Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเชิดชูเกียรติ

หนังสือเชิดชูเกียรติ

Published by คณะเกษตร, 2022-08-02 02:28:47

Description: รางวัลเชิดชูเชิดเกียรติ
บุคคลและผลงานที่สร้างคุณูปการ
ให้กับกิจการด้านด้านข้าวโพด
และข้าวฟ่างของประเทศไทย

Keywords: หนังสือเชิดชูเกียรติ

Search

Read the Text Version

บทนำ การมอบรางวัลเชิดชูเกียรติให้แก่บุคคลและผลงานที่สร้างคุณูปการด้านวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างของ ประเทศไทย ได้จัดขึ้นเป็นครัง้ แรก ในการประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครั้งที่ 40 ประจำปี พ.ศ. 2565 โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือยกย่องเชดิ ชเู กยี รตินกั วิชาการอาวุโสที่พัฒนางานดา้ นขา้ วโพดและข้าวฟา่ งของประเทศไทยมาอย่าง ต่อเนื่องยาวนาน มีผลงานทางวิชาการที่ทรงคุณค่าเชิงประจักษ์ และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม เป็นต้นแบบและเป็น แรงผลักดนั ใหน้ ักวชิ าการรนุ่ หลงั ไดม้ ่งุ มนั่ พัฒนางานท่ีมีคุณภาพ และรักษาความร่วมมอื ทางวิชาการเพอื่ ขบั เคลือ่ นการวิจัย ด้านขา้ วโพดและขา้ วฟ่างของประเทศไทยต่อไป ในครั้งนี้ มีบุคคลและผลงานได้รับการพิจารณาคัดเลือกให้ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ประเภทต่างๆ ได้แก่ นักวิชาการอาวุโสผู้สร้างคุณูปการด้านวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง จำนวน 39 ท่าน นักวิชาการรุ่นกลางผู้สร้างคุณูปการดา้ นวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง จำนวน 3 ท่าน ผู้ส่งเสริมเชิงนโยบายและวิชาการ ด้านขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง จำนวน 2 ทา่ น และผลงานท่สี รา้ งคุณประโยชนด์ า้ นขา้ วโพดของประเทศ จำนวน 2 ผลงาน ซ่ึง ท้ังหมด เปน็ บคุ คลและผลงานทำคณุ ประโยชน์และสร้างช่อื เสยี ง ดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่างของประเทศไทย คณะกรรมการจัดประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครั้งที่ 40 โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวชิ าการเกษตร และกรมส่งเสรมิ การเกษตร ขอแสดงความยนิ ดแี ก่ผไู้ ด้รับรางวลั เชดิ ชูเกียรติทกุ ท่าน และขอยกยอ่ งเชิด ชเู กยี รติบุคคลและผลงานให้เป็นท่ีประจักษส์ ืบไป (รองศาสตราจารย์ ดร.สตุ เขตต์ นาคะเสถียร) รองอธกิ ารบดฝี ่ายวจิ ัยและสรา้ งสรรค์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประธานคณะกรรมการอำนวยการ จดั ประชมุ วชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คร้งั ท่ี 40

สารบัญ 1 3 ประกาศมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประกาศคณะกรรมการอำนวยการ 8 จัดประชุมวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแห่งชาติ ครั้งที่ 40 9 นักวิชาการอาวุโสผู้สรา้ งคณุ ปู การดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง 11 13 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด บุญซอ่ื 15 ศาสตราจารย์ ดร.สจุ นิ ต์ จนิ ายน 17 รองศาสตราจารย์ธวชั ลวะเปารยะ 19 รองศาสตราจารย์ ดร.อมั พร สวุ รรณเมฆ 21 ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สทุ ศั น์ ศรีวฒั นพงศ์ 23 ดร.เพชรรตั น์ วรรณภีร์ 25 นางอรนชุ กองกาญจนะ 27 นายณรงค์ศักดิ์ เสนาณรงค์ 29 ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) ดร.อำนาจ สวุ รรณฤทธิ์ 31 รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ เฟ่อื งฟูพงศ์ 33 รองศาสตราจารย์ ดร.งามชื่น รตั นดิลก 35 รองศาสตราจารย์พร รุง่ แจ้ง 37 ศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สัมพนั ธารักษ์ 39 นางสาวยพุ าพรรณ จุฑาทอง 41 รศ.ดร.ศรัณย์ วรรธนจั ฉริยา 43 รองศาสตราจารย์ ดร. จวงจันทร์ ดวงพตั รา 45 ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถริ พร 47 นายถมยา ทองเหลอื ง 49 นางสุรณี ทองเหลอื ง 51 ศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วงษใ์ หญ่ 53 นายสมชัย ลิ่มอรุณ 55 ศาสตราจารย์ ดร.สุดฤดี ประเทอื งวงศ์ 57 ดร.เอนก ศลิ ปพันธ์ุ 59 นายธวัชชยั ประศาสน์ศรีสุภาพ 61 ดร.ทวีศักดิ์ ภหู่ ลำ 63 นางวัชรา ชณุ หวงศ์ 65 นายสรุ พล เช้าฉ้อง 67 ศาสตราจารย์ ดร.เอจ็ สโรบล 69 ศาสตราจารย์ ดร.กมล เลิศรตั น์ 71 รองศาสตราจารย์ประวติ ร พุทธานนท์ ดร.ธำรงศลิ ป โพธิสงู นายณรงค์ วฒุ ิวรรณ

ดร.สรรเสรญิ จำปาทอง 73 นายสขุ มุ โชติชว่ งมณรี ัตน์ 75 รองศาสตราจารย์ ศานติ เก้าเอย้ี น 77 นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา 79 นายมนตรี คงแดง 81 ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ 83 ดร.สปุ ราณี งามประสทิ ธิ์ 85 นักวชิ าการรุ่นกลางผู้สรา้ งคุณปู การดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง 88 นายสุรพิ ฒั น์ ไทยเทศ 89 นายฉลอง เกิดศรี 91 รองศาสตราจารย์ ดร.ชศู กั ด์ิ จอมพุก 93 ผสู้ ่งเสริมเชิงนโยบายและวชิ าการดา้ นขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง 96 ดร.เกรยี งศกั ด์ิ สวุ รรณธราดล 97 ดร.สวุ ทิ ย์ ชยั เกยี รตยิ ศ 99 ผลงานทสี่ ร้างคณุ ประโยชนด์ ้านขา้ วโพดของประเทศ 102 การทดสอบพนั ธ์ุข้าวโพดลกู ผสมรว่ มกนั ระหว่างภาครัฐและเอกชน (กรอ.) 103 ข้าวโพดลกู ผสมเดย่ี วพันธุส์ วุ รรณ 2301 105

1

2

3

4

5

6

7

รางวลั เชดิ ชเู กยี รติ นกั วชิ าการอาวโุ ส ผสู้ รา้ งคุณปู การด้านวชิ าการ ข้าวโพดและขา้ วฟ่าง 8

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. บรรเจดิ บุญซอื่ ข้าราชการบานาญ ภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. วุฒกิ ารศึกษา สถาบันการศึกษา ประเทศ ไทย 2499 กส.บ.(เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สหรฐั อเมริกา เกียรตินิยม อันดบั 2 สหรฐั อเมริกา 2504 M.S. Cornell University 2510 Ph.D. Purdue University 9

เชิดชเู กยี รติคณุ ปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด บุญซื่อ เป็นบุคคลที่ได้เริ่มต้นงานวิจัยทางด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง ใน ฐานะหวั หนา้ โครงการวิจัยปรบั ปรุงพนั ธ์ุข้าวฟา่ ง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ทางานวจิ ยั รว่ มกบั มูลนธิ ริ ๊อกกี้เฟลเลอร์ (RF) โดยมแี นวคิดในการปรับปรุงพันธุข์ ้าวฟ่างเล้ียงสัตวใ์ หม้ สี เี หลอื ง (high Beta-carotene) ท่เี หมาะแกก่ ารเลี้ยงสัตว์และราคา ถกู กว่าข้าวโพด และพัฒนาพนั ธ์ขุ ้าวฟา่ งที่ด้ังเดิมเปน็ พนั ธข์ุ ้าวฟ่างเมล็ดสีขาวท่ีมีแทนนินสูงคอื พันธุ์ Hegari ใหม้ ผี ลผลิตสูง ไม่ไวแสง และต้านทานโรค ข้าวฟ่างที่คัดเลือกได้จากโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างก็มีหลายสายพันธ์ุ TSS lines ต้ังแต่ TSS1-TSS12 หลงั จากน้ันกม็ กี ารใช้สายพันธเุ์ หลา่ นี้ไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ พนั ธุ์ขา้ วฟ่างให้มีลักษณะทด่ี อี ืน่ ๆ ดว้ ย โดยยังถกู ใช้เป็น source of disease resistance มาจนถึงปจั จุบัน ผลงานจากโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างได้มีการเผยแพร่ในรูปแบบของบทความวิจัยในรายงานการประชมุ ทางวิชาการเกษตรศาสตร์และชีววทิ ยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้แก่ การตอบสนองของพนั ธุ์ข้าวฟา่ งเฮการ่ีทีม่ ีตอ่ ช่วง แสง การทดสอบผลผลิตของข้าวฟ่างพันธ์ุลูกผสมจากสหรัฐอเมริกาท่ีไร่สุวรรณวาจกสิกิจ ผลผลิตของสายพันธ์ุข้าวฟ่างที่ นามาจากตา่ งประเทศและพนั ธ์ลุ ูกผสมท่ีผลติ ขึ้นภายในประเทศ เป็นต้น ดา้ นการบริหาร ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด บุญซ่อื ดารงตาแหน่งหวั หน้าภาควชิ าพชื ไรน่ า ระหว่างปี พ.ศ. 2513-2517 และคณบดคี ณะเกษตร ระหวา่ งปี พ.ศ. 2517-ในชว่ งระยะเวลาดารงตาแหนง่ บริหาร ก็ยงั คงรับผดิ ชอบใน การเปน็ หัวหนา้ โครงการวจิ ัยปรับปรุงพันธ์ขุ ้าวฟ่าง โดยการหางบประมาณสนับสนนุ งานปรับปรงุ พนั ธขุ์ า้ วฟ่าง จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บรรเจิด บุญซอื่ เปน็ นกั วิชาการอาวุโสผู้สร้างคุณปู การดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งที่สมควรเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีต่อไป 10

ศาสตราจารย์ ดร.สจุ นิ ต์ จินายน ขา้ ราชการบานาญ ประวตั กิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ B.S. (Plant Genetics) University of California, Berkeley สหรฐั อเมรกิ า พ.ศ. 2501 M.S. (Genetics) Iowa State University สหรัฐอเมรกิ า Ph.D. (Plant Breeding) Iowa State University สหรัฐอเมรกิ า 2503 2509 11

เชดิ ชูเกียรติคุณูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ศาสตราจารย์ ดร. สุจินต์ จินายน ได้ทางานปรับปรุงพันธ์ุและเป็นหัวหน้าโครงการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เม่ือมีการก่อต้ังโครงการประสานงานปรับปรุงการผลิตข้าวโพดข้ึนด้วยความร่วมมือระหว่าง กระทรวงเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ และทุน Rockefeller Foundation ทาใหง้ านวิจัยเปน็ ไปด้วยดี และในท่ีสดุ ก็ ไดข้ า้ วโพดที่สาคัญมากสาหรบั ประเทศไทย คอื พันธ์ุสุวรรณ 1 เม่อื พ.ศ. 2518 อันเป็นพนั ธ์หุ ลักทเ่ี กษตรกรใช้ปลกู กันทั่ว ประเทศ ทาให้ฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกรดีข้ึนอย่างมาก ข้าวโพดพนั ธุส์ ุวรรณ 1 เป็นพันธุ์ท่ีใช้ในโครงการปรับปรุง พนั ธขุ์ า้ วโพดของหลายประเทศในทวปี เอเชีย ทัง้ นี้เพราะขา้ วโพดพนั ธ์นุ เี้ ปน็ พนั ธุ์ท่ใี ห้ผลผลิตสูงและสม่าเสมอ นอกจากน้ัน ยังเป็นพันธุ์มาตรฐานที่ให้ผลแน่นอนในการทดลองพันธุ์ขององค์การระหว่างประเทศ ข้าวโพดของไทยติดอันดับ 1 ถึง 6 อยเู่ สมอ และจากผลงานวิจัยในเรื่องนี้ ทาให้ ศาสตราจารย์ ดร. สุจินต์ จนิ ายน ไดร้ ับรางวลั ผลงานวิจยั ดเี ด่นจากสานักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจาปี 2517 และนานาชาติรู้จัก ศาสตราจารย์ ดร. สุจินต์ จินายน ในนามของ บิดาแห่ง ขา้ วโพดพนั ธ์ุสวุ รรณ 1 ด้านการเรียนการสอน มีงานเด่นในเร่ืองการปรับปรุงวิชาพันธุศาสตร์และวชิ าการปรับปรุงพันธุพ์ ืช ได้รับเชิญ เปน็ Visiting Scientist ให้กบั ศูนย์วจิ ยั นานาชาติเร่อื งข้าวโพดและข้าวสาลี (CIMMYT) ทีป่ ระเทศเมก็ ซโิ ก ในระหวา่ ง พ.ศ. 2511-2513 ได้รับเชิญจากประเทศไนจีเรียไปเป็น Agricultural Consultant ใน พ.ศ. 2521-2522 และปฏิบัติงาน ใหก้ ับประเทศ Upper Volta จากความสามารถหลายๆ ประการนี้ ศาสตราจารย์ ดร. สจุ ินต์ จนิ ายน จึงได้รับรางวัล และ เกยี รตยิ ศต่างๆ มากมาย ดงั ตอ่ ไปน้ี 2509 Sigma Xi และ Gamma Delta. Honorary Society. Iowa State University Chapter. 2517 รางวัลผลงานดีเด่นรางวัลที่ 2 จากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เร่ือง การใช้เช้ือพันธุกรรม ของขา้ วโพดใหเ้ ป็นประโยชน์ในประเทศไทย 2518 Award of Honor สมาคมวทิ ยาศาสตรเ์ กษตรแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ ในฐานะผ้พู ฒั นา ขา้ วโพดพนั ธ์ใุ หม่ 2523 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศักดิ์ สาขาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 2526 ภาครี าชบัณฑิต สานกั วิทยาศาสตร์ 2529 Award of Honor สมาคมวิทยาศาสตร์เกษตรแหง่ ประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ ในฐานะการส่งเสริม และพัฒนาการข้าวโพด 2529-2530 Executive Board Member Association of Asian Agricultural Colleges and Universities SEARCA Philippines 2531 เครื่องราชอิสริยาภรณ์ Commardeur dans l'Ordove des Palmes Accedemiques สาขาเกียรติ คุณทางการเกษตร ชน้ั Officier du Merite Agrigole จากรัฐบาลฝรั่งเศส 2533 นักวิจัยดีเดน่ แหง่ ชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ 2540 รางวัลบคุ คลตวั อยา่ งแหง่ ปี สาขานกั วิชาการนักพฒั นาการเกษตร 2541 รางวัลผ้บู ริหารราชการพลเรือนดเี ด่น “ครุฑทองคา” จากสมาคมขา้ ราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย พ2542 รางวลั นักเรียนทนุ รัฐบาลดีเด่น ประจาปี พ.ศ. 2542 จากสมาคมนักเรยี นทนุ รฐั บาลไทย 2544 ปรญิ ญาดษุ ฎีบณั ฑิตกติ ติมศักด์ิ สาขาการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2547 ปรญิ ญาวิทยาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตตมิ ศกั ด์ิ สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารผลิตพืช มหาวิทยาลยั มหาสารคาม จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์ ดร. สุจินต์ จนิ ายน เป็นนักวิชาการอาวโุ สผูส้ ร้างคณุ ปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่างที่สมควรเปน็ แบบอย่างที่ดีตอ่ ไป 12

รองศาสตราจารย์ธวัช ลวะเปารยะ ขา้ ราชการบานาญ ภาควชิ าพชื สวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ กสิกรรม พ.ม. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย ปี พ.ศ. 2502 13

เชดิ ชูเกยี รติคุณูปการดา้ นวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟ่าง รองศาสตราจารย์ธวัช ลวะเปารยะ เร่ิมรับราชการในตาแหน่งอาจารย์ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รับผิดชอบการเรียน การสอน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักของนิสิตระดับปริญญาโทและเอก ด้าน งานวิจัยน้นั ในฐานะหัวหน้าคณะวิจัยไดม้ กี ารพฒั นาข้าวโพดหวานสายพันธ์ุตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1) ข้าวโพดหวานพันธไุ์ ทยซูเปอรส์ วีท คอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์ ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้เป็นพันธุ์ปลูกในปี พ.ศ. 2518 ปลูกทดแทนข้าวโพดหวานพันธุ์เดิมซ่ึงไม่ ต้านทานต่อโรคราน้าค้าง และต้ังช่ือเป็นพันธ์ุไทยซูเปอร์สวีท คอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์ ศูนย์วิจัยข้าวโพด และข้าวฟ่าง แห่งชาติ ได้ผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวโพดหวานไทยซูเปอร์สวีท คอมพอสิต 1 ดีเอ็มอาร์ ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกในปี พ.ศ. 2522 2) ข้าวโพดหวานลูกผสมเดยี่ ว 27127 ได้จากการผสมพนั ธ์รุ ะหว่างสายพันธ์ุแทเ้ บอร์ 27 เป็นสายพันธ์ุแม่ กับสายพนั ธแ์ุ ท้ เบอร์ 127 เป็นสายพันธุ์พ่อ ซึ่งสายพันธ์ุแท้ท้ังสองสายพันธุ์นี้สกัดมาจากข้าวโพดหวานพันธุ์ซูเปอร์สวีท ดีเอ็มอาร์ ในปี พ.ศ. 2519-2525 ทดสอบและผลติ เมล็ดพนั ธุ์ระหวา่ งปี พ.ศ. 2526-2530 ศนู ยว์ ิจยั ข้าวโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ ได้ ผลิตเมล็ดพันธุข์ ้าวโพดหวานลูกผสมเดย่ี ว 27127 สง่ เสริมให้เกษตรกรและโรงงานแปรรูปปลกู ในปี พ.ศ. 2531 นับเปน็ พันธ์ุ ข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์แรกที่พัฒนาในประเทศไทยและส่งเสริมให้โรงงานแปรรูป ได้แก่ บริษัทมาลีสามพราน จากัด และ บริษทั เดลฟี่ ดู้ ส์ จากดั ใชผ้ ลติ ข้าวโพดหวานกระปอ๋ งเพื่อการส่งออก และ 3) ขา้ วโพดหวานลูกผสมเดี่ยว 11476 ได้ จากการผสมพนั ธร์ุ ะหวา่ งสายพนั ธุ์แท้เบอร์ 114 เปน็ สายพนั ธุแ์ ม่ กบั สายพนั ธแ์ุ ทเ้ บอร์ 76 เป็นสายพันธพ์ุ ่อ และสง่ เสริม ให้เกษตรกรปลกู ในปี พ.ศ. 2532 ภายใต้โครงการสร้างพันธ์ุพืชลูกผสมสองชั้น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่านเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ดาเนินการวิจยั ปรับปรุงพันธพ์ุ ืชข้าวโพดฝักสด ไดแ้ ก่ ข้าวโพดหวาน ข้าวโพดข้าวเหนียว ข้าวโพดฝักอ่อน และข้าวโพดคั่ว โดยในปี พ.ศ. 2531 ซึ่งเป็นระยะเริ่มต้น ท่ีได้รับ พระราชทานเมลด็ พนั ธ์ุและต้นกล้าขา้ วโพด เพอื่ ใช้เปน็ ต้นพนั ธุ์ ต่อมาโครงการไดม้ ีการขยายพนั ธุ์และผสมพนั ธ์ุ คัดเลือกให้ ปรับตัวได้กับสภาพแวดล้อม และได้คัดเลือกสายพันธุ์จากพันธ์ุ Honey Jean1, Top Sweet2 และ HS 271273 มา ผสมรวมกนั และสกัดสายพนั ธ์แุ ท้ คัดเลือกได้สายพันธุ์จานวนที่มีคุณภาพการรับประทานสงู ขนาดเมล็ดปานกลาง ลกั ษณะ เมลด็ ลึกและมีความออ่ นนุ่มมาก เรียกว่าชุดสายพนั ธ์ุ “ฉตั รทอง” สายพนั ธ์ุในชดุ นีไ้ ด้มกี ารทดสอบสมรรถนะการผสมกบั พันธ์ุ ลูกผสมเดี่ยว เพื่อสร้างพันธุพ์ ชื ลูกผสมสองชั้น เช่น ผสมกับพันธุล์ กู ผสมเดี่ยว พันธุ์เขาหนิ ซ้อน (11476) พบว่า สายพนั ธุ์ แท้ “ฉัตรทอง” จานวน 6 สายพันธุ์ ได้แก่ #11, #14, #15, #29, #34 และ #35 ได้ลูกผสมสามทางทใี่ ห้ผลผลติ สงู มี คุณภาพการบริโภคท่ีดี ฝักสีเหลืองทอง ความหวาน 16-19 brix เหมาะสาหรับบริโภคฝักสดและสง่ โรงงานอุตสาหกรรม ข้าวโพดหวาน นอกจากน้ีต่อมาสายพันธุ์แท้ “ฉัตรทอง” ในชุดน้ีได้ถูกพัฒนาต่อและใช้เป็นสายพันธ์ุพ่อ แม่ ในการผลิต เมลด็ พันธล์ุ กู ผสม “พนั ธุ์ฉตั รทอง F1 ” ในปัจจุบัน จากนนั้ ได้รวบรวมพันธขุ์ า้ วโพดขา้ วเหนียวพ้นื เมืองและนาพนั ธ์ตุ ่างประเทศ เชน่ พนั ธุ์ Silver Queen ทเ่ี มล็ดสี ขาว มีความหวาน เน้ือสัมผัสนุ่มมากและเป็นครีม ซึ่งเกิดจากการทางานของยีนซูการี แต่ปรับตัวได้ไม่ดีในสภาพการปลูก ของประเทศไทย ได้มกี ารผสมระหว่างขา้ วโพดขา้ วเหนยี วพื้นเมอื งกบั ข้าวโพดหวานพนั ธุ์ Silver Queen และคดั เลือกในชว่ั รุ่นลูก จากเมล็ดท่ีแป้งในเอนโดสเปิร์มเป็นแป้งชนิดอะไมโลเพกติน โดยทดสอบการติดสีด้วยสารละลายโปแตสเซียมไอโอ ไดด์ แล้วนามาปลูกเพ่ือผสมพันธุ์และคัดเลือก การคัดเลือกคู่ผสมพบว่าคู่ผสมพบว่าคู่ผสมระหว่างข้าวโพดข้าวเหนียว พืน้ เมอื งพันธ์ุฝักบวั กบั พนั ธุ์ Silver Queen มลี กั ษณะทางการเกษตรและลักษณะฝักท่ีดี จงึ สกัดสายพันธุ์แท้ และทดสอบ สายพันธ์ุแท้ คัดเลือกได้จานวนหน่ึงที่มีคุณภาพการบริโภคดี มีความเหนียว เนื้อสัมผัสนุ่มและเป็นครีม มีความหวาน เรียกว่าชุดสายพันธุ์ “ฉัตรเงนิ ” สายพนั ธ์ใุ นชุดนี้ไดม้ กี ารทดสอบสมรรถนะการผสมและคัดเลอื กจนกระทัง้ ไดส้ ายพันธุ์แท้ท่ี มีความคงตัวสูง ต่อมาสายพันธ์ุแท้ “ฉัตรเงิน” ในชุดน้ีได้ถูกพัฒนาต่อและใช้เป็นสายพันธ์ุ พ่อ แม่ ในการผลิตเมล็ดพันธ์ุ ลกู ผสม “พันธุฉ์ ตั รเงนิ F1” ในปจั จบุ ัน จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ รองศาสตราจารย์ธวัช ลวะเปารยะ เป็นนกั วชิ าการอาวโุ สผู้สรา้ งคุณูปการดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่างที่สมควรเป็นแบบอยา่ งท่ีดีต่อไป 14

รองศาสตราจารย์ ดร.อัมพร สวุ รรณเมฆ ข้าราชการบานาญ ภาควชิ าพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ กสกิ รรมและสัตวบาล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. M.S. (Horticulture) 2502 Ph.D. (Agriculture) มหาวทิ ยาลัยฮาวาย สหรฐั อเมรกิ า Tsukuba University ญี่ปนุ่ 15

เชิดชูเกยี รติคณุ ปู การดา้ นวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่าง รองศาสตราจารย์ ดร.อัมพร สุวรรณเมฆ เป็นผู้ท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านการควบคุมวชั พืช การใช้ป้องกันกาจัด วชั พืชท้งั แบบกอ่ นงอกและหลังงอกในพืชไรห่ ลายชนดิ สาหรบั งานวิจยั ทางดา้ นการปอ้ งกันกาจดั วัชพชื ในขา้ วโพดนน้ั รอง ศาสตราจารย์ ดร.อัมพร สุวรรณเมฆ มีผลงานวิจัยทม่ี ีการเผยแพร่ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507-2523 อาทิเช่น การใช้สารกาจัด วัชพืชบางชนิดในการปลูกข้าวโพดหวาน ผลการใช้ Arsonates และ Paraquat กาจัดแห้วหมู การใช้แอมโมเนียมซัลเฟต เพิม่ ประสทิ ธิภาพยาไกลโฟเสทในการควบคมุ แหว้ หมู เป็นตน้ นอกจากน้ี รองศาสตราจารย์ ดร.อัมพร สุวรรณเมฆ ขณะน้ันดารงตาแหน่งอาจารย์ประจาภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ยงั มีบทบาททส่ี าคญั และเกี่ยวกับสมาคมวทิ ยาการวัชพชื โดยไดร้ ่วมกบั คณุ เผชิญ กาญจโนมัย คณุ ถวลั ย์ มณีวรรณ์ คณุ สนุ ทร นิคมรัตน์ คุณเกลียวพันธุ์ สุวรรณรักษ์ คณุ จารึก บุญศรรี กั ษ์ คณุ ประสาน วงศา โรจน์ และอีกหลายท่าน ในการก่อต้ังสมาคมวทิ ยาการวชั พืชข้ึนมา และท่านได้ทาหน้าที่ นายกสมาคมวทิ ยาการวัชพืช 3 สมัย สมัยละ 2 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2524-2530 ในช่วงเวลาดังกล่าว ประเทศไทยมีปัญหาการระบาดของไมยราพยักษ์ใน ภาคเหนือ สมาคมวิทยาการวัชพืชแห่งประเทศไทย ได้ร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดแ้ ก่ กรมชลประทาน กรมส่งเสรมิ การเกษตร และกรมวิชาการเกษตร จัดสัมมนาเรื่องประโยชนแ์ ละโทษของไมยราพยักษ์ ต่อการพัฒนา และทางานวิจัยเพื่อหาทางกาจัดไมยราพยักษ์ในเขื่อนกิ่วลม จังหวัดลาปาง และพ้ืนท่ีไม่ทาการเกษ ตรใน จังหวัดเชียงใหม่ จนสามารถควบคุมพ้ืนที่การระบาดได้สาเร็จ และได้ริเร่ิมเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมวิชาการวัชพืช นานาชาติ Tropical Weed Science Conference ข้ึนเป็นครั้งแรก ท่ีจังหวัดภูเก็ตในปี 2527 และครั้งท่ีสองท่ีจังหวัด สงขลาในปี 2529 จากผลงานเชิงประจักษ์ขา้ งต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ รองศาสตราจารย์ ดร.อัมพร สวุ รรณเมฆ เปน็ นักวชิ าการอาวุโสผู้สรา้ งคณุ ูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งท่ีสมควรเปน็ แบบอย่างทด่ี ีต่อไป 16

ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร.สุทัศน์ ศรวี ฒั นพงศ์ ข้าราชการบานาญ ภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 2. ประวตั ิการศึกษา วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ กส.บ. เกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. (เกยี รตินิยม อันดบั 2) 2503 M.S. Plant Breeding/Genetics Purdue University สหรัฐอเมริกา Ph.D. Plant Breeding/Genetics Iowa State University สหรัฐอเมรกิ า 2508 2510 Corn breeding CIMMYT Mexico 2516-2517 17

เชดิ ชเู กยี รตคิ ุณูปการดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร. สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ เข้าร่วมโครงการวิจัยข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นับต้ังแต่เรียนจบปริญญาตรี ในปี 2503 ในฐานะผู้ช่วยนักปรับปรุงพันธุ์ สมัย ศาสตราจารย์ ดร.อรรถ นาครทรรพ เป็น หัวหนา้ โครงการวจิ ยั หลังจากจบปริญญาเอก ในปี 2511 ไดร้ ่วมงานปรบั ปรุงพนั ธุ์ขา้ วโพด โดยมี ดร. สุจินต์ จนิ ายน เปน็ หัวหนา้ โครงการ และมี Dr. Ernest W. Sprague หวั หนา้ คณะของมลู นิธิร็อคก้ีเฟลเลอร์ใหก้ ารสนับสนุน ตอ่ มาได้รว่ มงาน วจิ ัยการพฒั นาขา้ วโพดคณุ ภาพโปรตีนสูงร่วมกับ Dr. Vasal ที่ CIMMYT หลังจากนั้น ได้ร่วมพัฒนาข้าวโพดพนั ธุ์สุวรรณ 1 ท่ีมีลักษณะเด่นท้ังในเรื่องผลผลิต และความต้านทานโรคราน้าค้าง ผู้ที่มีบทบาทสาคัญ คือ ดร. สุจินต์ จินายน หัวหน้า โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ ผู้เช่ียวชาญโรคพืช Dr. Bobby L. Renfro มูลนิธิ ร็อคก้ีเฟลเลอร์ และ อาจารย์อุดม ภู่พิพัฒน์ และคณะ ในปี 2516 ได้มีการจัดต้ังคณะอนุกรรมการร่วมระหว่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ือพิจารณาอนุมัติให้เปน็ พันธส์ุ ่งเสริม ให้ใช้ชื่อ สุวรรณ 1 ปี 2517 ดร.สุจนิ ต์ จินายน และ ดร.สทุ ัศน์ ศรวี ัฒนพงศ์ ไดน้ าผลงานการพัฒนาพันธสุ์ วุ รรณ 1 เรอื่ ง การใชเ้ ชอื้ พนั ธกุ รรม ในการพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดในประเทศไทย จนได้รับรางวัลวิจัยดีเด่น จากสภาวิจัยแห่งชาติ ปี 2529-2534 ระหว่างที่ ร่วมงานกับ CIMMYT ได้ตีพิมพ์เอกสารวิชาการ เรื่อง Suwan 1: Maize from Thailand to the World มีการเผยแพร่ ไปท่ัวโลก นอกจากนี้ยังได้พัฒนาพันธุ์ข้าวโพดภายใต้บริษัทเจริญธัญพืช ร่วมกับบริษัท Dekalb AgResearch มีการ ทดสอบพันธ์ุข้าวโพดจากบราซิลและสหรัฐอเมริกามาทดสอบในประเทศ และมีการพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดลูกผสมพันธุ์แรก คอื ซพี ี 1 ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร. สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์ ได้ใช้ความรู้ทางด้านการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดท้ังแบบ conventional และ biotechnology ในการชว่ ยพฒั นาพันธ์ขุ ้าวโพดทั้งภาครัฐและเอกชน ทงั้ ในระดบั ชาติและนานาชาติ พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรในประเทศไทย ทั้งในเรื่อง ความปลอดภัยทางชีวภาพ และทรัพย์สินทางปัญญา ทางานในหน่วยงาน ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ ทาหน้าท่ีประธานกรรมการของ Steering Committee ของ เครือขา่ ยวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยชี ีวภาพขา้ วโพดภาคพื้นเอเซีย (Asian Maize Biotechnology Network-AMBIONET) ที่ก่อตั้งโดย CIMMYT จัดประชุมผู้แทนเครือข่ายเป็นครั้งแรกในประเทศจีน และทาหน้าที่ Interim Chairman and Member of the CIMMYT Asian Maize Biotechnology Network under ADB Support จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์ (พิเศษ) ดร. สทุ ศั น์ ศรวี ัฒนพงศ์ เป็นนกั วชิ าการอาวุโสผูส้ ร้างคณุ ปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่างท่ีสมควรเปน็ แบบอย่างท่ีดี ต่อไป 18

ดร.เพชรรัตน์ วรรณภรี ์ ข้าราชการบานาญ กรมสง่ เสริมการเกษตร อดีตอธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การเกษตร คนท่ี 8 ระดับ 10 ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. วุฒิการศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประเทศ ประเทศไทย 2505 กสกิ รรมและสัตวบาลบัณฑิต (กส.บ) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ สหรฐั อเมรกิ า ประเทศไทย 2510 M.S. (สาขาส่งเสริมการเกษตร) Verginia Polytechnic Institute ประเทศไทย ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สถาบนั เทคโนโลยีการเกษตรแมโ่ จ้ สาขาส่งเสริมการเกษตร 2536 ปริญญาบัตรวทิ ยาลัยปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร วิทยาลยั ป้องกันราชอาณาจักร หลักสูตรปอ้ งกันราชอาณาจกั รภาครฐั ร่วม เอกชน 19

เชดิ ชูเกียรติคณุ ปู การดา้ นวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง ดร.เพชรรัตน์ วรรณภีร์ มผี ลงานการร่วมกบั กรมสง่ เสริมสหกรณ์ สรา้ งศูนย์ผลิตเมลด็ พันธุข์ ้าวโพด ทสี่ ถานีสง่ เสริม สหกรณ์ลพบุรี ตั้งอยู่ใกล้สถานีทดลองพืชของกรมวิชาการเกษตร โดยอยู่ในการควบคุมดูแลและบริหารงานของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ ใช้งบประมาณจากโครงการเงินกู้จากประเทศญี่ปุ่น ของกรมส่งเสริมการเกษตร สร้างโรงงานผลิตและ ปรับปรุงพันธุ์พืชข้าวโพดและข้าวฟ่างให้สถานีขยายพันธ์ุพืชของกรมวิชาการเกษตร ท่ีตาบลท่าตูม อาเภอเมือง จังหวัด ลพบุรี เพ่ือผลิตและขยายพันธ์ุข้าวโพดและข้าวฟ่างให้เกษตรกรในจังหวัดลพบุรีและจังหวัดใกล้เคียง ตามนโยบายของ รัฐบาล รว่ มกับกรมวิชาการเกษตร กรมสง่ เสริมสหกรณ์ และหนว่ ยงานภาคเอกชน ริเริ่มจัดตั้งงานขยายพันธุ์พืชขึ้นในกองส่งเสริมพืชพันธุ์ กรมส่งเสริมการเกษตร โดยการผลิตเมล็ดพันธุ์ ข้าวโพดและข้าวฟ่างขึ้น เพื่อเผยแพร่ให้แก่เกษตรกร ต่อมาได้มีการแบ่งส่วนราชการจัดตั้งเป็นกองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ได้ผลักดันให้มีการผลิต และจาหน่ายเมล็ดพันธุ์พืชแบบอุตสาหกรรมขึ้นภายในประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (Board of Investment : BOI) ทาให้เกษตรกรตื่นตัว ในการใช้เมล็ดพันธ์ุดี เพื่อเพิ่มผลผลิตแพร่หลายมากขึ้น ได้ร่วมทางานกับกองค้นคว้าทดลอง กรมวิชาการเกษตร อย่างใกล้ชิด ในการผลิตเมล็ดพันธ์ุพืชที่ดีใช้ ในการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูก เมื่อกองค้นคว้าทดลองได้คัดเลือกหรือ ผสมพันธุ์พืช เช่นข้าวโพด ข้าวฟ่างและพันธุ์พืชอื่นๆ ตามหลักวิชาการได้แล้ว จะนาเมล็ดพันธ์หลัก (Foundation Seed) ที่ได้มอบให้กับกรมส่งเสริมการเกษตรตามที่ตกลงไว้ เพื่อให้กรมส่งเสริมการเกษตรนาไปขยายพันธุ์ต่อไป โดยมอบเมล็ดพันธ์ุหลักให้เกษตรกรท่ีได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการทาแปลงขยายพันธ์ุดี และเป็นผู้ปลูกขยายพันธุ์ ซึ่งเมล็ดพันธุ์ที่ได้จากการทาแปลงขยายพันธุ์ในชั้นนี้เรียกว่า พันธุ์ขยาย (Multiplication) กรมส่งเสริมการเกษตร จะซื้อเมล็ดพันธุ์จานวนนี้จากเกษตรกรเพื่อนาไปปรับปรุงคุณภาพ โดยการลดความชื้น ทาความสะอาด และคัด ขนาดให้ได้เมล็ดพันธุ์ท่ีได้มาตรฐานและตรวจสอบความงอกก่อนนาไปบรรจุถุง เพ่ือจาหน่ายให้เกษตรกรทั่วไปนาไป ปลูก และจาหน่ายผลผลิตที่ได้ให้แก่พ่อค้านาไปแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่างๆ ต่อไป เมื่อครั้งดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการกองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ได้รับผิดชอบให้ทาการผลิตและขยายเมล็ดพันธ์ุข้าวโพด ปี ละ 3,000- 4,000 ตัน เพื่อใช้ในราชการของกรมฯ โดยใช้เงินกู้จากประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศญ่ีปุ่น เพ่ือ นาไปแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรที่ได้รับความเสียหายจากภัยแล้ง น้าท่วมภัย และภัยจากแมลงศัตรูพืช เช่น ความ เสียหายจากตั๊กแตนที่กัดกินข้าวโพด ในจังหวัดต่างๆ เป็นประจาทุกปี จัดตั้งศูนย์ขยายพันธุ์พืชขึ้นในจังหวัดต่างๆ ทั่วประเทศ รวม 23 ศูนย์ โดยนอกจากจะผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดแล้ว ยังสามารถผลิตเมล็ดพันธุ์พืชไร่อื่นๆ และ เมล็ดพันธุ์ผักชนิดต่างๆ ด้วย ท่านได้ริเร่ิมผลักดันให้มีการผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธ์ุพืชแบบอุตสาหกรรมขึ้น ภายในประเทศโดยได้รับ การสนับสนุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ซึ่งขณะน้ันมีบริษัทคนไทยและบริษัทร่วมทุนกับต่างประเทศเขา้ มาทดลอง ค้นคว้าวิจัย และผลิตจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูง ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศ ของประเทศไทย ก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มปริมาณข้าวโพดอาหารสัตว์ และสนับสนุนให้มีการ จัดต้ังบริษัทผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธ์ุพืชลูกผสม (Hybrid) ข้ึน เช่น บริษัท กรุงเทพอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์พืช จากัด, บริษัท Pioneer จากัด, บริษัท Pacific Seed จากัด, บริษัท คาร์กิลล์ จากัด, บริษัท ซีบ้า-ไกกี้ จากัด, บริษัท เจริญโภค ภัณฑ์ จากัด เป็นต้น ทาให้เริ่มมีการผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธ์ุพืชลูกผสมข้ึนในประเทศไทย จนแพร่หลาย มาจนกระทง่ั ทกุ วนั น้ี และทาใหเ้ กษตรกรตื่นตัวในการใช้เมล็ดพนั ธ์ดเี พ่อื เพ่มิ ผลผลติ แพรห่ ลายมากข้ึน จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ดร.เพชรรัตน์ วรรณภีร์ เป็น นักวิชาการอาวุโสผสู้ ร้างคุณูปการดา้ นวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟา่ งท่ีสมควรเปน็ แบบอยา่ งท่ีดตี อ่ ไป 20

นางอรนชุ กองกาญจนะ ขา้ ราชการบานาญ กรมวิชาการเกษตร อดี ตผู้อานวยการกองกีฏและสตั ววิทยา กรมวชิ าการเกษตร ประวตั ิการศึกษา วฒุ ิการศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ กส.บ. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2508 วท.ม. (เกษตรศาสตร์) 2518 21

เชดิ ชูเกยี รติคุณูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง นางอรนุช กองกาญจนะ เรมิ่ รับราชการเปน็ นักวิจัยในปี พ.ศ.2509 ในกรมกสกิ รรม ปฏบิ ัติงานครงั้ แรกเกีย่ วกับแมลง ศัตรูฝ้าย ซึ่งขณะน้ันมีปัญหาการระบาดของหนอนเจาะสมอฝ้าย Heliothis armigera ต่อมาได้ศึกษาและวิจัยสาเหตุการ ระบาดของหนอนเจาะลาต้นข้าวโพด ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของงานวิจัยท่ีมีการศึกษานิเวศวิทยาของแมลง การศึกษาความ สูญเสียผลผลิตเน่ืองจากการเข้าทาลายของแมลงศัตรู ศึกษาสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะบทบาทของแมลงศัตรูธรรมชาติท้ังใน สภาพห้องปฏบิ ัติการและสภาพไร่ และศึกษาประสิทธภิ าพของสารกาจัดแมลงที่ปลอดภยั ต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อแนะนาการ ป้องกนั กาจดั อย่างเหมาะสม ซง่ึ เรยี กว่า “การบริหารศตั รพู ืช” ในชวี ติ งานบริหาร มสี ว่ นรว่ มในการปฏริ ูปการบรหิ ารภายในของกองกฏี และสัตววิทยา กรมวชิ าการเกษตร ให้นักวจิ ัยมีการ พัฒนาปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการทางานท่ีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มีส่วน ร่วมทางานใน คณะกรรมการฝ่ายธรุ การและบรหิ ารบุคคล จนไดร้ ับมอบหมายใหเ้ ป็นผ้บู รหิ ารระดบั ตน้ ในตาแหน่งหวั หนา้ กลมุ่ งานวิจัยแมลงศตั รู ข้าวโพด และพืชไร่อื่น ๆ จนในท่ีสุดได้รับมอบหมายให้ดารงตาแหน่งเป็นผู้ช่วยผู้อานวยการกองกีฏและสัตววิทยา และเป็น ผูอ้ านวยการกองกีฏและสัตววิทยาในเวลาต่อมา นอกจากงานวิจยั และงานบริหารที่เกี่ยวข้องด้านกีฏวิทยาในขณะรับราชการแล้ว นางอรนุช กองกาญจนะ ได้ช่วยเหลือ สนับสนุนงานของสมาคมกีฏและสัตววิทยาแห่งประเทศไทยมาโดยตลอด และได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกสมาคมฯ ในปี พ.ศ. 2544 - 2545 หลังจากนั้นดารงตาแหน่งเป็นท่ีปรึกษาให้กับสมาคมฯ มาจนถึงปัจจุบัน ขณะเดียวกันได้อุทิศเวลา ให้กับมูลนิธิกฏี วทิ ยาแหง่ ประเทศไทยโดยได้รับแตง่ ต้ังใหเ้ ป็นประธานมูลนิธฯิ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จนถึงปัจจุบัน ซ่ึงมีกิจกรรม หลัก คือ การสรรหาทุนการศึกษาให้กับนิสิต/นักศึกษาท่ีเรียนดีแต่ยากจน สาขาวิชากีฏวิทยา ในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ท่ัวประเทศ เพอ่ื ให้ส่งเสริมและสนบั สนนุ เยาวชนเหล่าน้ันใหม้ ีทนุ ทรัพยแ์ ละมีกาลงั ใจในการเลา่ เรยี น ด้านงานบาเพ็ญประโยชนต์ ่อสาธารณชน ได้ดารงตาแหน่งเป็น อปุ นายกสมาคมเยาวชนนานาชาติ (International Association) ของหมู่บ้านฤดูร้อนเด็กนานาชาติ – CISV (Children‘s International Summer Villages) โดยได้รับเป็น ประธานจัดงานประชุม Annual International Meeting 2005 และเป็น Tristee ประเทศไทยไปร่วมประชุมสัมมนาของ CISV ท่ีประเทศออสเตรเลยี ในปี พ.ศ. 2554 - 2555 ท้ังน้ีเพื่อส่งเสริมมิตรภาพระหวา่ งชาติ สอนให้เยาวชนนานาชาติ เข้าใจซ่ึงกันและกัน และยอมรับในความเหมือน/ความแตกต่างระหวา่ งกัน ตลอดจนให้รู้จักการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสขุ ใน สงั คมและวฒั นธรรมกับผทู้ ีต่ า่ งไปจากตนเองได้ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นางอรนุช กองกาญจนะ เป็น นักวชิ าการอาวโุ สผสู้ รา้ งคณุ ปู การด้านวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟา่ งที่สมควรเปน็ แบบอย่างท่ีดตี อ่ ไป 22

นายณรงคศ์ ักด์ิ เสนาณรงค์ ข้าราชการบานาญ กรมวชิ าการเกษตร อดีตรองอธบิ ดีกรมวิชาการเกษตร ประวตั ิการศึกษา วุฒกิ ารศกึ ษา สถาบันการศึกษา ประเทศ กส.บ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. 2507 M.S. (Agriculture) West Pakistan Agriculture ปากีสถาน 2512 University 23

เชดิ ชูเกียรติคุณปู การด้านวชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟา่ ง นายณรงค์ศักด์ิ เสนาณรงค์ เป็นผู้ประสานงานและร่วมจัดประชุมทางวิชาการข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติ ตั้งแต่ ปี 2513 เปน็ ตน้ มา ท่านเป็นผรู้ เิ รม่ิ กอ่ ต้ัง สมาคมนกั วชิ าการดา้ นปรับปรุงการผลิต เป็นผู้สนบั สนุนการพฒั นาบุคลากร และ ทางานวิจัยและพัฒนาด้านข้าวโพดข้าวฟ่าง เป็นหน่ึงในผู้ประสานงานและคัดเลือกบุคลากรสาขาข้าวโพดข้าวฟ่างไป ฝึกอบรมดา้ นขา้ วโพดท่ี CIMMYT ประเทศเม็กซิโก และดา้ นขา้ วฟา่ งท่ี ICRISAT ประเทศอนิ เดีย เปน็ ผรู้ เิ ริ่มระบบวจิ ยั และ พัฒนา สืบค้นข้อมูลของกรมวิชาการเกษตร ตามโครงการ ACNARP รวมถึงระบบ IT พ.ศ. 2528 – 2536 ท่านได้รับ เลือกให้เป็นผู้เช่ียวชาญด้านข้าวโพดข้าวฟ่าง สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร และเป็นประธานคณะทางานจัดทา แผนพัฒนาข้าวโพดข้าวฟ่าง เพ่ือประสานงานจดั ทาแผนใหส้ อดคล้องกบั แผนนโยบายของกรมวิชาการเกษตร และเปน็ ผูใ้ ห้การ สนับสนุนและให้คาแนะนาในการพฒั นาพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อน ท่ีนาโดยนายประวติ ร พุทธานนท์ จนได้รับรางวัล ผลงานวิจัยดเี ดน่ อันดับ 1 ประจาปี 2533 เรือ่ ง พนั ธุ์ข้าวโพดฝักอ่อนเชยี งใหม่ 90 จากกรมวชิ าการเกษตร ในช่วง พ.ศ. 2537 – 2540 เป็นช่วงที่ท่านดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถาบันวิจัยพืชไร่ ซ่ึงมีภารกิจหน้าท่ีรับผดิ ชอบ หลัก ๆ คือ การวิจัยและพัฒนาพืชเศรษฐกิจ ซึ่งนอกจาก ข้าวโพดข้าวฟ่างแล้ว ยังต้องดูแลในพืชไร่อื่น ๆ ด้วย อย่างไรก็ดี ได้ สนับสนุนให้มีการขึน้ ทะเบียนพันธข์ุ ้าวโพดและพันธขุ์ ้าวฟ่างทีพ่ ัฒนามาก่อนหน้าท่ีจะมี พรบ.คุ้มครองพันธ์พุ ชื พ.ศ. 2542 ไดแ้ ก่ ข้าวโพดนครสวรรค์ 1 ข้าวโพดฝักอ่อนรังสติ 1 ข้าวโพดฝักออ่ นเชียงใหม่ 90 ข้าวโพดหวานฮาวายเอย้ี นซูการห์ วานพเิ ศษ ข้าวโพด เล้ียงสัตว์ลูกผสมนครสวรรค์ 1 ข้าวโพดเทียนสุโขทัย 1 ข้าวฟ่างเฮกการี่หนัก ข้าวฟ่างเฮกการี่เบา ข้าวฟ่างอู่ทอง 1 ข้าวฟ่าง สพุ รรณบรุ ี 60 และขา้ วฟ่างสพุ รรณบรุ ี 1 เปน็ ตน้ นายณรงค์ศักด์ิ เสนาณรงค์ ดารงตาแหน่งรองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร ในช่วง พ.ศ. 2541 – 2545 ซ่ึงเป็น ตาแหนง่ นักบริหารเตม็ ตวั แต่ทา่ นก็ยงั คงมกี ารพฒั นางานวิจัยอย่างต่อเน่อื งเสมอมา จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างตน้ จงึ เห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชเู กียรติให้ นายณรงค์ศกั ดิ์ เสนาณรงค์ เปน็ นักวชิ าการอาวุโสผสู้ รา้ งคณุ ปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งท่สี มควรเปน็ แบบอย่างท่ดี ตี อ่ ไป 24

ศาสตราจารย์ (เกยี รตคิ ุณ) ดร.อานาจ สุวรรณฤทธ์ิ ขา้ ราชการบานาญ ตาแหนง่ ศาสตราจารย์ ระดับ 11 ภาควชิ าปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั ิการศึกษา พ.ศ. วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ ไทย 2509 กส.บ.เกยี รตนิ ิยม (ได้คะแนนเฉลีย่ ตลอด มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ องั กฤษ หลักสูตรเปน็ ท่ี 1 ในรุ่นเดียวกันที่มนี ิสติ รวม 194 คน) 2515 Ph.D. (Soil Science) Univ. of Newcastle Upon Tyne 25

เชิดชเู กยี รติคณุ ปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง ศาสตราจารย์ (เกียรติคณุ ) ดร.อานาจ สวุ รรณฤทธิ์ เกดิ เมอ่ื วันที่ 23 กนั ยายน พ.ศ.2484 ไดรับปรญิ ญากสิกรรม และสัตวบาลบัณฑิต (เกียรตินิยม) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาเอกสาขาปฐพีวิทยาจากมหาวิทยาลัยนวิ คาสเซิลอัพพอนไทน์ ประเทศอังกฤษ ท่านเร่ิมรับราชการในตาแหน่งอาจารย์ ประจาภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 จนกระทั่งเกษียนอายรุ าชการในปี พ.ศ. 2544 เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญ ด้านการจัดการดิน และธาตุอาหารพืชสาหรับการปลูกข้าวโพดท้ังข้าวโพดหวานและข้าวโพดเล้ียงสัตว์ เป็นผลมาจาก ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) ดร.อานาจ สุวรรณฤทธิ์ ได้ทางานวิจัยทางด้านดินและปุ๋ยในข้าวโพด โดยเป็นหัวหน้า โครงการวิจัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520-2539 โดยในช่วงปี พ.ศ.2520-2529 เป็นหัวหน้าโครงการศึกษาเพื่อเพิ่ม ความสามารถของดนิ ในการให้ผลผลิตในการปลกู ข้าวโพดและขา้ วฟา่ ง รวมท้ังการศกึ ษาระบบการเพาะปลกู ท่เี หมาะสม ปี พ.ศ.2530-2539 ศึกษาการใชพ้ ชื บารงุ ดนิ ในการเพาะปลกู ข้าวโพดและข้าวฟา่ ง จะไดเ้ หน็ ได้ว่า ความเชี่ยวชาญดังกลา่ ว เกิดจากผลงานวจิ ยั ทส่ี ะสมมาเป็นระยะเวลายาวนาน ทาใหเ้ กิดองคค์ วามรแู้ ละสามารถถา่ ยทอดสู่เกษตรกรนาไปปฎิบัติทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ และตลอดการทางานทา่ นได้สรา้ งผลงานทางวิชาการทัง้ ระดับชาติและนานาชาติ มากถงึ 216 เรื่อง ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) ดร.อานาจ สุวรรณฤทธ์ิ ได้ทาหน้าที่เป็นอาจารยผ์ ู้ประสิทธิ์ประสาทวิชา ให้ความรู้ และ คาแนะนา ทางวิชาการดา้ นการจัดการดนิ และธาตอุ าหารของขา้ วโพดและพชื อืน่ ๆ แกน่ ิสติ ทัง้ ระดับปรญิ ญาตรี โท และเอก เพ่ือมาเป็นกาลังสาคัญทางวิชาการในปัจจุบันจานวนมาก นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางวชิ าการ ได้รับเกียรติให้ ทาหนา้ ทว่ี ทิ ยากรบรรยายหรอื การอภปิ ราย ด้านการจดั การดินปยุ๋ สาหรับข้าวโพด ตง้ั แตอ่ ดตี จนถึงปจั จบุ ัน นอกเหนือจากงานด้านวิชาการแล้ว ศาสตราจารย์ (เกียรติคุณ) ดร.อานาจ สุวรรณฤทธิ์ ยังเคยดารงตาแหน่ง บริหารที่สาคัญ ได้แก่ หัวหน้าภาควิชาปฐพีวิทยา ประธานสภาข้าราชการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอุปนายกสมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย ท่านเกษียณอายุราชการในตาแหน่ง ศาสตราจารย์ ระดบั 11 และหลงั เกษยี ณอายุราชการไดร้ บั แต่งตัง้ เปน็ ศาสตราจารย์ เกยี รตคิ ณุ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อานาจ สุวรรณฤทธ์ิ เปน็ นักวชิ าการอาวุโสผู้สรา้ งคุณูปการด้านวิชาการข้าวโพดและข้าวฟา่ งที่สมควรเปน็ แบบอย่างที่ดี ตอ่ ไป 26

รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ เฟื่องฟูพงศ์ ขา้ ราชการบานาญ ภาควชิ าพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วุฒกิ ารศึกษา Iowa State University 2509 กส.บ. Iowa State University สหรัฐเอมริกา 2514 M.S. (Crop Production) สหรัฐอเมริกา 2518 Ph.D. (Crop Production and Physiology) 27

เชิดชเู กียรติคุณปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ เฟอื่ งฟูพงศ์ บรรจุเขา้ รบั ราชการในตาแหนง่ อาจารยต์ รี แผนกวิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตร ในปี พ.ศ. 2510 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2512 เป็นอาจารยโ์ ท ภาควชิ าพืชศาสตร์ คณะเกษตร และปี พ.ศ. 2519 เป็นผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ และเป็นรองศาสตราจารย์ ภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2526 หนา้ ท่รี บั ผิดชอบหลักดา้ นการเรยี นการสอนทางด้านสรรี วิทยาการผลิตพืช และเปน็ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาหลัก รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ เฟอ่ื งฟูพงศ์ ร่วมงานวิจยั ในโครงการวิจยั ขา้ วโพดขา้ วฟา่ งนับแตป่ ี 2509 เป็นตน้ มา เปน็ หัวหน้าโครงการ ศ 3.1 (การเพ่ิมผลผลิตข้าวโพดขา้ วฟ่างโดยวิธีเพาะปลกู และบารุงดินที่ถูกต้อง) และโครงการ ศ 11 (การทดสอบข้าวโพดข้าวฟ่างระดบั ไรเ่ กษตรกร) ในชว่ งปี 2518 – 2533 และช่วง 2519 – 2522 ตามลาดบั โครงการวจิ ยั ที่ ไดด้ าเนินการ ตัวอย่างเชน่ - ปี พ.ศ. 2523 มกี ารวจิ ยั เกย่ี วกับเมลด็ พันธุท์ ่ีใช้ในการเพาะปลกู เช่น ดา้ น seed maturity ความหนาแน่น ของการปลกู และการปลกู ภายใต้สภาพการใหน้ ้าชลประทาน - ปี พ.ศ. 2526 มีการวิจยั เกยี่ วกบั การศึกษาวธิ กี ารเพาะปลูกท่ีเหมาะสมสาหรับข้าวโพดและข้าวฟา่ งลกู ผสม นอกจากนั้นยงั มกี ารศึกษาเกย่ี วกบั การควบคมุ และกาจัดวัชพชื - ปี พ.ศ. 2532 มีการวิจัยเก่ียวกับการศึกษาข้าวโพดและข้าวฟ่างเพ่ือเป็นอาหารสัตว์ และการศึกษาเขต กรรมการผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่างเพอ่ื ใชเ้ มลด็ นอกจากนี้ รองศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ เฟอ่ื งฟูพงศ์ ได้รับการแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหน่งรองอธิการบดีฝา่ ย การศึกษาและกจิ การนิสิต ในปี พ.ศ. 2533 และรองอธิการบดีฝา่ ยวจิ ัยและบรกิ ารวิชาการ ในปี พ.ศ. 2541 จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างตน้ จึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชูเกียรตใิ ห้ รองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เฟอ่ื งฟพู งศ์ เป็นนกั วชิ าการอาวุโสผ้สู ร้างคุณปู การด้านวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งทีส่ มควรเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ตี ่อไป 28

รองศาสตราจารย์ ดร.งามช่ืน รตั นดิลก ข้าราชการบานาญ ภาควชิ าพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ พ.ศ. กส.บ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2509 2514 MS. in Crop breeding and genetics UPLB ฟลิ ิปปนิ ส์ 2521 Ph.D. in Plant breeding and genetics University of Arizona สหรฐั อเมริกา 29

เชดิ ชเู กยี รติคณุ ปู การดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง รองศาสตราจารย์ ดร.งามชื่น รัตนดิลก เร่ิมทางานวิจัยปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง ตั้งแต่ปี 2509-2517 ร่วมกับ มูลนิธิร๊อกก้ีเฟลเลอร์ (RF) ที่สถานีวิจัยข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติ โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างเล้ียงสัตว์ให้มีสีเหลือง (high Beta-carotene) ท่ีเหมาะแก่การเล้ียงสัตว์และราคาถูกกว่าข้าวโพด วัตถุประสงค์ของโครงการคือพัฒนาพันธุ์ข้าว ฟ่างที่ดั้งเดิมเป็นพันธ์ุข้าวฟ่างเมล็ดสีขาว มีแทนนินสูง คือพันธ์ุ Hegari เพ่ือให้มีผลผลิตสูง ไม่ไวแสง มีความต้านทานต่อ โรค Stalk rot, root rot และ leaf spots นอกจากนี้ มีความคิดริเร่ิมเก่ียวกับการปรับปรุงพันธ์ุพืชให้ต้านทานโรคแมลง และสภาพอากาศต่าง ๆ โดยการปฏิบตั ิงานในโครงการปรับปรุงพันธ์ุข้าวฟ่าง มี ดร.บรรเจิด บุญซื่อ เป็นหัวหน้าโครงการ และ Dr. E.Spreque เป็นท่ีปรึกษา มี Dr. Richard R.Harwood เป็นผู้ร่วมงาน ซ่ึงต่างเป็นเจ้าหน้าท่ีและผู้เช่ียวชาญของ มูลนิธิร๊อกก้ีเฟลเลอร์ โดยมีหัวหน้าสถานีวิจัยร่วมดาเนินงานคือ นางสุรณี ทองเหลือง นายสุธี ระย้าแก้ว และนายสุรพล เชา้ ฉ้อง เป็นผูร้ ่วมโครงการ ณ ศูนย์วจิ ยั ข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ ในการปรบั ปรุงพนั ธุ์ขา้ วฟา่ งเฮกการีของไทย ให้ต้าน ทางโรคตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นปัญหาและการหักลม้ ทาใหเ้ กบ็ เก่ียวลาบากนัน้ ทางโครงการได้รบั ความช่วยเหลือจาก RF โดยนาพนั ธุ์ ข้าวฟ่างจาก World Collection มาคัดเลือกในปี 1960 ท่ีไร่สุวรรณ โดยร่วมมือกับ Dr. E. Spreque โดยมี Dr.Lee House ผเู้ ชี่ยวชาญมาคอยดูแลแนะนา และปฏบิ ัตงิ านผสมพนั ธุ์แบบ Specific crossing และ Diallel crosses programs โดยต้องทางาน emasculation เพื่อเตรียมดอกตัวเมียไว้ผสมพันธุ์ในวันรุ่งขึ้น โดยเวลาผสมอยู่ประมาณ 1 เดือน จนได้ เมล็ดครบทุกคู่ผสม หลังจากการค้นคิดการทา emasculation ข้าวฟ่าง ก็มีการพัฒนาวิธีการและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ emasculate เนื่องจากข้าวฟา่ งทายากกวา่ ขา้ วสาลจี ึงตอ้ งมกี ารประดิษฐ์เครอ่ื งมอื เกบ็ เกย่ี ว ใช้ไมเ้ หลาคล้ายดินสอเป็นด้าม แล้วใชเ้ ขม็ เยบ็ ผ้าติดด้านหนึ่งใหแ้ บนแต่ไม่คมถา้ คมจะทาให้ยอดเกสรตวั เมียขาดไปได้เพราะเราต้องการกาจดั เกสรตัวผู้ท่ีมี ในแต่ละดอกขา้ วฟ่างใหห้ มดแล้วใช้ glassen bag คลุมไว้ใหแ้ น่นด้วย paper clip ไว้แล้วเขียนวันที่จะผสมในวันรุง่ ขึน้ ตอน เชา้ ทีจ่ ะเก็บรวบรวมละอองเกสรตัวผจู้ ากตน้ พ่อท่ีดมี าผสมแลว้ คุลมไว้ดว้ ย glassen bag เขยี นวนั ที่ผสมและชือ่ คู่ผสมและ ภายใน 3 วันกต็ ้องเปล่ยี น glassen bag เปน็ ถงุ ผ้าซึ่งกต็ อ้ งตดั เย็บดว้ ยการออกแบบใชผ้ ้ามงุ้ ขาวบางมหี รู ดู เพือ่ จะไดไ้ ม่หลดุ ตามลมไป ติด tag ชื่อพ่อแม่และวันผสมเพ่ือสะดวกในการเก็บเมลด็ ลูกผสมต่อไป ซ่ึงปัจจุบันก็ยังใช้อปุ กรณ์เหล่าน้ีในการ ผสมพนั ธุ์ข้าวฟา่ ง มกี ารทา preliminary trials, yield trials และ Regional trials งานโครงการวิจัยข้าวฟ่างเริ่มทดลองพันธ์ุใหม่ทั้งหมด 12 สายพันธุ์ โดยมีช่ือย่อว่า TSS line no. ต่าง ๆ ตามท่ี ไดม้ าจากการผสมพันธ์ใุ นปี 2509 TSS ย่อมาจาก Thai Sorghum Selections โดยมกี ารปลูกเป็นแปลงสาธิตทีไ่ ร่สุวรรณ เป็นแปลงใหญ่ พนั ธ์ลุ ะ 2 เฮกตาร์ต่อ block พันธ์ใุ หม่ท่ีไดเ้ หลา่ นี้มีลักษณะชอ่ ดอกทรงพ่มุ หลวม ๆ เมล็ดสเี หลืองทอง เม่ือ สุกแก่เมล็ดมีขนาดใหญ่ ต้านทานโรคต่างๆ ท้ังทางลาต้น (stalk rot) ทางราก (root rot) และทางใบ (leaf spots) หลาย ชนิดและเห็นว่าข้าวฟา่ งเหล่านี้จะมใี บเขียวตลอดจนแก่ (Stayed green) เป็นท่ีต้องการของนักปรับปรุงพันธ์ุ มีลาต้นเตี้ย ประมาณ 160-170 เซนติเมตร เหมาะสาหรับเก็บเกี่ยวด้วยเคียว (ชาวไร่ชอบเก็บข้าวฟ่างด้วยมือโดยไม่ต้องก้มให้ปวด หลัง) และไมห่ กั ล้มเมอื่ แก่ ไม่มีโรคทางช่อ (head mold, weathering diseases) เหมาะสาหรบั ปลกู กอ่ นชว่ งฤดูแล้งท่ีจะ มาถงึ กส็ กุ แก่พอดี เนน้ ต้องปลกู หลังขา้ วโพดหรอื พืชไร่อื่นๆ ปลายฝนโดยได้รบั นา้ ฝนประมาณ 1 เดอื น เป็นอยา่ งน้อยแล้ว เร่ิมติดเมล็ดแก่เม่ือฝนหมดเท่าน้ัน ถ้าปลูกต้นฝนจะทาให้เมล็ดขึ้นราได้ เพราะข้าวฟา่ งเป็นเมล็ดท่ขี ้ึนราได้ง่ายมาก ถ้าแก่ กลางฝนก็จะไม่ได้ผลผลิต ข้าวฟ่างท่ีคัดเลือกได้จากโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างก็มีหลายสายพันธุ์ TSS lines ต้ังแต่ TSS1-TSS12 หลังจากนน้ั กม็ ีการใช้สายพันธเุ์ หล่าน้ไี ปทาการปรบั ปรุงใหม้ ีลักษณะที่ดอี ่ืน ๆ ดว้ ย โดยยงั ถกู ใชเ้ ปน็ source of disease resistance ในโครงการวิจัยในปีต่อมา หลังจากที่ได้เดินทางไปศึกษาระดับปริญญาเอก ณ ประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้ทางานวิจัยเรื่อง การปรับปรุงพนั ธข์ุ ้าวฟ่าง ณ มหาวิทยาลัยแหง่ รัฐ Arizona ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ กลับมาในปี พ.ศ. 2521 ก็ได้ไปทาวิจัยกับสถาบันวิจัย CIMMYT และเข้ามาปฏิบัติงานที่ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่าง แหง่ ชาติ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชูเกียรติให้ รองศาสตราจารย์ ดร. งามช่ืน รตั ดิลก เปน็ นักวชิ าการอาวโุ สผสู้ รา้ งคุณูปการด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่างที่สมควรเปน็ แบบอย่างทด่ี ตี ่อไป 30

รองศาสตราจารย์พร รงุ่ แจง้ ขา้ ราชการบานาญ ภาควิชาพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ. วุฒกิ ารศึกษา สถาบันการศึกษา ประเทศ 2510 กส.บ. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2515 M.S. (Agriculture) U.P. Agricultural University อินเดีย 31

เชดิ ชูเกยี รติคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง รองศาสราจารย์ พร รุ่งแจง้ เรมิ่ รับราชการในตาแหน่งอาจารย์ตรี ประจาศูนย์วิจยั ขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี พ.ศ. 2511 และเป็นอาจารย์โท สานักงานอธิการบดี ในปี 2512 ต่อมาในปี พ.ศ. 2527 เปน็ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ภาควชิ าพชื ไรน่ า คณะเกษตร และดารงตาแหนง่ รองศาสตราจารย์ ในปี พ.ศ. 2541 ด้าน งานวิจัย รองศาสตราจารย์ พร รุ่งแจ้ง เป็นผู้ร่วมโครงการวจิ ัยการทดสอบระดับไร่กสิกร ร่วมกับหัวหน้าโครงการวจิ ัย คือ รองศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เฟื่องฟูพงศ์ และเป็นหัวหน้าโครงการการผลิตเมล็ดพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2525-2527 มี ผลงานวิจยั เผยแพรท่ ้ังทางดา้ นการทดสอบระดบั ไร่กสกิ ร การผลติ เมล็ดพนั ธุ์ ทางด้านการบริหาร รองศาสตราจารย์ พร รุ่งแจ้ง ดารงตาแหน่งรักษาการผู้อานวยการศูนย์วจิ ัยข้าวโพดและ ข้าวฟ่างแห่งชาติ และหัวหน้าสถานีวิจัยสุวรรณวาจกกสิกิจ ในปี พ.ศ. 2521 และดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วิจัย ข้าวโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ และหัวหน้าสถานวี จิ ัยสุวรรณวาจกกสิกจิ ระหว่างปี พ.ศ. 2525-2529 รวมระยะเวลา 4 ปี โดยในปี พ.ศ. 2526 ได้สร้างโรงงานผลิตเมล็ดพันธ์ุ พ้ืนท่ีบริเวณหลังเขา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริม การเกษตรและมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ เพือ่ ใชป้ ระโยชน์ในการปรับสภาพเมล็ดขา้ วโพด ข้าวฟ่าง และพืชอน่ื ๆ สาหรบั จาหน่ายเป็นเมล็ดพันธ์ุดีให้แก่เกษตรกร จวบจนถึงปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2529 ดารงตาแหน่งผู้ช่วยอธิการบดีฝ่าย กิจการพิเศษ (มีหน้าท่ีพัฒนาระบบชลประทานของวิทยาเขตกาแพงแสน) ปี พ.ศ. 2540-2545 ผู้อานวยการสถาบัน อนิ ทรีเพ่อื การค้นคว้าและพฒั นาพืชศาสตร์ และปี พ.ศ. 2544 ดารงตาแหนง่ รองประธานกรรมการที่ปรึกษาศูนย์ขา้ วโพด และข้าวฟ่างแห่งชาติ โครงการสถาบนั อินทรจี ันทรสถิตย์ฯ ในระหว่างที่ทาหน้าท่ีบริหารศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างนั้น ได้สานต่อการพัฒนาระบบโครงสร้างและ สาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น เช่น ถนนหนทาง อาคารที่ทางาน บ้านพักอาศัย ประปา ไฟฟ้า และอีกมากมายที่อาจารย์ อัญเชิญ ชมภูโพธิ์ ได้วางรากฐานไว้ ขณะที่ทาหน้าที่ในฐานะผู้บริหารศูนย์วจิ ัยข้าวโพดและข้าวฟ่างน้ัน รองศาสตราจารย์ พร รุ่งแจ้ง ยดึ หลักในการปฏิบัติงานที่สาคัญ 5 ประการคอื 1. รักษา ปรบั ปรุง และพฒั นา ปัจจยั พ้ืนฐานตา่ งๆ ใหพ้ ร้อมท่ีจะใช้ในงานวิจัยไดต้ ลอดเวลา 2. ให้ความรว่ มมือและให้บรกิ าร แก่นกั วจิ ัยจากหน่วยงานตา่ งๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนอยา่ งเตม็ ท่ี 3. ใหบ้ ริการด้านความรู้แกบ่ ุคคลทว่ั ไป 4. เสรมิ ความม่นั คง สร้างความกา้ วหนา้ และให้สวสั ดิการแกบ่ คุ ลากรของไรส่ ุวรรณอยา่ งเต็มท่ี 5. สรา้ งใหเ้ กิดความสมั พันธอ์ ันดีตอ่ ไร่สุวรรณทั้งกับบุคคล และหน่วยงานตา่ งๆ ในทอ้ งทีแ่ ละระดับประเทศ เมอ่ื มโี อกาส จากผลงานเชงิ ประจักษ์ข้างตน้ จงึ เห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชดิ ชูเกยี รตใิ ห้ รองศาสราจารย์ พร รุ่งแจง้ เป็น นกั วชิ าการอาวโุ สผู้สร้างคุณปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งทีส่ มควรเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีตอ่ ไป 32

ศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สัมพันธารกั ษ์ ขา้ ราชการบานาญ ภาควชิ าพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวตั กิ ารศึกษา สถาบันการศึกษา ประเทศ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย ปี พ.ศ. วฒุ ิการศึกษา Oregon State University 2511 กส.บ. Oregon State University สหรฐั อเมรกิ า 2514 M.S. (Farm Crops) สหรัฐอเมริกา 2517 Ph.D. (Agronomic Crop Science) 33

เชดิ ชูเกยี รติคณุ ูปการด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ ง ศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สัมพันธารักษ์ ได้ทางานวิจัยต่อเนื่องของโครงการ National Corn and Sorghum Program ในฐานะหัวหนา้ โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟา่ ง โดยในปี พ.ศ. 2518 - 2520 ไดป้ ลอ่ ยพันธ์แุ นะนาสู่เกษตรกร รวม 5 พนั ธุ์ คือ ข้าวฟ่างขาวพันธุ์ KU 005, KU 300, KU 302 ข้าวฟา่ งเหลอื งพนั ธ์ุ KU 257 และ KU 301 ต่อมาใน ปี พ.ศ. 2521- 2529 เป็นหัวหน้าโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่าง โดยงานวิจัยระยะน้ี เป็นการวิจัยเพ่ือพัฒนาข้าวฟ่าง ลูกผสม และมีการเปรียบเทียบพันธ์ุกับข้าวฟ่างลูกผสมของบริษัทเอกชน และข้าวฟ่างที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ มีการ สร้างประชากรข้าวฟ่างโดยใช้ข้าวฟ่างเพศผู้เป็นหมัน และการพัฒนาสายพันธุ์แม่เป็น cytoplasmic genetic male sterile การพัฒนาข้าวฟ่างสายพันธุ์แท้จากแหล่งต่าง ๆ การศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาข้าวฟ่างไข่มุก ( pearl millet) นอกเหนือจากงานวจิ ัยดา้ นการปรบั ปรงุ พนั ธุข์ า้ วฟ่างแล้ว ทา่ นยงั ได้ทาหน้าที่หวั หนา้ โครงการปรับปรุงพนั ธข์ุ ้าวโพดตัง้ แตป่ ี 2522-2525 หัวหน้าโครงการปรับปรุงพนั ธข์ุ ้าวโพด ภาควิชาพชื ไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ได้รับ งบประมาณสนับสนุนจากสานกั งานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ผ่านสถาบนั วจิ ยั และพัฒนาแห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นโครงการต่อเนอ่ื งตั้งแต่ปี 2544 - 2548 ทาหน้าที่หัวหนา้ โครงการศักยภาพของวธิ กี ารต่างๆในการคดั เลือกสายพนั ธุ์ ผสมรวมเพ่ือพัฒนาลูกผสมของข้าวโพดขา้ วเหนียว พ.ศ. 2548-2551 และหวั หน้าโครงการวธิ ีพฒั นาสายพันธ์ุผสมรวม และศกั ยภาพในการใชเ้ พอื่ ผลิตลูกผสมขา้ วโพดหวานทางการค้า พ.ศ. 2548-2551 ศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สัมพันธารักษ์ ท่านเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผลงานวิจัยด้านพืชไร่ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นประธานคณะผู้ตรวจสอบทางวิชาการโครงการพัฒนาระบบการจดั การศัตรูพืชสาหรบั ถั่ว เหลอื ง ฝกั สดและข้าวโพด ครง้ั ที่ 3/2549 คณะทางานตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการทนุ อุดหนุนวิจยั มก.ปี 2549 ชุด โครงการวิจัย “การเพ่ิมศักยภาพการผลิตและการใชป้ ระโยชน์จากขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง” คณะผู้ตรวจสอบทางวชิ าการ โครงการพฒั นาเทคโนโลยีการจดั การโรคไวรัสใบดา่ งลาย (SCMV) ไวรัสใบดา่ งประจุดเหลือง (MCMV) โรคเหย่ี วและโรคลา ต้นเน่าแบคทีเรียของข้าวโพดหวาน ทาหน้าท่ีประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการ โครงการวิจัยแม่บทขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ คร้ังที่ 3 วนั ท่ี 14-16 พฤษภาคม 2551 ณ. โรงแรมอิมพีเรียลภูแก้วฮิลล์ รีสอร์ท เขาคอ้ จังหวัดเพชรบูรณ์ คณะกรรมการที่ปรึกษาสมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย คณะอนุกรรมการเมล็ดพันธุ์ควบคุม คณะกรรมการพิจารณาคุณภาพผลงานวิจัยปี 2547 -2550 โครงการวิจัยแม่บทข้าวโพดข้ าวฟ่าง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ผปู้ ระสานงานโครงการวจิ ยั แมบ่ ทข้าวโพดข้าวฟา่ ง ผู้ประสานงานโครงการเมลด็ พนั ธโุ์ ครงการ เมล็ดพันธุ์ข้าวโพดข้าวฟ่าง มก. –DOAE คณะกรรมการนโยบายเมล็ดพันธ์ุพืช-กระทรวงเกษตร ท่านทาหน้าที่เป็น คณะกรรมการพัฒนาศูนยว์ จิ ยั เขาหินซ้อน โครงการพระราชดาริ จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สัมพันธารักษ์ เปน็ นกั วิชาการอาวุโสผู้สรา้ งคณุ ปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งทส่ี มควรเป็นแบบอยา่ งทดี่ ตี อ่ ไป 34

นางสาวยพุ าพรรณ จุฑาทอง ขา้ ราชการบานาญ ศูนยว์ ิจยั ขา้ วโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัตกิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบนั การศกึ ษา ประเทศ วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย ปี พ.ศ. วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย 2511 35

เชิดชูเกียรติคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง นางสาวยุพาพรรณ จุฑาทอง ได้รับบรรจุทางานเข้ารับราชการในตาแหน่งนักวิชาการเกษตร สังกัดศูนย์วิจัย ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2513 ถึง พ.ศ. 2547 มีหน้าที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับงานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพดคั่ว เริ่มดาเนินงานวิจัยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 โดยมีแนวคิดท่ีจะหาพันธุ์ ข้าวโพดคั่วทเ่ี หมาะสมกับการเพาะปลูกในประเทศไทย ให้ผลผลิตสงู มเี ปอร์เซน็ ต์การคัว่ แตกสงู คณุ ภาพและรสชาตดิ ี เพ่ือ ลดการนาเข้าข้าวโพดคั่วจากต่างประเทศ โดยงานวิจัยเร่ิมจากการรวบรวมพันธุ์จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ โดยได้มีการคัดเลือกประชากรข้าวโพดคั่ว 3 ประชากรตามลักษณะเมล็ด คือเมล็ดแหลม เมล็ดกลม และเมล็ดแบน ในปี พ.ศ. 2538 ได้ข้าวโพดคั่วสายพันธแ์ุ ทเ้ มล็ดแหลม เมล็ดกลม และเมล็ดแบน ชนิดละ 8 สายพันธ์ุ รวมเป็น 24 สายพนั ธุ์ และในปลายปี พ.ศ. 2538 ได้แนะนาข้าวโพดคั่วเมล็ดแบนพันธุ์ composite 3 โดยพันธุกรรมข้าวโพดคั่วท้ัง 3 ชนิด ดังกล่าว ได้ดาเนนิ การตอ่ ยอดกระท่ังปัจจบุ นั ในส่วนของงานบริหาร นางสาวยุพาพรรณ จุฑาทอง ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วจิ ัยข้าวโพดและข้าวฟา่ ง แห่งชาติ และหัวหน้าสถานีวิจัยพืชไร่สุวรรณวาจกกสิกิจ ในช่วงปี พ.ศ. 2534 – 2540 หลังจากน้ันดารงตาแหน่งรอง ผู้อานวยการสถาบันอินทรีจนั ทรสถติ ย์เพอ่ื การค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์ กระทั่งเกษียณอายรุ าชการ ในช่วงระยะเวลา ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วิจัยฯ และหัวหน้าสถานีวิจัยฯ ได้สนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน ท้ังด้านงานวิจัย การ บริการวิชาการ การผลิตเมล็ดพันธุ์ ดาเนินการสร้างอาคารโรงเก็บเมล็ดพันธุ์ใหม่ ในปี พ.ศ. 2537 สาหรับเก็บเชื้อ พันธุกรรมพชื ตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นงานวจิ ยั ปี พ.ศ. 2539 ดาเนนิ การสรา้ งโรงเรอื นเพาะชาและลานตากเมล็ดพนั ธ์ุ นอกจากนั้น แล้ว ในส่วนการพัฒนาบุคลากร ได้มีการสนับสนุนให้บุคลากรไปฝึกอบรมที่ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวสาลีนานาชาติ (CIMMYT) อานวยการการจัดฝึกอบรมด้านการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ให้กับกับประเทศต่าง ๆ ในแถบอาเซียนซ่ึงจัดโดย CIMMYT และเน่ืองด้วยภารกิจของหน่วยงานในขณะนั้นมีการประสานงานและดาเนินงานร่วมกบั ชาวต่างชาติ เพ่ือให้เกดิ ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน จึงสนับสนุนใหบ้ คุ ลากรได้ฝึกอบรมภาษาองั กฤษอย่างต่อเนื่องโดยสถาบันสอนภาษา เป็น เวลา 1 ปี ณ ศูนย์วิจัยข้าวโพดฯ จากผลงานเชิงประจกั ษข์ ้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชเู กียรติให้ นางสาวยุพาพรรณ จุฑาทอง เปน็ นกั วชิ าการอาวโุ สผูส้ ร้างคณุ ูปการดา้ นวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง ท่ีเห็นสมควรถือเป็นแบบอยา่ งทีด่ ีสืบไป 36

รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ วรรธนัจฉรยิ า ขา้ ราชการบานาญ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรพั ยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ อปุ นายกสมาคมเศรษฐศาสตรเ์ กษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประวัตกิ ารศึกษา วฒุ กิ ารศกึ ษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ วท.บ. (เศรษฐศาสตรเ์ กษตร) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2511 North Carolina State University 2515 Ph.D. และ Texas A&M University สหรัฐอเมรกิ า 2521 37

เชิดชเู กียรตคิ ณุ ูปการด้านวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟ่าง รองศาสตราจารย์ ดร.ศรณั ย์ วรรธนจั ฉริยา เร่ิมรับราชการตาแหนง่ อาจารย์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร คณะ เศรษฐศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 จนกระทั่งเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2547 ด้วยความรู้และความเช่ียวชาญด้าน เศรษฐศาสตรเ์ กษตร ไดท้ าหนา้ ท่ปี ระสิทธ์ปิ ระสาทวชิ า ให้ความรู้ทางดา้ นเศรษฐศาสตรเ์ กษตรแก่นิสิตท้ังระดับปริญญาตรี โท และเอก ออกไปทางานเป็นกาลังสาคัญให้แก่ประเทศชาติ ในส่วนของการทางานวจิ ัยน้ัน รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ วรรธนจั ฉรยิ า ไดท้ างานวจิ ยั ทางด้านเศรษฐศาสตรเ์ กษตรมาอย่างตอ่ เน่ืองไม่วา่ จะเปน็ ทางด้านพชื หรอื สตั ว์ สาหรับงานวิจยั เชิงเศรษฐศาสตร์ในข้าวโพดนั้น ได้เริ่มเข้ามาทางานวจิ ยั ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2513 โดยเป็นหัวหนา้ โครงการวิจัยเศรษฐกิจการ ผลิตและการตลาดของข้าวโพดข้าวฟ่าง (ศ.9) ทางานวิจัยร่วมกับนักวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์ของมูลนิธริ ๊อกกีเ้ ฟลเลอร์ (RF) ทีใ่ นสมยั นั้น ไดส้ นับสนนุ โครงการวจิ ยั ขา้ วโพดและข้าวฟ่างในประเทศไทย และร่วมมอื ทางานวจิ ยั เชิงเศรษฐศาสตร์ร่วมกับ นกั วิจยั จาก CIMMYT เปน็ ระยะเวลาหน่ึง รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ วรรธนัจฉริยา มีผลงานวิจัยทางด้านการวิเคราะหเ์ ชิงเศรษฐศาสตร์ของการผลติ ข้าวโพดและข้าวฟ่างในหลายพ้ืนที่ของประเทศไทยท่ีเป็นแหล่งผลิตข้าวโพดและข้าวฟ่าง เช่น จังหวัดนครราชสีมา นครสวรรค์ เชียงราย ปราจีนบุรี และลพบุรี เป็นต้น ผลงานวิจัยที่นาความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์มาใช้วิเคราะห์ต้นทุน ผลตอบแทนของการผลิตข้าวโพดน้ัน ทาให้เกษตรกรได้เห็นถึงความคุ้มทุนของการผลิตขา้ วโพด รวมถึงเป็นประโยชน์กับ นักวิจัยและนักวิชาการที่ทางานวิจัยด้านปรับปรุงพันธ์ุ และการผลิต ได้เห็นถึงความคุ้มทุนของการส่งเสริมให้ใช้พันธุ์ รวมถงึ เทคโนโลยที ่ีใช้ในการผลิต ซึง่ เปน็ ประโยชนอ์ ย่างมากต่อวงการข้าวโพดและข้าวฟา่ ง นอกเหนือจากงานด้านวิชาการแล้ว รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ วรรธนัจฉริยา ยังเป็ นผู้ประสานงาน โครงการวิจัยแม่บทข้าวโพดข้าวฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ รองอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลังจากเกษียณอายุราชการ ดารงตาแหน่งประธานกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขา เกษตรศาสตรแ์ ละชีววทิ ยา และปัจจบุ นั เปน็ อปุ นายกสมาคมเศรษฐศาสตร์เกษตรแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จากผลงานเชิงประจกั ษ์ขา้ งต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชดิ ชูเกียรติให้ รองศาสตราจารย์ ดร.ศรัณย์ วรรธนจั ฉรยิ า เปน็ นักวชิ าการอาวุโสผ้สู ร้างคณุ ูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่างท่สี มควรเป็นแบบอย่างท่ีดีต่อไป 38

รองศาสตราจารย์ ดร. จวงจันทร์ ดวงพตั รา ข้าราชการบานาญ ภาควิชาพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ นายกสมาคมเมล็ดพนั ธ์ุแห่งประเทศไทย ประวัตกิ ารศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. วุฒิการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย 2511 กส.บ. (พชื ไร)่ Mississippi State University 2514 วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สหรัฐอเมรกิ า 2519 Ph.D. (Agronomy-Seed Technology) 39

เชดิ ชูเกยี รติคุณปู การดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง รองศาสตราจารย์ ดร.จวงจนั ทร์ ดวงพตั รา เรมิ่ รบั ราชการในตาแหน่งอาจารย์ สงั กดั ภาควชิ าพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยรับผิดชอบงานสอนหลักในวิชาเทคโนโลยเี มล็ดพันธ์ุ สรีรวิทยาเมล็ดพันธ์ุ และธุรกิจเมล็ด พันธ์ุ เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของนิสิตระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ผลิตบัณฑิตท่ีมีความเช่ียวชาญ ทางด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ และการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ทางานในหน่วยงานท้ังภาครัฐ และภาคเอกชนที่ เกย่ี วข้องกบั อตุ สาหกรรมเมลด็ พนั ธขุ์ า้ วโพด มผี ลงานการแต่งหนงั สอื ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ วงการเมล็ดพนั ธ์ุ ไดแ้ ก่ เทคโนโลยี เมล็ดพันธุ์ และการตรวจสอบและวิเคราะหค์ ณุ ภาพของเมลด็ พนั ธุ์ เปน็ หนงั สอื ที่ใช้กนั อยา่ งแพรห่ ลายในทุกมหาวิทยาลัยท่ี มกี ารเรียนการสอนด้านเมลด็ พันธุ์ และและหน่วยงานภาครฐั และเอกชน ไดแ้ ก่ กรมวชิ าการเกษตร กรมส่งเสรมิ การเกษตร กรมการข้าว บริษัทเมล็ดพันธ์ุ เป็นต้น มีผู้นาไปใช้อ้างอิงในวิทยานิพนธ์และบทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารเป็นเวลา มากกวา่ 30 ปี สาหรบั ผลงานที่เกย่ี วขอ้ งกับงานวิชาการดา้ นเมล็ดพันธุข์ า้ วโพดนน้ั เมอื่ อุตสาหกรรมเมลด็ พนั ธุ์ข้าวโพดในประเทศ ไทยได้เร่ิมต้นข้ึน บริษัทเมล็ดพันธ์ุต่าง ๆ ได้มีการก่อต้ังโรงงานปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธ์ุ และห้องปฏิบัติการตรวจสอบ คุณภาพเมล็ดพันธ์ุ รองศาสตราจารย์ ดร.จวงจันทร์ ดวงพัตรา เป็นบุคคลหน่ึงที่ได้รับเชิญไปเป็นท่ีปรึกษา และเป็น วิทยากรถ่ายทอดความรู้พื้นฐานทางด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธ์ุ การผลิตเมล็ดพันธุ์ การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ การเ ก็บ รักษา รวมถงึ การตรวจสอบคณุ ภาพเมล็ดพันธ์ุ ใหก้ บั หน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพอื่ ให้บคุ ลากรในหน่วยงานได้ตระหนัก ถงึ ความสาคัญของคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ดังน้นั ในทุกข้ันตอนของกระบวนการผลิตเมล็ดพันธ์ุจึงตอ้ งมีการปฏิบัตทิ ่ีดีเพอื่ ให้ได้ เมล็ดพนั ธ์ทุ ่ีมคี ณุ ภาพดี นอกจากงานสอนและงานวจิ ัยแล้ว รองศาสตราจารย์ ดร.จวงจันทร์ ดวงพัตร ได้ช่วยเหลือและสนับสนุนงานของ สมาคมเมล็ดพันธุ์พืชแห่งประเทศไทยมาโดยตลอด และได้รับการแต่งต้ังเป็นนายกสมาคมเมล็ดพันธ์ุพืชแห่งประเทศไทย ต้ังแต่ปี 2551 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน รวม 3 สมัย มีบทบาทสาคัญในการผลักดันเพ่ือพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมเมล็ด พันธุ์ระหว่างภาครัฐและเอกชน ให้คาปรึกษาในการดาเนินธุรกิจอุตสาหกรรมเมล็ดพันธ์ุพืช รวมท้ังส่งเสริมและเพ่ิมพูน ความรู้ด้านวชิ าการเมล็ดพนั ธใุ์ ห้กับนักวชิ าการทง้ั ภาครัฐและเอกชน จึงมีการจัดประชุมวชิ าการเมล็ดพันธพ์ุ ชื แหง่ ชาติ จัด สัมมนา ฝึกอบรม และดูงานทางด้านเมล็ดพันธ์ทุ ้ังในและต่างประเทศ หลังจากเกษียณอายรุ าชการ รองศาสตราจารย์ ดร. จวงจนั ทร์ ดวงพัตรา ยงั คงเป็นทีป่ รึกษาใหก้ บั คณาจารยแ์ ละนิสิตภาควิชาพืชไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ จากการท่ีได้มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมของมหาวทิ ยาลัย/ส่วนราชการอนื่ ๆ/บาเพ็ญตนเพ่ือสังคม ทาให้ได้รับรางวลั เกียรตคิ ุณ ได้แก่ บุคลากรดเี ดน่ สายวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประจาปี 2553 ดา้ นการเรียน การสอน และรางวลั Asian Seed Award 2009 ประจาปี 2551 จากคณะกรรมการ Asia and Pacific Seed Association (APSA) จากผลงานเชิงประจกั ษข์ ้างต้น จงึ เห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชูเกียรตใิ ห้ รองศาสตราจารย์ ดร.จวงจันทร์ ดวงพตั รา เปน็ นกั วชิ าการอาวโุ สผสู้ ร้างคุณปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟ่างท่ีสมควรเป็นแบบอยา่ งท่ีดตี อ่ ไป 40

ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถิรพร ประวัติการศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ พ.ศ. กส.บ. (พชื ไร)่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ไทย Ph.D. Univesity of Kiel เยอรมันนี 41

เชิดชเู กียรติคุณปู การด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถิรพร เข้ารับราชการในตาแหน่งอาจารย์ สังกัดภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2511 ระหว่างกาลังศึกษาได้ฝึกงานด้านการปรับปรุงพันธ์ุและการเขตกรรม ข้าวโพด จากการสนับสนุนของมูลนิธิ Rockefeller และเป็นผู้ช่วยวิจัย โครงการปรับปรุงพันธ์ุข้าวโพด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลังจากสารเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาเอก ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถิรพร ได้รับผิดชอบ ในการเป็นหัวหน้าโครงการการทดลองข้าวโพดในระดับไร่กสิกร (ศ.11.1) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-2532 และในปี พ.ศ. 2533-2539 เป็นหัวหน้าโครงการการเขตกรรมข้าวโพดข้าวฟ่าง (ศ.3.1) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ทาใหท้ ราบศักยภาพของพันธุ์ข้าวโพดพนั ธุ์ใหม่เมอ่ื นาไปปลกู ทดสอบในไร่กสิกร และหาระดับ ปจั จยั การผลิตทมี่ คี วามสาคัญในการผลิตข้าวโพด และถ่ายทอดเทคโนโลยีในการปลูกขา้ วโพดท่ีเหมาะสมสู่เกษตรกร และ ระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 เปน็ หัวหนา้ โครงการวิจัยการปรบั ปรงุ พันธ์ขุ า้ วโพดใหท้ นทานต่อสภาพแหง้ แล้ง จากการใช้ double haploid โดยวิธี anther culture ได้รับการสนับสนุนงานวิจัยจากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ แหง่ ชาติ และในปี พ.ศ. 2536-2538 เป็นผูป้ ระสานงานโครงการวิจยั แมบ่ ทข้าวโพดข้าวฟ่าง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ระหว่างรับราชการเป็นอาจารย์ ได้อุทิศตนให้กับการสอน และการวิจยั โดยเป็นอาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ หลักของนิสิตระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถิรพร ได้นาประสบการณ์ท่ีได้ร่าเรียนใน ภาคทฤษฎี รวมทั้งประสบการณ์งานวจิ ยั ท่ีมมี าอยา่ งต่อเนื่องท้งั ทางด้านการทดลองขา้ วโพดในระดับไรก่ สิกร และการเขต กรรมขา้ วโพดตลอดระยะเวลากวา่ 25 ปี จึงไดน้ าประสบการณด์ ังกล่าวมาเขียนเป็นหนังสือ เรือ่ ง ข้าวโพด: การผลิต การ ใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ปัญหาและการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2539 เป็นหนังสือท่ีได้รับความ นยิ มในฐานะหนงั สอื ท่ีมปี ระโยชน์อย่างย่ิงต่อวงวิชาการด้านข้าวโพด มีผนู้ าไปใชอ้ ้างอิงในวิทยานิพนธ์และวารสารวิชาการ เปน็ จานวนมาก ในสว่ นของการบริหารงาน ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถริ พร ดารงตาแหน่งผู้อานวยการศูนย์วจิ ยั ขา้ วโพดและ ข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2529-2533 และผอู้ านวยการสถาบนั อนิ ทรยี จนั ทรสถติ ย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใน ปี พ.ศ. 2533-2538 ในระหว่างดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการศนู ย์วิจยั ฯ และสถาบนั อนิ ทรจี ันทรสถติ ฯ ไดส้ นบั สนนุ ภารกิจ ท้ังในด้านงานวิจัย การบริการวชิ าการ ส่งเสริมบุคลากรในหนว่ ยงานไปฝกึ อบรม และมีความร่วมมืองานวิจยั ข้าวโพดและ ข้าวฟ่างกับตา่ งประเทศ นอกจากน้ี ยังเปน็ ประธานคณะทางานข้าวโพดอุตสาหกรรม คณะกรรมการประสานงานวิจัยและ พฒั นาพชื ผัก สภาวิจัยแหง่ ชาติ ปี พ.ศ. 2534-2539 จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้น จึงเห็นสมควรประกาศยกยอ่ งและเชิดชูเกียรติให้ ศาสตราจารย์ ดร.ราเชนทร์ ถิรพร เป็นนกั วิชาการอาวโุ สผสู้ รา้ งคณุ ูปการด้านวิชาการข้าวโพดและข้าวฟา่ งท่ีสมควรเป็นแบบอยา่ งท่ีดีตอ่ ไป 42

นายถมยา ทองเหลอื ง ข้าราชการบานาญ ตาแหนง่ นักวทิ ยาศาสตร์ ศนู ย์วิจยั ขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประวัติการศึกษา วฒุ กิ ารศึกษา สถาบนั การศึกษา ประเทศ วท.บ. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. 2515 (ศกึ ษาศาสตร์-เกษตร) 43

เชิดชเู กยี รติคุณูปการดา้ นวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง นายถมยา ทองเหลอื ง ไดร้ ับบรรจุทางานเขา้ รบั ราชการในตาแหนง่ นักวทิ ยาศาสตร์ สงั กดั ศนู ยว์ จิ ัยข้าวโพดและขา้ ว ฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 ถึง พ.ศ. 2546 มีหน้าท่ีรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุม การผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่าง ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2529 กระทั่งเกษียณอายุราชการ มีส่วนร่วมใน งานวจิ ยั การผลิตและคณุ ภาพเมลด็ พันธสุ์ วุ รรณ 1 สวุ รรณ 2 และสุวรรณ 3 ในช่วงปี พ.ศ. 2532 – 2533 และหลงั จาก ปี พ.ศ. 2535 มีส่วนร่วมในงานวิจัยเก่ียวกับการผลิตเมล็ดพันธุ์และคุณภาพเมล็ดพันธ์ุข้าวโพดลูกผสม ท้ังข้าวโพดเล้ียง สัตว์ ข้าวโพดหวาน การปรับสภาพเมล็ดพันธ์ุทีเ่ หมาะสม งานวจิ ัยด้าน seed treatment ที่มผี ลตอ่ คณุ ภาพเมลด็ พันธ์ุ ในส่วนของการบริหารงาน นายถมยา ทองเหลือง มีส่วนสาคัญเป็นอย่างมากในงานผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์วิจัย ข้าวโพดและข้าวฟ่างฯ เน่ืองจากเป็นผู้ควบคุมดูแลตั้งแต่กระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ ปรับสภาพ และตรวจสอบคุณภาพ เมล็ดพันธ์ุ ทั้งในส่วนของเมล็ดพันธ์ขุ ้าวโพดเล้ยี งสัตว์ ข้าวโพดหวาน ข้าวฟ่าง และเมล็ดพชื บารุงดิน ให้ได้ซึ่งเมล็ดพนั ธทุ์ มี่ ี คณุ ภาพและราคาเหมาะสม เพอ่ื การจาหนา่ ยแกเ่ กษตรกร และผสู้ นใจทั่วไป จากผลงานเชิงประจักษ์ข้างต้นจึงเห็นสมควรประกาศยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ นายถมยา ทองเหลือง เป็น นักวชิ าการอาวโุ สผสู้ ร้างคณุ ูปการด้านวชิ าการขา้ วโพดและข้าวฟ่าง ทเ่ี หน็ สมควรถือเป็นแบบอยา่ งทีด่ สี ืบไป 44

นางสรุ ณี ทองเหลือง ข้าราชการบานาญ ตาแหนง่ นักวิชาการเกษตร ศูนย์วจิ ยั ข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ประวัติการศึกษา วฒุ ิการศึกษา สถาบันการศกึ ษา ประเทศ วท.บ.(เกษตรศาสตร์) มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ไทย พ.ศ. 2518 45


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook