Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พันธะเคมี

พันธะเคมี

Published by juthamas152523, 2020-06-12 21:31:54

Description: พันธะเคมี

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 วิชาเคมี 1 ว30221 สอนโดย ครจู ฑุ ามาศ พดุ หอม

ในชีวิตประจาวันทว่ั ๆไปจะพบว่าสาร ชนิดหนงึ่ ๆมักจะ อยรู่ วมกันเปน็ กลมุ่ ก้อนและเมือ่ ตอ้ งการทาใหแ้ ยกออกจากกัน จะตอ้ งใช้พลังงานจานวนหน่ึง เช่น 1. เมอื่ ใหค้ วามร้อนแกส่ ารจนกระทง่ั โมเลกุลของสารมี พลงั งานสงู พอจะทาใหเ้ กดิ  การเปลย่ี นสถานะของนา้ แข็ง  สารบางชนดิ อาจแยกสลายออกเปน็ สารหลายชนิดได้ 2. เม่ือให้พลงั งานไฟฟ้าโมเลกุลของสารบางชนดิ จะสลายตวั ให้ธาตุทเ่ี ป็นองค์ประกอบ เชน่ การแยกนา้ ดว้ ยไฟฟ้า

มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. แรงยึดเหนี่ยวภายในโมเลกลุ (พันธะเคมี) อะตอม - อะตอม 2. แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ งโมเลกุล โมเลกลุ - โมเลกลุ

1. แรงยดึ เหนี่ยวภายในโมเลกลุ (พนั ธะเคม)ี ไดแ้ ก่ - พนั ธะโคเวเลนต์ (covelent bond) - พันธะไอออนกิ (ionic bond) - พนั ธะโลหะ (metal bond) นา้ 1 โมเลกุล HH O แรงยดึ เหนยี่ วภายในโมเลกุล

2. แรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งโมเลกลุ ไดแ้ ก่ - แรงแวนเดอร์วาลส์ (vanderwaal force) - แรงดึงดูดระหว่างขวั้ (dipole-dipole interation) - พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) HH O แรงยดึ เหนีย่ วระหว่างโมเลกลุ HH H O OO HHH

เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ยดึ เหนีย่ วกนั ดว้ ยแรงอ่อนๆ ซ่งึ เกดิ ขน้ึ ในสารทั่วไป และจะมคี า่ เพม่ิ ข้ึน ตามมวลโมเลกุลของสาร

เปน็ แรงดงึ ดดู ทางไฟฟ้าอนั เนือ่ งมาจากแรงกระทา ระหวา่ งขัว้ บวกกบั ข้ัวลบของโมเลกลุ ทมี่ ขี ั้ว สารโคเวเลนต์ทีม่ ขี ั้ว จะมแี รงยึดเหนย่ี วระหวา่ งโมเลกลุ 2 ชนิดรวมอยดู่ ว้ ยกนั คอื แรงลอนดอนกบั แรงดึงดดู ระหว่างข้ัว และเรยี กแรง 2 แรงรวมกนั ว่า แรงแวนเดอรว์ าลส์

คือ แรงดงึ ดดู ระหว่างโมเลกุลท่เี กิดจากไฮโดรเจน อะตอมสรา้ งพนั ธะโคเวเลนต์กบั อะตอมที่มคี ่าอเิ ลก็ โทร- เนกาตวิ ิตสี ูงๆและมีขนาดเล็ก ได้แก่ F , O และ N แลว้ เกดิ พันธะโคเวเลนต์ท่มี ีขั้วชนิดมีสภาพขั้วแรงมาก

หมายถึง แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอะตอม 2 อะตอม หรอื ไอออนเข้าไวด้ ว้ ยกันเป็นโมเลกลุ หรอื เปน็ กลุ่มของอะตอม ทัง้ นี้ แรงยึดเหน่ยี วจะข้นึ อยู่กบั อิเลก็ ตรอนวงนอกของ อะตอม (Valence Electron) เทา่ นั้น โดยมีการถา่ ยโอน หรือการใช้อิเล็กตรอนร่วมกนั ทาใหเ้ กดิ พันธะเคมที ่ีมกี าร จดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนใหเ้ กดิ อิเลก็ ตรอนคู่ร่วมพันธะข้นึ มา ทาให้โมเลกุลทีเ่ กดิ ขนึ้ มคี วามเสถยี รข้ึน

อะตอมของธาตุโดยท่ัวไปเมื่ออยลู่ าพงั จะพยายามจัด ตวั เองใหม้ อี ิเล็กตรอนวงนอกสดุ เหมือนกบั แกส๊ เฉ่ือย (เสถยี ร) ซงึ่ กค็ อื มจี านวนวาเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนของอะตอม เทา่ กับ 8 (ยกเวน้ He ทม่ี ีจานวนวาเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเทา่ กับ 2 ก็จะมีความเสถยี รแล้ว) ซงึ่ ทาไดโ้ ดยอะตอมอาจรวมกบั อะตอมของธาตุชนิด เดยี วกัน หรอื รวมกับอะตอมของธาตตุ ่างชนดิ กนั ก็ได้

จากการศกึ ษาธาตเุ ฉอ่ื ยพบวา่ เป็นธาตทุ ่ีจดั อยู่ใน ประเภทโมเลกุลอะตอมเดยี วทกุ สถานะ แสดงว่าธาตเุ ฉื่อย เป็นธาตทุ เ่ี สถยี รมาก เกิดปฏิกริ ิยาเคมกี ับธาตอุ น่ื ไดย้ าก และพบว่าธาตุเฉ่อื ยมกี ารจัดเรยี งอิเล็กตรอนวงนอกสดุ เหมอื นกัน คือ มีเวเลนต์อิเลก็ ตรอนเท่ากบั 8 (ยกเว้น ธาตุ He มเี วเลนต์อเิ ล็กตรอนเท่ากับ 2 )

ดังนั้น ธาตทุ ่ีมเี วเลนต์อเิ ล็กตรอนน้อยกวา่ 8 จงึ พยายามปรบั ตวั ให้มีโครงสร้างแบบธาตุเฉอ่ื ย โดยการ รวมตัวกันเป็นโมเลกุลหรือใช้อเิ ล็กตรอนรว่ มกันเพอ่ื ทาให้ เวเลนต์อิเล็กตรอนเทา่ กับ 8 สว่ นไฮโดรเจนจะพยายามปรบั ตัวให้มีเวเลนต์ อิเล็กตรอนเท่ากบั 2 เหมือนธาตุ He

การทีอ่ ะตอมของธาตุต่าง ๆ รวมตัวกันด้วยสัดสว่ นที่ ทาให้มเี วเลนต์อเิ ล็กตรอนเท่ากบั 8 น้ี นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ ตง้ั เปน็ กฎเรียกว่า กฎออกเตต (ซง่ึ อะตอมจะมคี วาม เสถียร)

- อะตอมใชเ้ วเลนต์อเิ ลก็ ตรอนร่วมกันเปน็ คๆู่ จะเกิด \" พันธะโคเวเลนต์ \" - อะตอม ใหห้ รอื รับอิเลก็ ตรอน จะเกดิ เป็น \" พันธะไอออนกิ \" - อะตอมใชเ้ วเลนต์อิเลก็ ตรอนร่วมกันท้งั กอ้ น จะเกดิ เป็น \" พันธะโลหะ \" การกระทาทงั้ สามแบบนีอ้ าจทาใหอ้ ะตอมมีเวเลนต์อิเลก็ ตรอน ครบ 8 ได้

ตวั อย่างการใช้เวเลนต์อเิ ลก็ ตรอนร่วมกนั ของ F2 ทาใหอ้ ะตอมของ F แต่ละอะตอมเสถียร F2 เขยี นสตู รโครงสร้างแบบจุดเปน็ F F  แทนอเิ ล็กตรอน 1 ตัว       มีการใชอ้ ิเล็กตรอนรว่ มกัน F แต่ละอะตอมมีเวเลนต์อเิ ลก็ ตรอนเทา่ กบั 7 เมื่อใช้ อเิ ลก็ ตรอนร่วมกนั ทาให้ F แตล่ ะอะตอมมเี วเลนต์อเิ ลก็ ตรอนครบ 8

 ตวั อยา่ ง โครงสร้างอะตอมของสารประกอบท่เี ปน็ ไปตามกฎออกเตต  H2O HOH HCN HC N    

NH3 H N H  H C2H4 H C C H HH     

ก. พวกทไ่ี ม่ครบออกเตต ไดแ้ ก่ สารประกอบของธาตใุ นคาบที่ 2 ทมี่ เี วเลนต์ อิเลก็ ตรอนน้อยกวา่ 4 เช่น 4Be และ 5B 4Be = 2 , 2 เวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 5B = 2 , 3 เวเลนต์อเิ ล็กตรอนเท่ากับ 3 ธาตุ Be และ B เม่อื เกดิ เปน็ สารประกอบโคเวเลนต์ ทั่วๆไปจะไมค่ รบออกเตต

ตัวอย่างสารประกอบที่ไมค่ รบออกเตต  ใน BF3 ธาตุ B จะมเี วเลนต์อิเล็กตรอนเทา่ กบั 6 BF3 F B F        F    ใน BeCl2 ธาตุ Be จะมเี วเลนต์อิเล็กตรอนเทา่ กบั 4 BeCl2 Cl Be Cl      

แตถ่ า้ ธาตเุ หล่านเี้ กิดเปน็ สารประกอบเชิงซอ้ น บางชนดิ จะเปน็ ไปตามกฎออกเตต เชน่  ใน BF4- ท้ัง B และ F ตา่ งกม็ เี วเลนต์อเิ ล็กตรอนเทา่ กบั 8 เป็นไปตามกฎออกเตต - F  BF4- F B F     F    

 ใน BCl3NH3 ทง้ั B , Cl , N และ F ตา่ งกเ็ ปน็ ไปตาม กฎออกเตต Cl H Cl B N H  Cl H  BCl3NH3             

ข. พวกทเี่ กนิ ออกเตต ได้แก่ สารประกอบของธาตุในคาบท่ี 3 ท่ีสร้างพนั ธะกัน แลว้ ทาให้มเี วเลนต์อิเลก็ ตรอนเกิน 8 เช่น ( ตามกฎการจดั อเิ ล็กตรอน 2n2 ในคาบท่ี 3 สามารถ มีอิเลก็ ตรอนได้เต็มท่ถี ึง 18 อิเลก็ ตรอน ) แตพ่ วกทเ่ี กนิ ออกเตตมกั จะพบในสารประกอบบางตัว ของ P , S และโลหะทรานซชิ ัน

เชน่  ใน PCl5 ธาตุ P เกดิ พันธะกับ Cl รวม 5 พนั ธะ จงึ มเี วเลนต์อิเล็กตรอนเทา่ กบั 10 ซง่ึ เกนิ ออกเตต ( 1 พันธะ หรอื 1 เสน้ ประกอบดว้ ย 2 อเิ ลก็ ตรอน ) PCl5 Cl Cl P Cl Cl Cl

 ใน SF6 ธาตุ S เกิดพนั ธะกับ F รวม 6 พนั ธะจึงมเี ว เลนตอ์ ิเลก็ ตรอนเทา่ กบั 12 ซง่ึ เกินออกเตต แตใ่ น SF2 หรอื สารประกอบอืน่ ๆ ของธาตุ S ส่วนมาก เปน็ ไปตามกฎออกเตต F F F S F F F

 ใน ICl3 ธาตุ I เกดิ พนั ธะกับ Cl รวม 3 พนั ธะ และมีอเิ ล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว 2 คู่ จึงรวมเป็น 10 อเิ ลก็ ตรอน ซึ่งเกนิ ออกเตต แต่ ICl หรอื สารประกอบอ่นื ๆ ของ I สว่ น ใหญเ่ ปน็ ไปตามกฎออกเตต Cl I Cl Cl 

 ใน Co(NH3)62+ ธาตุ Co เกดิ พนั ธะกับ N ใน NH3 รวม 6 พนั ธะจึงมีเวเลนต์อิเลก็ ตรอนเท่ากบั 12 ซึง่ เกนิ ออก เตต NH3 NH3 Co NH3 NH3 NH3 NH3

นอกจากสารประกอบท่ไี ม่เป็นไปตามกฎออกเตตดงั ทไ่ี ด้ กล่าวมาแลว้ ยงั มสี ารประกอบอ่นื ๆ อกี บางชนิดซง่ึ ไมเ่ ป็นไปตาม กฎออกเตต เช่น ออกไซด์บางตวั ของธาตไุ นโตรเจน ( NO และ NO2 ) และออกไซดข์ องคลอรนี (ClO2) เปน็ ต้น ธาตุเหล่านี้ ( N และ Cl ) สามารถมีอเิ ลก็ ตรอนทีไ่ มไ่ ด้จับคู่ หรือ อเิ ล็กตรอนเดี่ยว (Unpaired electron) ซึ่งทาให้แสดงสมบัติเปน็ paramagnetic ( มสี มบตั เิ บ่ียงเบนในสนามไฟฟ้า ) ได้

 ใน NO ธาตุ N มีเพียง 7 อเิ ล็กตรอนซ่งึ ไมเ่ ปน็ ไป ตามกฎออกเตต NO

 ใน NO2 ธาตุ N เกดิ พันธะกับธาตุ O แตม่ ี อเิ ล็กตรอนเพยี ง 7 ซง่ึ ไม่ครบออกเตต ON O

 ใน ClO2 ธาตุ Cl เกดิ พันธะกับธาตุ O แตม่ ี อเิ ล็กตรอนเพยี ง 7 ซึ่งไมค่ รบออกเตต O Cl O

ประโยชนข์ องกฎออกเตต กฎออกเตต นอกจากจะใช้สาหรบั เขยี นสตู ร โครงสรา้ งสารแลว้ ยงั สามารถใช้ช่วยทานายสัดสว่ น จานวนอะตอมของธาตุท่ีทาปฏิกริ ิยากันและทานายสูตร ของสารประกอบตา่ ง ๆ ได้ เช่น

1. ทานายว่าสารประกอบระหว่างธาตคุ ลอรนี (Cl) กับธาตุ ฟลอู อรนี (F) ควรจะมสี ูตรเป็น ClF เน่อื งจากธาตุ Cl และ F ตา่ งก็เป็นธาตหุ มูท่ ่ี 7 จึงมี เวเลนตอ์ ิเล็กตรอนเท่ากับ 7 ท้งั Cl และ F ต่างก็ตอ้ งการอกี 1 อิเลก็ ตรอนจงึ จะครบออกเตต ดังน้ันจงึ สรา้ งพันธะ 1 พันธะ แสดง วา่ Cl กับ F ควรจะรวมกันเปน็ สารประกอบโดยใช้อยา่ งละ 1 อะตอม Cl + F Cl F หรือ Cl - F

2. กรณีสารประกอบฟอสฟอรัส (P) กับคลอรนี (Cl) โดยอาศยั กฎออกเตต จะทานายได้วา่ สตู รของสารประกอบควรจะ เปน็ PCl3 เพราะ ธาตุ P เปน็ ธาตุหม่ทู ่ี 5 มี 5 เวเลนต์อเิ ล็กตรอน ต้องการอีก 3 อิเล็กตรอน หรือต้องเกิด 3 พันธะ จึงจะครบออกเตต ในขณะท่ี Cl เปน็ ธาตุหมทู ี่ 7 มี 7 เวเลนต์อิเลก็ ตรอน ตอ้ งการอกี เพยี ง 1 อิเลก็ ตรอนหรือตอ้ งการเกดิ เพียง 1 พันธะกจ็ ะครบออกเตต เพอื่ ใหท้ ้งั P และ Cl ครบออกเตต จงึ ต้องใช้ Cl 3 อะตอม ต่อ P 1 อะตอม  สูตรของสารประกอบจึงเป็น PCl3 3( Cl ) + P Cl P Cl หรือ Cl P Cl Cl Cl

3. กรณีของสารประกอบระหว่างไนโตรเจน (N) กบั ไฮโดรเจน (H) โดยใชก้ ฎออกเตต จะทานายไดว้ า่ สารประกอบควรจะเป็น NH3 ธาตุ N มี 5 เวเลนต์อิเล็กตรอน ตอ้ งการอกี 3 อเิ ลก็ ตรอนจงึ จะ ครบออกเตต ซ่งึ ก็ทาไดโ้ ดยการเกดิ 3 พนั ธะ ส่วนธาตุ H มี 1 เวเลนต์อเิ ลก็ ตรอนต้องการอีก 1 อเิ ล็กตรอนจึงจะครบ 2 อเิ ล็กตรอนเหมือนธาตุ He ซง่ึ กท็ าได้โดยการเกิด 1 พนั ธะ

ดังน้นั N 1 อะตอมต้องการ 3 พันธะ จึงตอ้ งรวมกบั H 3 อะตอม ซ่งึ แตล่ ะอะตอมต้องการ 1 พนั ธะ เพื่อให้ท้งั N และ H ครบออกเตต  สูตรของสารประกอบจึงเป็น NH3 3(H ) + N H N H หรือ H N H HH

4. กรณสี ารประกอบระหวา่ งคารบ์ อน (C) กบั คลอรนี (Cl) ธาตุ C มี 4 เวเลนต์อเิ ล็กตรอน ตอ้ งการอกี 4 อเิ ล็กตรอน จึงจะครบออกเตต ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งเกดิ 4 พันธะ สว่ น ธาตุ Cl มี 7 เวเลนตอ์ ิเล็กตรอน ต้องการอีก 1 อิเล็กตรอนจึงจะครบออกเตต ดังนน้ั จงึ ต้องเกดิ 1 พันธะ เพราะฉะนัน้ C 1 อะตอม ต้องการ 4 พนั ธะ จึงตอ้ งรวมกบั Cl 4 อะตอม ซึ่งแต่ละอะตอมตอ้ งการ 1 พันธะ จึงจะทาให้ C และ Cl ครบออกเตต  สตู รของสารประกอบจึงเปน็ CCl4

สูตรของสารประกอบ CCl4 4( Cl ) + C Cl Cl Cl C Cl หรือ Cl C Cl Cl Cl

5. กรณีสารประกอบระหว่างคาร์บอน (C) กบั กามะถนั (S) ธาตุ C มี 4 เวเลนต์อิเลก็ ตรอน ต้องการอกี 4 อิเล็กตรอน จึงจะครบออกเตต ดังน้ันจงึ เกดิ 4 พนั ธะ สว่ นธาตุ S มี 6 เวเลนต์อเิ ลก็ ตรอน ต้องการอกี 2 อิเลก็ ตรอนจงึ จะครบออกเตต ดังนนั้ จึงเกดิ 2 พนั ธะ เพราะฉะน้นั C 1 อะตอมตอ้ งการ 4 พนั ธะ จึงตอ้ งรวมกับ S 2 อะตอม ซึง่ แต่ละอะตอมตอ้ งการ 2 พนั ธะ เพ่ือให้ท้งั C และ S ครบออกเตต  สูตรของสารประกอบจงึ เปน็ CS2

สูตรของสารประกอบ CS2 C + 2( S ) S C S หรือ S = C = S

วิธีตรวจสอบว่าสตู รของสารประกอบน้ันเป็นไป ตามกฎออกเตตหรอื ไม่ 1. นับจานวนเวเลนต์อิเล็กตรอนของอะตอมกลางของธาตนุ ั้นๆวา่ มี เท่าใด 2. นับแขนท่ีเกดิ กับอะตอมกลางวา่ เกดิ กแ่ี ขน 3. ถ้าเปน็ สารประกอบท่มี ปี ระจไุ อออนให้นบั จานวนไอออนด้วย 4. เอาจานวนที่นบั ไดใ้ นข้อ 1 – 3 มาบวกกัน ถ้า - ผลรวม = 8 แสดงวา่ เปน็ ไปตามกฎออกเตต - ผลรวม  8 แสดงว่าเปน็ สารประกอบที่ไม่ครบออกเตต - ผลรวม  8 แสดงว่าเป็นสารประกอบที่เกนิ ออกเตต

เชน่ CO2 = 2 + 4 + 2 = 8 ครบ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต HCN = 1 + 4 + 3 = 8 ครบ 8 เปน็ ไปตามกฎออกเตต BF4- = 4 + 3 + 1 = 8 ครบ 8 เป็นไปตามกฎออกเตต



พันธะโคเวเลนต์ ( Covelent bond ) คอื พันธะท่ีเกดิ จากอะตอมคูห่ นง่ึ ใชอ้ ิเลก็ ตรอนร่วมกนั โดยเกดิ แรงดงึ ดดู ระหว่างอเิ ลก็ ตรอนกับโปรตอนในนวิ เคลยี ส ของอะตอมทั้งสอง ลักษณะสาคญั ของพันธะโคเวเลนต์ 1. เป็นพนั ธะที่เกดิ จากอะตอมท่มี คี า่ ENสูง(อโลหะ) กบั อะตอมท่ีมีค่าENสงู (อโลหะ) ดว้ ยกนั 2. พันธะเกดิ จากการใช้อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั

การเกดิ พันธะโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอม 2 อะตอม สง่ อเิ ลก็ ตรอนออกมา ฝ่ายละเทา่ ๆ กนั เพือ่ ใชอ้ เิ ลก็ ตรอนร่วมกัน ทาให้อะตอมมี เวเลนต์อิเลก็ ตรอนครบ 8 (เป็นไปตามกฎออกเตต) เช่น การเกดิ โมเลกลุ ของคลอรนี (Cl2) Cl Cl (อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว)      เกิดพนั ธะโคเวเลนต์ (อเิ ล็กตรอนค่รู ว่ มพนั ธะ)

ชนิดของพนั ธะโคเวเลนต์ มี 3 ชนดิ คอื 1. พนั ธะเด่ยี ว เกดิ จากอะตอมของธาตุใช้เวเลนต์อเิ ลก็ ตรอนรว่ มกนั 1 คู่ เชน่ H2 HH HH  ( H มีเวเลนต์อเิ ล็กตรอน = 1 ตอ้ งการอิเลก็ ตรอนอีก 1 ตวั ใหม้ ี เวเลนต์อิเลก็ ตรอนครบ 2 ดงั นัน้ H ทั้งสองตา่ งใช้อิเลก็ ตรอนรว่ มกนั 1 คู่ เกิดเป็นพนั ธะเด่ียว )

2. พันธะคู่ เกิดจากอะตอมของธาตุใช้เวเลนต์อเิ ล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่ เชน่ CO2 OCO O C O          3. พนั ธะสาม เกดิ จากอะตอมของธาตุใชเ้ วเลนต์อิเลก็ ตรอนร่วมกัน 3 คู่ เช่น N2 NN N N

เปรียบเทียบความยาวพันธะ เปรยี บเทียบพลงั งานพันธะ

พนั ธะโคออร์ดเิ นตโคเวเลนต์ คือ พนั ธะโคเวเลนซท์ ่ีเกิดจากอะตอมใดอะตอม หนึง่ จ่ายอิเลก็ ตรอนคู่ไปใหธ้ าตุตวั ใดตวั หนึง่ เพ่อื ใหเ้ วเลนต์ อเิ ล็กตรอนครบ 8 โดยไมร่ ับอิเลก็ ตรอนจากธาตตุ วั น้ัน กลับมา เช่น NH4+ เกดิ พนั ธะโคออดเิ นตโคเวเลนต์

การเขียนสตู รและการเรียกชอ่ื สารโคเวเลนต์  การเขียนสูตรโมเลกุลของสารโคเวเลนต์ 1. เขียนสญั ลักษณ์ของธาตทุ เ่ี ป็นองค์ประกอบเรียงตามลาดบั ของธาตแุ ละค่าอิเลก็ โทรเนกาตวิ ิตี ตามหลกั สากล ดงั น้ี คอื B, Si, C, Sb, As, P, N, H, Te, Se, S, At, I, Br, Cl, O, F ตามลาดบั 2. ในสารประกอบโคเวเลนต์ ถา้ อะตอมของธาตมุ จี านวน อะตอมมากกว่าหนึ่งใหเ้ ขียนจานวนอะตอมดว้ ยตัวเลขแสดงไวม้ มุ ล่างทางขวา ในกรณที ี่ธาตใุ นสารประกอบนั้นมีเพียงอะตอมเดยี วไม่ ตอ้ งเขียนตัวเลขแสดงจานวนอะตอม

 การเรียกช่ือสารประกอบโคเวเลนตท์ ่เี ปน็ ธาตุคู่ 1. อา่ นจานวนอะตอมเป็นภาษากรีกพรอ้ มชือ่ ของ ธาตุแรก ( ในกรณธี าตแุ รกมีอะตอมเดยี วไม่ต้องอ่าน จานวน ) 2. อ่านจานวนอะตอมเป็นภาษากรีกและชอื่ ธาตทุ ่สี อง ลงทา้ ยเป็น ไ _ ด์ ( -ide )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook