Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนอุบัติเหตุหมู่ (6 กค 65)

แผนอุบัติเหตุหมู่ (6 กค 65)

Published by sadudee4, 2022-07-05 14:00:55

Description: แผนอุบัติเหตุหมู่ (6 กค 65)

Search

Read the Text Version

MASS CASUALTY

ก คํำนํำ แผนรบั อุบตั เิ หตุหมูโ่ รงพยาบาลตะกัว่ ป่า ประจาปี 2565 จดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นคมู่ อื ในการเตรียมความพร้อม ในการรบั อุบตั เิ หตุหมู่ หรือเจบ็ ปว่ ยฉกุ เฉินท่ีมผี ู้เจ็บป่วยจานวนมาก ซึง่ เปน็ เหตุการณท์ ีเ่ กิดขนึ้ โดยไมค่ าดหมาย เช่น การเกดิ อุบตั เิ หตุทางจราจร หรือ การเจ็บปว่ ยโดยอาการเดียวกนั พรอ้ มกนั เปน็ จานวนมาก ต้องใช้ระบบการ บริหารจดั การท่ดี ีในการรับกบั สถานกรณที วี่ นุ่ วายในการชว่ ยเหลอื ผูเ้ จ็บปว่ ย แผนรบั อุบัตเิ หตุหมู่โรงพยาบาลตะก่วั ปา่ ประจาปี 2565 ได้พัฒนานาเอาระบบ ICS (ระบบศูนย์บัญชาการ เหตกุ ารณ)์ ปรบั เขา้ กับบรบิ ทของโรงพยาบาล เพอื่ ให้เจา้ หนา้ ทโ่ี รงพยาบาลเขา้ ใจระบบงาน บทบาท หน้าทข่ี อง ตนเองในการ บริหารจัดการและใหบ้ รกิ ารผู้เจ็บปว่ ย สามารถประสานงานขอความสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆได้ อยา่ งเป็นระบบ มกี ารบริหารจัดการข้อมลู ทีด่ ใี นการประชาสัมพนั ธ์แก่ผรู้ บั บริการและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง ผู้จัดทาหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าแผนอบุ ัติเหตุหมูจ่ ะสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการบรหิ ารจัดการเมื่อเกิด สถานการณจ์ รงิ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ คณะผู้จัดทา

สำรบญั ข 1. วตั ถุประสงค์ 1 2. ขั้นตอนการเตรียมรับสถานการณ์ฉกุ เฉนิ หรืออบุ ตั ิเหตหุ มู่ 1 3. โครงสรา้ งระบบบัญชาการณเ์ หตกุ ารณ์ 8 4. สว่ นบัญชาการ (Command Section) 9 5. สว่ นปฏิบัติการ (Operation Section) 14 14 i. Prehospital phase 25 ii. Inhospital phase 35 6.กลุม่ ภาระกจิ สื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication) 37 7.หนว่ ยสนับสนนุ และกลุ่มภาระกิจการสารองวัสดเุ วชภัณฑแ์ ละส่งกาลังบารุง (Stockpiling and Logistics) 41 8.กลุ่มภาระกจิ การเงนิ และงบประมาณ (Finance & Administration) 9. ภาคผนวก

1 แผนรบั อบุ ตั เิ หตุและอุบตั ภิ ัยหมู่โรงพยำบำลตะก่วั ปำ่ (Revised Mass Casualty Incident Plan) (ฉบบั ปรับปรงุ ปี 2565) คํำจํำกดั ควำม อบุ ตั เิ หตุ หมายถึงเหตกุ ารณท์ เ่ี กิดข้นึ โดยไม่ได้คาดหมายมาก่อน อนั กอ่ ให้เกดิ การบาดเจบ็ การสูญเสยี ชีวติ และทรัพย์สิน ตลอดจนทรพั ยากรของชาติ สาเหตขุ องอุบตั ิเหตมุ าจากการจราจร, การทางานอุบัตเิ หตุ ภายในบา้ น, ในโรงงาน และในทส่ี าธารณะ และอุบัตเิ หตุท่พี บว่ามีอตั ราการเกิดสูง สุดคือ อบุ ตั เิ หตจุ าก การจราจรทางบก อบุ ตั ิเหตุหม่หู รอื อบุ ัติเหตกุ ลุ่มชน (Mass Casualty) หมายถงึ การบาดเจบ็ จาก อุบัติเหตคุ ราวเดยี ว กันเปน็ จานวนมากเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลที่จะใหก้ ารรักษาตามปกตไิ ด้ซ่งึ มีสาเหตมุ าจากภัย ธรรมชาติ,นา้ ทว่ ม, พาย,ุ ไฟไหม้ จากการกระทาของมนษุ ย์ เช่น ตึกถล่ม, รถชนกัน, ระเบดิ ฯลฯ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหม้ แี นวทางในการเตรยี มความพร้อมในการใหบ้ รกิ ารผูป้ ่วยอบุ ตั ิเหตุ อบุ ตั ิภัยหม่ไู ด้อย่างทั่วถึง และมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุด 2. เพื่อใหม้ ีความพร้อมด้านบุคคลากร สถานที่ เวชภณั ฑ์และอุปกรณ์ในการรักษาผปู้ ว่ ย/ผู้บาดเจ็บ 3. เพือ่ จัดรูปแบบการประสานงานท้ังภายในและภายนอกโรงพยาบาล เพ่ือให้การชว่ ยเหลือผปู้ ว่ ย/ผู้บาดเจ็บ ขัน้ ตอนกำรเตรยี มรับสถำนกำรณฉ์ กุ เฉนิ หรืออุบตั เิ หตหุ มู่ 1. กำรรบั แจ้งข่ำวอุบตั เิ หตหุ มู่ สามารถรับทราบข้อมลู เพื่อเตรยี มความพรอ้ มได้จาก 1.1 จากผนู้ าสง่ 1.2 จากผูป้ ว่ ยท่มี าคนแรก 1.3 จากเจา้ หน้าท่ตี ารวจ 1.4 จากผ้พู บเหน็ เหตุการณแ์ จ้ง การสอบถามรายละเอยี ดของสถานการณ์จากผนู้ าส่งหรือผู้แจ้งเหตุมีดังนี้ 1.1 สถานที่เกดิ เหตุ จุดสังเกตุทเี่ ห็นไดช้ ดั 1.2 สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุหมู่

2 1.3 จานวนผู้บาดเจบ็ โดยประมาณ กรณีทีม่ ี EMR (Emergency Medical Responder) ณ จดุ เกิดเหตุสามารถประเมนิ ไดว้ ่ามีผู้บาดเจ็บหนกั จานวนกีร่ าย 1.4 ความต้องการการช่วยเหลอื ตา่ งๆ เช่น การกู้ภยั (ปภ.,ดับเพลิง), การกู้ชีพ (หน่วยรกั ษาพยาบาล) 1.5 ช่อื ผู้แจ้งและหมายเลขโทรศัพท์ตดิ ต่อกลบั หรือชอ่ งทางการตดิ ตอ่ อ่นื ๆ 1.6 วิเคราะหแ์ ละตรวจสอบความนา่ เชื่อถอื ของข่าว หมายเหตุ : ผู้รับแจง้ ข่าว ได้แก่ ศนู ย์รบั แจ้งเหตุและสั่งการ (1669), แพทย์/พยาบาลหอ้ งฉกุ เฉนิ 2. กำรรำยงำนและแจ้งเหตตุ ำมลำํ ดบั ขัน้ ตอน ผ้รู ับแจง้ ขา่ วตอ้ งรายงาน ให้หัวหน้างานอบุ ัติเหตุและฉุกเฉนิ / หัวหน้าพยาบาล (ในเวลาราชการ) หรอื แพทย์เวรหอ้ งฉกุ เฉนิ /เวรตรวจการ(นอกเวลาราชการ)เพ่ือรายงานสถานการณ์แกผ่ อู้ านวยการ โรงพยาบาลหรือผู้รกั ษาการแทนผูอ้ านวยการทราบโดยด่วน เพ่อื ตัดสินใจประกาศใชแ้ ผนอบุ ัติเหตุหมตู่ อ่ ไป กรณีผบู้ าดเจ็บน้อยกว่า 10 คนแต่เป็นบุคคลสาคัญหรือมีชอ่ื เสยี ง เชน่ เช้ือพระวงศ์, นกั การเมือง, ผู้นา ศาสนา,ข้าราชการทม่ี ตี าแหนง่ สูงให้รายงานผ้อู านวยการโรงพยาบาลหรอื ผรู้ กั ษาการแทนผูอ้ านวยการทราบ เช่นกัน 3. กำรประกำศใชแ้ ผน ผู้อานวยการโรงพยาบาลหรอื ผู้รกั ษาการแทนผู้อานวยการจะเปน็ ผูส้ ง่ั การประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ โดยพยาบาลหวั หนา้ เวรห้องฉกุ เฉนิ จะแจง้ ไปยงั เจ้าหนา้ ทป่ี ระชาสัมพันธ์ (ในเวลาราชการ) ใหเ้ ป็นหน่วย ประกาศแผนยดึ หลักจานวนผู้บาดเจ็บ ดงั น้ี แผนที่ 1 ใช้รหัส ฉุกเฉิน.1 ใช้สาหรับอบุ ตั เิ หตุหมู่ที่มีผู้บาดเจบ็ ตง้ั แต่ 10 - 02 คน เกิดขน้ึ ระยะเวลาส้นั ๆ ไม่ ต่อเน่ือง ใชอ้ ัตรากาลังปกตขิ องเจา้ หน้าทีง่ านอุบัตเิ หตุและฉกุ เฉิน กาลงั สนบั สนนุ บุคลากรทางการพยาบาลจาก ตกึ ต่างๆ ภายใต้การบรหิ ารจัดการของหัวหนา้ พยาบาล (ในเวลาราชการ) และ เวรตรวจการ(นอกเวลาราชการ) แผนที่ 2 ใช้รหัส ฉุกเฉิน.2 ใช้สาหรบั อุบตั ิเหตุหมู่ขนาดใหญ่มผี บู้ าดเจ็บตัง้ แต่ 21 – 50 คน หรือมีผปู้ ่วยทตี่ ้อง ช่วยฟน้ื คนื ชีพ 5 คนขึน้ ไป เกิดข้ึนในระยะสัน้ ไมต่ อ่ เนื่องเกินกาลังปฏิบตั ิงานปกตขิ องเจา้ หน้าท่ี งานอบุ ัติเหตุ และฉุกเฉินต้องประกาศใชแ้ ผนรบั อบุ ตั เิ หตุหมู่ เพ่อื ขอความช่วยเหลอื จากเจา้ หน้าท่ี หนว่ ยงานอื่น ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง ในโรงพยาบาลตะกวั่ ป่า แผนที่ 3 รหสั ฉกุ เฉนิ .3 ใช้สาหรับอบุ ตั เิ หตุหมขู่ นาดใหญ่มาก มผี ้บู าดเจ็บ 50 คนขนึ้ ไป หรือคาดวา่ จะไมส่ นิ้ สดุ

3 มีลักษณะต่อเน่ืองจนตอ้ งขอความช่วยเหลอื จากโรงพยาบาลใกล้เคยี งโรงพยาบาลท่วั ไป โรงพยาบาลศนู ย์ ภายใต้การประสานงานของศนู ย์นเรนทรจงั หวดั พังงา แผน จํำนวนผ้ปู ว่ ย กำรประกำศแผน กำรขอควำมชว่ ยเหลอื ฉกุ เฉนิ 1 10 – 20 X กาลังปกตภิ ายในหอผู้ปว่ ย ฉกุ เฉนิ 2 21 – 50  ฉุกเฉนิ 3 มากกว่า 50  เกินกาลงั ปกติ นอกโรงพยาบาล ***หมายเหตุ*** นอกเวลาราชการให้พิจารณาสถานการณ์ในหอ้ งฉุกเฉินขณะนน้ั ร่วมดว้ ย โดยแม้ว่ามผี บู้ าดเจ็บนอ้ ยกวา่ 15 คน แต่ หากมขี อ้ ใดขอ้ หนึ่งดังต่อไปน้ีผู้อานวยการโรงพยาบาลหรอื ผูร้ กั ษาการแทนผ้อู านวยการสามารถสง่ั การ ประกาศ แผนอุบตั เิ หตหุ มไู่ ด้ 1. ในห้องฉกุ เฉินมผี ู้ปว่ ยประเภท ESI level 1 มากกวา่ 3 ราย 2. ในหอ้ งฉกุ เฉินมผี ู้ป่วยประเภท ESI level 1 และ 2 รวมมากกวา่ 5 ราย 4. กำรปฏบิ ัตกิ ำรเมอ่ื ประกำศใช้แผน 4.1 ในเวลำรำชกำร เจา้ หน้าท่ปี ระชาสัมพนั ธจ์ ะใช้เสียงตามสายประกาศแผน โดยจะประกาศก็ต่อเมอ่ื เปน็ แผน 2 และแผน 3 - ประกาศแผน 2 ใช้รหัสวา่ “ฉกุ เฉิน 2 ” ประกาศ 3 คร้งั (คร้ังละ 2 รอบ) - ประกาศแผน 3 ใชร้ หัสว่า “ฉุกเฉิน 3 ” ประกาศ 3 ครง้ั (ครัง้ ละ 2 รอบ) 4.2 นอกเวลำรำชกำร พยาบาลห้องฉุกเฉนิ จะเปน็ คนประกาศเสยี งตามสายเพ่อื ประกาศแผนเช่นเดียวกบั เวลาราชการ และใช้รถพยาบาล 1 คนั ว่ิงวนในบริเวณบ้านพกั เจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาล 3 รอบพรอ้ มเปดิ ไซเรนเป็นสญั ญาณ และใหเ้ จ้าหนา้ ท่ี 4.3 ฝ่ำยสนบั สนนุ ปฏบิ ตั กิ ำร ต้องเตรียมความพร้อมหลังไดย้ ินรหัสประกาศใช้แผน ได้แก่ ห้องผา่ ตัด ธนาคารเลือด เอ็กซเรย์ หอผู้ป่วยตา่ งๆ ห้องยา ศูนยจ์ า่ ยกลาง ฝา่ ยซกั ฟอก ฝา่ ยสนบั สนนุ รถโรงครวั และหนว่ ยงานอ่นื ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง ต้อง เตรียมพร้อมและรอฟงั คาส่งั จากกองอานวยการในการปฏิบตั ิหน้าทตี่ ่อไปหน่วยงานใดที่ตอ้ งรายงานตัวให้ลงมา

4 รายงานตวั ณ จดุ รายงานตัว (Staging &registration area) ลานโคง้ อเนกประสงค์ ขา้ งหน่วยงานอุบัตเิ หตุ – ฉกุ เฉิน 4.4 กำรปฏิบตั หิ นำ้ ที่ เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลตะกวั่ ปา่ ทกุ คนต้องปฏิบตั ิหน้าทีต่ ามที่ได้รับ มอบหมายต้งั แตป่ ระกาศแผนจนกวา่ จะมคี าส่ังประกาศยตุ ิแผนจากผอู้ านวยการโรงพยาบาลหรือผ้รู ักษาการแทน ผู้อานวยการเท่านนั้ 4.5 รำยงำนผรู้ บั ผิดชอบระดับสูง เชน่ ผวู้ ่าราชการจังหวัด, สานักงานสาธารณสุขจงั หวัด

5 แผนภูมิกำรประสำนงำนในเวลำรำชกำร อุบตั ิเหตุหมู่ อุบัตภิ ยั หรอื สาธารณภยั ผู้ปว่ ยมาเอง ญาตมิ าส่ง หนว่ ยอ่ืนแจ้งมาทาง เจา้ หน้าทีน่ าส่ง รพ คาพดู ./ วิทยุ รบั แจง้ เหตุ หวั หนา้ เวรพยาบาล ER และ แพทย์เวร แจง้ หัวหนา้ งานการพยาบาลอุบตั ิเหตุ และ แจ้งแพทย์หวั หน้ากลุม่ งานเวชศาสตร์ ฉุกเฉิน ฉุกเฉิน รายงานผู้อานวยการโรงพยาบาลตะกัว่ ป่า ประกาศใชแ้ ผนอบุ ตั ภิ ัยหมู่ หมายเหตุ - Operator ประกาศเสียงตามสายและให้รถพยาบาลวิ่งรอบโรงพยาบาล 2 รอบ - หากระบบประกาศเสยี งตามสายขัดขอ้ ง ให้ใชโ้ ทรศพั ทแ์ จง้ ไปยงั หอผู้ป่วยตา่ ง

6 แผนภูมิกำรประสำนงำนนอกเวลำรำชกำร อบุ ัติเหตุหมู่ อุบัตภิ ัยหรอื สาธารณภัย ผปู้ ว่ ยมาเอง ญาตมิ าสง่ หน่วยอ่นื แจง้ มาทาง รพ . เจ้าหน้าท่นี าส่ง คาพูด/วิทยุ รบั แจง้ เหตุ พยาบาลหัวหน้าเวร ER / แพทย์เวร ER แจ้งเวรตรวจการพยาบาล รายงานผูอ้ านวยการโรงพยาบาลตะก่ัวป่า ประกาศใช้แผนอุบัตภิ ยั หมู่ หมายเหตุ - กรณีที่ติดต่อผู้อานวยการโรงพยาบาลตะกั่วป่า ไม่ได้ภายใน 5 นาทีให้ รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ ประกาศใชแ้ ผน อุบัติภยั หมู่ไดแ้ ละรายงานผอู้ านวยการโรงพยาบาลภายหลงั - หากระบบประกาศเสยี งตามสายขัดขอ้ ง ให้ใชโ้ ทรศพั ท์แจง้ ไปยงั หอผูป้ ่วยตา่ ง ๆ - Operator ประกาศเสยี งตามสายและใหร้ ถพยาบาลวิง่ รอบโรงพยาบาล 2 รอบ

7 แผนภูมแิ สดงขนั้ ตอนกำรปฏิบตั ิงำนตำมแผนอุบตั เิ หตุหมู่ โรงพยำบำลตะก่ัวปำ่ สถำนทเ่ี กิดเหตุ ศูนยก์ ู้ชีพตะกว่ั ป่า ตรวจสอบ 1.รายงานหัวหน้าเวรหอ้ งฉุกเฉนิ โรงพยาบาล ออกปฏบิ ตั กิ ารท่ีเกดิ เหตุ /แพทยเ์ วรหอ้ งฉุกเฉิน ส่งั การ 0.รายงานผบู้ ังคับบญั ชา 3.ประกาศแผน 4.จดั ตั้งกองอานวยการ ในเวลา นอกเวลา 5.จดั บคุ ลากรเข้าประจาที่ - หวั หนา้ งานการพยาบาลอุบัติเหตุและฉกุ เฉนิ - หวั หน้ากล่มุ งานเวชศาสตร์ฉุกเฉนิ หรือ 6.คดั แยกประเภทผู้บาดเจบ็ - หวั หนา้ กลุ่มงานเวชศาสตร์ฉุกเฉนิ ผู้ได้รับมอบหมาย หวั หน้ากลมุ่ งานศลั ยศาสตร์ - รอง ผอ.กลมุ่ ภารกิจดา้ นการแพทย์ / - พยาบาลเวรตรวจการ ดา้ น การพยาบาลด้านการ /อานวยการ - เวรตรวจการบริหาร ฝ่ายบรหิ ารงานทวั่ ไป / - ผอ.รพ. / ผรู้ กั ษาการแทน - ผอผู้รกั ษาการแทน/ยาบาลโรงพ. ทุกหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งรายงาน ทกุ หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งรายงาน ผู้บังคบั บญั ชาของหน่วยงานตนเองทราบ 6.1 ผู้บาดเจบ็ 6.2 ผบู้ าดเจ็บ 6.3 ผูบ้ าดเจบ็ 6.4 ผบู้ าดเจ็บ กล่มุ สเี ขยี ว กลุม่ สีเหลือง กลมุ่ สีแดง กลุม่ สดี า 7.1จาหน่ายกลับบ้าน 7.0 รับรกั ษาใน รพ. 7.3 ส่งตอ่ 7.4 ส่งห้องศพ 7.5 ส่งนติ ิเวช 8.ประกำศส้ินสุด แผน

ผังโครงสรำ้ ง บัญชำกำรณ์ด้ำนกำรแพทย์และสำธำรณสุข โ Inter-agency Coordination Incident co นพ.สงกรำนต์ จันทร นางกานต์พิชชา เทพเสถยี ร (281-2792576) SAT : นพ. สมชาย บัวสด (281-8881305) Intra-agency Coordination พว. พัชรี จอมประสานเกยี รติ (291-8019332) พว.ชวลี ณ ตะกว่ั ทงุ่ (291-1545396) Liaison : พว.สุรนิ ทร์ พลันการ ( 286 - 8789714) PIO/Risk comuication : นางศวติ า แก้วเขยี ว (291-2344911) Law support & Enforcemen นายมรกต ใจหลัก (289-0888083) Operation : นพ.ประมติ ร ทงุ่ ปรอื (283-1832878) POE (ถำ้ มี) SRRT : นางราตรี อาจหาญ (287-8899726) นางราตรี อาจหาญ (287-8899726) Environment Team : น.ส. พมิ พช์ นก สงั กล่นิ (293-6212870) MCATT Team : พญ.อมรรัตน์ บางพเิ ชษฐ์ (286-5364077) Service B Medical Emergency Team : พญ. นพวรรณ แสงแกว้ (283-1684875) Communication Ser Out hospital นายคมสนั แตส่ กุล (289-875 Pre-hospital – ALS/BLS/FR Advance medical transport Medical Service Uni In-hospital / Case Management Red นางนนั ท์มนสั บุญโล่ง (293-3 Yellow กำรจดั กำรเตยี ง Patient registration Green Pharmacy Unit รักษำ Casualty Care Black Out patient นายพงศ์กฤษฏ์ เทยี นครบ (2 พว. สโรชินี In patient หมาดดา Labortory Unit (284-8428689) นายวรี ชาติ ผลรอ้ ย (261-479 OR ICU Radiology Unit WARD พญ.ธรี ารัตน์ ม่นั มณี (286-1 Medical Reccord Un นายบรบิ ูรณ์ เจนสมทร์ (293 Stretcher Unit พว.กมลพรรณ โลหกลุ (283

8 โรงพยำบำลตะกั่วปำ่ (Incident Command System : ICS) โรงพยำบำล ommander ร์มณุ ี (086-8942185) STAG : นพ. วุฒิ วโิ นทยั (281-677802) นพ. เฉลมิ ชัย ไพรคณะรตั น์ (281-6778931) Human resources : นพ. กชกร หะวารักษ์ (297-0242142) , พว. จรรยา กาญจนกุล (290-4498666) Medical specialist : นพ.ทวศี กั ดิ์ รักแตง่ าน (298-7412196) Document : วา่ ท่ี ร.ต. ศราวุธ คาอุดม 287-8843699 Safety : พว. ดารารตั น์ ตปิ ะยานนท์ (282-8918519) ,นางศาวิตา แกว้ เขียว (291-2344911) Logistics & Stockpilling Finance & Administration นายนยิ ม ภิรมจิตร์ (280-8264572) นางสริ พิ ร นวลศรี (286-0715343) Branch Support Branch Cost Unit rvice Unit Supplies นางวาสนา ชูมาก (281-9589335) 53736) นางจิราพร ศรีชมุ พว่ ง (283-3946669) Compensation Unit it Transpotation นางมโนพร สนธิเศวต (294-5371784) 3695990) นางศาวิตา แก้วเขยี ว (291-2344911) 281-7191451) Food Service Unit 90995) นางทพิ วรรณ เอยี บอวน (295-5815817) 1048105) Facilities nit น.ส. ภาวะดี ณ นคร (281-0719942) 3-5814849) Washing Unit นางศาวิตา แกว้ เขียว (291-2344911) 3-8166456)

9 ส่วนบญั ชำกำร Command Section : CS 1. ผู้บญั ชำกำรเหตุกำรณ์ (Incident commander ; IC) ผู้อานวยการโรงพยาบาล/ผู้รกั ษาการแทนผอู้ านวยการโรงพยาบาล หนำ้ ทีร่ ับผิดชอบ 1. รบั แจ้งจากหัวหนา้ งานอบุ ัตเิ หตแุ ละฉกุ เฉนิ /หวั หน้ากลมุ่ งานการพยาบาล (ในเวลาราชการ) หรือแพทย์เวรห้องฉุกเฉนิ / เวรตรวจการ (นอกเวลาราชการ) 2. สง่ั การประกาศแผนอุบัตเิ หตหุ มู่ โดยใหแ้ จง้ ไปยังเจ้าหนา้ ท่ปี ระชาสัมพันธ์ให้ประกาศแผนปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉนิ 2, 3 ผา่ น เสยี งตามสาย 3. รายงานตัวและประจาศูนย์บัญชาการ (Command post) ณ ห้องศูนยพ์ ่ึงได้ (OSCC) ทีห่ น่วยงานอุบัติเหตุ และฉกุ เฉิน / ห้องประชมุ นารายณ์ (ขึน้ อยกู่ ับแผนทีป่ ระกาศใช)้ 4. มอบหมายหน้าทแ่ี ละภาระกิจตามโครงสร้าง มอบเสื้อประจาตาแหนง่ เพื่อตดิ แสดงตน 5. รอรับขอ้ มลู รายงานจาก Liaison, SAT, STAG, Operation, Risk Communication, Case Management, POE, Stockpiliing and Logistics, กลุม่ ภาระกจิ กฎหมาย, กลุ่มภาระกิจกาลงั คน และ Finance 6. ประเมนิ สถานการณ์ ความตอ้ งการของทรพั ยากร การดาเนินงานจดั หาวิเคราะหป์ ญั หาท่ีเกดิ ขึน้ จัดการใหเ้ กดิ ระบบ ความปลอดภัย อนุมตั ิและรับรองการจดั หางบประมาณเพื่อการดาเนินงานและสง่ั การ ไปยังผ้ใู ต้บังคบั บัญชาตา่ งๆ ดงั นี้ Liaison, SAT, STAG, Operation, Risk Communication, Case Management, POE, Stockpiliing and Logistics, กลุ่มภาระกิจกฎหมาย, กลมุ่ ภาระกจิ กาลังคน และ Finance 7. รายงานเหตุการณ์แก่หน่วยงานระดบั สูง เชน่ ผวู้ า่ ราชการจังหวัด และประสานผ้สู อื่ ขา่ วร่วม กับ Risk Communication (หัวหนา้ ประชาสมั พนั ธ์) 8. ประกาศปิดแผนอุบัตเิ หตุหมู่ โดยแจง้ ไปยงั เจ้าหนา้ ทีป่ ระชาสัมพนั ธ์ (ในเวลาราชการ) และ นอกเวลาราชการแจ้ง พยาบาลหอ้ งฉุกเฉินให้ประกาศยุตแิ ผน ปฏบิ ัติการฉกุ เฉิน 2 หรือ 3 ผา่ นเสยี งตามสาย 2. หวั หน้ำกลุ่มภำระกจิ ยุทธศำสตรแ์ ละวิชำกำร (STAG) : หัวหนำ้ องคก์ รแพทย/์ หัวหนำ้ กล่มุ งำนกำรพยำบำล หนำ้ ทร่ี ับผิดชอบ 1. รับแจ้งจากประชาสมั พนั ธ์กรณปี ระกาศแผนอุบตั ิเหตหุ มู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนย์บญั ชาการ (Command post) ณ ห้องศนู ยพ์ ่งึ ได้ (OSCC)

10 3. เสนอกลยทุ ธ์ มาตรการ เปา้ หมายในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ แก่ผู้บญั ชาการเหตกุ ารณ์ 4. การจดั ทาแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan, IAP) 4. สนบั สนนุ ดา้ นวิชาการให้กบั ผ้ปู ฏบิ ัติงานในระบบบัญชาการณเ์ หตุการณ์ 5. ประเมนิ ผลการดาเนินงานตามกลยทุ ธ์ มาตรการ เปา้ หมาย เพ่อื ปรบั ปรุงกลยทุ ธ/์ มาตรการการให้ เหมาะสมตาม สถานการณ์ 6. จดั สรปุ บทเรียนการดาเนินงาน ( After Action Review, AAR) ในระยะฟ้นื ฟูหลังเกิดภาวะฉุกเฉนิ 3. กลมุ่ ภำระกิจตระหนักรแู้ ละประเมนิ สถำนกำรณ์ (SAT) หน้ำที่รบั ผดิ ชอบ 1. ติดตามเฝ้าระวัง ประเมนิ สถานการณ์ อยา่ งใกลช้ ดิ 2. ประสานเชอ่ื มโยงข้อมูลกับหน่วยงานตา่ งๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง 3. จดั ทาฐานข้อมูลใหพ้ ร้อมใช้ 4. กาหนดทางเลือกในการตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน ร่วมกบั ทมี ยทุ ธศาสตร์ 5. จัดทาสรปุ สถานการณ์ 4. เจำ้ หน้ำทีป่ ระสำนงำน (Liaison) : หวั หนำ้ งำนอบุ ตั เิ หตุและฉกุ เฉนิ หนำ้ ทร่ี บั ผิดชอบ 1. รับแจ้งจากประชาสัมพันธ์กรณีประกาศแผนอุบตั ิเหตุหมู่ 0. รายงานตวั และประจาศูนยบ์ ัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนยพ์ ึ่งได้ (OSCC) ทหี่ น่วยงานอบุ ตั เิ หตุ และฉุกเฉนิ 3. ประสานงานกับหวั หน้าหน่วยต่างๆ และรวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่าย เพอื่ รายงานต่อ IC 4. เป็นจุดตดิ ต่อประสานผแู้ ทนหนว่ ยงานท่ชี ่วยสนับสนุนการปฏบิ ัตกิ าร และตอบคาถามจากหนว่ ยงานสนบั สนนุ ภายนอก 5. ระบขุ ้อมูลหน่วยปฏบิ ตั แิ ละหนว่ ยสนับสนนุ ดังตอ่ ไปน้ี - รายชอ่ื ผูป้ ระสานงานของหนว่ ยงาน องคก์ ร - ความถี่คลื่นวิทยใุ นการส่อื สาร - หมายเลขโทรศัพท์ - ขอ้ ตกลงระหวา่ งหน่วยงาน

11 - ประเภทและจานวนทรัพยากร (อยู่ในสว่ นวางแผน) - จานวนบคุ ลากรทเ่ี ขา้ มาปฏิบัตงิ าน (อยู่ในส่วนสนับสนุน) - รายละเอียดของอุปกรณ์ เวชภัณฑ์และเครื่องมอื ต่างๆ (อยู่ในสว่ นสนบั สนนุ ) - ขอ้ จากัดและขีดความสามารถของหน่วยงาน (อยใู่ นสว่ นวางแผน) - จานวนทมี สว่ นปฏิบัติการทุกทมี (อยใู่ นส่วนปฏบิ ตั ิการ) 5. กลุม่ ภำรกจิ กำํ ลังคน (Human Resources) : หวั หนำ้ กลุ่มงำนอำยรุ กรรม และ หัวหน้ำกลมุ่ กำรพยำบำล หน้ำที่รบั ผดิ ชอบ 1. รบั แจง้ จากประชาสมั พันธ์กรณีประกาศแผนอุบัติเหตุหมู่ 0. รายงานตวั และประจาศูนยบ์ ญั ชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พึง่ ได้ (OSCC) ที่หน่วยงานอบุ ัติเหตุและฉุกเฉิน 3. จดั ทาฐานขอ้ มลู กาลังคน พรอ้ มระบุสมรรถนะให้เปน็ ปัจจบุ ัน 4. จัดหากาลังคนเขา้ ทางานตอบโต้ภาวะฉุกเฉนิ ตามที่ผูบ้ ัญชาการเหตุการณก์ าหนด 5. จดั ทาแผนพฒั นากาลังคน และมีระบบกากับตดิ ตามประเมินผล 6. จดั ทาแผนบริหารความตอ่ เนอื่ งของภารกจิ องคก์ รดา้ นสารองกาลังคน 7. จัดทา พฒั นาและประเมินระบบการสรา้ งแรงจูงใจ 8. กาหนดตวั ชว้ี ัดรว่ มของแต่ละกลุ่มงานเพอื่ ให้เกดิ การทางานอย่างบรู ณาการ 6. กลมุ่ ภำระกจิ กฎหมำย หน้ำทีร่ บั ผิดชอบ 1. รบั แจง้ จากประชาสมั พันธ์กรณปี ระกาศแผนอบุ ตั ิเหตหุ มู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนยบ์ ัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนยพ์ งึ่ ได้ (OSCC) ท่ีหน่วยงานอบุ ัติเหตุและฉกุ เฉนิ 3. ทบทวน รวบรวม วเิ คราะห์พรอ้ มจัดทาฐานข้อมลู เก่ยี วกบั กฎหมายที่มคี วามเกี่ยวข้องภารกจิ ของกระทรวง สาธารณสุขเช่อื มโยงกับพระราชบัตญิ ัติปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 0552 เพอื่ การปฏิบัตขิ องศนู ย์ปฏบิ ัติการ ภาวะฉุกเฉนิ และตอบโต้ภาวะฉกุ เฉนิ อ่ืน 4. สอ่ื สารและถ่ายทอดกฎหมายที่เกย่ี วข้องใหผ้ ู้ปฏิบัตงิ านเขา้ ใจและปฏบิ ตั ไิ ด้ถกู ตอ้ ง 5.ประเมนิ ผลกระทบของกฎหมายทีบ่ ังคบั ใช้ 6.ช่วยจดั ทาคารอ้ งเพ่อื ดาเนินการตามกฏหมาย

12 7. กลุ่มภำระกจิ สอื่ สำรควำมเสีย่ ง (Risk Communication) : หวั หนำ้ ประชำสัมพันธ์ หนำ้ ทร่ี ับผดิ ชอบ 1. รบั แจ้งจากประชาสัมพันธก์ รณปี ระกาศแผนอุบตั ิเหตหุ มู่ 0. รายงานตัวและประจาศนู ยบ์ ัญชาการ (Command post) ณ หอ้ งศนู ยพ์ ง่ึ ได้ (OSCC) ที่หน่วยงาน อบุ ตั เิ หตแุ ละฉกุ เฉิน 3. บรหิ ารจัดการสอ่ื ต่างๆ 4. จดั เตรียมข่าวสารสาหรบั เผยแพร่ต่อสือ่ มวลชนและสาธารณชน 5. รับฟังสรุปเหตุการณแ์ ละรว่ มวางแผนกับทมี บริหารสถานการณ์ฉกุ เฉนิ 6. จดั ทาสรปุ ขา่ วหรอื บอร์ดแสดงขา่ วสารเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์เป็นระยะๆ 7. ประสานและขออนมุ ัติจาก IC ก่อนเผยแพร่ขา่ วสาร 8. ต้อนรับ ดแู ลอานวยความสะดวกแกผ่ บู้ รหิ ารระดบั สงู หรือหนว่ ยงานต่างๆ ท่มี าตรวจเยี่ยม 8. กลุ่มภำระกจิ ปฏบิ ัติกำร (Operation) : รองผ้อู ำํ นวยกำรฝำ่ ยกำรแพทย์ หน้ำทีร่ บั ผดิ ชอบ 1. รบั แจ้งจากประชาสมั พนั ธก์ รณปี ระกาศแผนอบุ ัตเิ หตุหมู่ 2. รายงานตัวและประจาศูนย์บญั ชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พึ่งได้ (OSCC) ทห่ี นว่ ยงาน อบุ ตั ิเหตแุ ละฉุกเฉิน 3. ปฏบิ ัตกิ ารในภารกจิ ท่ีไดร้ บั มอบหมายจาก IC ดาเนนิ งานตาม Incident Action Plan (IAP) 4. ประสานงานและสนบั สนุนการดาเนินงานด้านปฏบิ ัตกิ ารทง้ั นอกและในโรงพยาบาล (Pre-hospital phase, In-hospital phase) รายละเอียดอยใู่ น Operation section 5. ประเมินสถานการณ์ความพรอ้ ม และทบทวนแนวทางปฏบิ ัติการ 6. รายงานสถานการณ์ด้านการปฏิบตั ิการและเหตกุ ารณต์ ่อทีมผ้บู รหิ ารสถานการณ์ฉุกเฉิน 9. หัวหนำ้ ส่วนสนบั สนุน (Stockpiliing and Logistics) : รองผอู้ ํำนวยกำรฝำ่ ยบรหิ ำร หนำ้ ที่รบั ผิดชอบ 1. รบั แจ้งจากประชาสัมพันธ์กรณปี ระกาศแผนอุบตั ิเหตหุ มู่ 0. รายงานตัวและประจาศนู ย์บญั ชาการ (Command post) ณ หอ้ งศูนย์พงึ่ ได้ (OSCC ) ที่หน่วยงานอุบัตเิ หตแุ ละฉกุ เฉิน

13 3. จัดเตรยี มและสนับสนุนการสื่อสารตามแผนปฏิบตั ิการของหนว่ ยงาน 4. สนับสนนุ อาหารนา้ ด่ืมแกท่ มี ตา่ งๆทปี่ ฏิบัติงาน 5. จดั บริการการแพทยส์ าหรบั เจา้ หน้าทีท่ ี่ปฏิบตั งิ าน 6. จัดเตรยี มสถานทท่ี ี่จาเปน็ ในการปฏิบัติการ 7. สนับสนุนวัสดุ อปุ กรณ์ และเวชภณั ฑต์ า่ งๆ ใหแ้ ก่ทมี ทป่ี ฏิบัตกิ าร 8. สนับสนุนยานพาหนะในการปฏิบัติงาน 10. หวั หนำ้ กล่มุ ภำระกจิ กำรเงินและงบประมำณ (Finance/administration) : หวั หนำ้ ฝำ่ ยกำรเงนิ และงบประมำณ หน้ำทีร่ บั ผดิ ชอบ 1. รับแจ้งจากประชาสัมพันธ์กรณปี ระกาศแผนอบุ ัตเิ หตหุ มู่ 2. รายงานตวั และประจาศนู ยบ์ ัญชาการ (Command post) ณ ห้องศนู ย์พึ่งได้ (OSCC) ท่ีหนว่ ยงานอบุ ัติเหตแุ ละฉกุ เฉิน 3. ควบคุมการใชจ้ า่ ยงบประมาณ แนวทางการเบิกจา่ ยและงานการเงนิ อืน่ ๆ 4. การจดั ซอ้ื จดั จ้าง 5. การเรียกเกบ็ คา่ ชดเชยและสินไหมต่างๆ 6. การเก็บรักษาและการส่งคืนทรพั ยส์ มบตั ิของผบู้ าดเจ็บ

14 กลุ่มภำระกจิ ปฏบิ ัตกิ ำร (Operation) ขอบเขตของงำนและหน้ำทรี่ ับผิดชอบ 1. ผบู้ ังคับบญั ชำของกลุ่มภำระกิจปฏิบตั กิ ำร (Operation) คอื Incident commander 2. ผใู้ ต้บังคับบัญชำของหวั หน้ำสว่ นปฏิบตั กิ ำร (Operation) คือ ทมี ประสานงานการรกั ษาพยาบาล แบง่ เปน็ 2 สว่ น ดังนี้ - Pre-hospital phase - In-hospital phase 3. กำรปฏิบตั กิ ำรส่วนนอกโรงพยำบำล (Pre-hosital Phase) - ศนู ยน์ เรนทร (Narenthorn EMS Center) : - รบั แจ้งเหตุทาง 1669 - วิเคราะหว์ า่ เป็น Mass Casualty Incident (MCI) - ศนู ย์สั่งการรายงานสถานการณ์ Mass Casualty Incident (MCI มายังศูนยว์ ิทยโุ รงพยาบาลตะกัว่ ปา่ - ส่ังการปลอ่ ยรถ ALS 1 (ภายใน 2 นาท)ี พร้อมอปุ กรณเ์ ตรียมรบั อบุ ัตเิ หตหุ มตู่ ามแผนการจดั การอบุ ตั ิเหตหุ มู่ - รับรายงาน METHANE จากหนว่ ย ALS 1 และประสานงานเป็นระยะๆ - ถา้ มีจานวนผู้บาดเจ็บถงึ เกณฑ์ท่ตี ้องใช้ ALS คันท่ี 2 ให้ปลอ่ ยรถ ALS 2 ตามแผนการ จดั การอุบตั ิเหตุหมู่ - ประสานหนว่ ยงานอืน่ ๆ ได้แก่ โรงพยาบาลชุมชนใกล้เคยี ง โรงพยาบาลเอกชน เป็นตน้ เพ่ือสอบถาม Surge capacity และขอความชว่ ยเหลอื ออกเหตรุ ่วม และประสานกบั หนว่ ยงาน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย, มลู นธิ ติ ่างๆ, ตารวจและหน่วยงานดับเพลงิ (ซึ่งข้นึ อยกู่ ับสถานการณ์ นนั้ ๆ) - ประสานงานกับทมี ALS1, ALS2 และทีมปฏิบตั ิการร่วมจากรพช.อ่นื ๆ เพ่ือรายงาน สถานการณ์ และร้องขอ สนับสนนุ ทรพั ยากรเพ่มิ ตามความเหมาะสม

15 แผนกำรจดั กำรอบุ ตั เิ หตหุ มู่ กำรปฏบิ ัตกิ ำรส่วนนอกโรงพยำบำล (Pre-hosital Phase) อบุ ัติเหตุ ผ้บู ำดเจบ็ จํำนวน 10-20 คน แผนฉกุ เฉนิ 1 หน่วยรถพยำบำล Ambulance คันท่ี 1 (ALS 1) : จํำนวน 10-20 คน บุคคลากร จานวน หน้าท่ี 1. แพทย์ EP / แพทย์เวร ER 1 Field medical commander 2. พยาบาล ER 2 Laison / Treatment 2. เวชกิจฉกุ เฉนิ ระดบั กลาง (AEMT) 1 Triage/Treatment 3.พนกั งานเปล 1 Communication/Loading 4.พนักงานขับรถ 1 Lift & Move อปุ กรณ์รักษาพยาบาล (เพม่ิ เติมจากอปุ กรณห์ ลักใน ALS 1) - Mobile BP monitoring 1 เคร่ือง อปุ กรณ์ MCI 6 เสือ้ แสดงตาแหน่งหนา้ ที่ (แจกกอ่ นออกรถ) 1 - แพทย์ EP / แพทย์เวร ER : Field medical commander 1 - RN 1 : Liaison 1 - RN 2 : Treatment 1 - AEMT : Loading 1 - พนกั งานเปล : เส้ือขาวแดง นเรนทร 1 - พนกั งานขบั รถ : เส้อื ขาวแดง นเรนทร 1 - กล่อง Triage EMS (ผ้ายาง 4 สี, Triage Tag, หมวก) 3 - วทิ ยสุ ่อื สาร (Field medical commander, Treatment, Loading)

16 หนำ้ ท่ี - ทุกคนต้องมารายงานตัว ณ หอ้ งศูนย์ส่งั การ เพ่ือลงทะเบยี นและรบั เส้อื พรอ้ มเตรียมอุปกรณ์ เสรมิ อย่างเรง่ ด่วน ภายใน เวลา 2 นาที และ Start time ภายใน 3 นาที บคุ คลำกร หนำ้ ท่ี 1. แพทย์ EP / แพทย์เวร ER - เปน็ ผูบ้ ญั ชาการดา้ นการรกั ษาพยาบาล (Field medical commander) - รายงานตัวกับ Incident commander ณ จดุ เกิดเหตุ - มอบหมายหนา้ ทขี่ องแต่ละฝ่าย - ดูแลการปฏิบัตงิ านของแต่ละฝ่าย และจดั ต้ังจุด Triage (collecting area), Treatment area (Red / Yellow / Green & Black zone), Parking area (EMR ดูแล), Loading area) - สรปุ ขอ้ มูลสถานการณ์และผู้บาดเจบ็ หลังทาการ transfer ผู้บาดเจ็บครบ ทงั้ หมด - สรปุ รายงานสถานการณก์ บั Incident commander - ตรวจสอบทีมปฏบิ ัตกิ ารและความปลอดภัยของทมี 2. พยาบาล ER (-RN1) - รายงานตัวกับ Incident commander ณ จดุ เกดิ เหตุ - มอบหมายหน้าทขี่ องแต่ละฝ่าย - ดแู ลการปฏบิ ตั ิงานของแต่ละฝ่าย และจดั ตง้ั จุด Parking (ดาเนินงานโดย EMR), Loading - รายงานสถานการณ์กับศนู ยส์ ัง่ การตามหลกั (METHANE) และพิจารณาขอความ ช่วยเหลือสนบั สนนุ เพมิ่ เตมิ (อาจจะมอบหมายให้ AEMT รายงานและประสานแทนได้) - สรปุ ขอ้ มูลสถานการณแ์ ละผู้บาดเจ็บหลงั ทาการ transfer ผู้บาดเจบ็ ครบทง้ั หมด - สรุปรายงานสถานการณ์กบั Incident commander - ตรวจสอบทมี ปฏบิ ตั กิ ารและความปลอดภัยของทมี 3. เวชกิจฉุกเฉินระดบั กลาง - คดั แยกผบู้ าดเจ็บ ณ จดุ เกิดเหตุ (Triage sieve) (AEMT) - หลงั Triage sieve เสรจ็ ส้ิน ให้มารายงานข้อมูลแก่ Field medical commander ทราบ และยา้ ยไปประจาจดุ treatment สามารถให้การรกั ษา พยาบาลผบู้ าดเจบ็ ได้ตามศักยภาพท่ีมี - Triage Sort กอ่ น Loading - หากมปี ญั หา ณ จดุ เกดิ เหตุ ใหร้ ายงานกลบั มาท่ี Field medical commander

17 บุคคลำกร หน้ำที่ 4. พยาบาล ER (RN2) - ประจาจดุ Treatment 5. พนักงำนเปล - ประสานศนู ยส์ ั่งการเพ่อื ขอกาลังสนบั สนุนเพิ่มเติมตามความเหมาะสม - ทาหนา้ ที่ Loading : ประสานรถพยาบาลทเี่ หมาะสมกับผู้บาดเจ็บ 6. พนักงำนขบั รถ แต่ละประเภท (ตามใบTriage Tag) เพ่ือนาสง่ รพ.ทเ่ี หมาะสม - ยังคงประจาจุด Treatment & Loading เพื่อประสานงานตอ่ เนือ่ ง (กรณรี ถ ALS 1 transfer ผูบ้ าดเจ็บไปยังรพ.) - หากมปี ัญหา ณ จดุ เกิดเหตุ ให้รายงานกลบั มาที่ Field medical commander - ปูผ้ายางแยก Zon (สแี ดง เหลือง เขยี ว ดา) ตามคาสัง่ ของ Field medical commander - ประจาจดุ Treatment - ชว่ ยจัดเตรยี มอุปกรณแ์ ละใหก้ ารช่วยเหลอื เบือ้ งตน้ แกผ่ ้บู าดเจบ็ เช่น collar, spinal board, อปุ กรณ์ pressure dressing, splint - ชว่ ยยกเคลื่อนยา้ ยผูบ้ าดเจ็บขึ้นรถพยาบาล - จอดรถ ณ. จดุ ที่เหมาะสมและปลอดภยั เพื่อนาทมี ลงไปประเมินสถานการณ์ (30 ม.) - เคล่อื นรถมาจอด ณ. จุด Loading และกลบั รถพยาบาล โดยใหห้ ัวรถเตรียม เคลื่อนทีอ่ อกจากจดุ เกิดเหตุ เพือ่ ใหส้ ะดวกในการ transfer ผ้บู าดเจบ็ ไปยงั รพ. - ชว่ ยยกเคล่ือนย้ายผูบ้ าดเจบ็ ขึน้ รถพยาบาล - นาสง่ ผูบ้ าดเจบ็ ไปยงั รพ. - หลัง ALS 1 นาสง่ ผบู้ าดเจบ็ เสรจ็ สิน้ ให้รถ ALS 1 กลบั ไปยังจดุ เกิดเหตุ เพือ่ รับ EMT-I และพนักงานเปลกลบั รพ. (กรณที ยี่ งั คงมที ีมเหลอื อยู่ ณ จุดเกดิ เหต)ุ ** กรณี Transfer ผปู้ ่วย ** - ALS 1 : RN และ AEMT transfer ผู้บาดเจ็บกลับรพ. - On scene care : AEMT (ศนู ยส์ ง่ั การ) และ พนกั งานเปล (ER) ดแู ลผบู้ าดเจ็บและรอประสาน ALS/BLS/FR ทีมอ่ืนสนบั สนนุ ตามความเหมาะสม

18 หน่วยรถพยำบำล Ambulance คนั ที่ 2 (ALS 2) บคุ คลากร จานวน หน้าที่ 1. แพทย์เวร ER (Intern) 1 Treatment 2. พยาบาลเวร Refer Day (ในเวลาราชการ) 2 Treatment / Lift & Move พยาบาลตกึ ผปู้ ่วยใน (นอกเวลาราชการ) **ภายใตก้ ารบริหารจดั การของเวรตรวจการ** 3. พนักงานเปล 1 Lift & Move 4.พนกั งานขบั รถ 1 Lift & Move อุปกรณร์ กั ษำพยำบำล (เพ่มิ เติม) 1 - Mobile BP monitoring 1 - กระเป๋า ALS 2 1 - กระเป๋าทาแผล 2 1 - ชดุ ยา Emergency - อุปกรณ์การดาม - อปุ กรณเ์ คลอ่ื นยา้ ย อุปกรณ์ MCI - ไม่มี หน้ำท่ี - ทุกคนตอ้ งมารายงานตัว ณ หอ้ งศนู ย์ส่งั การ เพ่ือลงทะเบียนและรับเส้อื พรอ้ มเตรยี มอปุ กรณ์ เสรมิ อย่างเร่งดว่ น ภายในเวลา 0 นาที และ Start time ภายใน 3 นาที

19 - Ambulance คันท่ี 2 (ALS 2) - สนบั สนุน ALS 1 ทั้งอุปกรณ์และกาลังคน - Loading ผ้บู าดเจบ็ นาสง่ รพ. บุคคลำกร หนำ้ ที่ 1. แพทยเ์ วร ER - ดแู ลรกั ษาพยาบาลผูบ้ าดเจ็บ 2. พยาบาลเวร Refer Day (ในเวลาราชการ) - นาอปุ กรณส์ นับสนนุ ลงไปใหจ้ ุด treatment พยาบาลตกึ ผูป้ ว่ ยใน (นอกเวลาราชการ) 3. พนักงานเปล - ประจาจุด treatment เพื่อชว่ ยดูแลผ้ปู ่วย 4. พนกั งานขับรถ - ชว่ ยจดั เตรยี มอปุ กรณ์และให้การช่วยเหลอื เบ้ืองต้นแกผ่ ู้บาดเจ็บ ระหวา่ ง transfer - ช่วยยกเคลอ่ื นย้ายผบู้ าดเจบ็ ขน้ึ รถพยาบาล และนาส่งผู้บาดเจบ็ ไป กบั รถ ALS 2 - จอดรถ ณ จดุ parking เพือ่ รอจุด Loading (AEMT) ประสานใหม้ า Load ผู้บาดเจบ็ - ชว่ ยยกเคลอ่ื นยา้ ยผู้บาดเจบ็ ขึน้ รถพยาบาล - นาสง่ ผ้บู าดเจ็บไปยงั รพ. ** กรณี Transfer ผปู้ ว่ ย ** - ALS 2 : RN 1 และ พนกั งานเปล transfer ผู้บาดเจ็บกลบั รพ. - On scene care : RN 2 ดแู ลผู้บาดเจ็บ ณ จดุ เกิดเหตุ

20 อบุ ัติเหตุหมู่ ผู้บำดเจบ็ จํำนวนมำกกว่ำ 21 คน เป็นต้นไป ( แผนฉุกเฉนิ 2 และ 3) หนว่ ยรถพยำบำล Ambulance คนั ที่ 1 (ALS 1) : จำํ นวน 7 คน บุคคลากร จานวน หน้าที่ 1. แพทย์ EP 1 Field medical commander 2. แพทย์เวร ER 1 Treatment 3. พยาบาล ER ; RN1 2 Laison พยาบาล ER ; RN 2 Triage / Treatment 4. เวชกจิ ฉุกเฉนิ ระดับกลาง (EMT-I) 1 Triage/Loading 5.พนกั งานเปล (เวรเปล /EMT-B ) 1 Lift & Move 6.พนกั งานขับรถ 1 Lift & Move อปุ กรณ์รกั ษำพยำบำล (เพม่ิ เตมิ จำกอปุ กรณห์ ลกั ใน ALS 1) - Mobile BP moniotoring 1 เคร่ือง - NSS, Set IV 10 set (บรรจุในกระเป๋า/กล่อง) อปุ กรณ์ MCI (เพ่มิ เตมิ จำกอุปกรณ์หลกั ใน ALS 1) เส้อื แสดงตาแหนง่ หนา้ ที่ (แจกก่อนออกรถ) 7 ตัว - แพทย์ : Field medical commander 1 - แพทย์ : Treatment 1 - พยาบาล ER (RN1) : Triage/Communication 1 - พยาบาล ER (RN2) : Treatment 1 - AEMT : Loading 1 - พนกั งานเปล (ER) : เสือ้ ขาวแดง นเรนทร 1 - พนกั งานขับรถ : เสอ้ื ขาวแดง นเรนทร 1 กลอ่ ง Triage EMS (ผา้ ยาง 4 ส,ี Triage Tag, หมวก) 1 วทิ ยุสื่อสาร (Field medical commander, communication, Treatment (RN1), Loading)

21 หน้ำท่ี - ทุกคนต้องมารายงานตัว ณ ห้องศูนยส์ ่ังการ เพื่อลงทะเบยี นและรับเสือ้ พร้อมเตรียมอุปกรณ์ เสรมิ อย่างเร่งด่วน ภายใน เวลา 2 นาที และ Start time นอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั 3 นาที บุคคลำกร หนำ้ ท่ี 1. แพทยเ์ วร EP / Intern - เปน็ ผู้บัญชาการดา้ นการรักษาพยาบาล (Field medical commander) - รายงานตัวกบั Incident commander ณ จุดเกดิ เหตุ 2. แพทยเ์ วร ER (Intern) - มอบหมายหนา้ ท่ีของแตล่ ะฝา่ ย 3. พยำบำล ER (RN1) - ดแู ลการปฏบิ ตั งิ านของแต่ละฝ่าย และจดั ตั้งจดุ Triage (collecting area), Treatment area (Red / Yellow / Green & Black zone), Parking area (FR ดแู ล), Loading area) - สรปุ ขอ้ มลู สถานการณ์และผูบ้ าดเจ็บหลังทาการ transfer ผบู้ าดเจ็บครบท้ังหมด - สรปุ รายงานสถานการณ์กบั Incident commander - ตรวจสอบทีมปฏบิ ตั ิการและความปลอดภยั ของทมี - ประจาจุด Treatment (Red zone) พรอ้ มเตรียมอุปกรณ์และให้การรกั ษาแก่ แก่ผ้บู าดเจบ็ - Triage Sort ก่อน Loading และให้พยาบาลจุด treatment ประสานจดุ Loading เพื่อเตรียมนาผบู้ าดเจ็บส่งรพ.ตามความเรง่ ดว่ น - ทาหน้าท่ีเป็น communicator ประจาตาแหนง่ เลขาของ Field medical commander เพ่ือทาหนา้ ทป่ี ระสานงานกบั หนว่ ยงานอืน่ ๆ - รายงานสถานการณก์ ับศูนย์สง่ั การตามหลกั (METHANE) - ประสานศนู ย์ส่ังการเพ่อื ขอกาลงั สนบั สนุนเพมิ่ เตมิ ตามความเหมาะสม - บันทกึ ข้อมลู สถานการณแ์ ละรายงานแก่ Incident commander - ให้การรกั ษาพยาบาลแก่ผ้บู าดเจ็บ Red zone กอ่ น ตามลาดบั ความเร่งด่วน - หากมปี ัญหา ณ จดุ เกดิ เหตุ ใหร้ ายงานกลบั มาที่ Field medical commander

22 บุคคลำกร หน้ำท่ี 4. พยำบำล ER (RN2) - ประจาจุด Treatment (Red zone) พรอ้ มเตรยี มอุปกรณแ์ ละให้การรกั ษาแก่ผู้บาดเจบ็ - Triage Sort ก่อน Loading และประสานจุด Loadingเพ่อื เตรียมนาผบู้ าดเจ็บสง่ รพ. - ประสานกบั จดุ Loading เพื่อทาการ ransfer ผู้บาดเจ็บสแี ดงเคสแรก ไปยังรพ.ตะกั่ว ปา่ - นาสง่ ผบู้ าดเจบ็ โดยใช้รถ ALS 1 (มีพนกั งานเปลไปดว้ ย) 5. เวชกจิ ฉกุ เฉนิ ระดับกลำง - คดั แยกผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกดิ เหตุ (Triage sieve) (AEMT) - หลงั Triage sieve เสรจ็ ส้ิน ใหป้ ระจาจดุ Loading เพอ่ื ประสานรถพยาบาล ทีเ่ หมาะสมกับผบู้ าดเจบ็ แต่ละประเภท (ตามใบ Triage Tag) เพ่ือนาสง่ รพ.ท่เี หมาะสม - หากมปี ญั หา ณ จุดเกิดเหตุ ให้รายงานกลบั มาท่ี Field medical commander 6. พนกั งำนเปล - ปผู ้ายางแยก zone (สีแดง, สีเหลอื ง, สเี ขยี ว, สีดา) ตามคาส่งั ของ Field medical commander - ประจาจดุ Treatment – ชว่ ยจดั เตรียมอปุ กรณ์และใหก้ ารช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ผู้บาดเจบ็ เช่น collar, spinal board,อุปกรณ์ pressure dressing, splint - ชว่ ยยกเคลอื่ นย้ายผบู้ าดเจบ็ ขึ้นรถพยาบาล - นาส่งผู้บาดเจบ็ โดยใช้รถ ALS 1 พร้อม RN 2 7. พนกั งำนขบั รถ - จอดรถ ณ จดุ ทเี่ หมาะสมและปลอดภยั เพอื่ นาทมี ลงไปประเมินสถานการณ์ (30 ม.) - เคลื่อนรถมาจอด ณ จดุ Parking เพื่อเตรียมมา Loading ผู้บาดเจบ็ เมอื่ มกี าร รอ้ งขอรถ ALS - ชว่ ยยกเคล่ือนยา้ ยผบู้ าดเจ็บขึน้ รถพยาบาล - นาส่งผบู้ าดเจบ็ ไปยงั รพ. - หลงั ALS 1 นาส่งผู้บาดเจบ็ เสรจ็ สิ้น ใหร้ ถ ALS 1 กลบั ไปยังจดุ เกดิ เหตุ เพื่อรับผู้บาดเจ็บ ราย ต่อไป หรอื กรณีทีเ่ คลอ่ื นย้ายผู้บาดเจ็บส่งรพ.หมดแลว้ ให้ ALS1 กลบั มารบั ทีมทเี่ หลือ ณ จดุ เกดิ เหตุ ** กรณี Transfer ผู้ปว่ ย ** - ALS 1 : RN 2 และ พนักงานเปล (ER) transfer ผูบ้ าดเจ็บกลบั รพ.

23 - On scene care : แพทย์ประจาER, RN1, EMT-I และ EMT-B (ER) ดูแลผ้บู าดเจ็บและรอประสาน ALS/BLS/FR ทีม อ่นื สนับสนนุ ตามความเหมาะสม หน่วยรถพยำบำล Ambulance คันที่ 2 และ 3 (ALS 2,3) : จํำนวน 5 คน บคุ คลากร จานวน หน้าที่ 1. แพทย์เวร ER 1 Treatment 2. พยาบาลเวร Refer Day (ในเวลาราชการ) 2 Treatment / Lift & Move พยาบาลตกึ ผู้ปว่ ยใน (นอกเวลาราชการ) **ภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การของเวรตรวจการ** 3. พนกั งานเปล (ER) 1 Lift & Move 4.พนกั งานขับรถ 1 Lift & Move อุปกรณ์รักษำพยำบำล (เพ่มิ เตมิ จำกอุปกรณห์ ลกั ใน ALS 2,3) - กระเปา๋ ALS 2,3 1 - กระเปา๋ ทาแผล 2,3 1 - กลอ่ งยา CPR Box 1 - ชดุ อปุ กรณก์ ารดาม - ชดุ อปุ กรณเ์ คลอ่ื นย้าย อุปกรณ์ MCI เสอ้ื แสดงตาแหน่งหน้าที่ (แจกก่อนออกรถ) 4 - แพทย์เวร ER : Treatment 1 - RN – Refer Day 1/ Refer Day 2/ พยาบาลจากผู้ป่วยใน : Treatment 1 - พนกั งานเปล (ER) : เสือ้ ขาวแดง นเรนทร 1 - พนักงานขับรถ : เสอ้ื ขาวแดง นเรนทร 1 วทิ ยสุ ือ่ สาร (แพทยเ์ วร ER) 1 หน้ำท่ี - ทกุ คนต้องมารายงานตัวท่ี ER เพ่อื ลงทะเบยี นและรับเสอื้ อยา่ งเรง่ ด่วน Starttime (ระยะเวลาทรี่ ถ ALS 2 ออกรถจากศนู ย์สง่ั การ หลังจากวนรถรอบรพ.ครบ 2 รอบ) น้อยกวา่ หรือเท่ากบั 10 นาที

24 - ALS คันท่ี 2,3 : สนบั สนนุ ALS 1 ทงั้ อปุ กรณแ์ ละกาลงั คน : Loading ผู้บาดเจบ็ นาสง่ รพ. บคุ คลำกร หน้ำท่ี 1. พยำบำลเวรสง่ ต่อ คันที่ 2 - ประจาจุด treatment (Red zone / yellow zone) ซึ่งมแี พทย์ ER, พยาบาล (RN-Refer Day 1) ในเวลาราชการ RN1 อยกู่ อ่ นแล้ว ให้แยกกันดแู ลผูบ้ าดเจบ็ / พยาบาลผูป้ ่วยใน ; นอกเวลา - เมือ่ ทาการดแู ลรกั ษาเสรจ็ สิ้น ให้ Triage sort อีกครั้ง และวิทยุสอื่ สารประสาน ราชการ **ภายใต้การบริหาร Loading เพ่ือขอรถนาผบู้ าดเจบ็ ส่งรพ. จดั การของเวรตรวจการ - กรณีดูแลผู้บาดเจบ็ Red zone หมดทกุ คนแลว้ รอคาสง่ั จากแพทย์ EPหรือ แพทย์ เวร ER ใหR้ N-Refer Day 1 ยา้ ยไปประจาและดูแล รกั ษาพยาบาลที่ Yellow zone ตามความเหมาะสม - หากมปี ัญหา ณ จดุ เกิดเหตุ ใหร้ ายงานกลบั มาที่ Field medical commander 2. พยำบำลเวรส่งตอ่ คนั ที่ 3 - ไมต่ ้อง ประจาจดุ treatment (RN-Refer Day 2) ในเวลาราชการ - รอจดุ Loading ร้องขอเพ่ือทาการ ransfer ผบู้ าดเจ็บสีแดง ไปยงั รพ.ตะกว่ั ป่า /นอกเวลาราชการ; พยาบาลผ้ปู ่วย โดยใชร้ ถ ALS 2 (ปฏบิ ตั ิการพร้อมพนกั งานเปล) ใน **ภายใตก้ ารบรหิ ารจดั การของ - กรณี transfer ผบู้ าดเจบ็ สแี ดงหมดแล้ว ให้ transfer เคสสเี หลอื ง เป็นลาดบั ถัดไป เวรตรวจการ 3. พนกั งำนเปล (ER) - ช่วยนาอุปกรณส์ นับสนนุ ลงไป ณ จุดเกดิ เหตุ - ช่วยยกเคล่อื นยา้ ยผูบ้ าดเจ็บขึ้นรถพยาบาล ALS 2 /3 - นาสง่ และดูแลผบู้ าดเจ็บโดยใช้รถ ALS 2/3 ปฏบิ ัตกิ ารพรอ้ ม RN-Refer พนกั งาน ขบั รถ - จอดรถ ณ จดุ Loading เพ่ือนาทมี และอปุ กรณส์ นบั สนนุ ลง จากน้นั ใหร้ อ Loading ผู้บาดเจบ็ สแี ดงเพอ่ื นาส่งผูบ้ าดเจบ็ ไปยังรพ. - ช่วยยกเคลอื่ นย้ายผู้บาดเจ็บข้ึนรถพยาบาล - หลัง ALS 2 / 3 นาสง่ ผูบ้ าดเจบ็ เสรจ็ ส้ิน ให้รถ ALS 2 / 3 กลับไปยงั จุดเกดิ เหตุ ณ จุด parking เพอ่ื รอประสานจาก Loading ตอ่ ไป ** กรณี Transfer ผปู้ ่วย ** - ALS 2 / 3 : RN-Refer Day / พยาบาลจากผปู้ ว่ ยใน และ พนกั งานเปล (ER) transfer ผู้บาดเจบ็ กลบั รพ. - On scene care : แพทย์เวร ER , RN-Refer Day 1 ดูแลผูบ้ าดเจ็บ

25 4. กำรปฏบิ ตั กิ ำรสว่ นในโรงพยำบำล (In-hospital Phase) 4.1จดุ คดั กรอง -สถำนท่ี : หน้ำศนู ย์เปล ER - ผกู้ ากบั โซน : หวั หน้างานผ้ปู ่วยนอก / พยาบาลวชิ าชพี ER อปุ กรณ์ บคุ ลำกร หนำ้ ท่ี 1. บตั รประจาตัว ในเวลำ นอกเวลำ - หลังทราบการประกาศแผน ผู้ปว่ ย อุบตั เิ หตหุ มูใ่ หส้ ง่ ตัวแทนไปรายงาน 2. วิทยมุ ือถอื 1 1.แพทย์ Intern 1.แพทย์ Intern ตัว ณ จดุ รายงานตัว 1 คน พรอ้ มรับ เครื่อง ป้ายประจาตาแหนง่ 3. รถนั่ง,รถนอน ศัลยกรรม ศลั ยกรรม - รับวทิ ยสุ อ่ื สาร 1 เคร่อื ง และมอบให้ 4. เครื่องวัดความดนั หัวหน้าเวรห้องฉกุ เฉนิ พกประจาตัวไว้ โลหติ 2.พยาบาลวิชาชพี ER 2. พยาบาลเวรตรวจการ - กรณมี ี triage tag จากจุดเกดิ เหตุ 5. Stetsoscope 3.พยาบาล OPD 3. พยาบาลคดั กรอง สแี ดง : ไมต่ ้องคดั กรอง ให้สง่ ผ้ปู ว่ ย เขา้ ER ทันที ศลั ยกรรม 4. เจา้ หน้าที่เวชระเบยี น สีเหลอื ง : คดั กรองผปู้ ่วยกอ่ นเขา้ โซน 4.เจา้ หน้าที่เวชระเบยี น 5. พนกั งานเปล สีเหลอื งในห้องฉุกเฉนิ (Triage SORT) 5. พนักงานเปล สเี ขียว : ไม่ตอ้ งทาการคดั กรอง นาสง่ โซนสีเขยี วได้ - กรณีไม่มี triage tag จากจุดเกิดเหตุ : ใหท้ าการ triage SORT ก่อนนาส่ง ER - หลงั จากทาการคัดกรองผปู้ ่วย เรยี บร้อยแลว้ ให้ RN (ER) เข้าไปช่วยปฏิบตั งิ านในโซนแดง

26 จุดรักษา ตามประเภทผู้บาดเจบ็ โดยบ่งความรุนแรงเป็ น 4 ระดบั โดยกาหนดโซนสี ดงั นี้ 4.2 Resuscitation area (โซนผ้ปู ว่ ยฉุกเฉินวิกฤติ / โซนแดง) - สถานท่ี : ในหอ้ งฉุกเฉินโซนเเดง Zone C - ผู้กากับโซน : หวั หนา้ หอผปู้ ่วยหนกั / หัวหน้าเวร ER - ผู้กํำกบั โซนแดง - หลังทราบการประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมู่ให้ไปรายงานตัว ณ จดุ รายงานตวั พรอ้ มรับปา้ ยประจาตาแหน่ง - ผู้กากบั โซนแดงรับวทิ ยุสือ่ สาร 1 เคร่ือง - รับรายงานและแก้ไขปัญหาต่างๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปัญหาท่ีไมส่ ามารถแก้ไขไดไ้ ปยัง Operation section chief - รอฟงั คาส่งั จาก Operation section chief เพยี งคนเดยี วเทา่ นนั้ อุปกรณ์ บคุ ลำกร หนำ้ ที่ ในเวลำ นอกเวลำ - รายงานตัว ณ จุดรายงานตัว (ศาลา อเนกประสงค์ข้าง ER) พร้อมรบั ป้าย 1. รถ EmergencE 1.ศัลยแพทย์ 1.แพทยเ์ วรใน ประจาตาแหนง่ ศัลยกรรม / Intern - รับผปู้ ว่ ย ประเมิน คัดแยกผู้ป่วย, ซัก 2. อุปกรณใ์ ห้สารน้า, 2.อายรุ แพทย์ ศัลยกรรม ประวตั ิ,บนั ทกึ อาการ, บันทึกบาดแผล สารน้า 3.แพทย์ศลั ยกรรม 2.แพทย์เวรใน - ใหก้ ารรักษาพยาบาล 3.เครือ่ งมือทาหตั ถ กระดูก อายรุ กรรม / Intern - ประเมนิ สภาพผปู้ ว่ ย โดยวัด V/S, N/S การฉุกเฉนิ ต่างๆ 4.พยาบาล ER อายุรกรรม เป็นระยะ ลงบันทึก 4. เครอื่ งวัดความดัน 5.พยาบาลอายุรกรรม 3.แพทย์เวรศลั ยกรรม - ประสานงาน หอผปู้ ่วย, Admit, OR, โลหิต, หฟู ัง ไฟฉาย 6.วิสญั ญีพยาบาล กระดกู / Intern ICU, Refer, X-ray, Labs 5. ,retarillator 7.พยาบาล OR - ประสานงานกบั สิทธบิ ตั รกรณีต้อง ส่งตอ่ ไปนอก รพ. EKG 8.พยาบาลศลั ยกรรม ศลั ยกรรมกระดกู - ตรวจสอบบันทึกทางการรกั ษา, พยาบาล กอ่ นการส่งตอ่ ทงั้ ในและนอก รพ. 6. อปุ กรณใ์ ห้ 9.พยาบาล ICU 4.พยาบาล ER - บันทึกบาดแผล - บันทึกใบเฝา้ ระวังการบาดเจบ็ (IS) ออกซิเจน 10.เจา้ หน้าท่ี 5.พยาบาลอายรุ กรรม - เก็บรักษาทรพั ย์สนิ ผปู้ ว่ ยโดยเจ้าหนา้ ท่ี เก็บทรพั ยส์ ิน (ฝา่ ยการเงนิ )ประจาโซนแดง 7. ยาฉุกเฉนิ ต่าง ๆ เวชระเบยี น 6.วิสญั ญพี ยาบาล 8. เส้อื ผา้ ผ้ปู ่วย 11.เจ้าหน้าทกี่ ารเงิน 7.พยาบาล OR 9. ถงุ พลาสติกเก็บ 8.พยาบาลศลั ยกรรม ทรัพย์สนิ ผปู้ ่วย 9.พยาบาล ICU 10. ใบบันทกึ IS 10.เจ้าหนา้ ท่ี 11. กล้องถ่ายรูป เวชระเบียน 11.เจ้าหน้าทก่ี ารเงนิ

27 อุปกรณ์ บุคลำกร หนำ้ ท่ี ในเวลำ นอกเวลำ - ตรวจสอบบนั ทกึ การรักษากอ่ นจาหนา่ ย จากหอ้ งฉุกเฉนิ - ใหค้ าแนะนากอ่ นจาหนา่ ย - ติดตาม ดูแลขณะเคล่ือนยา้ ย ผู้ป่วยตามความจาเป็น - รายงานผกู้ ากบั โซนแดง ในกรณที ีม่ ีปญั หา (ผบู้ ังคบั บญั ชาเพยี งคนเดียวเทา่ นน้ั ) หมำยเหตุ : - พยาบาลหวั หนา้ เวร (Inchart) หนา้ ที่ และหากทมี สนับสนุนมีข้อสงสัย ให้แนะนารายละเอยี ด เกี่ยวกับตาแหน่ง สิ่งของ การประสานงานแผนกอน่ื ๆ ได้แก่ หอ้ งผา่ ตัด หอ้ งเลอื ด ห้องตรวจทางห้องปฏิบัติการ หอ้ งเอกซเรย์ หอผ้ปู ว่ ยเป็นต้น เปน็ ตน้ (แต่ทง้ั น้ีทมี ทม่ี าปฏบิ ตั กิ าร ณ โซนแดงควรจะทราบ ระบบงานอยกู่ อ่ นแล้ว เพือ่ ความสะดวก รวดเรว็ ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีเ่ พื่อ ตอบสนองต่อสถานการณอ์ ุบตั ิเหตุหมู่) 4.3 Urgent area (โซนผ้ปู ว่ ยเรง่ ดว่ น / โซนเหลอื ง) - สถานท่ี : ในห้องฉกุ เฉนิ โซนเหลอื ง Zone B - ผู้รับผดิ ชอบโซน : หัวหน้าหอผ้ปู ่วยศลั ยกรรม - ผู้กํำกับโซนเหลือง - หลงั ทราบการประกาศแผนอบุ ัตเิ หตุหม่ใู ห้ไปรายงานตวั ณ จุดรายงานตวั พร้อมรับปา้ ยประจาตาแหนง่ - ผู้กากบั โซนเหลอื งรับวทิ ยสุ ื่อสาร 1 เครือ่ ง - รับรายงานและแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปัญหาทีไ่ ม่สามารถแก้ไขไดไ้ ปยัง Operation section chief - รอฟงั คาส่ังจาก Operation section chiefเพียงคนเดียวเท่านนั้ อปุ กรณ์ บุคลำกร หน้ำที่ 1. รถทาแผล ในเวลำ นอกเวลำ 1. รับผูป้ ่วย คดั แยกผูป้ ว่ ย 2. ชดุ ทาแผล ซกั ประวัติ, บนั ทกึ อาการ-บาดแผล 10-20 ชดุ & 1. สตู -ิ นรแี พทย์ .1แพทยเ์ วรใน สูต-ิ นรเี วช 2. ให้การรักษาพยาบาล อุปกรณท์ าแผล 3. บันทกึ V/S, N/S 2.แพทย์ Intern สตู /ิ นรเี วช .0แพทย์ Intern สตู ชิ นรเี ว/ 3.จิตแพทย์ 3.จิตแพทย์ 4.แพทยศ์ ลั ยกรรมกระดกู 4.แพทย์เวรศัลยกรรมกระดกู 5. แพทย์ ENT 5. แพทยเ์ วร ENT

28 อุปกรณ์ บคุ ลำกร หน้ำที่ ในเวลำ นอกเวลำ 4.ให้คาแนะนาผู้ปว่ ยและญาตกิ ่อน จาหน่าย 3. อุปกรณก์ ารดาม 6.ศลั ยแพทย์ 6.พยาบาลตกึ พิเศษประชา 5. บันทกึ ใบเฝา้ ระวังการบาดเจบ็ (IS) 6.ตดิ ตามดูแลขณะเคลื่อนย้ายไป 4. นา้ เกลอื และ 7.พยาบาลตึกพเิ ศษประชา 7.พยาบาลสูตกิ รรม หอผู้ป่วยตามความจาเปน็ อปุ กรณใ์ ห้ IV 8.พยาบาลสตู ิกรรม 8.พยาบาลพเิ ศษชน้ั 5 5. ใบบนั ทึก IS 9.พยาบาลพเิ ศษชน้ั 5 9.เจ้าหนา้ ที่เวชระเบยี น 10.เจา้ หนา้ ทเี่ วชระเบียน 4.4 Non- urgent area (โซนผู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ ไมร่ ุนแรง/ โซนเขียว) - สถานที่ : หน้าห้องทันตกรรม - ผกู้ ากบั โซน : หวั หน้าหอผปู้ ว่ ยสตู -ิ นรีเวชกรรม - ผกู้ ํำกับโซนเขยี ว - หลังทราบการประกาศแผนอบุ ตั เิ หตุหมใู่ ห้ไปรายงานตัว ณ จดุ รายงานตัวพรอ้ มรบั ปา้ ยประจาตาแหน่ง - ผ้กู ากบั โซนเขยี วรับวทิ ยสุ ่ือสาร 1 เครอ่ื ง - รับรายงานและแกไ้ ขปัญหาต่างๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปญั หาท่ไี มส่ ามารถแกไ้ ขไดไ้ ปยัง Operation section chief - รอฟงั คาสงั่ จาก Operation section chief เพยี งคนเดยี วเทา่ น้นั อุปกรณ์ บุคลำกร หน้ำที่ 1. รถทาแผล ในเวลำ นอกเวลำ 1. รับผปู้ ่วย,คดั แยกผปู้ ว่ ย, ตรวจ 2. ชดุ ทาแผล ประเมินสภาพผปู้ ว่ ย,บนั ทึก 10-20 ชุด 1. กุมารแพทย์ 1.แพทยเ์ วรใน เดก็ ประวตั ิอาการบาดแผล 3. อุปกรณก์ ารดาม 2. ให้การรกั ษาพยาบาล 4. ใบบันทึก IS 2. จกั ษแุ พทย์ 2.แพทย์ Intern เดก็ 3. ให้คาแนะนาผปู้ ว่ ยกอ่ นจาหนา่ ย 4. บันทึกใบเฝา้ ระวังการบาดเจบ็ (IS) 3. ทนั ตแพทยแ์ ละ 3. แพทย์เวรในจกั ษุ ผ้ชู ่วยทนั ตแพทย์ 4.พยาบาลตึกเดก็ 4. พยาบาล ER 5.พยาบาลพิเศษสงฆ์ 5. พยาบาล OPD 6.เจา้ หน้าที่เวชระเบยี น 6. พยาบาล OPD ENT 7. พยาบาลจิตเวช 8.พยาบาลพิเศษสงฆ์ 9.พยาบาลตกึ เดก็ 10.นกั สงั คมสงเคราะห์ 11.เจา้ หน้าท่ีเวชระเบยี น

29 - รายงานผกู้ ากบั โซนเขยี ว (ผ้บู งั คบั บัญชาเพยี งคนเดยี วเทา่ น้นั ) ในกรณีท่มี ปี ัญหา - แยกยา้ ยกลบั เม่ือประกาศยุตแิ ผนอบุ ัตเิ หตหุ ม่เู ทา่ นน้ั 4.5 Moribund area (โซนผู้ป่วยเสยี ชวี ิต) - สถานท่ี : ห้องเกบ็ ศพ - ผู้กากับโซน : หวั หนา้ งานเวชกรรมสังคม - ผ้กู ำํ กับโซนดำํ - หลังทราบการประกาศแผนอบุ ัติเหตุหมใู่ หไ้ ปรายงานตัว ณ จุดรายงานตัวพร้อมรบั ป้ายประจาตาแหนง่ - ผ้กู ากบั โซนดารับวิทยุส่อื สาร 1 เครื่อง - รบั รายงานและแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ จากพยาบาลประจาโซน - รายงานปญั หาที่ไมส่ ามารถแกไ้ ขได้ไปยัง Operation section chief - รอฟงั คาส่งั จาก Operation section chief เพียงคนเดียวเท่านั้น อปุ กรณ์ บคุ ลำกร หนำ้ ที่ 1. ถงุ พลาสตกิ สาหรับ ในเวลำ นอกเวลำ - รบั ผู้ป่วย,คัดแยกผูป้ ว่ ย,ซกั ประวตั ิ เก็บทรัพย์สนิ บันทกึ บาดแผลอาการตรวจ 2. บญั ชีเก็บทรพั ย์สนิ 1. แพทยเ์ วรชนั สตู ร 1. แพทยเ์ วรชนั สูตร วดั สญั ญาณชพี และระบบประสาท 3. สมดุ บันทึกคดีและ พร้อมลงบันทึก บันทกึ การชันสตู รศพ 2. พยาบาล ER 2.พยาบาล ER - เกบ็ รกั ษาทรพั ยส์ นิ ของผูบ้ าดเจบ็ 4. ใบบันทึกเฝา้ ระวัง (ผ้ตู าย) ชั่วคราว การบาดเจบ็ 3.พยาบาลเวชกรรมสังคม - ติดต่อญาติ, ตารวจ 5. กลอ้ งถ่ายรปู - ตกแตง่ บาดแผลดแู ลความเรียบรอ้ ย 4.พยาบาลจิตเวช ให้ศพ - บนั ทึกใบเฝา้ ระวังการบาดเจ็บ (IS) 5.เจ้าหนา้ ทเี่ วชระเบียน - ให้ขอ้ มูล - รวบรวมข้อมูลผ้ปู ว่ ย 6.เจา้ หน้าที่การเงิน - ออกใบรบั รองการตาย - รายงานผู้กากบั โซนดา (ผบู้ งั คบั บญั ชาเพียงคนเดยี วเทา่ นั้น) ในกรณีที่มปี ัญหา - แยกย้ายกลบั เมอ่ื ประกาศยุตแิ ผนอุบัติเหตุหมู่เทา่ น้นั

30 กำรส่อื สำรระหว่ำง Zone กับ EOC ควรมี 1. วิทยุส่ือสาร (เครอื่ งแดง จานวน 5 เคร่อื ง) 2. โทรศพั ท์มอื ถอื 3.โทรศัพทข์ องแตล่ ะพ้นื ท่ี เบอรโ์ ทรศัพท์ของแตล่ ะพื้นท่ี - EOC (OSCC) : 1101 - Red zone (ER) : 1669 - Yellow zone (ER) : 1102 - Green zone (หนา้ หอ้ งทนั ตกรรม) : - War room (หอ้ ประชุมจตุ )ิ : - Referral center : 1101

31 กำรจดั กำรเตยี งรกั ษำพยำบำล - รับผดิ ชอบโดย หัวหน้าตกึ อายุรกรรม - มีการติดตาม Real time hospital-bed availability ของแตล่ ะหอผู้ปว่ ย โดย update บน กระดานดาใน ห้อง command post เพอื่ ตรวจสอบจานวนเตยี ง และวางแผนในการโยกยา้ ย ผู้ปว่ ยอยา่ งเหมาะสม ตำรำงแสดงจำํ นวนเตยี งของหอผ้ปู ่วยต่ำงๆแบบเรยี ลไทม์ Ward ศกั ยภำพปกติ ศกั ยภำพMass O2 Pine line เครือ่ งวัดติดตำม เคร่ืองชว่ ยหำยใจ สัญญำณชีพ OR - ICU 4 +1 4 + 1 10 6 7 - ตกึ ศลั ยกรรมชาย 8 8 + 2 10 9 - ตึกศัลยกรรมหญงิ - 26 40 10 2 - ตกึ นรเี วช 2+3 หอผู้ป่วยสูติกรรม 26 40 10 1 2 +3 อายรุ กรรมชาย 3 NI อายุรกรรมหญิง 24 34 4 3 - - ตึกเด็ก 7- - - - ตกึ พิเศษช้นั 5 - ตึกประชาสามคั คี 29 34 20 8 - ตกึ พิศษสงฆ์: 11 + 6 พิเศษรว่ มใจลา่ ง 28 33 23 10 พเิ ศษรว่ มใจบน 24 32 17 1 รวม 12 30 12 1 20 40 20 3 16 32 16 2 5 10 5 - 8 16 1 - 232 351 158 46

32 กำร Admit เรียงตำมลำํ ดบั ดงั นี้ 1. ตกึ ศลั ยกรรม/ กมุ ารเวชกรรม 2. ตกึ อายุรกรรม 3. ตกึ นรีเวชกรรม 4. ตึกพิเศษสงฆ์ 5. ตึกพเิ ศษประชา 6. ตึกช้ัน 5 7. ตึกช้ัน 6

33 แนวทำงกำรประสำนงำนและกำรส่งต่อทำงบก รพ. พังงา ในเครอื ข่ำย รพ. ตรงั 2-7641-0230 2-7501-8218 ตอ่ 0221 ศูนยน์ เรนทร 0-7521-7167 1669 ตอ่ 7111 ,7119 รพ.ระนอง 0-7782-1765 (ER) ศูนย์การส่งต่อรพ. วชิระภเู กต็ รพ.กระบ่ี 276 -361069 0-7561-1227 นอกเครือขำ่ ย ศนู ยน์ เรนทร 1669 รพศ.สรุ าษฎร์ธานี รพ. หาดใหญ่ 277-084722 ต่อ 0121 2-7407-3099 ( ER ) ศนู ย์การส่งต่อ 280-4198323 รพ. ชมุ พรฯ รพ. สงขลานครินทร์ รพศ.สรุ าษฎรธ์ านี 0-7750-3675 ( ER ) 2-7445-5222 077-284700 ตอ่ 2101 0-7442-8247 รพศ.นครศรธี รรมราช 2-7534-2052 (ER)



34

35 กลมุ่ ภำระกจิ สือ่ สำรควำมเส่ยี ง (Risk Communication) ขอบเขตของงำนและหนำ้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ 1. ผบู้ งั คับบญั ชำของหัวหนำ้ กลุม่ ภำระกิจสอื่ สำรควำมเส่ยี ง คอื Incident commander 2. ผใู้ ต้บงั คับบญั ชำของหัวหน้ำกลุ่มภำระกจิ สือ่ สำรควำมเสี่ยง (Finance & Administration) คือ งานสขุ ศึกษาประชาสมั พันธ์ 3. หน้ำท่รี บั ผิดชอบ - รับแจง้ จากผูบ้ ัญชาการเหตุการณ์ (ผู้อานวยการโรงพยาบาล/ผู้รักษา การแทนผู้อานวยการโรงพยาบาล) เพียง คนเดียวเทา่ น้นั ใหป้ ระกาศ ใช้แผนปฏบิ ัติการฉกุ เฉิน 2 หรอื 3 - ประกาศเสยี งตามสาย : ประกาศแผน 3 ครั้ง (ครงั้ ละ 2 รอบ) - รถพยาบาลวิง่ วนรอบโรงพยาบาลเปิดไซเรน 1 คร้งั เปน็ ระยะเวลา 2 นาที - โทรประสานทมี ในศนู ยบ์ ญั ชาการ (Command Post) ตามลาดับ ดงั น้ี 1. Incident commander (ผ้อู านวยการโรงพยาบาล/ผรู้ กั ษาการแทนผูอ้ านวยการโรงพยาบาล) 0. SAT (หวั หน้ากลมุ่ งานโอโธปิดกิ ซ์) 3. STAG (ประธานองค์กรแพทย,์ หัวหนา้ ฝา่ ยการพยาบาล) 4. Operation section (รองผอู้ านวยการฝ่ายการแพทย์) 5. Risk Communication (หวั หนา้ งานสุขศกึ ษาประชาสมั พันธ)์ 6. Stockpilling and Logistics (รองผู้อานวยการฝ่ายบรหิ าร) 7. กลุ่มภาระกจิ กฎหมาย 8. Financial & Administration (หัวหนา้ ฝ่ายการเงิน) 9. กลุ่มภาระกิจกาลงั คน 10. Liaison (หัวหนา้ หน่วยงานอบุ ตั เิ หตแุ ละฉกุ เฉิน) - ฝ่ายประชาสมั พันธ์จะต้อง update และมีความพรอ้ มของข้อมูลต่างๆเช่น รายช่ือ ตาแหน่ง หน้าที่ เบอร์ โทรศพั ท์ เพ่อื ความสะดวกรวดเรว็ ในการโทรแจ้งและประสานงาน เน่ืองจากตาแหน่งดังกล่าวอาจมีการ โยกยา้ ยไดต้ ามกาลเวลา - จดั เตรยี มชนั้ สาหรบั ใส่สมุดรายงานตัว และวทิ ยุสอ่ื สาร จานวน 9 เคร่อื ง เพอ่ื มอบใหก้ ับจุดรายงานตัว - ขอกาลังสนับสนนุ เพิม่ เตมิ นอกเหนอื จากท่ีมารายงานตัว (รบั คาสงั่ จาก ผู้อํำนวยกำร : Incident Command เท่านั้น)

36 - จัดเตรียมกระดาน Patientʼs Information Board ใหก้ บั หัวหน้าประจาจดุ Waiting & Information area - ประชาสมั พันธ์เพอ่ื ลดความต่ืนตระหนกของประชาชนและผู้ป่วยเป็นระยะๆ ตามความ เหมาะสม - ประกาศยุตแิ ผน โดยรบั คาสั่งจากผบู้ ญั ชาการเหตุการณ์ (ผอู้ านวยการโรงพยาบาล/ผู้รกั ษาการแทน ผู้อานวยการโรงพยาบาล) เท่าน้นั “ยุตปิ ฏิบตั ิการฉกุ เฉนิ 2 หรอื 3’’ (3 ครงั้ ) กำรประกำศใชแ้ ผนอบุ ัติภัย ผบู้ ญั ชาการแผน พยาบาล ER Operator ประกาศแผน: ประกาศ/ สงั่ ประกาศใชแ้ ผน...... โทรศพั ทแ์ จง้ Operator แพทย์ พยาบาลและเจา้ หนา้ ที่ทุกท่านโปรดทราบ แผนฉุกเฉิน 1 / ฉุกเฉิน 2 / ฉุกเฉิน 3 เริ่มต้น ณ บดั นี้ ให้ เจา้ หนา้ ท่ีท่ีเกี่ยวขอ้ งทุกท่านขา้ รายงานตวั ณ กองอานวยการ หอ้ ง refer ประกาศ 3 คร้ัง เวน้ 2 นาที ประกาศอีก 3 คร้ัง กำรประกำศส้ินสดุ แผน ผบู้ ญั ชาการแผน พยาบาล ER Operator ประกาศแผน: ประกาศ/ แจง้ ยตุ ิการใชแ้ ผน แจง้ ไปยงั Operator แพทย์ พยาบาลและเจา้ หนา้ ท่ีทุกท่านโปรดทราบ ขณะน้ี สถานการณ์สงบลงแลว้ ยุตแิ ผนฉุกเฉิน 1 / ฉุกเฉิน 2 / ฉุกเฉิน 3 ให้ เจา้ หนา้ ท่ีทุกท่านกลบั เขา้ ปฏิบตั ิงานตามหนา้ ที่ปกติ และโปรดตรวจสอบ ความเรียบร้อย ประกาศ 3 คร้ัง เวน้ 2 นาที ประกาศอีก 3 คร้ัง

37 หนว่ ยสนบั สนุน กลมุ่ ภำระกจิ กำรสำํ รองวสั ดุเวชภณั ฑ์และส่งกำํ ลังบํำรงุ (Stockpiling and Logistics) ขอบเขตของงำนและหนำ้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ 1. ผู้บงั คับบัญชำของหัวหนำ้ กลมุ่ ภำระกจิ สํำรองเวชภัณฑแ์ ละสง่ กํำลังบำํ รงุ คอื Incident commander 2. หวั หน้ำกลมุ่ ภำระกจิ สำํ รองเวชภัณฑแ์ ละส่งกํำลังบำํ รุง (Stockpiling and Logistics) คือ รองผู้อานวยการฝา่ ยบรหิ าร 3. ผู้ใต้บังคับบัญชำของหัวหนำ้ กลุ่มภำระกจิ สํำรองเวชภณั ฑ์และสง่ กำํ ลังบํำรงุ (Stockpiling and Logistics) คือ 3.1 สำขำกำรบริกำร (Services branch) จดุ ผ้รู บั ผดิ ชอบ สถำนที่ หนำ้ ที่ 3.1.1 จุดระดมพล -ฝ่ายบรหิ ารทวั่ ไป ศาลาอเนกประสงค์ - เตรียมแฟม้ เซ็นชอ่ื รายงาน ตวั และ จดุ รำยงำนตัว -ฝา่ ยการ (ข้าง ER) - รบั รายงานตัว : เซ็นชื่อแจกป้ายแสดงตาแหนง่ (Staging & registration area) เจ้าหน้าท่ี การปฏบิ ัตงิ าน 3.1.2 หน่วยงำน -กลุม่ งานบญั ชี - แจกจ่ายเจา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ ประจาโซนสี เวชระเบยี นและ สถิติ / หอ้ งบตั ร - แยกย้ายกลับเม่อื ประกาศยตุ แิ ผนฯ (MRSD) หวั หนา้ งานเวช หอ้ งบตั รผูป้ ่วยนอก - เมอื่ รบั แจง้ เหตุอบุ ตั เิ หตุหมู่จากเสยี งตามสายประกาศ ระเบยี นและสถติ ิ แผนฉุกเฉิน 2 หรอื 3 ใหเ้ จา้ หน้าทป่ี ฏบิ ตั ิตามแผน และเจ้าหนา้ ที่ รองรับกระบวนการให้บริการงานเวชระเบียนผปู้ ่วย - ทาเวชระเบยี นในผู้บาดเจ็บทมี่ แี พทย์หรอื พยาบาล ตรวจ รักษาเป็นลาดบั แรก - รหสั เวชระเบียนทอ่ี อกมา จะต้องข้นึ ต้นด้วยรหัส 99 แล้วตามดว้ ยเลข 2222 แล้วตามด้วยเลขของ Triage tag เช่น 9922221, 9922220 เป็นตน้ - ถา่ ยรปู หนา้ ผปู้ ว่ ยไม่รสู้ กึ ตวั /ไม่ทราบช่ือ ติดท่ี OPr Card เพ่ือระบุตัวตน - หากเจ้าหน้าท่พี บปัญหาใหร้ ายงานหวั หน้างานเวช ระเบียนและสถิติ กรณหี ัวหน้างานเวชระเบยี นและสถิติ ไมส่ ามารถแก้ไขปญั หาได้ให้รายงานตอ่ รองผอู้ านวย การฝา่ ยบรหิ าร (Stockpilling and Logistics) เพ่อื ประสานงานต่อไป

38 จดุ ผรู้ บั ผิดชอบ สถำนที่ หน้ำท่ี - แยกยา้ ยกลับเมอื่ ประกาศยุตแิ ผนอบุ ตั ิเหตุหมเู่ ทา่ นน้ั 3.1.3 หน่วยบริกำร หัวหน้างานแต่ละ กำรแพทย์ (Medical แผนก - จดั เจา้ หน้าท่ีรบั ผิดชอบดูแลการใช้ยาและเวชภณั ฑ์ unit) ประจาตึกศลั ยกรรม, สตู ิกรรม และอายรุ กรรม 3 คน - แบ่งออกเปน็ 4 1.หวั หน้างานเภสัช - จัดเภสชั กร 1 คน และเจา้ หน้าทีอ่ ยู่เวร หน่วย ดงั น้ี กรรม เชา้ -บ่าย-ดกึ เวรละ 2 คน 1. ห้องยำ 2. เจา้ หนา้ ทงี่ านคลังยาและเวชภณั ฑเ์ ปดิ บรกิ ารคลังยา (Pharmacy unit) และเวชภัณฑต์ ลอดชว่ งที่เกิดอุบตั ภิ ยั จานวน 2 คน 3. หัวหน้ากลุ่มงานประสานและปฎิบตั งิ านที่ กองอานวยการ 4. กรณีทยี่ าและเวชภัณฑ์ไมม่ พี อเพยี งใน โรงพยาบาลให้ยึดแนวทางการสนบั สนุนยาภายใน จังหวัดตามกรอบรายการยาและเวชภัณฑข์ องจังหวัด พงั งา 5. ถา้ ไม่สามารถดาเนินการตามขอ้ 4 เภสชั กรรมจะ รายงานปญั หาแก่ หวั หนา้ ฝ่ายสนับสนุน ตามผงั EOC ต่อไป 2. ธนำคำรเลอื ด หวั หน้างานโลหิต ตึกพยาธวิ ทิ ยา - เตรียมพรอ้ มจัดหาเลือด (Uncross match group O) (Blood blank unit) วิทยา > 10unit และ สามารถ นาสง่ เลอื ดตามท่ีร้องขอมา 3. ห้องเอกซเ์ รย์ หวั หนา้ กล่มุ งาน ยังหอ้ งฉุกเฉนิ ได้ อยา่ งรวดเร็ว ภายใน 10-15 นาที (Radiology unit) รังสวี ทิ ยา - มเี จ้าหนา้ ที่ X-ray ประจาทีห่ ้องเอกซเรย์ 6 คน (ในเวลา ราชการ) และ นอกเวลาราชการ 2 คน เมอื่ รับผ้ปู ่วย แลว้ ได้ทาการเอกซเรย์ โดย Key HN ตามเลขพิเศษที่ ออกโดยห้องบตั ร เมื่อ X-ray เสรจ็ แพทยจ์ ะดูภาพ เอกซเรย์จาก HN พเิ ศษ

39 จดุ ผรู้ ับผิดชอบ สถำนท่ี หนำ้ ท่ี - และใหส้ ่งผูป้ ่วย Admit ทกุ รายหลงั จากเอก็ ซเรย์ เสร็จแล้ว 4. ห้องตรวจ หวั หน้ากลมุ่ งาน - ทา Lab เรง่ ด่วนในผูบ้ าดเจ็บหนกั ทุกราย ปฏบิ ัตกิ ำร พยาธิวทิ ยา - หากมีผล Lab วกิ ฤติใหโ้ ทรมาแจง้ ท่ีหอ้ งฉุกเฉนิ โดยด่วน (Laboratory unit) - หากเจ้าหน้าทพี่ บปญั หาใหร้ ายงานหวั หน้างาน แต่ละแผนกกรณีหวั หนา้ งานแต่ละแผนกไม่สามารถ แกไ้ ขปัญหาได้ ให้รายงานต่อ รองผอู้ ํำนวยกำรฝ่ำย บรหิ ำร (Stockpilling and Logistics) เพอื่ ประสานงานตอ่ ไป - กลบั มาทาหน้าที่ตามปกติเมอื่ มีประกาศยตุ แิ ผน อบุ ตั ิเหตุหมเู่ ท่าน้ัน 3.1.4 หนว่ ยเปล หวั หน้าเวรงาน ศนู ย์เปล - เตรยี มเจา้ หน้าที่เวรเปลและเปลให้พร้อมและเพียงพอ (Stretcher unit) อุบตั เิ หตุฉุกเฉิน ตอ่ ความต้องการในการเคลื่อนย้ายผู้ปว่ ย : พนกั งานเปล - หากเจ้าหนา้ ทพี่ บปญั หาให้รายงาน หัวหน้าเวรงาน : เจ้าหน้าที่ อุบัติเหตุฉุกเฉิน กรณีหัวหนา้ กลมุ่ งาน ฝ่ายช่าง / คนงาน การพยาบาลผู้ปว่ ยนอกไมส่ ามารถ แกไ้ ขปัญหาได้ ให้ กายภาพ รายงานต่อ รองผ้อู ํำนวยกำรฝ่ำยบริหำร (Stockpilling and Logistics) เพ่ือประสานงานต่อไป - กลบั มาทาหน้าทต่ี ามปกตเิ ม่อื มปี ระกาศยุตแิ ผน อบุ ัตเิ หตุหมเู่ ทา่ นัน้ 3.1.5 ฝ่ำยโภชนำกำร หัวหนา้ โรงครัว - เตรยี มอาหารสาหรบั ผูป้ ว่ ยและเจ้าหนา้ ที่ - หากพบปญั หาให้หัวหน้าฝา่ ยโภชนาการรายงานต่อ (Food unit) ฝา่ ยโภชนาการ รองผู้อํำนวยกำรฝำ่ ยบริหำร (Stockpilling and Logistics) เพ่ือประสานงานต่อไป - กลับมาทาหน้าท่ีตามปกติเมอ่ื มีประกาศยตุ แิ ผน อุบตั ิเหตหุ มู่เท่านัน้

40 3.2 สำขำกำรสนบั สนุน (Support branch) จดุ ผรู้ ับผิดชอบ สถำนท่ี หน้ำที่ หวั หน้าฝ่ายจ่ายกลาง หอ้ งจ่ายกลาง 3.2.1 หนว่ ยจำ่ ย - จัดเตรยี มอุปกรณ์การแพทย์ ชดุ ทาแผล ใหเ้ พียงพอ กลำง (Medical ตอ่ ความตอ้ งการและนามาเพิม่ เติมอย่าง supply unit) อยา่ งรวดเรว็ เมอื่ มีการรอ้ งขอ - หากพบปัญหาใหห้ ัวหน้าฝา่ ยจ่ายกลางรายงานตอ่ รองผอู้ ํำนวยกำรฝำ่ ยบรหิ ำร (Stockpilling and Logistics) - กลับมาทาหน้าท่ีตามปกตเิ มื่อประกาศยุติ แผนอบุ ัตเิ หตุหมู่เท่านัน้ 3.2.2 หวั หน้าฝา่ ยซกั ฟอก โรงซักฟอก - จัดเตรียมเสือ้ ผา้ ผู้ป่วย และชดุ ผา้ ปเู ตยี งให้ หน่วยซักฟอก เพยี งพอต่อความตอ้ งการและนาส่งอย่างอยา่ งรวดเรว็ (Washing unit) เม่ือมีการรอ้ งขอ - ดูแลรักษาสง่ิ ของไมม่ คี ่าของผู้ป่วย เช่น เส้ือผ้า เขม็ ขัด รองเทา้ ที่เจ้าหน้าท่เี ก็บทรัพยส์ นิ (ฝา่ ยการเงิน) นามา ฝากไว้ โดยข้างถุงจะ มี HN ของผู้ป่วยแปะหรอื เขียนไว้ เพือ่ รอญาติหรือผปู้ ว่ ยมารับคืน - หากพบปัญหาใหห้ วั หนา้ ฝ่ายซักฟอกรายงานต่อ รองผ้อู ำํ นวยกำรฝำ่ ยบรหิ ำร (Stockpilling and Logistics) - กลบั มาทาหนา้ ทต่ี ามปกตเิ ม่ือประกาศยุติ แผนอุบัติเหตุหม่เู ทา่ น้นั 3.2.3 หวั หนา้ หน่วยยาน - จดั เตรยี มยานพานะสนบั สนุนเมือ่ มีการรอ้ งขอ หน่วยยำนพำหนะ พาหนะ - หากพบปัญหาให้ หวั หน้าหนว่ ยยานพาหนะรายงาน (Ground unit) ตอ่ หัวหนา้ ฝา่ ยรองผอู้ ํำนวยกำรฝำ่ ยบรหิ ำร (Stockpilling and Logistics) - กลับมาทาหน้าทต่ี ามปกตเิ มื่อประกาศยุติ แผนอบุ ตั ิเหตุหมเู่ ท่าน้ัน

41 กลุ่มภำระกจิ กำรเงินและงบประมำณ (Finance & Administration) ขอบเขตของงำนและหน้ำทร่ี บั ผดิ ชอบ 1. ผูบ้ งั คับบญั ชำของหัวหนำ้ สว่ นกำรเงินและบริหำร คอื Incident commander 2. ผใู้ ต้บงั คับบัญชำของหวั หนำ้ สว่ นกำรเงินและบริหำร (Finance & Administration) คือ 2.1 หน่วยกำรเงิน (Cost unit) - รวบรวมข้อมูลค่าใชจ้ ่ายทั้งหมด จดั ทาการวิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพความคุ้มคา่ และบรกิ าร ประเมินคา่ ใช้จ่าย 2.2 หนว่ ยชดเชย/งำนประกนั (Compensation/Claims unit) - รบั ผดิ ชอบในการบริหารจัดการและการใหค้ าแนะนาเร่ืองการจัดหาค่าชดเชยสาหรบั การ บาดเจบ็ ความเสยี หายทางทรัพยส์ นิ ของทางราชการ การเรยี กเก็บค่าชดเชยใน การปฏิบตั กิ าร 2.3 หน่วยเกบ็ ทรพั ยส์ ิน (Storage of patientsʼ belongings) - เจา้ หน้าที่เก็บทรพั ยส์ นิ ประจาโซนตา่ งๆ มหี น้าที่เกบ็ ทรัพย์สินให้กบั ผปู้ ว่ ยตามโซน น้ันๆ โดยพยาบาลหรอื ผ้ชู ว่ ยทีห่ ้องฉกุ เฉนิ จะเกบ็ ทรพั ย์สินสงิ่ ของมคี ่า (เชน่ สร้อย กาไล โทรศัพท์ กระเปา๋ เงนิ ) ไว้ 1 ถงุ และสิง่ ของไมม่ คี า่ ไว้อีก 1 ถงุ (เชน่ เส้ือผ้า เข็มขดั รองเทา้ ) พรอ้ มทงั้ มัดปากถุงและแปะหรอื เขียน HN ผูป้ ว่ ยไวข้ ้างถุงแล้ว ใน ส่วนของทรพั ย์สนิ ไมม่ ีคา่ ทาง เจ้าหน้าที่เก็บทรพั ยส์ นิ ฝ่ายการเงนิ จะนาไปมอบให้ฝ่าย ซกั ฟอกชว่ ยดแู ล และจัดให้มรี ะบบในการรบั ของคนื อย่างถูกต้อง

42 ภาคผนวก

ทางเดนิ รถ ( สนามหญา้ หน้า E จุด Scree (จุดรับ -ส่ง Zone สีเหลือง ( หน้า ER ) Zone สแี ดง (ในER) เ ้สนทางเค ่ืลอนย้าย ีสแดง งานเภสชั กรรมผปู้ เหลือง

43 ทางเดนิ รถ ER ) en 1 ทางลาดตกึ อบุ ตั เิ หตแุ ละฉกุ เฉิน งผู้ป่ วย) จุดคดั กรองผู้ป่วย WAR ROOM เ ้สนทางเคล่ือน ้ยายสีเหลือง หอ้ ง ทนั ตกรรม ศูนย์อำํ นวยกำร (ศูนยว์ ิทยุ) ป่ วยในและฉกุ เฉิน

44 1. แบบฟอรม์ รำยงำนอุบัติเหตุ ศูนย์ปฏบิ ัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภยั ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จังหวัดพงั งา สรุปสถานการณ์ ………………………………………….. ประจาวันท.ี ........... เดอื น................................ พ.ศ. ....................... เวลา ........................... 1.ประเภทของสาธารณภัย 0.วันเวลาที่เกดิ เหตุ 3.สถานท่ีเกิดเหตุ 4.ลกั ษณะการเกดิ เหตุ 5.ความเสียหาย/ผลกระทบ 6.สรุปจานวนผปู้ ่วย (ได้รบั บาดเจ็บ/ราย) ชาย หญิง รวม 6.1 ผูส้ ียชีวติ 6.2 ผู้บาดเจบ็ 6.3 สูญหาย D/C Admit Observe Refer 7.การช่วยเหลือเบ้อื งตน้ 8.ขอ้ สง่ั การ ชือ่ – ตาแหนง่ - หนว่ ยงาน ผูร้ ับผิดชอบ..........................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook