Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Didactics for Tech Course

Didactics for Tech Course

Published by prasitpooman23, 2017-07-13 03:15:36

Description: Didactics for Tech Course

Search

Read the Text Version

► บทที่ 5 การวเิ คราะหง์ านและการวิเคราะห์หวั ข้อเร่ือง 44สรปุ บทเรยี น 1. หลักสตู รรายวิชาโดยท่วั ไปมคี วามแตกต่างทีจ่ ุดมุ่งหมาย ซึ่งอาจแบ่งออกเป็นวิชาทฤษฎี วิชาปฏิบัติ และวิชาประลอง ซ่ึงเนน้ พฤติกรรมการเรียนรขู้ องผู้เรียนที่แตกต่างกัน 2. รายวิชาปฏิบัตจิ ะเน้นหนกั ท่ีการฝึกทักษะให้มีความชานาญในการปฏิบัติงาน ดังนั้น ก่อนจัดเตรียม การเรียนการสอน จะตอ้ งระบุชอื่ งาน (Job) ทจี่ ะฝึกทักษะเอาไว้เสียกอ่ น 3. คาว่า “งาน” คอื สิ่งทีบ่ ุคคลกระทาข้นึ โดยใช้เครื่องมอื อยา่ งใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ไปกระทา หรอื ตรวจสอบ มีการเริม่ ต้นและปฏิบตั ิงาน หรอื ดาเนินการไปตามขั้นตอน เม่ือส้ินสุดแล้วได้ชิ้นงาน หรอื ผลงานออกมา 4. การวิเคราะห์งาน คอื การแยกย่อยเพื่อที่จะระบุความสามารถ (Task) ของผู้ปฏิบัติงาน ว่าจะต้อง มคี วามสามารถอะไรบ้างจึงจะสามารถทางานนนั้ ได้สาเร็จ 5. หัวข้อเรื่อง (Topic) เป็นช่ือแทนกลุ่มเน้ือหาท่ีมี Concept อย่างใดอย่างหนึ่ง ซ่ึงอ่านหัวข้อเรื่อง แลว้ ควรจะเห็นภาพและขอบเขตเน้ือหาในหวั ขอ้ เร่ืองนนั้ ได้ 6. ในแตล่ ะหวั ข้อเรอ่ื ง (Topic) จะมหี วั ข้อย่อยเปน็ สว่ นประกอบหลัก และอาจมีหัวข้อย่อย ๆ รวมอยู่ ดว้ ย กรณนี ี้ เรียกหัวข้อหลักว่า “Main Element” และเรยี กหัวขอ้ ยอ่ ยวา่ “Element” 7. การวิเคราะห์หัวข้อเร่ือง (Topic Analysis) จึงเป็นการระบุหัวข้อหลัก (Main Element) และ หัวข้อย่อย (Element) ให้กับหัวข้อเร่ืองนั้น ๆ ซึ่งอาจใช้ Coral Pattern หรือ Scalar Diagram เป็นเครอื่ งมอื ชว่ ยในการวิเคราะหก์ ็ได้ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

บทท่ีคกวาารวมเิรคูแ้ รลาะะทหัก์ ษะเนื้อหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง ความหมายของความรู้และทักษะ ความสาคัญของความรู้และทักษะในการทางาน ผลจากการวิเคราะห์งาน องค์ประกอบของ Task หลักการวิเคราะห์ Task ตัวอย่างการวิเคราะห์ Task และการวิเคราะห์ M/E ตัวอย่างการวิเคราะห์ M/E ข้อคานึงถึงในการระบุความรู้(Knowledge) และทกั ษะ (Skills) ใหก้ บั Task ต่าง ๆความหมายของความรู้ (Knowledge) ขอ้ มูล/ขา่ วสาร ความรู้ - จดจา - เขา้ ใจ ภาพที่ 6-1 ความร้ทู ่ีอยู่ในตัวคนด้วยการจาและ/หรอื ความเขา้ ใจความรู้ (Knowledge) คือ ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งอยู่ในสมองหรือในตัวบุคคล ความรู้อยู่ได้ใน 2 ลักษณะคือ การจดจา (Remembering) และ/หรือความเข้าใจ (Understanding) เช่น จาได้ว่ารูปนี้ ภาพนี้สัญลักษณ์น้ี ชื่ออะไร เข้าใจว่าเม่ือของสองสิ่งมีความเกี่ยวข้องกันแล้ว จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรอยา่ งไร เปน็ ต้น ความเขา้ ใจตอ้ งอาศัยพ้ืนฐานขอ้ มูลจากการจามาผสมผสานเข้าดว้ ยกัน

► บทท่ี 6 การวิเคราะห์ความรแู้ ละทักษะ 46ความหมายของทกั ษะ (Skills)ภาพท่ี 6-2 ทักษะแสดงออกโดยการปฏิบตั ิงานของบุคคลทักษะ (Skills) คือ ความสามารถในการใช้กล้ามเน้ือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ทางานร่วมกับเครื่องไม้เคร่ืองมือแล้วได้ผลงานท่ีถูกต้อง ทักษะเกิดข้ึนได้โดยอาศัยการฝึกฝนเป็นสาคัญ การฝึกบ่อยส่งผลให้เกดิ ทกั ษะความชานาญสงู ข้นึ ซง่ึ จะทางานไดเ้ รว็ ข้นึ และถกู ตอ้ งมากขน้ึ ด้วยความรู้และทักษะในการทางาน ความรู้ เป็นข้อมูลข่าวสารซ่ึงอยู่ในตัวบุคคล ด้วยการจาหรือเข้าใจ ซ่ึงสามารถที่จะวัดและ ประเมินผลได้ โดยให้บุคคลน้ันแสดงออกมา ด้วยการอธบิ ายหรือเขยี นออกมากไ็ ด้ ทักษะในการทางาน จะต้องมีความรู้ควบคู่อยู่ ด้วยเสมอ นั่นหมายความว่า การแสดงทักษะ จะต้องมีความรู้ในสมองเป็นตัวสั่งการควบคุม การกระทาหรือการแสดงออก ซ่ึงจะเห็นได้ว่า การคิดแก้ปัญหาโดยการนาความรู้จากสมอง มาอธิบายหรือคิดแก้ปัญหา อาจเรียกว่าทักษะ ทางสมองก็ได้ แม้จะไม่เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อ แต่อย่างใดภาพท่ี 6-3 ความสมั พันธ์ของความร้แู ละทักษะในการทางานผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 6 การวิเคราะห์ความรแู้ ละทักษะ 47ผลจากการวเิ คราะหง์ านงาน : งานเลือ่ ยมอื ขั้นตอน (หรือ Task) ในการปฏบิ ัติงานเล่ือย ภาพท่ี 6-4 งานเล่อื ยมือ 1. อ่านแบบงานเลื่อย 2. เตรยี มเครอื่ งมอื /อุปกรณ์ 3. เตรียมวสั ดุ/ชิ้นงาน 4. จบั ยึดช้นิ งาน 5. เลอื กชนิด/ขนาดใบเล่อื ย 6. ประกอบใบเลอื่ ยกบั โครงเลื่อย 7. เล่ือยช้ินงานตามแบบ 8. แกป้ ัญหางานระหว่างเลอื่ ย 9. วัด/สอบขนาดงาน 10. ทาความสะอาด/จดั เก็บจากการวเิ คราะห์งาน ทาใหท้ ราบวา่ การทางานนนั้ ๆ ให้สาเรจ็ มีข้ันตอนในการปฏิบตั ิอย่างไร หรือช่างทท่ี างานนัน้ ต้องมคี วามสามารถอยา่ งไรบ้าง แต่คาถามในการจัดการเรยี นการสอนมีอยู่ว่า ถ้าจะสอนให้ชา่ งมีสมรรถนะ (Competency) ดังกล่าว จะต้องสอนเนื้อหาอะไรหรือจะต้องฝึกหัดอย่างไรบ้าง ซ่ึงถือเปน็ หน้าท่ีของผู้พัฒนาหลกั สตู รจะต้องทาการวเิ คราะห์ในรายละเอียดต่อไปองคป์ ระกอบของ Task วัสดทุ ใ่ี ชท้ า/ คณุ สมบัตวิ สั ดุ Task เลือกชนดิ /ขนาด ความละเอียดฟัน และทใ่ี ช้งาน ของใบเล่อื ย ความรูท้ ต่ี ้องการการคายเศษ ความแข็งของ วัสดุ ชน้ิ งาน ภาพท่ี 6-5 ความรู้ท่ีจาเปน็ ในการเลือกชนิดและขนาดของใบเลอื่ ยหากพจิ ารณา Task ใด Task หนง่ึ จะพบว่า การท่ีจะให้บุคคลมีสมรรถนะตาม Task น้ัน หรือสามารถทางานในขน้ั ตอนนัน้ ได้ เขาผู้นั้นจะตอ้ งอาศัยหรอื ตอ้ งการความรทู้ จี่ าเปน็ หลายอยา่ งประกอบกันผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค

► บทท่ี 6 การวเิ คราะห์ความรแู้ ละทกั ษะ 48การประกอบ ขนั้ ตอนใน ใบเลื่อย การประกอบ ประกอบใบเลอ่ื ย เทคนิคการ กับโครงเลื่อย ตรวจความตงึSkills ขอ้ ควรระวัง Knowledge การตรวจสอบ ในการประกอบ ความตงึ ดว้ ยมือ ภาพที่ 6-6 ความรแู้ ละทกั ษะทจ่ี าเป็นในการประกอบใบเลอ่ื ยเข้ากับโครงเลือ่ ยบาง Task นอกจากจะต้องใช้ความรู้ (Knowledge) หลาย ๆ อย่างประกอบกันแล้ว ยังจะต้องอาศัยทกั ษะ (Skills) ร่วมดว้ ย จึงจะสามารถปฏิบตั งิ านน้ันไดส้ าเรจ็ เชน่ ภาพท่ี 6-7 เล่ือยมอื (ใชเ้ ลอื่ ยโลหะ)ความสามารถ (Task) ท่ตี ้องการ การประกอบใบเลื่อยเข้ากบั โครงเล่อื ยความรู้ (Knowledge) ทตี่ ้องมี 1. ขนั้ ตอนการประกอบใบเลื่อยเขา้ กบั โครงเลื่อย 2. เทคนิควธิ ีการตรวจสอบความตงึ ของใบเลือ่ ยทักษะ (Skills) ทตี่ ้องทาการฝึก 3. ขอ้ ควรระวงั ในการประกอบใบเลือ่ ยเข้ากบั โครงเลื่อย 1. การประกอบใบเลอ่ื ยเข้ากับโครงเลอ่ื ยมอื 2. การตรวจสอบความตึงของใบเลือ่ ยดว้ ยมือผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 6 การวิเคราะห์ความรแู้ ละทกั ษะ 49การวเิ คราะห์ Task (Task Analysis) การวเิ คราะห์ความสามารถ (Task) คือ การแยกย่อย Task หรือ Step of Operation ในแต่ละ Task หรือแต่ละ Step ว่าต้องการใช้ความรู้ (Knowledge) และทักษะ (Skills) อะไรบ้าง จึงจะสามารถ ทางานใน Task หรือ Step ให้สาเรจ็ ลุลว่ งไปได้ Task Listing Sheetชอ่ื รายวชิ า : ฝึกฝีมือเบื้องต้น หนว่ ยกติ : 3(0-7)ชอ่ื งาน : งานเลื่อยมือลาดับท่ี Task (Step) ในการปฏิบตั ิงาน แหลง่ ทมี่ าของขอ้ มลู AB CDE 1. อ่านแบบงานเลอ่ื ย 2. เตรียมเครอ่ื งมอื /อปุ กรณ์ x 3. เตรียมวสั ดุ/ช้นิ งาน x 4. จบั ยึดช้ินงาน x 5. เลอื กชนิด/ขนาดใบเลือ่ ย x 6. ประกอบใบเลื่อยกับโครงเลอ่ื ย x 7. เลอื่ ยชิ้นงานตามแบบ x 8. แกป้ ัญหางานระหวา่ งเลอ่ื ย x 9. วัด/สอบขนาดงาน x 10. ทาความสะอาด/จดั เก็บ x xแหลง่ ท่มี าของข้อมลู A: Having ago yourself B: Observation of the Job C: Performer interviews D: Simulation Techniques E: Questionnaire Techniquesผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค

► บทที่ 6 การวิเคราะห์ความรแู้ ละทักษะ 50 Task Detailing Sheetชื่อรายวิชา : ฝกึ ฝีมือเบอ้ื งต้น หน่วยกติ : 3(0-7)ชอื่ งาน : งานเลอ่ื ยมือTask (or Step) Knowledge NO TK Skills NO I TS R AT CA6. ประกอบใบเลือ่ ย  ขัน้ ตอนการประกอบ x x  การประกอบ x x ใบเล่อื ยกบั โครงเล่อื ย ใบเลอ่ื ยกับโครงฯ x x  เทคนิคหรอื วธิ ีการ x x  การตรวจสอบ ตรวจสอบความตงึ ความตึงดว้ ยมอื  ขอ้ ควรระวงั ในการ x x ประกอบใบเลือ่ ยหมายเหตุ ความร/ู้ ทกั ษะ ระดบั ความรู้ที่ตอ้ งการ (TK) ระดับทักษะท่ตี ้องการ (TS) N : New R : Recall Knowledge I : Imitation O : Old A : Apply Knowledge C : Control T : Transfer Knowledge A : Automatismผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 6 การวเิ คราะห์ความรแู้ ละทกั ษะ 51การวเิ คราะห์ M/E (Main/Element) หน่วยกิต : 3(3-0) M/E Listing Sheet แหลง่ ท่ีมาของขอ้ มลู AB CDE ช่ือรายวชิ า : การวดั ผลทางการศกึ ษา XX หวั ขอ้ เรื่อง : ข้อสอบอตั นัย XX XX หวั ข้อหลักและหัวขอ้ ย่อย (Main Element/Element) XX XX 1. ความหมาย XX 2. รูปแบบข้อสอบอตั นยั XX XX 2.1 แบบจากัด XX 2.2 แบบไมจ่ ากดั XX 3. การเขียนข้อคาถาม 4. วิธีการให้คะแนนคาตอบ 4.1 ให้คะแนนเป็นระดบั 4.2 ใหค้ ะแนนเปน็ จดุ 5. ความเหมาะสม/ข้อจากดั 6. การหาคณุ ภาพของข้อสอบ 7. ฯลฯแหลง่ ทม่ี าของข้อมลู A: Literatures B: Experts C: Experiences D: อ่ืน ๆ (ระบ)ุ E: อ่นื ๆ (ระบ)ุผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค

► บทท่ี 6 การวเิ คราะห์ความรแู้ ละทักษะ 52 Topic Detailing Sheet หน่วยกิต : 3(3-0)ชอ่ื รายวชิ า : การวัดผลทางการศกึ ษาหวั ขอ้ เร่ือง : ขอ้ สอบอตั นยัMain Element/Element Knowledge N O R TK T A2. รูปแบบข้อสอบอตั นัย  คาจากัดความ 2.1 แบบจากดั  ขอ้ แตกตา่ งของคาถาม/คาตอบ xx 2.2 แบบไม่จากัด ----- ----- xx  คาจากัดความ4. วธิ ีการให้คะแนนคาตอบ  ข้อแตกตา่ งของทัง้ สองวิธี xx 4.1 ให้คะแนนเปน็ ระดบั  การเฉลยและเกณฑจ์ ุดให้คะแนน xx 4.2 ให้คะแนนเป็นจุด  ขอ้ คานงึ ถึงในการให้คะแนนท้ัง xx xx5. ความเหมาะสม/ข้อจากัด สองแบบ เหมาะสม x  ความสามารถในการวัด x  ลดการเดาคาตอบ ข้อจากัด  ขอบเขตการวัด  การตรวจให้คะแนน  เวลาที่ต้องใช้ตรวจ  ความเท่าเทยี มการตอบหมายเหตุ ความร/ู้ ทกั ษะ ระดับความรู้ที่ตอ้ งการ (TK) N : New R : Recall Knowledge O : Old A : Apply Knowledge T : Transfer Knowledgeผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค

► บทท่ี 6 การวเิ คราะห์ความรแู้ ละทกั ษะ 53ขอ้ คานงึ ถงึ ในการเขียน Knowledge/Skills 1. ควรระบุเฉพาะประเดน็ เร่ืองราวที่สาคญั ๆ สัน้ กะทัดรัดแต่ส่อื ความหมายได้ดี 2. ควรมเี อกสารและสารสนเทศทห่ี ลากหลาย ไวพ้ ิจารณาข้อมลู จากแหล่งต่าง ๆ 3. รายการความร้แู ละ/หรือทักษะทเี่ ขียนไว้ ให้อา่ นทบทวนอีกครัง้ วา่ ครอบคลุม แต่ละ Task/Step หรือ Main Element/Element นัน้ ๆ แล้วหรือยังสรปุ บทเรยี น 1. ความรู้ (Knowledge) คือ ข้อมูลและข่าวสารซึ่งอยู่ในสมองหรืออยู่ในตัวบุคคล ซ่ึงอยู่ได้ด้วยการ จดจาและ/หรือเข้าใจ ส่วนทักษะ (Skills) นั้น เป็นความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อทางานร่วมกับ เครื่องไมเ้ ครอื่ งมือแลว้ ไดผ้ ลงานทถี่ กู ต้องในเวลาท่ีกาหนด 2. เราจาเป็นต้องวิเคราะห์ Task เพื่อระบุ Knowledge/Skills เพราะว่าในการจัดการเรียนการสอน หรอื การฝึก จะตอ้ งทราบว่าจะสอนเนือ้ หาและฝึกทักษะอะไรใหเ้ กดิ ขน้ึ แกผ่ ้เู รียน 3. ในบาง Task อาจมีเฉพาะ Knowledge ที่จาเป็นที่จะต้องเรียนรู้ ในขณะที่บาง Task อาจต้องมี ทง้ั ส่วนที่เป็นความรแู้ ละทกั ษะด้วย แต่ไม่มที กั ษะใดทจี่ ะฝึกฝนได้โดยไมม่ ีความรู้เปน็ พืน้ ฐาน 4. การเขียนระบุ Knowledge และ Skills นั้น เม่ือระบุแล้วจะต้องอ่านทบทวนย้อนกลับไปว่าเม่ือมี ความรนู้ ี้ หรือมคี วามรูแ้ ละทักษะนแี้ ลว้ สามารถทางานในขน้ั ตอนนน้ั ๆ ได้หรอื ไม่ 5. การเขียน Knowledge และ Skills จะระบุเฉพาะเนื้อหาหรือประเด็นสาคัญ ๆ เท่าน้ัน การเขียน Knowledge และ Skills ควรสนั้ กะทัดรัดแต่ไดใ้ จความสมบรู ณ์ อา่ นแล้วเข้าใจได้งา่ ยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค

บทท่ีกคาวราวมิเรคแู้ รลาะะทหัก์ระษดะบัเนือ้ หาสาระในบทน้ี กล่าวถงึ ความหมายของความรู้ซง่ึ อยใู่ นตัวบคุ คล การนาความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวบุคคลไปใช้ในการแก้ปัญหาการทางาน ความหมายของคาว่าทักษะในการทางาน การจาแนกลักษณะทักษะของบคุ คลโดยพจิ ารณาท่คี วามถกู ต้องในการทางานและเวลาที่ใช้ การกาหนดระดับความรู้และทักษะลงใน Task Detailing Sheet และ Topic Detailing Sheetความรู้ (Knowledge) ในตวั บคุ คลความรู้ ข้อมูล/ข่าวสาร ความรู้ (Knowledge) เป็นข้อมูลหรือ ข่าวสาร ซึ่งอยู่ภายในตัวบุคคล (อยู่ใน  จดจา  เขา้ ใจ สมอง) ความรู้อยู่ในตัวได้โดยบุคคลน้ัน จดจา (Remembering) และ/หรือเข้าใจ (Understanding)ภาพที่ 7-1 ความรทู้ ี่อย่ใู นตัวคนดว้ ยการจาและ/หรอื ความเขา้ ใจความจาเป็นการนิยาม ความหมาย รูปร่างลักษณะ ชื่อ หรือสัญลักษณ์รวม ๆ กันภายในสมอง ส่วนความเข้าใจน้ันต้องอาศัยข้อมูลจากความจามาเช่ือมโยงเป็นรูปร่าง แนวทาง ลักษณะ หรือสัญลักษณ์อกี ทอดหนง่ึ เม่อื เขา้ ใจทาให้เกดิ การคิดได้ และอาจจดจาความคิดนั้นไว้ในรูปแบบการจาอีกก็ได้ ความรู้จงึ มีไดท้ ้ังรูปการจาอยา่ งเดียว จาและเข้าใจ หรือจาส่ิงท่ไี ด้ทาความเขา้ ใจมาแลว้ กไ็ ด้

► บทที่ 7 การวิเคราะห์ระดับความร้แู ละทักษะ 55ลักษณะการนาความรู้ไปใชง้ าน ความรู้เหมอื นไฟซง่ึ อยใู่ นแบตเตอรี่ แบตเตอรี่มีไฟมากหรือน้อย อาจตรวจสอบโดยใช้หลอดไฟฟ้าต่อให้ ครบวงจร ถ้าหลอดไฟสว่างมากแสดงว่ามีไฟมาก ถ้าสว่างน้อยแสดงว่าไฟอ่อนหรือมีไฟน้อย หากแต่ ความรู้ในสมองคนเราเป็นขอ้ มลู ขา่ วสาร การใช้ข้อมลู ข่าวสารไปแกป้ ัญหามีหลายลักษณะที่แตกต่างกัน ออกไป เชน่ ปญั หาบางอยา่ งสามารถนาความรู้ท่ีจดจาอยู่ในสมองไปใช้ได้โดยตรงในลักษณะการฟื้นคืน (Recall) แต่ทว่าปัญหาบางอย่างอาจต้องมีการผสมผสาน บูรณาการ นาเอาความรู้ความจาหลาย ๆ อย่างมาประยุกต์เข้าด้วยกันเพื่อนาไปใช้งาน ความรู้แบบน้ีก็เป็นอีกลักษณะหน่ึง เป็นต้น เราสามารถ กาหนดลกั ษณะความร้หู รือระดบั ความรู้ออกได้เปน็ 3 ระดบั ดังนี้ความรจู้ าก ความรทู้ ่ีใช้ ลักษณะของ ท่เี รยี น ในการทางาน ความรู้ A A ระดบั ฟ้นื คืนความรู้ (Recall Knowledge) A B ระดับประยุกต์ความรู้ A C (Apply Knowledge) ระดับสง่ ถ่ายความรู้ (Transfer Knowledge) ภาพท่ี 7-2 ระดบั ความร้แู ละการใชค้ วามรู้ในการแกป้ ญั หาทกั ษะ (Skills) ในการทางาน ทักษะ (Skills) คือ ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ ทางานร่วมกับเคร่ืองมือหรืออุปกรณ์แล้ว ได้ผลงานท่ี ถูกต้องในเวลาท่ีเหมาะสม ภาพที่ 7-3 ทักษะในตัวบุคคลสามารถสังเกตและวัดได้ทักษะ (Skills) เป็นคุณลักษณะอย่างหนึ่งของบุคคล ท่ีสามารถสังเกตและวัดได้จากการกระทาหรือแสดงออก การฝึกฝนเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะช่วยสร้างทักษะให้กับบุคคล และการใช้ทักษะน้ันบ่อยคร้ังก็จะชว่ ยใหเ้ กิดความชานาญในการทางานเพ่ิมขึ้นด้วยผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค

► บทที่ 7 การวเิ คราะห์ระดบั ความรแู้ ละทักษะ มาก ความถกู ต้อง 56ระดบั ตา่ ง ๆ ของทักษะ น้อย Automatism Control Imitation น้อย เวลาทใ่ี ช้ มาก ภาพที่ 7-4 ระดับทักษะท่ีอยู่ในตวั บคุ คลการกาหนดระดบั ความรู้และทักษะ Task Detailing Sheetชอ่ื รายวชิ า : ฝกึ ฝีมอื เบื้องตน้ หน่วยกติ : 3(0-7)ชื่องาน : งานเล่อื ยมอืTask (or Step) Knowledge NO TK Skills NO I TS R AT CA6. ประกอบใบเลอื่ ย  ข้ันตอนการประกอบ ใบเลอ่ื ยกับโครงเลือ่ ย X X  การประกอบ XX  เทคนิควิธีการตรวจ ใบเล่ือย XX สอบความตงึ X X  การตรวจสอบ ความตึงดว้ ยมอื  ข้อควรระวงั ในการ XX ประกอบใบเลอ่ื ยหมายเหตุ ความร/ู้ ทกั ษะ ระดบั ความรทู้ ีต่ อ้ งการ (TK) ระดบั ทักษะที่ตอ้ งการ (TS) N : ใหม่ R : Recall Knowledge I : Imitation O : เกา่ A : Apply Knowledge C : Control T : Transfer Knowledge A : Automatismผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 7 การวิเคราะห์ระดบั ความรู้และทกั ษะ 57การกาหนดระดบั ความรู้ในตารางวิเคราะห์หวั ข้อเรอ่ื ง Topic Detailing Sheetชือ่ รายวชิ า : การวัดผลทางการศกึ ษา หนว่ ยกิต : 3(3-0)หวั ข้อเรื่อง : ข้อสอบอัตนยัMain Elements/Elements Knowledge N O R TK T A1. รปู แบบขอ้ สอบ  คาจากดั ความ 2.1 แบบจากดั  ข้อแตกต่างของคาถาม/คาตอบ XX 2.2 แบบไม่จากดั  ข้อพิจารณาถงึ ในการสร้างข้อสอบ 4 ขอ้ XX2. การสร้างข้อสอบ …… …… XX  ขอ้ แตกต่างของท้ังสองวิธี4. การให้คะแนน (การเฉลยและเกณฑ์จุดให้คะแนน) XX 4.1 ให้คะแนนเปน็ ระดบั XX 4.2 ให้คะแนนเปน็ จุด  ขอ้ คานึงถึงในการให้คะแนนท้ังสองแบบ XX เหมาะสม5. ความเหมาะสม/ข้อจากัด  ความสามารถในการวัด  ลดการเดาคาตอบ XX ข้อจากัด XX  ขอบเขตการวดั  การตรวจใหค้ ะแนน XX  เวลาท่ีต้องใชต้ รวจ XX  ความเทา่ เทยี มการตอบ XX XXหมายเหตุ ความรู้ ระดับความร้ทู ีต่ ้องการ (TK) N : ใหม่ R : Recall Knowledge O : เกา่ A : Apply Knowledge T : Transfer Knowledgeผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค

► บทท่ี 7 การวิเคราะห์ระดบั ความรู้และทักษะ 58สรปุ บทเรยี น 1. ความรู้ (Knowledge) คือ ข้อมูลหรือข่าวสารซึ่งอยู่ภายในตัวบุคคล โดยการจาและ/หรือเข้าใจ การจาเป็นการกาหนดหรือนิยายความหมาย รูปร่าง ลักษณะ หรือสัญลักษณ์ไว้ในสมอง เป็นส่วน สาคญั ในการเขา้ ใจ ซงึ่ ตอ้ งอาศัยการจามาผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั 2. ความรู้ท่ีนาออกไปใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับ Recall ระดับ Apply และระดับ Transfer ซ่ึงความรู้ระดับ Recall หมายถึง การใช้ความรู้เก่าเหมือนที่ได้รับและเก็บอยู่ในสมองไปแก้ปัญหา ระดับการ Apply หมายถึง การประยุกต์ใช้ความรู้ที่มีอยู่ในสมองไปแก้ปัญหาใหม่ในลักษณะท่ีเคย ได้มีประสบการณ์มาแล้ว ส่วนระดับ Transfer หมายถึง การประยุกต์ใช้ความรู้ที่มีอยู่หลากหลาย ผสมผสานกันเพ่ือแกป้ ญั หาใหม่ในลกั ษณะที่ไม่เคยมีประสบการณ์มากอ่ น 3. ทักษะ (Skills) คือ ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อหรือประสาทสัมผัสต่าง ๆ ของร่างกาย ไป ทางานให้ไดผ้ ลงานทีถ่ ูกต้อง ในเวลาท่ีเหมาะสม ทักษะเกิดจากการฝึกฝนและความถ่ีในการใช้งาน อาจพูดอกี อยา่ งว่ายิ่งฝกึ มากหรือทามากจะมที ักษะที่สงู ขึ้น 4. ทักษะ (ทางชา่ งอุตสาหกรรม) ที่เก่ียวขอ้ งกับการใชก้ ล้ามเนอ้ื ทางานร่วมกับเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ แบง่ ออกได้เปน็ 3 ระดบั คอื ข้นั เลยี นแบบ (Imitation) ซ่ึงเป็นขั้นแรก ถัดไปเป็นขั้นท่ีทาได้ถูกต้อง (Control) ซ่ึงต้องอาศัยทักษะขั้นเลียนแบบเป็นพื้นฐาน ส่วนที่เป็นขั้นสูงสุด คือ ขั้นชานาญการ (Automatism) เป็นทักษะข้ันเชย่ี วชาญทางานไดอ้ ยา่ งเปน็ อตั โนมัติ 5. การระบุระดับ Knowledge/Skills ลงใน Task Detailing Sheet หรือ Topic Detailing Sheet จะตอ้ งพจิ ารณาด้วยว่า Knowledge หรือ Skills น้นั เม่ือนาไปใช้งานจริง ๆ แล้ว ต้องการใช้งาน ต่าสุดในระดบั ใด จงึ จะสามารถปฏิบตั งิ านนั้นใหบ้ รรลุผลได้ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ

บทที่ก(วาัตรถเขุปยี รนะสวงตั คถ์เปุ ชรงิ ะพสฤงตคิก์กรารรมส)อน เน้ือหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง ความจาเป็นที่ต้องมีวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอน องค์ประกอบของ วตั ถปุ ระสงค์การสอน หลักการในการเขียนพฤติกรรม เง่ือนไข และมาตรฐาน ในวัตถุประสงค์การสอน ความหมายของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อคานึงถึงในการเขียนวัตถุประสงค์การสอน แนวทางใน การเขียนวัตถปุ ระสงคก์ ารสอนจากการวิเคราะหห์ ัวข้อเรือ่ งและงานความจาเปน็ ของการมีวตั ถปุ ระสงค์การสอน ภาพที่ 8-1 ทศั นียภาพบนเกาะสมุยแหล่งทอ่ งเทยี่ วด้านอ่าวไทย หากถามวา่ ถา้ การไปเทย่ี วเกาะสมยุ น้นั จะต้องเตรียมอะไรไปบา้ ง แวน่ ตากันแดด รองเท้าแตะ ต้องจอง ห้องพักด้วยไหม๊ กล้องถ่ายรูปต้องนาไปด้วยหรือเปล่า หรือต้องเตรียมอะไรมากน้อยแค่ไหน คาตอบ ต่าง ๆ เหลา่ นน้ั จะถกู จากัดลงไปทันทหี ากเราต้งั เป้าหมายวา่ จะไปท่ีบริเวณไหนหรือไปทากิจกรรมอะไร นน่ั คอื จะตอ้ งมีการกาหนดจดุ ประสงคเ์ อาไว้กอ่ นล่วงหน้า

► บทที่ 8 การเขียนวตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 60 ในการจัดการเรียนการสอนก็เช่นเดียวกัน จะสอนเน้ือหาอะไรแค่ไหน ด้วยวิธีการสอนแบบใดจะใช้ส่ืออะไรในการสอน จะวัดและประเมินผลอย่างไร วัตถุประสงค์การสอนมีส่วนสาคัญอย่างยิ่งที่จะเป็นตัวกาหนดกรอบหรอื เป็นเครอื่ งชแ้ี นะแนวทางในการเตรียมบทเรียน ดังนั้น ก่อนท่ีจะทาการสอนทุกคร้ังจะตอ้ งเขียนวัตถุประสงคก์ ารสอนทีช่ ัดเจนเอาไว้กอ่ นล่วงหนา้ Job/Topic Objectives Content Method Media Assessment ภาพท่ี 8-2 ความสาคัญของวัตถุประสงค์การสอนในการเตรียมบทเรียนองคป์ ระกอบของวตั ถปุ ระสงค์การสอน ดังได้กล่าวมาแล้วว่า วัตถุประสงค์การสอนเป็นสิ่งสาคัญ ที่จะเป็นตัวกาหนดกรอบหรือขอบเขตของ เนื้อหาวิชา วธิ ีการสอน สือ่ การสอน และการวัดและประเมนิ ผลในบทเรียนน้ัน ๆ วัตถุประสงค์การสอน จึงมอิ าจกลา่ วไว้ลอย ๆ เช่น ในหัวข้อเรื่องระบบเครอ่ื งปรับอากาศรถยนต์ ผูเ้ รยี นจะสามารถ...  บอกส่วนประกอบได้  บอกหน้าท่อี ุปกรณไ์ ด้ เพราะผู้สอนเองยังไม่ทราบว่าส่วนประกอบท่ีจะสอนน้ันมีอะไรบ้าง หรือจะให้บอกหน้าที่ของ อปุ กรณ์ใดบ้าง หากแตจ่ ะเขียนเสยี ใหมว่ ่า “บอกชือ่ สว่ นประกอบสาคัญ ๆ ในระบบเครื่องปรับอากาศที่ ใชใ้ นรถยนตน์ ัง่ ได”้ ก็น่าจะดูดกี ว่า เพราะกาหนดวา่ ให้บอกช่ือส่วนประกอบท่ีสาคัญ ๆ เท่าน้ัน และเป็น ระบบเคร่อื งปรับอากาศท่ใี ช้ในรถยนต์ ซงึ่ มเี งือ่ นไขหรอื ขอบเขตเฉพาะเจาะจงกากับเอาไว้ด้วย ก็น่าท่ีจะ ชว่ ยให้การเตรยี มบทเรียนและทาการสอนมีเปา้ หมายทีช่ ัดเจนมากขึ้นดว้ ยผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทที่ 8 การเขียนวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม 61ส่วนประกอบของวัตถุประสงคก์ ารสอน การเขียนวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน ควรมีส่วนประกอบสาคัญ ๆ ดงั น้ี (1) พฤตกิ รรม (Task or Behavior) (2) เงือ่ นไข (Condition) (3) มาตรฐานหรือเกณฑ์ (Standard or Criteria) ซึ่ง Task or Behavior เป็นพฤติกรรมทส่ี ังเกตและวดั ได้ แสดงออกโดยผู้เรียน Condition เปน็ เงื่อนไข หรือขอบเขตท่ีจะแสดงพฤติกรรม สว่ น Standard or Criteria นัน้ เป็นเกณฑข์ ้นั ตา่ ทีก่ าหนดไว้การระบพุ ฤตกิ รรม พฤติกรรม (Behavior) เป็นการกระทาหรือการแสดงออกโดยบุคคล ซึ่งสามารถสังเกตและวัดผลได้ พฤติกรรมที่เขียนระบุไว้ในวัตถุประสงค์การสอน จะต้องอ่านแล้วได้ใจความว่าให้แสดงพฤติกรรมอะไร ไม่ใช่ระบุเฉพาะ “คากริยาแสดงพฤติกรรม” (Action Verb) เช่น บอก อธิบาย จาแนก เปรียบเทียบ สรุป คานวณ เขียน ฯลฯ เพราะวา่ คาเหล่าน้แี สดงเพยี งลักษณะกริยาเท่านนั้ ตัวอย่าง (พฤตกิ รรม) (1) ปรบั ความตึงสายพานเคร่ืองปรับอากาศได้ (สงั เกตเห็นพฤติกรรมการเรียนรไู้ ด้ คาว่า “ปรบั ” เปน็ คากริยาแสดงพฤติกรรม เท่านัน้ แต่ทวา่ ขอ้ ความท้ังประโยค เป็นพฤติกรรมท่คี าดหวังท่ีจะเกิดแก่ผ้เู รยี น) (2) ต้ังองศาไฟจุดระเบิดได้ (3) ตอ่ วงจรไทม์มิ่งไลทเ์ ขา้ กบั เครือ่ งยนตไ์ ด้มาตรฐานหรอื เกณฑ์ มาตรฐาน (Standard) ในท่ีน้ีเป็นเกณฑ์ขั้นต่าที่ยอมรับได้ (Low Limit Acceptance Criteria) หมายความว่า ผู้เรียนที่เรียนรู้ผ่านเกณฑ์อันน้ีแล้วสามารถที่จะเรียนต่อในเน้ือหาเร่ืองราวถัดไปหรือใช้ ในการปฏิบัติงานข้ันต่าได้ มาตรฐานหรือเกณฑ์อาจกาหนดในรูป ร้อยละ สัดส่วน ปริมาณเวลาหรือ มาตรฐานสากลอนั ใดอนั หน่ึงก็ได้ ตวั อย่าง (มาตรฐาน) (1) ปรับความตงึ สายพานเครื่องปรบั อากาศรถยนตไ์ ดถ้ กู ตอ้ งในเวลา 5 นาที (เปน็ การกาหนดว่าเวลาในการทางานนี้ ต้องไม่เกิน 5 นาที จึงจะผา่ นหรอื ยอมรับได้) (2) ตั้งองศาไฟจุดระเบิดได้ถกู ตอ้ งในเวลา 15 นาที (3) ปรับระยะเขย้ี วหวั เทียนได้ถกู ตอ้ งตามพกิ ดั 0.05 มม.ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ

► บทที่ 8 การเขียนวตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 62เงื่อนไขในการแสดง เง่ือนไข (Condition) เป็นตัวกาหนดวิธีการหรือลักษณะการแสดงพฤติกรรม หรือขอบเขตของเนื้อหา ในการจดั การเรียนการสอน อาจพจิ ารณาสว่ นทเี่ ปน็ เงอ่ื นไขไดจ้ ากการตรวจสอบพฤติกรรมด้วยคาถาม ท่วี า่ ทาอะไร ทาท่ีไหน หรือทาอยา่ งไร (เงอื่ นไขใชใ้ นการขยายความพฤตกิ รรม) ตัวอย่าง (เงอื่ นไข) (1) ตัง้ องศาไฟจดุ ระเบิด โดยใช้ Timing Light โดยถกู ตอ้ งในเวลา 15 นาที (เป็นการระบุว่าการต้งั องศาไฟจุดระเบดิ นี้ ใช้ Timing Light เปน็ เครื่องมอื ซง่ึ การสอนและการวัดผลกจ็ ะตอ้ งใหอ้ ยู่ภายใต้เงอ่ื นไขอนั น)ี้ (2) สเก็ตภาพฉาย 3 ดา้ น ระบบมุมทีห่ น่ึงของรูปทรงกระบอกตดั เฉยี งท่ีกาหนดให้ ไดถ้ ูกตอ้ งไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80ตวั อย่างวตั ถปุ ระสงคท์ ี่มอี งคป์ ระกอบต่างๆ 1. บอกชือ่ และหนา้ ท่ีของสว่ นประกอบสาคญั ในระบบปรบั อากาศรถยนต์ได้ถกู ต้อง ไม่น้อยกวา่ 5 ชอ่ื พฤตกิ รรม คอื บอกช่ือและหน้าท่ขี องส่วนประกอบสาคัญของระบบปรับอากาศได้ เงื่อนไข คือ สว่ นประกอบสาคัญท่ีวา่ น้ันเปน็ ส่วนประกอบของระบบปรับอากาศในรถยนต์ มาตรฐาน คอื บอกช่ือและหนา้ ท่ีส่วนประกอบของระบบปรบั อากาศได้ถูกต้องไม่น้อยกว่า 5 ช่ือ ข้อสังเกต การแยกองค์ประกอบ “มใิ ช”่ เป็นการตัดขอ้ ความออกเป็นส่วนๆ แต่เป็นการอธบิ าย ให้เห็นองค์ประกอบในแต่ละสว่ นอยา่ งครบถ้วน 2. ปะยางเรเดยี ลแบบช่วั คราวไดอ้ ย่างประณีตเรยี บรอ้ ยภายในเวลา 15 นาที พฤตกิ รรม คอื หลังจากการฝกึ หดั แล้วจะตอ้ งปะยางเรเดียลไดอ้ ยา่ งประณีตเรยี บรอ้ ย เงอื่ นไข คอื การปะยางดังกลา่ วเน้นท่ีการปะยางแบบชว่ั คราวไม่ใชก่ ารปะยางแบบถาวร มาตรฐาน คือ ตอ้ งทาเสร็จเรยี บรอ้ ยภายในเวลา 15 นาที เทา่ นั้น หากเกนิ จากนถ้ี ือว่าไม่ผ่าน ขอ้ สังเกต ปะยางเรเดยี ล เป็นพฤตกิ รรม เพราะคาวา่ ปะยาง (ในท่ีน้ี) เป็นกริยาแสดงพฤติกรรม ปะยางเรเดยี ล เปน็ การปะยางรถยนต์ ไมใ่ ช่รถจักรยานหรือรถจกั รยานยนต์ความหมายของวตั ถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม วตั ถุประสงค์การสอนที่เน้นพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน อาจเรียกว่า “วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม” (Behavioral Objective) หมายถึง ข้อความซ่ึงบ่งบอกพฤติกรรมท่ีคาดหวังให้เกิดแก่ผู้เรียน หลังจาก จบการเรยี นการสอนแล้ว อนั อาจเกิดจากการสอนหรือการศึกษาด้วยสื่อใดๆก็ตาม พฤติกรรมดังกล่าว จะตอ้ งสามารถสังเกตและวัดได้ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 8 การเขียนวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 63หลักเกณฑ์การเขยี นวัตถปุ ระสงค์การสอนหรือวตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม1. อยา่ เขียนวตั ถุประสงค์ข้อเดยี วให้มีหลายเรื่องราว (Concept) วัตถุประสงค์การสอน 1 ข้อ ให้ระบุ พฤตกิ รรมหรอื เนอื้ หาเพียงเร่ืองราวเดียวเทา่ นน้ัตัวอยา่ ง “จาแนกข้อแตกต่างระหว่างหัวเทียนร้อนและหัวเทียนเย็น พร้อมท้ังเลือกใช้งานได้วิเคราะห์ อย่างถูกตอ้ ง”การแกไ้ ข วัตถุประสงค์ข้อนี้มี 2 เรื่องราว คือ การจาแนกข้อแตกต่างของหัวเทียนและการ เลอื กใชง้ าน ข้อเสยี อยูท่ วี่ า่ ถา้ จาแนกได้แต่เลือกใช้ไม่ได้ จะผ่านวัตถุประสงค์การสอน หรือไม่ อนั นจ้ี ะเป็นปัญหาในการสรุปผล จงึ ควรแยกวัตถปุ ระสงค์ดังกล่าวออกเปน็ 2 ข้อ คือ (1) จาแนกขอ้ แตกตา่ งระหวา่ ง หัวเทยี นร้อนและหัวเทียนเยน็ ได้ และ (2) บอกทใี่ ชง้ านของหัวเทยี นร้อนและหวั เทียน เยน็ ได้อย่างถูกต้อง ซงึ่ จะทาใหก้ ารสอนและวดั ผลทาได้ชัดเจนและง่ายขน้ึ2. ไมเ่ ขยี นประโยควัตถปุ ระสงค์การสอนในรปู ของประโยคคาถาม (เพราะอาจทาให้อ่านทาความเข้าใจ ยาก หรือทาให้การเขียนวตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนไม่เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั )ตวั อยา่ ง “บอกได้วา่ สว่ นประกอบของระบบหล่อเยน็ มีชื่อและหนา้ ทอ่ี ยา่ งไรบา้ ง”วเิ คราะห์ วัตถปุ ระสงค์ข้อนี้เขยี นในรูปแบบขอ้ คาถามและองค์ประกอบยังไมช่ ดั เจนเทา่ ทคี่ วรการแก้ไข โดยเฉพาะอย่างย่งิ ระบบหลอ่ เยน็ ทีไ่ หน บอกได้กช่ี ื่อ ในทานองน้ี จึงควรเขยี นวตั ถปุ ระสงค์ใหม่ในรูปประโยคบอกเลา่ ให้มีองค์ประกอบชดั เจนมากยิง่ ขึ้น เช่น “บอกชอ่ื และหน้าท่ขี องส่วนประกอบสาคัญในระบบหล่อเยน็ ดว้ ยน้าในรถยนตไ์ ด้ ถูกต้องอย่างนอ้ ย 5 ชือ่ ” เปน็ ตน้ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 8 การเขยี นวตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 643. คากรยิ าแสดงพฤตกิ รรม (Action Verb) ซึ่งใช้เขียนนาข้อความวัตถุประสงค์การสอน จะต้องเป็น คากรยิ าทีส่ ามารถสังเกตและวดั ผลได้เด่นชดั ตอ้ งระวังคากริยาบางคาที่สังเกตและวัดพฤติกรรมได้ ยากหรอื ตอ้ งตคี วามเอาเองตัวอย่าง “จับหลกั การการทางานทกุ ระบบเบรก ABS ไดอ้ ย่างชดั เจน”วเิ คราะห์ วตั ถปุ ระสงค์การสอนขอ้ น้ี ดูไปกน็ ่าจะดี คือ ให้จบั หลักการการทางานของระบบเบรกควรแก้ไข แตอ่ ะไรคอื พฤตกิ รรมทจ่ี ะวดั ผล จะให้ผ้เู รยี นอธิบาย สรปุ ผล ยกตัวอย่าง หรืออะไร มี ขอ้ สงสัยในการวัดผล รวมทัง้ มาตรฐานเองกย็ ังมีขอ้ สงสยั อยู่เชน่ กัน ควรเขียนประโยควัตถุประสงค์ใหม่ให้ชัดเจนถึงพฤติกรรมท่ีต้องการ เช่น “อธิบาย หลักการทางานของระบบเบรก ABS แบบ 4 Sensor ได”้ เปน็ ต้นข้อคานึงถงึ ในการเขยี นวตั ถปุ ระสงค์การสอน หรอืวตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. ระบพุ ฤตกิ รรมการเรียนรทู้ ช่ี ดั เจน พฤติกรรมดงั กล่าวจะต้องสามารถสังเกตและวัดได้ (พฤติกรรมที่ ชดั เจน หมายถึง อ่านแล้วเข้าใจว่าทาอะไรได้ เช่น อธิบายหลักการทางานของระบบเบรก จาแนก ข้อแตกต่างของยางรถยนต์ ไม่ใช่ อธิบาย จาแนก เพราะคาว่า อธิบายหรือจาแนก เป็นแต่เพียง คากริยาแสดงพฤติกรรมเทา่ นน้ั เป็นต้น) 2. ขอ้ ความท้ังประโยคของวัตถุประสงค์การสอนตอ้ งชัดเจน ทกุ คนท่ีสอนหรืออยู่ในแวดวงวิชาการน้ัน อา่ นแล้วแปลความไดต้ รงกัน ทันที 3. มอี งคป์ ระกอบสมบูรณช์ ัดเจน (วตั ถุประสงค์การสอนบางขอ้ อาจมีองค์ประกอบไม่ครบท้ัง 3 อย่าง เช่น มีพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว มีพฤติกรรมกับเง่ือนไข หรือมีพฤติกรรมกับมาตรฐานเพียงสอง องคป์ ระกอบ แต่อ่านแล้วเข้าใจตคี วามได้ตรงกันกถ็ อื วา่ เป็นวัตถปุ ระสงคท์ ่ีใช้ได้ เปน็ ตน้ ) 4. มปี รมิ าณหรือจานวนข้อวัตถปุ ระสงค์การสอนครอบคลุมหัวขอ้ เร่อื งหรอื งานที่จะสอนในครัง้ น้ัน 5. เหมาะสมกับระดับการศึกษา และเพียงพอที่จะนาไปใช้งานได้ (หมายถึง ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ความสามารถทไ่ี ด้รับไปใช้ในการศกึ ษาต่อหรือใช้ในทางานจรงิ ได้)ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 8 การเขยี นวตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 65การเขยี นวตั ถปุ ระสงค์การสอนจาก Task Detailing Sheet Task Detailing Sheetชอ่ื รายวิชา : ฝกึ ฝีมือเบื้องตน้ หน่วยกิต : 3(0-7)ช่ืองาน : งานเลอ่ื ยมอืTask (or Step) Knowledge NO TK Skills NO I TS R AT CA6. ประกอบใบเลือ่ ย  ขั้นตอนการประกอบ ใบเล่ือยกบั โครงเลอ่ื ย XX  การประกอบ XX ใบเลอ่ื ย  เทคนิควิธีการตรวจ  การตรวจสอบ สอบความตึง XX ความตึง XX  ขอ้ ควรระวังในการ XX ประกอบใบเลือ่ ย Objective Listing Sheet หน่วยกติ : 3(0-7)ชื่อรายวชิ า : ฝึกฝีมือเบ้ืองตน้ ISL PSL Remarkหัวข้อ/งาน : งานเล่อื ยมอื RATI CAวัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม X1. บอกขนั้ ตอนในการประกอบใบเล่ือยเขา้ กับโครงเลอ่ื ยมือไดถ้ ูกตอ้ ง X2. อธบิ ายเทคนคิ การตรวจสอบความตงึ ใบเล่อื ยโดยใชม้ อื กดได้3. บอกขอ้ คานงึ ถงึ ในการประกอบใบเล่อื ยได้ถูกต้องอย่างน้อย 3 ข้อ X4. ประกอบใบเล่ือยมอื เข้ากบั โครงเล่ือยมอื ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง5. ตรวจสอบสภาพความตงึ ของใบเลอื่ ยโดยใช้มอื กดได้ถูกตอ้ ง X Xหมายเหตุ ISL = ระดบั ความสามารถทางสตปิ ัญญา PSL = ระดบั ความสามารถทางทกั ษะกลา้ มเนื้อผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทท่ี 8 การเขยี นวตั ถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 66การเขยี นวตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนจาก Topic Detailing Sheet Topic Detailing Sheetช่ือรายวิชา : การวดั ผลทางการศึกษา หนว่ ยกิต : 3(3-0)หัวข้อเรื่อง : ขอ้ สอบอตั นัยMain Element/Element Knowledge N O R TK AT1. รปู แบบข้อสอบ  คาจากดั ความ XX (แบบจากัด/แบบไมจ่ ากดั )  ข้อแตกตา่ งของคาถาม/คาตอบ XX2. การสรา้ งขอ้ สอบ  ขอ้ พิจารณาถึงในการสร้างขอ้ สอบ (4 ข้อ) X X …… ……4. การใหค้ ะแนน  ขอ้ แตกต่างของท้ังสองวธิ ี XX 4.1 ให้คะแนนเปน็ ระดบั 4.2 ให้คะแนนเปน็ จุด (การเฉลยและเกณฑจ์ ุดใหค้ ะแนน) XX  ข้อคานงึ ถึงในการให้คะแนนทั้งสองแบบ X X Objective Listing Sheet หน่วยกิต : 3(3-0)ช่อื รายวชิ า : การวัดผลทางการศึกษา ISL PSL Remarkหัวขอ้ /งาน : ข้อสอบอัตนยั RATI CAวัตถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม X1. อธิบายความหมายของขอ้ สอบอตั นยั ได้ X2. บอกข้อแตกตา่ งระหวา่ งขอ้ สอบอัตนัยแบบจากดั และไม่จากดั คาตอบ3. บอกข้อควรคานึงถึงในการสรา้ งขอ้ สอบอัตนัยไดอ้ ยา่ งน้อย 4 ขอ้ X4. อธบิ ายวิธกี ารให้คะแนนคาตอบข้อสอบอตั นัยแบบเป็นระดบั และแบบ X เป็นจดุ X5. บอกขอ้ คานงึ ถงึ ในการให้คะแนนคาตอบข้อสอบอัตนัยทั้งสองแบบหมายเหตุ ISL = ระดับความสามารถทางสติปญั ญา PSL = ระดบั ความสามารถทางทักษะกลา้ มเนื้อผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทที่ 8 การเขยี นวตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 67การกาหนดระดบั ของวตั ถุประสงค์ ระดับของวตั ถปุ ระสงคก์ ารสอนใหด้ ูจากระดบั การนาความรู้ไปใช้ หากเป็นการฟ้ืนคืนความรู้ก็ให้กาหนด ระดบั วัตถุประสงค์ในข้ัน Recall ถา้ เป็นการประยกุ ตก์ ก็ าหนดในระดบั Apply เปน็ ตน้ ความรู้ ระดบัส่งถา่ ยความรไู้ ปใช้ Transferred Knowledgeประยกุ ตใ์ ช้ Applied Knowledgeฟน้ื คืนไปใช้ หรอื จาไปใช้ Recalled Knowledge ภาพท่ี 8-3 การกาหนดระดบั วตั ถปุ ระสงค์การสอนจากการใชค้ วามรู้สรปุ บทเรยี น 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม คือ ข้อความซ่ึงบ่งบอกพฤติกรรมที่คาดหวังให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน หลังจากจบการเรียนการสอนไปแลว้ พฤตกิ รรมดงั กลา่ วจะตอ้ งสามารถสังเกตและวดั ผลได้ 2. องค์ประกอบของวัตถุประสงค์การสอน (หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม) ประกอบด้วยพฤติกรรม (Task or Behavior) เงอื่ นไข (Condition) และมาตรฐาน (Standard or Criteria) 3. การเขียนวัตถุประสงค์การสอน อาจไม่ต้องระบุองค์ประกอบต่าง ๆ อย่างครบถ้วนก็ได้ หากเขียน แล้วทุกคนอ่านและตีความได้ตรงกัน แต่ส่วนประกอบของวัตถุประสงค์ที่จะขาดเสียไม่ได้ ก็คือ พฤติกรรมการแสดงออก (Task or Behavior) 4. วัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน ใช้เป็นหลักในการกาหนดขอบเขตเนื้อหา วิธีสอน สื่อการสอนและ การวัดและประเมินผล จึงมขี ้อคานงึ ถึงในการเขียนวัตถปุ ระสงค์การสอน ดังน้ี (1) เร่มิ ต้นด้วยคากริยาท่สี ามารถสังเกตและวดั ผลไดช้ ดั เจน (2) ใหม้ ีองคป์ ระกอบครบตามควร อา่ นแล้วเขา้ ใจไดต้ รงกัน (3) เขียนในรูปประโยคบอกเล่า (เทา่ นนั้ ) (4) วัตถปุ ระสงค์การสอน 1 ข้อ มเี น้อื หาเพยี งเรอ่ื งราวเดยี วหรอื พฤติกรรมเดียวเทา่ นัน้ (5) ในแตล่ ะหวั ขอ้ เร่อื งให้มจี านวนขอ้ วัตถุประสงคค์ รอบคลมุ เนอื้ หาทง้ั หมด 5. วัตถุประสงค์ซ่ึงเขียนจากการวิเคราะห์หัวข้อเรื่องหรือจากการวิเคราะห์งาน ให้เขียนวัตถุประสงค์ ครอบคลุมทุก Knowledge และ Skills กาหนดระดับวัตถุประสงค์การสอนให้ตรงกับระดับความรู้ และทกั ษะทไ่ี ดว้ เิ คราะห์ไว้ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

บทท่ีการวเิ คราะห์เพ่อื สร้างใบเน้ือหาเนอ้ื หาสาระสาคญั ในบทนี้ กล่าวถึง ความหมายของคาว่า “เนื้อหา” ความสาคัญของเนื้อหาต่อความรู้ของผู้เรยี น หลกั การท่ีวตั ถุประสงค์เป็นตัวกาหนดเน้ือหา ระดับความสาคัญของเนื้อหาท่ีใช้ในการเรียนการสอน การวิเคราะห์ความจาเป็นและความสาคัญของเนื้อหา จุดประสงค์ที่สาคัญในการใช้ใบเนื้อหาลกั ษณะของใบเนอื้ หา หลักเกณฑ์ในการออกแบบใบเน้อื หา การใช้ภาพและข้อความเพื่อนาเสนอเนื้อหาหลักเกณฑ์สาคัญในการสรา้ งใบเนอ้ื หาความหมายของเนอื้ หา (Information)ความรู้ เนื้อหา/เรอ่ื งราว เนื้อหา (Information หรือ Content) คือ แก้ปัญหา ข้อมูลหรือข่าวสารต่าง ๆ ที่จะให้แก่ผู้เรียน เพ่ือใหเ้ ขามคี วามรู้และสามารถนาความรู้นั้น ไปแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ได้ภาพท่ี 9-1 ความหมายของเนอื้ หา (Information หรอื Content)ความสาคญั ของเนอื้ หา เน่อื งจากเน้ือหา (Information) เปน็ ข้อมลู ทจ่ี ะสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนได้มีความรู้ (Knowledge) เพื่อที่จะนา ความรู้ท่ีได้รับนั้นไปใช้แก้ปัญหาต่อไป ฉะน้ัน ความเพียงพอเหมาะสมของเนื้อหาที่จะให้แก่ผู้เรียนจึง เปน็ ปจั จัยสาคัญ ทีจ่ ะสง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสามารถในการแก้ปญั หาไดม้ ากหรือน้อยเพยี งใด

► บทท่ี 9 การวเิ คราะห์เพ่ือสร้างใบเน้ือหา 69วัตถปุ ระสงค์เป็นตัวกาหนดเนอื้ หา ถา้ จะถามวา่ แลว้ จะให้เนื้อหาแคไ่ หนจึงจะเพียงพอเหมาะสม คาตอบก็อาจพิจารณาได้จากวัตถุประสงค์ การสอน ซงึ่ ได้ระบุพฤติกรรม เงื่อนไขและมาตรฐานเอาไว้ การกาหนดเนื้อหาวิชาในการเรียนการสอน จะต้องให้ครอบคลุมเงอ่ื นไขหรอื /และมาตรฐานของวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ น้นั Job/Topic Objectives Content Method Media Assessmentภาพที่ 9-2 วัตถุประสงคเ์ ป็นตัวกาหนดเนอื้ หาวิชาในการเรียนการสอนระดบั ความสาคญั ของเนอื้ หาเนอ้ื หาท่ีถา่ ยทอดให้แก่ผเู้ รยี น ในแต่ละวัตถุประสงค์ของแต่ละหัวข้อนั้น มีความสาคัญและความจาเป็นทีแ่ ตกต่างกนั ฉะนน้ั ครผู ู้สอนจะต้องวิเคราะหร์ ายละเอียดในสว่ นนด้ี ้วย กล่าวคือ Must Know เปน็ Information ทตี่ ้องใช้ต้องเน้นมากเพราะ หากขาด Information ส่วนนี้ไปแล้ว จะไม่สามารถบรรลุผลMust ตามวัตถปุ ระสงค์การสอนได้Should Should Know เป็น Information ที่จะช่วยให้การเรียนรู้ การทาความเข้าใจในเรอ่ื งราวน้นั ๆ ง่ายและรวดเร็วขน้ึCould Could Know เป็น Information ท่ีมีความสาคัญน้อยช่วย ให้ผู้เรยี นมคี วามรู้กวา้ งไกลข้ึน และที่สาคัญเป็น Information ที่งา่ ยผเู้ รียนสามารถเรยี นรไู้ ดด้ ้วยตนเองภาพท่ี 9-3 ระดับความสาคัญของเนื้อหาในแตล่ ะวัตถุประสงค์การสอนผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทที่ 9 การวิเคราะหเ์ พื่อสร้างใบเนือ้ หา 70การวเิ คราะห์ความจาเปน็ ของเนอ้ื หาในบทเรยี น การวิเคราะหค์ วามจาเป็น จะต้องมองเนอื้ หาทงั้ หมดในวตั ถปุ ระสงคข์ ้อน้นั และความเก่ียวข้องกับเน้ือหา ในวัตถุประสงค์อ่ืน ๆ ด้วย เพื่อที่จะได้กาหนดระดับความสาคัญของวัตถุประสงค์การสอนและให้เวลา สาหรับการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม โดยในข้ันต้นจะต้องใช้ (1) ประสบการณ์ของผู้สอนเองเป็น เคร่อื งมอื ตัดสิน (2) สอบถามจากผ้รู ูผ้ ้เู กีย่ วข้อง หรอื (3) อาจพิจารณาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ โดยดู จากคา่ ความถข่ี องเนื้อหาท่ีเขยี นระบไุ ว้ในเอกสารเหลา่ นั้นก็ได้วิธีการวเิ คราะหค์ วามจาเปน็ ของเนอ้ื หาเม่ือไดว้ เิ คราะหเ์ นอ้ื หาตามขอบเขตของวัตถุประสงค์การสอนแล้ว ให้นาหัวข้อย่อยต่าง ๆ ของเรื่องน้ันมาพิจารณาเทยี บกบั ระดับความจาเป็นของเนอ้ื หา ดงั นี้หวั ข้อเรื่อง : ยางรถยนต์ เนือ้ หา (Content or Information)  ลักษณะโครงสรา้ งของยาง (แบบธรรมดาและแบบเรเดียล)  การกาหนดขนาดของยางMust  ทใ่ี ชง้ านของยางชนิดตา่ ง ๆShould  ความดันลมยางCould  วิธกี ารสลบั ยาง  การปรับเปลยี่ นขนาดยาง  รูปแบบดอกยางและทใี่ ช้งาน  ประวตั ทิ ่ผี ลติ ยางรถยนต์ภาพท่ี 9-4 ระดบั ความสาคัญของเน้ือหา  เครื่องหมายและบรษิ ัทผผู้ ลติเน้ือหาท่ีเขียนไว้ในใบเนื้อหา (Information Sheet) ให้เน้นเน้ือหาท่ีต้องรู้ (Must Know) เป็นลาดับแรก สว่ นเนือ้ หาทค่ี วรรู้หรอื น่าจะรู้ให้เรยี บเรยี งไว้ตามความเหมาะสมจดุ ประสงค์ในการจดั ทาใบเนอ้ื หา การจดั การเรยี นการสอนแต่ละครัง้ มเี นื้อหามากมายท่ีถูกนามาถกในช้ันเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีความรู้ และสามารถนาความรู้ท่ีได้นั้นไปใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ เมื่อวันเวลาผ่านไปก็เป็นเร่ืองธรรมดาอยู่ดีที่อาจมี การหลงลืมเน้ือหาหรือข้อมูลต่าง ๆ ไปบ้าง ดังนั้น สิ่งที่จะช่วยฟื้นคืนความรู้ต่าง ๆ สามารถทาได้โดย การศกึ ษาจากใบเน้อื หาที่ไดจ้ ดั ทาไว้อย่างเหมาะสม อ่านง่าย สะดวกแก่การฟ้ืนคืนความรู้อย่างรวดเร็ว ด้วยเหตนุ ้ี ใบเนื้อหาจึงมีไว้เพ่ือใช้ในการทบทวนเท่าน้ัน โดยผู้ใช้จะต้องผ่านการเรียนการสอนในเน้ือหา เหล่านั้นมาแลว้ ไมไ่ ด้สรา้ งมาเพื่อให้ผทู้ ่ีไม่เคยเรยี นนาไปศกึ ษาและเรยี นรู้ดว้ ยตนเองผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 9 การวิเคราะห์เพ่ือสรา้ งใบเนือ้ หา 71ลกั ษณะของใบเนอ้ื หา (Information Sheet)ใบเนอ้ื หา (Information Sheet) แบ่งตามลักษณะการเขียนออกเป็น 3 รูปแบบดงั นี้(1) เขียนเน้อื หาสรปุ เฉพาะทีส่ าคัญเทา่ นั้น ทั้งน้ี การใชใ้ บเนื้อหาเพ่ือการทบทวนต้องการแค่(2) เขยี นเน้ือหาละเอยี ดเท่าท่ีไดส้ อนไป แบบท่ี (1) หรอื (2) เทา่ นัน้ เน้ือหาอ่ืน ๆ ผู้เรียน(3) เขียนเนอ้ื หาละเอียดมากกวา่ ท่ีไดส้ อนไป สามารถหาอ่านไดจ้ ากเอกสารทว่ั ไป1. งานปาดผวิ และงานตัดเฉอื น ใบเน้อื หาที่ 1 รอยยน่ รอยตัดคมตัด ผิวแยก มุมล่ิมข้อพจิ ารณา งานปาดผิว งานตัดเฉอื นแนวแรง เอียงทามมุ ต้ังฉากเศษวัสดุ ไม่มีแรงทต่ี ้องการ มี มาก น้อย2. อิทธพิ ลของมุมลิ่มต่อแรงที่ใช้ตดั และอายกุ ารใช้งานของสกดั ข้อพจิ ารณา นอ้ ย มาก ใชแ้ รงตอก แยกไดด้ ี แยกไมด่ ี การตดั แยก สน้ั (ทื่อง่าย) นาน (ทอ่ื ยาก) อายใุ ช้งาน นอ้ ย แรงตา้ นช้นิ งาน มากผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 9 การวเิ คราะห์เพอื่ สร้างใบเนือ้ หา 72หลักการในการออกแบบใบเนอื้ หา 75% 15% ทางหู จากภาพ 10% ทางอ่ืนๆทางตา เป็นค่าประสิทธิภาพในการรับข้อมูลหรือข่าวสาร (Information) ของบุคคล ซ่งึ จะเหน็ ได้ว่าการสื่อ ความหมายทางตา ให้ผลได้สูงสุด (75%) ฉะนั้น ในการออกแบบและจัดสร้างใบเนื้อหาจึงควรท่ีจะ นาเสนอเนอ้ื หาด้วยภาพใหม้ ากทสี่ ุด ภาพท่ี 9-6 การรับข้อมลู ของบคุ คลจากการสอ่ื ความหมายในด้านต่าง ๆกรณตี วั อยา่ งการสร้างใบเน้อื หากรณที ี่ 1(1) ไขควงขนาดเล็ก สามารถเปลี่ยนลักษณะและขนาดปากสาหรับใช้หัวสกรูแบบแบนและส่ีเหล่ียมได้ ที่สะดวกก็คือ มีปุ่มให้เลือก lock หรือ free ของทิศทางการหมุน จึงเหมาะสมสาหรับการขันหรือ ถอดสกรูออกเปน็ อยา่ งมากกรณที ี่ 2 ปุม่ lock หรอื free(2) ไขควง ของทิศทางการหมุน ภาพท่ี 9-7 ไขควงขนาดเลก็ ที่เปล่ียนทิศทางการหมุนและขนาดปากได้สรปุ ได้ว่า การใช้ภาพชว่ ยในการอธิบายเนอื้ หา (ดังกรณีที่ 2) ซึ่งเป็นรูปธรรมมากกว่า สามารถท่ีจะสื่อความหมายไดด้ กี วา่ การใช้ตวั อักษรล้วน ๆ ซึ่งเป็นนามธรรม (ดงั กรณีท่ี 1)ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทท่ี 9 การวเิ คราะหเ์ พ่อื สร้างใบเนื้อหา 73เปรยี บเทยี บคาพดู คาเขยี นกบั รปู ภาพ รูปภาพ คาพูดคาเขียนวิธีถอดหัวจับดอกสว่าน สามารถถอดได้โดยใช้ลิ่มสอดเข้าที่ช่องสี่เหล่ียมบนเพลาตั้งของเคร่ืองเจาะและใชค้ อ้ นตอกที่ลมิ่ เบา ๆ ในขณะท่ีตอกให้ใช้มือประคองหัวจับดอกสว่าน เพ่ือป้องกันการหล่นกระแทกบนแท่นเจาะ(ไม่ดี เพราะว่าอา่ นแลว้ ยงั ต้องจนิ ตนาการ)ภาพทจี่ ะใชแ้ ทนคาพูดคาเขยี นลักษณะของภาพ การนาไปใชง้ าน ภาพ 2 มิติ ใช้ในการอธิบายหลักการหรือวิธีการทางาน ซ่ึงเขียนเป็น ภาพ ไดอะแกรม หรือรูปทรงอย่างงา่ ยได้ เช่น วงจรไฟฟ้า ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผลการทดลอง ฯลฯ ภาพ 3 มิติ ใช้อธิบายลักษณะงานท่ีต้องการรายละเอียดหลายแง่มุม งานทมี่ คี วามสลับซบั ซ้อนที่ภาพสองมิติไม่สามารถอธิบาย ใหเ้ ห็นรายละเอยี ดทต่ี อ้ งการได้ ภาพสเก็ตลายเสน้ ใช้อธิบายรูปทรงหรือรูปร่างหน้าตาท่ีมีลักษณะคล้ายคลึง ของจรงิ เฉพาะบางส่วนหรือตอ้ งการรายละเอียดเฉพาะท่ี ภาพถ่ายภาพจริง เนน้ การอธิบายสง่ิ ที่เปน็ จริงตามธรรมชาติ มีองค์ประกอบ ส่ิงแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ที่เหมอื นจริงผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค

► บทท่ี 9 การวเิ คราะห์เพอ่ื สร้างใบเนอ้ื หา 74การจดั ภาพและขอ้ ความในใบเน้อื หา ด้วยเหตุที่ คนเรามักจะมองภาพก่อนท่ีจะอ่านคาอธิบาย ดังน้ัน หากมีคาอธิบายประกอบภาพควรที่จะ วาง (1) คาอธิบายไวด้ า้ นลา่ งของภาพ หรือ (2) ถ้าเป็นข้อความส้ันๆ อาจวางภาพไว้ทางด้านซ้ายและ วางข้อความไวท้ างดา้ นขวาก็ได้ เช่น 1. ห้องลูกลอย เม่ือระดับน้ามันในห้องลูกลอยลดลง เขม็ เปดิ ปิด ลูกลอยก็จะลงตามระดับน้ามัน ทาให้ ลูกลอย เข็มน้ามันเปิด น้ามันก็จะเติมเข้า มายังหอ้ งลูกลอยเรอ่ื ย ๆ2. นา้ มันเข้า เม่ือนา้ มนั ในห้องลูกลอยสูงถึงระดับที่ ลูกลอย ระดับน้ามัน กาหนด ลูกลอยก็จะดันเข็มให้ปิดกัน ทางเข้าน้ามัน ไม่ให้น้ามันไหลเข้า ห้องลกู ลอยได้อีก น้ามันออก ภาพท่ี 9-8 ลักษณะการวางรูปภาพและขอ้ ความท่ใี ช้อธบิ ายหลกั เกณฑใ์ นการสร้างใบเน้อื หา 1. เขียนเนอ้ื หาทีเ่ กี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์การสอนให้ครบถ้วน 2. ใชภ้ าษาทางวิชาการ เปน็ คาท่ีง่าย ๆ อา่ นแล้วเขา้ ใจไดง้ ่าย 3. เขยี นหรือเรียบเรียงด้วยประโยคสัน้ ๆ กระชบั ได้ใจความ 4. ใชร้ ปู ภาพ กราฟ ไดอะแกรม ฯลฯ แทนคาบรรยายให้มากที่สดุ 5. คาบรรยายทเ่ี กีย่ วกับรูปภาพตอ้ งสมบูรณท์ ีจ่ ะถอดเนื้อหาได้ 6. เน้อื หาทุกตอนอา่ นทบทวนแลว้ เขา้ ใจไดท้ นั ทีโดยไม่ต้องอธิบายเพิ่มเติมผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค

► บทท่ี 9 การวิเคราะหเ์ พือ่ สร้างใบเนื้อหา 75สรปุ บทเรยี น 1. เน้ือหา (Information หรือ Content) หมายถึง ข้อมูลข่าวสารหรือเรื่องราวต่าง ๆ ที่จะให้แก่ ผู้เรยี น เพ่อื ใหไ้ ด้มีความรู้ สามารถนาความรทู้ ่ีไดไ้ ปใชแ้ กป้ ัญหา 2. เนื่องจากการแก้ปัญหาต้องใช้ความรู้ ความเพียงพอเหมาะสมของเน้ือหาในการเรียนการสอนจึง ต้องมกี ารวเิ คราะหแ์ ละจัดเตรียมเอาไว้กอ่ นที่การสอนจะเริม่ ข้ึน 3. เนื้อหาในการเรียนการสอน จะต้องพิจารณาตามวัตถุประสงค์การสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะต้อง ครอบคลมุ เง่ือนไขและ/หรอื มาตรฐานของวตั ถุประสงค์การสอน 4. เน้อื หาที่กลา่ วถงึ ในช่ัวโมงสอน ผู้สอนจะต้องวิเคราะห์ว่าส่วนไหนเป็นเนื้อหาต้องรู้ (Must Know) ควรรู้ (Should Know) หรือน่าจะรู้ (Could Know) เพื่อท่ีจะจัดสรรเวลาและการเน้นเน้ือหาได้ อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม 5. เนื้อหาที่จดั การเรียนการสอนไปแล้ว อาจมีมากเกนิ กว่าจะจดจาไวใ้ นสมองไดท้ ั้งหมด ถึงคราวจะใช้ อาจตอ้ งมีการรอ้ื ฟ้นื หรอื ทบทวน จงึ จาเปน็ ตอ้ งมกี ารสรุปเฉพาะเนื้อหาที่สาคัญเป็นใบเน้ือหาเอาไว้ ซึง่ สว่ นใหญ่จะใช้ภาพช่วยในการอธบิ าย เพราะรปู ภาพชว่ ยส่อื ความหมายได้ดี สามารถที่จะอ่านทา ความเขา้ ใจไดง้ า่ ยและรวดเรว็ 6. ภาพท่ใี ชใ้ นใบเน้อื หา จะตอ้ งคดั เลือกใหเ้ หมาะสมกับลักษณะเนื้อหา โดยรปู ภาพดังกล่าวอาจจะเป็น ภาพ 2 มิติ ภาพ 3 มิติ ภาพสเก็ต หรือภาพถ่ายก็ได้ ทั้งนี้จะต้องจัดสัดส่วนภาพและคาอธิบายให้ ดูง่ายและสัมพนั ธ์กนั 7. การสร้างใบเนื้อหาต้องตระหนักถึงหลักเกณฑ์ที่กาหนด เพราะใบเน้ือหาไม่ใช่ตารา ไม่ใช่หนังสือท่ี เขียนให้ทกุ คนอ่าน แต่ใบเน้อื หามไี ว้สาหรบั ผูท้ ีศ่ ึกษาไปแลว้ ใชท้ บทวนเพ่ือฟื้นคืนความรู้ความเข้าใจ (อยา่ งรวดเรว็ ) เทา่ นนั้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

บทท่ีรูปแบบและเทคนคิ วธิ ีการเรียนการสอน เนื้อหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง จุดประสงค์หลักในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้ันตอนต่าง ๆ ใน กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องต้องพิจารณาในการเตรียมการจัดการเรียนการสอน ความสาคัญและความเป็นไปของปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนการสอน วิธีการจัดการเรียนการสอนโดย พจิ ารณาท่ีกจิ กรรมของครผู ู้สอนและผู้เรียน รูปแบบวิธีการสอนแบบบรรยาย วิธีการสอนถามตอบและ รปู แบบการเรยี นดว้ ยตนเองจุดประสงคข์ องการเรียนการสอนการเรยี นการสอน การประกอบอาชพีภาพท่ี 10-1 จุดมุ่งหมายของการเรยี นการสอนการจัดการเรียนการสอนน้ัน มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมที่ถาวรใหแ้ กผ่ ู้เรยี น การเรียนรู้เกดิ ขน้ึ โดยตัวผูเ้ รียนเอง ครเู ป็นแตเ่ พียงผู้ท่จี ะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายและรวดเรว็ ขน้ึ เท่าน้ัน การเรยี นการสอนจงึ เป็นกจิ กรรมสว่ นหน่งึ ในกระบวนการทางการศึกษาในการสร้างประสบการณก์ ารเรยี นรใู้ หแ้ กผ่ ูเ้ รียน ให้มีสมรรถนะเพียงพอที่จะประกอบอาชพี ในอนาคตได้

► บทท่ี 10 รูปแบบและเทคนคิ วิธีการเรยี นการสอน 77กระบวนการในการเรียนรู้ คนเราจะเรียนรไู้ ด้ก็ต่อเมื่อ ผู้น้ันมีความสนใจที่จะรู้สนใจที่จะแก้ปัญหา ซ่ึงในกระบวนการนี้เองเป็นเหตุ ใหเ้ ขาตอ้ งศึกษาหาข้อมูล หาวิธีการว่าจะแก้ปัญหาน้ันอย่างไร และต้องมีโอกาสท่ีจะทดลองฝึกหัดหรือ นาข้อมูลข่าวสารที่ได้รับนั้นไปใช้แก้ปัญหาดู หากพิสูจน์ทราบได้ว่าสามารถทาได้แก้ปัญหาได้ เขาก็จะ เกดิ การเรียนรู้ถึงวิธีการในการแก้ปัญหานน้ัขั้นสนใจปญั หา ขั้นศึกษาข้อมลู ขั้นพยายาม ขั้นสาเร็จผลภาพที่ 10-2 ขัน้ ตอนต่าง ๆ ในกระบวนการการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนนี้ รู้จักกันทั่วไปว่ากระบวนการ MIAP ซ่ึงประกอบด้วยขั้นสนใจปัญหา(M : Motivation) ข้ันศึกษาข้อมูล (I : Information) ข้ันพยายามฝึกหัด (A : Application) และข้ันสาเรจ็ ผล (P : Progress) เพ่ือทีจ่ ะไดท้ ราบว่าผลจากขั้นพยายามปจั จัยทเ่ี ก่ียวข้องกบั การจัดการเรยี นการสอน ในการจัดการเรียนการสอน (อาจพูดส้ัน ๆ ว่าในการสอน) แต่ละคร้ังน้ัน มีปัจจัยหลายอย่างท่ีจะต้อง พจิ ารณาถึง เชน่ วตั ถุประสงค์การสอน เนือ้ หาวิชา พื้นฐานผู้เรียน จานวนผู้เรียน เวลาท่ีมีในการสอน ส่งิ อานวยความสะดวกต่าง ๆ หรือแม้แตข่ ดี ความสามารถของครูผู้สอนเอง เนื้อหาวิชา วตั ถุประสงค์ ขีดความสามารถพน้ื ฐานผูเ้ รยี น การสอน ของครผู ู้สอน สงิ่ อานวย การเรียนการสอน ความสะดวก จานวนผู้เรยี น เวลาทใี่ ชส้ อนภาพท่ี 10-3 ปัจจัยต่าง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งกับการเตรยี มการเรียนการสอนผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 10 รูปแบบและเทคนคิ วธิ ีการเรียนการสอน 78วตั ถปุ ระสงคก์ บั การเรียนการสอน วัตถุประสงค์การสอนท่ชี ดั เจน เปน็ ตัวแนะนาให้ผู้สอนได้ทราบขอบเขตของเนื้อหาว่าจะสอนแค่ไหนและ จะมเี กณฑใ์ นการวัดผลอย่างไร นอกจากน้ัน ก็ยังใช้เป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการพิจารณาเพ่ือจัดกิจกรรม การเรียนการสอนได้อีกส่วนหน่ึง กล่าวคือ การพิจารณาจากพฤติกรรมท่ีคาดหวังจากวัตถุประสงค์ เชน่ ถ้าหากตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนจาแนกหัวเทยี นทดี่ ีออกจากหัวเทียนท่ีกาหนดใหไ้ ด้อยา่ งถกู ต้อง การเรียน การสอนรูปแบบการบรรยายให้ผู้เรียนฟังเพียงอย่างเดียวคงไม่ได้ จะต้องมีการลงมือฝึกหัดตรวจสอบ กนั อย่างจรงิ จังให้เกิดการเรียนรู้ว่าหัวเทียนทดี่ ีและไมด่ ีน้ันแตกตา่ งกันอย่างไร หรือถา้ หากวัตถุประสงคต์ ้องการให้ผู้เรยี นสามารถวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความโตของ ดอกสว่าน ความเรว็ ตัดและความเรว็ รอบในงานเจาะ ก็คงจะต้องมีการคานวณหรือพิสูจน์ทราบกันจริง เพ่ือให้ได้คาตอบทช่ี ดั เจน มใิ ชแ่ ค่เพียงการบรรยายหรือเล่าใหฟ้ ังเฉย ๆเนือ้ หาวชิ ากบั การเรียนการสอน เน้ือหาวิชาในการเรียนการสอนน้ัน มีความสาคัญและความจาเป็นในการเรียนการสอนท่ีแตกต่างกัน เน่ืองจากเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละคร้ังมีอย่างจากัด ดังน้ัน การได้วิเคราะห์ถึง ความสาคัญและจาเป็นของเนื้อหาในการสอน ว่าเน้ือหาวิชาส่วนไหนเป็นส่วนท่ีต้องรู้ (Must Know) ควรรู้ (Should Know) หรือนา่ จะรู้ (Could Know) จะชว่ ยใหก้ ารให้เนอ้ื หามีเป้าหมายชดั ขึน้ จากนั้น จึงพจิ ารณาหรือวเิ คราะหว์ ่า (1) เนื้อหาดังกล่าวน้ัน เป็นเน้ือหาเก่าท่ีเคยเรียนมาแล้ว หรือเป็นเนื้อหาใหม่ที่ยังไม่เคยศึกษามาก่อน และ (2) เนื้อหาน้ันมีความยากมากน้อยเพียงใด การสอน เน้ือหาที่ยากย่อมตอ้ งการการแยกย่อย เพ่ือทาความเข้าใจองคป์ ระกอบแต่ละสว่ นตามลาดบั ทีจ่ ดั เรียงไว้ อย่างเหมาะสม โดยทงั้ นีอ้ าจสง่ ผลถึงระยะเวลาในการให้เนื้อหาที่เพม่ิ มากข้นึ ดว้ ยพ้ืนฐานผูเ้ รยี นกบั การเรยี นการสอน การเรียนรูจ้ ะเกดิ แกผ่ ู้เรยี นได้งา่ ยขน้ึ หากส่ิงทจ่ี ะเรยี นรูใ้ หม่น้ันสอดคล้องหรือต่อเนื่องจากประสบการณ์ เดิมซ่ึงผู้เรียนมีอยู่แล้ว ดังนั้น การพิจารณาเพื่อจัดเตรียมบทเรียนให้สอดคล้องกับพื้นฐานความรู้และ ประสบการณเ์ ดมิ ของผู้เรยี น จงึ มคี วามสาคญั ยิ่งท่ผี สู้ อนจะต้องพจิ ารณา การวัดผลก่อนเรียนทราบว่าผู้เรียนมีพ้ืนความรู้หรือประสบการณ์เพียงใด ควรที่จะเริ่มต้น บทเรียนที่ส่วนไหน หรือควรที่จะจัดให้มีการเรียนซ่อมเสริมก่อนที่จะเรียนรายวิชาใหม่ แต่ในทางปฏิบัติ อาจมีข้อจากัดค่อนข้างมาก ดังน้ัน ครูผู้สอนอาจหาข้อมูลความรู้พ้ืนฐานและ/หรือประสบการณ์ของ ผู้เรียนจากรายวิชาที่เก่ียวข้องซ่ึงได้เรียนมาก่อนหน้าน้ีก็ได้ อย่างไรก็ดี ในการจัดการเรียนการสอนใน บทเรยี นแรก ๆ ครูผสู้ อนอาจจดั ให้มกี ารสอบย่อย ๆ เพอ่ื ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือสร้าง กจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่ือใหส้ ามารถปรบั แต่งการเรียนรู้ของผเู้ รยี นกไ็ ด้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 10 รูปแบบและเทคนคิ วิธีการเรียนการสอน 79จานวนผู้เรียนในการเรียนการสอน จานวนผู้เรียน ส่งผลโดยตรงต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กล่าวคือ จานวนผู้เรียนที่มากย่อม ต้องการวัสดุอุปกรณ์ในการเรียนจานวนมาก การปรับแต่งทาความเข้าใจในเน้ือหาอาจทาได้ไม่ท่ัวถึง กิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจัดไว้ผู้เรียนส่วนใหญ่อาจไม่ได้ปฏิบัติหรือทดลอง ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่าน้ันจะส่งผลต่อ การเรียนรู้ของผู้เรยี นทั้งส้ิน นอกจากน้ี จานวนผู้เรยี นยังเป็นตวั กาหนดวิธกี ารสอนอีกดว้ ย กล่าวคือ แม้จะได้วิเคราะห์และ สรปุ วา่ วธิ ีการสอนแบบถามตอบ เหมาะสมท่ีสุดสาหรับวัตถุประสงค์และเน้ือหานั้น หากแต่ในชั้นเรียนมี นักศึกษาจานวนมาก วธิ กี ารสอนแบบถามตอบก็อาจไมส่ ามารถทาได้ เพราะต้องใช้เวลาในการปรับแต่ง อยู่ตลอดเวลา ส่ิงที่เป็นไปได้ก็อาจต้องใช้วิธีการสอนแบบบรรยายแทน ฉะน้ัน ในการเตรียมการเรียน การสอนครผู ู้สอนจึงจาเปน็ ที่จะต้องทราบจานวนของผู้เรยี นในชั้นเรียนนั้นด้วยเวลาในการเรยี นการสอน โดยปกตเิ วลาในการจดั การเรียนการสอน จะถูกประมาณและกาหนดเอาไว้แล้วโดยหลักสูตรรายวิชาน้ัน ว่าจะต้องสอนกคี่ าบตอ่ สัปดาห์ ระยะเวลาทีก่ าหนดไวค้ รผู ู้สอนอาจต้องนามาพิจารณาว่า ในช่วงเวลาใด จะจดั กจิ กรรมอะไร ใช้เวลาเทา่ ไร จึงจะเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด น่ันก็คือ ก่อนการสอนจะต้อง มีการเตรยี มแผนการสอนหรือแผนบทเรียนเอาไวล้ ่วงหน้า อยา่ งไรกต็ าม การจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน เวลาที่ใช้ปฏิบัติการจริงกับเวลาท่ีวางแผน เอาไว้อาจไม่ตรงกันทีเดียว ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ประสบการณ์ในการสอนแต่ละปีกับผู้เรียน แตล่ ะร่นุ จะชว่ ยใหค้ รูผสู้ อนพจิ ารณากาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้เหมาะสม มากย่งิ ขนึ้ นอกจากนัน้ เวลาในการเรยี นการสอนยงั เป็นปัจจัยอนั หนงึ่ ทจี่ ะตอ้ งพิจารณาในการปรับปรุง ปรมิ าณเนอื้ หาในหลักสตู รรายวิชาสงิ่ อานวยความสะดวกในการเรยี นการสอน ต้องยอมรับว่าส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น เครื่องมืออุปกรณ์ในการเตรียมบทเรียน เครื่องมือ หรืออปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นระหว่างการเรยี นการสอน ฯลฯ ส่งผลอย่างมากต่อการจัดการเรียนการสอนของครู และการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรับเนื้อหาท่ียากและสลับซับซ้อน การมีสื่อการสอน หรืออุปกรณ์ชว่ ยสอนทีด่ ี จะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้งา่ ยและรวดเรว็ ข้ึน อย่างไรก็ดี สิ่งอานวยความสะดวกในการเรยี นการสอนมิไดห้ มายเฉพาะส่ือการสอน เครื่องมือ อุปกรณ์หรอื เคร่อื งจกั รกลเทา่ นั้น แต่ยงั รวมถงึ สภาพท่ัวไปของสิ่งตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วข้องด้วย เช่น ลักษณะ การจดั ห้องเรียน ปริมาณแสงสวา่ ง การถ่ายเทอากาศ อุณหภูมิภายในห้องเรียน ความสะอาด เป็นต้น ซง่ึ สงิ่ ต่าง ๆ ดงั กลา่ วนอกจากจะช่วยในการเรยี นรู้แลว้ ยังจะเพมิ่ บรรยากาศในการเรียนรู้อกี ด้วยผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทท่ี 10 รปู แบบและเทคนคิ วธิ ีการเรียนการสอน 80ความสามารถของครผู ้สู อน ปัจจยั ท่ีสาคัญยิง่ และมบี ทบาทอย่างมากในการจดั การเรียนการสอน ก็คือ ความสามารถหรือสมรรถนะ ในการสอนของครผู สู้ อนนัน่ เอง แม้การวเิ คราะห์จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนจะออกมาว่า วิธีการสอน รูปแบบนี้ดี แต่หากครูไม่มีขีดความสามารถท่ีจะปฏิบัติการได้ ก็ย่อมไม่เกิดผลดีแต่ประการใด ดังนั้น ครูผสู้ อนจะตอ้ งศกึ ษาทาความเขา้ ใจและสร้างประสบการณ์ในการสอนดว้ ยวธิ ีตา่ ง ๆ ให้หลากหลายวธิ กี ารสอน (หรอื วิธสี อน) วธิ ีการสอน (หรอื วธิ สี อน) อาจแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ลกั ษณะตามกจิ กรรมครูผู้สอนและผู้เรยี น ดงั น้ี ครู สอน นักศึกษา : บรรยาย ครู ร่วม นักศึกษา : ถาม-ตอบ ถกปญั หา ครู เตรียมให้ นักศึกษา : ศึกษาดว้ ยตนเอง ภาพที่ 10-4 วธิ ีการสอนแบ่งตามกจิ กรรมของครผู สู้ อนและผ้เู รยี นวธิ สี อนแบบบรรยาย (Lecture) ภาพท่ี 10-5 การจดั การเรยี นการสอนดว้ ยวธิ ีสอนแบบบรรยายวิธีสอนแบบบรรยาย เป็นวิธีการสอนรูปแบบการสื่อสารทางเดียว (One way Communication)โดยกิจกรรมท้ังหมดหรือส่วนใหญ่อยู่ที่ครูผู้สอน สามารถจัดการสอนได้ทั้งกลุ่มขนาดเล็กและกลุ่มใหญ่สาหรับเนือ้ หาท่ีตอ้ งการใหจ้ ดจาหรอื เขา้ ใจ การปรับแตง่ ผูเ้ รียนทาไดน้ อ้ ยในการสอนโดยวธิ ีน้ีผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 10 รูปแบบและเทคนิควิธีการเรียนการสอน 81วธิ สี อนแบบถามตอบ (Questioning) ภาพท่ี 10-6 การจัดการเรียนการสอนดว้ ยวธิ ีสอนแบบถามตอบ วิธีสอนแบบถามตอบ เป็นการส่ือสารแบบสองทางระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน จึงสามารถตรวจปรับ ความเขา้ ใจได้ตลอดเวลา หลักสาคัญของการสอนวธิ ีน้ีอยู่ที่การคิดค้นและสรุปเน้ือหาด้วยตัวผู้เรียนเอง จึงเป็นภาระที่หนักมากในการเตรียมการสอนของครู ทีส่ าคญั ครผู สู้ อนด้วยวธิ ีน้จี ะตอ้ งมีประสบการณ์ใน การสอนมามากพอสมควร จงึ จะทาให้การสอนดาเนินการไปอยา่ งต่อเนื่องและมปี ระสทิ ธิภาพการศึกษาดว้ ยตนเอง (Self Study) ภาพที่ 10-7 การจดั การเรียนการสอนดว้ ยวิธกี ารศกึ ษาด้วยตนเองการให้ผูเ้ รียนศกึ ษาดว้ ยตนเอง มใิ ช่เป็นการอา่ นเนื้อหาจากหนังสอื หรอื ตารา แต่เป็นการศึกษาจากสื่อท่ีเหมาะสมกับเนื้อหาเร่ืองนั้น ๆ ซึ่งสื่อดังกล่าวจะต้องได้รับการพัฒนามาเป็นอย่างดี ได้พิสูจน์แล้วว่ามีคุณภาพและมีประสิทธิภาพที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง อย่างไรก็ดี จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับผู้เรียนด้วย เพราะนกั เรียนไทยมไิ ด้ถกู ฝึกมาให้เคยชนิ กบั การศกึ ษารปู แบบน้ีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค

► บทท่ี 10 รูปแบบและเทคนิควิธีการเรียนการสอน 82สรปุ บทเรยี น 1. การเรียนการสอน เป็นกิจกรรมที่จัดข้ึนเพ่ือสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยที่การ เรียนรู้ดังกลา่ วเกิดข้ึนโดยตัวผู้เรียนเอง ครูผู้สอนเป็นแต่เพียงผู้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่าย ข้ึนและเรว็ ขึ้นเทา่ นัน้ 2. การเรียนรู้ เป็นกระบวนการในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบุคคล ผู้ที่จะเรียนรู้จะต้องมีความสนใจ (M : Motivation) แสวงหาข้อมูลในเรื่องท่ีสนใจน้ัน (I : Information) ทั้งต้องมีการทดลองใช้ ข้อมูลท่ีได้ไปแก้ปัญหา (A : Application) และต้องทราบว่าได้ผลเป็นอย่างไร (P : Progress) จึง จะเกิดการเรยี นรู้ได้ 3. มีปัจจัยหลายอย่างที่จะต้องคานึงถึงในการจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เกิดการ เรียนรู้ เช่น วัตถุประสงค์การสอน ลักษณะของเนื้อหา พื้นฐานความรู้ของผู้เรียน จานวนผู้เรียน เวลาท่ีใช้ในการสอน สิ่งอานวยความสะดวกและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม รวมถึงขีด ความสามารถของครูผูส้ อนในการปฏบิ ตั ิการสอนด้วยวิธีสอนรูปแบบตา่ ง ๆ 4. วธิ สี อนมีหลายรูปแบบ หากจะพิจารณาจากกิจกรรมครูและผู้เรียน อาจแบ่งออกได้เป็น 3 รูปแบบ หลัก ๆ คือ รูปแบบท่ีกิจกรรมอยู่ท่ีครูผู้สอนเป็นหลัก ได้แก่ วิธีสอนแบบบรรยายซ่ึงเป็นวิธีท่ีใช้กัน มาโดยตลอด รูปแบบที่ครูผู้สอนและผู้เรียนมีกิจกรรมร่วมกัน เช่น วิธีสอนแบบถามตอบ วิธีสอน แบบอภปิ ราย ฯลฯ และการเรยี นการสอนทีก่ ิจกรรมท้งั หมดอยู่ทผ่ี เู้ รียนเอง ก็คือ การศึกษาจากสื่อ สาเร็จรปู ทม่ี ีผพู้ ัฒนาเอาไวแ้ ลว้ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค

บทท่ีแกบารบสทรด้าสงใอบบงทาา้นยแบลทะเรียนเนื้อหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง ลักษณะสาคัญของใบงานหรือแบบฝึกหัด (Work Sheet หรือ Exercise)จุดประสงค์ในการใช้ใบงานในระหว่างการเรียนการสอน หลักการสร้างใบงานตามการแบ่งช่วงการสอนรปู แบบและลักษณะข้อคาถามที่ใช้ในใบงาน ข้อคานึงถึงในการสร้างและการใช้ใบงานตามวัตถุประสงค์ของการสร้างใบงาน ลักษณะของแบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น (Test Sheet)ลกั ษณะของใบงาน ใบงาน (Work Sheet) หรือแบบฝึกหัด (Exercise) จัดทาข้ึนเพื่อใช้ในระหว่างการเรียนการสอนใน ช่วงหนึ่ง ๆ ของบทเรียน ประกอบด้วยปัญหาหรือคาถามท่ีครอบคลุมเน้ือหาทั้งหมดตามวัตถุประสงค์ การสอนที่เพงิ่ จะศกึ ษาในช่วงการใหเ้ น้อื หา (Information) ที่ผ่านมา (M) (I) (A) (P)Motivation Information Application Progress (Work Sheet) 1 ชว่ ง บทเรยี นภาพท่ี 11-1 การใชใ้ บงาน (Work Sheet) ในขนั้ พยายาม (Application)

► บทที่ 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบท้ายบทเรียน 84จุดประสงค์การใชใ้ บงาน ใบงาน (หรือแบบฝึกหัด) เป็นเครื่องมือที่สร้างข้ึนเพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสตรวจสอบตนเองดูว่า Information ทไ่ี ด้รับไปน้ันเพียงพอหรอื ไม่ท่ีจะนาไปใช้แก้ปัญหา ครูผู้สอนเองก็สามารถใช้เป็นข้อมูลใน การปรับแตง่ การสอนของตนเองได้ ใบงานที่ 2วชิ า ทฤษฎชี า่ งเบอ้ื งตน้ เรื่อง คมตดั และสกดัชือ่ ................................ ช้ัน ปวช. ปที ี่ 11. จงตอบคาถามโดยเตมิ คาท่ีเหมาะสมลงในช่องวา่ งตอ่ ไปน้ี วสั ดุ : เหล็ก วสั ดุ : เหล็ก ใชส้ กดั ............ ใช้สกดั .............. มมี ุมลมิ่ ........... มีมุมลมิ่ ............. วสั ดุ : เหล็ก วัสดุ : เหลก็ ใช้สกดั .............. ใช้สกัด............ มมี ุมลมิ่ ............. มีมุมลมิ่ ........... วสั ดุ : เหลก็ วัสดุ : เหล็ก ใชส้ กดั .............. ใช้สกดั ............ มีมุมล่มิ ............. มีมุมล่ิม........... วัสดุ : เหล็ก ใช้สกัด.............. มมี ุมลิ่ม.............2. จงสเกต็ ภาพลาดับขน้ั ตอนการข้ึนรปู ชนิ้ งานข้างลา่ งด้วยการใชส้ กัด พร้อมทั้งบอกช่อื สกดั ทีใ่ ช้ในการทางาน ชิ้นงานท่ีเตรียม ช้นิ งานสาเรจ็ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบท้ายบทเรียน 85ช่วงบทเรียนและใบงาน เน่ืองจากใบงาน (หรอื แบบฝกึ หดั ) มไี วเ้ พือ่ ให้ผู้เรียนได้ตรวจสอบปริมาณเนื้อหาหรือความรู้ความเข้าใจ ในแต่ละช่วงของบทเรียน ดังนั้น หากมีการแบ่งบทเรียนออกเป็นหลายตอน (หลาย MIAP) ก็ควรจะมี ใบงานหลายใบสาหรับใชใ้ นแตล่ ะชว่ งการสอนนนั้ ตัวอยา่ ง บทเรียนซ่งึ จัดการเรยี นการสอน 150 นาที จดั แบง่ เป็น 3 ตอน (3 MIAP) (1) (2) (3)M1- I1 M2-I2 M3-I3A1-P1 A2-P2 A3-P3MAIP (1) MIAP (2) MIAP (3)เวลา (นาที) 50 100 150ภาพท่ี 11-2 การจัดการเรียนการสอนและการจัดแบ่งใบงานหลาย MIAPจากภาพท่ี 11-2 จะมีใบงาน 3 ใบ คือ ซ่ึงใช้ในช่วง A1 A2 และ A3 โดยที่ A1 จะวัดตามเน้ือหา I1A2 วัดตามเน้ือหา I2 ส่วน A3 วัดตามเน้ือหา I3 ซ่ึงการจัดทาใบงาน A1 A2 และ A3 ต้องจัดแยกเป็น 3 ชุด (อาจจะจัดทาชดุ ละ 1 แผน่ ) เพื่อความสะดวกในการแจกใหผ้ ู้เรยี นฝึกหดั ทารปู แบบของใบงานหรือแบบฝกึ หดั คงไม่มีกฎเกณฑ์ท่ีตายตัวว่ารูปแบบของใบงานจะต้องมีลักษณะอย่างไร แต่โดยจุดประสงค์แล้วใบงาน ในแตล่ ะช่วง ควรมีปัญหาหรอื ข้อคาถามให้ผเู้ รียนได้ฝกึ แก้ปญั หาให้ครอบคลุมเนื้อหามากท่ีสุด จึงควรท่ี ใช้ข้อคาถามท่ีมีความเป็นปรนัย อีกทั้งเวลาในขั้นสาเร็จผล (Progress) ที่มีค่อนข้างจะจากัด ดังน้ัน การใช้ข้อสอบปรนยั จึงเปน็ ข้อสอบหรอื ขอ้ คาถามที่เหมาะสมมากท่ีสดุปัญหาหรอื ข้อคาถามในใบงาน ในใบงานหนงึ่ ๆ อาจมีข้อสอบชนดิ เดียวหรอื หลาย ๆ ชนดิ รวมอยู่ดว้ ยก็ได้ หากแต่การวางรูปแบบควร คานงึ ถงึ ความสะดวกในการทา คอื การอา่ น การตอบคาถาม และการตรวจให้คะแนน จะต้องทาได้ง่าย เช่น การจัดชอ่ งใส่คาตอบไว้ในตาแหน่งหลงั ขอ้ คาถามแตล่ ะข้อ เปน็ แนวเดยี วกัน เปน็ ตน้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ

► บทท่ี 11 การสร้างใบงาน/แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน 86ตวั อยา่ ง ก. จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ คาตอบ 1) 3 + 4 - 5 = ? _____ 2) 3 + (4 –5) = ? _____ 3) 3 / 4 + 5 = ? _____ 4) 3 x 5 + 4 = ? _____(การตรวจคาตอบจะทาได้งา่ ย โดยครูอาจเตรียมกระดาษคาตอบไวต้ รวจล่วงหน้ากไ็ ด)้ชนิดของขอ้ สอบทใ่ี ช้ในใบงาน ใบงานทด่ี ี ควรมีจานวนข้อคาถามมากพอที่จะครอบคลุมเน้ือหาที่ให้ในขั้นการให้เน้ือหา (Information) และสามารถตรวจคาตอบได้อยา่ งรวดเร็วในข้ันสาเรจ็ ผล (Progress) จงึ ไมค่ วรใช้ข้อสอบอัตนัยท่ีต้องใช้ เวลามากในการทาและการตรวจให้คะแนน ดังนั้น ข้อสอบปรนัยทุกชนิดจึงเป็นทางเลือกท่ีนิยมใช้สร้าง ขอ้ คาถามในใบงาน เช่น 1. ข้อสอบแบบถูกผิด (True-False Item) 2. ข้อสอบแบบจบั คู่ (Matching Exercises) 3. ข้อสอบแบบเตมิ คา (Completion Item) 4. ข้อสอบแบบตอบสน้ั (Short Answer Item) 5. ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ (Multiple Choice Item)การสร้างขอ้ คาถามในใบงาน1. ขอ้ สอบแบบถกู ผดิให้ผเู้ รยี นพจิ ารณาวา่ ส่งิ นน้ั ถูกหรอื ผดิ ใช่หรอื ไม่ใช่ อาจวินจิ ฉยั ผลการเรียนรูข้ องผ้เู รยี นได้ยากรูปแบบ 1. ทาเครอ่ื งหมาย หรอื หนา้ ข้อความ _____ A. มุมคายมีดกลึงเป็น 0 คายเศษไดง้ า่ ย _____ B. หากมุมลม่ิ มีดมาก มุมคายจะน้อย _____ C. มุมหลบมีไวเ้ พื่อป้องกนั การสหี นา้ มีดรูปแบบ 2. ทาเคร่ืองหมาย ในช่องที่กาหนดให้ ถกู ผดิ A. มมุ คายมีดกลึงเป็น 0 คายเศษไดง้ า่ ย ( )( ) B. หากมุมลิ่มมีดมาก มุมคายจะนอ้ ย ( )( ) C. มุมหลบมีไวเ้ พอื่ ป้องกนั การสหี น้ามีด ( )( )ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ

► บทที่ 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบท้ายบทเรยี น 87ขอ้ ควรคานงึ ถงึ ในการใชข้ ้อสอบปรนัยแบบถูกผิด ก็คือ 1) จัดให้ทอ่ี ยขู่ องคาตอบ หรอื ในลกั ษณะสมุ่ 2) ให้มจี านวนขอ้ พอเหมาะ (ประมาณ 5-8 ขอ้ ต่อชดุ ) 3) ข้อความท้งั ประโยคคาถามตอ้ งถูกหรือผดิ เด่นชัด 4) ระวังอยา่ ให้ข้อความในประโยคคาถามชแี้ นะคาตอบ2. ข้อสอบแบบจบั คู่ใชว้ ัดความจาความเข้าใจเกี่ยวกับความสมั พันธ์ของ ของ 2 ส่งิ หรือสองกลมุ่ ที่มี Concept เดียวกันรูปแบบท่ี 1 มีคาถามและคาตอบท่ีเป็นข้อความ จงนาอกั ษรหน้าคาตอบจาก Column ขวามือ มาใส่หนา้ คาถาม Column ซา้ ยมือ คาถาม คาตอบ____1. ภาคเหนือ A. กรุงเทพมหานคร____2. ภาคกลาง B. ลาพูน____3. ภาคใต้ C. สุรินทร์____4. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื D. พทั ลงุ E. จนั ทบรุ ีรูปแบบท่ี 2 มคี าถามและคาตอบท่เี ปน็ ข้อความและภาพ (A) (B) (C)จงนาอักษรใต้ภาพเคร่ืองมือ มาใส่ในช่องวา่ งหน้าการใชง้ านแต่ละขอ้____1. สาหรบั ตดั ผ้าใบ____2. สาหรับตัดเหลก็ เสน้____3. สาหรบั ตัดแผน่ โลหะข้อควรคานึงถงึ ก็คอื ทั้งคาถามและคาตอบ ตอ้ งมี Concept หรือเรอ่ื งราวเดยี วกนั เท่าน้นั มฉิ ะนนั้ แล้วขอ้ สอบชนิดน้ีจะเปน็ ข้อสอบท่ีงา่ ยมากผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค

► บทท่ี 11 การสร้างใบงาน/แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน 883. ขอ้ สอบแบบเตมิ คาส่วนใหญ่จะใช้เพ่ือวัดความจาในเนื้อหาท่ีได้ศึกษาผ่านมา คาตอบท่ีใช้เติมจะต้องเป็นคาหรือข้อความท่ีสาคัญและมคี วามเปน็ ปรนยั (คืออ่านแลว้ เขา้ ใจได้ทันทีไม่ตอ้ งตคี วามอีก)รูปแบบ 1) สว่ นประกอบของวัตถปุ ระสงคเ์ ชิงพฤติกรรม คือ Task Condition และ___________________ 2) ส่วนประกอบของวตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ทจ่ี ะขาดเสียไม่ได้ คือ _______________________ 3) วัตถปุ ระสงค์ระดบั __________________ตอ้ งการให้ ผู้เรยี นแก้ปัญหาใหม่ ด้วยรปู แบบหรือวธิ กี ารใหม่ ๆ ควรเว้นช่องว่างสาหรับเติมคาตอบให้เหมาะสม คือ อาจจะเว้นช่องให้ยาวเท่า ๆ กันหรือใกล้เคียงกัน เพอ่ื ลดการเดาคาตอบ ทงั้ นใี้ นหน่งึ คาถามควรให้เติมเพียงแค่คาตอบเดียว โดยเว้นที่ตอนกลาง ๆ หรือ ท้ายประโยคให้เติมก็ได้ (ไมค่ วรเว้นชอ่ งวา่ งตอนเริ่มประโยคคาถาม)4. ข้อสอบแบบตอบสน้ั ใช้วัดความจาในเน้ือหาเป็นส่วนใหญ่ คาว่า “ตอบส้ัน” คาตอบอาจเป็นคาแค่คาเดียว ข้อความเดียว ประโยคส้นั ๆ หรือตวั เลขชดุ หนึ่ง ในทานองนี้ รูปแบบ 1) สว่ นประกอบของวัตถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมทีข่ าดไม่ได้คืออะไร ตอบ ……………………………………………………………………….……………… 2) นอกจาก Task และ Condition แลว้ สว่ นประกอบทีส่ ามคืออะไร ตอบ ……………………………………………………………….……………………… 3) วตั ถปุ ระสงคร์ ะดับใดเน้นการใหผ้ เู้ รยี น แกป้ ัญหาใหมด่ ว้ ยรปู แบบใหม่ๆ ตอบ ………………………………………………………….……………………………ข้อคานึงถึงในการเขียนคาถาม ก็คือ ข้อคาถามจะต้องชัดเจนมีความเป็นปรนัย (Objectivity) ให้ตอบดว้ ยคา ตวั เลข ขอ้ ความส้ัน ๆ เท่าน้นั ควรจดั ทีใ่ ห้ตอบหลงั ข้อคาถามทม่ี คี วามยาวใกล้เคียงกัน และให้อย่ใู นตาแหน่งทีส่ ามารถตรวจคาตอบไดง้ ่ายผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค

► บทท่ี 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบท้ายบทเรียน 895. ข้อสอบแบบเลอื กตอบข้อสอบชนิดน้ี นับว่าสามารถวัดความสามารถทางสติปัญญาได้ทุกระดับ และสามารถวินิจฉัยการตอบของผู้เรยี นไดด้ ว้ ยว่าถูกหรอื ผดิ เพราะเหตุใด จึงให้ความยุติธรรมและความเสมอภาคในการตอบคาถามหรอื การสอบไดส้ ูงสดุรปู แบบ1) มคี าตอบถูกแค่คาตอบเดยี ว (One Correct Answer)2) มคี าตอบท่ีถูกตอ้ งมากท่สี ุด (Best Answer)3) การถามลกั ษณะกลบั (Reverse Type)4) การหาความสัมพันธข์ องสง่ิ ท่ีกาหนด (Analogy Type)ขอ้ ควรคานงึ ถึง แมข้ อ้ สอบชนิดเลือกตอบจะเหมาะสมสาหรับใช้ในใบงาน แต่การออกข้อสอบและสร้างตัวเลอื กใหม้ ีคณุ ภาพทาได้คอ่ นข้างยาก ครูผู้สอนจะต้องฝึกหัดสร้างและวิเคราะห์ผลการใช้ในแต่ละครั้งเพือ่ ท่จี ะได้สรา้ งข้อสอบใหม้ ีคณุ ภาพเพ่มิ มากข้ึนในโอกาสต่อไปขอ้ คานงึ ถงึ ในการสรา้ งใบงาน ใบงานหรือแบบฝกึ หดั สาหรบั เนอ้ื หาในช่วงหน่ึงๆ จะต้องมีคาถามมากพอที่จะครอบคลุมเน้ือหาท้ังหมด และมีคาถามท่ีวัดได้หลายแง่หลายมุม มีความยากง่ายท่ีจะสะท้อนให้เห็นถึงการนาความรู้ไปแก้ปัญหา ในระดับตา่ ง ๆ ตามวัตถุประสงคก์ ารสอนได้ขอ้ คานึงถงึ ในการใชใ้ บงาน ใบงานหรือแบบฝึกหัด มีไว้เพ่ือผูเ้ รียนไดม้ ีโอกาสนาความรทู้ ี่ไดร้ ับไปฝึกหดั แกป้ ญั หา ซึง่ เป็นขั้นตอนหน่ึง ในกระบวนการเรียนรู้ หากแก้ปัญหาได้ก็จะเกิดการเรียนรู้ข้ึน จึงไม่ควรที่จะนาผลจากใบงานไปใช้เพ่ือ การประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิหรอื เปน็ คะแนนเก็บในการเรียน เพราะการใชใ้ บงานมิได้มีจดุ ประสงค์เช่นน้นัระวัง !! อยา่ นาคะแนนการทาแบบฝึกหัดจากใบงาน ไปใชเ้ พือ่ การ ประเมนิ ผลการเรยี นการสอน เพราะเปน็ ผลของการฝึกหดั ในขน้ั ตอนหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรู้ เท่าน้นัผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์  ยุทธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค

► บทที่ 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบท้ายบทเรียน 90ตวั อย่าง ใบงาน (Work Sheet) ใบงานท่ี 1วชิ า ทฤษฎชี า่ งเบอ้ื งต้น เรื่อง คมตดั และสกดัชื่อ ............................... ชนั้ ปวช. ปีที่ 11. จงบอกลักษณะงาน \"ตดั / ปาดผวิ \" ลงในช่องว่าง1) การตดั ดว้ ยกรรไกร เป็นงาน..................................................................2) การตดั ด้วยเล่อื ย เป็นงาน..................................................................3) การตดั งานดว้ ยสกัด เป็นงาน..................................................................2. มุมล่ิมใหญ่ใช้กับงานทเ่ี ป็นวสั ดุ \"อ่อน - แขง็ \"3. วัสดุออ่ นควรใช้เครือ่ งมอื ทีม่ ีมมุ ลิ่ม \"ใหญ่ - เลก็ \"4. จงสเกต็ ภาพ แนวการออกแรง มมุ ลิ่ม มมุ ฟรี และมุมคาย ลงในภาพข้างล่าง มุมลิ่ม (  ) มุมฟรี ( ) มุมคาย ( ) ทศิ ทาง ()5. มุมคายของคมตดั สกดั จะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับ \"วัสดงุ าน - วัสดมุ ีด\"6. สาหรับวสั ดเุ หนียวจะใชเ้ ครื่องมือตัดทีม่ ีมมุ คาย \"น้อย - มาก\"7. สาหรับวสั ดเุ ปราะจะใชเ้ ครอื่ งมือตดั ที่มีมุมคาย \"นอ้ ย - มาก\"8. อายุการใชง้ านของคมตัดจะยิง่ ยาว ถา้ หากว่า \"มุมคาย - มุมลิ่ม - มุมฟรี\" โตขน้ึ9. ในงานสกดั หากต้งั สกัดใหเ้ กดิ มมุ ฟรีมาก เศษสกัดจะ \"บาง - หนา\"10. ค่าของมมุ ฟรี ในขณะสกดั ชิ้นงานสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยการ.......…........11. ในการสกดั ถ้าเราเปล่ยี นแปลงค่ามุมหลบจะมผี ลทาให้คา่ ของมุม.....…........... เปลย่ี นแปลงไปดว้ ย คอื เม่ือมุมหลบเพิม่ ขนึ้ มุม.............……..........จะมีขนาด \"เพิม่ ขน้ึ - ลดลง\" ถ้ามมุ หลบลดลง มมุ ...……......จะมีขนาด \"เพิม่ ข้ึน - ลดลง\" เมอ่ื ใช้สกดั อนั เดยี วกนัผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบท้ายบทเรียน 91ลกั ษณะของแบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Test Sheet) จัดทาข้ึนเพ่ือใช้ประเมินผลการเรียนการสอนในครั้งหนึ่ง หรือ ในหน่วยหนง่ึ ๆ ประกอบดว้ ยปญั หาหรอื คาถาม ทค่ี รอบคลุมและวัดตรงตามวัตถุประสงค์การสอนของ หัวขอ้ เร่อื งท่จี ดั การเรียนการสอนในครั้งนัน้ หรอื ของหนว่ ยน้ัน ๆ เม่ือสน้ิ สุดการเรยี นการสอนแลว้1. การทดสอบท้ายบทเรยี นหลังการเรียนการสอนในคร้งั หนึ่ง ๆ MIAP-1 MIAP-2 Test Sheet(Objective 1-3) (Objective 4-5) (Obj. 1-5) 1 เร่อื ง (สอน 1 คร้ัง)ภาพที่ 11-3 การทดสอบท้ายบทเรยี นหลงั การเรียนการสอนในคร้งั หนง่ึ ๆ2. การทดสอบท้ายบทเรียนหลงั การเรียนการสอนในหนว่ ยหน่ึง ๆ สอนครง้ั ที่-1 สอนครง้ั ท่ี-2 Test Sheet(Objective 1-5) (Objective 6-9) (Obj. 1-9) 1 หนว่ ย (สอน 2 คร้งั )ภาพท่ี 11-4 การทดสอบทา้ ยบทเรียนหลังการเรียนการสอนในหนว่ ยหน่ึง ๆจดุ ประสงค์การใช้แบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Test Sheet) เป็นเครื่องมือท่ีสร้างข้ึนเพื่อใช้ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียนวา่ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์การสอนที่กาหนดไว้เพียงใด โดยนาคะแนนจากการทาแบบทดสอบ ท้ายบทเรียนของผู้เรียนทั้งกลุ่มมาคิดเป็นค่าเฉล่ียร้อยละ เทียบกับเกณฑ์เฉลี่ยที่กาหนดก็ได้ ครูผู้สอน สามารถใช้ผลการสอบนี้ เพ่ือการวินิจฉัยการจัดการเรียนการสอน ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือใช้ผล การสอบน้ีเพ่ือประเมินผลสัมฤทธ์ิในการเรียนอีกส่วนหน่ึง อย่างไรก็ดี อาจใช้แบบทดสอบท้ายบทเรียน สอบกอ่ นเรยี นและนาผลมาเปรียบเทียบดูความก้าวหน้าในการเรียนอีกทางหนึ่งก็ได้ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทที่ 11 การสรา้ งใบงาน/แบบทดสอบทา้ ยบทเรียน 92ตัวอยา่ ง แบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น เร่ือง คมตดั และสกัด ชน้ั ปวช. ปีท่ี 1 แบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น วิชา ทฤษฎีช่างเบ้อื งตน้ ชือ่ ..................................................... คาสงั่ จงเตมิ คาหรือขดี เส้นใต้ข้อความท่ีถูกตอ้ ง 1. จงบอกลักษณะงานที่ใชส้ กัด เพอ่ื \"ตดั - ถาก\" ลงในช่องวา่ งข้างลา่ ง --------------------- ---------------------2. จงบอกช่อื ของสกัดที่ใช้งานตามรูป ------------------------- ---------------------- ---------------------- ---------------------3. จงเลอื กเตมิ คาวา่ \"เหล็กเหนียว - อลูมเิ นยี ม\" และ \"ได้ดี - ไม่ดี\" ลงในช่องว่างขา้ งรูป สาหรบั โลหะชน้ิ งาน ต้านทานแรงทิ่มแทง4. จงบอกชื่อมุมต่าง ๆ ของสกัด มมุ A คือ ........................ มมุ C คอื .......................... มุม B คอื ........................ 3 มุมรวมกนั ............องศา5. มมุ ฟรีเปน็ สง่ิ ทจ่ี าเปน็ เพ่ือใชล้ ด..................................................ระหว่างคมตดั กบั ชิ้นงาน6. เศษโลหะจะหลุดจากผวิ งานได้งา่ ย ถ้าหากวา่ มุม........................ใหญ่7. อายกุ ารใชง้ านของสกดั จะมากขน้ึ ถา้ หากมุม....………...............โต8. อายกุ ารใช้งานของคมตดั หมายถงึ ชว่ งเวลาระหว่างการ..........เคร่อื งมือสองครัง้9. หากวางสกัดชันมากจะมีผลทาให้มุม...................เพ่ิมขึ้น และเศษทอี่ อกมาจะ \"บางลง - หนาขึ้น\"10. รปู ทางขวามือ แสดงถึงการใช้สกัดเพอ่ื \"ขัน - คลาย\" โดยวิธกี าร \"ผา่ นัต - หมุนนตั \" ออกจากช้ินงาน11. สกดั ท่ีหวั เยินเปน็ ดอกเห็ดตอ้ งเจยี รไนทง้ิ เพราะ ........................................................................................ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ

► บทท่ี 11 การสร้างใบงาน/แบบทดสอบทา้ ยบทเรยี น 93สรปุ บทเรยี น 1. ใบงาน (Work Sheet) หรอื แบบฝกึ หัด (Exercise) เป็นเครอื่ งมืออย่างหน่ึง สรา้ งขึ้นใหผ้ เู้ รียนได้ใช้ ในข้นั พยายาม เพื่อตรวจสอบดวู า่ ข้อมลู ท่ไี ดร้ ับเพียงพอที่จะใช้ในการแก้ปัญหาหรือไม่ ครูผู้สอนเอง ก็สามารถนาผลดังกล่าวมาปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนให้มีประสิทธภิ าพมากขึน้ 2. เน่ืองจากการจัดการเรียนการสอนจรงิ เราอาจแบ่งบทเรยี นออกเปน็ หลายช่วง (หรือหลาย MIAP) ดงั นั้น ใบงานหรอื แบบฝกึ หัด จึงต้องสร้างไว้หลายชุดเช่นเดียวกันเพอื่ ให้งา่ ยต่อการใช้ โดยที่ใบงาน แต่ละชุดมไี ว้สาหรับเนื้อหาในแต่ละชว่ ง (หรือแต่ละ MIAP) ที่สอดคลอ้ งกนั 3. เวลาในการทาใบงาน (Work Sheet) ในข้ันพยายาม การเฉลยในขั้นสาเร็จผล (Progress) ซึ่งเป็น ข้นั ตอนในกระบวนการเรยี นรู้มีค่อนข้างจากัด ดงั น้นั ไม่ว่าจะเปน็ การทาใบงานหรือเฉลยผลการทา ใบงาน จะต้องสามารถทาได้อย่างรวดเร็ว การใช้ข้อสอบชนิดปรนัยจึงเป็นทางเลือกที่นามาใช้ใน การสรา้ งใบงานหรือแบบฝกึ หัดท่ัวไป 4. นอกจากข้อคาถามในใบงานจะต้องครอบคลมุ เนอ้ื หาในช่วง MIAP นน้ั ๆ แล้ว ข้อคาถามควรจะมี ระดับความยากหลาย ๆ ระดบั เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกแก้ปัญหาที่หลากหลาย แทนท่ีจะเป็น การฟนื้ คนื ความรู้แต่เพยี งอย่างเดียว 5. ใบงานมีจุดประสงค์ในการสร้างเพื่อให้ผู้เรียนได้ทดลองใช้ความรู้ที่ได้รับไปฝึกหัดแก้ปัญหา ซ่ึงเป็น ขน้ั ตอนหนงึ่ ในกระบวนการเรยี นรเู้ ท่านั้น จงึ ไมค่ วรใช้ผลคะแนนจากการทาใบงานหรือแบบฝึกหัดน้ี เพอ่ื ประเมินผลการเรยี นของผเู้ รียน เพราะไมใ่ ชจ่ ุดประสงค์ของการใช้ใบงานแตอ่ ยา่ งใด 6. แบบทดสอบท้ายบทเรียน (Test Sheet) จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประเมินผลการเรียนการสอนในคร้ังหน่ึง หรอื ในหน่วยหน่ึง ๆ ด้วยปญั หาหรอื คาถาม ทคี่ รอบคลุมและวัดตรงตามวัตถุประสงค์การสอนของ หัวข้อเร่ืองหรือของหน่วยน้ัน ๆ เม่อื สิ้นสดุ การเรยี นการสอนแล้ว 7. แบบทดสอบท้ายบทเรยี น (Test Sheet) เป็นเครือ่ งมอื ท่ีสร้างข้นึ เพื่อใช้ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ของ ผเู้ รยี นว่าบรรลุผลตามวัตถุประสงค์การสอนที่กาหนดไว้เพียงใด ครูผู้สอนสามารถใช้ผลการสอบนี้ เพ่ือวินิจฉัยการจัดการเรียนการสอน การเรียนรู้ของผู้เรียน ใช้เพ่ือประเมินผลสัมฤทธิ์ในการเรียน หรอื จะเปรยี บเทียบความก้าวหนา้ กอ่ นและหลงั เรียนกไ็ ด้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์  ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook