Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มบทคัดย่อ

เล่มบทคัดย่อ

Published by คณะเกษตร, 2022-08-01 10:22:15

Description: เล่มบทคัดย่อ การประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครั้งที่ 40

Search

Read the Text Version

เล่มบทคัดยอ่ การประชุมวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 40 Book of Abstracts Proceedings of the 40th National Corn and Sorghum Research Conference



คำปรารภ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รว่ มกับ กรมวิชาการเกษตร และกรมสง่ เสริมการเกษตร จดั การประชมุ วิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 40 ในระหว่างวันที่ 3-5 สิงหาคม 2565 ซง่ึ การประชมุ วิชาการข้าวโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ เกดิ จากความร่วมมืออย่างเข้มแข็ง ของทั้ง 3 หน่วยงาน ที่ร่วมกันจัดงานมาอย่างต่อเน่ือง และผลัดเปล่ียนกันทาหน้าที่เป็น เจ้าภาพจัดงาน โดยในคร้งั นีม้ หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับเกียรตใิ นการเปน็ เจ้าภาพจัดงาน ประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติคร้ังที่ 40 และเพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายการ พัฒนาประเทศในปัจจุบัน ท่ีมุ่งเน้นให้ความสาคัญเรื่องการพัฒนาประเทศบนพ้ืนฐาน เศรษฐกิจหมุน เวียน“BCG (Bio-Circular-Green Economy) MODEL” รวมท้ังเพื่อให้ เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการด้านข้าวโพดและข้าวฟ่างของประเทศไทย ทั้งหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน ได้เป็นส่วนหนึ่งในการพลิกฟ้ืนการเกษตร ให้กลับมาเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจของประเทศได้อย่างยั่งยืน คณะผู้จัดงานจึงกาหนดจัดงาน ภายใต้หัวข้อ: พลิกพ้ืน เกษตรไทยด้วยวจิ ยั และนวตั กรรม BCG การประชุมวิชาการฯ คร้ังนี้ มุ่งเน้นให้เกิดการเผยแพร่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และ ประสบการณ์ด้านงานวิจัยข้าวโพดและขา้ วฟ่าง จากนักวิจยั นกั วิชาการท้ังภาครัฐและเอกชน ตลอดจนหาแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการผลิตข้าวโพดและ ข้าวฟ่างด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผสานองค์ความรู้ทางวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนา พันธ์ุ การเขตกรรม การควบคุมศัตรูพืชด้วยชีววิธี รวมท้ังเทคโนโลยีการเกษตรแม่นยา ซ่ึง ข้อมลู ภายในเลม่ เอกสารประชุมวชิ าการฯ ฉบับนี้ ได้รวบรวมและจดั พิมพ์บทคัดย่อทั้งผลงาน นาเสนอภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ของผู้นาเสนอผลงานทุกท่าน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม ได้ใชป้ ระโยชน์ในระหว่างเขา้ ร่วมประชมุ และในโอกาสต่อ ๆ ไป ในนามของคณะผู้จัดงานประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติคร้ังที่ 40 ขอขอบพระคุณทุกหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและผู้สนับสนุนการจดั ประชุมวิชาการฯ ในคร้ังน้ีจน สาเร็จลุล่วงด้วยดี คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีขอมอบแด่ผู้มีคุณูปการด้านข้าวโพดข้าวฟ่าง และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดและขา้ วฟ่างของไทยทกุ ทา่ น (รองศาสตราจารย์ ดร.สตุ เขตต์ นาคะเสถียร) รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และสรา้ งสรรค์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประธานคณะกรรมการอานวยการจดั ประชมุ วชิ าการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ ครัง้ ที่ 40



กาหนดการ การประชมุ วชิ าการข้าวโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ ครัง้ ที่ ๔๐ “พลกิ ฟ้ืนเกษตรไทยดว้ ยวิจยั และนวตั กรรม BCG” วันที่ 3 – 5 สงิ หาคม พ.ศ. 2565 ณ เดอะกรนี เนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ และศูนย์วจิ ัยข้าวโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ อาเภอปากช่อง จงั หวดั นครราชสีมา วันพธุ ท่ี 3 สงิ หาคม 2565 ห้องประชุม Grand Ballroom 08:00-09:00 น. ลงทะเบยี น 09:00-09:20 น. พธิ เี ปิดการประชมุ ▪ กล่าวตอ้ นรับ ผวู้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวจิ ยั และสรา้ งสรรค์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ▪ กลา่ วรายงาน คณบดคี ณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ▪ กล่าวเปิดงาน ศ. (พิเศษ) ดร.สุทศั น์ ศรวี ฒั นพงศ์ กรรมการบริหารมูลนธิ ิขา้ วไทยในพระบรมราชปู ถัมภ์ 09:20-10:00 น. พธิ มี อบรางวลั เชดิ ชเู กียรติ 10:00-10:45 น. การบรรยายพิเศษ เรอื่ ง สุวรรณ 1 ขา้ วโพดไทยในเวทีนานาชาติ ศ. (พิเศษ) ดร.สทุ ัศน์ ศรีวฒั นพงศ์ กรรมการบริหารมลู นธิ ขิ ้าวไทยในพระบรมราชูปถมั ภ์ 10:45-11:00 น. พกั รับประทานอาหารวา่ ง

iv การประชุมวิชาการขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแห่งชาติ ครัง้ ที่ 40 11:00-12:00 น. การบรรยายพิเศษ เรอ่ื ง การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยด้วย BCG 12:00-13:00 น. รศ. สมพร อิศวิลานนท์ 13:00-13:20 น. นักวิชาการอาวโุ ส สถาบนั คลงั สมองของชาติ 13:20-13:40 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั 13:40-14:00 น. การนาเสนอผลงานภาคบรรยาย 14:00-14:20 น. ประธาน: รศ. ดร.ธานี ศรวี งศ์ชยั เลขานุการ: ดร.วราภรณ์ บญุ เกิด 14:30-14:45 น. การประเมนิ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมสายพันธอ์ุ นิ เบรด 15:00-17:15 น. ขา้ วโพดหวานโดยใช้เคร่ืองหมายดีเอน็ เอเอสเอสอาร์ 18:00-22:00 น. กหุ ลาบ เหล่าสาธติ กิติยา อา่ กลุ ชฎามาศ จิตต์เลขา ฉลอง เกิดศรี วรรษมน มงคล และ ชศู ักด์ิ จอมพกุ ความกา้ วหน้าของการปรบั ปรงุ ประชากรแบบหมุนเวยี นสลบั ใน ประชากรข้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ NP99201 และ NP99202 สุริพัฒน์ ไทยเทศ ทัศนีย์ บุตรทอง และ ปริญญา การสมเจตน์ การประเมนิ ข้าวฟา่ งหวานพนั ธใ์ุ หมภ่ ายใตส้ ภาพไรเ่ กษตรกรใน ปี 2562 อาไพ พรหมณเรศ ถวลิ นิลพยคั ฆ์ ปวีณา ทองเหลอื ง และ ธารงศิลป โพธสิ งู การแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั ในแหล่งปลกู ขา้ วโพดหวานท่ีสาคัญ ของประเทศไทย เชาวนาถ พฤทธเิ ทพ สิทธศิ ักด์ิ แสไพศาล ปวณี า ไชยวรรณ์ พรี ะวรรณ พัฒนวภิ าส ศวิ ิไล ลาภบรรจบ และ อนวุ ฒั น์ จนั ทรสุวรรณ รบั ประทานอาหารวา่ ง การนาเสนอผลงานวจิ ัยภาคโปสเตอร์ งานเลี้ยงตอ้ นรบั -ขอบคุณผสู้ นบั สนุน

การประชมุ วชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ ครั้งท่ี 40 v การประชุมวิชาการขา้ วโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครงั้ ที่ 40 v วนั พฤหสั บดที ่ี 4 สิงหาคม 2565 ห้องประชมุ Grand Ballroom 09:00-10:30 เสวนาเรอื่ ง การขบั เคลื่อนภาคเกษตรดว้ ย Bioproducts วิทยากร: ผศ. ดร.อธริ าช หนูสีดา อาจารย์ภาควชิ ากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ผศ. ดร.สุพจน์ กาเซ็ม อาจารย์ภาควชิ าโรคพชื คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ดร.วราภรณ์ บุญเกดิ นกั วิจยั ชานาญการพเิ ศษ ศนู ยว์ จิ ยั ขา้ วโพดและข้าวฟา่ ง แห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นายอศิ เรส เทียนทัด นกั กีฏวทิ ยาชานาญการพิเศษ สานกั วิจยั พฒั นาการ อารักขาพืช กรมวชิ าการเกษตร นางสาววรนาฏ โคกเย็น นักวิชาการเกษตรชานาญการ กองสง่ เสริมการอารกั ขาพืช และจดั การดินป๋ยุ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร 10:30-10:45 น. ผดู้ าเนนิ รายการ: ดร.พิพฒั น์ วีระถาวร นายกกิตติมศักดส์ิ มาคมอตุ สาหกรรมพลาสติกชวี ภาพไทย และกรรมการสมาคมนกั วิชาการอ้อยและน้าตาลไทย รบั ประทานอาหารวา่ ง

vi กกาารรปปรระะชชมุ มุ ววชิ ิชาากกาารรขข้าา้ ววโโพพดดแแลละะขข้าา้ ววฟฟา่ ่างงแแหหง่ ่งชชาาตติ ิคครร้ัง้งั ทที่ ่ี 4400 10:45-11:05 น. การนาเสนอผลงานภาคบรรยาย 11:05-11:25 น. ประธาน: ผศ. ดร.บญุ ฤทธ์ิ สนิ คา้ งาม เลขานุการ: นางยุวดี อนิ จนั ทร์ 11:25-11:45 น. การทดสอบพันธุข์ า้ วโพดเล้ยี งสตั ว์ลกู ผสมก่อนการค้าในไร่ เกษตรกร ปี 2564 11:45-13:00 น. 13:00-13:45 น. สดใส ชา่ งสลกั สาราญ ศรชี มพร ชฎามาศ จิตต์เลขา ปวณี า 13:45-16:30 น. ทองเหลือง ประกายรัตน์ โภคาเดช กติ ติศักดิ์ ศรีชมพร 18:00-22:00 น. สทุ ศั น์ แปลงกาย ก่งิ กานต์ พาณชิ นอก และ สเุ มศ ทบั เงิน การทดสอบพนั ธข์ุ ้าวโพดหวานลกู ผสมปรบั ปรุงใหมท่ ด่ี เี ดน่ ในไร่ เกษตรกร ฤดแู ลง้ ปี 2564 สดใส ชา่ งสลกั สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จติ ต์เลขา ณฐั พร วรธงไชย ประกายรัตน์ โภคาเดช และ กิตติศักดิ์ ศรชี มพร ผลของระยะปลูกและอัตราปยุ๋ ไนโตรเจนต่อการเจรญิ เตบิ โตและ ผลผลิตของขา้ วโพดขา้ วเหนียวลูกผสมพนั ธด์ุ ีเด่น CNW18109 วิลัยรัตน์ แป้นแกว้ ฉลอง เกิดศรี วรรษมน มงคล กญั ญรัตน์ จาปาทอง เชาวนาถ พฤทธเิ ทพ และ ปวีณา ไชยวรรณ์ พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน เดินทางไปศนู ย์วจิ ัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ ชมแปลงสาธติ พันธ์ขุ า้ วโพดและขา้ วฟา่ ง รบั ประทานอาหารเย็น ณ เดอะกรนี เนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่

กกาารรปปรระะชชมุ ุมววชิ ิชาากกาารรขขา้ า้ ววโโพพดดแแลละะขขา้ ้าววฟฟา่ า่ งงแแหห่งง่ชชาาตติ ิคครรัง้ ง้ัทท่ี ี่4400 vviiii วนั ศกุ รท์ ี่ 5 สิงหาคม 2565 หอ้ งประชุม Grand Ballroom 09:00-10:15 น. เสวนา เร่ือง ทิศทางขา้ วโพดข้าวฟ่างไทย วิทยากร: นายสุริพฒั น์ ไทยเทศ รักษาการในตาแหนง่ ผูเ้ ชย่ี วชาญดา้ นปรบั ปรงุ พนั ธ์ุพชื ไร่ กรมวิชาการเกษตร นายฉลอง เกดิ ศรี ผอู้ านวยการศนู ยว์ จิ ัยพชื ไรช่ ยั นาท กรมวิชาการเกษตร ดร.ศฎาวฒุ ิ กลุ มณี รองกรรมการผู้จดั การบรหิ าร บรษิ ัทเจริญโภคภณั ฑ์โปรดว๊ิ ส จากดั นายวรจกั ร วงศพ์ ลิ า นักปรบั ปรงุ พันธขุ์ า้ วโพดอาวโุ ส บรษิ ทั แปซิฟิคเมลด็ พนั ธุ์ จากัด นางอาไพ พรหมณเรศ นกั วิจัยชานาญการ ศนู ย์วิจัยขา้ วโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ว่าที่รอ้ ยตรโี รจนพงศ์ ไชยสิทธิ์ นักวชิ าการเกษตร ศูนย์วิจัยข้าวโพดและขา้ วฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 10:30-10:45 น. ผดู้ าเนนิ รายการ: ดร.เปรม ณ สงขลา อดีตบรรณาธกิ ารวารสารเคหการเกษตร รับประทานอาหารวา่ ง

vviiii กกาารรปปรระะชชมุ มุ ววิชชิ าากกาารรขข้าา้ ววโโพพดดแแลละะขข้า้าววฟฟ่าา่ งงแแหหง่ ่งชชาาตติ ิคครร้ังั้งทท่ี ่ี4400 10:45-11:05 น. การนาเสนอผลงานภาคบรรยาย 11:05-11:25 น. 11.25-11.45 น. ประธาน: ผศ. ดร.ปยิ ะ กติ ติภาดากลุ 11:45-13:00 น. เลขานุการ: นางสาวบงกชมาศ โสภา การปนเปือ้ นร่วมของสารพิษจากเชอื้ ราและการประเมินความ เส่ยี งของสารพิษอะฟลาทอกซนิ : กรณศี กึ ษาขา้ วโพดจาก ประเทศเนปาล วราภา มหากาญจนกุล Prateek Joshi ชนญั ญา ช่วยศรนี วล และ ธนภมู ิ มณบี ญุ การทดสอบสมรรถนะการผสมเพื่อคดั เลือกสายพันธุ์ขา้ วโพดทม่ี ี ศักยภาพในการสร้างพนั ธ์ลุ ูกผสมท่ใี หผ้ ลผลติ สงู และต้านทาน โรคใบไหมแ้ ผลใหญ่ ศรายุทธ สีแก้วตู้ กญั ญณชั ศริ ธิ ญั ญา มาโนช คุ้มพนาลัยสถติ นฤมล แซ่ว่าง และ สุรพล ใจวงศษ์ า ผลของสารกาจัดวชั พชื ประเภทก่อนงอกรว่ มกบั หลังงอกต่อการ เจรญิ เติบโตและผลผลติ ของขา้ วโพดสายพันธ์ุแท้ ณฐั พร วรธงไชย สดใส ชา่ งสลกั สาราญ ศรชี มพร ณฐั นี จุติโรจน์ปกรณ์ ประกายรตั น์ โภคาเดช และ เอจ็ สโรบล รบั ประทานอาหารกลางวนั

13:00-14:30 น. กการาปรประระชชุมมุวชิวชิากาการาขรข้าวา้ โวพโพดดแแลละะขข้าวา้ ฟวฟ่าง่าแงแหหง่ ชง่ ชาตาติ คิ ครั้งรทั้งท่ี 4ี่ 400 ixix 14:30-15:00 น. เสวนา เรอื่ ง การเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลิตข้าวโพดด้วย 15:00-15:30 น. เทคโนโลยสี มยั ใหมจ่ ากภาคเอกชน 15:30-16:30 น. วิทยากร : นายทวพี งศ์ สุธรรมพนั ธ์ุ นายกสมาคมโดรนเกษตร ประเทศไทย นายสมศกั ดิ์ สมานวงศ์ นายกสมาคมอารกั ขาพืชแหง่ ประเทศไทย ดร.เทอดศกั ด์ิ สุวรรณเทพ รองกรรมการผจู ัดการอาวโุ ส บรษิ ทั เจริญโภคภัณฑโ ปรด๊วิ ส จากัด นายจักรกฤษณ วิวัฒนภนิ โญ ผูจดั การการจัดการเทคโนโลยีการเกษตร บรษิ ัทสยามคโู บตา คอรป อรเ รช่นั จาํ กัด ผูด ําเนนิ รายการ: รศ. ดร.สุรเชษฎ อรา มรักษ ภาควชิ าปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร รบั ประทานอาหารวา ง มอบรางวัลผลงานวจิ ยั ภาคบรรยายและโปสเตอร พธิ ีปด การประชมุ และสง มอบการเปนเจาภาพครง้ั ถัดไป

x การประชมุ วิชาการขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 40 สารบญั เร่ือง หนา้ คาปรารภ i กาหนดการ iii สารบัญ x 1 ภาคบรรยาย การประเมินความหลากหลายทางพันธกุ รรมสายพนั ธ์อุ นิ เบรดข้าวโพดหวาน 4 โดยใชเ้ ครือ่ งหมายดีเอ็นเอเอสเอสอาร์ 6 Genetic Diversity of Sweet Corn Inbred Lines Based on SSR Markers กุหลาบ เหลา่ สาธติ กติ ิยา อ่ากลุ ชฎามาศ จติ ต์เลขา ฉลอง เกดิ ศรี วรรษมน มงคล และ ชศู กั ด์ิ จอมพกุ Kularb Laosatit, Kitiya Amkul, Chadamas Jitlaka, Chalong Kerdsri, Wassamon Mongkol and Choosak Jompuk ความก้าวหนา้ ของการปรับปรุงประชากรแบบหมุนเวียนสลับ ในประชากรขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ NP99201 และ NP99202 Progress of Reciprocal Recurrent Selection in NP99201 and NP99202 Maize Populations สุรพิ ัฒน์ ไทยเทศ ทัศนยี ์ บุตรทอง ปริญญา การสมเจตน์ Suriphat Thaitad, Thadsanee Budthong and Parinya Kansomjet การประเมนิ ขา้ วฟา่ งหวานพันธุใ์ หม่ภายใต้สภาพไร่เกษตรกรใน ปี 2562 Evaluation of New Sweet Sorghum Lines under Famers’ Field Condition in 2019 อาไพ พรหมณเรศ ถวิล นิลพยคั ฆ์ ปวีณา ทองเหลือง และ ธารงศิลป โพธิสงู Amphai Promnaret, Tawil Nilpayak, Paweena Thongluang, and Thamrongsilpa Pothisoong

การประชุมวชิ าการข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ ครง้ั ท่ี 40 xi การทดสอบพันธขุ์ ้าวโพดเล้ียงสตั วล์ กู ผสมก่อนการค้าในไร่เกษตรกร ปี 2564 8 10 Field Corn Trials for Pre-commercial Hybrids on Farmers’ Fields 12 สดใส ชา่ งสลัก สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา ปวีณา ทองเหลอื ง ประกายรตั น์ โภคาเดช กติ ติศักด์ิ ศรชี มพร สุทศั น์ แปลงกาย กิ่งกานต์ พาณิชนอก และ สุเมศ ทบั เงนิ Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Paweena Thongluang, Prakayrat Phocadate, Kittisak Srichomporn, Sutat Plangkay, Kingkan Panichnok and Sumet Tabngoen การทดสอบพันธขุ์ า้ วโพดหวานลูกผสมปรบั ปรงุ ใหม่ทีด่ ีเดน่ ในไร่เกษตรกร ฤดแู ล้ง ปี 2564 On Farm Trai for New Sweet Corn Hybrids on Farmers’ Field in Dry season 2021 สดใส ช่างสลกั สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จติ ต์เลขา ณัฐพร วรธงไชย พรเทพ แช่ชอ้ ย ประกายรัตน์ โภคาเดช และ กติ ติศกั ดิ์ ศรีชมพร Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Nattaporn Worathongchai, Pornthep Chamchoy, Prakayrat Phocadate and Kittisak Srichomporn การทดสอบสมรรถนะการผสมเพอ่ื คัดเลอื กสายพนั ธุ์ข้าวโพดทีม่ ศี กั ยภาพในการ สร้างพันธุล์ ูกผสมทใ่ี หผ้ ลผลิตสูงและตา้ นทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ Combining Ability Test for Selection of Maize Inbred Lines with Potential to Produce High-Yielding Hybrids and Northern Corn Leaf Blight Resistance ศรายุทธ สีแกว้ ตู้ กญั ญณชั ศริ ธิ ญั ญา มาโนช คุ้มพนาลยั สถติ นฤมล แซว่ ่าง และ สรุ พล ใจวงศษ์ า Sarayut Seekaewtu, Kanyanat Sirithunya, Manoch Kumpanalaisati, Naruemon Saewang and Suraphon Chaiwongsar

xxiii การปรระชมุ วิชาการข้าวโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 440 ผลของระยะปลูกและอัตราปุ๋ยไนโตรเจนตอ่ การเจริญเตบิ โตและผลผลติ ของ 14 16 ข้าวโพดข้าวเหนียวลกู ผสมพนั ธดุ์ ีเด่น CNW18109 19 Effects of Plant Spacing and Nitrogen Fertilizer Rate on Growth and Yield of Promising Waxy Corn Hybrid, CNW18109 วลิ ยั รตั น์ แปน้ แกว้ ฉลอง เกดิ ศรี วรรษมน มงคล กัญญรตั น์ จาปาทอง เชาวนาถ พฤทธิเทพ และ ปวีณา ไชยวรรณ์ Wilairat Pankaew, Chalong Kerdsri, Wassamon Mongkol, Kanyarat Champathong, Chaowanart Phruetthithep and Paveena Chaiwan การปนเปือ้ นร่วมของสารพิษจากเช้อื ราและการประเมนิ ความเสยี่ งของสารพิษ อะฟลาทอกซิน: กรณีศกึ ษาขา้ วโพดจากประเทศเนปาล Co-occurrence of Mycotoxins and Risk Assessment of Aflatoxin: A Case Study of Maize from Nepal วราภา มหากาญจนกุล, Prateek Joshi ชนญั ญา ชว่ ยศรีนวล และ ธนภมู ิ มณบี ญุ Warapa Mahakarnchanakul, Prateek Joshi, Chananya Chuaysrinule and Thanapoom Maneeboon การแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั ในแหล่งปลูกข้าวโพดหวานที่สาคญั ของประเทศไทย Outbreak of Virus Disease in Major Sweet Corn Growing Areas in Thailand เชาวนาถ พฤทธิเทพ สทิ ธศิ ักดิ์ แสไพศาล ปวีณา ไชยวรรณ์ พรี ะวรรณ พฒั นวภิ าส ศิวิไล ลาภบรรจบ และ อนวุ ัฒน์ จันทรสุวรรณ Chaowanart Phruetthithep, Sitthisak Saepaisal, Paveena Chaiwan, Peerawan Patanavipart, Siwilai Lapbanjob and Anuwat Chantarasuwan

กการารปปรระะชชุมมุววชิ ชิาากกาารรขขา้ ว้าวโพโพดดแแลละะขขา้ วา้ วฟฟ่าง่าแงแหห่งชง่ ชาตาติ คิ ครรง้ั ทั้งท่ี 4ี่ 400 xxiiii ผลของสารกาจดั วชั พชื ประเภทกอ่ นงอกรว่ มกับหลังงอกต่อการเจรญิ เตบิ โตและ 21 ผลผลติ ของขา้ วโพดสายพนั ธุ์แท้ Effects of Pre-emergence in Combination with Post-emergence Herbicides on Growth and Yield of Maize Inbred Lines ณัฐพร วรธงไชย สดใส ชา่ งสลกั สาราญ ศรชี มพร ณัฐนี จตุ โิ รจนป์ กรณ์ ประกายรตั น์ โภคาเดช และ เอ็จ สโรบล Nattaporn Worathongchai, Sodsai Changsaluk, Samran Srichomporn, Nattanee Jutirojpakorn Prakayrat Phocadate and Ed Sarobol ภาคโปสเตอร์ 27 ศักยภาพการให้ผลผลติ ของขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ลูกผสมอายุเก็บเกยี่ วสั้นพนั ธ์ุดีเดน่ 29 ของกรมวิชาการเกษตร ทดสอบในหลายสภาพแวดลอ้ ม Yield Potential of DOA’s Promising Early Maturity Maize Hybrids from Multi-environment Trials ปรญิ ญา การสมเจตน์ ทศั นีย์ บุตรทอง ชยั วฒั น์ นนั ทโชติ และ สรุ พิ ฒั น์ ไทยเทศ Parinya Kansomjet, Thadsanee Budthong, Chaiyawat Nantachot and Suriphat Thaitad การทดสอบพันธ์ขุ ้าวโพดเลีย้ งสตั ว์ลูกผสมท่ีเหมาะสมสาหรับระบบการปลูกขา้ ว ในพ้ืนทน่ี าฤดแู ลง้ Yield Trial of Field Corn Hybrids Appropriate for Rice Planting System on Paddy Field in Dry Season ชัยวัฒน์ นนั ทโชติ อรอนงค์ วรรณวงษ์ เพญ็ รัตน์ เทียมเพ็ง ปริญญา การสมเจตน์ และ สุริพัฒน์ ไทยเทศ Chaiyawat Nantachot, Orn-anong Wannawong, Penrat Thiempeng, Parinya Kansomjet and Suriphat Thaitad

xxiviv กการาปรประรชะุมชมุวชิวาชิ กาการาขรา้ขว้าโวพโพดดแแลละขะ้าขว้าฟวฟา่ งา่ แงหแห่งชง่ ชาตาติ คิ ครงั้รท้งั ที่ 4ี่ 040 การทดสอบพนั ธุข์ า้ วโพดเลี้ยงสตั วล์ ูกผสมกอ่ นการค้าในไรเ่ กษตรกร ปี 2563 32 34 Field Corn Trials for Pre-commercial Hybrids on Farmers’ Fields in 36 2020 สดใส ช่างสลัก สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา ปวีณา ทองเหลอื ง ประกายรัตน์ โภคาเดช พรเทพ แช่มชอ้ ย กติ ติศักดิ์ ศรีชมพร สทุ ศั น์ แปลงกาย กิง่ กานต์ พาณิชนอก และ สเุ มศ ทบั เงนิ Sodsai Changsaluk, Samran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Paweena Thongluang, Pornthep Chamchoy, Kittisak Srichomporn, Suthat Plangkay, Kingkan Panichnok and Sumet Tabngoen การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสตั วล์ กู ผสมปรบั ปรงุ ใหมท่ ่ีดีเด่น ในไรเ่ กษตรกร ปี 2563 On Farm Trials for New Improved Field Corn Hybrids on Farmers’ Fields in 2020 สดใส ช่างสลัก สาราญ ศรชี มพร ชฎามาศ จติ ต์เลขา ปวีณา ทองเหลอื ง กติ ติศักดิ์ ศรีชมพร พรเทพ แชม่ ชอ้ ย และ ประกายรัตน์ โภคาเดช Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Paweena Thongluang, Kittisak Srichomporn, Pornthep Chamchoy and Prakayrat Phocadate การทดสอบพันธข์ุ า้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ลกู ผสมปรบั ปรงุ ใหม่อายเุ ก็บเกยี่ วสนั้ ในไร่เกษตรกร On Farm Trials for New Improved Early Field Corn Hybrids on Farmers’ Fields สดใส ช่างสลกั สาราญ ศรีชมพร ณัฐพร วรธงไชย กติ ตศิ กั ดิ์ ศรชี มพร ชฎามาศ จติ ต์เลขา ประกายรัตน์ โภคาเดช และ ณัฐณี จตุ โิ รจนป์ กรณ์ Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Nattaporn Worathongchai, Kittisak Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Prakayrat Phocadate and Nattanee Jutirodpakorn

กากราปรรปะรชะุมชวมุ ิชวาชิ กาากราขรา้ ขวา้ โวพโดพแดลแะลขะ้าขวา้ ฟว่าฟงา่แงหแง่หช่งาชตาิ ตคิรคั้งรท้งั ี่ท4่ี040 xvxv การทดสอบพนั ธุข์ า้ วโพดหวานลูกผสมปรับปรุงใหม่ในไร่เกษตรกร ฤดูแล้ง ปี 2565 38 40 On Farm Trials for New Improved Sweet Corn Hybrids on Farmers’ 42 Fields in the 2022 Dry season 44 สดใส ช่างสลัก สาราญ ศรชี มพร ชฎามาศ จิตต์เลขา ณัฐพร วรธงไชย ประกายรตั น์ โภคาเดช และ กติ ติศักดิ์ ศรีชมพร Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Nattaporn Worathongchai, Prakayrat Phocadate and Kittisak Srichomporn การทดสอบสมรรถนะการผสมของพนั ธขุ์ ้าวโพดเลีย้ งสัตวล์ กู ผสมทางการค้าเพอ่ื การพฒั นาสายพันธ์ุและพนั ธ์ลุ กู ผสม Combining Ability Test of Commercial Field Corn Hybrids for Line and Hybrid Development สิทธนิ ันต์ จองโพธิ์ จงกลลดา พลายดี นิพทั ธ์ฌา พอบขนุ ทด และ ศรนั ย์ หงษาครประเสรฐิ Sitthinan Jongpho, Chongkonlada Phlaidee, Nipatcha pobkhunthod and Sarun Hongsakornprasert การประเมินสายพนั ธุข์ า้ วฟ่างเมลด็ ในไรเ่ กษตรกร ปี 2561-2562 Evaluation of Grain Sorghum Lines on Farmers’ Fields in 2018-2019 อาไพ พรหมณเรศ ถวิล นลิ พยัคฆ์ ปวณี า ทองเหลอื ง ณฐั ณชิ า สทิ ธเิ ดช และ ธารงศลิ ป โพธสิ ูง Amphai Promnaret, Tawil Nilpayak, Paweena Thongluang, Nutnicha Sitthidet and Thamrongsilpa Pothisoong การทดสอบพันธขุ์ ้าวโพดหวานลูกผสมทางการค้า ปี 2564 Evaluation of Commercial Sweet Corn Hybrids in 2021 ณฐั พร วรธงไชย สดใส ชา่ งสลกั สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จิตตเ์ ลขา ประกายรตั น์ โภคาเดช และ พรเทพ แช่มชอ้ ย Nattaporn Worathongchai, Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Prakayrat Phocadate and Pornthep Chamchoy

xvxvi i กากราปรประรชะมุชุมวชิวาชิ กาากราขร้าขว้าโวพโพดดแลแะลขะา้ขว้าฟวฟา่ งา่ แงหแหง่ ชง่ าชตาติ คิ ครั้งรทั้งที่ 4่ี 040 การคดั เลอื กพันธ์ุขา้ วโพดหวานลูกผสมเพอ่ื บริโภคฝักสดในภาคใต้ 46 48 Selection of Sweet Corn Hybrid Varieties for Fresh Ear Consumption 50 in the Southern Region of Thailand 53 พรอุมา เซ่งแซ่ ฉลอง เกิดศรี สายชล บญุ รศั มี และ สมศกั ดิ์ แสงพระจันทร์ Phorn-uma Sengsae, Chalong Kirdsri, Saychon Boonratsamee and Somsak Sangprajan การทดสอบพนั ธ์ุข้าวโพดขา้ วเหนยี วในจังหวัดสงขลา Yield Trial of Waxy Corn Varieties in Songkhla Province สายชล บุญรศั มี ฉลอง เกิดศรี วรรษมน มงคล และ พรอมุ า เซ่งแซ่ Saichon Boonratsamee, Chalong Kerdsri, Wassamon Mongkol and Phorn-uma Sengsae ประสทิ ธิภาพการใชไ้ นโตรเจนของข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ลกู ผสมอายเุ กบ็ เกย่ี วสัน้ ในดิน ชุดดนิ สมอทอด Nitrogen Use Efficiency of Early Maturity Hybrid Maize in Samo Thod Soil Series การิตา จงเจอื กลาง ศุภกาญจน์ ล้วนมณี และ สามคั คี จงฐติ นิ นท์ Karita Chongchuaklang, Suphakarn Luanmanee and Samakkee Jongthitinon ผลของขนาดเมล็ดพนั ธุ์ตอ่ ผลผลิตของขา้ วโพดหวานพนั ธุอ์ นิ ทรี 2 Effect of Seed Size on Yield in Sweet Corn, Insee2 Cultivar สาราญ ศรีชมพร สดใส ช่างสลกั ชฎามาศ จิตตเ์ ลขา ณัฐพร วรธงไชย ประกายรัตน์ โภคาเดช กติ ตศิ ักด์ิ ศรีชมพร และ ยวุ ดี อนิ จนั ทน์ Sumran Srichomporn, Sodsai Changsaluk, Chadamas Jitlaka, Nattaporn Worathongchai, Prakayrat Phocadate, Kittisak Srichomporn and Yuwadee Injun

กากราปรประรชะุมชวุมิชวาชิ กาากราขร้าขว้าโวพโพดแดลแะลขะา้ขวา้ ฟวฟา่ ง่าแงหแห่งช่งาชตาิตคิ รค้งั รท้งั ที่ 4่ี 040 xvixivii ผลของพันธแ์ุ ละอัตราปลูกท่เี หมาะสมต่อผลผลิตสาหรับขา้ วโพดหวานในจงั หวัด 55 57 นครราชสมี า 59 Effect of Varieties and Appropriate Plant Spacing on Yield of Sweet Corn in Nakhon Ratchasima Province กิตติศกั ด์ิ ศรีชมพร สมชาย โพธิสาร พรเทพ แช่มช้อย จรี นันท์ แหยมสงู เนนิ ณรงชัย บุญศรี ปยิ นชุ ศรไชย สาราญ ศรีชมพร และ สดใส ชา่ งสลัก Kittisak Srichomporn, Somchai Pothisan, Porntep Chamchoy, Jeeranan Yhamsoongnern, Narongchai Boonsri, Piyanuch Sornchai, Sumran Srichomporn and Sodsai Changsaluk ผลของการใชแ้ คลเซียมคาร์บอเนตชนดิ แขวนลอยตอ่ ผลผลิตและปรมิ าณธาตุ อาหารในเมล็ดของขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ทปี่ ลกู ในชดุ ดินปากชอ่ ง Effects of Suspended Calcium Carbonate on Yield and Grain Nutrient Content in Corn Field Grown in Pak Chong Soil Series ปวณี า ทองเหลือง สดใส ชา่ งสลกั ณัฐพร วรธงไชย สาราญ ศรชี มพร และ ประกายรัตน์ โภคาเดช Paweena Thongluang, Sodsai Changsalak, Nattaporn Worathongchai, Samran Srichomporn and Prakayrat Phocadate จานวนครัง้ ท่เี หมาะสมสาหรบั การให้ปุย๋ เคมีในระบบนา้ หยดสาหรบั ข้าวโพดหวาน ในดนิ ร่วนเหนียว จงั หวัดชัยนาท The Optimum Fertilization Times in the Drip Irrigation System for Sweet Corn Production in Clay Loam, Chai Nat Province กญั ญรตั น์ จาปาทอง วลิ ยั รัตน์ แปน้ แกว้ ฉลอง เกดิ ศรี เชาวนาท พฤทธิเทพ และ ปวณี า ไชยวรรณ์ Kanyarat Champathong, Wilairat Pankaew, Chalong Kerdsri, Chaowanart Phruetthithep and Paveena Chaiwan

xvxiviiiii กากรปารปะชระุมชวุมชิ วาชิกากรขาร้าขวโา้ พวโดพแดลแะลขะา้ ขวฟา้ วา่ ฟงแา่ หงแ่งหชง่าชตาิ คตริ คงั้ ทรัง้่ี 4ท0่ี 40 การทดสอบเทคโนโลยลี ดต้นทนุ การผลติ ขา้ วโพดหวานดว้ ยปยุ๋ ชวี ภาพ 61 63 พีจีพอี าร-์ วัน ในพน้ื ที่จงั หวัดสุรินทร์ 65 Testing of Cost Reduction Technology “Bio–fertilizer PGPR I” in Sweet Corn Production in Surin Province สชุ าติ แก้วกมลจิต พีชณิตดา ธารานกุ ูล เบญ็ ญาดา จันทรด์ วงศรี เกยี รตกิ อ้ ง พรมศรธี รรม ไพรัตน์ เทยี บแก้ว นวลจันทร์ ศรสี มบัติ และ อภชิ าต เมอื งซอง Suchat Kaewkamonjit, Peechanida Tharanugool, Benyada Chunduangsri, Kiatkong Prosritarm, Phairat Thaibkaew, Nualjan Srisombat and Aphichat Muangsong เทคโนโลยปี ุ๋ยชวี ภาพ “พจี พี อี าร์ 1” เพ่อื ลดตน้ ทนุ การผลิต ข้าวโพดข้าวเหนียวในพน้ื ทจี่ งั หวัดนครราชสีมา Bio-Fertilizer Technology “PGPR1” to Reduce the Cost of Waxy Corn Production in the Selected Area of Nakhon Ratchasima Province พีชณติ ดา ธารานุกลู ศรนี วล สรุ าษฎร์ นชิ ุตา คงฤทธ์ิ สมพร มงุ่ จอมกลาง และ พรศลุ ี อิศรางกูล ณ อยธุ ยา Peechanida Tharanugool, Srinaun surat, Nichuta Khongrit, Somphon Mungchomklang and Pornsulee Issarangkool na Ayutthaya ผลของการใช้แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดแขวนลอยตอ่ ผลผลิตของ ข้าวโพดเล้ยี งสัตวท์ ป่ี ลกู ในแปลงของเกษตรกร Effect of Suspended Calcium Carbonate Application on Corn Yield Grown in Farmers’ Field สดใส ชา่ งสลัก สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา ปวีณา ทองเหลอื ง ประกายรตั น์ โภคาเดช สุทศั น์ แปลงกาย ก่ิงกานต์ พาณชิ นอก และ สเุ มศ ทับเงิน Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka, Paweena Thongluang, Prakayrat Phocadate, Sutat Plangkay, Kingkan Panichnok and Sumat Tabngoen

กกาารรปปรระะชชมุ ุมววิชชิาากการารขข้าว้าวโพโพดดแแลละะขข้า้าววฟฟา่ า่งแงแหหง่ ชง่ ชาาตติ คิ ครร้งั ทัง้ ที่ 4ี่ 400 xixix ผลกระทบของสารนโิ คซลั ฟูรอนตอ่ ขา้ วโพดหวานลกู ผสมพนั ธุ์การคา้ 68 70 Effect of Nicosulfuron to Commercial Sweet Corn Hybrids 73 ประกายรตั น์ โภคาเดช สดใส ช่างสลกั สาราญ ศรีชมพร ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา ณฐั พร วรธงไชย และ พรเทพ แช่มชอ้ ย Prakayrat Phocadate, Sodsai Changsaluk, Sumran Srichomporn, Chadamas Jitlaka Nattaporn Worathongchai and Pornthep Chamchoy การเบียนตามธรรมชาติของแตนเบยี นไข่และชีววทิ ยาของ Telenomus remus Nixon (Hymenoptera: Scelionidae) ในหนอนกระทขู้ า้ วโพดลายจดุ Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) Natural Parasitism of Egg Parasitoid and Biology of Telenomus remus Nixon (Hymenoptera: Scelionidae) on Fall Armyworm, Spodoptera frugiperda (J.E. Smith) (Lepidoptera: Noctuidae) แสงแข นา้ วานชิ นันท์นพนิ จนั ตะ๊ อดุ อาไพ พรหมณเรศ และ โสภณ อไุ รชนื่ Saengkhae Nawanich, Nannapin Junta-ud, Amphai Promnaret and Sopon Uraichuen การใช้กากข้าวโพดผลิตเชื้อรา Metarhizium rileyi เพื่อควบคมุ หนอนกระทู้ ขา้ วโพดลายจดุ Using Corn Milk Residue for Mass Production of Metarhizium rileyi to Control Fall Armyworm วราภรณ์ บญุ เกดิ วรรณวิภา ขันสรุ ินทร์ ปิณฑิรา แจ่มแจง้ อรวรา ผาสุก แสงแข นา้ วานชิ อุทุมพร ไชยวงศ์ และ ธานี ศรีวงศช์ ยั Warapon Bunkoed, Wanwipa Khansurin, Pintira jamjang, Onwara phasuk, Saengkhae Nawanich, Utumporn Chaiwong and Tanee Sreewongchai

xxxx กกาารรปปรระะชชุมุมววชิ ชิ าากกาารรขข้า้าววโโพพดดแแลละะขข้าา้ ววฟฟา่ า่ งงแแหหง่ ง่ ชชาาตติ ิคครร้ังั้งทท่ี ่ี4400 ผลของสารนโิ คซลั ฟรู อนต่อข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ลกู ผสมพันธุก์ อ่ นการคา้ ปี 2564 75 77 Effect of Nicosulfuron to Pre-commercial Field Corn Hybrids in 2021 79 สดใส ช่างสลัก สาราญ ศรชี มพร ประกายรตั น์ โภคาเดช สราวธุ รุ่งเมฆารตั น์ และ ณฐั พร วรธงไชย Sodsai Changsaluk, Samran Srichomporn, Prakayrat Phocadate, Sarawut Rungmekharat and Nattaporn Worrathongchai ผลของพันธขุ์ า้ วโพดหวานต่อคณุ ภาพของข้าวโพดต้มและนา้ นมข้าวโพดหวาน Effect of Sweet Corn Varieties on Quality of Boiled Sweet Corn and Sweet Corn Milk บงกชมาศ โสภา เสาวนีย์ ฝัดศริ ิ ศุภรา จันทร์คนื ชฎามาศ จิตต์เลขา กัญญรตั น์ กัญญาคา และ จุฑามาศ กองผาพา Bongkochmas Sopa, Saowanee Fudsiri, Supera Jankuen, Chadamas Jitlaka, Kanyarat Kanyakam and Juthamas Kongphapa ผลของการเตรียมพร้อมเมลด็ พนั ธดุ์ ว้ ยกรดจิบเบอเรลลิก และแสงจากหลอด LEDs ต่อการงอกและการเจริญเตบิ โตของข้าวฟา่ ง (Sorghum bicolor (L.) Moench) Effects of Seed Priming with Gibberellic Acid and LEDs Light on Germination and Growth of Sorghum (Sorghum bicolor (L.) Moench) พงศกร นติ ย์มี วทิ วสั เนตรเกต ภัทรา ประทบั กอง เตชิตา ป่ินสันเทียะ จกั รกฤษณ์ ศรแี สง ธีระวฒั น์ ศรสี ุข เรวตั ร จนิ ดาเจ่ีย บัณฑิตา เพญ็ สรุ ยิ ะ นา้ ฝน ชาชยั จรรยา มุ่งงาม พงษศ์ กั ด์ิ แก้วศรี และ สรุ สิทธิ์ วงษส์ ัจจานนั ท์ Pongsakorn Nitmee, Wittawat Nategate, Pattra Pratabkong, Tashita Pinsanthia, Jakkrit Sreesaeng, Teerawat Srisuk, Rewat Chindachia, Banthita Pensuriya, Nanfon Chachai, Janya Mungngam, Pongsak Kaewsri and Surasit Wongsasjanan

กากรปารปะชระมุ ชวมุชิ วาชิกากรขาร้าขวโ้าพวโดพแดลแะลขะา้ ขวฟ้าวา่ ฟงแา่ หงแ่งหชา่งชตาิ คตริ ค้งั ทรงั้่ี 4ท0่ี 40xxixxi “รู้เกษตร – Agri Pro” แอปพลเิ คชันเพือ่ การวางแผนและตดิ ตามผลการ 82 เพาะปลูกขา้ วโพดหวานฝกั สดของเกษตรกรภายใต้ระบบพนั ธะสัญญากับศนู ย์วิจัย 85 ขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแห่งชาติ “Agri Pro Application” Production Planning and Follow up on Fresh Sweet Corn Grown by Contracted Farmers towards the National Corn and Sorghum Research Center รตั ตกิ าน เกดิ ผล ธานี ศรีวงศช์ ยั ณัฐพร วรธงไชย พรเทพ แช่มช้อย กติ ตศิ กั ดิ์ ศรชี มพร สมชาย โพธสิ าร อทุ มุ พร ไชยวงษ์ แสงแข นา้ วานิช พทิ ยาภรณ์ สภุ รพฒั น์ และ ปวณี า ทองเหลือง Rattigan Kaedphol, Tanee Sreewongchai, Nattaporn Worathongchai, Porntep Chamchoy, Kittisak Srichomporn, Somchai Potisarn, Utumporn Chaiwong, Saengkhae Nawanich, Pittayaporn Supornpath and Paweena Thongluang การทา seed priming ของข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์สายพันธแ์ุ ท้เคไอ 48 เพอ่ื พัฒนา ระบบการผลติ เมลด็ พนั ธุข์ า้ วโพดเลี้ยงสตั ว์ลกู ผสมเดยี่ วพนั ธุส์ วุ รรณ 4452 Seed Priming of Inbred Field Corn Variety Ki 48 for the Development of Seed Production System for Single Cross Hybrid Field Corn Variety Suwan 4452 ยวุ ดี อนิ จนั ทร์ ปวีณา ทองเหลอื ง สรรเสริญ จาปาทอง ประเสริฐ ถาหล้า สุปราณี งามประสทิ ธิ์ และ ภภัสสร วฒั นกลุ ภาคิน Yuwadee Injan, Paweena Thongluang, Sansern Jampatong, Prasert Thala, Supranee Ngamprasitthi and Papassorn Wattanakulpakin

xxxiiii กากราปรประรชะุมชวุมชิวาิชกาากราขรา้ขว้าโวพโพดแดลแะลขะา้ขวา้ ฟวฟ่างา่ แงหแห่งชง่ าชตาิตคิ รคั้งรทง้ั ท่ี 4่ี 040 การใช้โดรนพน่ สารเพ่อื การจัดการแปลงท่ีศูนย์วจิ ยั ขา้ วโพดและข้าวฟ่างแหง่ ชาติ 87 89 Farm Management by Spraying Drone at National Corn and Sorghum Research Center ภรณิภา โพธิ์ศิริ ธานี ศรีวงศ์ชัย วชั รกมล พูลฤทธ์ิ และ สภุ าวดี ภูมโิ คกรกั ษ์ Pornnipa Phosiri, Tanee Sreewongchai, Watcharakamon Poonrith and Supawadee Poomkokrak ผลของสารคลา้ ยบราสซินตอ่ ผลผลติ และองคป์ ระกอบผลผลติ ของขา้ วโพดเทียน พนั ธ์ุ “เทียนอยธุ ยา 60\" Effects of Brassin-like Substance on Yield and Yield Component of Tian corn var. “Tian Ayutthaya 60” ศโิ รรัตน์ เขียนแม้น กติ ติ บญุ เลศิ นิรันดร์ ธนะชัย พนั ธเ์ กษมสขุ และ ธนวรรณ พรมขลิบนลิ Sirorat Khienman, Kitti Boonlertnirun, Tanachai Pankasemsuk and Tanawan Promkhlibnil ภาคผนวก 93 ประกาศแต่งต้ังคณะกรรมการจัดงาน

บทคัดย่อของผลงานที่นาเสนอในการประชุมวิชาการข้าวโพดและข้าวฟ่าง แห่งชาติ ครั้งที่ 40 ใช้สาหรับเผยแพร่ในการประชุมวิชาการฯ เท่านั้น ไม่สามารถใช้ เพอื่ การอา้ งอิง เนอ่ื งจากบทความวจิ ยั เรอ่ื งเต็มอยใู่ นกระบวนการตพี ิมพ์



ภาคบรรยาย



การประเมนิ ความหลากหลายทางพนั ธุกรรมสายพนั ธอ์ุ นิ เบรดขา้ วโพดหวาน โดยใช้เครอื่ งหมายดเี อน็ เอเอสเอสอาร์ Genetic Diversity of Sweet Corn Inbred Lines Based on SSR Markers กุหลาบ เหลา่ สาธิต1 กติ ยิ า อ่ากุล1 ชฎามาศ จติ ต์เลขา2 ฉลอง เกดิ ศรี3 วรรษมน มงคล3 และ ชูศักดิ์ จอมพกุ 1* Kularb Laosatit1, Kitiya Amkul1, Chadamas Jitlaka2, Chalong Kerdsri3, Wassamon Mongkol3 and Choosak Jompuk1* 1 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 2 ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 3 ศนู ย์วจิ ัยพชื ไรช่ ยั นาท ชยั นาท 17150 1 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140, Thailand 2 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 3 Chai Nat Field Crops Research Center, Chai Nat 17150, Thailand * Corresponding author: agrcsj@ku.ac.th ABSTRACT Thailand is a leading country in the export and production of sweet corn. Continuous development of new hybrid cultivars by both governmental and private sectors contributed greatly to the production of this crop in Thailand. The governmental agencies, Chai Nat Field Crops Research Center (CNFCRC) and Nation Corn and Sorghum Research Center (NCSRC), play an important role in the genetic improvement of sweet corn in Thailand. Inbred lines developed by these two centers are used by both governmental agencies and private companies for new cultivar development in the country and overseas. The objective of this study was to assess the genetic diversity of sweet corn inbred lines. A set of 230 sweet corn inbred lines derived from CNFCRC and NCSRC were analyzed with 20 simple sequence repeat (SSR) markers locating on 10 chromosomes of corn. SSR analysis revealed that the markers detected 189 alleles in total with an average of 9.45. Gene diversity

22 กกาารรปปรระะชชุมุมววชิ ชิ าากกาารรขขา้ า้ ววโโพพดดแแลละะขข้าา้ ววฟฟา่ า่ งงแแหห่ง่งชชาาตติ ิคครรงั้ ั้งทท่ี ่ี4400 (HE) between the inbred lines from CNFCRC and NCSRC was comparable, being 0.66 and 0.68, respectively. This indicating that HE of inbred lines from both institutes were high. Neighbor-joining analysis, principal component analysis and STRUCTURE analysis generally showed that the inbred lines from CNFCRC and NCSRC were genetically different and clustered into two groups corresponding to the original sources. The findings in this study will enhance the efficiency of sweet corn germplasm utilization for improving and developing new sweet corn varieties, including the selection of the parent for creating a new sweet corn hybrid. Keywords: Sweet corn inbred lines, heterotic group, SSR markers บทคัดย่อ ประเทศไทยเป็นผู้นาทางด้านการผลิตและส่งออกข้าวโพดหวาน โดยมีศูนย์วิจัย พชื ไร่ชัยนาท กรมวชิ าการเกษตร และศนู ยว์ จิ ัยขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแห่งชาติ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานของรัฐที่ค้นคว้า พัฒนา และปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดมาอย่าง ตอ่ เนื่องยาวนาน มกี ารพัฒนาสายพนั ธ์ุอินเบรดใหม่ ๆ และเปน็ แหล่งเชื้อพันธุกรรมสาหรับ การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้น การศึกษาในครัง้ น้ีจงึ มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ศึกษาความหลากหลายทางพนั ธุกรรมข้าวโพดหวาน จานวน 230 สายพนั ธุ์ ที่พฒั นาจากหนว่ ยงานทงั้ สอง โดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอเอสเอสอาร์ จานวน 20 เครื่องหมาย ผลการทดลอง พบว่า เครื่องหมายทั้งหมดตรวจพบอัลลีลทั้งสิ้น จานวน 189 อัลลีล มีค่าเฉลี่ยอัลลีลต่อเครื่องหมายเท่ากับ 9.45 และเมื่อเปรียบเทียบค่า ความหลากหลายของยีนระหว่างสายพันธุอ์ ินเบรดข้าวโพดหวานจากศูนย์วิจยั พืชไรช่ ัยนาท และศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ พบว่า มีค่าใกล้เคียงกัน โดยมีค่าเท่ากับ 0.66 และ 0.68 ตามลาดับ แสดงให้เห็นว่าสายพันธุ์อินเบรดข้าวโพดหวานจากทั้ง 2 แหล่ง มี ความหลากหลายอยู่ในระดับสูงเหมือนกัน การจัดกลุ่มสายพนั ธุอ์ ินเบรดข้าวโพดหวานด้วย วิธี Neighbor-joining analysis, principal component analysis และ STRUCTURE analysis ให้ผลสอดคล้องกัน คือ สายพันธุ์อินเบรดข้าวโพดหวานมีความแตกต่างทาง พนั ธกุ รรม และสามารถแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ สอดคล้องตามแหล่งที่มา ผลการศึกษาในครั้งน้ี

กกาารรปปรระะชชุมุมววชิ ชิ าากกาารรขขา้ า้ ววโโพพดดแแลละะขขา้ ้าววฟฟ่าา่ งงแแหหง่ ง่ ชชาาตติ ิคครรง้ั ั้งทท่ี ี่4400 33 จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้เชือ้ พันธุกรรมให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการปรับปรงุ และ พฒั นาพันธ์ขุ า้ วโพดหวาน รวมถงึ คัดเลอื กพอ่ แมพ่ นั ธ์ใุ นการสร้างลูกผสมพนั ธใ์ุ หม่ต่อไป คาสาคัญ: สายพนั ธุอ์ ินเบรดขา้ วโพดหวาน, กลุ่มเฮทเทอโรติก, เคร่ืองหมายดเี อน็ เอ เอสเอสอาร์

44 กกาารรปปรระะชชุมมุ ววิชชิ าากกาารรขข้าา้ ววโโพพดดแแลละะขข้า้าววฟฟา่า่ งงแแหห่ง่งชชาาตติิ คครร้งั้ังทที่ี่ 4400 ความก้าวหนา้ ของการปรบั ปรงุ ประชากรแบบหมนุ เวียนสลบั ในประชากรข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ NP99201 และ NP99202 Progress of Reciprocal Recurrent Selection in NP99201 and NP99202 Maize Populations สรุ ิพัฒน์ ไทยเทศ1* ทัศนีย์ บตุ รทอง2 และ ปรญิ ญา การสมเจตน์2 Suriphat Thaitad1*, Thadsanee Budthong2 and Parinya Kansomjet2 1 สถาบนั วจิ ยั พืชไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน กรุงเทพฯ 10900 2 ศูนย์วจิ ยั พชื ไรน่ ครสวรรค์ นครสวรรค์ 60190 1 Field and Renewable Energy Crops Research Institute, Bangkok 10900, Thailand 2 Nakhon Sawan Field Crops Research Center, Nakhon Sawan 60190, Thailand * Corresponding author: suriphat_t@hotmail.com ABSTRACT Improvement of two maize populations, NP99201 and NP99202, by reciprocal recurrent selection method (RRS) to use as sources of germplasm in hybrid breeding programs, had been performed continuously for seven cycles of selection during 2004-2020. The objectives of this study were to evaluate gain due to selection in grain yield from seven cycles of reciprocal recurrent selection in NP99201 and NP99202, and their combining ability. In 2021, their base populations (C0) and improved populations (C1-C7) were evaluated at Nakhon Sawan Field Crops Research Center. The results showed that no gain due to selection for grain yield, however, average grain yields from all improved populations were significantly higher than open-pollinated variety (OPV) Nakhon Sawan 1 (879 kg rai-1). Grain yield positively correlated with grain shelling percentage (r = 0.62*) but negatively correlated with plant height (r = -0.73*) and ear height (r = -0.71*). Regarding general combining ability (GCA), NP99201(RRS)C7 and NP99202(RRS)C7 showed positive and significant GCA on grain yield, so they can be used for developing OPV. Specific combining ability (SCA) estimates in grain yield were remarkable for the cross

กกาารรปปรระะชชุมมุ ววชิ ิชาากกาารรขข้า้าววโพโพดดแแลละะขขา้ ้าววฟฟา่ ่างงแแหห่ง่งชชาาตติ คิ ครร้งั ั้งทท่ี 4ี่ 400 55 of NP99201(RRS)C6 x NP99202(RRS)C6. The two populations in cycle 6 can be utilized for inbred development to use as parental lines of high-yielding hybrid varieties. Keywords: Zea may L., reciprocal recurrent selection, population improvement, combining ability บทคดั ยอ่ การปรับปรุงประชากรแบบหมุนเวียนสลับ (RRS) ในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2 ประชากร ได้แก่ NP99201 และ NP99202 เพื่อใช้เป็นแหล่งพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด ลูกผสม ได้ดาเนินการต่อเนื่องระหว่างปี 2547 -2563 จนได้ประชากรรอบคัดเลือกที่ 7 (C7) การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเ์ พื่อประเมินความก้าวหน้าของการคัดเลือกหมุนเวียนสลบั ต่อการเพิ่มผลผลิตของประชากรข้าวโพด NP99201 และ NP99202 จานวน 7 รอบการ คัดเลือก และสมรรถนะการผสมของประชากรทั้งสอง ในปี 2564 ประเมินประชากรรอบ คดั เลือกตา่ ง ๆ ตั้งแตป่ ระชากรพื้นฐาน (C0) ถงึ รอบคัดเลือกท่ี 7 (C7) ของทง้ั สองประชากร ดาเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ ผลการศึกษาพบว่า ไม่พบความก้าวหน้าในการ คัดเลือกในลักษณะผลผลิต แต่ประชากรทุกรอบการคัดเลือกของทั้งสองประชากรให้ ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์ผสมเปิดนครสวรรค์ 1 (879 กิโลกรัมต่อไร่) ลักษ ณะผลผลิตมี ความสัมพันธ์ทางบวกกับเปอร์เซ็นต์กะเทาะ (0.62*) แต่มีความสมั พันธ์ทางลบกับลักษณะ ความสูงต้น (-0.73*) และความสูงฝัก (-0.71*) ประชากร NP99201(RRS)C7 และ NP99202(RRS)C7 มีสมรรถนะการผสมทั่วไป (GCA) มีคาเป็นบวกและแตกต่างอย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิ จงึ มีความเหมาะสมสาหรับการนาไปพฒั นาเปน็ พนั ธผุ์ สมเปดิ และคู่ผสม ระหว่าง NP99201(RRS)C6 และ NP99202(RRS)C6 มีค่าสมรรถนะการผสมเฉพาะ (SCA) เป็นบวกและแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญในลักษณะผลผลิต ดังนั้นสายพันธุ์แท้ที่ พัฒนาได้จากทั้งสองประชากรในรอบคัดเลือกที่ 6 สามารถนาไปใชในการพัฒนาเป็น สายพนั ธุพ์ ่อแมใ่ นการสรา้ งพนั ธ์ุลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง คาสาคญั : ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์, การคัดเลือกหมุนเวียนสลบั , การปรบั ปรงุ ประชากร, สมรรถนะการผสม

66 กกาารรปปรระะชชมุุมววชิิชาากกาารรขขา้้าววโโพพดดแแลละะขข้าา้ ววฟฟา่า่ งงแแหห่ง่งชชาาตติิ คครรงั้ง้ั ทท่ี่ี 4400 การประเมินข้าวฟ่างหวานพันธใุ์ หม่ภายใตส้ ภาพไรเ่ กษตรกรใน ปี 2562 Evaluation of New Sweet Sorghum Lines under Famers’ Field Condition in 2019 อาไพ พรหมณเรศ1* ถวิล นิลพยคั ฆ1์ ปวีณา ทองเหลอื ง1 และ ธารงศิลป โพธสิ งู 1 Amphai Promnaret1*, Tawil Nilpayak1, Paweena Thongluang1 and Thamrongsilpa Pothisoong1 1 ศนู ย์วจิ ยั ขา้ วโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsapr@ku.ac.th ABSTRACT Sixteen newly developed sweet sorghum lines from Sorghum Breeding Program of Kasetsart University were tested as a regional trial in Nakhon Ratchasima, Nakhon Sawan, Kamphaeng Phet and Buriram provinces, across four locations in farmers’ field during August-December 2019. The objectives of this study were to evaluate and select the sweet sorghum lines which had high stripped stalk yield, total soluble solid and adaptability under various condition of farmers’ field. All entries were grown in Randomized Complete Block Design with three replications. It was found that seven new selected sweet sorghum lines, namely KSS 6010, KSS 6031, KSS 6035, KSS 6050, KSS 6059, KSS 6061 and KSS 6062 had high potential for stripped stalk yield and total soluble solid (sweetness of sorghum juice). Their stripped stalk yields were 5.24, 5.78, 5.17, 5.75, 4.82, 5.20 and 6.13 ton/rai, respectively. Their total soluble solid were 14.7, 13.2, 14.4, 13.8, 14.8, 14.1 and 12.8 ˚brix, respectively. However, those obtained results were not significant difference from both check varieties, SSW Extra and KKU 40. The increase in stripped stalk yield resulted from stem diameter and plant height. They should be tested to confirm the result before release as recommended varieties.

กกาารรปปรระะชชุมมุ ววชิ ิชาากกาารรขข้า้าววโพโพดดแแลละะขข้าา้ววฟฟา่ า่งงแแหหง่ ่งชชาาตติ คิ ครรัง้ ัง้ทที่ 4ี่ 400 77 Keywords: Sweet sorghum, evaluation, farmers’ field บทคัดย่อ โครงการปรับปรงุ พันธุข์ ้าวฟ่าง ไดท้ ดสอบพนั ธขุ์ า้ วฟ่างหวานปรับปรุงขน้ึ มาใหม่จาก โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวฟ่างของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จานวน 16 สายพันธุ์ ใน พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา นครสวรรค์ กาแพงเพชร และบุรีรัมย์ รวม 4 แหล่งปลูก ใน ระหว่างเดือนระหว่างเดือนสิงหาคม ถึง เดือนธันวาคม ปี พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อคัดเลือกพันธุ์ที่ให้ผลผลิตต้นสดและความหวานสูง และมีศักยภาพในการปรับตัวต่อ สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันในไร่เกษตรกร วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า พบว่า มขี ้าวฟา่ งหวานสายพันธใุ์ หม่ 7 สายพันธ์ุ ท่มี ีศกั ยภาพสงู ในการให้ผลผลิตต้นสด และปริมาณของแข็งที่ละลายน้าทั้งหมด (ความหวาน) คือ สายพันธ์ุ KSS 6010, KSS 6031, KSS 6035, KSS 6050, KSS 6059, KSS 6061 แ ล ะ KSS 6062 โดยให้ผลผลิตต้นสด 5.24, 5.78, 5.17, 5.75, 4.82, 5.20 และ 6.13 ตัน/ไร่ ตามลาดับ และให้ปริมาณของแข็งทล่ี ะลายนา้ ทั้งหมด 14.7, 13.2, 14.4, 13.8, 14.8, 14.1 และ 12.8 องศาบริกซ์ ตามลาดับ ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติจากพันธุ์เปรียบเทียบทั้งสองพันธุ์ คือ SSW Extra และ KKU 40 โดยการเพิ่มขึน้ ของนา้ หนักต้นสดเป็นผลมาจากขนาดลาตน้ ท่ีใหญ่และ ความสูงของลาต้นที่มากกว่าสายพันธุ์อื่น ดังนั้นจึงควรนาข้าวฟ่างหวานทั้ง 7 พันธุ์ไปปลูก ทดสอบต่อไป เพื่อศึกษาศักยภาพการให้ผลผลิตต้นสด และปริมาณของแข็งที่ละลายน้า ภายใต้สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ เพอ่ื ยนื ยนั ผลการทดลองตอ่ ไป คาสาคญั : ขา้ วฟา่ งหวาน, การประเมนิ , ไรเ่ กษตรกร

88 กกาารรปปรระะชชุมมุ ววิชชิ าากกาารรขขา้า้ ววโโพพดดแแลละะขขา้้าววฟฟ่าา่ งงแแหหง่ง่ ชชาาตติิ คครรั้งั้งทท่ีี่ 4400 การทดสอบพนั ธข์ุ ้าวโพดเล้ียงสตั วล์ ูกผสมกอ่ นการค้าในไรเ่ กษตรกร ปี 2564 Field Corn Trials for Pre-commercial Hybrids on Farmers’ Fields in 2021 สดใส ช่างสลัก1* สาราญ ศรีชมพร1 ชฎามาศ จติ ตเ์ ลขา1 ปวณี า ทองเหลอื ง1 ประกายรตั น์ โภคาเดช1 กิตตศิ ักด์ิ ศรีชมพร1 สทุ ศั น์ แปลงกาย2 กิ่งกานต์ พาณชิ นอก3 และ สเุ มศ ทับเงนิ 3 Sodsai Changsaluk1*, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Paweena Thongluang1, Prakayrat Phocadate1, Kittisak Srichomporn1, Sutat Plangkay2, Kingkan Panichnok3 and Sumet Tabngoen3 1 ศูนยว์ จิ ยั ขา้ วโพดและข้าวฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 2 สถานวี จิ ยั ลพบรุ ี คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ลพบรุ ี 15250 3 สถานีวจิ ัยเขาหินซอ้ น คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ฉะเชิงเทรา 24120 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Lopburi Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Lop Buri 15250, Thailand 3 Kaohinson Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Chachoengsao 24120, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT The objective of this study was to investigate yield potential and adaptability on farmers’ fields. The trial of thirty-three pre-commercial field corn hybrids was tested in farmers’ fields from 17 locations in Lopburi, Nakhon Ratchasima, Prachinburi and Saraburi provinces from May to December 2021. Randomized Complete Block Design with three replications was used. The combined analysis of 17 locations revealed that STG300 had the greatest yield (1,445 kg/rai) but did not differ significantly from S7328, SH2003, and SH1913 (1,399, 1,388, and 1,363 kg/rai, respectively). The yields of STG300, S7328, SH2003, and SH1913 were greater than that of SW4452 by 21%, 17%, 16%, and 14%, respectively. The grand mean yield of the experiment was 1,241 kg/rai. The yield of new hybrids KSX5819 and KSX5720 was 11% higher than

กกาารรปปรระะชชมุ มุ ววชิ ชิ าากกาารรขข้าา้ววโพโพดดแแลละะขข้า้าววฟฟ่า่างงแแหห่ง่งชชาาตติ คิ ครรงั้ ั้งทที่ 4่ี 400 99 that of SW4452, but not significantly higher than that of commercial hybrid S7328. The IMMI yield analysis from 17 locations in this study demonstrated that the KSX5720 was the most stable hybrid. Keywords: Field corn, pre-commercial hybrids, farmers’ fields บทคดั ย่อ การทดลองนี้มีวตั ถุประสงค์เพ่ือทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมก่อนการค้า ที่ให้ผลผลิตสูงและปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน โดยทดสอบพันธุ์ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ลูกผสมก่อนการค้าจานวน 33 พันธุ์ ในไร่เกษตรกรจังหวัดลพบุรี นครราชสีมา ปราจีนบุรี และสระบุรี ใน 17 แหล่งปลูก ระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงธันวาคม 2564 วาง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบลอค จานวน 3 ซ้า ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลรว่ ม 17 แหล่งปลูกพบวา่ พันธุ์ STG300 ให้ผลผลิตสูงสุด (1,445 กิโลกรัมตอ่ ไร)่ แต่ไม่แตกต่างทาง สถิติกับพันธุ์ S7328 SH2003 และ SH1913 (1,399, 1,388 และ 1,363 กิโลกรัมต่อไร่, ตามลาดับ) พันธุ์ STG300 S7328 SH2003 และ SH1913 ให้ผลผลิตสูงกว่าพันธ์ุ เปรียบเทียบ SW4452 (1,197 กโิ ลกรมั ต่อไร)่ คิดเป็นรอ้ ยละ 21 17 16 และ 14 ตามลาดบั ผลผลิตเฉลี่ยของแปลงทดลอง เท่ากับ 1,241 กิโลกรัมต่อไร่ พันธุ์ใหม่ KSX5819 และ KSX5720 ให้ผลผลิตสูงกวา่ พันธุเ์ ปรียบเทียบ SW4452 ร้อยละ 11 แต่ไม่แตกตา่ งทางสถิติ กับพันธุ์การค้า S7328 โดยจากการวิเคราะห์ผลผลิตแบบ IMMI พบว่าพันธุ์ KSX5720 มี เสถยี รภาพของผลผลิตดที ่ีสดุ คาสาคัญ: ข้าวโพดเลีย้ งสตั ว,์ พันธลุ์ กู ผสมกอ่ นการค้า, ไร่เกษตรกร

1100 กากราปรประรชะุมชวมุ ิชวาชิ กาากราขรา้ขวา้ โวพโพดแดลแะลขะ้าขวา้ ฟวฟา่ งา่ แงหแ่งหช่งาชตาิตคิ รคงั้ รทง้ั ่ีท4่ี 040 การทดสอบพนั ธ์ขุ ้าวโพดหวานลกู ผสมปรบั ปรุงใหมท่ ด่ี เี ดน่ ในไร่เกษตรกร ฤดูแล้ง ปี 2564 On Farm Trai for New Sweet Corn Hybrids on Farmers’ Field in Dry season 2021 สดใส ช่างสลัก1* สาราญ ศรชี มพร1 ชฎามาศ จิตตเ์ ลขา1 ณฐั พร วรธงไชย1 พรเทพ แชช่ อ้ ย1 ประกายรตั น์ โภคาเดช1 และ กติ ติศกั ดิ์ ศรชี มพร1 Sodsai Changsaluk1*, Sumran Srichomporn1, Chadamas Jitlaka1, Nattaporn Worathongchai1, Pornthep Chamchoy1, Prakayrat Phocadate1 and Kittisak Srichomporn1 1 ศูนยว์ จิ ัยข้าวโพดและขา้ วฟ่างแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครราชสมี า 30320 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand * Corresponding author: ijsssc@ku.ac.th ABSTRACT On-farm trial of new sweet corn hybrids were carried out in 5 locations on farmers’ fields in Lop Buri, Nakhon Ratchasima and Sara Buri province. The objective was to investigate on yield potential of new sweet corn hybrid and commercial varieties on farmers’ field in dry season during December 2020 to April 2021. Experimental design was Randomized Complete Block Design with three replications and 12 treatments. The results from combined analysis of 5 locations revealed that the fresh yield of new hybrids; KSSC704, KSSC705 did not significantly differ from commercial hybrids; Hi-Brix71, Hi-Brix72, Hi- Brix3, CN2, Insee2 and Songkla84-1 The green unhusked ear yield and standard green ear yield ranged from 2,328-2,645 and 2,167-2,494 kg/rai, respectively The husked ear yield ranged from 1,636–1,820 kg/rai. All new hybrids yielded cut kernel and sweetness in the range of 40.9–46.0% and 15.0–15.5 ๐brix, respectively, which were not significantly different from Insee2. However, Insee2 had the highest sweetness of 15.9 obrix.

กากราปรรปะรชะมุ ชวมุ ชิ วาชิกาากราขร้าขว้าโพวโดพแดลแะลขะ้าขวา้ฟวา่ ฟง่าแงหแง่ หชง่าชตาิ คตริ คัง้ รทัง้ ี่ ท40ี่ 40 1111 Keywords: Sweet corn, new hybrid, yield, farmers’ fields บทคัดยอ่ การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมปรับปรุงใหม่ที่ดีเด่นในไร่เกษตรกรจังหวัด ลพบุรี นครราชสีมา และสระบุรี จานวน 5 แหล่งปลูก มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลผลิต พันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมปรับปรุงใหม่กับพันธุ์การค้าในสภาพแวดล้อมไร่เกษตรกรในฤดู แล้ง ดาเนินการทดลองระหว่างเดือนธันวาคม 2563-เมษายน 2564 วางแผนการทดลอง แบบสุ่มบลอคสมบูรณ์ จานวน 3 ซ้า 12 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ 1) KSSC704 2) KSSC705 3) KSSC706 4) KSSC001 5) CN2 6) Songkla84-1 7) Mae Jo 6306 8) Hi-Brix3 9) Hi- Brix33 10) Hi-Brix71 11) Hi-Brix72 และ 12) Insee2 โดยใช้พันธุ์การค้า และ Insee2 เป็นพนั ธ์ุเปรียบเทยี บ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมจาก 5 แหล่งปลูก พบว่า พันธุ์ KSSC704, KSSC705 และ KSSC001 ให้ผลผลิตสูงไม่แตกต่างกับพันธุ์การค้า Hi-Brix71, Hi-Brix72, Hi-Brix3, CN2, Insee2 และ Songkla84-1 โดยให้ผลผลิตฝกั ทง้ั เปลอื กอยูร่ ะหว่าง 2,328- 2,645 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตฝักดีทั้งเปลือกอยู่ระหว่าง 2,167-2,494 กิโลกรัมต่อไร่ และ ผลผลติ ฝักปอกเปลือกอยู่ระหว่าง 1,636-1,820 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ เปอร์เซ็นต์เฉือน และความหวานไม่แตกต่างกัน ซึ่งอยู่ระหว่าง 40.9–46.0 เปอร์เซ็นต์ และ 15.0–15.5 องศาบริกซ์ ตามลาดับ ทงั้ น้พี ันธุ์ Insee2 ใหค้ วามหวานสงู สดุ คือ15.9 องศาบริกซ์ คาสาคญั : ขา้ วโพดหวาน, ลูกผสมพนั ธใุ์ หม่, ผลผลิต, ไร่เกษตรกร

1122 กากราปรประรชะมุชวมุ ชิวาชิ กาากราขรา้ขว้าโวพโพดแดลแะลขะ้าขวา้ ฟวฟา่ งา่ แงหแง่หช่งาชตาิตคิ รคัง้ รทั้ง่ีท4ี่ 040 การทดสอบสมรรถนะการผสมเพื่อคดั เลอื กสายพันธข์ุ ้าวโพดท่ีมีศักยภาพในการ สรา้ งพนั ธล์ุ กู ผสมท่ใี หผ้ ลผลิตสงู และต้านทานโรคใบไหมแ้ ผลใหญ่ Combining Ability Test for Selection of Maize Inbred Lines with Potential to Produce High-Yielding Hybrids and Northern Corn Leaf Blight Resistance ศรายทุ ธ สีแก้วตู้1 กญั ญณัช ศริ ธิ ัญญา1 มาโนช คมุ้ พนาลยั สถติ 1 นฤมล แซว่ ่าง1 และ สุรพล ใจวงศษ์ า1* Sarayut Seekaewtu1, Kanyanat Sirithunya1, Manoch Kumpanalaisatit1, Naruemon Saewang1 and Suraphon Chaiwongsar1* 1 คณะวิทยาศาตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ลาปาง 52000 1 Faculty of Science and Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Lanna, Lampang 52000, Thailand * Corresponding author: Chaiwongsar@gmail.com ABSTRACT The objective of this study was to evaluate combining ability of seven maize inbred lines (Li1, Li3, Li6, Li12, Li17, Li18 and Ki60), for high-yielding hybrids and northern corn leaf blight (NCLB) resistance. Diallel mating design was performed to produce 42 hybrids. These hybrids were grown for yield testing and NCLB resistance with their parental lines and commercial checks. The result of GCA analysis in grain yield showed that Ki60 and Li18 had highest GCA value (219.29 and 54.35, respectively), indicating that these lines were good parental lines that can be matched with other lines to produce hybrids with high yield. For SCA analysis in grain yield, the crosses with high SCA value were Li6 x Ki60 (285.53) and the combining ability of all reciprocal crosses were not significantly different. The evaluation of NCLB resistance showed that Li18, Li6, Li1 and Li3 were good lines with high GCA. The crosses with high and significant SCA for NCLB resistance were six crosses, i.e., Li12 x Li18, Li17 x Li18, Li6 x Li12, Li6 x Li17, Li1 x Ki60 and Li3 x Ki60.

กากราปรรปะรชะุมชวุมชิ วาชิกาากราขรา้ ขว้าโพวโดพแดลแะลขะ้าขว้าฟวา่ ฟงา่แงหแ่งหชง่าชตาิ คตริ คั้งรทงั้ ่ี ท40่ี 40 1133 Keywords: Combining ability, hybrid maize, northern corn leaf blight บทคัดยอ่ การศึกษาครัง้ มวี ัตถุประสงคเ์ พอื่ ประเมินสมรรถนะการผสมของข้าวโพดสายพันธแ์ุ ท้ จานวน 7 สายพันธุ์ ได้แก่ Li1, Li3, Li6, Li12, Li17, Li18 และ Ki60 เพื่อสร้างลูกผสมที่ ให้ผลผลิตสงู และต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ (NCLB) ใช้แผนการผสมแบบพบกันหมด ได้ ลูกผสมทั้งหมด 42 คู่ผสม แล้วนามาปลูกทดสอบผลผลิตร่วมกับสายพันธุ์พ่อแม่และพันธุ์ การค้าที่ใช้เป็นพันธุ์เปรียบเทียบ รวมทั้งประเมินความต้านทานโรคใบไหม้แผลใหญ่ จาก การประเมินสมรรถนะการผสมทั่วไป (GCA) ในลักษณะผลผลิต พบว่าสายพันธุ์ Ki60 และ สายพนั ธ์ุ Li18 เป็นสายพนั ธทุ์ ี่มีค่า GCA สงู ท่ีสดุ (219.29 และ 54.35 ตามลาดับ) แสดงให้ เห็นวา่ ท้ัง 2 สายพนั ธเุ์ หมาะสมสาหรับนามาใช้เปน็ สายพันธุ์พ่อแม่ทีส่ ามารถสร้างลูกผสมที่ ให้ผลผลิตทดี่ รี ว่ มกบั สายพนั ธ์ุแท้อ่ืน ๆ ได้ และพบว่าคู่ผสมทมี่ คี า่ สมรรถนะการผสมเฉพาะ (SCA) ในลักษณะผลผลิตท่สี ูงคือ คู่ผสม Li6 x Ki60 (285.53) และพบวา่ สมรรถนะการผสม สลบั พอ่ แม่ของทุกคู่ผสมไมม่ ีความแตกต่างทางสถิติ สาหรับการประเมินความต้านทานของ โรคใบไหม้แผลใหญ่ พบว่า สายพันธุ์ Li18, Li6, Li1 และ Li3 เป็นสายพันธุ์ที่มีสมรรถนะ การผสมทวั่ ไปดีท่ีสดุ และคผู่ สมทมี่ สี มรรถนะการผสมเฉพาะในลักษณะการต้านทานโรคใบ ไหม้แผลใหญ่ที่มีค่า SCA สูง และมีนัยสาคัญทางสถิติมี 6 คู่ผสม คือ คู่ผสม Li12 x Li18, Li17 x Li18, Li6 x Li12, Li6 x Li17, Li1 x Ki60 และ Li3 x Ki60 คาสาคญั : สมรรถนะการผสม, ขา้ วโพดลูกผสม, โรคใบไหม้แผลใหญ่

1144 กากราปรประรชะมุชวมุ ิชวาิชกาากราขรา้ขวา้ โวพโพดแดลแะลขะา้ขวา้ ฟวฟ่างา่ แงหแ่งหช่งาชตาิตคิ รคงั้ รทั้งี่ท4่ี 040 ผลของระยะปลกู และอัตราปุ๋ยไนโตรเจนตอ่ การเจริญเติบโตและผลผลติ ของ ขา้ วโพดขา้ วเหนียวลกู ผสมพันธ์ดุ เี ด่น CNW18109 Effects of Plant Spacing and Nitrogen Fertilizer Rate on Growth and Yield of Promising Waxy Corn Hybrid, CNW18109 วลิ ยั รตั น์ แป้นแกว้ 1* ฉลอง เกิดศรี1 วรรษมน มงคล1 กญั ญรตั น์ จาปาทอง1 เชาวนาถ พฤทธิเทพ1 และ ปวีณา ไชยวรรณ์1 Wilairat Pankaew1, Chalong Kerdsri1, Wassamon Mongkol1, Kanyarat Champathong1 Chaowanart Phruetthithep1 and Paveena Chaiwan1 1 ศูนยว์ จิ ยั พชื ไรช่ ยั นาท ชยั นาท 17150 1 Chai Nat Field Crops Research Center, Chai Nat 17150, Thailand * Corresponding author: wipk_lek@hotmail.com ABSTRACT Effects of plant spacing and nitrogen fertilizer rate on growth and yield of promising waxy corn hybrid, CNW18109, were conducted at Chai Nat Field Crops Research Center at Wat Sing and Supphaya districts in 2022. A split plot design with four replications were used. Main plot was three plant spacings, i.e., 75 x 20, 75 x 25 and 75 x 30 cm. Sub plot was five nitrogen fertilizer rates, i.e., 0, 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 times of the recommended value from soil analysis (0, 10, 20, 30 and 40 kg N/rai). From combined analysis, the results showed that interaction between plant spacing and nitrogen fertilizer rate in ear with husk weight was significant. Plant spacing 75 x 20 cm with nitrogen fertilizer rate 1.0 time gave the highest ear with husk weight, but not significant difference from plant spacing 75 x 20 and 75 x 25 cm with nitrogen fertilizer rates of 1.5 and 2.0 times. The average ear with husk weight ranged from 2,332-2,590 kg/rai. For ear without husk weight, plant spacing and nitrogen fertilizer rate were significant, but no interaction between plant spacing and nitrogen fertilizer rate. Plant spacing 75 x 20 cm gave the highest ear without

กากราปรรปะรชะุมชวมุ ชิ วาิชกาากราขรา้ ขว้าโพวโดพแดลแะลขะ้าขว้าฟวา่ ฟง่าแงหแง่ หช่งาชตาิ คตริ ค้ังรทัง้ ี่ ท40่ี 40 1155 husk weight of 1,451 kg/rai. Nitrogen fertilizer rates at 1.5 times gave the highest ear without husk weight, but not significant difference from nitrogen fertilizer rates at 1.0 and 2.0 times. The average ear without husk weight ranged from 1,496-1,543 kg/rai. Therefore, the promising waxy corn hybrid, CNW18109, should be planted at plant spacing of 75 x 20 cm and applied nitrogen fertilizer rate at 1.0-2.0 times of the recommended value from soil analysis. Keywords: Waxy corn, plant population density, nitrogen fertilizer rate, yield บทคดั ย่อ การศึกษาผลของระยะปลูกและอัตราปุ๋ยไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโตและผลผลติ ของข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ดีเด่น CNW18109 ดาเนินการที่ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาท อ.วัดสงิ ห์ และ อ.สรรพยา จ.ชัยนาท ในปี 2565 วางแผนการทดลองแบบ Split Plot จานวน 4 ซ้า Main plot คือ ระยะปลูก 3 ระยะ ได้แก่ 75 x 20, 75 x 25 และ 75 x 30 เซนติเมตร Sub plot คือ อัตราป๋ยุ ไนโตรเจน จานวน 5 อัตรา ได้แก่ 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 เท่าของ คาแนะนาตามค่าวิเคราะห์ดิน (0, 10, 20, 30 และ 40 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่ ตามลาดับ) จากการวิเคราะห์ความแปรปรวนรวมพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างระยะปลูกและอัตราปุ๋ย ไนโตรเจนในลกั ษณะนา้ หนักฝักสดท้ังเปลอื ก โดยท่รี ะยะปลกู 75 x 20 เซนติเมตร และใสป่ ยุ๋ ไนโตรเจนที่อัตรา 1.0 เท่า ให้น้าหนักฝกั สดทัง้ เปลือกสูงไมแ่ ตกต่างกับทีร่ ะยะปลกู 75 x 20 และ 75 x 25 เซนติเมตร และใส่ปุ๋ยไนโตรเจนที่อัตรา 1.5 และ 2.0 เท่า โดยให้ค่าเฉลี่ย ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือก 2,332-2,590 กิโลกรัมต่อไร่ สาหรับน้าหนักฝักสดปอกเปลือก มี ความแตกต่างทางสถิติทั้งในส่วนของระยะปลูกและอัตราปุ๋ยไนโตรเจน แต่ไม่มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างระยะปลูกและอัตราปุ๋ยไนโตรเจน โดยที่ระยะปลูก 75 x 20 เซนติเมตร ให้น้าหนัก ฝักสดปอกเปลือกสูงที่สุดคือ 1,451 กิโลกรัมต่อไร่ การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนที่อัตรา 1.5 เท่าของ ค่าวิเคราะหด์ ินให้นา้ หนกั ฝักสดปอกเปลือกสูงไม่แตกต่างกับการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนท่ีอตั รา 1.0 และ 2.0 เท่า โดยให้ค่าเฉลี่ยผลผลิตฝักสดปอกเปลือก 1,496-1,543 กิโลกรัมต่อไร่ ดังนั้น ข้าวโพดข้าวเหนียวลูกผสมพันธุ์ดีเด่น CNW18109 ควรปลูกที่ระยะ 75 x 20 เซนติเมตร และใชป้ ยุ๋ ไนโตรเจนอตั รา 1.0-2.0 เท่าของคาแนะนาตามค่าวเิ คราะหด์ ิน คาสาคัญ: ข้าวโพดขา้ วเหนียว, จานวนประชากรต่อพืน้ ที่ปลกู , อตั ราปยุ๋ ไนโตรเจน, ผลผลิต

1166 กากราปรประรชะุมชวุมชิวาิชกาากราขรา้ขว้าโวพโพดแดลแะลขะ้าขวา้ ฟวฟ่างา่ แงหแง่หช่งาชตาิตคิ รค้งั รท้ัง่ีท4ี่ 040 การปนเป้ือนรว่ มของสารพษิ จากเชอื้ ราและการประเมินความเสีย่ งของสารพิษ อะฟลาทอกซนิ : กรณีศกึ ษาขา้ วโพดจากประเทศเนปาล Co-occurrence of Mycotoxins and Risk Assessment of Aflatoxin: A Case Study of Maize from Nepal วราภา มหากาญจนกุล1*, Prateek Joshi1,2, ชนญั ญา ช่วยศรนี วล3 และ ธนภมู ิ มณบี ุญ3 Warapa Mahakarnchanakul1*, Prateek Joshi1,2, Chananya Chuaysrinule3 and Thanapoom Maneeboon3 1 ภาควชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 2 Ministry of Agriculture and Livestock Development, Singhadurbar, Kathmandu 44600, Nepal 3 ฝา่ ยเครอื่ งมอื และวิจยั ทางวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั วิจยั และพฒั นาแหง่ มก. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 1 Department of Food Science and Technology, Faculty of Agro-Industry, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand 2 Ministry of Agriculture and Livestock Development, Singhadurbar, Kathmandu 44600, Nepal 3 Scientific Equipment and Research Division, KURDI, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand *Corresponding author: fagiwpm@ku.ac.th ABSTRACT Mycotoxins are secondary metabolites produced by mycotoxigenic fungi and exhibit toxicity in human and animal. Contamination of mycotoxins is a global food safety problem. Maize is the most important raw material used for both food and feed production and is often found contaminated with various mycotoxins. In this study, the co-occurrence of mycotoxins; aflatoxin, fumonisin, deoxynivalenol, zearalenone, and ochratoxin in 45 maize samples originating from Nepal was investigated. All maize samples were contaminated with at least two mycotoxins and 40% of the samples contained five mycotoxins. Deoxynivalenol was found in all samples, however, none of the samples exceeded the maximum permitted limit (MPL) of the European regulation (1,750 µg/kg). Aflatoxin was detected in 78% of tested maize samples, while 24% exceeded the MPL of European regulation (20 µg/kg). The estimated daily intake of aflatoxin due to consumption of

กากราปรรปะรชะมุ ชวุมชิ วาิชกาากราขร้าขวา้โพวโดพแดลแะลขะา้ ขว้าฟวา่ ฟง่าแงหแ่งหชง่าชตาิ คตริ คง้ั รทั้ง่ี ท40ี่ 40 1177 maize was 30.46 ng/kg BW/day for Nepali consumers. The estimated number of liver cancer cases for maize consumers was 0.38 cases/year/100,000 population. The present study indicates that implementing integrated food safety management systems is essential for preventing contamination of mycotoxins in the food production chain. The evidence from the co- occurrence of mycotoxins in Nepal maize could be the model to access the risk assessment on mycotoxins in our Thai agriculture commodities. Keywords: Mycotoxins, co-occurrence, maize, food safety, risk assessment บทคดั ยอ่ สารพิษจากเชื้อราเป็นสารแมเทบอไลต์ทุติยภูมิที่สร้างโดยเชื้อราที่ปนเปื้อนใน ผลิตผลการเกษตร มีความเป็นพิษต่อคนและสัตว์ การปนเป้ือนสารพิษเชื้อราในอาหารเปน็ ปัญหาดา้ นความปลอดภยั อาหารที่เกิดขึ้นทัว่ โลก ขา้ วโพดเป็นวตั ถดุ บิ สาคญั สาหรับการผลติ อาหารคนและอาหารสตั วท์ มี่ ีโอกาสปนเปื้อนของสารพิษจากเชื้อราหลายชนิด งานวิจัยน้ีได้ สารวจการปนเปื้อนสารพิษอะฟลาทอกซิน ฟูโมนิซิน ดีออกซีไนวาลีนอล ซีราลีโนน และ ออคราทอกซิน ในตัวอย่างข้าวโพดจากประเทศเนปาล จานวน 45 ตัวอย่าง ผลการทดลอง พบว่า ข้าวโพดทกุ ตวั อย่างมีการปนเปื้อนสารพษิ จากเช้ือราอยา่ งนอ้ ย 2 ชนิด และข้าวโพด ร้อยละ 40 พบการปนเปือ้ นสารพษิ จากเชื้อราทัง้ 5 ชนดิ โดยพบสารพิษดีออกซไี นวาลนี อล ในทุกตัวอย่าง แต่มีปริมาณไม่เกินค่ามาตรฐานของสหภาพยุโรป (1,750 ไมโครกรัม/ กิโลกรัม) ในขณะทีต่ ัวอยา่ งร้อยละ 78 มีการปนเปื้อนสารพิษอะฟลาทอกซิน ทั้งน้ีตวั อย่าง ร้อยละ 24 มีปริมาณสารพิษอะฟลาทอกซินมากกว่าค่ามาตรฐานของสหภาพยุโรป (20 ไมโครกรัม/กิโลกรัม) ผลการประเมินการได้รับสารอะฟลาทอกซินจากการบริโภคข้าวโพด ของชาวเนปาลมีค่าเท่ากับ 30.46 นาโนกรัม/กิโลกรัมน้าหนักตัว/วัน และความเสี่ยงของ การเกิดมะเร็งตับของกลุ่มประชากรผู้บริโภคข้าวโพดมีค่าเท่ากับ 0.38 คน/ปี/ประชากร 100,000 คน ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของการบูรณาการระบบการจัดการ ด้านความปลอดภัยอาหารเพื่อแก้ปัญหาการปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อราในห่วงโซ่การผลิต อาหาร และผลการศึกษาการปนเปื้อนร่วมของสารพิษจากเชื้อราในข้าวโพดจากประเทศ เนปาลจะสามารถใชเ้ ป็นแบบจาลองสาหรบั การประเมนิ ความเสี่ยงของสารพิษจากเช้อื ราใน ผลิตผลการเกษตรของไทย

1188 กากราปรประรชะุมชวมุ ิชวาิชกาากราขร้าขว้าโวพโพดแดลแะลขะ้าขว้าฟวฟา่ งา่ แงหแง่หช่งาชตาิตคิ รคั้งรท้ังี่ท4ี่ 040 คาสาคัญ: สารพษิ จากเชอ้ื รา, การปนเปอื้ นรว่ ม, ขา้ วโพด, ความปลอดภยั อาหาร, การประเมินความเสยี่ ง

กากราปรรปะรชะมุ ชวุมชิ วาชิกาากราขรา้ ขว้าโพวโดพแดลแะลขะา้ ขว้าฟวา่ ฟงา่แงหแง่ หชง่าชตาิ คตริ ค้งั รทง้ั ่ี ท40่ี 40 1199 การแพร่ระบาดของโรคไวรสั ในแหล่งปลกู ขา้ วโพดหวานทสี่ าคญั ของประเทศไทย Outbreak of Virus Disease in Major Sweet Corn Growing Areas in Thailand เชาวนาถ พฤทธิเทพ1* สิทธิศกั ด์ิ แสไพศาล2 ปวีณา ไชยวรรณ์1 พรี ะวรรณ พฒั นวิภาส2 ศิวไิ ล ลาภบรรจบ3 และ อนุวฒั น์ จนั ทรสุวรรณ4 Chaowanart Phruetthithep1*, Sitthisak Saepaisal2, Paveena Chaiwan1, Peerawan Patanavipart2, Siwilai Lapbanjob3 and Anuwat Chantarasuwan4 1 ศูนย์วจิ ยั พชื ไรช่ ยั นาท ชยั นาท 17150 2 สานกั วจิ ยั พฒั นาการอารกั ขาพชื กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 3 ศูนยว์ จิ ัยพชื ไรน่ ครสวรรค์ นครสวรรค์ 60190 4 สถาบันวิจยั พชื ไรแ่ ละพืชทดแทนพลงั งาน กรมวชิ าการเกษตร กรงุ เทพฯ 10900 1 Chai Nat Field Crops Research Center, Chai Nat 17150, Thailand 2 Plant Protection Research and Development Office, Department of Agriculture, Bangkok 10900, Thailand 3 Nakhon Sawan Field Crops Research Center, Nakhon Sawan 60190, Thailand 4 Field and Renewable Energy Crops Research Institute, Department of Agriculture, Bangkok 10900, Thailand * Corresponding author: chaovanaj@yahoo.com ABSTRACT Surveys were conducted to identify virus diseases affecting sweet corn in major growing areas in seven provinces, including Chiang Mai, Chiang Rai, Lop Buri, Kanchanaburi, Ratchaburi, Nakhon Pathom and Nakhon Ratchasima in 2021. A total of 964 samples showed different severe symptoms, such as mosaic, yellow mosaic, chlorotic mottle, streak, yellow stripe, ringspot mosaic and dwarf, which either only one or a combination of symptoms can be observed. The symptoms of virus infection were collected and tested by indirect enzyme-linked immunosorbent assay (Indirect ELISA) to detect Sugarcane mosaic virus (SCMV), Maize dwarf mosaic virus (MDMV) and Maize chlorotic mottle virus (MCMV). Indirect ELISA results showed that SCMV MDMV and MCMV were 98.9, 4.0 and 0.4% of total samples, respectively.

2200 กากราปรประรชะมุชวมุ ิชวาชิ กาากราขรา้ขวา้ โวพโพดแดลแะลขะา้ขวา้ ฟวฟา่ งา่ แงหแ่งหช่งาชตาิตคิ รคง้ั รทั้ง่ีท4่ี 040 Keywords: Sweet corn, virus diseases, ELISA, detection บทคัดย่อ สารวจและเก็บตัวอย่างใบข้าวโพดหวานที่แสดงอาการของโรคไวรัสในแหล่งปลูกที่ สาคัญ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลพบุรี กาญจนบุรี ราชบุรี นครปฐม และ นครราชสมี า รวมจานวน 7 จังหวดั ดาเนนิ การสารวจในปี 2564 รวมจานวนตัวอย่างที่เก็บ ท้งั ส้นิ 964 ตวั อยา่ ง พบวา่ ใบขา้ วโพดหวานแสดงอาการผิดปกติที่แตกตา่ งกนั เช่น อาการ ด่าง (mosaic) ด่างเหลือง (yellow mosaic) ด่างจุดประ (chlorotic mottle) ด่างเป็นขดี (streak) อาการแถบเหลือง (yellow stripe) ด่างเป็นวง (ringspot mosaic) และอาการ เตี้ยแคระ (dwarf) ซึ่งอาการอาจพบเดี่ยว ๆ หรือพบร่วมกัน ผลการตรวจสอบเชื้อไวรัส Sugarcane mosaic virus (SCMV) Maize dwarf mosaic virus (MDMV) และ Maize chlorotic mottle virus (MCMV) ด้วยวิธี indirect enzyme-linked immunosorbent assay (Indirect ELISA) พบเชื้อไวรัส SCMV MDMV และ MCMV เท่ากับ 98.9, 4.0 และ 0.4 เปอร์เซน็ ต์ของจานวนตวั อย่างท้ังหมด ตามลาดบั คาสาคญั : ขา้ วโพดหวาน, โรคไวรัส, ELISA, การตรวจสอบ

กากราปรรปะรชะมุ ชวมุ ชิ วาิชกาากราขรา้ ขวา้โพวโดพแดลแะลขะา้ ขวา้ฟวา่ ฟงา่แงหแ่งหชง่าชตาิ คตริ คง้ั รทัง้ ่ี ท40ี่ 40 2211 ผลของสารกาจัดวชั พืชประเภทก่อนงอกร่วมกบั หลงั งอกตอ่ การเจริญเติบโตและ ผลผลิตของข้าวโพดสายพนั ธุ์แท้ Effects of Pre-emergence in Combination with Post-emergence Herbicides on Growth and Yield of Maize Inbred Lines ณัฐพร วรธงไชย1* สดใส ช่างสลกั 1 สาราญ ศรชี มพร1 ณฐั นี จตุ ิโรจนป์ กรณ์1 ประกายรัตน์ โภคาเดช1 และ เอ็จ สโรบล2 Nattaporn Worathongchai1*, Sodsai Changsaluk1, Samran Srichomporn1, Nattanee Jutirojpakorn1, Prakayrat Phocadate1 and Ed Sarobol2 1 ศูนยว์ จิ ยั ข้าวโพดและขา้ วฟา่ งแหง่ ชาติ คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครราชสีมา 30320 2 ภาควิชาพชื ไรน่ า คณะเกษตร มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ กรงุ เทพฯ 10900 1 National Corn and Sorghum Research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Nakhon Ratchasima 30320, Thailand 2 Department of Agronomy, Faculty of Agriculture, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand * Corresponding author: nattaporn.wara@ku.th ABSTRACT Appropriate use of herbicides on maize will reduce the effect on maize and allow maize to growth normally. The research aimed to test weed control efficiency of pre-emergence herbicides combining with post-emergence herbicides on maize inbred lines and hybrid cultivars. It was laid out in Split plot in RCBD with three replications. The main plots were seven treatments, the pre-emergence herbicides only are atrazine + pendimethalin and compared with pre-emergence herbicides combining with post-emergence herbicides including six treatments, 2,4-D dimethylammonium, glufosinate ammonium, nicosulfuron + atrazine, topramezone + atrazine, tembotrione + atrazine and mesotrione/atrazine. Weed control efficiency and yield, and sub plots were study among 18 inbred lines and hybrid cultivars; SW4452, NS3, S7328, PAC339, CP888 and DK6919. The results revealed that pre-emergence herbicides combining with post-emergence herbicides 2,4-D dimethylammonium