกกาหนดด้วยระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือกติกาที่(Response) ไม่ได้ฝุาฝืน แต่อาจไม่ได้เกิดจากจิตใจที่ยอมรับหรือพร้อมที่จะตอบสนอง เช่น ไม่ลักษณะนิสยั เดินลัดสนามเม่อื เหน็ วา่ มีผู้อนื่ หรือเพ่อื น ๆ จอ้ งมองอยู่ เปน็ ตน้(Internalization) เป็นการแสดงออกจากภาวะจิตใจท่ีเกิดจากการยอมรับและเต็มใจท่ีจะประพฤติการเรียนรู้ ปฏิบัติตามโดยปราศจากการบังคับขู่เข็ญ ผู้มีกิจนิสัยในระดับนี้จะแสดงออกซึ่ง(Learning) พฤติกรรมน้นั ๆ ไมว่ า่ จะตอ่ หนา้ หรือลบั หลงักระบวนการเรยี นรู้ เป็นการแสดงออกซึ่งลกั ษณะพฤติกรรมดา้ นกจิ นิสัยในการทางานขั้นสูงสุด มีการรูปแบบ MIAP ประพฤติปฏิบัติเป็นประจาจนกลายเป็นลักษณะเฉพาะติดตัว โดยมีความศรัทธา มคี วามเชอื่ ม่ันในการกระทาหรอื การแสดงออกการตรวจปรบั เป็นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน จากเดิมท่ีคิดไม่เป็น(Feed back) หรอื ทาไมไ่ ด้ มาคดิ เป็นหรอื ทาได้โดยตวั ผู้เรียนเอง พฤติกรรมดังกล่าวจะต้องเป็น พฤติกรรมที่ค่อนข้างจะถาวร หมายถึง ผู้เรียนที่เกิดการเรียนรู้แล้วจะสามารถทา สิ่งเหล่าน้ันได้ตลอดไป ไม่ใช่ทาได้เพียงหน่ึงหรือสองคร้ัง หรือเปล่ียนแปลงอยู่ใน ช่วงเวลาหนึง่ เทา่ น้ัน เป็นการสร้างการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนรูปแบบหน่ึง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนสาคัญ คือ ข้ันสนใจปัญหา (M : Motivation) ขั้นศึกษาข้อมูล (I : Information) ข้ัน พยายาม (A : Application) และข้ันสาเร็จผล (P : Progress) เมื่อผู้เรียนได้ทา กจิ กรรมครบทั้ง 4 ขนั้ ตอนแล้วจะเกดิ การเรยี นรู้ได้ทันที เป็นกิจกรรมของครูผู้สอนในระหว่างการจัดการเรียนการสอน เพื่อสารวจหา ขอ้ บกพรอ่ งและปรับแตง่ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การสอนที่วางไว้ การตรวจปรบั อาจสงั เกตจากการตอบคาถามหรือผลจากการทาแบบฝึกหัด หาก ผู้เรียนส่วนใหญ่ทาแบบฝึกหัดไม่ได้ก็แสดงว่า เน้ือหาวิชาท่ีให้อาจไม่เพียงพอ จะตอ้ งทาการทบทวนเนือ้ หาใหม่เพิม่ เติมผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► อภธิ านศัพท์ 151หลกั สูตร หมายถึง โครงการในการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและ(Curriculum) คณุ ลักษณะตามวตั ถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่วางไว้ โดยมีปัจจัยสนับสนุน เช่น (1) บุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง (2) เคร่ืองมือและวัสดุอุปกรณ์ (3) งบประมาณสถานท่ีการพฒั นาหลักสตู ร และ (4) การบริหารจดั การหลกั สตู รทด่ี ีมปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ตน้(Curriculum หมายถึง การทาหลักสูตรท่ีใช้อยู่เดิมให้มีคุณภาพมากข้ึน หรือมีความเหมาะสมDevelopment) ย่ิงขึ้น หรือเป็นการสร้างหลักสูตรข้ึนมาใหม่ตามความต้องการของสังคมในหลกั สตู รวชิ าชพี ขณะนั้น(Curriculum) เป็นหลักสตู รท่ีสร้างขน้ึ โดยมสี ่วนประกอบท่ีเป็นมาตรฐานแน่นอน (เช่น หลักสูตรหลกั สูตรรายวิชา ครูช่าง ช่างเขียนแบบ เป็นต้น) มุ่งให้ผู้สาเร็จการศึกษาออกไปประกอบอาชีพ(Course) ตามจดุ มงุ่ หมายทว่ี างไว้ เป็นหลักสูตรย่อย ๆ ในหลักสูตรวิชาชีพ ที่มุ่งเน้นสมรรถนะเฉพาะอย่าง (เช่นหลกั สตู รวชิ าชพี วิชาสื่อการสอน วิชา Fluid Mechanics เป็นต้น) มีขอบเขตเนื้อหาและเวลาในระยะสนั้ การจดั การเรียนการสอน 1 ภาคเรยี น(Short Course) เป็นหลักสูตรที่จัดเป็นการเฉพาะในวิชาชีพอย่างเจาะจง (เช่น ช่างซ่อมจักรยานหลกั สูตรฝึกอบรม ช่างถ่ายทา VDO เป็นต้น) ใช้เวลาในการศึกษาตามเกณฑ์กาหนด เม่ือสาเร็จ(Training Course) การศกึ ษาแล้วสามารถประกอบอาชพี เฉพาะนั้น ๆ ไดท้ ันทีหลกั สูตรระดับ เป็นโครงการฝึกอบรมสมรรถนะเฉพาะอย่างแก่ผู้ปฏิบัติงานหรือผู้สนใจ ในช่วงสถานศึกษา ระยะเวลาส้นั ๆ (เชน่ Word Processor, SPSS for Windows เป็นต้น) เพ่อื ที่(Macro Level) จะสนับสนุนการทางานอย่างใดอย่างหน่ึงใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้ึนหลกั สูตรระดับ เป็นหลักสูตรวิชาชีพ ท่ีมุ่งผลิตผู้สาเร็จการศึกษาให้มีความรู้ความสามารถและหอ้ งเรียน คุณลักษณะท่ีเหมาะสมในการประกอบวิชาชีพ เช่น หลักสูตร ปวช. ช่างยนต์(Micro Level) หลกั สตู ร ปวส. ช่างเชือ่ ม เปน็ ตน้ปรัชญา หลักสูตรระดับห้องเรียนหรือช้ันเรียน (Micro Level) ได้แก่ หลักสูตรรายวิชา(Philosophy) ต่าง ๆ เช่น วิชาสื่อการสอน วิชา Fluid Mechanic เป็นต้น ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีปณิธาน ความรแู้ ละ/หรอื ทักษะเฉพาะเร่ืองตามมาตรฐานของรายวชิ านนั้(Determination) เป็นความเช่ือที่กาหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รอการพิสูจน์หรือการหาข้อมูล สนับสนุนว่าจะเป็นจริงตามนั้นหรือไม่ เช่น ปรัชญาหลักสูตรครุศาสตร์เครื่องกล กาหนดวา่ “การพฒั นาครู คือ การพัฒนาช่าง” เปน็ ต้น เป็นความมุ่งมาดปรารถนาที่จะไปให้ถึงปรัชญาที่ได้กาหนดเอาไว้ เช่น ภาควิชา ครุศาสตร์เครื่องกลกาหนดไว้ว่า “มุ่งม่ันท่ีจะผลิตและพัฒนาครูช่างอุตสาหกรรม ท่ีมีความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงนักการศึกษาชั้นสูง ท่ี สามารถชีน้ าวงการอาชวี ะและเทคนิคศึกษาของประเทศ” เป็นต้นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► อภธิ านศพั ท์ 152วิสัยทัศน์ เป็นข้อกาหนดดา้ นภาพลักษณ์ หรอื ส่งิ ทตี่ อ้ งการจะให้เปน็ หรือให้เกิดข้ึนในอนาคต(Vision) ข้างหน้า (ในแนวทางที่สร้างสรรค)์ เชน่ “ภาควชิ าครุศาสตรเ์ คร่ืองกล จะพัฒนาสู่ ภาควิชาชั้นนา เป็นต้นแบบในการผลิตบัณฑิตครูช่างอุตสาหกรรม และนักการพันธกจิ ศึกษาชั้นสูงทางดา้ นอาชีวะและเทคนิคศึกษา เป็นที่ยอมรับในระดับประเทศ ทั้งใน(Mission) เร่อื งวิทยาการและรปู แบบการจดั การด้านครชู ่างทส่ี มบูรณ์แบบ” เป็นตน้วัตถุประสงค์ เป็นสิ่งที่ต้องกระทาและถือเป็นภาระหน้าท่ีสาคัญที่จะต้องดาเนินการให้ครบถ้วน(Objective) เช่น พนั ธกิจของสถานศกึ ษา คอื จดั การศกึ ษา สร้างงานวิจัย บริการวิชาการและวิชาทฤษฎี ทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม เป็นต้น(Theory Subject) เป็นข้อความซึ่งระบุขอบเขตของเปูาหมายและทิศทางในการดาเนินการ เช่นวชิ าปฏบิ ัติ วัตถุประสงค์ของหลักสูตรครุศาสตร์อตุ สาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคร่ืองกล(Practical Subject) ท่ีจะผลิตบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถด้านการวิจัย นักการศึกษาระดับสูงวิชาประลอง และผู้สอนด้านเทคโนโลยีเคร่ืองกล เปน็ ต้น(Laboratory Subject) เป็นรายวิชาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มีความรู้ และนาความรู้ท่ีได้รับน้ันไปใช้ในการรายวชิ าท่ีสัมพันธก์ ัน แก้ปัญหาโดยเน้นความสามารถทางสติปัญญา เช่น วิชาคณิตศาสตร์วิศวกรรม(Related Program) วิชาความแข็งแรงของวัสดุ วชิ าการโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้งาน (Job) เป็นรายวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะความชานาญในการปฏิบัติงาน ทางานท่ีได้รับ มอบหมายให้สาเร็จลงไป เช่น วิชาปฏิบัติงานเครื่องยนต์แก๊สโซลีน วิชาปฏิบัติการวิเคราะหง์ าน งานเครอ่ื งลา่ งและสง่ กาลงั วิชาปฏิบตั ิงานเชื่อมแกส๊ เป็นตน้(Job Analysis) สว่ นใหญจ่ ะม่งุ เนน้ ให้ผู้เรียนมีความรู้ซ่ึงได้จากการประลองหรือทดลอง เช่น วิชา ประลองความแข็งแรงของวัสดุ แต่อาจมีบางวิชามีการฝึกทักษะร่วมอยู่ด้วย เช่น วิชาประลองงานวดั ละเอยี ด ซึ่งใชเ้ คร่ืองมือไปวดั ไปตรวจสอบ เปน็ ต้น หมายถึง รายวิชาอื่นท่ีจัดการสอนมาก่อนหน้าวิชาที่เลือกพัฒนา 1 ภาคเรียน และเป็นพ้ืนฐานให้กับวิชาที่เลือกพัฒนา หรือเป็นรายวิชาอื่นที่ต้องอาศัยวิชาท่ี พัฒนาเป็นพื้นฐานซึ่งอยู่ในภาคเรียนถัดไป หรือเป็นรายวิชาอ่ืน ๆ ในภาคเรียน เดยี วกนั และมีเนือ้ หาเก่ียวข้องกัน เป็นกิจกรรมที่มีการเริ่มต้นและปฏิบัติหรือดาเนินการไปตามข้ันตอน เมื่อส้ินสุด แลว้ ได้ช้ินงานหรือผลงานออกมา หรือเป็นชุดกิจกรรม (A set of Activities) ท่ี ประกอบกันเพ่ือเปูาหมายของผลลัพธ์อย่างใดอย่างหน่ึง (ซึ่งในงานหน่ึง ๆ จะ ประกอบดว้ ยหลายกิจกรรมย่อย) เปน็ การระบคุ วามสามารถ (Task) ว่าหากต้องการให้ช่างหรือบุคคลหน่ึงบุคคลใด ทางานน้ัน ๆ ให้สาเร็จลุล่วงแล้ว เขาผู้นั้นจะต้องมีความสามารถ (Task) อะไร อยา่ งไรบ้าง อาจใช้ขัน้ ตอนในการทางานเปน็ แนวทางในการวิเคราะหก์ ็ได้ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► อภิธานศัพท์ 153แบบรา่ งลักษณะงาน แบบรา่ งลกั ษณะงาน (Job Layout) ประกอบดว้ ยรปู ภาพทส่ี ือ่ สารให้เห็นลักษณะ(Job Layout) งานที่ชัดเจน อาจเป็นภาพเพียงภาพเดียวหรือประกอบด้วยหลายภาพ เพื่อช่วยหัวขอ้ เรือ่ ง ให้การวเิ คราะห์งานมเี ปูาหมายและทิศทางท่ีชดั เจนขึน้(Topic) เป็นชือ่ แทนกลุ่มเนือ้ หาท่มี ี Concept อย่างใดอย่างหน่ึง กล่าวคือ เมื่อเห็นหัวข้อหวั ข้อยอ่ ย เรอ่ื งแล้วสามารถที่จะมองเห็นขอบเขตของเน้ือหา ซึ่งประกอบเป็นหัวข้อเรื่องน้ัน(Element) อย่างครา่ ว ๆ ได้การวเิ คราะห์ หวั ขอ้ ยอ่ ย (Element) เป็นส่วนประกอบของหัวข้อเร่ือง (Topic) หากแบ่งหัวข้อหัวข้อเร่อื ง หัวข้อเรื่องออกเป็นหลายระดับ จะเรียกหัวข้อรองจากหัวข้อเร่ืองว่าหัวข้อหลัก(Topic Analysis) (Main Element) และหัวข้อท่แี ยกยอ่ ยต่อไปวา่ หัวขอ้ ยอ่ ย (Element)การวิเคราะห์ เปน็ การพิจารณาแยกย่อยรายละเอียดเพื่อระบุ (หรือกาหนด) รายการหัวข้อหลักความสามารถ (Main Element) และหัวข้อย่อย (Element) ของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องในหัวข้อ(Task Analysis) เรือ่ ง (Topic) นนั้วตั ถปุ ระสงค์ เป็นการพจิ ารณาแยกย่อย Task หรือ Step of Operation ในแต่ละ Task หรือเชงิ พฤตกิ รรม แต่ละ Step ว่าต้องการใช้ความรู้ (Knowledge) และทักษะ (Skills) อะไรบ้าง(Behavioral Objective) จึงจะสามารถทางานใน Task หรือ Step ใหส้ าเรจ็ ลุล่วงลงได้พฤติกรรม เป็นข้อความบ่งบอกพฤติกรรมท่ีคาดหวังให้เกิดแก่ผู้เรียน หลังจากจบการเรียน(Task/Behavior) การสอนแล้ว อันอาจเกิดจากการสอนหรือการศึกษาด้วยสื่อใด ๆ ก็ตามเง่อื นไข(Condition) พฤตกิ รรมดังกล่าวจะตอ้ งสามารถสังเกตและวดั ได้ วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรมที่มีมาตรฐาน ขอ้ ความชัดเจนประกอบด้วยพฤติกรรม (Task/Behavior) เง่ือนไข (Condition)(Standard) และมาตรฐาน (Standard) หมายถึง การกระทา การแสดงออก อากัปกริยา รวมถึงลักษณะสีหน้าท่าทาง ซึ่งบ่งบอกถึงความรู้สึกภายในของบุคคล เช่น การพูด การอธิบาย การเล่ือย การตะไบ การแสดงออกทางสีหน้าท่าทาง เป็นต้น โดยทกุ วัตถุประสงค์จะต้องเริ่ม ดว้ ยพฤตกิ รรมเสมอ เป็นตัวกาหนดวิธีการหรือลักษณะการแสดงพฤติกรรม หรือขอบเขตของเน้ือหา ในการจัดการเรยี นการสอน อาจพจิ ารณาส่วนท่ีเป็นเงื่อนไขได้จากการตรวจสอบ พฤติกรรมด้วยคาถามทีว่ า่ ทาอะไร ท่ีไหน หรือทาอย่างไร (เงื่อนไขใช้ในการขยาย ความพฤตกิ รรม) เป็นเกณฑ์ขั้นต่าท่ียอมรับได้ (Low Limit Acceptance Criteria) หมายความ วา่ ผเู้ รยี นท่ีเรยี นร้ผู ่านเกณฑอ์ นั น้ีแล้ว สามารถทีจ่ ะเรียนต่อในเนื้อหาถัดไปหรือใช้ ในการปฏิบัติงานข้ันต่าได้ มาตรฐานหรือเกณฑ์อาจกาหนดในรูปร้อยละ สัดส่วน ปริมาณเวลา หรอื มาตรฐานสากลอันใดอนั หน่ึงกไ็ ด้ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► อภิธานศัพท์ 154เน้ือหาทตี่ อ้ งรู้ เนื้อหาที่ต้องรู้ (Must Know) เป็น Information ที่ต้องใช้ต้องเน้นมากเพราะ(Must Know) หากขาด Information ส่วนในนี้ไปแล้ว จะไม่สามารถบรรลุผลตามวัตถุประสงค์เนอื้ หาท่คี วรรู้ การสอนได้(Should Know) เนื้อหาที่ควรรู้ (Should Know) เป็น Information ที่จะช่วยให้การเรียนรู้การทาเนอื้ หาทนี่ ่าจะรู้ ความเข้าใจในเร่ืองราวนั้น ๆ ง่ายและรวดเร็วขึ้น เป็น Information ท่ีมีความ(Could Know) สาคัญรองจากเนอ้ื หาตอ้ งรู้วธิ ีสอนแบบบรรยาย เน้ือหาที่น่าจะรู้ (Could Know) เป็น Information ที่มีความสาคัญน้อยช่วยให้(Lecture)วิธสี อนแบบถามตอบ ผเู้ รยี นมคี วามร้กู วา้ งไกลข้ึน และทีส่ าคญั เป็น Information ที่ง่ายผเู้ รียนสามารถ(Questioning) เรยี นรู้ได้ดว้ ยตนเองการใหผ้ ้เู รยี นศึกษา เป็นวิธีการสอนรูปแบบการส่ือสารทางเดียว (One way Communication) โดยด้วยตนเอง กจิ กรรมทัง้ หมดหรือส่วนใหญ่อยู่ท่ีครูผู้สอน สามารถจัดการสอนได้ทั้งกลุ่มขนาด(Self Study) เล็กและกลุ่มใหญ่ สาหรับเนอื้ หาท่ตี อ้ งการให้จดจาหรือเข้าใจใบงาน เป็นการสื่อสารแบบสองทางระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน จึงสามารถตรวจปรับ(Work Sheet) ความเข้าใจได้ตลอดเวลา หลักสาคัญของการสอนวิธีน้ีอยู่ท่ีการคิดค้นและสรุปแบบทดสอบทา้ ย เน้ือหาด้วยตวั ผูเ้ รยี นเอง จงึ เป็นภาระทหี่ นกั ในการเตรียมการสอนของครูบทเรยี น(Test Sheet) เปน็ การศึกษาจากส่อื ทเ่ี หมาะสมกบั เนื้อหาเร่อื งนั้น ๆ ซ่ึงส่ือดังกล่าวจะต้องได้รับใบสงั่ งาน การพัฒนามาเป็นอย่างดี ได้พิสูจน์แล้วว่ามีคุณภาพและมีประสิทธิภาพท่ีจะ(Job Sheet) ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเรยี นรู้ไดด้ ว้ ยตนเองใบประลอง ใบงาน (Work Sheet) หรือแบบฝึกหัด (Exercise) จัดทาข้ึนเพื่อใช้ในระหว่าง(Lab Sheet) การเรียนการสอนในช่วงหนึ่ง ๆ ของบทเรียน ประกอบด้วยปัญหาหรือคาถามท่ี ครอบคลุมเนอื้ หาทง้ั หมดตามวัตถุประสงคก์ ารสอนทเ่ี พง่ิ จะใหเ้ น้ือหามา จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ประเมินผลการเรียนการสอนในคร้ังหนึ่ง หรือในหน่วยหน่ึง ๆ ประกอบด้วยปัญหาหรือคาถาม ที่ครอบคลุมและตรงตามวัตถุประสงค์การสอน ของหัวข้อเร่ืองที่จัดการเรียนการสอนในครั้งน้ันหรือของหน่วยนั้น ๆ เม่ือส้ินสุด การเรยี นการสอนแลว้ ใบสัง่ งาน (Job Sheet) เป็นเอกสารที่กาหนดรูปแบบ วิธีการ และเงื่อนไขต่าง ๆ ในการปฏิบัติ เพ่ือฝึกผู้เรียนให้มีสมรรถนะตามวัตถุประสงค์การสอนท่ีได้กาหนด ไว้ (ปกตจิ ะสร้างควบคูไ่ ปกบั ใบประเมินผลด้วย) ใบประลอง (Lab Sheet) เป็นเอกสารท่ีกาหนดรูปแบบ วิธีการ และข้ันตอนการ ทดลอง เพื่อพิสูจน์ทราบผลเชิงทฤษฎีด้วยวิธีการทดลอง (ทดลอง บันทึกข้อมูล วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผล)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► อภธิ านศพั ท์ 155ส่ือการสอน หมายถงึ สงิ่ ต่าง ๆ ท่ีใชเ้ ปน็ ตัวกลางในการถา่ ยทอดข้อมูลข่าวสาร ระหว่างผสู้ ง่(Teaching Aids) กับผ้รู ับ (เชน่ ครูกบั ผเู้ รยี น) ซ่ึงอาจเป็น คาพูดคาเขยี น รปู ภาพ สัญลักษณ์ หรอื แมก้ ระทงั่ ลักษณะสีหน้าทา่ ทางก็ตามการวดั ผล หมายถึง การกาหนดค่าแทนคุณลักษณะที่ต้องการจะวัด โดยใช้เคร่ืองมือที่มี(Measurement) คุณภาพไปทาการวัดหรือไปตรวจสอบ เช่น ใช้ข้อสอบวัดความสามารถทาง สตปิ ญั ญาในการแกป้ ญั หาของผู้เรยี น เปน็ ต้นการประเมนิ ผล เป็นกระบวนการในการวินิจฉัยตัดสินคุณค่าคุณลักษณะของสิ่งที่วัดมาเทียบกับ(Evaluation) เกณฑ์ว่าควรผ่านหรือไม่ สอบได้หรือสอบตกในทานองนี้ ดังนั้น กระบวนการ ประเมนิ ผลจะตอ้ งทาหลงั จากที่ไดม้ กี ารวดั ผลมาก่อนแล้วเสมอการประเมนิ ผลยอ่ ย เปน็ การประเมนิ ผลในระหว่างภาคเรียน อาจเป็นหลังการเรียนการสอน 3-4 คร้ัง(Formative Evaluation) หรือจะบ่อยครั้งเท่าท่ีเห็นสมควรก็ได้ เป็นการกระตุ้นความสนใจในการเรียนของ ผู้เรียนได้วิธีหนึง่การประเมนิ ผลรวม เป็นการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนในตอนปลายภาคเรียน มีวัตถุประสงค์(SummativeEvaluation) เพ่ือนาผลท่ีวัดได้มาจัดระดับคะแนนว่าได้เกรดเท่าไร และตัดสินผลว่าสอบได้หรือ สอบตก เป็นการประเมนิ ผลการเรียนในภาพรวมการให้คะแนน เป็นการใหค้ ะแนนโดยอาศัยการสงั เกต ใชค้ วามคดิ เห็นหรอื ความรู้สกึ พจิ ารณาจุดจากการพจิ ารณา ที่วัดผล เช่น การเตรียมเคร่ืองมืออุปกรณ์ การใช้เคร่ืองจักร ความรับผิดชอบใน(Subjective Valuation) การปฏิบัติงาน ความสะอาด ความสาเร็จของงาน คุณภาพการใช้งาน เปน็ ตน้การใหค้ ะแนน เปน็ การให้คะแนนโดยพิจารณาที่ขนาดของงาน (หรือชิ้นงาน) จุดที่จะวัดผล เช่นจากการใช้เคร่ืองมือวดั ขนาดความยาวชิ้นงาน ความหยาบของผิว ขนาดความโตของมุม เป็นต้น ซ่ึง(Objective Valuation) สามารถใชเ้ ครอ่ื งมือวัดไปวัดหรือตรวจสอบขนาดได้แนน่ อนตวั คณู เป็นค่าน้าหนักของจุดท่ีนามาพิจารณา ด้วยเหตุท่ีส่วนประกอบของชิ้นงานแต่ละ(Factor) ชิน้ หรือการทางานแต่ละขั้นตอนมีความสาคญั ไม่เทา่ กัน จุดท่ีเน้นมากจะมีน้าหนัก คะแนนความสาคัญมาก จุดที่ไม่ค่อยสาคัญก็จะมีน้าหนักคะแนนน้อย โดยใช้ตัว คูณ 1-5 เพม่ิ ความสาคญั ของแตล่ ะจดุ ท่พี ิจารณาเวลาในการทางาน เวลาทีใ่ ช้ในการสอบปฏิบตั ิ เป็นเวลาเฉลยี่ สาหรับการทางานนั้นให้สาเร็จ อาจต่อ(Working Speed) เวลาสอบได้อีกแต่ไม่ควรเกิน 10% ของเวลาท่ีกาหนด เวลาท่ีเพ่ิมขึ้นหรือลดลง จะมผี ลตอ่ การให้คะแนนด้วยการประเมินผล เปน็ การพิจารณาตดั สินวา่ ผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถอยู่ในระดับใดเม่ือเทียบแบบอิงเกณฑ์ ผลการสอบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ในการประเมินผลงานปฏิบัติทาโดยการนา(Criteria Evaluation) เปอรเ์ ซน็ ตท์ ่ที าไดเ้ ทยี บกับเกณฑ์ซ่ึงไดก้ าหนดเอาไว้ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► อภธิ านศพั ท์ 156แผนบทเรียน เป็นเครื่องมือท่ีครูผู้สอนสร้างข้ึนโดยกาหนดกิจกรรมต่าง ๆ เอาไว้ล่วงหน้าก่อน(Lesson Plan) จัดการเรียนการสอน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีผู้เชยี่ วชาญ เปาู หมาย เปน็ แผนบทเรียนในทนี่ ใ้ี ชส้ าหรบั การสอนในครง้ั หนง่ึ ๆ เทา่ นั้น(Expert) หมายถึง บุคคลผู้ที่มีความรู้ความสามารถและเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาชีพกลุม่ ทดลอง ดังกลา่ ว อาจใช้ผเู้ ช่ยี วชาญเปน็ ผู้ตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา ภาษาที่ใช้(Experiment Group) โดยการชี้แจงโดยตรงกับผูเ้ ช่ียวชาญ หรือจะจดั ทาเป็นเอกสารพร้อมแบบประเมินกลมุ่ ตวั อยา่ ง ใหผ้ เู้ ช่ยี วชาญประเมินก็ได้(Sample Group)ประสทิ ธิภาพ หมายถึง ผู้เรียนจานวนหน่ึงซึ่งมีลักษณะเดียวกันกับผู้เรียนที่เราจะนาบทเรียนที่(Efficiency) พัฒนาข้ึนไปขยายผล การทดลองเป็นการนาบทเรียนไปจัดการเรียนการสอนกับคุณภาพ กลุ่มท่ีเลือกมา 1 กลุ่ม เพื่อพิจารณาผลการเรียนการสอน โดยอาจสอบถาม(Quality) ความเหน็ ในการเรียนด้วยก็ได้แบบทดสอบก่อนเรียน หมายถึง กลุ่มผู้เรียนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติครบถ้วนเป็นตัวแทนผู้เรียนท้ังหมด(Prerequisite Test) ที่จะศึกษาในรายวิชาท่ีพัฒนา หากผู้เรียนในสถานศึกษามีจานวนมากก็สามารถ ทาการทดลองมากกว่า 1 กลุ่มก็ได้ โดยใช้วิธีการทางสถิติมาช่วยในการคัดเลือกแบบทดสอบหลังเรยี น กลุม่ ตัวอย่าง(Post-Test) เปน็ ความสามารถในการทางานท่กี าหนด ให้เกิดความสาเร็จ โดยความสาเร็จนั้น จะต้องประหยัดเวลา ส้ินเปลืองทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ประสิทธิภาพในการเรียน การสอนวัดจากผลการทากจิ กรรมและผลการสอบหลงั การเรียนการสอน เป็นลักษณะงานที่ทาได้ตามเกณฑ์ และมีความคงเส้นคงวา เช่น ถ้าเป็นเอกสาร ประกอบการสอน ก็จะตอ้ งจดั สร้างอยา่ งประณตี เนื้อหาครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์ ตามข้อกาหนด เป็นตน้ เปน็ แบบทดสอบวัดพ้ืนความรู้ของผู้เรียนก่อนเข้าศึกษาในบทเรียนหรือรายวิชาที่ พัฒนา มีวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบ 2 ประการ คือ วัดเฉพาะพ้ืนความรู้เพ่ือ จัดการเรียนซ่อมเสริมก่อนเข้าสู่บทเรียนใหม่ และเพ่ือให้ทราบความก้าวหน้าใน การเรียน โดยเปรียบเทยี บคะแนนวัดผลก่อนเรียนกับหลังเรียน ซ่ึงใช้แบบทดสอบ ชดุ เดยี วกนั เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธ์ิในการเรียน จะต้องเป็นเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพ ตามหลกั วชิ าการ กลา่ วคือ มคี วามเทย่ี งตรงสูง (Validity) อานาจการจาแนกสูง (Discrimination Power) มีดัชนีความยาก (Difficulty Index) อยู่ในเกณฑ์ กาหนดและมีค่าความเชื่อม่ัน (Reliability) สูงด้วย จึงต้องสร้างและปรับปรุง แบบทดสอบใหม้ คี ุณภาพที่ดีก่อนนาไปใช้ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► ดัชนคี า 157ดัชนคี ำ ข้นั ตอนในการเรยี นรู้ 9, 11 ความชานาญหรือเป็นอัตโนมัติ 6 กระบวนการเรยี นรู้รูปแบบ MIAP 10, 11, 77 ความต้องการในงานอาชีพ 26, 27 กลมุ่ ตวั อยา่ ง 141 ความเป็นปรนัย 113 กลมุ่ ทดลอง 140 ความรู้ 45, 54 การเรยี นการสอน 1 ความสามารถ 47, 48 การเรียนรู้ 8, 14 ความสามารถทางทกั ษะกลา้ มเนือ้ 4 การเลียนแบบ 6 ความสามารถทางสติปญั ญา 3 การใหค้ ะแนนจากการใชเ้ คร่อื งมอื วัด 116 คุณภาพ 139 การใหค้ ะแนนจากการพจิ ารณา 116 เง่ือนไข 62 การใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาด้วยตนเอง 81 งาน 31 การตรวจปรบั 13 จุดประสงคใ์ นการเรียนการสอน 2 การตอบสนอง 7 ตัวคูณ 116 การทาด้วยความถูกต้อง 6 ทกั ษะ 46, 55 การประเมนิ ผล 109 ทม่ี าของงาน 34 การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์ 117 เน้อื หา 58 การประเมินผลย่อย 110 เนือ้ หาที่ควรรู้ 69 การประเมนิ ผลรวม 110 เนือ้ หาท่ตี ้องรู้ 69 การประยกุ ต์ความรู้ 5, 67 เนอ้ื หาที่นา่ จะรู้ 69 การพฒั นาหลกั สูตร 16 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 142 การฟ้ืนคืนความรู้ 5, 67 แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน 91, 92 การยอมรบั 7 แบบทดสอบหลังเรียน 142 การวดั ผล 109 แบบรา่ งลักษณะงาน 37 การวัดผลก่อนเรยี น 28, 142 ใบงาน 83, 90 การวัดผลสมั ฤทธิใ์ นการเรยี น 139, 142 ใบตรวจงาน 97 การวเิ คราะหค์ วามสามารถ 49 ใบเน้อื หา 71 การวเิ คราะหง์ าน 36 ใบประลอง 95, 99 การวเิ คราะห์หวั ขอ้ เรือ่ ง 42 ใบส่ังงาน 95 การสง่ ถา่ ยความรู้ 5, 67 แผนบทเรยี น 24, 121, 128 กจิ นสิ ยั 4, 6 กิจนิสยั ในการทางาน 4, 7 ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิคผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์
► ดัชนคี า 158 ผ้เู รียนในหลักสตู ร 26, 28 ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ ปณิธาน 17 ประสทิ ธิภาพ 146 ปรัชญา 17 ผู้เชยี่ วชาญ 139, 140 พฤติกรรม 2, 61 พันธกจิ 18 มาตรฐาน 61 ระดับของพฤติกรรมการเรยี นรู้ 5 รายวชิ าทส่ี มั พนั ธ์กัน 26, 28 ลกั ษณะนิสยั 7 วตั ถปุ ระสงค์ 18, 23, 61 วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 62, 63 วิชาทฤษฎี 30 วชิ าปฏิบตั ิ 30 วิชาประลอง 30 วิธีสอนแบบถามตอบ 81 วิธีสอนแบบบรรยาย 80 วิสัยทศั น์ 17 เวลาในการทางาน 117 สิง่ กาหนดให้ในหลกั สตู รรายวชิ า 26, 27 สือ่ การสอน 103 หลกั สตู ร 15, 17, 26 หลักสูตรฝกึ อบรม 16 หลกั สตู รระดบั สถานศกึ ษา 16 หลกั สูตรระดบั หอ้ งเรยี น 16 หลักสตู รรายวชิ า 16 หลกั สตู รวชิ าชีพ 16 หลักสูตรวิชาชพี ระยะส้นั 16 หัวขอ้ เรื่อง 39, 41 หวั ข้อย่อย 41 องคป์ ระกอบในการเรยี นการสอน 1ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์
► ดชั นคี า 159 Apply Knowledge 5, 67 Job Sheet 95 Automatism 6 Knowledge 45, 54 Behavior 61 Lab Sheet 95, 99 Behavioral Objective 62, 63 Laboratory Subject 30 Condition 62 Learning 8, 14 Control 6 Lecture 80 Could Know 69 Lesson Plan 24, 121, 128 Course 16 M/E Listing Sheet 43 Criteria Evaluation 117 Macro Level 18 Curriculum 15 Main Element 41 Curriculum (level) 17 Measurement 109 Curriculum Development 16 MIAP (Process) 10, 11 Determination 17 Micro Level 19 Efficiency 146 Mission 18 Element 41 Must Know 69 Evaluation 109 NÖlker & Schoenfeldt Model 19 Experiment Group 140 Objective 18, 23, 61 Expert 139, 140 Objective Valuation 116 Existing Syllabus 26 Objectivity 113 Factor 116 Philosophy 17 Feed back 13 Physical Skills 4 Formative Evaluation 110 Post-Test 142 Habit 6 Practical Subject 30 Imitation 6 Prerequisite Test 142 Information 68 Quality 139 Information Sheet 71 Questioning 81 Intellectual Skill 3 Recall Knowledge 5, 67 Internalization 7 Receiving 7 Job 31 Related Program 26, 28 Job Analysis 36 Requirement of Vocation 26 Job Layout 37 Response 7 Job Listing Sheet 35 Sample Group 141ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► ดัชนีคา 160 Job Sheet 95 Self Study 81 Knowledge 45, 54 Short Course 16 Lab Sheet 95, 99 Should Know 69 Laboratory Subject 30 Skills 46, 55 Learning 8, 14 Standard 61 Lecture 80 Subjective Valuation 116 Lesson Plan 24, 121, 128 Summative Evaluation 110 M/E Listing Sheet 43 Macro Level 18 Target Population 26,28 Main Element 41 Task 47, 48 Measurement 109 Task Analysis 49 MIAP (Process) 10, 11 Task/Behavior 61, 67 Micro Level 19 Task Detailing Sheet 50 Mission 18 Task Listing Sheet 38 Must Know 69 Teaching Aids 103 NÖlker & Schoenfeldt Model 19 Teaching and Learning 77 Objective 18, 23, 61 Objective Valuation 116 Test Sheet 91, 92 Objectivity 113 Theory Subject 30 Philosophy 17 TM Model 20 Physical Skills 4 Topic 39, 41 Post-Test 142 Topic Analysis 42 Practical Subject 30 Topic Detailing Sheet 52, 57 Prerequisite Test 142 Topic Listing Sheet 39, 40 Quality 139 Training Course 16 Questioning 81 Recall Knowledge 5, 67 Transfer Knowledge 5, 67 Receiving 7 UNESCO Model 18, 19 Related Program 26, 28 Vision 17 Requirement of Vocation 26 Work Habit 4 Response 7 Work Sheet 83, 90 Sample Group 141 Working Speed 117ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167