14 หลักสตู ร สหกรณ์โรงเรียนบ้านปวงคา(ประชาอทุ ิศ) โรงเรียนบ้านปวงคา(ประชาอุทิศ)อาเภอลี้ จังหวดั ลาพนู สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาพูน เขต 2 กระทรวงศึกษาธิการ
ก 14 คานา เป้าหมายการพัฒนานักเรียนโรงเรียนบ้านปวงคา (ประชาอุทิศ) ให้มีประสิทธิภาพตามความสามารถ ของผู้เรียนโดยมีความเชื่อท่ีว่านักเรียนทุกคนสามารถที่พัฒนาตนเองได้ ให้เป็นคนดี เก่ง และมีความสุข ได้จาก ประสบการณ์การเรียนรู้ในสถานศึกษาและกระบวนการพัฒนาผู้เรียนตาทมธรรมชาติ เต็มศักยภาพของผู้เรียน และเน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญเพราะการเรียนรู้ส่งผลตอ่ ชวี ติ จริงและตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ การสหกรณ์เปน็ วิถีการดาเนนิ ชีวิตร่วมกนั ที่มีจุดมุ่งหมายคือ สังคมดี เศรษฐกิจดี มีสันติสุข การสหกรณ์ สร้างคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีด้วยการร่วมมือช่วยเหลือกัน การสหกรณ์เป็นการเรียนรู้เพื่อสู่เป้าหมายผู้เรียน ภายใตก้ ระบวนการท่เี หมาะสม หลักสูตรการสหกรณ์โรงเรียนบ้านปวงคา(ประชาอุทิศ ) ได้ยึดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๒๑ สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงและสามารถสร้างสรรค์ให้เกิดความรู้ใหม่สาหรับครูและ นักเรียน โดยคณะผู้จัดทามุ่งเน้นการเพ่ิมพูนปัญญา พัฒนาความคิด สาหรับดารจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ใน โรงเรยี น
สารบญั ข ข14 บทท่ี1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญ หน้า กระบวนการจดั การเรียนรู้การสหกรณ์ หลักการสหกรณ์ 1 จดุ หมาย คณุ ภาพผเู้ รียน 1 คาอธิบายรายวชิ า 6 สาระการเรียนรู้ 6 บทท่ี 2 แนวทางการดาเนินการการพัฒนาหลกั สูตรฯ 6 การสหกรณ์กับหลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานปี 2551 8 บทท่ี 3 โครงสรา้ งรายวชิ า/หนว่ ยการเรยี นรู้/แผนการจัดการ 9 ตัวอย่างแผนการจดั การเรียนรู้ 10 บทท่ี 4 ตวั อย่างแบบประเมิน 12 แบบประเมินชนิ้ งาน 17 แบบประเมินงานกล่มุ 19 แบบประเมินพฤตกิ รรมนักเรยี น 48 การเขา้ ร่วมกิจกรรมฝกึ ต้งั คาถามและเฉลยคาตอบ 50 บทท่ี 5 ตวั อยา่ งโครงสรา้ งการบริหารงาน 52 การบญั ชีและการสหกรณ์นกั เรยี น 55 ตวั อย่างบนั ทกึ การประชมุ 56 เกมประกอบการเรียนรู้ 63 นทิ านประกอบสาระการเรียนรู้ 63 เพลง 81 บรรณานกุ รม 86 89 106 108
14
14 บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคญั การสหกรณ์ หรือการทางานร่วมกันมีอยู่เป็นอยู่จริงในการดาเนินชีวิตของทุกคนท่ีดารงตนอยู่ในสังคม เพียงแต่ใช้ถ้อยคากล่าวถึงการอยู่ร่วมกันด้วยพยางค์หรือประโยคหรือคาท่ีแตกต่างกันไป กรมส่งเสริมสหกรณ์มี ภารกิจในการส่งเสริมเผยแพร่การทางานร่วมกันตามระบบงานสหกรณ์สู่ประชาชนหลากหลายรูปแบบ สาหรับ ในการดาเนินการนาการสหกรณ์สู่สถานศึกษามีความเด่นชัดเม่ือสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงรับส่ังในวันท่ี 7 มิถุนายน 2534 กับอธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ (นายเสง่ียม มาหมื่นไวย) ให้สอน สหกรณ์ในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน และทรงบรรยายในงานสัมพันธ์ไทยจีนเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันพันธ์ 2555 เรอื่ งสหกรณน์ ักเรียน สร้างเยาวชน สร้างชุมชนมั่นคง ว่า ก็เป็นเร่ืองต้องฝึกฝนตั้งแต่เด็กเล็กๆ จะได้ คุ้นเคยกับระบบสหกรณ์ ในระบบการทางานร่วมกัน เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ เด็กเหล่านี้ก็จะได้เข้าร่วมเป็น สมาชิกสหกรณ์ของหมู่บ้าน ของอาเภอ ของจังหวัดต่อไป และจะเป็นสมาชิกท่ีมีประสิทธิภาพ เพราะมี ความรู้ความเข้าใจอย่างดีว่าการร่วมกันทาจะทาให้ไม่เสียเปรียบผู้อื่น ท้ังการซ้ือวัสดุดิบสินค้าท่ีผลิตหรือ สินค้าอุปโภค ถ้ารวมกันจะประหยัดค่าใช้จ่ายและทาได้ดีกว่าในขณะที่สถานศึกษาในเมืองมีการจัดกิจกรรม สหกรณเ์ พ่อื การเรยี นร้ขู องผู้เรียน ตามกระแสแห่งการให้ความสาคญั บางโรงเรียนมีกิจกรรมสหกรณ์ต่อเนื่องมา ตลอดด้วยการเห็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน บางโรงเรียนจัดกิจกรรมสหกรณ์ตามสถานการณ์ของ สภาพจริง การเรียนรู้การสหกรณ์จึงหลากหลาย ความเจริญก้าวหน้าครั้งสาคัญคือได้มีการผลิตครูท่ีจบเอก สหกรณข์ องสถาบันการศึกษาระดับอดุ มศกึ ษาเพื่อเป็นครูประจาการสอนในโรงเรียน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีทรงให้ความสาคัญติดตามการดาเนินงานในพ้ืนที่ อย่างใกล้ชิดด้วยพระองค์เอง ทรงมีพระราชดารัส พระราชกระแส ทรงพระราชนิพนธ์ ทรงเป็นองค์บรรยาย ทรงมีพระจริยาวัตรท่ีทรงจดบันทึก ทรงทั้งได้พระราชทานคาแนะนาอันทรงคุณค่าแก่ผู้เกี่ยวข้องในการส่งเสริม สหกรณใ์ นโรงเรยี นพระราชดารใิ นโอกาสตา่ งสรุปได้คอื 1. ให้มีการจัดการเรียนการสอนการสหกรณ์แก่นักเรียนท่ีเหมาะสมในช่วงช้ันการศึกษาต่างๆ ให้ นักเรยี นมีความรู้และเข้าใจการทางานรว่ มกนั ในระบบและวิธกี ารสหกรณ์ 2. เน้นการปลูกฝังนักเรียนให้มีความรู้และสามารถพัฒนาตนเอง ในการช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่ง กันและกนั อันเปน็ อุดมการณ์สหกรณ์ 3. ให้นักเรียนมีความรู้และเข้าใจระบบบัญชี และสามารถทาบัญชีของสหกรณ์ได้และรู้จักใช้บัญชีให้ เป็นประโยชน์ในการพัฒนากิจกรรมสหกรณ์อันจะสืบเนื่องต่อไปในการทาบัญชีฟาร์มของโรงเรียน บัญชีรับจ่าย ของตัวนักเรียนเอง และบัญชีครัวเรือนของครอบครัวนักเรียน เพ่ือการดาเนินชีวิตที่ถูกต้องของนักเรียนและ ครอบครัว 4. ให้มีการบูรณาการกิจกรรมสหกรณ์นักเรียนกับกิจกรรมโครงการอื่นๆ ของโรงเรียน ได้แก่กิจกรรม การผลิตของโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวนั กจิ กรรมการส่งเสรมิ อาชีพเยาวชนในท้องถิ่น โครงการส่งเสริม ให้สหกรณ์นักเรียนทารวมการรวมซื้อ หรือจัดหาปัจจัยการผลิตบริการผู้ผลิตตามความต้องการ รวมท้ังการ
14 ส่งเสรมิ ใหก้ ิจกรรมทาการรวมขาย ผลการผลิตการเกษตรใหแ้ ก่โรงครัวของโรงเรยี นเพอ่ื ประกอบอาหารกลางวัน เลี้ยงนกั เรยี น หากมีผลผลิตเหลือก็ทาการจาหน่ายให้ชมุ ชน 5. เพ่ือเพิ่มพูนความรู้และทักษะให้นักเรียนทางด้านภาษาไทยและคณิตศาสตร์ ด้วยการบูรณาการ การเรียนการสอนวิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์ กับการเรียนการสอนการประชุม การบันทึกรายงานการ ประชุม การบนั ชี การต้งั ราคาสินคา้ การจา่ ยเงินปนั ผล และเงินเฉลีย่ คนื ของกจิ กรรมสหกรณ์ เปน็ ตน้ 6. การปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย ความซื่อสัตย์ ความประหยัดและความเอ้ืออาทรต่อผู้อ่ืนแก่ นกั เรียน 7. ทาการวดั ผลประเมินผลการปฏิบัตงิ านทน่ี ักเรยี นได้รับทงั้ ผลผลิตและผลลัพธ์ แผนพฒั นาการสหกรณ์ พ.ศ. 2546-2549 ซึ่งเป็นแผนพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติฉบับแรก ไดก้ าหนดยุทธศาสตร์การให้ความรูค้ วามเข้าใจเร่ืองการสหกรณ์ โดยกาหนดกลยุทธ์และแนวทางดาเนินการให้มี การผลักดันการสอนเรื่องการสหกรณ์ การจัดกิจกรรมสหกรณ์ในสถานศึกษา แผนพัฒนาการสหกรณ์ ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2550 – 2554) ยังคงความสาคญั ไว้ จึงกาหนดแผนปฏบิ ตั งิ านการจัดค่ายเยาวชนสหกรณ์ และการจัด กิจกรรมสหกรณ์แก่เยาวชน ผ่านเครือข่ายการศึกษา ภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมให้คนในชาติศรัทธา และเชื่อม่ันในคุณค่าสหกรณ์ และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แผนงานที่ 3 แผนงานสร้างคุณค่าสหกรณ์และ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างเป็นกระบวนการ และกรมส่งเสรมิ สหกรณไ์ ดก้ าหนดไว้ในแผนกลยุทธ์กรม ฯ มิติ คุณภาพการให้บริการกลยุทธ์ ท่ี 2.1.1(4) โครงการพัฒนาศักยภาพส่งเสริมกิจกรรมสหกรณ์ในโรงเรียน ประถมศึกษา สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงเป็นความสอดคล้องกันที่นาสู่การจัดการเรียนรู้ วิชาการสหกรณใ์ นสถานศึกษา กระบวนการจัดการเรยี นรู้การสหกรณ์ การจัดการเรียนรู้การสหกรณ์ สามารถจัดการเรียนรู้ในแต่ละระดับชั้น หรือจัดการเรียนรู้รวมเป็นช่วง ช้นั โดยมีผูเ้ รยี นร่วมกนั เรียนรู้ จานวน 15 – 50 คน จานวนผูเ้ รยี นกับจานวนครผู ู้สอนควรมีความสอดคล้องกัน ในอตั ราสว่ น 1 : 15 - 20 การจดั การเรียนรูเ้ น้นที่ผู้เรียนเปน็ สาคญั มีเทคนิค/กระบวนการ ดงั น้ี 1. กระตุ้นความสนใจ ด้วยสื่อเสียง สื่อสายตา สื่ออ่ืนๆให้เกิดความต้องการเรียนรู้ซึ่งคู่มือจะมี คาแนะนารูปแบบตา่ งๆ 2. ครผู สู้ อนจดั กจิ กรรมในบทบาทของผู้จัดรายการ ผ้อู านวยความสะดวก ผกู้ ระตุ้น (Facilitator) เปิด โอกาสให้ผูเ้ รยี นดาเนินการกจิ กรรมดว้ ยตนเอง 3. การดาเนินกิจกรรมเน้นกระบวนการกลุ่ม (Group process) โดยมีข้ันตอนการทางานด้วย กระบวนการ 2 (TW) คือ 3.1 Think to my self คิดก่อนทา โดยคานงึ ถงึ ความรคู้ วามสามารถของตนเอง ของแต่ละคน
14 3.2 Talk together ประชุมพูดคุยตกลงกันอย่างประชาธิปไตย กาหนดเปา้ หมายของงาน 3.3 Walk on two legs and help together กาหนดขอบเขตการทางานร่วมกันด้วยการ พึง่ ตนเอง ยนื ดว้ ยขาตนเอง ทุกคนตอ้ งมบี ทบาทหน้าที่ และต้องรว่ มมือช่วยเหลือกนั ในการทางานร่วมกนั 3.4 Work together ลงมือปฏบิ ัติงานรว่ มกนั การเรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ โดยการจดั กิจกรรมสหกรณ์ในสถานศึกษา อาจจัดกิจกรรมรวมกันซ้ือ การ ผลิต การออมทรพั ย์ การสวสั ดกิ าร อันเป็นกิจกรรมสาคัญในการจดั การเรียนรู้การสหกรณ์ เพราะเป็นการเรียนรู้ จากการปฏบิ ัตจิ รงิ ให้ผูเ้ รียนรวมกลุ่มดาเนนิ การกันเอง ครูทาหน้าท่ีให้คาปรึกษาแนะนาโดยไม่ครอบงาความคิด หากมีการทางานผิดพลาด ก็ไม่นามาเป็นปัญหา แต่ควรนาความผิดมาเป็นปัญญา ไม่เน้นระบบเอกสารแต่ ควรให้ผู้เรียนจัดการได้ด้วยความเข้าใจภายใต้คุณธรรม ความซื่อสัตย์ เสียสละ สามัคคี มีวินัย เป็น ประชาธิปไตย และตรวจสอบได้ โดยมีกระบวนการจดั กิจกรรมสหกรณ์ คอื 1. ใหค้ วามรูแ้ ลว้ รวมคน ที่ศรัทธาเชือ่ ม่ัน 2. ให้ผเู้ รียนเรยี นรู้ ร่วมคิด กาหนด เป้าหมาย แนวทาง 3. จัดองคก์ ร ตามโครงสร้าง มอบหมายหนา้ ที่ 4. รวมทุน เพื่อดาเนินกิจกรรมสหกรณ์ 5. ดาเนนิ กิจกรรม โดยความรว่ มมือกัน 6. ตรวจสอบ ควบคุม ตามแนวทางของการจดั กิจกรรมสหกรณ์ 7. ประเมนิ แสดงผล เพอ่ื รายงานผลงาน แผนภาพ แหล่งเรียนรกู้ ารสหกรณ์
14 สถาบนั สหกรณ์ สานกั งาน ทกุ ประเภท สหกรณ์จังหวดั กลมุ่ อาชีพ สานกั งานตรวจ กล่มุ ผู้ผลิต บญั ชีสหกรณ์ กลมุ่ อาสา การจัดการเรียนรูก้ าร สหกรณ์ในสถานศกึ ษา สถาบนั / หน่วยงาน/องค์กร หน่วยงานทาง รฐั เอกชน สมาคม การศึกษา ภมู ปิ ัญญาชมุ ชน/ ท้องถิน่
14 โรงเรียนบ้านปวงคา(ประชาอุทศิ ) สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ลาพนู เขต 2 เป็น โรงเรยี นในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาพูน เขต ๒ จุดเนน้ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นท่ี สาคัญตามกิจกรรมการสหกรณ์จานวน ๔ กิจกรรมประกอบด้วย การส่งเสรมิ กจิ กรรมร้านค้าโรงเรยี น การส่งเสรมิ กิจกรรมออมทรพั ย์ การสง่ เสรมิ กจิ กรรมการผลิต การสง่ เสริมกจิ กรรมสวสั ดิการ และยงั ใชแ้ นวทางการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการโรงเรียนในโครงการตามแนวพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยโครงการพระราชดารินี้มจี ุดเน้นสาคัญ 8 ประการคือ 1. การส่งเสริมคณุ ภาพการศึกษา 2. การเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน 3. การส่งเสริมกจิ กรรมสหกรณโ์ รงเรียน 4. การส่งเสริมสุขภาพนักเรียน 5. การชว่ ยเหลือเดก็ ด้อยโอกาส 6. การอนุรกั ษ์ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม 7. การสง่ เสริมทันตอนามัย 8. การสง่ เสรมิ อาชีพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ทรงส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนเกย่ี วกับงานเกษตร แลว้ นาผลผลิตจากโครงการส่งเข้าขายร้านสหกรณ์โรงเรียน และ นามาสนบั สนนุ โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน มผี ลต่อการส่งเสรมิ สขุ ภาพนักเรยี น เมื่อนักเรียนมีสุขภาพ ดี ร่างกายแขง็ แรงส่งผลใหด้ ้านอน่ื ๆ ดขี นึ้ ดว้ ย หลักสูตรสหกรณ์นักเรียน เป็นหลักสูตรท่ีจัดทาข้ึนโดยการปรับขยายรายละเอียดของเนื้อหาท่ี กาหนดในหลักสูตรแกนกลาง หรือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหาร จัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจ พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ทม่ี ุ่งเนน้ ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติงานและการทางานร่วมกันควบคู่ การเรยี นรทู้ ฤษฏี ซง่ึ โรงเรยี นบา้ นปวงคา(ประชาอุทศิ ) เปน็ โรงเรียนในโครงการพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อสนองพระราชดาริของพระองค์ที่ต้องการให้สหกรณ์เป็นเร่ืองต้องฝึกฝน ตั้งแต่เดก็ เล็กๆ จะได้คุ้นเคยกับระบบสหกรณ์ ในระบบการทางานรว่ มกัน เมือ่ เตบิ โตเปน็ ผู้ใหญ่ เดก็ เหลา่ นกี้ จ็ ะได้ เข้าร่วมเปน็ สมาชิกสหกรณ์ของหมบู่ ้าน ของอาเภอ ของจังหวัดตอ่ ไป และจะเปน็ สมาชิกท่มี ีประสทิ ธิภาพ เพราะ มีความรู้ความเข้าใจอย่างดีว่าการร่วมกันทาจะทาให้ไม่เสียเปรียบผู้อ่ืน ท้ังการซ้ือวัสดุดิบสินค้าที่ผลิตหรือสินค้า อุปโภค ถา้ รวมกันจะประหยัดค่าใชจ้ ่ายและทาไดด้ ีกว่า กิจกรรมสหกรณ์นักเรียนโรงเรียนบ้านปวงคา(ประชาอุทิศ)จึงเป็นกิจกรรมของนักเรียนที่ต้ังขึ้น ดาเนนิ การโดยนกั เรียน และมีนกั เรียนเป็นสมาชิก ซง่ึ สหกรณ์นักเรียนเปรียบเสมือนห้องแล็บหรือห้องปฏิบัติการ ให้นกั เรยี นได้เรียนรู้หลักการ วิธีการ และทดลองด้วยตนเองเป็นคณะกรรมการดาเนินงานเองทุกอย่าง เพื่อให้ นกั เรียนมีทกั ษะความเคยชินกับการทางานร่วมกัน ปลกู ฝังคุณธรรมในการดารงชีวิตร่วมกัน จุดมุ่งหมายสุดท้าย เพอ่ื ให้นักเรียนได้รจู้ ักการช่วยตัวเอง เพือ่ นาไปสูก่ ารกนิ ดีอยดู่ มี สี นั ติสขุ
14 หลกั การ 1. เปิดรับสมาชิกทั่วไปด้วยความสมัครใจ สหกรณ์มีสมาชิกเข้าหรือออกด้วยความสมัครใจ ไม่ว่าจะ เชือ้ ชาติ ศาสนาใด เพศหญงิ หรือเพศชายไมม่ ีการจากัด 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามแนวทางประชาธิปไตย เม่ือทุกคนเข้ามาด้วยความสมัครใจแล้ว การ กาหนดนโยบายในการอยู่ร่วมกันกาหนดโดยตัวแทนจากการเลือกตั้ง ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในกิจการของ สหกรณ์ สมาชกิ มคี วามเสมอภาคสามารถออกเสยี งได้ 1 เสยี งใน 1 เรือ่ ง โดยไม่เกี่ยววา่ จะมีหุ้นจานวนเท่าใด และสามารถเข้าไปตรวจสอบการดาเนินการของฝ่ายจัดการ คณะกรรมการดาเนินการได้ 3. การมสี ว่ นร่วมทางเศรษฐกจิ โดยสมาชิก สมาชกิ ทกุ คนมีสว่ นร่วมในการลงทุนในสหกรณ์โดยการถือ หุ้น การฝากเงิน การร่วมธุรกิจของสหกรณ์ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจซ้ือ ธุรกิจขาย ธุรกิจบริการ สวัสดิการต่าง ๆ เม่ือเกิดรายได้สหกรณ์จัดสรรเงินสารองเป็นเงินกองกลางสาหรับพัฒนาสหกรณ์ จัดสรรตอบแทนสมาชิกตาม สัดสว่ นปริมาณธรุ กจิ 4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ เป็นหลักการที่สืบเนื่องจากหลักการข้อท่ี 2 การควบคุม โดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย โดยปราศจากการควบคุมจากอานาจฝ่ายใดทั้งส้ิน จึงทาให้สหกรณ์เป็น องคก์ รทพี่ ่งึ พาและปกครองตนเอง สหกรณจ์ ึงเปน็ องค์การของสมาชิก โดยสมาชกิ และเพ่ือสมาชกิ 5. การศึกษา การฝึกอบรมและข่าวสาร สหกรณ์มีการศึกษาและฝึกอบรมแก่สมาชิก คณะกรรมการ ดาเนินการ ผู้จัดการและเจ้าหน้าท่ีเพ่ือให้บุคคลเหล่านี้สามารถพัฒนาสหกรณ์ของตนเองได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ นอกจากน้ีควรให้ขอ้ มลู ขา่ วสารแกส่ าธารณชนทั่วไปทราบเพอ่ื เป็นการประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ ดว้ ย 6. การร่วมมอื กันระหวา่ งสหกรณ์ สหกรณ์จะสามารถใหบ้ ริการแกส่ มาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ขบวนการสหกรณ์ได้ โดยการร่วมมือกับสหกรณ์ทุกประเภท ทุกระดับ เพ่ือ เชื่อมโยงเปน็ เครือขา่ ยกัน 7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน สหกรณ์จะพัฒนาอย่างม่ันคงย่ังยืนได้ ต้องควบคู่ไปกับชุมชนที่มีการ พฒั นาอย่างมนั่ คงย่ังยนื เช่นกนั สหกรณ์จงึ ต้องสรา้ งกิจกรรมเพือ่ สง่ เสรมิ ชุมชน จดุ หมาย
14 ความเช่ือที่ว่าในการทางานน้ันทุกคนต้องช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จึงจะทาให้การ ทางานหรอื การดาเนินชวี ติ ประสบผลสาเรจ็ ได้ จุดมงุ่ หมายเพอื่ 1. เพอ่ื ให้นักเรยี นไดช้ ว่ ยตนเอง ประกอบดว้ ย ได้มี ขยัน ประหยัด พฒั นาตน หลกี พ้น อบายมุข 2. เพื่อใหน้ ักเรยี นได้ชว่ ยเหลอื ซึง่ กันและกันประกอบดว้ ย มคี วามซือ่ สัตยต์ ่อกัน เสยี สละเพอ่ื สว่ นรวม สามัคคี / ร่วมมือกันพฒั นา มรี ะเบยี บวนิ ยั คุณภาพของผ้เู รียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมเพ่ือให้เป็นคนดี มีความรู้ ความสามารถ โดยมี คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ ดังน้ี มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการดารงชีวิตและครอบครัว การอาชีพ การออกแบบและเทคโนโลยี เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ การทางานและอาชพี มีทักษะในการทางาน การอยู่รวมกันการประกอบอาชีพ การจัดการ การแสวงหาความรู้ เลือกใช้ เทคโนโลยีและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทางาน สามารถทางานอย่างมีกลยุทธ์ สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรอื วิธกี ารใหม่ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน รักการทางาน ประหยัดอดทน ตรงต่อเวลาเอ้ือเฟื้อเสียสละ และมวี นิ ัยในการทางาน เห็นคณุ คา่ ความสาคัญของงานและอาชีพสุจริต ตระหนักถึงความสาคัญของสารสนเทศ การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และพลงั งาน เม่อื จบชว่ งชนั้ ผเู้ รยี นตอ้ งมีความสามารถ ดงั นี้ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1-6 สามารถช่วยเหลือตนเองดว้ ยการทางานในกิจวัตรประจาวัน ชว่ ยเหลอื งานในครอบครวั ใช้ เทคโนโลยีขั้นพน้ื ฐานได้ สามารถคิดและสร้างสง่ิ ของเคร่ืองใชใ้ นชีวิตประจาวันอย่างงา่ ยไดๆ้ ทางานตามท่ไี ด้รับ มอบหมายด้วยความรับผดิ ชอบ ขยัน ซ่ือสัตย์ ประหยดั อดออม ใช้พลงั งานและทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มได้อยา่ งประหยัด คาอธิบายรายวิชา รายวิชาสหกรณ์โรงเรยี นบา้ นปวงคา(ประชาอุทศิ )
14 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 จานวน 40 ชั่วโมง รายวชิ าสหกรณ์นักเรยี น เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ หลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ การทางานร่วมกัน จัดกิจกรรมจาลองเสมือนจริงจากกจิ กรรมสหกรณ์ของผใู้ หญ่ นักเรยี นเปน็ ผู้ดาเนินงาน ควบคุมการทางานในรปู กรรมการ การใช้เคร่ืองมือ ในการทางานในชีวติ ประจาวนั และใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม สามารถทางานรว่ มกนั อย่างมีความสขุ ด้วยความรับผดิ ชอบตามบทบาทหนา้ ที่ ปลูกฝังคุณธรรม ความรัก ความสามคั คี ความซื่อสัตย์ ใช้พลังงาน ทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมอยา่ งประหยัด ปลอดภยั มเี จตคติ ที่ดีต่อการทางาน ผเู้ รยี นแสดงออกดว้ ยการเรยี นรู้ในเรื่องแหล่งเรยี นรู้ท่อี ยภู่ ายในโรงเรียน และทางานเร่ือง 1. เพอ่ื ให้นกั เรยี นฝกึ ประสบการณใ์ น การรวมกลุ่มและการแก้ปญั หา ในการทางานรว่ มกนั 2. เพ่อื ศึกษาประวตั ิความเป็นมา ความเปน็ มาของการสหกรณ์ การจดั ตัง้ สหกรณ์ 3. เพ่ือศึกษาประเภทของสหกรณ์ โครงสรา้ งการบริหารงานสหกรณ์ 4. เพือ่ ศึกษาการจัดทาบัญชี คานวณต้นทุน กาไร 5. นกั เรยี นทางานตามข้ันตอน สงั เกตการปฏบิ ัติงานและผลงาน เมื่อมปี ัญหาสามารถแกป้ ัญหา ปรับปรุงงานอยเู่ สมอ เหน็ คุณคา่ และรกั การทางานรว่ มกัน เพอ่ื ใหร้ ู้จกั การช่วยเหลอื ตนเอง รูจ้ กั การช่วยเหลือ ซง่ึ กนั และกัน นาไปสูก่ ารกินดีมีสันตสิ ขุ
14 สาระการเรยี นรู้ หลักสูตรสหกรณ์นกั เรยี น ได้จดั ประสบการณ์เพ่ือให้นักเรยี นเกดิ การเรียนร้จู ากประสบการจรงิ เนน้ การ ปฏบิ ตั คิ วบคู่เรียนร้ทู ฤษฏี รู้จักการทางานรว่ มกัน กระบวนการทางานกลุ่ม การแกป้ ญั หาในการทางาน รู้จกั การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างมีจิตสานึก ซึ่งมีโครงสรา้ งเน้ือหาท่จี ัดใหเ้ รยี นดังน้ี หนว่ ยท่ี 1 การสหกรณ์คืออะไร - การรวมกลุ่มและการแกป้ ญั หา - สหกรณ์และอดุ มการณ์สหกรณ์ หน่วยท่ี 2 ความเป็นมาของการสหกรณ์ หน่วยท่ี 3 - ประวตั ิการสหกรณ์ - การจดั ตั้งสหกรณ์ รู้ซ้งึ ถงึ สหกรณ์ หน่วยท่ี 4 - หลกั การสหกรณ์ - วธิ ีการสหกรณ์ สหกรณ์ทาอะไรใครรบู้ ้าง - ประเภทของสหกรณ์ - โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์ หนว่ ยท่ี 5 สหกรณ์นักเรยี น - ประโยชน์ของการสหกรณ์ - การประชุมในสหกรณ์ - การบญั ชกี ิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี น - การจัดต้ังกจิ กรรมสหกรณ์นักเรยี น - การเผยแพรก่ ิจกรรมสหกรณน์ กั เรียน
14 บทท่ี 2 แนวทางการดาเนนิ การพัฒนาหลกั สูตรสหกรณ์นักเรยี น การสหกรณก์ บั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดชั้นปี และสาระการเรียนรู้แกนกลางเร่ืองการสหกรณ์ไว้ในสาระเศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ซึ่งเป็น 1 ใน 8 กลมุ่ สาระการเรยี นรูต้ ามหลักสตู รดงั กล่าว กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เปน็ กลุ่มสาระการเรียนรูท้ ่ีต้องเรยี นตลอด 12 ปี การศกึ ษา ตัง้ แตร่ ะดบั ประถมศึกษาจนถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เปน็ กลุม่ สาระการเรียนรทู้ ี่ประกอบมาจากหลาย แขนงวิชา จงึ มลี ักษณะเปน็ สหวทิ ยาการ นาวทิ ยาการจากแขนงวชิ าตา่ ง ๆ ในสาขาสังคมศาสตรม์ าหลอมรวมเขา้ ดว้ ยกนั ได้แก่ ภมู ศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นติ ิศาสตร์ จรยิ ธรรม ประชากรศึกษา สงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษา รฐั ศาสตร์ สงั คมวทิ ยา ปรชั ญาและศาสนา กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม จงึ เป็นกล่มุ สาระการเรยี นร้ทู ่ี ชว่ ยให้ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ การดารงชวี ิตของมนุษยท์ งั้ ในฐานะปัจเจกบคุ คลและการอยูร่ ว่ มกันในสังคม การ ปรบั ตัวตามสภาพแวดล้อม การจดั การทรัพยากรท่ีมอี ยูอ่ ย่างจากดั เข้าใจถงึ การพฒั นา เปลีย่ นแปลงตามยคุ สมยั กาลเวลา ตามเหตปุ จั จัยตา่ งๆ เกิดความเขา้ ใจในตนเอง และผอู้ ื่น มีความอดทน อดกลัน้ ยอมรบั ในความแตกต่าง และ มคี ุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ เป็นพลเมอื งดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก ดังนั้น กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นาธรรม จึงมีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาผู้เรียนให้เกิด ความเจรญิ งอกงามในด้านต่าง ๆ คือ 1. ดา้ นความรู้ ความเข้าใจ จะใหค้ วามรู้แก่ผู้เรียนในเนื้อหาสาระ ความคิดรวบยอดและหลักการสาคัญของ วิชาการต่าง ๆ ในสาขาสังคมศาสตร์ ไดแ้ ก่ ภูมิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ รฐั ศาสตร์ จรยิ ธรรม สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ประชากรศกึ ษา สิง่ แวดล้อมศึกษา ปรชั ญา และศาสนาตามขอบเจตที่กาหนดไวใ้ นแต่ละระดบั ชั้น ในลักษณะ บูรณาการ 2. ดา้ นทักษะ กระบวนการ ความสามารถ ผเู้ รียนจะไดร้ บั การพฒั นาใหเ้ กิดทกั ษะและกระบวนการต่างๆ ใน การดารงชีวิตเช่น ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการทางาน ทักษะทางสังคม ทักษะทางการสืบสวนสอบสวน ทักษะการ สอื่ สาร ทกั ษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการสบื คน้ ทักษะการปรบั ตวั เป็นตน้ 3. ด้านเจตคติและค่านิยม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจะช่วยพัฒนา เจตคติ และค่านิยมเก่ียวกับประชาธิปไตยและความเป็นมนุษย์ เช่น รู้จักตนเอง พ่ึงตนเอง ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย มีความ กตญั ญู อดทน อดกลนั้ รักเกียรติภูมิแห่งตน มีนิสัยในการเป็นผู้ผลิตท่ีดี มีความพอดีในการบริโภค เห็นคุณค่าของ การ ทางาน รูจ้ ักคดิ วิเคราะห์ ร้จู กั การทางานเป็นกล่มุ เคารพสทิ ธขิ องผู้อ่ืนและเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีความผูกพัน กับกลุ่มรกั ทอ้ งถิน่ รักประเทศชาติ เห็นคุณค่า อนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ศรัทธาในหลักธรรม ของศาสนาและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ
14 สรุปได้ว่า กิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจะช่วยให้ ผูเ้ รียนเกิดทกั ษะในการทางานเป็นกลุ่ม นาความรู้ ทักษะ ค่านิยมและเจตคติที่ได้รับจากการเรียนรู้ การอบรมบ่มเพาะ มาใช้ในการแกป้ ญั หาต่างๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ในชีวติ ประจาวันของผเู้ รยี นได้ ฉะนั้น เมื่อมองในภาพรวมแล้ว จะพบว่า ความสาคัญของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรมน้ัน นอกจากจะช่วยให้ผเู้ รยี นมีความรู้ในเรื่องต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมทั้งทางธรรมชาติและสังคม วฒั นธรรมแลว้ ยังมที กั ษะและกระบวนการต่างๆ ทีจ่ ะสามารถนามาใช้ประกอบในการตัดสินใจได้อย่างรอบคอบในการ ดาเนินชีวิต และการมีส่วนร่วมในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในฐานะพลเมืองดี ตลอดจนการนาความรู้ทาง จริยธรรม หลักธรรม ทางศาสนามาพัฒนาตนเองและสังคม ทาให้ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ท่ีมีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมี ความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความ รบั ผิดชอบ มคี วามรู้ ทกั ษะ คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม โดยไดก้ าหนดสาระตา่ งๆไว้ ดังน้ี สาระที่ 1 ศาสนา ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม แนวคิดพืน้ ฐานเก่ียวกบั ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ การนาหลกั ธรรมคาสอนไปปฏบิ ตั ิในการพฒั นาตนเอง และการ อยูร่ ว่ มกนั อย่างสันตสิ ขุ เป็นผ้กู ระทาความดี มคี า่ นิยมทีด่ งี าม พฒั นาตนเองอยเู่ สมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ สังคม และสว่ นรวม สาระท่ี 2 หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม ปจั จบุ นั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ลักษณะและความสาคญั การเป็น พลเมอื งดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม ค่านยิ ม ความเช่ือ ปลกู ฝงั คา่ นยิ มด้านประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ สทิ ธิ หนา้ ท่ี เสรีภาพการดาเนนิ ชวี ติ อย่างสนั ติสขุ ในสงั คมไทยและสังคมโลก สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ การผลติ การแจกจ่าย และการบรโิ ภคสินคา้ และบริการ การบริหาร จัดการทรพั ยากรทม่ี ีอยูอ่ ยา่ งจากดั อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ การดารงชวี ิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ และการนาหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั สาระท่ี 4 ประวัติศาสตร์ เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ศิ าสตร์ วิธกี ารทางประวัติศาสตร์ พฒั นาการ ของมนุษยชาติจากอดีตถงึ ปัจจบุ นั ความสมั พันธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบทีเ่ กดิ จากเหตกุ ารณ์ สาคัญในอดตี บุคคลสาคัญทีม่ อี ทิ ธพิ ลต่อการเปลยี่ นแปลงตา่ งๆในอดตี ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภมู ิ ปญั ญาไทย แหล่งอารยธรรมทสี่ าคัญของโลก สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ ภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมภิ าคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนที่และเครือ่ งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ความสมั พันธก์ นั ของ สิง่ ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธข์ องมนษุ ยก์ ับสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสง่ิ ที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ การ นาเสนอขอ้ มลู ภมู ิสารสนเทศ การอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ มเพ่อื การพัฒนาที่ย่ังยนื
14 สาระและมาตรฐานการเรียนรเู้ ร่ืองการสหกรณ์ในสถานศกึ ษา จึงปรากฏอยู่ในสาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ของ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม การสหกรณ์กับมาตรฐานการเรียนรูก้ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษาฯ สาระและมาตรฐานการเรียนร้กู ารสหกรณก์ าหนดในสาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ดงั น้ี มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชีวิตอย่างมี ดลุ ยภาพ ตวั ช้วี ดั ชนั้ ปี ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ๑. ระบสุ นิ คา้ และ ๑. ระบุ ๑. จาแนกความต้องการ ๑. ระบุปัจจัยทมี่ ผี ลตอ่ ๑. อธบิ ายปัจจัยการ ๑. อธบิ ายบทบาทของ บรกิ ารท่ีใชป้ ระโยชนใ์ น ทรัพยากรท่นี ามาผลติ และความจาเปน็ การเลอื กซื้อสนิ ค้าและ ผลิตสินคา้ และบรกิ าร ผู้ผลติ ทีม่ คี วาม บรกิ าร ๒. ประยุกต์ใช้แนวคิด ชีวติ ประจาวนั สนิ คา้ และบรกิ ารทีใ่ ชใ้ น ในการใชส้ ินคา้ และ ๒. บอกสิทธิพ้นื ฐานและ ของปรชั ญาของ รบั ผิดชอบ ๒. ยกตัวอย่างการใช้ ชวี ิต ประจาวัน บรกิ าร รักษาผลประโยชนข์ อง เศรษฐกจิ พอเพียงในการ ๒. อธิบายบทบาทของ จ่ายเงิน ๒.บอกที่มาของรายได้ ในการดารงชีวิต ตนเองในฐานะผูบ้ ริโภค ทากจิ กรรม ผบู้ ริโภคท่ีรู้ เท่าทัน ในชวี ติ ประจาวนั ที่ไม่ และรายจ่ายของตนเอง ๒. วเิ คราะหก์ ารใช้จา่ ย ๓. อธิบายหลักการของ ต่าง ๆ ในครอบครัว ๓. บอกวิธีและประโยชน์ เกินตวั และเห็น และครอบครัว ของตนเอง เศรษฐกิจพอเพยี งและ โรงเรียนและชุมชน ของการใชท้ รัพยากร ประโยชน์ของการออม ๓.บนั ทึกรายรับรายจา่ ยของ ๓. อธิบายไดว้ ่า อยา่ งยัง่ ยืน ๓. ยกตวั อย่างการใช้ ตนเอง ทรพั ยากรท่ีมอี ยู่จากัดมี ทรพั ยากรใน ๔.สรุปผลดี ผลต่อการผลิตและ ชีวติ ประจาวนั อย่าง ของการใชจ้ ่าย บริโภคสนิ ค้าและบรกิ าร ประหยัด ทเ่ี หมาะสมกบั รายได้และ การออม นาไปใชใ้ น ๓. อธบิ ายหลกั การ ชีวิตประจาวนั ของ สาคัญและประโยชน์ ตนเอง ของสหกรณ์ มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความสมั พนั ธ์ของระบบเศรษฐกจิ และความ จาเปน็ ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก ตวั ช้ีวัดชนั้ ปี ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป.๔ ป. ๕ ป. ๖ ๑. อธิบายเหตผุ ลความ ๑. อธิบายการ ๑. บอกสนิ ค้าและ ๑. อธบิ ายความสมั พันธ์ ๑. อธบิ ายบทบาทหน้าที่ ๑. อธบิ ายความสัมพันธ์ จาเป็นท่ีคนต้องทางาน แลกเปล่ียนสินคา้ และ เบอ้ื งต้นของธนาคาร ระหวา่ งผ้ผู ลติ ผู้บริโภค อยา่ งสุจริต บริการโดยวธิ ตี ่าง ๆ บริการทีร่ ัฐจัดหาและ ทางเศรษฐกิจของคนใน ๒. จาแนกผลดี ผลเสยี ธนาคารและรฐั บาล ๒. บอกความสัมพันธ์ ของการกู้ยืม ๒. ยกตัวอย่างการ ระหว่างผซู้ ้ือกับผู้ขาย ใหบ้ ริการแก่ประชาชน ชุมชน รวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ภายในทอ้ งถิ่น ๒. บอกความ สาคัญ ๒. อธิบายหนา้ ท่ี ของภาษีและบทบาท เบ้อื งต้นของเงิน ของประชาชนในการเสยี ภาษี จากมาตรฐานการเรียนรู้ ได้คาดหวังว่าเมื่อผู้เรียนจบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (12 ปีการศึกษา) แล้ว ผเู้ รยี นควรรูแ้ ละสามารถทาอะไรได้ตามมาตรฐาน ซง่ึ เปน็ การคาดหวังในระดับที่กวา้ ง และใชเ้ วลานานถึง 12 ปี ดงั นัน้ กลุม่ สาระสังคมศึกษาฯ จงึ ได้กาหนดตัวช้วี ดั ชน้ั ปี (ป.1- ม.3) และตวั ช้ีวัดช่วงช้ัน (ม.4- ม.6) ดงั น้ี มาตรฐาน ส ๓.๓ เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่ มอี ยู่จากัดไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและค้มุ คา่ รวมทง้ั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชวี ติ อย่างมีดุลย ภาพ
แผนภูมิ การพัฒนาหลักสูตร 14 1 หลักการ / จุดหมายหลักสูตร สาระท่ี 5 ภูมศิ าสตร์ 2 สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมสหกรณน์ กั เรียน สาระ /มาตรฐาน /มาตรฐานการเรียนรชู้ ว่ งชนั้ 1 3 สาระที่ 2 สาระที่33 สาระที่4 หน้าท่ี เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สาระท1ี่ การสาระท่ี พลเมือง 1 ศาสนา ศลี ธรรม และจริยธรรม วัฒนธรรม สหกรณ์คืออะไร และการ ดาเนินช4วี ติ มาตรฐานการเรยี นรู้ รายปี 5 ผลการเรยี นร้ทู ่ีคาดหวัง สาระการเรยี นรู้ 6 6 หน่วยการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 หนว่ ยท่ี 2 ความ หนว่ ยที่ 3 รู้ซึง้ ถึง หน่วยท่ี 4 หนว่ ยท5ี่ สหกรณค์ ืออะไร เป็นมาของสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณน์ ักเรยี น สหกรณค์ อื อะไรใคร 7 รู้บ้าง แผนการเรียนรู้ แผนการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรู้ แผนการเรยี นรู้ แผนการเรียนรู้ แผนการเรยี นรู้ ท่ี 1-2 ท่ี 3-4 ที่ 5-6 ที่ 7-8 ที่ 9-13
14 แผนผงั สาระการเรยี นรู้ สหกรณน์ ักเรยี น หลกั การสหกรณ์ 1. การสหกรณ์คอื การรวมกลุม่ และการ อะไร แกป้ ัญหา 3 รซู้ งึ้ ถงึ สหกรณ์และ สหกรณ์ อดุ มการณ์สหกรณ์ วิธีการสหกรณ์ ประเภทของ ประวตั ิการสหกรณ์ สหกรณ์ 4 สหกรณ์ทาอะไรใครรบู้ า้ ง สหกรณ์ 2 ความเป็นมาของการ นักเรียน สหกรณ์ โครงสรา้ งการ บรหิ ารงาน 5 สหกรณ์นกั เรียน การจดั ตง้ั สหกรณ์ สหกรณ์ ประโยชน์ของ การเผยแพร่ การสหกรณ์ กจิ กรรมสหกรณ์ นกั เรียน การจดั ตั้งกิจกรรม การประชมุ ใน สหกรณน์ กั เรียน สหกรณ์ การบญั ชีกจิ กรรม สหกรณน์ กั เรียน
14 การบูรณาการการเรียนการสอน วเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ที่สามารถบูรณาการ สหกรณน์ กั เรยี นในการเรียนการสอนสาระ การเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ความร้แู ละทักษะเฉพาะวชิ า กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ หกรณ์นักเรยี น 1. การสหกรณ์คืออะไร 2. ความเปน็ มาของการสหกรณ์ 3. รซู้ ง้ึ ถงึ สหกรณ์ หลักการ วิธกี ารสหกรณ์ 4. สหกรณ์ทาอะไรใครรู้ประเภทของสหกรณ์ โครงสร้างการบรหิ ารงาน 5. สหกรณ์นกั เรียน ประโยชนข์ องการสหกรณ์ การประชมุ ในสหกรณ์ การบัญชีกจิ กรรมสหกรณ์ นกั เรียน การจดั ตั้งกิจกรรมสหกรณน์ กั เรยี น การเผยแพร่กิจกรรมสหกรณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 1. อ่านเชอื่ รายการสินค้า หนงั สืออา่ นเพิ่มเติม 2. การเขียนรายการสินคา้ เขยี นคาโฆษณา เขียนบัญชีต่างๆ 3. รายงานนาเสนอผลงาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 1. จานวนและตัวเลข 2. การชัง่ 3. การทาบัญชีรายรับ รายจ่าย 4. เงนิ การรวมเงิน การทอนเงิน กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. ความสัมพันธ์ส่ิงมีชีวิตกบั สง่ิ แวดล้อม 2. ทรพั ยากรธรรมชาติ 3. อุณหภูมิ น้า
14 กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1. การบรหิ ารจัดการ 2. การบริโภค 3. การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4. การอยู่อย่างพอเพียง 5. คณุ ธรรมการอยู่ร่วมกนั กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ุขศกึ ษา และพลศึกษา 1. การเลอื กซื้อสนิ คา้ ท่ีมปี ระโยชน์ 2. การปอ้ งกันสุขภาพ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา 1. การวาดภาพ 2. ร้องเพลง เลน่ เกม และทาท่าทางประกอบ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ 1. เขยี นคาศพั ท์รายการสินคา้ 2. ฟัง สนทนาคาง่ายๆ บทที่ 3
14 โครงสรา้ งรายวชิ า/หนว่ ยการเรียนรู้/แผนการจัดการ โครงสร้างรายวชิ า การสหกรณน์ ักเรียน เวลา 40 ชั่วโมง หน่วยการเรยี นรู้การสหกรณ์ช้ันประถมศกึ ษา ปีท่ี 1 - ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา น้าหนกั คะแนน (ชัว่ โมง) 100 1. การสหกรณ์คอื อะไร 1 การรวมกลุ่มและการแก้ปัญหา 25 2 สหกรณแ์ ละอดุ มการณ์สหกรณ์ 3 2 ความเปน็ มาของการ 3 ประวัติการสหกรณ์ 2 13 สหกรณ์ 4 การจดั ตัง้ สหกรณ์ 3 รซู้ ง้ึ ถงึ สหกรณ์ 5 หลกั การสหกรณ์ 7 6 วธิ กี ารสหกรณ์ 5 12 4 สหกรณท์ าอะไรใครรู้ 7 ประเภทของสหกรณ์ 7 บ้าง 8 โครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์ 2 9 5 สหกรณน์ กั เรียน 9 ประโยชนข์ องการสหกรณ์ 1 10 การประชุมในสหกรณ์ 2 11 การบัญชีกจิ กรรมสหกรณ์นักเรยี น 4 11 12 การจดั ตัง้ กจิ กรรมสหกรณน์ ักเรยี น 3
14 13 การเผยแพร่กิจกรรมสหกรณน์ กั เรียน 1 ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรยี นรู้ ตวั อย่างแผนการจัดการเรยี นรู้ตามหลักการเพม่ิ พูนปญั ญา พัฒนาความคดิ เพอื่ ใช้เป็น แนวทางจดั การเรยี นรู้ การสหกรณใ์ นสถานศึกษา ดังนี้
14 แผนการเรยี นรกู้ ารสหกรณ์ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 การสหกรณ์คอื อะไร แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 การรวมกลมุ่ และการแกป้ ญั หา เวลา 2 คาบ .................................................................................................................................................. 1. ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวัง ขอ้ ที่ 1. บอกประโยชน์และความสาคญั ของการรวมกลุ่ม 2. แก้ปญั หาดว้ ยการรวมกลมุ่ ได้ 2. สาระการเรียนรู้ การรวมกลุ่ม หมายถึง การท่ีคนมารวมกันโดยมีความต้ังใจทาส่ิงใดส่ิงหนึ่งซึ่งส่ิงนั้นแต่ละคนไม่สามารถ ทาใหส้ าเร็จไดล้ าพังตนเอง ประโยชน์การรวมกลุ่ม คือ ผลที่ได้รับจากการกระทาร่วมกันของคนในกลุ่มซึ่งก่อให้เกิดผลดีสาหรับทุก คน เช่น การเดินทางมาโรงเรียนด้วยกันโดยรถจักรยานผลดีคือไม่ต้องเหนื่อยสองคน การปลูกต้นไม้ในโรงเรียน เมือ่ นกั เรียนร่วมกันปลกู สง่ ผลดที าใหเ้ สร็จเร็ว 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นา 1. ครสู นทนากับผู้เรยี นเกี่ยวกบั การรวมกลมุ่ คนทีม่ คี วามต้องการเดียวกันมารวมกัน 2. เกมฉีกกระดาษ นทิ านมดั แขนงไม้ ขั้นสอน 1. ครูอธิบายเกี่ยวกับความหมายของการรวมกลุ่มให้นักเรียนฟัง โดยให้นักเรียนยกตัวอย่างกิจกรรม อะไรบ้างที่นกั เรยี นตอ้ งร่วมกันทา 2. แบ่งผเู้ รียนเปน็ กลมุ่ แต่ละกลุ่มเลอื กประธาน เลขานุการและตั้งชอ่ื กลุ่ม 3. กลมุ่ ระดมความคดิ ใน 2 ประเด็น คอื - งานลกั ษณะใดท่ีตอ้ งทางานรว่ มกนั และประโยชนข์ องการทางานร่วมกนั คืออะไร ให้นักเรียน นาเสนอหนา้ ชั้นพร้อมยกตวั อย่าง ขนั้ สรปุ ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปเก่ยี วกับแนวความคดิ การทางานเปน็ กลุ่ม 4. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
14 1. เกมฉีกกระดาษ 2. นิทาน มดั แขนงไม้ 3. การถามตอบสภาพความเป็นจรงิ 5. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ 1. สงั เกตการณถ์ าม – ตอบ 2. ตรวจสอบผลจากการรายงานหนา้ ชัน้ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณป์ ฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุ่ม 2. แบบประเมินผลงาน แผนการเรยี นรู้การสหกรณ์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 การสหกรณ์คืออะไร แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 สหกรณ์และอุดมการณ์สหกรณ์ เวลา 3 คาบ .................................................................................................................................................................................
14 1. ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง ขอ้ ที่ 3. อธิบายความหมายของสหกรณ์ได้ 4. บอกองค์ประกอบอดุ มการณส์ หกรณ์มอี ะไรบ้าง 2. สาระการเรียนรู้ 1. สหกรณ์ หมายถึง การทางานร่วมกัน โดยแต่ละคนที่มารวมกันต้องช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือ ซ่ึงกนั และกนั 2. อดุ มการณ์สหกรณ์ คือ ความเช่ือวา่ ในการทางานน้ันทกุ คนตอ้ งชว่ ยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและ กนั จึงจะทาใหก้ ารทางานหรอื การดาเนินชวี ิตประสบผลสาเรจ็ ได้ 2.1 การช่วยตนเองประกอบดว้ ย - ขยัน - ประหยัด - พัฒนาตน - หลกี พ้นอบายมขุ 2.2 การช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกันประกอบดว้ ย - ซอ่ื สัตยต์ ่อกัน - เสยี สละเพ่ือส่วนรวม - สามคั คี / รว่ มมือกันพัฒนา - มีระเบียบวินัย 3. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันนา 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับการอยู่ร่วมกันของสังคม “ การร่วมกันในสังคมจะต้องมี ปญั หาอะไรเกิดข้ึนบา้ ง ” 2. นิทานเทวดากับคนขบั เกวียน นิทานฝูงนกกระจาบติดขา่ ยนายพราน ข้ันสอน
14 1. ครูอธบิ ายความหมายสหกรณ์ 2. ครูอธิบายอุดมการณ์สหกรณ์ ลักษณะการช่วยตนเองและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดย ยกตวั อยา่ งจากนิทานเทวดากับคนขบั เกวยี น นทิ านฝงู นกกระจาบติดขา่ ยนายพราน 3. แบ่งนักเรียนออกเปน็ กล่มุ กลุ่มละ 5 – 8 คน 4. กลุ่มร่วมกันสรุปความหมายของสหกรณ์ ลักษณะการช่วยตนเองและการช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน แล้วนาเสนอหน้าชนั้ ขนั้ สรุป ครูและเพือ่ น ๆ ให้ขอ้ เสนอแนะเพ่ือปรบั ปรุงผลงาน 4. สือ่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เรื่องสหกรณ์และอดุ มการณ์สหกรณ์ 2. นทิ านเทวดากับคนขนั เกวียน 3. นิทานฝูงนกกระจายตดิ ข่ายนายพราน 4. กลุม่ อบายมุข 5. เกมเรียงกระดาษ 5. การวัดและประเมินผล วิธกี าร 1. สังเกตการณ์ทางานกลมุ่ 2. การนาเสนอรายงาน เครือ่ งมือ 1. แบบสงั เกตการณ์ทางานกลุม่ 2. แบบประเมนิ นาเสนอรายงาน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 ความเปน็ มาของการสหกรณ์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 ประวัตกิ ารสหกรณ์ เวลา 2 คาบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1. ผลการเรียนทคี่ าดหวัง ขอ้ ท่ี 5. บอกวัตถุประสงค์ของการนาวธิ กี ารสหกรณ์มาใชใ้ นประเทศไทย
14 6. เลา่ ประวตั ิความเปน็ มาของการสหกรณ์ในประเทศไทยได้ 7. บอกช่ือสหกรณแ์ ห่งแรกในประเทศไทย 8. เลา่ ประวัติสหกรณ์ในชุมชน 2. สาระการเรยี นรู้ ประเทศไทยนาเอาวิธกี ารสหกรณม์ าใช้เป็นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยมี วัตถุประสงค์ท่ีจะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของเกษตรกรประสบปัญหาด้านการประกอบอาชีพ มีหน้ีสินล้น พน้ ตัว รฐั บาลตอ้ งหาวธิ ีการปลดเปล้อื งภาระเหล่านัน้ โดยให้มีการรวมกลุ่มเป็นสหกรณ์ เพื่อเป็นหลักประกันใน การขอก้เู งนิ แหลง่ เงินทุน มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งสหกรณ์และเลือกรูปแบบของสหกรณ์ หาทุน ขนาดเล็กในประเทศเยอรมันมาเป็นต้นแบบและได้มีการจัดตั้งครั้งแรกท่ี ต. วัดจันทร์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก เมื่อ 26 ก.พ. 2459 ใช้ชื่อว่าสหกรณ์วัดจันทร์ไม่จากัดสินใช้ มีสมาชิกแรกต้ัง 16 คน ทุนดาเนินงาน 3,000 บาท วิธีการสหกรณ์ได้ผลดีจึงได้มีการขยายการจัดตั้งไปอย่างกว้างขวางท่ัวประเทศไทย โดยมีการขยาย ประเภทสหกรณ์เพ่ือให้เหมาะสมกับการประกอบอาชีพการเกษตร เช่น สหกรณ์บารุงที่ดิน สหกรณ์การขาย สหกรณ์นิคมฝ้าย สหกรณห์ าทนุ และบารุงท่ีดนิ 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนา ครูกล่าวถึงการรวมกลุ่มกันแก้ไขปัญหาที่เคยเรียนมาแล้วและให้นักเรียนยกตัวอย่างการรวมกลุ่มแก้ไข ปัญหาท่นี กั เรยี นคุน้ เคยและถามนักเรียนวา่ คนแต่ละอาชีพมีปัญหาอย่างใดบ้างพ่อแม่และครอบครัวของนักเรียน มปี ญั หาหรอื ไม่ ขั้นสอน 1. ครแู ละผู้เรียนร่วมสนทนาแลกเปลย่ี น - ปญั หาของเกษตรกรไทยมีมานานและรัฐบาลได้แนะนาให้มีการรวมกลุ่มกันในรูปแบบของ สหกรณ์ครั้งแรกทจ่ี ัดต้ังคอื สหกรณว์ ดั จันทรไ์ ม่จากดั สินใช้ - สหกรณ์หาทุนที่ต้ังข้ึนเป็นคร้ังแรกในประเทศไทยมีส่วนช่วยคล่ีคลายปัญหาด้านหนี้สิน และเงินทุนของเกษตรกรไทยในอดตี เป็นอย่างมาก 2. นักเรียนบอกถึงสหกรณ์ท่นี กั เรยี นรูจ้ กั 3. นกั เรยี นและครูพูดคยุ ถึงสหกรณใ์ นชุมชน 4. นกั เรียนบนั ทึกลงในใบงาน ขั้นสรุป
14 ครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปถงึ ความเป็นมาของสหกรณใ์ นประเทศไทยและสหกรณ์ ในชุมชน 4. ส่อื / แหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบความรูเ้ ร่ืองประวตั ิ ววิ ฒั นาการสหกรณใ์ นประเทศไทย และประวัติสหกรณใ์ นชมุ ชน 2. ประธานกรรมการสหกรณ์ในชมุ ชน 5. การวัดและประเมนิ ผล วิธกี าร 1. สังเกตการณพ์ ูดคยุ ซกั ถาม 2. ตรวจใบงาน เครอื่ งมือ 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรยี น 2. ใบงานของนักเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความเป็นมาของการสหกรณ์ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 การจัดตง้ั สหกรณ์ เวลา 1 คาบ ………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………………. 1. ผลการเรยี นที่คาดหวัง ข้อที่ 9. อธิบายข้นั ตอนของการจัดตัง้ สหกรณ์ไดถ้ ูกตอ้ ง 2. สาระการเรยี นรู้ การจัดต้ังสหกรณ์จะสาเรจ็ สมบรู ณ์ไดต้ ้องมีองค์ประกอบดังน้ี
14 1. ประกอบด้วยคณะบคุ คลไมต่ ่ากว่า 10 คน 2. ต้องจดทะเบียนตามพระราชบญั ญัตสิ หกรณ์ พ.ศ. 2542 3. ต้องมีวัตถปุ ระสงคก์ ารดาเนินงานทแ่ี นน่ อน 4. ตอ้ งมกี ารดาเนินงานตามหลกั และวิธกี ารสหกรณ์ 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นา ครอู ธิบายขั้นตอนของการจัดตัง้ สหกรณ์ ขั้นสอน 1. นกั เรยี นแสดงบทบาทสมมตุ ิเรื่องสองแผน่ ดนิ โดยครูหาอาสาสมัคร 2. นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ และแสดงความคดิ เหน็ 3. ครูเช่ือมโยงความคิดของนักเรียน กระตุ้นให้เห็นข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์หรือคุณค่าของการ รวมกลุม่ ทางาน ขน้ั สรุป 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั สรุปขัน้ ตอนของการจัดตง้ั สหกรณ์ 4. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้ ใบกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมุติเรอื่ งสองแผ่นดนิ 5. การวัดและประเมินผล วธิ ีการ 1. สังเกตการณ์ถาม – ตอบ การแสดงความคดิ เห็น 2. สังเกตจากการแสดง เครือ่ งมือ 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี น 2. แบบประเมนิ การแสดงบทบาทสมมุต
14 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 รู้ซ้งึ ถึงสหกรณ์ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เรอ่ื งหลักการสหกรณ์ เวลา 7 คาบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั ข้อที่ 10. บอกหลักการสหกรณ์ 7 ขอ้ ได้ 11. อธิบายหลกั การสหกรณ์ได้ 2. สาระการเรยี นรู้
14 หลักการสหกรณ์เป็นส่ิงท่ีกาหนดแนวทางปฏิบัติสาหรับสหกรณ์ทั่วโลกถือเป็นหลักสากลปัจจุบันมี 7 ข้อ ได้แก่ 1. เปิดรับสมาชิกท่ัวไปด้วยความสมัครใจ สหกรณ์มีสมาชิกเข้าหรือออกด้วยความสมัครใจ ไม่ว่าจะ เชื้อชาติ ศาสนาใด เพศหญิงหรือเพศชายไมม่ กี ารจากดั 2. การควบคุมโดยสมาชิกตามแนวทางประชาธิปไตย เมื่อทุกคนเข้ามาด้วยความสมัครใจแล้ว การ กาหนดนโยบายในการอยู่ร่วมกันกาหนดโดยตัวแทนจากการเลือกตั้ง ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกันในกิจการของ สหกรณ์ สมาชิกมคี วามเสมอภาคสามารถออกเสยี งได้ 1 เสยี งใน 1 เรือ่ ง โดยไม่เกย่ี ววา่ จะมีหุ้นจานวนเท่าใด และสามารถเขา้ ไปตรวจสอบการดาเนนิ การของฝา่ ยจดั การ คณะกรรมการดาเนนิ การได้ 3. การมีส่วนรว่ มทางเศรษฐกิจโดยสมาชกิ สมาชกิ ทกุ คนมีส่วนร่วมในการลงทุนในสหกรณ์โดยการถือ หุ้น การฝากเงิน การร่วมธุรกิจของสหกรณ์ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจซื้อ ธุรกิจขาย ธุรกิจบริการ สวัสดิการต่าง ๆ เม่ือเกิดรายได้สหกรณ์จัดสรรเงินสารองเป็นเงินกองกลางสาหรับพัฒนาสหกรณ์ จัดสรรตอบแทนสมาชิกตาม สัดส่วนปรมิ าณธุรกิจ 4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ เป็นหลักการที่สืบเนื่องจากหลักการข้อที่ 2 การควบคุม โดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย โดยปราศจากการควบคุมจากอานาจฝ่ายใดท้ังส้ิน จึงทาให้สหกรณ์เป็น องคก์ รทพ่ี ่ึงพาและปกครองตนเอง สหกรณจ์ งึ เปน็ องคก์ ารของสมาชิก โดยสมาชิก และเพื่อสมาชกิ 5. การศกึ ษา การฝกึ อบรมและขา่ วสาร สหกรณ์มีการศึกษาและฝึกอบรมแก่สมาชิก คณะกรรมการ ดาเนินการ ผู้จัดการและเจ้าหน้าที่เพื่อให้บุคคลเหล่านี้สามารถพัฒนาสหกรณ์ของตนเองได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากน้ีควรใหข้ ้อมลู ขา่ วสารแก่สาธารณชนทั่วไปทราบเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ ด้วย 6. การร่วมมอื กนั ระหว่างสหกรณ์ สหกรณ์จะสามารถให้บริการแกส่ มาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุด และเสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้แก่ขบวนการสหกรณ์ได้ โดยการร่วมมือกับสหกรณ์ทุกประเภท ทุกระดับ เพื่อ เชอ่ื มโยงเปน็ เครือข่ายกัน 7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน สหกรณ์จะพัฒนาอย่างมั่นคงย่ังยืนได้ ต้องควบคู่ไปกับชุมชนที่มีการ พฒั นาอย่างม่นั คงยง่ั ยนื เชน่ กัน สหกรณ์จงึ ตอ้ งสรา้ งกิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ ชุมชน 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นา ครูและนักเรยี นร่วมกันสนทนาในประเด็นการอยรู่ วมกันเปน็ สหกรณต์ ้องยดึ ถอื หลกั การสหกรณ์เป็นแนว ปฏบิ ัติ ขน้ั สอน
14 1. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี น 2. ให้กลุม่ ศกึ ษาใบความร้เู รือ่ งหลักการสหกรณ์ 3. แต่ละกลุ่มนาเสนอหลักการสหกรณ์โดยการวาดภาพในกระดาษหรือด้วยวิธีการอ่ืน เช่น บทบาท สมมุติ การแสดงด้วยทา่ ทาง ข้ันสรปุ 1. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปเกย่ี วกับหลักการสหกรณ์ 2. นักเรียนบนั ทกึ สรปุ หลกั การสหกรณ์ 7 ขอ้ ในสมุดงาน 4. ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบเร่อื งหลกั การสหกรณ์ (ภาพพลิก) - ภาพพลิก - แผน่ ปลวิ 2. กจิ กรรมป้ันหนุ่ กจิ กรรมเลอื กต้งั กจิ กรรมตลาดนัด เกมสง่ ข่าว 3. สารคดเี กี่ยวกับการชว่ ยเหลือเออื้ อาทร 4. ใบความรหู้ ลกั การสหกรณ์ 5. การวัดและประเมินผล วิธกี าร สังเกตการณม์ ีส่วนรว่ มปฏิบตั กิ ิจกรรมของนกั เรียน เคร่อื งมือ 1. แบบสังเกตการณท์ างานกล่มุ 2. แบบประเมินผลงาน
14 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 3 รู้ซึง้ ถงึ สหกรณ์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เร่อื ง วิธกี ารสหกรณ์ เวลา 5 คาบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… 1. ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั 12. อธิบายความหมายและข้นั ตอนการดาเนนิ ธุรกจิ การออม ซือ้ ขาย บรกิ าร สินเช่อื ได้ 2. สาระการเรยี นรู้ วิธกี ารสหกรณ์เป็นการรว่ มแรงและรว่ มใจกนั ทาธรุ กจิ ร่วมแรงกันโดยเอาแรงกายแรงความคิดและแรง ทรัพย์มาทาธุรกิจร่วมกัน ร่วมใจกันโดยเอาความเสียสละ ความสามัคคี ความมีวินัย ความซ่ือสัตย์ มาทา ธรุ กิจร่วมกนั ตามหลกั การสหกรณ์ ธุรกจิ สหกรณ์ ได้แก่
14 ธุรกิจการออม หมายถึง สมาชิกสหกรณ์ออมเงินโดยการนาเงินมาฝากกับสหกรณ์ โดยสหกรณ์คิด ดอกเบ้ียเงินฝากให้ในอัตราที่กาหนด ขั้นตอนธุรกิจการออม คือ สมาชิกมีความต้องการออมเงิน สหกรณ์รับ ฝากเงิน คิดดอกเบีย้ เงินฝากใหส้ มาชิก สมาชิกถอนไปใชเ้ มอื่ จาเปน็ ธุรกิจซ้ือ หมายถึง การท่ีสมาชิกไปซ้ือสินค้าส่ิงของเคร่ืองอุปโภค บริโภค ปุ๋ย ยา หรืออ่ืน ๆ จาก สหกรณ์ เพ่อื นาไปใช้ประโยชน์ โดยชาระเงินสดหรือเงินเช่ือตามแต่ตกลงกัน ข้ันตอนธุรกิจซื้อ คือ สมาชิกมี ความต้องการ สหกรณส์ ารวจ สหกรณ์จดั หาสนิ คา้ มาจาหนา่ ย ดาเนินการจาหนา่ ยสินค้าให้สมาชิก สมาชิกใช้ ประโยชนจ์ ากสินคา้ จ่ายเงนิ เฉลย่ี คืนให้สมาชกิ ธุรกิจขาย หมายถึง การที่สมาชิกมีผลผลิตท่ีผลิตได้แล้วนาไปขายให้สหกรณ์ เพ่ือสหกรณ์จะได้นาไป แปรรูปหรือขายสู่ผู้บริโภคต่อไป ข้ันตอนธุรกิจขาย คือ สหกรณ์ส่งเสริมการผลิต สารวจความต้องการ รวบรวมขอ้ มลู รวบรวมผลผลิตจากสมาชกิ สหกรณ์จาหนา่ ย / แปรรปู สมาชิกรบั เงนิ ค่าผลผลติ ธุรกิจบริการ หมายถึง การให้บริการต่าง ๆ ของสหกรณ์แก่สมาชิก เช่น บริการน้า ไฟฟ้า บ้าน เคร่ืองจักร เพื่อให้สมาชิกได้ใช้ประโยชน์และจ่ายค่าบริการแก่สหกรณ์ ข้ันตอนธุรกิจบริการ คือ สมาชิกมี ความตอ้ งการ สหกรณ์สารวจความต้องการ รวบรวมขอ้ มลู จัดบริการสมาชกิ รบั คา่ ตอบแทนจากสมาชิก ธรุ กิจสินเชื่อ หมายถึง การท่ีสหกรณ์ให้สมาชิกกู้เงินหรือส่ิงของไปใช้ในการประกอบอาชีพ หรือใช้ใน การดาเนินชีวิต โดยมีกาหนดว่าเม่ือถึงเวลาต้องมาชาระคืน พร้อมกับจ่ายดอกเบ้ียให้สหกรณ์ ข้ันตอนธุรกิจ สนิ เชือ่ คือ สมาชิกมีความต้องการ แสดงความจานงขอใช้บริการ สหกรณ์พิจารณาอนุมัติ สมาชิกรับสินเชื่อ ใช้ประโยชน์ และชาระคืนพร้อมดอกเบีย้ 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนา ครสู นทนากับนักเรยี นเร่ืองวิธีการสหกรณ์ นาสู่การดาเนนิ ธุรกจิ แตล่ ะธรุ กิจ ขน้ั สอน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอธิบายพฤติกรรมท่ีสาคัญของการรวมกันทาธุรกิจของสหกรณ์โดยใช้เกม การระดมสมอง และการแบง่ กล่มุ 2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ธุรกจิ สหกรณ์ ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปเกีย่ วกบั วธิ ีการดาเนินธรุ กิจสหกรณ์ 4. สื่อและแหลง่ การเรยี นรู้
14 1. ใบความรูเ้ รื่องวธิ กี ารสหกรณ์ 2. เกมอมุ้ เจ้าอ้วน 3. เกมผ้าขาวม้า / กระป๋องนม 4. เกมขายเหมาหอ่ ใหญ่ 5. เกมต่อความยาว 6. เกมแจกทาน 7. อทุ ธาหรณเ์ สาปูนผนงั ปูน 8. ผูจ้ ัดการสหกรณ์ 5. การวัดและประเมินผล วิธกี าร สงั เกตการมสี ่วนรว่ มปฏิบตั ิกิจกรรม เครอ่ื งมือ 1. แบบสังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม 2. แบบประเมนิ ผลงาน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 สหกรณ์ทาอะไรใครรู้บา้ ง แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 เรื่องประเภทของสหกรณ์ เวลา 7 คาบ ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………... 1. ผลการเรยี นท่คี าดหวงั ข้อที่ 13. บอกประเภทสหกรณ์ 7 ประเภทได้ 14. จาแนกความแตกต่างสหกรณ์แตล่ ะประเภทได้ 2. สาระการเรียนรู้ ในประเทศไทยกลุ่มคนท่ีมีปัญหาและความต้องการเหมือนกันสามารถรวมกันใช้วิธีการสหกรณ์แก้ไข ปัญหาทางเศรษฐกิจและสงั คมของตนเองได้โดยการจัดต้ังเป็นสหกรณ์ในปัจจุบันประเทศไทยได้กาหนดประเภท ของสหกรณไ์ ว้ 7 ประเภท ได้แก่
14 สหกรณ์การเกษตร หมายถึง สหกรณ์ที่จัดตั้งข้ึนในหมู่ที่มีอาชีพการเกษตร โดยสามารถให้บริการ เกษตรกรทเี่ ป็นสมาชิกได้ในหลาย ๆ ด้าน เช่น กิจกรรมรวมกันซื้อ วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ ท่ีสมาชิกต้องการ มาจาหนา่ ย กิจกรรมรวมกนั ขายผลติ ผล กิจกรรมสนิ เชอื่ และกจิ กรรมแปรรปู ผลิตผลของสมาชิก สหกรณ์นิคม หมายถึง สหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นในพ้ืนที่รัฐดาเนินการจัดท่ีดินให้เกษตรกรได้มีที่ทากิน พรอ้ มท้ังจัดการดา้ นส่งิ อานวยความสะดวกขนั้ พ้นื ฐาน ดาเนินธุรกิจเช่นเดียวกับสหกรณ์การเกษตร คือ มี กจิ กรรมดา้ นสนิ เชอ่ื กิจกรรมรวมกันซอ้ื กจิ กรรมรวมกันขาย และกจิ กรรมแนะนาสง่ เสริมการเกษตร สหกรณ์ประมง หมายถึง สหกรณ์ท่ีจัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มบุคคลท่ีมีอาชีพการประมงเพ่ือส่งเสริมและ ประกอบอาชพี ดา้ นการประมงโดยใหบ้ รกิ ารหลาย ๆ ด้าน เชน่ เดียวกับสหกรณ์การเกษตร สหกรณ์ออมทรัพย์ หมายถึง สหกรณ์ท่ีกลุ่มบุคคลมีความสัมพันธ์หรือคุ้นเคยกันโดยทางานอยู่ใน หน่วยงานเดียวกัน หรือมีถ่ินฐานใกล้เคียงกันจัดตั้งตามกฎหมายสหกรณ์ เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกรู้จักการออม ทรพั ยแ์ ละสามารถก้ยู มื เงนิ ไดเ้ มื่อเกิดความจาเปน็ ตามหลักการช่วยตนเองและชว่ ยเหลอื ซึ่งและกนั สหกรณ์ร้านคา้ หมายถึง สหกรณ์ที่ผู้บริโภครวมกันจัดตั้ง เพ่ือร่วมกันจัดหาเคร่ืองอุปโภคมาจาหน่าย แก่สมาชกิ และบคุ คลทวั่ ไปโดยมไิ ดแ้ สวงหาผลกาไร แต่เพื่อขจัดการเอารัดเอาเปรียบ และความไม่เป็นธรรมใน การซือ้ สนิ ค้า สหกรณ์บรกิ าร หมายถึง สหกรณ์ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของผู้ประกอบการต่าง ๆ นอกเหนือจากสหกรณ์ท่ีได้กล่าวมาแล้ว ซึ่งแต่ละคนไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ตามลาพัง ตัวอย่าง สหกรณป์ ระเภทนี้ ได้แก่ สหกรณ์เคหสถาน สหกรณผ์ ้ผู ลติ หตั ถกรรม และสหกรณบ์ รกิ ารเดินรถแทก็ ซี่ ฯลฯ สหกรณ์เครดติ ยเู นี่ยน หมายถึง สหกรณ์ที่จดั ตงั้ ขึน้ ในชุมชนเพ่ือส่งเสริมการออม และ แก้ไขปัญหาความเดอื ดร้อนทางดา้ นการเงนิ โดยไม่จากัดอาชพี ของสมาชกิ 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนา ให้นักเรยี นดูภาพการดาเนนิ งานประเภทสหกรณท์ ้ัง 7 ประเภท ขนั้ สอน 1. ครูอธิบายถงึ ประเภทของสหกรณแ์ ละการดาเนินธรุ กจิ ของสหกรณแ์ ต่ละประเภท 2. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี น 3. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ อภปิ รายความรู้ท่ไี ดจ้ ากการดูภาพแตล่ ะประเภทสหกรณ์ ขั้นสรุป 1. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปองคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั ประเภทของสหกรณ์
14 2. นักเรียนสรุปความแตกตา่ งของสหกรณแ์ ต่ละประเภทลงในสมุด 4. สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบความร้เู รอ่ื งประเภทของสหกรณ์ 2. ภาพถ่ายสหกรณ์และธรุ กิจสหกรณแ์ ต่ละประเภท 3. เจา้ หน้าทส่ี หกรณใ์ นพืน้ ท่ี 5. การวัดและประเมินผล วิธีการ สังเกตการรว่ มอภปิ รายซักถามการนาเสนอผลงาน เครือ่ งมอื 1. แบบประเมนิ การรว่ มอภิปรายซักถาม 2. แบบประเมินผลงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สหกรณ์ทาอะไรใครรูบ้ ้าง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 เรือ่ ง โครงสร้างการบรหิ ารงานสหกรณ์ เวลา 2 คาบ ………………………………………………………………………………………………… 1. ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวัง ขอ้ ท่ี 15. บอกบคุ คลฝ่ายตา่ ง ๆ ในสหกรณไ์ ด้ 16. อธิบายความสัมพันธข์ องบคุ คลฝา่ ยตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งในสหกรณ์ได้ถกู ตอ้ ง 17. ระบุหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของบคุ คลฝ่ายตา่ ง ๆ ในงานสหกรณไ์ ด้ 2. สาระการเรียนรู้
14 การบริหารงานภายในของสหกรณ์มีบุคคลฝ่ายต่าง ๆ เก่ียวข้องและรับผิดชอบงานตามรูปแบบที่ปฏิบัติ กันอยโู่ ดยทว่ั ๆ ไป 4 ฝ่าย ได้แก่ สมาชิก คณะกรรมการดาเนินการ เจ้าหน้าท่ี และผู้ตรวจสอบ กิจการ ซ่ึงแต่ละฝา่ ยแบง่ ภาระรับผดิ ชอบ และขณะเดยี วกันก็มคี วามสัมพันธต์ ่อกนั ดังนี้ 1. สมาชิก ใช้อานาจสูงสุดในการควบคุมการดาเนินงานของสหกรณ์โดยผ่านท่ีประชุมใหญ่ และ มอบหมายอานาจในการบริหารงานของสหกรณ์ให้แก่คณะกรรมการดาเนินงานซ่ึงได้รับเลือกต้ังจากที่ประชุม ใหญ่ สมาชิกมีหน้าท่ีต้องเข้าประชุมตามที่สหกรณ์กาหนด มีส่วนร่วมในธุรกิจ และตรวจสอบการดาเนินงาน สหกรณ์ 2. คณะกรรมการดาเนินการ รับการเลือกต้ังจากสมาชิกให้เป็นผู้บริหารงานของสหกรณ์ตามความ ต้องการของสมาชิก และนโยบายที่ได้รับความเห็นชอบจากสมาชิกในที่ประชุมใหญ่ มีหน้าท่ีประชุม คณะกรรมการประจาเดอื น ควบคุมการปฏบิ ตั งิ านของเจ้าหน้าที่ 3. ผู้จัดการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ ได้รับการจัดจ้างจากคณะกรรมการดาเนินการให้ปฏิบัติงาน ดาเนนิ ธรุ กจิ ประจาวันของสหกรณ์บรกิ ารสมาชิกอย่างสอดคล้องกับนโยบายของสหกรณ์ โดยได้รับผลตอบแทน ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทน่ี ้นั 4. ผู้ตรวจสอบกิจการ ได้รับการเลือกตั้งจากท่ีประชุมใหญ่ของสมาชิกให้เป็นผู้ตรวจสอบกิจการด้าน การเงนิ การบัญชี ตลอดจนการดาเนินกิจการประเภทตา่ ง ๆ ของสหกรณเ์ พ่ือรายงานผลการตรวจสอบรวมทั้ง ข้อแนะนาตอ่ ท่ปี ระชุมคณะกรรมการดาเนนิ การและที่ประชมุ ใหญ่ 3. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นา ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาถึงการรวมกันเป็นสหกรณ์ต้องประกอบด้วยบุคคลฝ่ายต่าง ๆ มาทา กิจกรรมร่วมกนั ตามหลักการ และวิธกี ารสหกรณ์ ขนั้ สอน 1. แบ่งกลมุ่ นกั เรียนเทา่ ๆ กัน 2. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ศึกษาใบความรเู้ ร่ืองโครงสร้างการบริหารงานสหกรณ์ 3. แตล่ ะกลุ่มอภิปรายบทบาทหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ ความสัมพนั ธ์ของบคุ คลฝ่ายต่าง ๆในสหกรณ์ 4. นกั เรียนนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น
14 ข้ันสรปุ 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้ 2. นักเรียนบันทกึ ความรลู้ งในใบงาน 4. สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบความรเู้ รอ่ื งโครงสรา้ งการบริหารงานสหกรณ์ 2. ภาพพลกิ 3. นิทานเปลือกกล้วยฆ่ายกั ษ์ 4. นทิ านหนูหนีน้า 5. เหตกุ ารณส์ าคัญในปจั จบุ ัน 5. การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร สังเกตการณ์ร่วมอภิปรายซกั ถามการนาเสนอผลงาน และบนั ทกึ ความรู้ เคร่ืองมอื 1. แบบประเมนิ การรว่ มอภิปรายซกั ถาม 2. แบบประเมินผลงาน
14 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 สหกรณ์นกั เรียน แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9 เรอื่ ง ประโยชน์ของการสหกรณ์ เวลา 1 คาบ ................................................................................................................................................................................. 1. ผลการเรยี นท่ีคาดหวัง ข้อที่ 18. สรปุ ประโยชนข์ องการสหกรณ์ได้ 2. สาระการเรยี นรู้ การรวมกล่มุ และการรวมเป็นสหกรณส์ ามารถแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการประกอบอาชีพต่าง ๆ ให้เกิด ผลประโยชนแ์ กบ่ ุคคลทมี่ ารวมกันเป็นสหกรณ์ ดังนี้ 1. มุง่ ขจดั ปัญหาความเดือดร้อนทางเศรษฐกจิ และสงั คมของสมาชิก
14 2. ให้สมาชิกได้พง่ึ ตนเองและชว่ ยเหลือซึง่ กันและกัน 3. ขจดั ความเอารัดเอาเปรยี บของพอ่ คา้ คนกลางบางกลุ่มลง 4. สง่ เสรมิ การปกครองระบบประชาธปิ ไตย 5. สง่ เสริมความสามคั คมี วี ินยั ในหมคู่ ณะ 3. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นา ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สนทนาประโยชน์ของการจดั ต้ังสหกรณ์และสาเหตุทบ่ี คุ คลมารวมกนั เป็นสหกรณ์ ตามกลมุ่ อาชีพ ขนั้ สอน 1. ครูอธบิ ายถงึ ประโยชนข์ องสหกรณ์แต่ละประเภทที่มีต่อสมาชิก สงั คมและประเทศชาติ 2. เชิญเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์หรือผู้นาสมาชิกหรือกรรมการสหกรณ์มาเป็นวิทยากรเล่าถึง ประโยชนข์ องสหกรณ์ตามทตี่ นเองไดร้ ับจากสหกรณท์ ่ีตนเปน็ สมาชกิ 3. มอบหมายให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันเขียนโฆษณาเชิญชวนให้ผู้ปกครอง / เพ่ือน / ครู สมัคร เป็นสมาชิกสบทบของสหกรณ์ทีอ่ ยูใ่ กลเ้ คียงหรือรว่ มธุรกิจฝากเงนิ ซอื้ สินค้า ขัน้ สรปุ ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปประโยชน์ของการสหกรณ์บันทกึ ในใบงาน 4. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความร้เู รอื่ งประโยชนข์ องสหกรณ์ 2. เจ้าหนา้ ที่สหกรณ์ในพนื้ ท่ี 3. ใบงาน 4. ผู้ปกครองท่ีเป็นสมาชิกสหกรณ์ 5. การวดั และประเมนิ ผล วิธีการ 1. การสนทนาถาม - ตอบ
14 2. ตรวจผลงาน เครื่องมอื 1. แบบประเมินการร่วมอภิปรายซกั ถาม 2. แบบตรวจผลงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สหกรณ์นกั เรียน แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 10 เรอื่ ง การประชมุ ในสหกรณ์ เวลา 2 คาบ ………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………… 1. ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั ข้อท่ี 19. ลาดับข้นั ตอนของการประชมุ ในสหกรณ์ถูกตอ้ ง 20. เรยี งข้ันตอนการประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ การสหกรณ์ได้ 2. สาระการเรยี นรู้ สหกรณ์เป็นการรวมคนมาทางานร่วมกันจึงจาเป็นต้องร่วมกันมาประชุมปรึกษาหารือกันเพื่อกาหนด แนวทางการทางานให้บรรลุวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนด
14 ขน้ั ตอนการประชุมแบ่งออกเป็น 2 ขัน้ ตอนใหญ่ ๆ คือ 1. การเตรียมประชมุ ประกอบด้วยขนั้ ตอนดังน้ี 1.1 กาหนดหัวข้อหรอื เร่อื งท่ีจะประชุม 1.2 ลาดับความสาคญั ของหัวข้อทจี่ ะประชุม 1.3 เตรยี มเอกสารประกอบการประชุม 1.4 กาหนดวัน เวลาท่ีจะเข้าประชมุ 1.5 กาหนดสถานทปี่ ระชมุ 1.6 นัดหมายผูเ้ ขา้ ประชุม 2. ขน้ั ดาเนนิ การประชุม 2.1 ประธานทาหนา้ ท่ีนาการประชมุ 2.2 เลขานกุ ารบนั ทกึ การประชมุ 2.3 การประชมุ ผเู้ ข้าประชมุ ตอ้ งคิด พูด ฟงั แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตุผล 2.4 ขั้นตอนในการพิจารณา คือ รู้ปัญหา สาเหตุท่ีเกิดปัญหา ค้นหา วิธีการแก้ปัญหา เลอื กวิธแี ก้ไขปัญหาที่เหมาะสมทส่ี ดุ ลงมติกาหนดแนวทางปฏิบตั ิ 2.5 การประชุมต้องมีกฎเกณฑ์ คือต้องร่วมกันคิด เคารพกติกาและประธานในท่ีประชุมฟัง เหตุผลผู้อื่น เตรียมคาพูด กริยา ท่าทางท่ีเหมาะสม แสดงความคิดเห็นด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่ใช้เหตุผล สว่ นตัวตัดสนิ ปญั หาสว่ นรวม 2.6 ในการประชุมต้องมีการจัดบันทกึ รายงานการประชมุ และมตทิ ป่ี ระชุมไวเ้ ป็นหลกั ฐาน 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนา ครูอธิบายความหมายของการประชุมขั้นตอนของการประชุมและวัตถุประสงค์ของการประชุมใน สหกรณ์ ขัน้ สอน 1. ให้นักเรียนเขา้ สงั เกตการณป์ ระชุมของสหกรณใ์ นชุมชน
14 2. แบ่งกล่มุ นักเรยี น 4. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั เรยี งขั้นตอนของการประชุมจากการเข้ารว่ มสงั เกตการณ์ ขัน้ สรุป ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปขั้นตอนการประชมุ ที่ถกู ต้อง 4. สอื่ และแหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบความรเู้ รื่องการประชุมในสหกรณ์ 2. นานักเรียนดูการประชมุ ของสหกรณใ์ นชุมชน 5. การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการ 1. การถาม - ตอบ 2. การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เคร่ืองมือ 1. แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม 2. แบบประเมินผลงาน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 สหกรณ์นกั เรยี น แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 11 เรอ่ื ง การบัญชสี หกรณน์ ักเรียน เวลา 4 คาบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………… 1. ผลการเรียนรทู้ ค่ี าดหวัง ข้อท่ี 21. อธบิ ายความหมายของการบญั ชีสหกรณน์ กั เรยี นโดยสงั เขป 22. บันทึกรายการรบั เงนิ และรายการจ่ายเงินของแตล่ ะกิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี น 23. ประยุกตก์ ารบนั ทกึ บญั ชีไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน 2. สาระการเรยี นรู้
14 การบัญชีเป็นการจดบันทึกรายการทางการเงินจากเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งรายการรับเงินและ รายการจ่ายเงนิ ในการดาเนินงานของสหกรณ์นักเรียน นักเรียนผู้เป็นสมาชิกมาร่วมกันถือหุ้น มาร่วมกันออมทรัพย์ โดยการฝากเงินไวก้ บั สหกรณ์ บางคนฝากเงินวนั ละ 1 บาท บางคนฝากเงินวันละ 2 – 3 บาท เมื่อฝากเงิน กันหลายคน และฝากเงินของแต่ละคนไม่เท่ากันก็เป็นการยากที่พนักงานผู้รับฝากจะจายอดเงินฝากของแต่ละ คนได้ จึงต้องมีการจดบันทึกไว้เป็นหลักฐานและเม่ือหลักฐานต่าง ๆ มีมากก็ทาให้สับสนได้จึงต้องนาหลักฐาน นั้นมาเรียงและจดบันทึกให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบ ค้นหาและรวมยอดเงิน ซ่ึงวิธีการจด บนั ทกึ ดงั กล่าวนี้เราเรียกวา่ การบัญชี การบันทกึ รายการรบั เงินและรายการจา่ ยเงินของสหกรณ์นกั เรียนซ่งึ แยกการลงบันทกึ ตามกิจกรรมตา่ ง ๆ คอื 2.1 การรบั สมาชกิ และการดาเนนิ การทว่ั ไป 2.2 การดาเนนิ กิจกรรมรา้ นค้า 2.3 การดาเนนิ กิจกรรมออมทรัพย์ 2.4 การดาเนินกิจกรรมผลิต การบัญชีมีความสาคัญต่อการดาเนินงานของสหกรณ์นักเรียนทาให้ทราบความเคล่ือนไหวในการ ดาเนนิ งานและทราบรายรับ – รายจ่ายของสหกรณ์ ทาให้ตรวจสอบดูแลได้ง่ายและเป็นการฝึกความมีระเบียบ วนิ ยั ทางการเงนิ ซึ่งนักเรยี นจะสามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นชีวิตประจาวันได้ 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นา ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเก่ียวกับการรับเงินและจ่ายเงินของนักเรียนในชีวิตประจาวันว่ามีอะไรที่ เกย่ี วขอ้ งกบั การลงบัญชีบ้าง ขั้นสอน 1. ครอู ธบิ ายความหมายของการบัญชแี ละการบนั ทกึ รายการรบั เงิน - จ่ายเงนิ 2. ให้นักเรียนดูเอกสารทางบญั ชที ี่เกยี่ วข้องกบั การลงบญั ชี 3. ครูเตรยี มโจทย์ทางบญั ชีเพอ่ื ให้นักเรียนได้ปฏิบัตกิ ารลงรายการรบั เงนิ - จา่ ยเงิน 4. แบง่ กลุม่ นักเรียน
14 5. ใหน้ ักเรียนบนั ทกึ บัญชีการรับเงนิ - จ่ายเงนิ 4. มอบหมายให้นักเรียนไปศึกษารายละเอียดการจัดทาบัญชีและให้จัดทาบัญชีรายรับ – รายจ่ายของ นักเรยี นในแต่ละวันเปน็ เวลา 1 สปั ดาห์ จัดทาเปน็ รายงานสง่ ครู ขัน้ สรุป ครแู ละนักเรียนร่วมกันเฉลยการลงรายการรบั – จา่ ยทถ่ี กู ต้อง และครูตรวจผลการบันทึกการรับ - จ่าย ประจาวนั ของนกั เรียน 4. สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบงานเรื่องการบันทึกรายการรบั เงิน - จา่ ยเงนิ 2. นกั เรยี นปฏิบัตกิ ารลงบัญชจี รงิ 3. ตัวอย่างการจดั ทาบัญชีรายรบั – รายจา่ ยที่ถกู ต้อง 5. การวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร 1. การถาม - ตอบ 2. การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เคร่อื งมอื 1. แบบประเมินการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 2. แบบตรวจผลงาน
14 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 สหกรณน์ กั เรยี น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรอ่ื ง การจดั ตง้ั กจิ กรรมสหกรณน์ กั เรยี น เวลา 3 คาบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. ผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั 24. อธบิ ายขน้ั ตอนกจิ กรรมการผลติ 25. อธบิ ายขั้นตอนกิจกรรมรา้ นค้า 26. อธิบายข้ันตอนกิจกรรมออมทรพั ย์ 2. สาระการเรยี นรู้
14 ขั้นตอนของกิจกรรมการผลิต คือ สมาชิกมีความต้องการผลิต สหกรณ์ส่งเสริมการผลิต สมาชิกทา การผลิต จาหน่าย / แปรรปู ผลผลติ ข้ันตอนของกิจกรรมร้านค้า คือ สมาชิกมีความต้องการ สหกรณ์สารวจ สหกรณ์จัดหาสินค้ามา จาหน่าย ดาเนินการจาหนา่ ยสนิ ค้าใหส้ มาชกิ สมาชิกใชป้ ระโยชนจ์ ากสินคา้ จ่ายเงินเฉลี่ยคนื ให้สมาชิก ขนั้ ตอนของกจิ กรรมออมทรัพย์ คอื สมาชิกมคี วามตอ้ งการออมเงิน สหกรณ์รับฝากเงิน คิดดอกเบ้ีย เงินฝากให้สมาชกิ สมาชิกถอนไปใช้เมอ่ื จาเปน็ 3. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นา ครูพูดคยุ กบั นักเรยี นเรอ่ื งกิจกรรมผลติ ร้านค้า ออมทรัพย์ ตามประสบการณท์ ่ีเคยรู้จักและกิจกรรมท่ี โรงเรียนปฏบิ ัติอย่จู ริง ข้นั สอน 1. ครอู ธบิ ายความหมายและข้ันตอนของกจิ กรรมผลติ ร้านค้า ออมทรัพย์ 2. ให้กรรมการแตล่ ะกิจกรรมมาเล่าถึงการดาเนินงาน 3. ให้คณะกรรมการกิจกรรมศึกษาดงู านกิจกรรมท้ัง 3 กจิ กรรมของสหกรณต์ ่าง ๆ 4. คณะกรรมการอธบิ ายถึงขัน้ ตอนทถี่ ูกตอ้ งของแตล่ ะกจิ กรรมใหค้ รูและเพื่อน ๆ ฟัง ขน้ั สรปุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ขนั้ ตอนทส่ี ามารถปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ ในกจิ กรรมท้ัง 3 กจิ กรรมของโรงเรยี น 4. ส่ือและแหล่งเรียนรู้ 1. สหกรณ์ท่ศี ึกษาดูงาน 2. ใบความรู้ 3. กรรมการสหกรณน์ กั เรยี น 5. การวดั และประเมินผล วธิ กี าร 1. การถาม - ตอบ
14 2. การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เคร่ืองมอื แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 สหกรณ์นกั เรยี น แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13 เรื่อง การเผยแพร่กิจกรรมสหกรณ์ เวลา 1 คาบ ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………… 1. ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวงั 27. บอกรปู แบบการประชาสมั พันธ์ได้ 28. สามารถเลอื กสอ่ื ประชาสมั พันธ์ได้ 2. สาระการเรียนรู้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116