Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน วิชา ประวัติศาสตร์ (ส23102) ม.3

เอกสารประกอบการเรียน วิชา ประวัติศาสตร์ (ส23102) ม.3

Published by mahakor.2018, 2021-05-27 09:03:27

Description: เอกสารประกอบการเรียน วิชา ประวัติศาสตร์ (ส23102) ม.3
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน ๓ประวัติศาสตร์ ม. พระมหาธีรพิสิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม โรงเรียนวัดเขาเชิงเทียนเทพาราม สังกัด อบจ.ชลบุรี



คำนำ ประวัติศาสตร เปนวิชาที่ชวยใหนักเรียนเขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติอยางตอเนื่อง จากอดีตสูปจจุบัน และการเปลี่ยนแปลงหรือความสัมพันธของเหตุการณสำคัญตาง ๆ ที่ผานมา เพื่อสรางความตระหนักใหเกิดแก นักเรียนวาอดีตเปนบทเรียนสำคัญสำหรับปจจุบัน และอนาคตเชนไร แลวนำบทเรียนนั้นมาประยุกตใชใน ชีวติ ประจำวัน เอกสารประกอบการเรียน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ประวัติศาสตร (ส๒๓๑๐๒) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ รวบรวมขึ้นตรงตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให นักเรียนไดรับสาระความรูตามที่หลักสูตรกำหนด โดยมุงหวังใหใชเอกสารประกอบการเรียนนี้ เปนแหลงการเรียนรู สำหรบั อา นเพ่ิมเติมจากการเรยี นรูภายในช้ันเรยี น รวมไปถงึ เปนแหลงสืบคนขอมลู เบื้องตนทีน่ อกเหนือจากแบบเรียน ทที่ างสถานศึกษากำหนด หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการเรียนเลมนี้ จะชวยอำนวยความสะดวกแกนักเรียน ใหไดรับสาระ ความรู เห็นคุณคา และตระหนักถึงความสำคัญในการเรียนรูวิชาประวัติศาสตร แลวนำมาประยุกตใชไดอยางเปน ระบบ บรรลุจุดหมายของหลกั สูตรอยา งแทจ รงิ หากเอกสารประกอบการเรียนเลม น้ี มขี อผิดพลาดประการ ผูรวบรวม ขออภยั มา ณ ท่ีน้ี และขอใหแจงแกผรู วบรวม เพ่อื ปรบั ปรงุ เนอื้ หาสาระใหส มบรู ณถ กู ตองตอไป พระมหาธรี พิสษิ ฐ จนทฺ สาโร ผรู วบรวม กฏุ ลิ อื กิตตนิ นั ท วดั เขาเชงิ เทียนเทพาราม ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๔



สารบัญ มาตรฐานการเรียนรูและตวั ช้วี ดั ก คำอธิบายรายวชิ า ข โครงสรางรายวชิ า ค หนว ยการเรียนรูที่ ๑ วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรในการศึกษาเร่ืองราวทางประวตั ศิ าสตร ๑ ๑. ประวัติศาสตร ๑ ๒. ความสำคญั ของประวตั ิศาสตร ๑ ๓. ความหมายของประวตั ิศาสตร ๒ ๔. ความสำคัญของลำดบั เวลาในการศึกษาประวตั ศิ าสตร ๒ ๕. การศึกษาประวตั ศิ าสตรในประเทศไทย ๓ ๖. วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร ๓ ๗. คุณคาของวิธีการทางประวตั ศิ าสตร ๖ ๘. หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร ๖ ๙. ตวั อยา งการวิเคราะหเหตุการณส ำคัญสมยั รตั นโกสนิ ทร ๙ ๑๐. ตัวอยา งการใชว ธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร ๙ หนว ยการเรียนรูท่ี ๒ พัฒนาการทางประวัตศิ าสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร ๑๑ ๑. การสถาปนากรงุ รตั นโกสินทรเ ปนราชธานี ๑๑ ๒. การประดิษฐานราชวงศจกั รี ๑๓ ๓. พระราชกรณียกจิ พระมหากษตั รยิ ราชวงศจกั รี ๑๔ ๔. ปจ จยั ท่มี ีผลตอ ความมนั่ คงและความเจริญรงุ เรอื งของไทยสมัยรัตนโกสินทร ๑๙ ๕. พัฒนาการดานการเมืองการปกครองสมัยรตั นโกสนิ ทรตงั้ แตต อนตน จนถึงกอนเปลีย่ นแปลง ๒๐ การปกครอง ๖. พัฒนาการดา นเศรษฐกจิ สมยั รตั นโกสนิ ทรต ัง้ แตต อนตนจนถงึ กอนเปล่ียนแปลงการปกครอง ๓๓ ๗. พฒั นาการดา นสงั คมและวัฒนธรรมสมัยรตั นโกสินทรตั้งแตตอนตนจนถงึ กอนเปลย่ี นแปลง ๔๗ การปกครอง ๘. พฒั นาการดานความสมั พันธร ะหวางประเทศสมยั รตั นโกสินทรตัง้ แตตอนตน จนถึงกอน ๕๘ เปลย่ี นแปลงการปกครอง ๗๔ หนวยการเรยี นรูที่ ๓ บทบาทของชาตไิ ทยในสมยั ประชาธิปไตย ๗๔ ๑. สาเหตกุ ารเปล่ียนแปลงการปกครองในป พ.ศ. ๒๔๗๕ ๗๖ ๒. เหตกุ ารณก ารปฏวิ ตั ิ

๓. การพระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวร และวกิ ฤตกิ ารณทางการเมืองหลังการเปลย่ี นแปลงการ ๗๘ ปกครอง ๔. เหตุการณสำคญั หลังการปฏวิ ตั ิของคณะราษฎร ๗๙ ๕. ความขดั แยงทางการเมืองท่ยี าวนาน ๘๖ ๖. สภาพเศรษฐกิจในสมัยรตั นโกสินทรยคุ ประชาธปิ ไตยจนถึงปจจบุ ัน ๘๘ ๗. สงั คมและวฒั นธรรมสมัยรัตนโกสินทรย ุคประชาธิปไตยจนถงึ ปจ จบุ นั ๙๒ ๘. ความสัมพนั ธร ะหวา งประเทศสมยั รตั นโกสินทรย ุคประชาธปิ ไตยจนถึงปจ จุบัน ๙๔ แหลงอา งอิง ๙๙ ตวั อยา งแบบทดสอบปรนยั ๑๐๐ ตวั อยางแบบทดสอบอัตนยั ๑๐๔

มาตรฐานการเรียนรูและตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจ เหน็ คณุ คาเขาใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร สามารถ ใชว ิธีการทางประวตั ิศาสตรม าวิเคราะหเหตกุ ารณต า งๆ อยา งเปนระบบ ตวั ชวี้ ดั ๑. วเิ คราะหเร่อื งราวเหตกุ ารณส ำคัญทางประวตั ิศาสตรไ ดอยางมีเหตผุ ลตามวิธกี ารทาง ประวัติศาสตร ๒. ใชวธิ ีการทางประวัตศิ าสตรใ นการศึกษาเร่ืองราวตาง ๆ ที่ตนสนใจ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา ใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถงึ ปจ จบุ ัน ในดานความสมั พันธแ ละการเปล่ียนแปลง ของเหตุการณอยางตอ เน่ือง ตระหนกั ถึงความสำคัญและสามารถวเิ คราะหผ ลกระทบที่เกิดขึ้น ตัวชว้ี ัด ๑. อธบิ ายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และการเมอื งของภมู ิภาคตา ง ๆ ในโลก โดยสังเขป ๒. วิเคราะหผลของการเปลย่ี นแปลงทีน่ ำไปสูความรว มมือ และความขดั แยง ใน ครสิ ตศ ตวรรษท่ี ๒๐ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปญหาความขัดแยง มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา ใจความเปนมาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมิปญ ญาไทย มคี วามรัก ความภูมใิ จและธำรง ความเปนไทย ตัวชีว้ ัด ๑. วิเคราะหพ ฒั นาการของไทยสมยั รตั นโกสนิ ทรในดา นตางๆ ๒. วเิ คราะหปจจยั ท่สี ง ผลตอความม่ันคงและความเจรญิ รุงเรืองของไทย ในสมัย รตั นโกสนิ ทร ๓. วิเคราะหภ ูมิปญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร และอทิ ธิพลตอการพฒั นา ชาตไิ ทย ๔. วิเคราะหบ ทบาทของไทยในสมยั ประชาธปิ ไตย ก

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส๒๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร กลุมสาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนว ยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง ศึกษาวิเคราะหขัน้ ตอนวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร วิเคราะหเหตุการณสำคัญ ในสมัยรัตนโกสินทรและเรื่องราว เกี่ยวกับตนเองครอบครัว ทองถิ่นของตนโดยนำวิธีการทางประวัติศาสตร มาใชวิเคราะหเรื่องราวการสถาปนา กรงุ เทพมหานครเปน ราชธานีปจจยั ท่ีมผี ลตอความมั่นคง และความเจรญิ รงุ เรอื งภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยกรุง รตั นโกสนิ ทร พัฒนาการดานการเมืองการปกครองสังคมดานเศรษฐกิจ และความสัมพันธร ะหวา งประเทศ เหตุการณ สำคัญตอการพัฒนาชาติไทย วิเคราะหสาเหตุปจจัยและผลของเหตุการณตาง ๆ และมีความรูความเขาใจมีความ ซือ่ สตั ยส จุ รติ มจี ิตสำนกึ รักษส ง่ิ แวดลอ มตามหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชกระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตรกระบวนการกลุมกระบวนการคิดกระบวนการแกปญหาและ ปฏิบตั ิตนมีความซ่อื สตั ยส ุจรติ มจี ิตสำนกึ รักษส ่ิงแวดลอมตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อใหเกิดความรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทำงาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอยูรวมกันไดอยางสันติสุขและปฏิบัติตนใหดำเนินชีวิตมีความ ซอ่ื สัตยสจุ ริต มจี ิตสำนึกรักษส่งิ แวดลอ มไดอ ยา งสมดุลอยา งย่ังยืนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ รหสั ตัวช้วี ัด : ส ๔.๑ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ ส ๔.๓ ม.๓/๑ , ม.๓/๒ , ม.๓/๔ รวม ๕ ตัวชีว้ ดั ข

โครงสรา งรายวิชาพื้นฐาน ส๒๓๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ จำนวน ๐.๕ หนวยกิต เวลา ๒๐ ชั่วโมง หนว ย ชือ่ หนวยการเรียนรู ตัวชีว้ ดั เวลา น้ำหนกั คะแนน ที่ (ชัว่ โมง) ส ๔.๑ ม.๓/๑ ๑ วิธีการทางประวตั ิศาสตรในการศึกษา ส ๔.๑ ม.๓/๒ ๓ ๒๐ ส ๔.๓ ม.๓/๑ เร่อื งราวทางประวตั ิศาสตร ส ๔.๓ ม.๓/๒ ๒ พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรไทยสมัย ๙ ๕๐ รตั นโกสนิ ทร ๓ บทบาทของชาติไทยในสมยั ประชาธิปไตย ส ๔.๓ ม.๓/๔ ๘ ๓๐ รวมทั้งสิน้ ๒๐ ๑๐๐ ค



เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ วิธีการทางประวัตศิ าสตรใ นการศกึ ษาเร่อื งราวทางประวัตศิ าสตร สาระสำคัญ วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร เปน กระบวนการศึกษาประวัติศาสตรเ พือ่ ใหไดค วามรแู ละคำตอบที่เชอ่ื วา สะทอนขอ เท็จจริงเก่ยี วกับอดีตไดถูกตองมากทสี่ ดุ ซงึ่ ไมมีใครสามารถตอบไดวาขอเทจ็ จรงิ ทถี่ ูกตองคืออะไร ดงั น้นั จงึ ตอ งมีกระบวนการศึกษา และการใชเหตผุ ลในการตรวจสอบความถกู ตองของหลกั ฐานและนำไปใชอ ยา งถกู ตอง ทำใหก ารศกึ ษาประวตั ศิ าสตรเ ปนศาสตรท สี่ ะทอนขอ เท็จจริงท่แี ตกตางจากนิทาน นิยาย หรอื เรอ่ื งบอกเลา ท่เี ลอ่ื น ลอย ๑. ประวัติศาสตร (History) วิชาประวัติศาสตร มาจากการที่มนุษยมคี วามตองการอยากรูพฤตกิ รรมในอดีตของมนษุ ย โดยการศึกษาจาก หลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของและหลงเหลืออยูในปจจุบัน ประวัติศาสตรจึงเปนศาสตรที่เชื่อมโยงอดีตกับปจจุบันของ มนุษย เนื่องจากมนษุ ยมีความแตกตา งจากสตั วอ่นื คือมีการเรียนรแู ละสามญั สำนึกท่ีกอใหเกดิ พฤติกรรมและถายทอด ตอ ๆ กัน จากรนุ สรู นุ มนษุ ยจ งึ ผกู ผันกบั ประวตั ิศาสตรอ ยา งใกลช ิด คนทั่วไปมักจะเขาใจวาประวัติศาสตรคือ “อดีต” แตในความเปนจริงนั้น “อดีต” ก็คือ “เรื่องราวตาง ๆ ที่ ผานมา” จะเปนประวัตศิ าสตรไดก็ตอ เมื่อนักประวตั ิศาสตร สนใจและเห็นความสำคัญ มีประโยชนตอมนุษย หรืออาจ กลาวไดว า ประวตั ศิ าสตร คอื การสบื สวนสอบสวนคนควา เรื่องราวของมนษุ ยในอดีต และเร่ืองราวนน้ั มผี ลกระทบตอ สงั คมโดยสว นรวม ดังนั้น ประวัติศาสตร คือ การศึกษาเหตุการณหรือปรากฏการณสำคัญของมนุษยในอดีต วาเกิดขึ้นและ ดำเนินไปอยางไร โดยที่ความรูดานประวัติศาสตรจะไมหยุดนิ่งอยูกับที่ ไมตายตัว เพราะเมื่อพบหลักฐานใหมท่ี นาเชื่อถือ ก็สามารถเปลี่ยนแปลงทฤษฎี หรือขอมูลที่เกี่ยวของไดเสมอ ทำใหการเรียนรูเรื่องราวของประวัติศาสตร สมั พันธกับวชิ าการสาขาอื่น เชน สาขาวิชาสงั คมศาสตร, มนุษยศาสตร, ภมู ิศาสตร, และวธิ กี ารทางวิทยาศาสตรในการ ระบรุ ะยะเวลาของสง่ิ ทคี่ นพบ เปนตน ๒. ความสำคญั ของประวตั ศิ าสตร สิ่งสำคัญที่ไดจากประวัติศาสตร คือ การฝกฝนทักษะเพื่อใหมีพัฒนาการทางความคิดอยางเปนระบบ วิธีคิด อยางเปนระบบ วิธีคิดท่ีมีเหตุผลบนพื้นฐานของขอมูลหลักฐานทีป่ รากฏ อยางตอเนื่องเปนระบบ มีความคิดรอบคอบ คิดอยา งเท่ียงธรรมและเปนกลาง เคารพในขอ เท็จจรงิ และเหตผุ ลเพ่ือใหเขาใจส่งิ ตาง ๆ ไดอ ยางถูกตอง รวมท้ังมีความ เขา ใจในพฤตกิ รรมของมนษุ ยในทุกยคุ ทกุ สมยั ๑

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๓. ความหมายของประวตั ศิ าสตร เนื่องจากวิชาประวัติศาสตรเปนวิชาที่มีขอบขายเนื้อหากวาง ดังนั้น จึงมีนักประวัติศาสตรไดใหนิยาม ความหมายไวห ลากหลายทัศนะ เชน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแหงประวัติศาสตรไทย ไดใหความหมาย ของคำวาประวัติศาสตร เปนคำท่ีพ่งึ นำมาจาก “History” ในภาษาอังกฤษโดยในไทยมีคำท่ีใชมากอนหนา นัน้ คอื คำวา \"พงศาวดาร\" แนวคดิ น้ปี รากฏในลายพระหตั ถที่มถี ึงสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจา ฟากรมพระยานริศรานุวตั ิวงศ เม่ือ พ.ศ. ๒๔๗๗ ความวา “...ตามความเห็นหมอมฉันยังใหใชเรยี ก History วา พงศาวดารอยูต ามเดิม” ดร. วิจิตร สินสิริ ไดแสดงทัศนะไววา “ประวัติศาสตรคือบันทึกเหตุการณตาง ๆ ในอดีต เกี่ยวดวยเรื่อง เหตุการณทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ปรัชญาที่มนุษยไดคิดไดสรางไวถือเปนความเจริญรุงเรือง และ เปนรากฐานของความเจริญสมัยตอ ๆ มา ดังนั้นเราจึงมีประวัติศาสตรหลายแขนง เชน ประวัติศาสตรเศรษฐกิจ ประวตั ศิ าสตรอ วกาศ ประวตั ศิ าสตรการเมอื ง ฯลฯ” นิธิ เอียวศรีวงศ นักประวัติศาสตรไทย ไดใหความหมายวา “ประวัติศาสตร คือ การศึกษาเพื่ออธิบายอดีต ของสงั คมมนษุ ยในมติ ิของเวลา หรือประวัติศาสตร คือ การศกึ ษาเพ่อื เขา ใจอดตี ของสังคมมนุษยในมติ ิเวลา” เลโอโปลด ฟอน รันเคอ (Leopond von Ranke) นักประวัติศาสตรชาวเยอรมัน ซึ่งเปนผูริเริ่มการศึกษา ประวัติศาสตรสมัยใหม โดยใชหลักฐานในการศึกษาอางอิง ผานการศึกษาดวยวิธีการทางประวัติศาสตร (History Methods) ไดอธิบายวา “ประวัติศาสตรไดรับการยกยองใหมีหนาที่พิพากษาอดีต ใหบทเรียนแกปจจุบัน เพื่อเปน ประโยชนแ กอนาคต” ๔. ความสำคญั ของลำดับเวลาในการศกึ ษาประวตั ิศาสตร สำหรับสิ่งที่เกี่ยวของโดยตรงกับประวัติศาสตรซึ่งเปนเรื่องราวของมนุษยจากอดีตถึงปจจุบันก็คือ “เวลา” (Time) อันเปนปจจัยสำคัญในประวัติศาสตรที่อยูเหนือการควบคุม เพราะเวลาทำใหเหตุการณหนึ่ง ๆ หรือชุดของ เหตุการณตาง ๆ ในอดีตกลับคือมาไมได อดีตจึงเปนตัวกำหนดปจจุบัน หมายความวา สภาพปจจุบันที่เปนอยูคือผล ของอดีตนั่นเอง เนื่องจาก “เวลารุดหนาไปโดยไมถอยหลังกลับ เปรียบเสมือนตัวเชื่อมระหวางอดีตกับปจจุบัน และ ปจจุบันกับอนาคตอีกดวย ในแงนี้ทำใหอดีตและปจจุบันกลายเปนเงือ่ นไขอยางหนึ่งของอนาคต” เพราะเหตุนี้มนุษย จงึ รสู ึกวามตี วั ตน นนั่ คือ มนษุ ยม ีอดตี ปจจบุ ัน และอนาคต ประวัติศาสตรไมใชเรื่องราวของมนุษยที่ขาดกาลเวลา บริบทและความตอเนื่องของ “เวลา” เปนสิ่งสำคัญ เชน เดียวกับเน้อื หาของเรื่องราวในประวัติศาสตร การทีจ่ ะเขา ใจประวตั ิศาสตรจงึ ไมอาจกระทำไดโ ดยตัดตอนชวงเวลา หนึ่งเวลาใดของประวัติศาสตรออกไปเปนเอกเทศ ตัวอยางเชน ถาเราตองการจะเขาใจเรื่องราวของคนไทย เราตอง ศึกษาประวัติศาสตรไ ทยในชว งเวลาทต่ี อเน่ืองกันยาวนาน นบั จากจดุ เร่ิมตนพัฒนามาจนถงึ ปจจุบนั หรอื ถาเราตอ งการ จะรูประวัติศาสตรไทยชวงใดสมัยหนึ่งโดยเฉพาะ เราก็ยังจะตองคำนึงถึงบริบทและความตอเนื่องของ “เวลา” อยูดี กลา วคอื ตอ งรูวาชว งเวลาใดสมัยหน่ึงน้นั อยใู นสวนไหนของเวลาท้ังหมดในประวัติศาสตร หรือหมายถึงอยูในสวนไหน ๒

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ของการแบง ชวงสมยั ของประวัตศิ าสตร (Periodization) การแบงชว งเวลาสมยั น้ีเปน เพยี งการสมมติ ไมใชสิ่งท่ีเกิดขึ้น จริง เปนการแบงเพื่อใหเ กิดภาพพจนข องสิง่ ตาง ๆ ในเงอื่ นไขของ “เวลา” ทถ่ี กู ตอง ดังนั้น ประวัติศาสตรจึงเปนเรื่องของการศึกษา “เกี่ยวกับมนุษยที่อยูในกาลเวลา” (of men in time) ไมใช เรื่องของยุคสมัย หรอื หัวขอเร่ืองประวตั ิศาสตรทผี่ กู ตดิ มากบั ยคุ สมยั แตอ ยางใด ๕. การศกึ ษาประวัตศิ าสตรในประเทศไทย ประเทศไทยไดเริ่มมีการศึกษาดานประวัติศาสตรอยางจริงจัง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว พระองคท รงกำหนดใหม ีการเรยี นการสอนวิชาประวัติศาสตร ซึง่ มีสมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรง ราชานุภาพ เปนผูบุกเบิกการศึกษาประวัติศาสตร จนไดรับการถวายพระราชสมัญญานามวา \"พระบิดาแหง ประวัตศิ าสตรแ ละโบราณคดไี ทย\" ตอ มามผี ลงานทางวชิ าการดานประวัติศาสตรเกิดข้ึนในไทยมากมาย เพ่อื กระตนุ ใหคนไทยรักชาติ ซ่ึงมีขอมูล ที่สามารถใชศึกษาหลายประเภทไมวาจะเปนสิ่งของ สถานที่ เอกสาร จารึกตาง ๆ ใหตองมีการวิเคราะห สังเคราะห ตีความ หลักฐานตา ง ๆ เพือ่ ใหไ ดข อมลู ทชี่ ัดเจนและเปน รูปธรรม ๖. วิธีการทางประวัติศาสตร (Historical Method) วิธีการทางประวัติศาสตร หมายถึง กระบวนการศกึ ษาเร่ืองราวของสงั คมมนุษยในอดตี จากรองรอยหลักฐาน โดยใชเหตผุ ลในการตรวจสอบความถูกตองของขอ มลู หลกั ฐานอยางเปนระบบ ตามข้ันตอนดงั นี้ ๑) การกำหนดประเด็นศึกษา ประเดน็ ท่ีตองการจะศึกษาเกิดจากการตั้งคำถามเพ่ือนำไปสืบคนหาคำตอบที่ ตองการศึกษา เชน หากผูศึกษาตองการสืบคนประวัติความเปนมาของชุมชน ผูศึกษาจะตองเริ่มตั้งคำถามเกี่ยวกับ ความเปนมาของชุมชน ซึ่งการตั้งคำถามจะเปนประเดน็ ศึกษาที่จะนำไปสูการสืบคนขอมูล นอกจากนี้คำถามดังกลา ว จะตองเปนคำถามที่ตอบไดและนำไปสูการคนควาแสวงหาความรูที่ลึกซึ้งและกวางขวางออกไป การตอบคำถาม ดังกลาวจะชวยใหผูที่ศกึ ษาประวัติศาสตรสามารถตั้งสมมติฐานหรือวางกรอบประเด็นที่ตองการจะศึกษาไดเหมาะสม โดยไมกวา งหรือแคบจนเกินไป และยงั เปนแนวทางสำหรบั การรวบรวมหลักฐานอกี ดวย สำหรบั การตง้ั คำถาม ควรตง้ั ตามหลกั 5W 1H ดังนี้ - ใคร (Who) : เปนเรอ่ื งราวของใคร และมใี ครเกย่ี วของบาง - อะไร (What) : สิ่งทีเ่ กิดขน้ึ นนั้ คอื อะไร เปน พฤติกรรมหรือกิจกรรมดานใดของมนษุ ย - ท่ไี หน (Where) : เหตุการณหรอื เร่อื งราวเกิดขึ้นที่ไหน - เมอ่ื ไหร (When) : เหตุการณหรือเรื่องราวเกิดขึน้ เมอ่ื ไหร หรือในสมัยไหน - ทำไม (Why) : ทำไมจึงเกิดเรื่องราวเหลานั้นขึ้น (คำถามวา “ทำไม” สามารถถามไดหลายแงมุม เปนคำถามที่สำคญั ท่สี ุด ซ่ึงจะทำใหก ารศึกษาประวัตศิ าสตรม ีความหมาย) - อยางไร (How) : เหตุการณหรือเรื่องราวเหลานั้นมีผลอยางไรตอปจ จุบัน (แสดงใหเห็นผลสืบเนือ่ ง ผานลำดบั เวลาอีกดว ย) ๓

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม การตั้งคำถามดังกลาว เพื่อใหผูศึกษาสามารถหาขอสรุปโดยรวมเพื่อตอบประเด็นวา “ทำไมและอยางไร” เปนคำถามที่สำคัญที่สุดของการศึกษาประวัติศาสตร เพราะเปนคำถามที่ทำใหเกิดการวิพากษวิจารณและแสวงหา หลักฐานมาประกอบในการสนับสนุนแนวคดิ ของตน ๒) การรวบรวมหลักฐาน เปนการสืบคนขอ มูลเพื่อใหเขา ถงึ หลักฐานและขอเท็จจริงในอดีต ขอมูลเหลา น้ีใช เปนหลักฐานยืนยันถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตได เชน หากผูศึกษาตองการจะศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสังคมสมัยสุโขทัย ผู ศึกษาก็จะตองคนควาและรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของกับสมัยสุโขทัย เชน ศิลาจารึกสมัยสุโขทัยตาง ๆ รวมถึง วรรณกรรมรวมสมัย เชน ไตรภูมิพระรวง เปนตน ซึ่งหลักฐานเหลานี้จะชวยใหผูศึกษาเขาใจภาพรวมของเหตุการณ หรอื บรบิ ทในชวงท่ีตอ งการศกึ ษาได ท้ังนผ้ี ูศ กึ ษาจะตองพยายามคน หาและรวบรวมหลักฐานทางประวตั ศิ าสตรท่ีเกีย่ วของกับเรื่องท่ีตนตองการจะ ศึกษาใหมากที่สุดเทาที่จะหาได เพื่อนำไปสูขั้นตอนตอไป อยางไรก็ตาม ผูศึกษาควรใชหลักฐานอยางรอบดานและ ระมัดระวัง เพราะหลกั ฐานทุกประเภทลว นมีจุดเดน และจดุ ดอยตางกนั ๓) การประเมินคุณคา ของหลักฐาน ภายหลังจากทีผ่ ูศึกษาไดรวบรวมหลักฐานทั้งหมดที่เก่ียวของมาแลว ผู ศกึ ษาจะตองตรวจสอบและประเมนิ คุณคา ของหลักฐานชิ้นตาง ๆ ท่เี กี่ยวขอ ง โดยแบงไดเ ปน สองสวน ไดแก ๓.๑ การประเมินคุณคาภายนอก หรือวิพากษวิธีภายนอก หรือการวิพากษหลักฐาน (external criticism) หมายถึง การประเมินคุณคาของหลักฐานจากลักษณะภายนอกของหลักฐานทางประวัติศาสตร ซึ่งบางครั้งอาจมีการปลอมแปลง เพื่อการโฆษณาชวนเชื่อ ทำใหหลงผิด หรือเพื่อเหตุผลทางการเมืองหรือ การคา เปน ตน ดงั น้นั จึงตอ งมกี ารประเมนิ วาเอกสารน้ันเปนของจรงิ หรือไม ในสวนวพิ ากษวธิ ีภายนอกเพื่อประเมินหลักฐานวา เปนของแท พิจารณาไดจากสิ่งที่ปรากฏภายนอก เชน เนื้อกระดาษ สำหรับกระดาษของไทยแตเดิมจะหยาบและหนา สวนกระดาษฝรั่งแบบทีใ่ ชอ ยูในปจ จุบนั เริ่มเขามาสูสยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ แตเริ่มใชแพรหลายมากขึ้น ในทางราชการชวงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ในขณะที่พิมพดีดปรากฏวาเริ่มมีใชใน รัชสมัยเดียวกัน ดังนั้น หากมีหลักฐานทางประวัติศาสตรไทยปรากฏวาเริ่มมีการใชเครื่องพิมพดีดในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว หรือกอนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ใหถือวา หลักฐานนั้นเปนของปลอม เปนตน ในการประเมินผลภายนอกนี้ สรุปแลวอาจพิจารณาไดจาก ๓ ประเด็นน้ี คอื ๑) สภาพสิง่ แวดลอมที่มีอทิ ธพิ ลทำใหเกดิ หลักฐานชิน้ นั้น ๒) ความรูทั่วไป เชน สภาพเหตุการณที่เกิดขึ้นของขอมูลถูกตองตรงกับความรูของเรา หรอื ไม ๓) มกี ารดัดแปลง ปลอมแปลง ประดษิ ฐเพิม่ เตมิ ใหบดิ เบอื นไปจากความเปนจริงหรือไม ๓.๒ การประเมินคุณคาภายใน หรือวิพากษวิธีภายใน หรือการวิพากษขอมูล (internal criticism) เปน การประเมินคุณคาของหลักฐานจากขอมูลภายในหลักฐานน้ัน เปน ตนวา มชี ือ่ บุคคล สถานท่ี เหตุการณ ในชวงเวลาทีห่ ลักฐานดังกลาวถูกทำข้ึนหรือไม ดงั เชน หลกั ฐานซึง่ เช่ือวาเปนหลักฐานสมัยกรุงศรี อยธุ ยา แตก ลับมีการพูดถึงสหรฐั อเมริกาภายในหลกั ฐาน ดงั น้นั จึงควรตั้งขอสงสยั วา หลกั ฐานชิน้ ดังกลาวเปน หลักฐานสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาจริงหรือไม เพราะในชว งเวลาดังกลาว ยงั ไมม ีประเทศสหรฐั อเมริกา แตนาจะเปน ๔

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม หลักฐานทีม่ ีการทำขึน้ มาภายหลงั หรืออาจะเปนหลกั ฐานของเกาจริง แตมีการเติมชือ่ ประเทศสหรฐั อเมริกา เขาไปภายหลัง เปน ตน ซงึ่ อาจพิจารณาถงึ สิ่งทเ่ี กยี่ วของกบั ขอมูลนั้น ดงั น้ีdHwfh ๑) พจิ ารณาผเู ขียนวาเปนบคุ คลทีเ่ ชอ่ื ถอื ไดห รอื ไม มคี วามเชี่ยวชาญในเรือ่ งนั้น ๆ หรือรเู หน็ ในเรอ่ื งน้ัน ๆ จรงิ หรือไมเพยี งใด ๒) พิจารณาวาผูเขียนเขยี นในขณะท่ีมีสภาพจิตใจที่เปน ปกติหรอื ไม เชน ไมไดอยูในสภาวะ ที่ถกู บบี บงั คบั ใหเ ขียน หรือมีความกดดนั ทางอารมณ ๓) พิจารณาวา ผเู ขยี นบนั ทึกหลงั จากเกิดเหตุการณแลว นานเทาใด พอจะเช่ือถือไดหรือไมวา ยงั จำเหตกุ ารณนนั้ ได ๔) พิจารณาวาเอกสารนั้นมีบรรณานุกรมที่แสดงใหเห็นวาผูเขียนไดคนความามากนอย เพยี งใด ๕) พิจารณาวาขอความที่เขียนนั้นมีอคติเกี่ยวกับศาสนา เชื้อชาติ ลัทธิการเมือง ผลประโยชนส วนตวั หรือสภาวะทางเศรษฐกิจหรือไม ๖) พิจารณาวาภาษาหรือสำนวนที่ใชหรือเรื่องราวที่รายงานนั้นอางอิงมาจากบุคคลอื่น ๆ หรอื เปนคำพดู ของผูเขยี นเอง ๗) พิจารณาวาการเขียนนั้นมีแรงจงู ใจในการบิดเบือนความจรงิ หรือไม เชน การไดรับแหลง เงนิ สนับสนุน เปน ตน ๘) พิจารณาวาเอกสารนั้นพอเพียงทั้งทางดานคุณภาพและปริมาณที่จะนำมาใชในการวิจัย หรอื ไม ๙) พิจารณาการจัดเรียงหัวขอวา วกไปวนมาหรือไม และในแตละหัวขอผูเขียนกลา วถึงเรือ่ ง น้นั ๆ ละเอียดมากนอ ยเพยี งใด ๑๐) พิจารณาวาผูอ่ืนเห็นดว ยกบั ผูเ ขยี นนนั้ หรือไม สิ่งตาง ๆ เหลานี้ผูว จิ ัยจะตองตรวจสอบอยา งรอบคอบ เพื่อใหเกิดความมั่นใจวา เอกสารหรือขอมูล เหลานั้นมีความถูกตองเที่ยงตรงและเชื่อถือไดเพียงใด แตเมื่อไดพิสูจนวา เอกสารนั้น ๆ มีความถูกตอง เท่ียงตรงแลว ยอ มจะเหน็ หลกั ฐานที่เชอ่ื ถือได ๔) การตีความ เชื่อมโยง และจัดหมวดหมูหลักฐาน คือ การทำความเขาใจวาหลักฐานชิ้นดังกลาวมี ความหมายอยางไร หรอื บอกขอเท็จจรงิ อะไรแกผูศ ึกษา นักประวตั ศิ าสตรสว นใหญจะเชยี่ วชาญการตีความหลักฐานที่ เปนลายลักษณอักษร สวนหลักฐานที่ไมเปนลายลักษณอักษร ตองอาศัยนักโบราณคดี นักประวัติศาสตรศิลปะ ตลอดจนผเู ชี่ยวชาญจากสาขาอ่นื ๆ รว มดวย เมื่อทราบวาหลักฐานดังกลาวเปนของแท ใหขอมูลซึ่งเปนขอเท็จจริงในทางประวัติศาสตร ผูศึกษาจะตอง ศึกษาขอมูลหรือสารสนเทศในหลักฐานชิ้นดังกลาววาใหขอมูลทางประวัติศาสตรอะไรบาง ขอมูลดังกลาวมีความ สมบูรณเพียงใด หรือมีจุดมุงหมายเบือ้ งตนอยางไร มีจุดมุงหมายแอบแฝงหรือไม และมีความยุติธรรมหรือไม จากน้ัน จึงนำขอมูลทั้งหลายมาจัดระบบหมวดหมู เชน ความเปนมาของเหตุการณ สาเหตุที่ทำใหเกิดเหตกุ ารณ ความเปนไป ของเหตุการณ เปน ตน ๕

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ในการวิเคราะห สังเคราะหขอมูล ผูศึกษาประวัติศาสตรควรมีความละเอียดรอบคอบ วางตัวเปนกลาง มี จินตนาการ มีความรอบรู โดยศึกษาขอมูลอยางรอบดานและกวางขวาง และนำผลการศึกษาเรื่องดังกลาวที่มีแตเดิม มาวเิ คราะหเ ปรียบเทยี บ รวมท้งั จดั หมวดหมูขอ มูลใหเปน ระบบ ๕) การเรียบเรียงนำเสนอขอเท็จจริง การเรียบเรียงหรือการนำเสนอจัดเปนขั้นตอนสุดทายของวิธีการทาง ประวัติศาสตร ซึ่งมีความสำคัญมาก โดยผูศึกษาประวัติศาสตรจะตองนำขอมูลทั้งหมดมารวบรวมและเรียบเรียงหรอื นำเสนอใหตรงกับประเดน็ หรือหัวเรื่องท่ีตนเองสงสยั ตองการอยากทราบเพิ่มเติม ทั้งจากความรูเดิมและความรูใ หม รวมไปถงึ ความคิดใหมท่ีไดจากการศึกษาครั้งนี้ ซึง่ เทากบั เปน การรื้อฟนหรือจำลองเหตุการณท างประวัติศาสตรขึ้นมา ใหมอ ยา งถกู ตองและเปน กลาง ในข้นั ตอนนำเสนอ ผูศึกษาควรอธิบายเหตกุ ารณอ ยา งมรี ะบบและมีความสอดคลอ งตอ เน่ืองเปนเหตเุ ปนผล มี การโตแยงหรือสนับสนุนผลการศึกษาวิเคราะหแตเดิม โดยมีขอมูลหรือหลักฐานสนับสนุนอยางมีน้ำหนัก เปนกลาง และสรุปการศึกษาวา มารถใหคำตอบที่ผศู ึกษามีความสงสัยไดเพียงใด หรอื มขี อ เสนอแนะสำหรับผูที่ตองการจะศึกษา ตอไปอยา งไรบา ง ดังนั้น จะเห็นไดวาวิธีการทางประวัติศาสตรเปนวิธีการศึกษาประวัติศาสตรอยางมีระบบ มีความระมัดระวัง รอบคอบ มีเหตุผล และมีความเปนกลาง ซื่อสัตยตอขอมูลตามหลักฐานที่สืบคนมา อาจกลาวไดวา วิธีการทาง ประวัติศาสตรเหมือนกับวิธีการทางวิทยาศาสตร จะแตกตางกันก็แตเพียงวิธีการทางวิทยาศาสตรสามารถทดลองได หลายครั้ง จนเกิดความพอใจในผลการทดลอง แตเหตุการณทางประวัติศาสตรไมสามารถทำใหเกิดขึ้นใหมไดอีก ผู ศึกษาประวัติศาสตรที่ดีจึงเปนผูฟนอดีต หรือจำลองอดีตใหมีความถูกตองและสมบูรณที่สุด โดยใชวิธีการทาง ประวัติศาสตรเ พื่อท่จี ะไดเ กิดความเขาใจในอดีต อันจะนำมาสคู วามเขา ใจในปจจุบนั ๗. คณุ คา ของวธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร ๗.๑ วิธีการทางประวัติศาสตรเปนวิธีการวิจัยเอกสารและหลักฐานอื่น ๆ ที่เปนรองรอยจากอดีตอยาง กวางขวาง เพ่ือใหไ ดมาซ่ึงความรบู นพืน้ ท่ีของการวเิ คราะหขอมลู ทีร่ วบรวมมาอยางเปน ระบบ และมีเหตุผล ๗.๒ ขั้นตอนการพิพากษวิธีทางประวัติศาสตรหรือการตรวจสอบความจริงจากขอมูลและหลักฐาน ซึ่งเปน ขั้นตอนของการคนหาความหมายที่ซุกซอนอยูในหลักฐานจะทำใหผูศกึ ษาประวตั ิศาสตรระมัดระวงั และคิดพิจารณา ขอ เทจ็ และขอจรงิ ท่ีแฝงอยู ๗.๓ วิธีการทางประวัติศาสตรเนนการเขาใจอดีต คือ การใหผูศึกษาเหตุการณในประวตั ิศาสตรต องทำความ เขา ใจยุคสมัยทตี่ นศกึ ษา เพือ่ ใหเขาถงึ ความคิดของผูคนในยุคน้ัน โดยไมนำความคิดของปจจบุ นั ไปตัดสินอดตี ๘. หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร (History Evidences) ๘.๑ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรทแี่ บงตามลำดบั เวลาและความสำคญั มี ๒ ประเภท คือ ๑. หลักฐานชั้นตนหรือหลักฐานปฐมภูมิ (Primary Sources) คือ หลักฐานที่เกิดรวมสมัยกับเหตุการณ หรือเปนหลักฐานที่มาจากเหตุการณที่เกิดขึ้นในชวงเวลาดังกลาว ตัวอยางเชน เอกสารสนธิสัญญาของรัฐบาล, สมุด ๖

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม บันทึกชีวประวัติสวนตัวของบุคคลสำคัญหรือบุคคลทางประวัติศาสตร, บันทึกหรือคำบอกเลาของบุคคลรวมสมัย, นอกจากน้ียังรวมถงึ หลักฐานวตั ถุทางโบราณคดีตา ง ๆ อกี ดวย ๒. หลกั ฐานช้นั รองหรือหลักฐานทุติยภูมิ (Secondary Sources) คือ หลักฐานที่ทำขน้ึ ภายหลังเหตุการณ หรือเปนหลักฐานที่เขยี นขึ้นโดยบุคคลที่ไมไ ดมีสวนเก่ียวของกับเหตุการณนัน้ โดยตรง โดยมีการเรยี บเรียงขึ้นภายหลงั จากเกิดเหตุการณนั้น ๆ ตัวอยางเชน การบันทึกเรื่องตำนาน การบันทึกเรื่องราวยอนหลังตาง ๆ การเขียน ประวัตศิ าสตรในภายหลัง เปน ตน ทั้งนี้ไมมีหลักการไหนที่ยนื ยันไดวาหลักฐานประเภทใดมีความนาเช่ือถือมากกวากัน เพราะ หลักฐานทกุ ชนดิ ลวนมี \"อคติ\" (Bias) ของผูสรางหลักฐานปรากฏอยูทั้งสิ้น ดังนั้น ผูศึกษาจึงควรศึกษาและคนหาขอเท็จจริงจาก หลักฐานเหลานั้น ผานการใชวิธีการทางประวัติศาสตร โดยปราศจากความลำเอียง มีความระมัดระวัง รอบคอบ มี เหตุผล และมคี วามเปนกลาง ซอ่ื สตั ยต อขอ มลู ตามหลกั ฐานทีส่ ืบคน มา จึงจะเหมาะสมที่สุด ๘.๒ หลกั ฐานทางประวัติศาสตรท แี่ บงตามลายลักษณอ กั ษร มี ๒ ประเภท คอื ๑. หลกั ฐานทเี่ ปน ลายลักษณอักษร หมายถึง หลกั ฐานทเ่ี ปน ตวั หนงั สือ เชน จารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย ๑.๑ จารึก ในแงของภาษาแลวมีคำอยู ๒ คำ ที่คลายคลึงและเกี่ยวกับของกัน คือ คำวา จาร และ จารกึ - คำวา จาร แปลวา เขยี นอกั ษรดว ยเหล็กแหลมลงบนใบลาน - คำวา จารกึ แปลวา เขยี นเปนรอยลึกลงบนแผนศิลาหรอื โลหะ จารึก เปนหลักฐานที่นักประวัติศาสตรใหความสำคัญมาก เพราะเปนหลักฐานที่คงทนไมถูกทำลาย งาย และขอความไมถูกบิดเบือนโดยคนรุนหลัง ซึ่งใชวิธีเขียนเปนรอยลึก ถาเขียนเปนรอยลึกลงบนแผนหิน เรียกวา ศิลาจารกึ เชน ศิลาจารึกสโุ ขทยั หลักท่ี ๑ จารึกพอขนุ รามคำแหง ถา เขยี นลงบนวสั ดุอืน่ ๆ เชน แผน อิฐ เรียกวา จารึกบนแผนอิฐ แผนดีบุก เรียกวา จารึกบนแผนดีบุก และการจารึกบนใบลาน นอกจากนี้ยังมี การจารกึ ไวบ นปูชนียสถานและปชู นียวตั ถุตา ง ๆ เชน จารึกบนฐานพระพุทธรปู เรื่องราวที่จารึกไวบนวัสดุตาง ๆ ที่พบในดินแดนประเทศไทย สวนมากจะเปนเรื่องราวของ พระมหากษัตริยและศาสนา โดยจารดวยภาษาตาง ๆ เชน สันสกฤต, บาลี, ไทย, มอญ, เขมรโบราณ, ทมิฬ โดยอกั ษรปล ลวะเปนอักษรบนจารกึ ทเ่ี กาแกท ี่สุดในไทย จารกึ อกั ษรปลลวะ ๑.๒ ปูม บันทึก และจดหมายเหตุรวมสมัย หลักฐานประเภทนี้ ตองใชความระมัดระวัง ความ รอบคอบ เพราะผูเขียนมักสอดแทรกความคิดของตนดวย โดยเฉพาะบันทึกชาวตางชาติที่มีมุมวัฒนธรรม ตางกัน เชน จดหมายเหตุจนี ทีบ่ นั ทึกถึงการเดนิ ทางของคณะราชทตู ของอาณาจกั รตาง ๆ บันทกึ การเดินทาง ของชาวเปอรเซีย บันทึกการเดินทางของชาวฝรง่ั เศสท่ีเดินทางเขา ในสมยั อยธุ ยา จดหมายเหตุ ในสมัยโบราณใหความหมายไววา เปนการจดบันทึกขาวหรือเหตุการณตาง ๆ ท่ี เกิดขึ้นในเวลานั้น แตในปจจุบันไดใหความหมายใหมวา คือ เอกสารราชการทุกประเภท เมื่อถึงสิ้นปจะตอง นำเอกสารที่ไมใชแลวไปรวบรวมเก็บรักษาไวที่กองจดหมายเหตุแหงชาติ แตยังคงมีประโยชนในดานการ คนควาอางอิงและเอกสารเหลาน้ี เม่อื มีอายุต้งั แต ๒๕ - ๕๐ ปไ ปแลวจึงเรยี กวา จดหมายเหตุหรือบรรณสาร ๗

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม การบันทึกจดหมายเหตุของไทยในสมัยโบราณ สวนมากบันทึกโดยผูท่ีรูหนงั สือและรูฤกษยามดี โดย มีการบันทกึ วนั เดอื น ป และฤกษยามลงกอนจึงจะจดเหตุการณทเ่ี ห็นวา สำคัญลงไว โดยสวนมากจะจดในวัน เวลา ท่ีมเี หตุการณเกิดขน้ึ หรอื ในวัน เวลา ทใ่ี กลเคียงกันกับท่ีผูจดบันทึกไดพบเหน็ เหตุการณน้ัน ๆ ดวยเหตุ นี้ เอกสารประเภทนี้จึงมักมีความถูกตองในเรื่องวัน เดือน ป มากกวาหนังสืออื่น ๆ เชน จดหมายเหตุของ หลวง เปนจดหมายเหตุทท่ี างฝายบา นเมืองไดบันทึกไวเปน เหตกุ ารณทเี่ กย่ี วกับพระมหากษตั ริยและบานเมือง จดหมายเหตุโหร เปน เอกสารท่ีเกิดขึน้ เน่ืองจากโหรซงึ่ เปนผูทรี่ ูหนังสือและฤกษยามจดไวตลอดทั้งป และมีท่ี วางไวสำหรับใชจดหมายเหตุตางๆ ลงในปฏิทินนั้น เหตุการณที่โหรจดไว โดยมากเปนเหตุการณเกี่ยวกับ ดวงดาว ๑.๓ ตำนานและพงศาวดาร ตำนาน เปนหลักฐานที่บอกเลาสืบตอกันมานานแลว แตถูกบันทึกเปนลายลักษณอักษรในภายหลัง สวนใหญเ ปน นทิ าน, นยิ าย, ความเช่อื , มเี รื่องเหลอื เชอ่ื , อภินิหาร เชน ตำนานจามเทววี งศ เปนตน พงศาวดาร เปนบันทึกที่ราชสำนักจัดทำขึ้น เนนเรื่องพระมหากษัตริย โดยไมมีเรื่องราวของ ประชาชน ทำใหสามารถทราบถึงเรื่องของราชวงศมากกวาดานอื่น ๆ เชน พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐ อักษรนิติ์ (ตั้งตามชื่อผูที่คนพบพงศาวดารฉบับนี้) เขียนในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช โดยไดรับการ ยอมวาขอมูลมีความแมนยำ ทำใหทราบเหตุการณตั้งแตกอนตั้งกรุงศรีอยุธยาจนถึงเหตุการณที่พระนเรศวร ยกทัพไปตพี มา ๑.๔ วรรณกรรมรวมสมัย งานเขียนประเภทรอยแกวรอยกรอง นวนิยาย เรื่องสั้น ซึ่งสะทอนสภาพ สงั คม ความเปน อยูข องสงั คมในสมยั นั้น ทีผ่ เู ขียนไดพบเหน็ เชน ขุนชา งขุนแผน เปนตน ๑.๕ หนังสือพิมพ วารสาร และนิตยสาร จะบอกเลาถึงความเคลื่อนไหวเหตุการณตาง ๆ ใน บานเมืองอยางหลากหลายสิ่งพิมพเหลานี้เปนหลักฐานชั้นตนที่ใหขอมูลในทุก ๆ ดาน แตจะเชื่อถือไดมาก นอยเพียงใด ตองตรวจสอบกบั เอกสารอ่ืน ๆ ๑.๖ วิทยานิพนธหรืองานวิจัยทาประวัติศาสตร เปนงานที่ผานการวิเคราะหตีความตาม กระบวนการทางประวตั ิศาสตรม าแลวทำใหม ีประโยชนใ นการศกึ ษาประวัตศิ าสตรเปน อยางมาก ๑.๗ หลักฐานกฎหมายโบราณ เปนเอกสารที่เกี่ยวของกับประวัติศาสตร สภาพสังคม จารีต ประเพณี เชน กฎหมายตราสามดวง มงั รายศาสตรของลา นนา ๑.๘ หลักฐานดานภาษา สัทศาสตร และวรรณกรรม เปนหลกั ฐานท่บี งบอกถึง หลกั ฐานของภาษา และสำเนียงทองถน่ิ รวมทง้ั เร่ืองส้นั รอ ยแกว รอยกรองและประเภทบอกเลา สะทอ นสภาพความเปนอยูของ ผคู นในแตละยุคสมยั ดงั เชนวรรณกรรม “นิราศ” ของสุนทรภู ทน่ี ำมาใชศึกษาประวัติศาสตรท อ งถ่นิ ได ๒. หลักฐานที่ไมเปนลายลักษณอักษร หมายถึง หลักฐานตาง ๆ ที่มนุษยสรางขึ้น ยกเวนหลักฐานที่มี ตวั อกั ษร เชน หลกั ฐานทางโบราคดี ศิลปกรรม ส่ิงกอ สรา ง วัด เจดีย พระพุทธรูป ถว ยชามสงั คโลก โสตทศั น นาฏศิลป ดนตรี เพลงพ้ืนบาน ขนบธรรมเนยี มประเพณี แบง ประเภทได ดงั นี้ ๒.๑ หลักฐานทางโบราณคดี นักโบราณคดีศึกษาวัตถุสิ่งของ ที่เกี่ยวกับกิจกรรมมนุษยในอดีต เชน ซากอาคาร, โบราณสถาน, ศิลปวัตถุอันเกี่ยวเนื่องกัน เชน เจดีย, พระพุทธรูป, เครื่องดับ, ภาชนะ, ตลอดจน หลกั ฐานทางส่ิงแวดลอม เชน คนู ำ้ , คันดิน, แมน ำ้ ลำคลอง ๘

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๒.๒ หลกั ฐานทางศิลปกรรม ประกอบดว ย - สถาปตยกรรม จะศึกษารูปแบบของสถาปตยกรรมใหข อมูล ทั้งในแงอายุของสถานทีแ่ ละ วัตถุประสงคของการกอสราง อาทิเชน อาคารสิ่งกอสราง ยานประวัติศาสตร อาคารสัญลักษณของ เมอื ง นครประวตั ศิ าสตร - ประติมากรรม ศึกษาเรื่องราวพฤติกรรม ของมนุษยในอดีตไดเปนอยางดี เชน ประติมากรรมการเลนดนตรีบานคบู วั - จิตรกรรม ศึกษารองรอยความคิดความเช่ือ เชน ภาพพุทธประวัติ ปริศนาธรรม ตามผนัง โบสถ ภาพบคุ คลทีป่ รากฎ ชีวิตการแตง กาย การติดตอ คา ขาย ๒.๓ หลักฐานประเภทโสตทัศน ไดแก ภาพถาย, แผนเสียง, โปสเตอร, แถบบันทึกเสียง, และ ภาพยนต ๒.๔ นาฏศิลป ดนตรี เพลงพื้นบาน ทาทางรา ยรำ เน้ือรอง ทำนองดนตรี สะทอ นชีวิตความเปนอยู ของแตละทองถิ่นเชน เพลงกลอมเด็กของนครศรีธรรมราช ที่บอกเลาเรื่องราวของพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช ๒.๕ หลักฐานประเภทบอกเลา แบงออกเปนประเพณีจากการบอกเลา และประวัติศาสตรจากการ บอกเลา ขอจำกัดคือ อาจคลาดเคลื่อนไดง า ย ตามอคตขิ องผูเ ลาจงึ ตองมกี ารตรวจสอบกับเอกสารอื่น ๆ อยา ง เปน ระบบ ๙. ตัวอยา งการวเิ คราะหเหตุการณส ำคญั ในสมัยรตั นโกสนิ ทร การวิเคราะหเหตุการณสำคัญที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตรจำเปนตองนำวิธีการทางประวัติศาสตรมาใช ยกตวั อยางเชน การศกึ ษาคนควา เร่ือง สนธสิ ัญญาเบาวรงิ ๑) เร่มิ จากการรวบรวมหลกั ฐานท่ีเก่ียวขอ งแลว นำมาประเมนิ วาแตล ะหลกั ฐานสามารถใชอยางไรบาง ๒) เม่อื ไดห ลกั ฐานทเี่ ก่ียวของแลว จึงนำมาตคี วามสาระสำคัญของสนธสิ ัญญาเบาวร งิ ๓) จากนั้นนำมาวิเคราะหตีความเพื่อหาผลดีและผลเสีย ทำใหทราบวาการทำสนธิสัญญาเบาวริงนั้น เกิด ผลเสียแกไทยมากกวาผลดี ๔) จากการตีความทำใหไดขอสรุปเพื่อตอบปญหาที่เรากำหนดไวไดวา การทำสนธิสัญญาเบาวริงทำใหไทย เสยี เปรียบหลายประการท้ังในดานสังคม เศรษฐกจิ และการเมือง แตในอีกดานก็สง ผลดใี หแกไทย คือ ทำใหไทยไดรับ วิทยาการและความเจรญิ สูประเทศ ๕) สุดทา ยกน็ ำขอ มลู ทไี่ ดมาเผยแพร ๑๐. ตัวอยางการใชว ธิ ีการทางประวัตศิ าสตร เราสามารถนำวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตรม าประยุกตใ ชกบั เรอื่ งราวของตนเองและครอบครัวได ดงั น้ี ๑) เริ่มจากการกำหนดเรื่องราวที่ตองการศึกษา เชน หากนักเรียนสามารถตั้งหัวขอวา “บรรพบุรุษของฉัน เปนใคร” จากนั้นรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของ โดยทำไดหลายวธิ ี เชน สัมภาษณพอแม ปูยา ตายาย หาภาพถายของ ครอบครวั อาจเปน ภาพถา ยเกาแกสมยั ปูยา ตายาย หรือบนั ทกึ ประจำวนั ๙

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๒) ขน้ั การตรวจสอบและประเมินคุณคาของหลักฐาน เชน การสมั ภาษณญาติพ่ีนองในวงศตระกูล ซ่ึงเปนผูท่ี อยูในเหตุการณและตองพิจารณาดวยวาผูใหสัมภาษณมีความพรอมในเรื่องสุขภาพและอายุ ซึ่งมีผลตอความทรงจำ บุคคลเหลาน้ีสามารถใหไดขอ มลู เกี่ยวกับบรรพบรุ ษุ ของเราไดเ ปน อยา งดี ๓) ตอ มาข้ันตอนการตีความหลักฐาน เชน จากการสมั ภาษณแลวเราบันทึกเสียงไว เราสามารถตีความข้ันตน ไดตามตัวอักษรวาผูถ ูกสัมภาษณเ ลา เก่ียวกับอะไรบา ง ไดขอมูลวาบรรพบุรุษของเราชื่อวาอะไร มีภูมิลำเนาเดิมจากที่ ไหน จากนั้นนำขอมูลที่ไดมาเรียบเรียงเพื่อนำเสนอ เราอาจนำเสนอในลักษณะของแผนภาพตนไมของครอบครัว (Family tree) ทแ่ี สดงใหเหน็ ลำดบั ครอบครวั ของเราต้งั แตบรรพบุรุษจนกระท่งั ถงึ รุนของเรา จากนนั้ บรรยายสนั้ ๆ ถงึ ความเปน มาของบรรพบุรษุ วามภี ูมิลำเนาเดิมมาจากที่ใดและเขา มาตง้ั รกรากในปจ จุบนั เมื่อไร ๑๐

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม หนว ยการเรียนรทู ่ี ๒ พัฒนาการทางประวัติศาสตรไทยสมัยรัตนโกสินทร สาระสำคัญ ๑. การสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปน ราชธานี มีสาเหตุสำคัญและมปี จจยั ทส่ี งผลตอความมน่ั คงและความ เจรญิ รงุ เรืองในดานตา งๆ ของไทย ซ่งึ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตรยิ แหง กรุง รตั นโกสนิ ทรท รงเลอื กพนื้ ทบ่ี รเิ วณดา นตะวนั ออกของแมน ้ำเจา พระยาเปนท่ตี ้ังกรงุ เทพมหานครราชธานแี หงใหม เพราะมคี วามเหมาะสมทางยุทธศาสตรและสามารถขยายตัวเมืองไดก วา งขวาง เพ่ือวางรากฐานบานเมืองใหเปน ปก แผน และเจรญิ รุงเรอื ง เปน รากฐานใหพระมหากษตั ริยไทยในพระบรมราชจักรีวงศท ้ัง 10 พระองค ในสมยั รตั นโกสินทรลวนแลวแตม บี ทบาทสำคญั ตอความมน่ั คง ความเจรญิ รงุ เรอื ง และพฒั นาประเทศใหเจรญิ รุงเรอื ง อยางตอเนอื่ ง และทัดเทยี มนานาอารยประเทศ ๒. พัฒนาการดานการเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรมและความสมั พันธก ับตางประเทศ ของไทยในสมัยรัตนโกสนิ ทรกอนการเปล่ียนแปลงการปกครอง มปี จ จยั สำคญั ท่สี ง ผลตอ ความมั่นคงและความ เจริญรุงเรอื งของไทยเปน อยางย่งิ เพือ่ วางรากฐานการพัฒนาประเทศ ทั้งการศึกษา ขนบธรรมเนยี มวฒั นธรรม อัน สง ผลตอการรกั ษาเอกราช ความเจริญรงุ เรือง และความสมั พนั ธระหวา งประเทศของไทยกบั นานาอารยประเทศใน ปจจบุ ัน ๑. การสถาปนากรุงรัตนโกสนิ ทรเปนราชธานี เม่อื สมเดจ็ เจาพระยามหากษัตริยศ ึกปราบการจลาจลทีเ่ กิดข้ึนในปลายรชั กาลสมเดจ็ พระเจาตากสินมหาราช จนบานเมืองอยูในความสงบเรียบรอย พวกขุนนางขาราชการและราษฎรทั้งหลายจึงเห็นพองตองกันในการอัญเชิญ สมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชยสมบัติ ในวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ พระนามท่ี ปรากฏในพระสุพรรณบัฏ คือ “สมเด็จพระบรมราชาธริ าชรามาธิบดีฯ” สวนพระนาม “พระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟาจุฬาโลก”นั้น เปนพระนามที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงถวาย นับวาพระองคเปนปฐมกษัตริยใน พระบรมราชจกั รีวงศ ๑.๑ สาเหตุการยา ยราชธานี หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราช ทรงปราบจลาจลภายในกรุงธนบุรีและสรางความ มั่นคงภายในประเทศแลว พระองคทรงยายราชธานีจากกรุง ธนบุรีซึ่งอยูทางฝงตะวันตกมายังฝงตะวันออกของแมน้ำ เจาพระยา โดยสถานที่กอสรางพระบรมมหาราชวังในราช ธานีแหงใหม ซึง่ เดิมเคยเปนท่ีอยูอาศัยของชนชาตจิ ีน และตั้ง ช่ือใหมวากรงุ เทพฯ ท้ังนเ้ี น่ืองดว ยสาเหตหุ ลายประการ คือ ๑๑

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๑) พระราชวังเดิมของกรุงธนบุรีคับแคบ มีวัดขนาบอยูทั้ง ๒ ดาน คือ วัดแจง (วัดอรุณราชวราราม) และวัด ทายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ทำใหไ มส ามารถขยายอาณาเขตของพระราชวังใหก วางขวางขนึ้ ได ๒) พระองคไมทรงเห็นดวยที่จะใหพระนครแบงออกเปน ๒ สวน โดยมีแมน้ำเจาพระยาผากลางเปนเสมือน เมืองอกแตก ดังเชน เมืองพิษณโุ ลก สพุ รรณบุรี เพราะหากขาศึกยกทพั มาตามลำน้ำ กส็ ามารถบุกตีใจกลางเมืองหลวง ได ทำใหยากแกการปองกันพระนคร คร้ันจะสรางปอมปราการทั้ง ๒ ฝง แมน ำ้ ก็จะเปนการส้ินเปลืองเงินทองมาก ทำ ใหยากแกการเคลื่อนพลจากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่ง ซึ่งเปนการยากลำบากมาก ดังนั้นพระองคจึงยายพระนครมาอยู ทางฝงตะวันออกของแมน้ำเจาพระยาเพียงแหงเดียว โดยมีแมน้ำเปนคูเมืองทางดานตะวันตก และใต สวนทางดาน ตะวนั ออกและทางดา นเหนือ โปรดเกลาฯ ใหขดุ คลองขน้ึ เพ่ือเปน คเู มืองปองกันพระนคร ๓) พื้นที่ทางฝงตะวันออกเปนที่ราบลุม สามารถขยายเมืองใหกวางขวางออกไปไดเรื่อย ๆ ตรงบริเวณที่ตั้ง พระนครพื้นที่เปนแหลม โดยมแี มน้ำเปนกำแพงก้นั อยเู กือบคร่งึ เมือง ๔) ทางฝงตะวันตกของแมน้ำเจาพระยา พื้นที่เปนทองคุง น้ำกัดเซาะตลิ่งพังทลายอยูเสมอ จึงไมเหมาะแก การสรางอาคารหรอื ถาวรวตั ถใุ ดๆ ไวริมฝงแมนำ้ พระบาทสมเด็จพระพุทธ ย อ ด ฟ  า จ ุ ฬ า โ ล ก ม ห า ร า ช ม ี ร ั บ สั่ ง ใหสรางเมืองใหมทางฝงตะวันออก ของแมน้ำเจาพระยา ตั้งแตบริเวณ หัวโคงแมน้ำเจาพระยา คือ บริเวณ พ ร ะ บ ร ม ม ห า ร า ช ว ั ง ใ น ป  จ จ ุ บั น พ ร ะ ร า ช ท า น น า ม เ ม ื อ ง ใ ห ม  น ี ้ ว า “กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร มหินทรายุทธนา มหาดิลกภพนพรัตน ราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศน มหา สถานอมรพิมาน อวตารสถิต สักกทัต ติยวิษณุกรรมประสิทธิ์” ในวันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ตอมาในสมัย รัชกาลที่ ๔ ทรงเปลยี่ นจากคำวา “บวรรัตนโกสนิ ทร” เปน “อมรรัตนโกสนิ ทร” ในการสรางพระมหาบรมราชวงั โปรดเกลาฯ ใหสรา งวดั ข้นึ ภายในดวย คอื วดั พระศรีรัตนศาสดาราม หรือวัด พระแกว แลวใหอ ญั เชญิ พระแกวมรกตขน้ึ ประดิษฐาน ทรงพระราชทานนามใหมวา “พระพุทธมหามณรี ัตนปฏิมากร” เพ่ือเปน สิริมงคลแกกรุงเทพฯ ๑.๒ เหตุผลการเมอื งทำเลทต่ี ง้ั ฝงตะวนั ออกของแมน ้ำเจา พระยา ๑. ทางฝงกรุงเทพฯ เปนชัยภูมิเหมาะ เพราะเปนหัวแหลม จะไดแมน้ำใหญเปนคูเมืองทั้งดานตะวันตกและ ดานใต เพียงแตขุดคลองเปน คูเมืองแตดานเหนอื กับดา นตะวนั ออกเทา นั้น ถึงแมวาขา ศึกจะเขามาไดถึงพระนครก็พอ ตอสูได ๑๒

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๒. เนื่องดวยทางฝงตะวันออกนี้ พื้นที่นอกคูเมืองเดมิ เปนที่ลุม ที่เกดิ จากการต้ืนเขินของทะเล ขาศึกจะยกทัพ มาทางนค้ี งจะกระทำไดยาก ฉะนั้น การปอ งกนั พระนครจะไดม ุงปองกันเพียงดา นฝง ตะวนั ตกเพียงดานเดยี ว ๓. ฝงตะวันออกเปนพื้นที่ใหม สันนิษฐานวา ชุมชนใหญในขณะนั้นคงมีแตชาวจนี ทีเ่ กาะกลุมกนั ใหญ จึงเปน การยากทจ่ี ะหาพน้ื ท่ีใหมเพื่อสรา งพระราชวงั ใหเ ปนศนู ยกลางการปกครองเชน เดียวกับกรงุ ศรีอยุธยา ๑.๓ ลักษณะราชธานี กรุงเทพมหานครสรา งขึน้ โดยเลียนแบบกรุงศรอี ยธุ ยา แบง พืน้ ที่ออกเปน ๓ สวน ดงั น้ี ๑. พระบรมมหาราชวัง ซึ่งประกอบดวย วังหลวง วังหนา วัดในพระบรมมหาราชวัง (วัดพระศรีรัตนศาสดา ราม) ทุงพระเมรุ และสถานที่สำคัญอื่น ๆ มีอาณาบริเวณตั้งแตริมฝงแมน้ำ เจาพระยาจนถึงคูเมืองเดิมสมัยธนบุรี (ที่ เรียกกนั วา คลองหลอดในปจจบุ ัน) ๒. ที่อยูอาศัยภายในกำแพงเมือง เริ่มตั้งแตคูเมืองเดิมไปทางตะวันออกจนจดคูเมืองใหม (คลองรอบกรุง) ประกอบดวยคลองบางลำพู และคลองโองอางตามแนวคลองรอบกรุงมีการสรางกำแพงเมือง ประตูเมือง และปอม ปราการโดยรอบมีการขุดคลองหลอด ๑ คลองหลอด ๒ เชื่อมระหวางคูเมืองเกากับคูเมืองใหม นอกจากนี้ยังโปรดให สรางถนน สะพาน และสถานทีอ่ ่นื ๆ ท่ีจำเปนอกี ดวย ราษฎรทีอ่ าศยั ในสว นใหญมอี าชพี คา ขาย ๓. ที่อยูอาศัยนอกกำแพงเมือง ซึ่งสวนใหญผูคนจะตั้งบานเรอื นอยูรมิ คลองรอบกรุงกระจายกันออกไปและ มกั ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมในครัวเรือนประเภทชางตา ง ๆ เชน บานบาตร บานพานถม บา นหมอ บา นดอกไมไ ฟ ๒. การประดิษฐานราชวงศจ ักรี ชื่อของราชวงศจักรีมีที่มาจากบรรดาศักดิ์ของ เจาพระยาจักรีองครักษ ขณะนั้นดำรงตำแหนงสมุหนายกซึ่ง เปนตำแหนงทางราชการทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชทรงเคยดำรงตำแหนงนมี้ ากอ นในสมัยกรุง ธนบรุ ี คำวา จกั รี พอ งเสียงกับคำวา จกั ร และ ตรี ทเ่ี ปนเทพอาวุธของพระวษิ ณุ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจุฬา โลกมหาราชจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระแสงจักรและพระแสงตรีไว ๑ สำรับ อีกทั้งกำหนดใหใชเทพ อาวธุ นี้เปนสญั ลักษณป ระจำราชวงศจ ักรสี ืบเน่ืองมาจนถึงปจจุบัน ๑๓

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม รชั กาล พระปรมาภิไธย ครองราชย รายะเวลา ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ๖ เมษายน ๒๓๒๕ – ๒๗ ป ๑๕๔ วนั ๗ กันยายน ๒๓๕๒ ๑๔ ป ๓๑๗ วนั ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลยั ๗ กันยายน ๒๓๕๒ – ๒๖ ป ๒๕๕ วัน ๒๑ กรกฎาคม ๒๓๖๗ ๑๗ ป ๑๘๒ วนั ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลาเจาอยหู ัว ๒๑ กรกฎาคม ๒๓๖๗ – ๔๒ ป ๒๒ วนั ๒ เมษายน ๒๓๙๔ ๑๕ ป ๓๔ วัน ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ๒ เมษายน ๒๓๙๔ – ๙ ป ๙๖ วนั ๑ ตุลาคม ๒๔๑๑ ๑๑ ป ๙๙ วัน ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว ๑ ตุลาคม ๒๔๑๑ – ๗๐ ป ๑๒๖ วนั ๒๓ ตุลาคม ๒๔๕๓ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจา อยูหวั ๒๓ ตุลาคม ๒๔๕๓ – - ๒๖ พฤศจกิ ายน ๒๔๖๘ ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู วั ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ – ๒ มีนาคม ๒๔๗๘ ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล ๒ มนี าคม ๒๔๗๘ – พระอัฐมรามาธิบดินทร ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ ๙ มิถุนายน ๒๔๘๙ – ๙ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ มหาราช บรมนาถบพติ ร ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๙ – ๑๐ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหวั ปจจบุ นั ๓. พระราชกรณยี กิจพระมหากษัตรยิ ราชวงศจ ักรี ๓.๑ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒) ทรงเปน ปฐมกษตั ริยแหงราชวงศจ กั รี โปรดใหส รางราชธานใี หมข นึ้ ทางฝง ตะวันออกของแมน ้ำเจา พระยา คือ กรุงเทพมหานคร ทรงยายมาประทับในพระนครใหมใน พ.ศ. ๒๓๒๗ พระราช กรณียกิจสวนใหญในรัชกาล ไดแก การสงครามเพื่อรักษาอธิปไตยของชาติหลาย ครั้ง ครั้งสำคัญที่สุด คือ สงครามเกาทัพ ในป พ.ศ. ๒๓๒๗ การปกครองประเทศ ทรงจัดแบงตามแบบกรุงศรีอยุธยา และโปรดใหชำระกฎหมายบทตาง ๆ ให ถูกตอ งและจารลงสมดุ ไวเปนหลกั ฐาน ๓ ฉบับ ทางดานศาสนา โปรดใหสังคายนาพระไตรปฎก พ.ศ. ๒๓๓๑ และจาร ฉบับทองประดิษฐานไวในหอพระมณเฑียรธรรม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ๑๔

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม นอกจากนีย้ ังทรงสรางและบรู ณปฏิสังขรณพ ระอารามและพระพุทธรปู ตา ง ๆ เปนอันมาก ทางดานวรรณคดีและศิลปกรรม ทรงฟนฟูวรรณคดีไทย ซึ่งเสื่อมโทรมตั้งแตกรุงศรีอยุธยาแตกให กลับคืนดี อีกวาระหนึ่ง ทรงสงเสริมและอุปถัมภกวีในราชสำนัก บทพระราชนิพนธที่สำคัญ เชน บทละคร เรื่องรามเกียรติ์ เปนตน งานทางดานศลิ ปกรรมน้ัน เปน ผลเน่ืองมาจากการที่ทรงบรู ณปฏิสังขรณและสราง พระอารามเปน จำนวนมาก เปนการเปด โอกาสใหช างฝม ือดานตา ง ๆ มีงานทำและไดผลิตงานฝมือชน้ิ เอกไว ปจจุบันมีวันที่ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก คือ วันที่ระลึกมหา จกั รี ไดแ กวนั ท่ี ๖ เมษายนของทุกป จะมพี ธิ ถี วายบังคมพระบรมรูป ณ เชงิ สะพานพระพทุ ธยอดฟา ๓.๒ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลานภาลัย รัชกาลที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๕๒ - ๒๓๖๗) พระราชกรณียกิจสำคัญ ที่ทรงเริ่มทำเรงดวนครั้งแรกคือ การรวบรวม ผูคนที่กระจัดกระจายกันอยูตั้งแตครั้งกรุงแตกใหอยูตัง้ มั่นเพื่อความเปนปกแผน ของประเทศ โดยออกพระราชกำหนดสกั เลข และทำทะเบยี นราษฎรอยา งจริงจัง และไดทรงผอนผันการเขาเดือนเหลือเพียงปละ ๓ เดือน คือ เขาเดือนออก สาม เดอื น นอกจากน้ี ยงั ไดทรงออกกฎหมายฉบับสำคัญอีกฉบับหน่ึงเรยี กวา พระราช กำหนดเรื่องหาม สูบฝน ขายฝน ในการทำนุบำรุงความเจริญของบานเมืองก็มี การกอ สรา งอาคารสถานทตี่ าง ๆ และไดมีการแตง สำเภาไปคาขายยังเมืองตา ง ๆ และเมืองจีนมากขึ้น ทำใหการเศรษฐกิจของชาติดีขึ้นมาก และเหตุที่มีการแตง เรือสำเภาไปคาขายตางประเทศเปนจำนวนมาก เปนผลใหเกิดการใชธงประจำ ชาติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยทรงโปรดเกลาฯ ใหนำสัญลักษณชางเผือกสำคัญที่ไดมาสูพระบารมี ๓ เชือก ประทับลงบนธงสแี ดง ธงประจำชาติไทยจึงมีขึ้นเปนครั้งแรก ดานศิลปวัฒนธรรมของชาติ พระบาทสมเด็จพระ พทุ ธเลศิ หลา นภาลยั ทรงทำนุบำรุง ตลอดจนทรงเปนกษตั รยิ ศิลปนโดยแทจรงิ ถอื วา เปน ยคุ ทองแหงวรรณคดไี ทย ๓.๓ พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลาเจา อยูห ัว รัชกาลท่ี ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗ - ๒๓๙๔) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เสด็จขึ้นเสวยสิริราชสมบัติใน พ.ศ. ๒๓๖๗ ทรงทำนุบำรุงประเทศให เจริญรุงเรืองทุกดาน เชน ดานเศรษฐกิจ โปรดใหปรับปรุงการคาขายกับตางประเทศ และระเบียบวิธีการเก็บภาษี อากรตาง ๆ ดานความมั่นคง โปรดใหสรางปอมปราการตามหัวเมืองสำคัญและตามชายฝงทะเล ตลอดจนตอเรือรบ เรือกำปนไวใชในราชการเปนจำนวนมาก โปรดใหมีการปราบปรามผูกอความไม สงบตอ แผน ดินอยางเดด็ ขาด เปน ตนวา การปราบปรามเวียงจันทน ญวน และหัว เมืองปกษใต ทั้งยังทรงยกฐานะหมูบานตาง ๆ ขึ้นเปนเมืองเพื่อขยายความเจรญิ ในการปกครอง ดา นศาสนา ทรงบำเพญ็ พระราชกุศลเปน นจิ ทรงบูรณปฏิสังขรณ พระอารามเปนจำนวนมาก โปรดใหมีการสอนพระปริยัติธรรมแกพระภิกษุ และ โปรดใหจารึกสรรพตำราตาง ๆ ๘ หมวดบนแผนศลิ า ประดับไว ณ ศาลาราย ใน วัดพระเชตุพนฯ เพื่อเผยแพรความรูแกประชาชน เสมือนเปนมหาวิทยาลัยแหง แรกของประเทศ ดาน วรรณกรรมนั้นทรงเปนกวีดวยพระองคเอง และทรง สงเสริมผูมีความรูดานนี้ สวนงานดานศิลปกรรม นับเปนผลสืบเนื่องมาจากการ ๑๕

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม สราง บูรณะปฏิสังขรณพ ระอาราม มีผูกลา ววา ลักษณะศลิ ปกรรมในรัชกาลท่ี ๓ เปนแบบท่งี ดงามยิ่ง เพราะหลงั จากนี้ ศลิ ปกรรมไทยรบั อทิ ธพิ ลศลิ ปะตะวนั ตกมากเกนิ ไป ๓.๔ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู วั รชั กาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔ - ๒๔๑๑) หลังจากเสด็จขึ้นครองราชยแลวก็ทรงทำนุบำรุงประเทศชาติ ให เจริญรุงเรืองในทุก ๆ ดาน ทรงเปนพระมหากษัตริยผูเริ่มศักราชการติดตอกับ นานาอารยประเทศทั้งปวงอยางจริงจัง ดังจะเห็นไดจากการที่ประเทศตาง ๆ สง คณะทูตเขามาเจริญสัมพันธไมตรี และติดตอคาขาย และพระองคไดทรงแตง คณะทูตออกไปเจริญสัมพันธไมตรีตอบแทนหลายครั้ง เชน อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา โปรตุเกส เดนมารค ฯลฯ ทรงทำสนธิสัญญาเบาวริงกับอังกฤษ และทรงสนับสนุนใหมีการศึกษาศิลปะวิทยาการใหม ๆ เชน วิชาการตอเรือใบ เรือกลไฟ เรือรบ การฝกทหารอยางยุโรป การยกเลิกธรรมเนียมที่ลาสมัยบางประการ เชน ประเพณีการเขาเฝาใหใส เสื้อเขาเฝา การใหป ระชาชนเฝา แหนรับเสดจ็ ตลอดระยะรายทางเสดจ็ ได ฯลฯ พระปรชี าสามารถสว นพระองคทสี่ ำคัญ อีกประการหนึ่งคือ วิชาการดานโหราศาสตร และดาราศาสตร ทรงสามารถคำนวณระยะเวลาการเกิดสุริยุปราคาได อยางแมนยำ ดังไดเสด็จพระราชดำเนินพรอมพระราชอาคันตุกะทั้งปวงไปชมสุริยุปราคาที่หวากอ ประจวบคีรีขันธ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๑๑ ๓.๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั รัชกาลท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๕๓) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงไดรับยกยองวาเปนนักปฏิรูปเปลี่ยนแปลงประเทศ จากแบบ เกามาสูแบบใหม ทรงเปนผูนำในการปรับปรุงขนบธรรมเนียมประเพณี ระบบสังคม และระบอบการปกครองของไทย ใหทันสมัยทัดเทียมอารยประเทศ เชน ทรงยกเลิกประเพณีการเฝาแหนแบบโบราณ มาเปนการยืนถวายบังคมแบบ ตะวนั ตก ทรงยกเลกิ การไตส วนพิจารณาคดีแบบจารีตนครบาลมาเปนการไตสวนพจิ ารณาคดีในศาลแบบปจจบุ นั ทรง ยกเลิกระบบทาสไดอยางละมุนละมอม ทรงจัดการศึกษาแผนใหม ทรงตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นทั้งในพระบรมมหาราชวัง และตามวัดตา ง ๆ โปรดใหปรับปรงุ การสาธารณปู โภคและสาธารณปู การ เชน การประปา การรถไฟ และการไปรษณีย โทรเลข ทางดานศาสนา ทรงสรางและบูรณปฏิสังขรณวัดวาอารามตาง ๆ ทรง ปรับปรุงระบอบการปกครองโดย เสด็จประพาสประเทศเพื่อนบาน มีชวา สงิ คโปร และอนิ เดยี เพอื่ ทรงศกึ ษาการปกครองแบบตะวันตกท่ี นำมาประยุกตใช ในประเทศตะวันออก แลวทรงปรับปรุงการปกครองของไทยใหทันสมัย โดยทรง แบง สวนราชการการบริหารราชการสวนกลางเปน ๑๒ กระทรวง และแบงสวน ราชการบริหารสวนทองถิ่น เปนมณฑล พระราชกรณียกิจที่สำคัญยิ่งก็คือ ทรง ดำเนินวิเทโศบายอยา งสขุ มุ คัมภรี ภาพ ทรงผอนปรน ยอมสูญเสยี ดนิ แดนบางสวน ใหแกประเทศมหาอำนาจที่แสวงหาอาณานิคมอยูในขณะนั้น เพื่อรักษาเอกราช ของประเทศไว ทรงเปนที่รักของประชาชนทุกชั้น จนทรงไดรับพระสมัญญานาม วา สมเดจ็ พระปย มหาราช ๑๖

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ทรงเลิกทาส พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมหาราช มีพระราชหฤทัยอันเต็มเปยมไปดวย พระมหากรุณาธิคุณแกพสกนิกรอยางหาที่สุดมิได ทรงเห็นการณไกล และตระหนักในความเจริญรุงเรืองและสันติสขุ ของบานเมือง การเปลี่ยนแปลงตาง ๆ จะเปนผลสำเรจ็ ไดตองทำใหค นไทยไดเปนไท ไมมีทาสอีกตอไป พระองคจึงได ทรงดำเนินการเลิกทาสโดยมใิ หก ระทบกระเทือนถึงเจาของทาสและทาส ดวยพระราชหฤทัยแนวแนแ ละทรงพระราช อุตสาหะอยางย่งิ เปนเวลาถงึ ๓๐ ป กท็ รงเลิกทาสสำเร็จลงตามพระราชปณธิ านทไี่ ดท รงตงั้ ไว การเสดจ็ ประพาสตน เหตุการณท่แี สดงใหเ หน็ วาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงใฝพระทัยใน ทุกขสุขของอาณาประชาราษฎรคือ การเสด็จประพาสตน เปนการเสด็จไปเพื่อสำราญพระราชอิริยาบถอยางงาย ๆ โดยไมใหมีทองตราสั่งหัวเมืองจัดทำที่ประทับแรม เมื่อพอพระราชหฤทัยจะประทับที่ใดก็ประทับที่นั้น บางครั้งก็ทรง เรือเล็กหรอื เสด็จโดยสารรถไฟไปโดยมใิ หใครรูจกั พระองค ทำใหไ ดประทับปะปนในหมู ราษฎร ทรงทราบทุกขสุขของ ราษฎรจากปากราษฎรโดยตรง ทำใหไดท รงแกไขปดเปา ความทุกขยากให ราษฎรของพระองคไดผ ลโดยตรง ๓.๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั รัชกาลที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๘) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงดำเนินนโยบายการปกครองสืบตอจาก สมเด็จพระบรมชนก นาถ ในรัชสมัยของพระองค การศึกษาของชาติเจริญกาวหนามาก ทรงสถาปนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การพระ ศาสนาเจรญิ สงู ข้ึน ทรงทำนุบำรงุ ปฏิสังขรณว ัดวาอาราม และขยายการศึกษา ของสงฆใหกวางขวาง การคมนาคม เชน การรถไฟ สะดวกสบายขึน้ มาก ทรง ดำเนินนโยบายตางประเทศได อยางถูกตอง เห็นการณไกล โดยทรงนำ ประเทศเขาสูสงครามโลกครั้งท่ี ๑ สงทหารเขาชวยฝายสัมพันธมิตรรบใน สมรภูมิยุโรป ทำใหนานาชาติรูจักประเทศไทยมากขึ้น และยังทำใหประเทศ ไดรบั ผลประโยชนด านตาง ๆ ในฐานะประเทศชนะสงคราม พระราชกรณียกิจ ที่สำคัญยิ่งก็คือ ทรงบำรุงกำลังรบและปลุกใจ พลเมืองใหรักชาติ ทรงวาง ระเบียบแบบแผนการทหารแบบยุโรป ทรงจัดตั้งกองทัพอากาศเพิ่มขึ้นอีก กองทัพหนง่ึ ทรงจดั ตัง้ กองเสอื ปา และกองลูกเสือเพ่ือปลุกใจพลเมอื งใหรักชาติ นอกจากจะทรงเปนนักการปกครองที่เล็งเห็นการณไกลแลว ยังทรงพระปรีชา สามารถอยา งยิ่งในเชงิ อักษรศาสตร ดงั จะเห็นได จากพระราชนพิ นธคำประพันธท ุกชนิดในทุกดา น เชน ปลกุ ใจเสือปา พระพุทธเจาตรัสรูอะไร โคลงสยามานุสติ เปน ตน รวมเปนพระราชนิพนธเกินกวา ๒๐๐ เรื่อง สมดังท่ีมหาชนชาวไทย ถวายพระนามวา พระมหาธรี ราชเจา เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงทราบวา ราษฎรเบื่อหนายการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย ก็โปรดใหสรางบานเมืองจำลองขึ้นเรียกวา ดุสิตธานี เพื่อเปนโรงเรียนสอนเสนาบดีและ อำมาตยราชบริพารใหรูจักการปกครองแบบประชาธิปไตย ทรงโปรดใหกระทรวงมหาดไทย เตรียมรางกฎหมาย ปกครองทองที่จังหวัดสมุทรสาคร เพ่ือเริ่มการปกครองสวนทองถน่ิ แบบเทศบาลอยางแทจริง แตเสนาบดีบางทานเห็น วา กฎหมายนีใ้ หสิทธิแกราษฎรกวา งขวางเกินไป เรอื่ งจงึ คางพิจารณา จนกระท่ังเสดจ็ สวรรคต ๑๗

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๓.๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยหู ัว รัชกาลท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๖๘ - ๒๔๗๗) พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ ทรงตั้งราชบัณฑิตยสภา เพื่อมีหนาที่ บรหิ ารและเผยแพรว ชิ าการดานวรรณคดี โบราณคดี และศลิ ปกรรม ในดานวรรณกรรม โปรดตราพระราชบัญญัติคุมครองวรรณกรรมและศิลปกรรม ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ พระราชทานเงินสวนพระองค เปนรางวัลแกผูแตงหนงั สือยอดเยี่ยม และใหทุนนักเรียน ไปศึกษาวชิ าวิทยาศาสตรจากตา งประเทศ การศาสนา ทรงปลกู ฝง เยาวชนใหมีคุณธรรม ดีงาม โดยยึดหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา โปรดใหราชบัณฑิตยสรางหนังสือสอน พระพุทธศาสนาสำหรับเด็ก ซึ่งนับวาพระองคทรงเปนพระมหากษัตริยพระองคแรกท่ี ทรงสรางหนังสอื สำหรบั เด็ก สวนการศึกษาในเนือ้ แทของพระพุทธศาสนานั้น ทรงโปรด ใหสรางหนังสือพระไตรปฎกฉบับสมบูรณ เรียกวา ฉบับสยามรัฐ ชุดหนึ่ง จำนวน ๔๒ เลม ซ่ึงใชสืบมาจนทกุ วันนี้ ดา นการปกครอง ทรงมพี ระราชปรารภจะพระราชทานรฐั ธรรมนญู ในโอกาสกรงุ เทพฯ มีอายคุ รบ ๑๕๐ ป ใน ป พ.ศ. ๒๔๗๕ แตก็มีเหตุที่ยังไมอาจทำไดในระยะนั้น ซึ่งเปนชวงที่มีคณะบุคคลคณะหนึ่งถือ โอกาสยึดอำนาจการ ปกครอง ขอเปลยี่ นแปลงการปกครองในวันที่ ๒๔ มถิ นุ ายน การกระทำดังกลาวเปนพระราชประสงคท ี่พระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยูหัว ตั้งพระราชหฤทัยไวแตแรกแลว จึงทรงพระราชทานอำนาจและยินยอมใหปกครองแบบ ประชาธิไตย นับเปนการเปลี่ยนแปลงการปกครองชาติเดียวในโลกที่เลือดไมนองแผนดิน ทรงยินยอมสละพระราช อำนาจ เปนพระมหากษัตริยอยูภายใตกฎหมาย ทรงใหตรวจตราตัวบทกฎหมายรัฐธรรมนูญที่จะเปนหลักในการ ปกครองอยางถี่ถวน การที่พระองคทรงเปนนักประชาธิปไตยอยางแทจรงิ นี่เอง เมื่อคณะรัฐบาลบริหารงานไมถูกตอง ตามหลักการทว่ี างไว พระองคจงึ สละราชสมบตั ิ เมือ่ วนั ท่ี ๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ ๓.๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล รัชกาลที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๗๗ - ๒๔๘๙) พระราชกรณียกิจ ระหวางประทับทรงศึกษาอยูใน ประเทศสวิสเซอรแลนดนั้น พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อานันทมหดิ ล ไดเสด็จพระราชดำเนินกลับประเทศไทย ๒ ครั้ง ใน ป พ.ศ. ๒๔๘๑ และป พ.ศ. ๒๔๘๘ ถึงแมจะทรงเปนยุวกษัตริย แตทรงประกอบพระราชกรณยี กิจท่ีทรงมีตอประชาชนชาวไทยได อยางดียิ่ง ทรงโปรดที่จะเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรอยู เสมอ ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเสด็จพระราชดำเนินสำเพ็ง เพื่อ ทรงเยี่ยมประชาชนชาวจีนและอินเดียในบริเวณนั้น เปนผลให ความแตกแยกระหวางประชาชนชาวไทยและจีน ซึ่งมีขึ้นกอน หนานนั้ ระงับไปไดดวยพระปรชี าอันสามารถ ๑๘

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๓.๙ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดช รัชกาลท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๔๘๙ - ๒๕๕๙) พระราชกรณียกิจที่สำคัญ ทางดานเศรษฐกิจ ทรง พระราชทานหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพยายาม ชว ยเหลอื ราษฎรในการดำรงชีพ และการสง เสริมอาชีพ เชน การทำฟารมโคนม พระราชทานความคิดในการประดิษฐ เครื่องยนตกลไก สงเสริมการเลี้ยงไหม การประมง ปาไม โครงการเกษตรหลวงที่ดอยอางขาง จังหวัดเชียงใหม เพ่ือ ชักชวนใหช าวเขาเลกิ ปลกู ฝน มาปลกู พชื ผลและดอกไม ทจี่ ะ เปนประโยชนกวา โครงการเกษตรกรรมที่หุบกระพง ประจวบครี ขี ันธ ทางดานสังคม เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมราษฎร จังหวัดตาง ๆ อยางทั่วถึง ทรงกอตั้งมูลนิธิราชประชานุ เคราะห เพื่อชวยเหลือผูประสบภัย ทรงตั้งหนวยแพทย พระราชทาน มูลนิธิพัฒนาอนามัย มูลนิธิวิจัยประสาทวิทยา ฯลฯ ดานขนบธรรมเนียมประเพณี ทรงฟนฟูสืบทอด ประเพณีหลายอยางเพื่อเปนขวัญ เชน พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีถือน้ำพระพิพัฒนสัตยา เปน ตน ดานศาสนา ทรงออกผนวชตามพระราชประเพณี เมอื่ พ.ศ. ๒๔๙๕ ทรงอุปถมั ภการทำนุบำรุงศาสนาทุกดาน เชน การสรางวัด สรางพระพุทธรูป ประกอบพิธีทางศาสนา เชน การทอดกฐิน ผาปา และการบำเพ็ญกุศลตาง ๆ นอกจากน้ี ยังทรงเปนองคอุปถัมภทุก ๆ ศาสนาที่ประชาชนนับถือ ดานการเมืองการปกครอง เนื่องจากฐานะของ พระองคเปนพระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ จงึ ไมม บี ทบาทโดยตรงทางการเมือง แตในทางปฏิบัติทรงเปนประมุข ทรงเปนผูพระราชทานรัฐธรรมนญู ซึ่งเปนแบบอยางในการปกครอง ทรงเปนศูนยรวมทางจติ ใจของประชาชน เวลาที่ เกิดวิกฤตการณ หรือความไมมั่นใจในชาติ ดังเมื่อเกิดเหตุการณ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ ยามที่เดือดรอนที่สุด ประชาชนก็ไปขอรับพระราชทานความรมเย็นจากพระองค พระองคยังทรงเปนที่พึ่งทางใจของประชาชนชาวไทย เสมอมา ๔. ปจจัยท่ีมผี ลตอความมน่ั คงและความเจริญรุงเรอื งของไทยสมยั รัตนโกสินทร หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทรเปนราชธานีแลว พระองคไดทรงทำสงครามเพื่อสรางความมั่นคงใหแกราชอาณาจักร ทรงเรงฟนฟูพัฒนาชาติบานเมืองใหมีความ เจริญรุงเรืองดังเชนทีเคยรุงเรืองมาในสมัยอยุธยา ทำใหกรุงรัตนโกสินทรมีความมั่นคงและเจริญรุงเรืองมาตลอดเปน เวลายาวนานนับจากเริ่มสถาปนากรุงรัตนโกสินทรใน พ.ศ. ๒๓๒๕ จนกระทั่งปจจุบันเปนเวลากวา ๒๐๐ ป ปจจัยท่ี สง เสรมิ ใหสถาปนากรุงรัตนโกสินทรไดอยางมัน่ คงและเจรญิ รุงเรืองสืบเน่ืองมาจนถึงปจ จุบนั มีหลายประการดวยกันที่ สำคญั คือ ๑๙

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๑) มีที่ตั้งในทางยทุ ธศาสตรเหมาะสม ตำบลบางกอกซึ่งเปนทีต่ ั้งของกรุงรัตนโกสินทรมีลักษณะเปนแหลม มี แมน้ำเปนกำแพงเกือบครึ่งเมือง สวนดานตะวันออกของเมืองเปนที่ราบลุมทะเลตม น้ำทวมเปนเวลานานในฤดูน้ำ หลาก เปนดานปองกันขาศึกไดอ ยา งดกี ารกอสรางเมืองก็มีการสรางกำแพงเมืองลอมรอบอยางแข็งแรง มีปอมปราการ โดยรอบ นอกกำแพงเมืองมกี ารขุดคเู มืองเปนแนวปองกนั ขาศึก อกี ท้งั มบี รเิ วณโดยรอบพระนครเปน ทีร่ าบ ซึ่งสามารถ ขยายเมอื งออกไปไดเ รอ่ื ย ๆ ๒) เปนบริเวณมีความอดุ มสมบูรณเหมาะแกการเกษตร พน้ื ทที่ างฝงตะวันออกของแมน ้ำเจา พระยา มีดินและ นำ้ อดุ มสมบรู ณ สามารถทำการเพาะปลูกไดผลดี ทำใหเกษตรกรรมเจริญกาวหนา ๓) เปนศูนยกลางการคา กรุงรัตนโกสินทรมีที่ตั้งไมไกลจากปากแมน้ำ มีแมน้ำเจาพระยาไหลผานเมืองลงสู ทะเลอาวไทย ทำใหการติดตอคาขายกับตางประเทศมีความสะดวก รวมไปถึงทำเลที่ตั้งอยูในเสนทางการคาระหวาง จีนกับอินเดีย จึงเปนศูนยกลางการคาระหวางตะวันออกกับตะวันตก ซึ่งเปนศูนยกลางการคาทำใหไดรับวัฒนธรรม ใหม ๆ และนำมาปรับใชใ หเ หมาะสมกับอาณาจกั รได ๔) พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงพระปรีชา สามารถดานการทำสงครามมาตั้งแตสมัยธนบุรี ครั้นถึงสมัยรัตนโกสินทรเมื่อพมายกทัพหวังจะเขามาโจมตีเพื่อมิให ไทยตั้งตัวได พระองคและพระราชอนุชา คือ สมเด็จพระบวรราชเจา มหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ก็ทรงยกทัพออกไปปองกันนอกพระนครมิใหกองทพั ขาศกึ ยกเขา มาประชิดพระนครได ทำใหกรุงรัตนโกสินทรมีความ ม่ันคงเปนราชธานีของไทยมาจนกระท่ังปจจบุ ัน ๕) ประเทศเพื่อนบานมีปญหาภายใน และถูกคุกคามจากชาติตะวันตก ในสมัยรัตนโกสินทรต อนตน บางชวง ประเทศเพื่อนบานของเรามีปญ หาภายในจึงไมมีโอกาสยกทัพมารุกรานไทย ครั้นถงึ สมยั รชั กาลท่ี ๓ ประเทศตะวันตก เริ่มเขามารุกรานประทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประเทศเพื่อนบานตางๆจึงตองแกปญหาของตนเอง เปน ปจจัยหนึ่งที่ทำใหหลังจากปลายรัชกาลที่ ๓ เปนตนมาไทยก็มิตองทำสงครามกับประเทศเพื่อนบานอีกเลย สงผลให กรงุ รตั นโกสนิ ทรม คี วามเจรญิ รงุ เรอื งมาโดยตลอด ๕. พฒั นาการดา นการเมืองการปกครองสมยั รตั นโกสนิ ทรตั้งแตตอนตน จนถงึ กอ นเปลีย่ นแปลงการปกครอง ๕.๑ การเมืองการปกครองสมยั รัตนโกสนิ ทรต อนตน การปกครองสมัยรัตนโกสินทรตอนตนมีระเบียบแบบแผนตามแบบสมัยอยุธยา พระมหากษัตริยมีอำนาจ สูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศ แบงออกเปน ๓ สว น คอื ๕.๑.๑ การปกครองสวนกลาง มีอคั รมหาเสนาบดี ๒ ตำแหนง คือ ๑) สมหุ กลาโหม เปน หวั หนา ฝา ยทหาร รับผิดชอบกิจการดานการทหารท่ัวประเทศและปกครองหัว เมืองฝา ยใต ๒) สว นสมหุ นายก เปน หัวหนาฝา ยพลเรือน รบั ผดิ ชอบกิจการดานพลเรือนทั้งหมดและปกครองหัว เมอื งเหนอื สวนหวั เมืองชายทะเลดา นฝงตะวันออก พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงจัดให อยูในความดูแลของกรมทา นอกจากตำแหนงอัครมหาเสนาบดีทั้ง ๒ นี้แลว ยังมีเสนาบดีจตุสดมภ คือ ๒๐

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม เสนาบดีกรมเมืองหรือกรมเวียง เรียกวา “พระนครบาล” เสนาบดีกรมวัง เรียกวา “พระธรรมาธิกรณ” เสนาบดีกรมคลัง เรียกวา “พระโกษาธิบด”ี เสนาบดีกรมนา เรียกวา “พระเกษตราธิบดี” โดยอยูภายใตก าร ดูแลของสมุหนายก มีหนาที่และความรับผิดชอบในเรื่องตาง ๆ เหมือนครั้งสมัยอยุธยา เวนแตกรมคลังที่มี หนา ทีต่ ดิ ตอกับตา งประเทศ จตุสดมภ ทัง้ ๔ ประกอบดว ย - กรมเวียง (นครบาล) ปกครองดูแลประชาชนในเขตเมืองที่ตนรับผิดชอบปราบปรามโจรผูราย รักษาความสงบในเขตพระนคร - กรมวัง (ธรรมาธิกรณ) ดูแลความเรียบรอยและกิจการเกีย่ วกับพระราชสำนัก พิจารณาคดีตาง ๆ ทม่ี ีฎกี าขึ้นสอู งคพระมหากษตั รยิ  - กรมคลัง (โกษาธิบดี) ดูแลรายไดสวนพระราชาทรัพยและรายไดแผนดิน เชน เก็บสวยภาษีอากร คาธรรมเนยี มตา ง ๆ - กรมนา (เกษตราธิการ) จัดทำนาหลวง ดูแลการทำไรนาของราษฎร จัดเก็บภาษีเปนขาว เรียกวา เก็บหางขาวไวใ ชใ นยามศึกสงคราม ๕.๑.๒ การปกครองสว นภมู ิภาค แบงเขตการปกครองออกเปน หวั เมอื ง ๓ ประเภท ไดแก ๑) หัวเมืองชั้นใน เมืองที่อยูรายรอบราชธานี จัดเปนเมืองจัตวา มีหัวหนาปกครอง เรียกวา ผูรั้ง เมือง หรอื จา เมอื ง ๒) หวั เมอื งชน้ั นอก เมืองพระยามหานคร ไดแ ก เมืองซ่งึ อยหู างจากราชธานีออกไป คอื หัวเมืองช้ัน เอก ชั้นโท ชั้นตรี ซึ่งอยูภายใตการปกครองของเมืองหลวง พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งพระราชวงศ หรือขุนนางชั้น ผใู หญไ ปเปน เจาเมอื งปกครอง ๕.๑.๓ หัวเมืองประเทศราช เปน เมืองชายแดนของตางชาติตางภาษา มีฐานะ เปนเมืองประเทศราช อาทิเชน ญวน เขมร เวียงจนั ทน หลวงพระบาง เปน ตน สำหรับเจา เมืองนั้นไดรับ การแตงตั้งจากเมืองหลวง เรียกวา เจาประเทศราช ซึ่งอาจแตงตั้งไปจาก เมืองหลวง หรือเชื้อพระวงศในหัวเมืองนั้น ๆ โดยใหสิทธิในการจัดการปกครองภายในแก เจาประเทศราช ยกเวนหากเกิดความไมสงบภายในทางเมืองหลวงอาจเขาแทรกได และตองสงเครื่องราชบรรณาการ ใหเมืองหลวง ๓ ปตอ ๑ ครั้ง หรือถาเปนเมืองท่ีอยูใกลราชธานี เชน อุบลราชธานี เขมร ไทยบุรี เชียงใหม หลวงพระ บาง ตองสงปละครั้ง และเมื่อเกิดศึกสงคราม เมืองประเทศราชเหลานี้ตองสงทหารมาชวยรบทันที หรือในยามปกติ อาจเกณฑชาวเมืองประเทศราชมาชว ยใหแ รงงานในการปรับปรุงประเทศ ๕.๑.๓ การปกครองสวนทองถิ่น แบงออกเปนบาน ตำบล และแขวง ตามลำดับ ซึ่งอาจเทียบไดก ับ หมูบาน ตำบล และอำเภอ ในปจ จุบนั ๒๑

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม กฎหมายและการศาล รากฐานกฎหมายของไทยที่ใชกันใน สมัยรัตนโกสินทร ไดมาจากคัมภีรพระ ธรรมศาสตร หรือคัมภีรธรรมสัตถัมของอินเดีย ซึ่งไทยไดรับมาจากมอญอีกตอหนึ่ง นำมาเปน รากฐานกฎหมายของสโุ ขทยั และอยธุ ยา ๒๒

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม นอกจากนี้ ยังมีพระราชศาสตร ซึ่งเปนพระบรมราชโองการและพระบรมราชวินิจฉัยของพระมหากษัตริยใช สำหรบั ตัดสินคดคี วามตาง ๆ กฎหมายท่ีพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา จุฬาโลกมหาราชโปรดเกลาฯ ป พ.ศ. ๒๓๔๗ เรยี กวา “กฎหมายตราสามดวง” หรอื เรียกอีกอยา งหนึ่งวา “ประมวลกฎหมายรัชกาลท่ี ๑” ดังนี้ ๑. ตราคชสีห เปนตราประจำตำแหนง สมหุ กลาโหม ปกครองดูแลหัวเมืองภาคใต ๒. ตราราชสหี  เปน ตราประจำตำแหนง สมุหนายก ปกครองดแู ลหัวเมอื งทางภาคเหนือและภาคอสี าน ๓. ตราบวั แกว เปนตราประจำตำแหนง พระยาพระคลัง ปกครองดูแลหวั เมืองชายทะเลภาคตะวันออก การศาล ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน ไดแก ศาลหลวง ศาลอาญา ศาลนครบาล ศาลกรมวัง ศาลกรมนา ฯลฯ เมื่อเกิดคดีฟองรองในเรื่องที่เกี่ยวกับกรมใด ก็ใหศาลกรมนั้นพิจารณาตัดสินคดี ตุลาการของกรมจะดำเนินการ สอบสวนคดี จากน้ันสง สำนวนไปยังฝา ยพราหมณซ ึง่ เปนผูเ ชยี่ วชาญทางกฎหมาย เรียกวา ลูกขุน ณ ศาลหลวง จะเปน ผูชี้ขาดวาใครผิด สวนการลงโทษคงใชระบบจารีตนครบาล ไดแก การเฆี่ยน ตอกเล็บ บีบขมับ การพิสูจนคดียังคงใช วธิ ีการดำนำ้ พิสูจน ลยุ ไฟพิสจู น และถา ไมพ อใจคำตัดสินสามารถฎีกาไดโ ดยไปตีกลองวนิ ิจฉัยเภรี ซ่ึงผูรองทุกขตองถูก เฆี่ยน ๓๐ ที เพื่อพิสูจนวาเรื่องที่ฎีกานี้เปนจริง ตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ จึงโปรดฯ ใหเลิกประเพณีเฆี่ยนแลวใหรอง ทกุ ขโ ดยตรงตอ พระองคเอง การถวายฎีกา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวจึงมีพระราชดำริวา ความทุกขรอนของราษฎรที่จะรอง ถวายฎีกาไดก็ตอเมื่อเวลาเสด็จออก แตถาใหตีกลองรองฎกี าไดทุกวัน ก็จะสามารถบรรเทาทุกขข องราษฎรได และได พระราชทานนามกลองนี้วา “วินจิ ฉัยเภรี” ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหต้ังกลองวินจิ ฉยั เภรีท่ีทิมดาบกรมวัง แลวทำ กุญแจปดลั่นไว เวลามีผูตองการจะถวายฎีกา เจาหนาที่กรมวังกจ็ ะไปไขกุญแจให เมื่อผูถวายฎกี าตีกลองแลว ตำรวจ เวรกไ็ ปรับเอาตวั มา และนำความข้ึนกราบบังคมทลู ใหท ราบฝาละอองธลุ ีพระบาท ถามพี ระราชโองการสงั่ ใหผูใดชำระ พนกั งานเจาหนาทกี่ จ็ ัดสงฎีกาที่ราษฎรรอ งทุกข ไปตามพระราชโองการทกุ ครงั้ ไป จารีตนครบาล จารีตนครบาล คือ การลงทัณฑเพื่อผดุงความยุติธรรม ในระหวางการพิจารณาของตระลาการ ตระลาการมี อำนาจลงทัณฑเฆี่ยน ตี ตอกเล็บ บีบขมับหรือทรมานจำเลยดวยวิธีตาง ๆ จนกวาจำเลยจะรบั สารภาพ ถาตระลาการ เช่อื วาจำเลยยงั สารภาพไมหมดเปลือกหรือเชื่อวา จำเลยไมย อมซัดทอดผรู ว มกระทำผิด กม็ อี ำนาจที่จะลงโทษลงทัณฑ จำเลยตอไปอกี แมว า จำเลยจะรบั สารภาพวา ตนเปน ผกู ระทำผดิ แลว จารีตนครบาลมที ง้ั ผลดีและผลเสีย ผลดี เพราะผูรายมักจะยอมสารภาพความผิดและซัดทอดพรรคพวกที่รวมกระทำผิด และทำใหราษฎรกลัว เกรงกฎหมายของบา นเมืองผดิ กับกฎหมายจารตี นครบาลมี ผลเสีย ในขอที่อาจพลาดได จำเลยบางคนอาจเปนผูบริสุทธิ์ แตทนการทรมานไมได ก็ตองสารภาพเลยถูก จำคุกจนตายหรือถกู ประหารชวี ิต นอกจากนยี้ ังเปน ชองทางใหพ วกเจา หนาท่ศี าล ทำการทจุ ริตรีดไถจำเลยอีกดว ย ๒๓

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๕.๒ การเมอื งการปกครองสมยั รัตนโกสนิ ทรยุคปฏิรปู บา นเมอื ง ๕.๒.๑ พฒั นาการดา นการเมอื งการปกครองในสมยั รชั กาลที่ ๔ รัชกาลที่ ๔ ทรงมีโอกาสไดศึกษาความรูใ นวทิ ยาการสมัยใหมของประเทศตะวันตก ตั้งแตในครั้งที่ทรงผนวช เปนพระภิกษุ โดยเฉพาะการศึกษาภาษาละติน และภาษาอังกฤษ อีกทั้งมีโอกาสไดคุนเคยกับพอคาชาวตะวันตก จึง ทำใหทรงทราบสถานการณข องโลกในขณะนนั้ เปน อยา งดี แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยหู ัว เกยี่ วกบั สถานการณของโลกในขณะนั้น สรุปได ๒ ประการ คอื ๑) ความเจริญกาวหนาในความรูและวิทยาการของโลกตะวันตก เปนสิ่งที่มีประโยชนสำหรับบานเมือง จึง สมควรทคี่ นไทยจะไดเ รียนรไู ว ๒) การเผชญิ หนา กับภัยจากลัทธิจักรวรรดนิ ิยม ประเทศมหาอำนาจตะวนั ตกกำลงั แผขยายอิทธิพลเขารุกราน ในอนิ เดยี จีน และพมา สมควรท่ีไทยตองเรงรบี ปรับปรงุ ประเทศใหเ ขมแข็งและเจริญกาวหนา เพื่อปองกันมิใหถูกบีบ บงั คบั หรือขม เหงเหมือนประเทศอื่น ๆ นโยบายของไทยทมี่ ีตอการลา อาณานคิ ม ลัทธิจักรวรรดินิยม คือ การลาอาณานิคมของชาติตะวันตก มักจะเริ่มตนดวยการติดตอเขามาคาขายกอน ตอมาจึงอางความไมเปนธรรมที่ไดรับ หรือความลาหลังดอยพัฒนาความเจริญของประเทศนั้นๆ และใชกำลังเขา ควบคุมหรอื ยึดครองเปน อาณานคิ มในทส่ี ดุ การใชก ำลังเขา ตอ สมู ีแตจ ะตกเปน ฝายเสยี เปรียบมากย่ิงขึน้ ดงั นั้น รชั กาล ที่ ๔ และรัชกาลท่ี ๕ จงึ ทรงใชพ ระบรมราโชบายเพอื่ ความอยูร อดของประเทศชาติ ดังน้ี ๑) การผอนหนักเปน เบา ๒) การปฏิรปู บา นเมืองใหทนั สมัย ๓) การผกู มติ รกับประเทศมหาอำนาจในยโุ รป การผอนหนกั เปน เบา ๑) ยอมทำสนธิสญั ญาเสียเปรียบ คือ สนธิสัญญาเบารงิ ทำกบั ประเทศอังกฤษในสมัย รชั กาลที่ 4 แมจะทรง ทราบดีวาเสียเปรยี บ แตก็พยายามใหเ สยี เปรียบใหน อ ยท่ีสดุ ๒) การยอมเสยี ดินแดน รชั กาลท่ี ๔ และรัชกาลท่ี ๕ ทรงทราบดถี งึ วธิ กี ารเขา ครอบครองดินแดนไวเ ปนอาณา นิคมของชาวตะวันตก เชน ขั้นแรกจะเนนเขามาคาขายหรือเผยแพรศาสนากอนแลวภายหลังก็จะอางถึงขอขัดแยง หรือขอสิทธิพิเศษ (เชน ขอเชาเมือง แทรกแซงกิจการภายในประเทศ) ขั้นตอไปก็จะสงกำลังทหารเขายึด อางวาเพ่ือ คุมครองคนของตนใหปลอดภัยหรือเพื่อเปนหลักประกันใหปฏิบัติตามสัญญา ขั้นสุดทายก็ใชกำลังเขายึดเพื่อเอาเปน ดนิ แดนอาณานคิ ม โดยอา งขอ พิพาทตาง ๆ (กรณอี ังกฤษยึดพมา ) ดวยพระปรีชาสามารถในการหยัง่ รคู วามคดิ นี้ ทำให พระองคสามารถประคับประครองใหช าติไทยพนจากการถูกยึดครองของชาวตะวันตก ซึ่งเปนประเทศเดียวในภูมิภาค เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต โดยการเสียสละดนิ แดนสว นนอยเพื่อรักษาดินแดนสว นใหญของชาติเอาไว (ถอื เปนมาตรการ สุดทายทจี่ ะทำเพ่อื รักษาเอกราชเอาไว) ๒๔

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม นโยบายผอ นหนกั เปน เบา ๑. สนธิสัญญาเบาริง สนธิสัญญาเบาริงเปนสนธิสัญญาที่ไทยเสียเปรียบในทุก ๆ ดาน ในบรรดาความ เสียเปรยี บเหลา นั้นมคี วามเสยี เปรียบทย่ี ิ่งใหญ ๒ ประการ ๑) ทำใหไทยตองเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตใหแกคนอังกฤษและคนในบังคับอังกฤษ สิทธิสภาพ นอกอาณาเขต คือ สิทธิที่ไมต องขึน้ ศาลไทย เมื่อคนอังกฤษหรือคนในบังคับองั กฤษ (ประเทศอาณานิคมของ อังกฤษ) หรือคนชาติใด ๆ ที่ขอจดทะเบียนเปนคนในบังคับอังกฤษ ทำความผิดหรือมีคดีกับคนไทย ใน ประเทศไทย ใหไปขึน้ ศาลกงสลุ องั กฤษ โดยอา งวา กฎหมายของไทยปาเถ่ือนและลาหลงั ๒) ทำใหอ งั กฤษเปนชาตอิ ภสิ ทิ ธ์ิ คอื อังกฤษเปน ชาติที่มีสทิ ธิพิเศษ ไมวาไทยจะทำสัญญากบั ประเทศ อืน่ ใดภายหลังการทำสนธสิ ญั ญาเบาริง กใ็ หถอื วา องั กฤษมีสิทธิเชน เดยี วกบั ชาตนิ ้ันๆ โดยอตั โนมัติ ๒. การยอมเสียดินแดนการเสียดินแดนของไทย เปน การเสยี ใหแ กชาตติ ะวันตกเพียง ๒ ชาติ คอื ฝร่ังเศสและ อังกฤษ รวมท้งั สนิ้ ๖ คร้ัง สว นใหญเปน การเสียใหแกฝ รั่งเศส คร้ังแรกเสยี ไปในตอนปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ หลังจากนั้นเปนการเสียดินแดนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทั้งสิ้นการเสียดินแดนเปนมาตรการขั้นสุดทายในการรักษาเอกราชของชาติ การที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ ทรงเรงปรับปรุงชาติบานเมืองใหเจริญทัดเทียมนานา อารยประเทศ และการเสด็จประพาสยุโรปเพื่อผูกมิตรกับชาติมหาอำนาจในยุโรปถึง ๒ ครั้งของพระองค เปนเครื่อง ยืนยันพระราชวิริยะอุตสาหะของพระองคที่จะรักษาเอกราชของชาติไว ทุกครั้งที่ทรงยินยอมเสียดินแดนไปนั้นลวน แลวแตเ ปน กรณีทไ่ี มอาจหลกี เล่ยี งไดท งั้ สนิ้ สาเหตุการปรบั ปรุงการปกครองสมยั รัชกาลท่ี ๔ ๑. ทรงไดร บั แนวคิดจากชาวตะวันตก ซงึ่ พระองคไ ดสัมผสั และทรงคนุ เคยตงั้ แตคร้งั ยังผนวชอยู ๒. เพื่อใหเกิดความเจริญกาวหนา และเปนพื้นฐานที่จะไดมีการเปลี่ยนแปลงในโอกาสตอไป เพื่อรักษาเอก ราชของประเทศชาติใหพื้นจากการครอบครองของประเทศตะวันตกที่กำลังขยายอิทธิพลเขามาในประเทศไทยใน ขณะนน้ั การปรบั ปรุงการปกครองในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ๑. ออกประกาศตาง ๆ เรียกวา ประกาศรัชกาลที่ ๔ เพื่อใหประชาชนไดรับขาวสาร ระเบียบแบบแผนการ ปฏิบตั ขิ องผคู นในสังคมอยางถกู ตอ ง ๒. ปรับปรุงกฎหมาย ทรงตราพระราชกำหนดกฎหมายใหม และออกประกาศขอบังคับตาง ๆ ถือวาเปน กฎหมายเชนเดยี วกนั รวมท้ังหมดประมาณ ๕๐๐ ฉบบั ๓. โปรดใหจัดตั้งโรงพิมพหลวงขึ้นในพระบรมหาราชวัง มีช่ือเรียกวา “โรงอักษรพิมพการ” เพื่อใชพิมพ ประกาศและกฎหมายตาง ๆ เปนหนังสอื แถลงขา วของทางราชการ เรยี กวา ราชกจิ จานเุ บกษา ๔. ใหราษฎรมีโอกาสไดถวายฎีการองทุกขไดสะดวก พระองคทรงเปลี่ยนแปลงระเบียบวิธีการรองทุกข โดย พระองคจะเสด็จออกมารับฎีการองทุกขดวยพระองคเองทุกวันโกณ ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรย เดือนละ ๔ ครั้ง และ โปรดเกลาฯ ใหต ุลาการ ชำระความใหเสรจ็ โดยเรว็ ทำใหร าษฎรไดร ับความยตุ ิธรรมมากขนึ้ กวาแตกอน ๒๕

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๕. ทรงประกาศใหเจานายและขา ราชการทำการเลอื กตั้งตำแหนง พระมหาราชครปู ุโรหติ าจารย และตำแหนง พระมหาราชครูมหิธร อันเปนตำแหนงที่วางลง แทนที่พระองคจะทรงแตงตั้งดวยพระราชอำนาจของพระองคเอง นับเปน กา วใหมของการเลอื กตง้ั ขาราชการบางตำแหนง ๖. การปรับปรุงระบบการศาล ทรงเปลี่ยนแปลงประเพณีบางอยางเกี่ยวกับระบบการศาล ไดแก ทรงยกเลิก การพจิ ารณาคดีแบบจารีตนครบาล เริ่มมกี ารจัดตง้ั ศาลกงสลุ เปน คร้ังแรก ๗. ทรงเปลี่ยนแปลงพระราชพิธีการถือน้ำพระพิพัฒนสัตยา โดยพระองคทรงเสวยน้ำพระพิพัฒนสัตยา รวมกับขุนนางขาราชการ และทรงปฏิญาณนความซื่อสัตยของพระองคตอขาราชการทั้งปวงดวย ซึ่งแตเดิมขุนนาง ขา ราชการจะเปน ผูถวายสตั ยป ฏญิ าณแตเพยี งฝา ยเดียว นับวา พระองคท รงมคี วามคิดท่ที ันสมัยมาก ๘. ทรงริเร่ิมการจดั กองทหารแบบตะวันตก ๙. ทรงเปลย่ี นแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีไทยทล่ี าสมยั เชน ใหขนุ นางสวมเส้อื เมอ่ื เขา เฝา เปนตน ๑๐. การปกครองยังคงตำแหนงอัครมหาเสนาบดี และจตุสดมภไว แตทรงปรับปรุงการปฏิบัติงานของกรม กองตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพแบบตะวันตก ดวยวิธีวาจางชาวตะวันตกทั้งยุโรปและสหรัฐอเมรกิ าเขามารับราชการใน กรมกองนน้ั ๆ ในฐานะท่ปี รึกษาใหคำแนะนำและแนวคดิ ใหม ๆ แกข ุนนางโดยเฉพาะกิจการตำรวจไทย ดานกฎหมาย ดานการแพทย เปนตน ๑๑. ทรงมีพระสหายชาวตางชาติหลายชาติหลายภาษา ไดถายทอดความรูดานตาง ๆ ทั้งนักการทูต เชน เซอร จอหน เบาวรงิ นกั สอนศาสนา ดร.แบรดลยี  เปน ตน ๕.๒.๒ พฒั นาการดา นการเมอื งการปกครองในสมยั รชั กาลที่ ๕ สาเหตุสำคัญในการปฏริ ูปการปกครองในสมยั รัชกาลที่ ๕ ๑. ปรับปรงุ ประเทศใหเจริญกาวหนา เพอ่ื ปอ งกนั การคุกคามของประเทศมหาอำนาจตะวนั ตก ๒. การปกครองแบบเกา อำนาจการปกครองบานเมืองตกอยูกับขุนนาง ถาปฏิรูปการปกครองใหม จะทำให สถาบนั พระมหากษัตริยมีพระราชอำนาจอยางแทจรงิ การปฏิรปู การปกครองในสมัยรัชกาลท่ี ๕ แบงเปน ๒ ระยะ ดงั นี้ ๑. การปรับปรุงการปกครองตอนตนรชั กาล (พ.ศ. ๒๔๑๑ - ๒๔๓๐) ๑) จัดตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผนดิน (Council of State) มีหนาที่ ถวายคำปรึกษาในเรื่อง เกีย่ วกับราชการแผน ดินโดยทวั่ ไป พจิ ารณารา งกฎหมายตา ง ๆ ๒) องคมนตรีสภา (สภาที่ปรึกษาสวนพระองค) (Privy Council) มีนาที่ถวายคำปรึกษาขอราชการ และเสนอความคดิ เหน็ ตาง ๆ และมหี นาท่ชี ว ยปฏิบตั ิราชการ ตามแตจ ะมพี ระบรมราชโองการ ภายหลังทั้ง ๒ สภาถูกยกเลิกไป เพราะขุนนางไมพอใจ คิดวากษัตริยจะลมลางระบบขุนนาง จึงเกิดการ ตอตา น เรียกวา “วกิ ฤติการณว ังหนา ” เมอ่ื ปลายป ๒๔๑๗ ๒๖

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๒. การปฏริ ปู การปกครองในชวงหลัง (พ.ศ. ๒๔๓๐ - ๒๔๕๓) ทรงเริ่มการปฏิรปู การปกครองแผนใหมตามแบบตะวันตก ซึ่งปฏิรูปการปกครองสวนกลาง โดยพระองคทรง ยกเลิกจตุสดมภ และใชการบริหารงานแบบกระทรวง คือจัดรวมกรมตาง ๆ ที่มีลักษณะงานคลาย ๆ กันมาเปนกรม ขนาดใหญ ๑๒ กรม ตอมาเปลี่ยนเปน กระทรวง อยูในความดแู ลของเสนาบดี มี ๑๒ กระทรวง ไดแก ๑) กระทรวงมหาดไทย มหี นาทบี่ ังคบั บญั ชาหัวเมอื งฝายเหนอื รวมทงั้ เมืองประเทศราชทางเหนอื ๒) กระทรวงกลาโหม มหี นาทบี่ ังคับบญั ชาหวั เมืองฝายใตรวมท้งั เมอื งประเทศราชทางใต ๓) กระทรวงการตา งประเทศ มหี นา ทจ่ี ัดการเกี่ยวกบั เรอ่ื งการตา งประเทศ ๔) กระทรวงวัง มีหนาที่จัดการเกี่ยวกับเรื่องในราชสำนักและพระราชพิธีตาง ๆ ตลอดจนพิจารณาคดีแทน พระมหากษัตริย ๕) กระทรวงเมอื ง มีหนา ที่จัดการเกีย่ วกบั ความปลอดภยั ในพระนคร ดแู ลรกั ษาบัญชีคนดแู ลเก่ียวกับคกุ ดแู ล กิจการตำรวจ (ภายหลังเปลยี่ นเปนกระทรวงนครบาล) ๖) กระทรวงเกษตราธิการ มีหนาที่จัดการเรื่องการเพาะปลูก การปาไม เหมืองแร การคาขาย และการขุด คลอง รวมทงั้ โฉนดท่ีดนิ ทเ่ี ร่ิมมีข้ึนต้งั แตรัชกาลที่ ๕ ๗) กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ มีหนาที่จัดการเกี่ยวกับเรื่องภาษีอากร รายรับ - รายจายของแผนดิน ตลอดจนรักษาทรพั ยส มบัติของแผน ดนิ ๘) กระทรวงยทุ ธนาธกิ าร มหี นา ท่ีดูแลจดั การเร่ืองการทหาร ทั้งทหารบก และทหารเรอื ๙) กระทรวงธรรมการ มีหนาทจ่ี ดั การเก่ยี วกบั การศาสนา การศกึ ษา การพยาบาล และพิพธิ ภณั ฑ ๑๐) กระทรวงโยธาธกิ าร มีหนา ท่จี ดั การเร่อื งการกอสรา งตาง ๆ ตลอดจนการไปรษณียโทรเลขและการรถไฟ ๑๑) กระทรวงยุตธิ รรม มีหนาที่ในการพิจารณาพิพากษาคดี โดยรวมการพิจารณาพิพากษาคดี ที่กระจายอยู ตามกระทรวงตา ง ๆ เขา ดว ยกนั ๑๒) กระทรวงมุรธาธิการ มีหนาที่ดูแลรักษาพระราชลัญจกร ตลอดจนพระราชกำหนดกฎหมายและหนังสือ ราชการตา ง ๆ เกีย่ วกับพระมหากษตั ริย ภายหลังไดยุบกระทรวงยุทธนาธิการไปรวมกับกระทรวงกลาโหม และยุบกระทรวงมุรธาธิการ ไปรวมกับ กระทรวงวงั คงเหลือเพยี ง ๑๐ กระทรวง เสนาบดที กุ กระทรวงมีฐานะเทา เทียมกนั และประชุมรวมกนั เปน “เสนาบดี สภา” ทำหนาที่ปรึกษาและชวยบริหารราชการแผนดินตามที่พระมหากษัตริยทรงมอบหมาย เพราะอำนาจสูงสุด เดด็ ขาดเปนของพระมหากษัตรยิ ต ามระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชย และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวยัง ทรงแตงตั้งสภาที่ปรกึ ษาในพระองค ซึ่งตอมาไดเปลีย่ นเปน “รัฐมนตรีสภา” ประกอบดวยเสนาบดี หรือผูแทนกับผูที่ โปรดเกลา ฯ แตง ตัง้ รวมกนั ไมนอยกวา ๑๒ คน จดุ ประสงคเพ่อื เปนท่ีปรึกษาและคอยทัดทานอำนาจพระมหากษตั รยิ  นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ยังทรงแตงตั้งองคมนตรีสภาขึ้นอีก ประกอบขึ้นดวย สมาชิกเมื่อแรกตั้งถึง ๔๙ คน มีทั้งสามัญชน ตั้งแตชนชั้นหลวง ถึงเจาพระยาและพระราชวงศ องคมนตรีสภานี้อยูใน ฐานะรองจากรัฐมนตรีสภา เพราะขอความที่ปรึกษา และตกลงกันในองคมนตรีสภาแลว จะตองนำเขาที่ประชุมรัฐ มนตรีสภาแลวจึงจะเสนาเสนาบดกี ระทรวงตาง ๆ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ดำรงตำแหนงเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยยาวนาน มาก (๒๓ ป) มีบทบาทสำคัญในการวางรากฐานการบริหารงานในกระทรวงมหาดไทยมคี วามรูท างดานประวัติศาสตร ๒๗

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม และโบราณคดี มีผลงานดานการปกครองที่สำคัญ คือ การจัดตั้งมณฑล ๑๘ มณฑล จังหวัด ๗๑ จังหวัด อันเปน รากฐานสำคัญในการปกครองและบริหารทองที่ในปจจุบัน จนไดรับการยกยองวาเปน “พระบิดาแหงประวัติศาสตร ไทย” การปกครองสว นภมู ิภาค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดำริใหยกเลิกการปกครองหัวเมือง และให เปล่ยี นแปลงเปน การปกครองสว นภูมภิ าคโดยโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัตลิ กั ษณะปกครองทองที่ ร.ศ.๑๑๖ ข้ึน เพ่ือจัดการปกครองเปนมณฑล เมอื ง อำเภอ ตำบล และหมูบา น ดังนี้ ๑. มณฑลเทศาภิบาล ประกอบดวยเมืองตั้งแต ๒ เมืองขึ้นไป มีสมุหเทศาภิบาล ที่พระมหากษัตริยทรง แตงตั้งไปปกครองดแู ลตา งพระเนตรพระกรรณ ๒. เมอื ง ประกอบดว ยอำเภอหลายอำเภอ มผี ูว าราชการเมอื งเปนผูรับผดิ ชอบ ข้นึ ตรงตอ ขาหลวงเทศาภิบาล ๓. อำเภอ ประกอบดวยทองทีห่ ลาย ๆ ตำบล มนี ายอำเภอเปน ผรู ับผิดชอบ ๔. ตำบล ประกอบดวยทอ งท่ี ๑๐ - ๒๐ หมูบาน มีกำนันซึง่ เลอื กตงั้ มาจากผูใหญบานเปน ผรู ับผดิ ชอบ ๕. หมูบาน ประกอบดวยบานเรือนประมาณ ๑๐ บานขึ้นไป มีราษฎรอาศัยประมาณ ๑๐๐ คน เปนหนวย ปกครองทีเ่ ล็กทีส่ ุด มีผใู หญบา นเปนผูรบั ผิดชอบ ตอมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดยกเลิกมณฑลเทศาภิบาล และเปลี่ยน เมือง เปน จงั หวดั การปกครองทอ งถิน่ ๑) พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยูหวั ทรงจัดใหมกี ารบริหาราชการสวนทอ งถิ่นในรูปสุขาภิบาล ซึ่งมี หนาที่คลายเทศบาลในปจจุบันเปนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๐ โดยโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติสุขาภิบาล กรุงเทพฯ ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐) ข้ึนบังคบั ใชใ นกรงุ เทพฯ ตอมาไดขยายไปทท่ี า ฉลอม ปรากฏวา ดำเนนิ การไดผลดี เปนอยา งมาก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั จงึ โปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบญั ญตั ิสุขาภิบาล พ.ศ. ๒๔๔๘ ขึ้น โดยแบงสุขาภิบาลออกเปน ๒ ประเภท คือ สุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตำบล ทองถิ่นใดเหมาะสมที่จะจัดตั้ง สุขาภบิ าลใดก็ใหป ระกาศต้งั สขุ าภบิ าลในทองถ่ินนน้ั ๒) ทรงรเิ ร่มิ ใหส ิทธิแกราษฎรในการเลือกผูปกครองตนเองเปนครั้งแรก โปรดเกลาฯ ใหมกี ารทดลองเลือกตั้ง “ผูใหญบาน” ที่บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แทนการแตงตั้งโดยเจาเมือง ตอมาใน พ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงออก พระราชบัญญัตกิ ารปกครองทองท่ี ร.ศ.๑๑๖ กำหนดการเลอื กตง้ั ผใู หญบา น กำนนั โดยอาศัยเสยี งขา งมากของราษฎร แมวาการปกครองในสมัยรัตนโกสินทรจ ะเปนแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย แตพระราชกรณียกิจบางประการ ของพระมหากษตั ริยก็ถือไดวา เปนการปูพ้ืนฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย โดยเฉพาะในสมยั พระบาสมเด็จพระ จลุ จอมเกลาเจา อยหู ัวไดท รงดำเนินการดงั ตอไปน้ี ๑) การเลิกทาส พระบาสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงประกาศเลิกทาส เมื่อ 1๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๗ นโยบายการเลิกทาสของพระองคนั้นเพื่อใหประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคทัดเทียมกันอันเปน หลกั การสำคัญของระบอบประชาธปิ ไตย ๒๘

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม ๒) สนับสนุนการศึกษา ทรงจัดตั้งโรงเรียนเพื่อสนับสนุนใหคนไทยไดมีโอกาสเลาเรียนศึกษา หาความรู ต้ัง ทุนพระราชทาน สงผูมีความสามารถไปศึกษาตอ ตางประเทศ จากการสนับสนนุ การศกึ ษาอยางกวางขวางน้ี นับไดวา เปนรากฐานของการเปล่ยี นแปลงแนวความคดิ ในการปกครองประเทศสรู ะบอบประชาธปิ ไตย ๓) การปฏิรูปการทหารเปนแบบสมัยใหม โดยการยกเลิกระบบไพร และใชวิธีเกณฑชายฉกรรจเขารับ ราชการทหาร ซ่ึงทางราชการจดั หาเครื่องแบบอาวุธและใหเงินเดอื น การปฏริ ูปกฎหมายและการศาลของรัชกาลท่ี ๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ เปน ระยะเวลาท่ีชาวตะวนั ตกเขา มามีอทิ ธิพลในประเทศไทย แมจะมกี ารออกประกาศและ ตรากฎหมายตา ง ๆ ขนึ้ มาใชบ งั คับราษฎร แตย ังมีกฎหมายวิธีพจิ ารณาคดี ทเี่ รียกวา จารีตนครบาล คือ การพิจารณา คดีที่ถือวา ผูใดถูกกลาวหา ผูนั้นตองหาพยานหลักฐานมาแสดงใหเห็นไดวาตนบริสุทธิ์ และมีการทำทารุณกรรม เพื่อใหผูตอ งหารับสารภาพวา ทำผิด เชน การตอกเล็บ บีบขมับ จนกวาจะรับสารภาพ ซึ่งชาวตะวันตกเห็นวาเปนการ กระทำทปี่ าเถื่อน ไรอารยธรรม จงึ ไมย อมใหใชกบั คนในบังคบั ของตนเปน เหตุใหไทยตองเสยี สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต (สิทธิทางการศาล) โดยไทยตองยอมใหตางประเทศตั้งศาลกงสุลชำระคดีความที่คนของตนและคนในบังคับตนทำ ความผดิ ในประเทศไทย ซงึ่ เทากับทำใหไทยเสียเอกราชทางการศาล รชั กาลที่ ๕ จึงทรงพยายามดำเนนิ การแกไ ขปญ หาตาง ๆ ขน้ึ ไดแ ก ๑. จดั ตั้งกระทรวงยุตธิ รรม พ.ศ. ๒๔๓๔ ๒. จัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมาย (ภายหลังไดรับการยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร)โดย พระเจาบรม วงศเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระนามเดิมคือ พระองคเจารพีพัฒนศักดิ์ พระโอรสของรัชกาลที่ ๕ หลังจาก ๒๙

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม สำเร็จวิชากฎหมาย จากมหาวิทยาลัยออกฟอรด ประเทศอังกฤษ ก็กลับมารับราชการเปนเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และดำเนินการจัดตั้งโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้น และทรงดำเนินการสอนเอง ภายหลังไดรับการยกยอง วาเปน “พระ บดิ าแหงกฎหมายและการศาลไทย” ๓. ตั้งคณะกรรมการตรวจชำระและรางกฎหมายลักษณะอาญา ประกาศใชในพ.ศ. ๒๔๕๑ จัดเปนกฎหมาย แบบใหมแ ละทนั สมยั ทีส่ ุดฉบับแรกของไทย ๔. ยกเลิกกฎหมายตราสามดวง และประกาศใชกฎหมายอีกหลายฉบับ เชน พระราชบัญญัติปกครองทองที่ ร.ศ. ๑๑๖ พระราชบัญญัตกิ รรมสทิ ธ์ผิ ูแ ตงหนังสอื ร.ศ. ๑๒๐ กฎหมายวาดวยการเลิกทาส พ.ศ. ๒๔๔๘ ฯลฯ ๕. มีการปฏิรปู ภาษากฎหมายไทยใหรดั กุมและชดั เจนและเหมาะสมยงิ่ ข้นึ ๖. ปรับปรุงรวบรวมปรับปรุงศาล เพื่อใหทำหนาที่ไดดียิ่งขึ้น ตราพระธรรมนูญศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๔๕๑ ใหม ีศาลฎีกา ศาลสถติ ยตุ ธิ รรมกรุงเทพฯ และศาลหัวเมือง ๗. ในพ.ศ. ๒๔๕๕ มกี ารจดั ระบบศาลใหม ใหม ศี าลในกระทรวงยุติธรรม ๒ แผนก คือ ๑) ศาลยุติธรรมกรุงเทพฯ ไดแก ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ ศาลพระราชอาญา ศาลแพง ศาล ตางประเทศ ศาลโปรีสภา ๒) ศาลหวั เมือง ไดแ ก ศาลมณฑล ศาลเมือง และศาลแขวง การปฏิรูปกฎหมายและการศาลของไทยนอกจากจะเปนผลงานของพระบรมวงศานุวงศและขาราชการไทย แลว ยังไดวาจา งนกั กฎหมายชาวญี่ปุน และชาวยุโรป มาชว ยดว ย ผลของการปฏริ ปู การปกครองของรชั กาลท่ี ๕ ๑. กอใหเกิดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันภายในราชอาณาจักร ซึ่งเปนผลสืบเนื่องมาจากการปกครองสวน ภูมิภาคในรปู มณฑลเทศาภิบาล โดยมศี นู ยร วมอยูท่ีกรงุ เทพมหานคร ๒. รัฐบาลไทยทีก่ รุงเทพฯ สามารถขยายอำนาจเขาควบคุมพน้ื ทภี่ ายในราชอาณาจักรไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น กอใหเกิดความเปนเอกภาพทางการเมือง ซึ่งเปนปจจัยสำคัญในการหยุดยั้งการคุกคามจากประเทศ มหาอำนาจตะวันตกตอ ประเทศไทย ๓. ทำใหกลุมผูเสียผลประโยชนจากการปฏิรูปการปกครอง พากันกอปฏิกิริยาตอรัฐบาลที่กรุงเทพฯ ดังจะ เห็นไดจากกรณีกบฏผูมีบุญภาคอีสาน ร.ศ.๑๒๑ กบฏเงี้ยวเมืองแพร ร.ศ.๑๒๑ กบฏแขกเจ็ดหัวเมือง ร.ศ.๑๒๑ แต รัฐบาลก็สามารถควบคุมสถานสถารณไวไ ด ๕.๒.๓ พฒั นาการดานการเมอื งการปกครองในสมัยรชั กาลที่ ๖ การจัดตั้ง ดุสิตธานี เพื่อทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย โดยโปรดเกลาฯ ใหสรางนครจำลองขึ้น พระราชทานนามวา ดุสิตธานี เดิมตั้งอยูที่พระราชวังดุสิต ตอมายายไปอยูที่พระราชวังพญาไท (บริเวณโรงพยาบาล พระมงกุฎเกลาฯ ในปจจุบัน) ภายในดุสิตธานีมีสิ่งสมมุติ หรือแบบจำลองตาง ๆ เชน ที่ทำการรัฐบาล วัดวาอาราม อาคารบานเรือน ถนน สาธารณูปโภค สถานที่ราชการ ฯลฯ โปรดเกลาฯ ใหมีการบริหารงานในดุสิตธานี โดยวิธีการ เลือกต้ังตามแบบประชาธปิ ไตย มีการเลอื กตง้ั ในระบบพรรคการเมือง พรรคการเมืองท่ีไดรับเสยี งขางมาก เปนผูจัดต้ัง ๓๐

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม คณะผูบริหารดุสิตธานี เรียกวา นคราภิบาล ลักษณะการบริหารงานในดุสิตธานี เปนการจำลองการบริหารงานแบบ เทศบาล ของประเทศตะวนั ตก การปรับปรุงการปกครองสวนกลางของรชั กาลที่ ๖ ๑. โปรดใหจัดตั้งกระทรวงใหม คือ กระทรวงมุรธาธิการ (ซึ่งรัชกาลที่ ๕ ทรงยกเลิกไป) กระทรวงทหารเรือ กระทรวงพาณิชย ๒. ทรงยกเลิกกระทรวงนครบาล ใหร วมเขา กบั กระทรวงมหาดไทย ๓. ทรงใหเ ปลย่ี นชอ่ื กระทรวงโยธาธิการ เปน กระทรวงคมนาคม การปรับปรุงการปกครองสว นภูมภิ าคของรชั กาลท่ี ๖ ๑. ปรบั ปรุงเขตการปกครองของมณฑล บางมณฑล ๒. โปรดเกลาฯ ใหรวมมณฑลที่อยูติดกันหลาย ๆ มณฑล รวมกันเปน ภาค แตละภาคมีอุปราชเปน ผูบงั คบั บัญชา ทำหนาทตี่ รวจตรา ควบคุม ดแู ลการบรหิ ารงานของสมุหเทศาภิบาลมณฑลในภาคนั้น ๆ ๓. เปลยี่ นคำวา เมือง เปน จังหวดั การขยายกิจการทหารของรัชกาลท่ี ๖ ทรงจัดตั้งกระทรวงทหารเรือ กองบิน และสรางสนามบินขึ้นเปนครั้งแรก ในสมัยรัชกาลที่ ๖ ไดมีเหตุการณ ร.ศ. ๑๓๐ ในปพ .ศ. ๒๔๔๕ ไดมีนายทหารและพลเรือนกลุมหน่ึงไดเตรยี มการยดึ อำนาจเพือ่ เปลีย่ นแปลงการปกครอง มาสูระบอบประชาธิปไตย แตรัฐบาลไดลวงรูกอนไดจับกุมกลุมกบฏ ร.ศ. ๑๓๐ จำคุกและไดรับการลดโทษและอภัย โทษภายหลัง การปรบั ปรุงกฎหมายและการศาลของรชั กาลที่ ๖ ๑. ปรับปรุงระเบียบการศาล โดยแบงงานในกระทรวงยุติธรรมเปน ๒ ฝาย คือ ฝายธุรการ กับฝายตุลาการ โดยตลุ าการทำหนา ทพ่ี ิจารณาคดไี ดอ ยางอิสระ ๒. มกี ารประกาศใชประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยเปนครง้ั แรก ๓. โปรดเกลาฯ ใหตั้งสภานติ ิศกึ ษา มหี นาทจ่ี ัดระเบยี บและวางหลักสูตรการศึกษาของโรงเรียนกฎหมาย ๕.๒.๔ พัฒนาการดา นการเมืองการปกครองในสมยั รัชกาลท่ี ๗ กอน พ.ศ. ๒๔๗๕ ๑. ทรงแตง ตงั้ อภิรฐั มนตรสี ภา เพ่ือเปนทปี่ รึกษาราชการแผนดิน มสี มาชิกประกอบดว ย พระบรมวงศานุวงศ ชั้นสูง ๕ พระองค ๒. ทรงแตงตั้งองคมนตรีสภา มีหนาที่พิจารณาถวายความคิดเห็นเกี่ยวกับรางกฎหมายที่ออกใหมและ การบรหิ ารราชการดา นตา ง ๆ ๓. ทรงแตงตั้งเสนาบดีสภา มีหนาที่ในการถวายคำปรึกษาแดพระมหากษัตริย หรือปฏิบัติหนาที่ตามที่ไดรบั มอบหมายงานในหนาท่ขี องกระทรวง สมาชิกเสนาบดสี ภา ประกอบดวย เสนาบดบี ังคับบัญชากระทรวงตาง ๆ นอกจากทง้ั ๓ สภานีแ้ ลวยงั มี ๓๑

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๑. สภาปองกันพระราชอาณาจักร สำหรับทำหนาที่ พิจารณาและทำความตกลง ในนโยบายวิธีปองกันพระ ราชอาณาจักรและประสานงาน ในราชการของกระทรวงฝา ยทหารและฝา ยพลเรอื น ๒. สภาการคลัง มีหนาทีต่ รวจตราวนิ ิจฉัยเงินงบประมาณของแผน ดินและรักษาผลประโยชนทางการเงนิ ของ ประเทศ และวนิ จิ ฉัยการคลงั เสนอตอพระมหากษัตริยสภาทั้งหมดน้ีไดถกู ยกเลกิ ไป หลังเปล่ียนแปลงการปกครองเปน ประชาธปิ ไตย การปรับปรงุ การบริหารราชการสว นกลาง การเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๗๕ - ๒๔๖๑) ทำใหเศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ฐานะทางการเงิน ภายในประเทศตกต่ำอันเปนผลมาจากเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำทัว่ โลก รัชกาลที่ ๗ จึงทรงแกปญหานี้โดยใชน โยบาย ดุลยภาพ คือ การตัดทอนรายจายที่ไมจำเปน จัดงานและคนใหส มดุลกันแบะยุบตำแหนงราชการที่ซ้ำซอ นกัน ในการ บรหิ ารราชการสว นกลาง เดมิ สมยั รัชกาลที่ ๖ มกี ระทรวง ๑๒ กระทรวง (โดยเพ่มิ ๒ กระทรวง จาก ๑๐ กระทรวงใน สมัยรัชกาลที่ ๕ คือ กระทรวงทหารเรือ และกระทรวงพาณิชย) คือ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กระทรวง ทหารเรือ กระทรวงตางประเทศ กระทรวงวัง กระทรวงเมือง (นครบาล) กระทรวงเกษตราธิการ กระทรวงพระคลัง มหาสมบัติ กระทรวงยุตธิ รรม กระทรวงธรรมการ กระทรวงโยธาธิการ กระทรวงพาณชิ ย รชั กาลท่ี ๗ โปรดเกลาฯ ให มีการแกไขปรับปรุงโดยยุบกระทรวงทหารเรือไปรวมกับกระทรวงกลาโหม และรวมกระทรวงโยธาธิการกับกระทรวง พาณชิ ยเ ขา ดวยกัน จงึ เหลือเพียง ๑๐ กระทรวง การปรับปรุงการบรหิ ารสวนภมู ิภาค ดวยเหตุผลทางดานเศรษฐกิจ รัชกาลที่ ๗ ทรงใชนโยบายดุลยภาพโดยยุบเลกิ ตำแหนง ปลดั มณฑล ตำแหนง อุปราชประจำภาค ยุบเลิกมณฑลบางมณฑล บางจังหวัดใหลดฐานะเปนอำเภอตามความเหมาะสมของแตละทองถนิ่ เชน ยบุ จงั หวดั พระประแดง หลงั สวน มีนบรุ ี สายบรุ ี ธัญบรุ ี ตะก่ัวปา หลม สกั และรวมสโุ ขทยั เขากบั สวรรคโลก ในสมัยรัชกาลที่ ๗ ไดทรงเริ่มทดลองการปกครองแบบเทศบาล เพื่อใหราษฎรไดเรียนรูการปกครองตนเอง ทรงตราพระราชบัญญัติการจัดบำรุงสถานที่ชายทะเลทิศตะวันตก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๙ โดยจัดตั้งสภาจัดบำรุงสถานที่ ชายทะเลตะวันตก มีอาณาเขตตั้งแตตำบลชะอำไปถึงหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ การปกครองแบบเทศบาลนี้ มี ผลดี คือ เปนการฝกหัดใหประชาชนเกิดความชำนาญในการปกครองตนเอง อันเปนการปูพื้นฐานไปสูการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยในอนาคต การเตรยี มพระราชทานรัฐธรรมนูญ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระราชดำริที่จะใหประเทศไทยมีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ดังจะเห็นไดจากการพระราชทานสมั ภาษณแกน ักหนงั สือพิมพใน พ.ศ. ๒๔๗๔ เมื่อคราวเสด็จพระราช ดำเนินไปประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อพระองคเสด็จนิวัติพระนคร ก็ทรงมอบหมายใหพระยาศรีวิศาลวาจา และนาย เรมอนด สตีเวนส ที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศพิจารณารางรัฐธรรมนูญ แตที่ประชุมอภิรัฐมนตรีสภาและ พระบรมวงศานุวงศบางพระองคไดกราบทูลคัดคานวา ยังไมถึงเวลาอันควรที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญ เพราะ ราษฎรยงั ไมมีความเขา ใจระบอบประชาธปิ ไตยดีพอ รชั กาลที่ ๗ จึงทรงตองเล่ือนการพระราชทานรฐั ธรรมนูญออกไป จนกระทั่งเกิดการปฏิวตั ิเปลีย่ นแปลงการปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตยในวนั ที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ๓๒

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ๖. พฒั นาการดานเศรษฐกจิ สมยั รัตนโกสนิ ทรตั้งแตตอนตน จนถึงกอนเปล่ยี นแปลงการปกครอง ๖.๑ เศรษฐกจิ สมัยรตั นโกสนิ ทรต อนตน ๖.๑.๑ การคากับตางประเทศในสมัยรตั นโกสนิ ทรต อนตน ไทยมกี ารคา ขายกบั ตา งประเทศดงั น้ี ๑) การคากับประเทศในเอเชีย ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนการคาขายสวนใหญทำกับจีน นอกจากนี้ก็มีชวา สิงคโปร และอินเดีย ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชเปนการคาสำเภา มีทั้ง “สำเภาหลวง” และ “สำเภาเอกชน” ซึ่งเปนการคาที่สำคัญและทำรายไดใหกับประเทศมาก สำเภาหลวงที่ปรากฏ ชื่อในสมัยรัชกาลที่ ๑ มีอยู ๒ ลำ คือ เรือหูสูงและเรือทรงพระราชสาสน เรือสำเภานี้ลักษณะแบบจีน ตอในเมืองไทย ใชไมอยา งดี ใชลูกเรือเปน คนจีนทั้งหมด แตผคู มุ เปนคนไทยอยใู นความดูแลของกรมทาหรือพระคลังสินคา ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เรือสำเภาท้ังไทยและจนี ติดตอกับคาขายกัน ถึง ๑๔๐ ลำ สำเภาหลวงที่สำคัญมี เรือมาลาพระนคร และเรือเหราขามสมุทร สินคาออกที่สำคัญ ไดแก ดีบุก งาชาง ไม น้ำตาล พริกไทย รังนก กระดูกสัตว หนังสัตว กระวาน และครั่ง สวนสินคาเขาที่สำคัญ ไดแก เครื่องถวยชาม สังคโลก ชา ไหม เงนิ ปน ดนิ ปน กระดาษ เครอื่ งแกว นอกจากนี้พระองคทรงเล็งเห็นความสำคัญและทรงสนับสนุนใหกิจการดานนี้เจริญกาวหนาออกไป โปรดเกลาฯ แตงตั้งใหกรมหมื่นเจษฎาบดินทร ซึ่งมีพระปรีชาสามารถเรื่องการคากับตางประเทศเปนผูบังคับบัญชา กรมทา มกี ารตอ เรอื กำปน ๑๐ ลำ ลำแรกชอ่ื อรสุมพล ไทยมีการสงเครื่องบรรณาการแลกเปลี่ยนกับจีนตลอดมา จนกระทั่งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงเห็นวา วิธีการนี้จีนจะเขาใจวาไทยยอมออนนอมและตกอยูภายใตอำนาจของจีน จึงให ยกเลกิ เสยี ๒) การคากับประเทศตะวันตก ตลอดเวลาที่ไทยติดตอกับชาติตะวันตกนั้น คนไทยมีความรูสึกไม ไววางใจตลอดมา แมไทยจะยอมมสี มั พนั ธไมตรที างการทตู และการคา แตไ ทยกม็ ีเจา หนา ทค่ี อยเขม งวด และดูแลอยา ง ใกลช ิด ในสมัยรชั กาลที่ ๒ อังกฤษไดสงนายจอหน ครอวเ ฟร ด เปน ทูตเขามาเจรจาเร่อื งการคา กับไทย พยายามใหไทย ยกเลิกการผกู ขาดของพระคลงั สินคา ใหไ ทยจัดระบบการเก็บภาษรขี าเขาและขาออกใหแนนอน แตไมสำเรจ็ ๖.๑.๒ ภาษีอากร รายไดสวนหนึ่งของประเทศที่นำมาใชสำหรับปรับปรุงประเทศ นอกจากการคาขายแลว ยังไดจ ากการเรยี กเกบ็ ภาษีอากรจากประชาชน แบง ออกเปน ๒ ประเภท ๑) ภาษอี ากรท่เี ก็บภายในประเทศ มี ๔ ชนดิ คือ - จังกอบ คือ การเรียกเก็บสินคาของราษฎร โดยชักสวนสินคาที่ผานดานทั้งทางบกและทางน้ำ ใน อตั รา “สบิ หยิบหนึ่ง” หรือ ๑ สวนตอ ๑๐ สวน - อากร คือ เงินหรือสิ่งของที่รัฐเรียกเก็บจากผลประโยชนของราษฎรที่ไดจากการประกอบอาชีพ นอกจากอาชีพคาขาย เชน การทำนา เรียกวา อากรคานา การทำสวน เรียกวา อากรสวนใหญ หรือ พลากร หรือ สมพัตสร การจับสัตวน้ำ เรียกวา อากรคาน้ำ การเก็บไขเตาเก็บรังนก เรียกวา อากรคารักษาเกาะ นอกจากนี้ยังมกี ารเก็บอากรบอ นเบ้ีย อากรสรุ า อากรตลาด อากรเกบ็ ของปา อากรขนอน ฯลฯ ๓๓

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม - สวย คือ เงินหรือสิ่งของที่ไพรหลวงนำมาใหแกทางราชการทดแทนการเขาเดือน โดยไดมาจาก ผลติ ผลตามธรรมชาติทหี่ าไดภ ายในทอ งถิ่น เชน ดีบกุ พรกิ ไทย มูลคา งคาว ไพรห ลวงนำมาใหแ กทางราชการ ทดแทนการเขา เดือน เรียกวา ไพรสว ย - ฤชา คือ คาธรรมเนียมที่ทางราชการเรียกเก็บเฉพาะรายบุคคล เนื่องจากไดรับการบริการจาก ราชการ เชน ออกโฉนดที่ดินให เงินปรับสินไหม ที่ฝายแพจะตองชดใชใหแกฝายชนะ รัฐก็จะเก็บไปครึ่งหนึ่ง เปนคา ฤชา เรยี กวา “เงนิ พินัยหลวง” นอกจากนี้ ยังไดมีการปรับปรุงภาษีบางอยางเพิ่มขึ้นจากเดิมในสมัยรัชกาลที่ ๒ และรัชกาลที่ ๓ ที่สำคัญ ๆ ดังนี้ ๑. สมัยรัชกาลท่ี ๒ มกี ารปรับปรงุ ภาษี ดงั น้ี ๑) การเดินสวน คือ การใหเจาพนักงานที่ไดรับการแตงตั้งออกไปสำรวจเรือกสวนของราษฎรวาได จัดทำผลประโยชนในที่ดินมากนอยเพียงใด แลวออกหนังสือสำคัญใหเจาของถือไวเพื่อเปนหลักฐานการเสีย ภาษอี ากร ซึ่งการจดั แบงภาษกี ารเดนิ สวนจดั แบงตามประเภทของผลไม ๒) การเดินนา คือ การใหเจาพนักงานออกไปสำรวจที่นาของราษฎร แลวออกหนังสือสำคัญให เจาของถือไวเ พ่ือเปนหลักฐานในการเสยี ภาษีอากรทีเ่ รียกวา “หางขาว” คือ การเก็บขาวในอัตราไรล ะ ๒ ถัง และตองนำไปสงทฉี่ างหลวงเอง ๓) เงินคาผูกปขอมือจีน เดิมชาวจีนไดรับการยกเวนจากการเกณฑแรงงานในขณะที่ราษฎรไทยท่ี เปนไพรและชนกลุมนอยอื่น ๆ ที่อาศัยอยูในเมืองไทยตองถูกสักขอมือเปนไพรและตองทำงานใหแกมูลนาย และพระเจาแผนดิน รัฐบาลไทยในสมัยรัชกาลที่ ๒ เห็นควรที่จะไดใชประโยชนจากแรงงานจีน จึงได พิจารณาเก็บเงินคาราชการจากชาวจีน ๑ บาท ๕๐ สตางค ตอ ๓ ป จีนที่มาเสียคาแรงงานแลว จะไดรับ ใบฎีกาพรอมกับไดรับการผูกปขอมือดวยไหมสีแดงประทับตราดวยครั่งเปนตราประจำเมือง ซึ่งแตกตางกัน ออกไป เชน เมืองเพชรบุรี เปนรปู หนู กาญจนบุรี เปนรปู บัว การผกู ปขอมือจีนน้ี เริม่ ขนึ้ ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ไดเปนประเพณีปฏิบัติสืบมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ จึงมีพระราชบัญญัติลักษณะการผูกปขอมือจีน พ.ศ. ๒๔๔๓ ออกใชบงั คบั ทวั่ ทกุ มณฑล และไดย กเลกิ ไปในตอนปลายรชั กาลเม่ือ พ.ศ. ๒๔๕๑ ๒. สมัยรัชกาลที่ ๓ มีการเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้นหลายชนิด เชน ภาษีพริกไทย น้ำตาล เปนตน ในสมัยนี้มี ระบบการเก็บภาษีแบบใหมเกิดขึ้น เรียกวา “ระบบเจาภาษีนายอากร” หมายถึง การที่รัฐเปดประมูลการเก็บภาษี ผูชนะการประมูล คือ ผูที่เสนอผลประโยชนสูงสุดใหแ กรัฐบาล มีอำนาจไปดำเนินการเก็บภาษีแทนรัฐบาลอีกตอหนง่ึ ผูทีป่ ระมูลภาษี เรียกวา “เจา ภาษนี ายอากร” สวนมากเปนชาวจนี ผมู ีฐานะดที างเศรษฐกจิ จากการลงทุนคาขาย ผลดขี องระบบเจาภาษีนายอากร คือ รายไดจ ากการเกบ็ ภาษีอากรไดผลเต็มเมด็ เต็มหนว ยมากข้นึ แตมขี อเสีย คือ เปนระบบผกู ขาดทใี่ หแกช าวจีนเปนสวนใหญ และอาจจะมีการขดู รีดภาษจี ากราษฎรได ๖.๑.๓ ภาษีอากรที่ไดจ ากภายนอกประเทศ - ภาษีเบิกรองหรือภาษีปากเรือ คือ ภาษีที่เก็บจากเรือสินคาตางประเทศ โดยคิดจากขนาดความ กวางของปากเรือหรือยานพาหนะที่บรรทุกสินคาเขามา สมัยรัชกาลที่ ๑ คิดวาละ ๑๒ บาท ตอมาเพิ่มเปนวาละ ๒๐ บาท สมัยรัชกาลที่ ๒ คิดวาละ ๘๐ บาท สมัยรัชกาลที่ ๓ ถาเปนเรือสินคาที่ไมไดบรรทุกสินคาเขามาขาย คิดวาละ ๑,๕๐๐ บาท ถา บรรทุกสินคา คิดวาละ ๑,๗๐๐ บาท ๓๔

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม - ภาษีสินคาออก รัฐเรียกเก็บตามประเภทของสินคา เชน ขาวสาร หาบละ ๑ สลึง น้ำตาล หาบละ ๒ สลึง พอถึงสมัยรัชกาลที่ ๓ รัฐเรียกเก็บภาษีขาออกตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น ทำใหรัฐมีรายไดเพิ่มมากขึ้น เชน เก็บภาษี พรกิ ไทย ภาษเี กลอื ภาษไี มแ ดง ภาษีน้ำมนั มะพรา ว ภาษฝี าย ภาษีปอ ภาษนี ้ำตาลทราย ฯลฯ ๖.๑.๔ หนว ยงาน สินคา ผกู ขาด สินคาตอ งหาม ๑) กรมพระคลงั สนิ คา ตอมาเรยี กวา กรมทา มีหนาท่ตี ดิ ตอ กับตา งประเทศ เกบ็ ภาษเี ขาและภาษีออก ตรวจ ตราเรือสินคาตางประเทศ และเลือกซื้อสินคาตามที่ราชการตองการ ซึ่งอยูในความดูแลของเสนาบดีกรมทา หรือ โกษาธิบดี โดยจะสง เจาหนา ที่ลงไปตรวจเรือสินคา กอ น เรียกวา “การเหยียบหัวตะเภา” ๒) สินคาผูกขาด คือ สินคาที่ทางราชการตองการและคิดวามีอันตรายหากพอคาจะทำการติดตอซื้อขายกนั โดยตรง ไดแ ก อาวธุ กระสุนปน ดังน้นั รัฐจึงผูกขาดการซอื้ ขายเสยี เอง ๓) สินคาตองหา ม คือ สินคาที่หายากและมีราคาแพง ราษฎรตองนำมาขายใหทางราชการ เพื่อทางราชการ จะไดน ำไปขายใหพอ คา ตางประเทศ จะไดเปนการเพมิ่ รายไดใหแกรฐั สินคาตอ งหาม ไดแก งาชา ง รงั นก ฝาง กฤษณา ฯลฯ ๖.๑.๕ เงินตรา สมยั รตั นโกสนิ ทรตอนตน ยงั คงใชเงินพดดวงเหมือนอยธุ ยา แตป ระทับตราแตกตางกันออกไป แลวแตต ราประจำรัชกาลนัน้ ๆ เงินพดดวง เปนเงินตราที่เริ่มตนผลิตมาตั้งแตสมัยสุโขทัยโดยใชอยางตอเนื่องมาจนถึงสมัยศรีอยุธยา สมัย ธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ผลิตจากแทงโลหะแบงน้ำหนักตามมาตรฐานน้ำหนักชัดเจนเปนหนวยชั่ง ตำลึง บาท สลึง และเฟอ ง เงนิ พดดวงสามารถนำไปซื้อสนิ คา ในตางอาณาจักรไดเพราะทำจากเนื้อเงินบริสุทธ์ิ โดยใชน้ำหนัก เปนตัวกำหนดมูลคา เชน เงินพดดวงสมัยรัตนโกสินทรชนิดราคา ๑ บาท จะตองมีเนื้อเงินน้ำหนัก ๑ บาท หรือ ประมาณ ๑๕.๒ กรัม เปน ตน ลักษณะของเงินพดดวงจะขดกลมคลายตวั ดวงสวนปลายงอเขาหากัน ชาวตางชาติในสมัยนั้นเรียกเงินพดดวง วา เงินลูกปน เนื่องจากมีลักษณะกลมคลายลูกปนโบราณและจากการขุดพบเงินกำไลในเขตเมืองศรีสัชนาลัยซึ่งเปน เมืองสำคัญของอาณาจักรสุโขทัย พบเงินลักษณะเปนวงโคง ปลายขดงอเขาหากันเหมือนกำไล มีตราประทับ ทำให สันนษิ ฐานวา เงนิ พดดว งพฒั นารูปรางมาจากเงินกำไลและมวี ิวัฒนาการของรปู รางจากรูปรางเรียวบางเหมือนกำไลใน สมัยสุโขทัยเปลี่ยนเปนกลมขึ้น อวนขึ้น และตัน ชองวางระหวางขาของพดดวงลดนอยลงในสมัยอยุธยาและยังคง รปู รางลักษณะคลา ยดวงนต้ี ลอดมาถึงสมัยรัตนโกสนิ ทร โดยบนเงินพดดวงจะมรี อยบากลึกทัง้ สองขาและมีตราประทับ ๒ ตราขึ้นไป คือ ประทับตราสัญลักษณอันเปนสิริมงคลของอาณาจักรและสัญลักษณประจำรัชกาลที่ผลิต อาทิ ตรา หอยสังข ชาง ครุฑ จากนั้นเปลี่ยนเปนตราจักรและตรีศลู ในสมัยกรุงธนบุรี และตราจักรรวมกันกับตราประจำรัชกาล ตาง ๆ ในชวงรัตนโกสินทรตอนตน โดยไดมีการยกเลิกใชเงินพดดวงอยางเด็ดขาดในชวงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว รัชกาลที่ ๕ ๓๕

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนทฺ สาโร รวบรวม เงินพระคลงั ขางท่ี หรือเงินถุงแดง เงินถุงแดง เปนเงินที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เมื่อครั้งที่ยังเปนพระเจาลูกยาเธอพระองคเจาทับ ซึ่งเปนพระเจาลูกยาเธอในรัชกาลที่ ๒ ทรงทำหนาที่กำกับราชการกรมทา กรมทานี้เปนกรมที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ งานการตา งประเทศ การพาณิชย แลวกก็ ารพระคลัง ทรงบริหารงานราชการกรมทาเขมแขง็ มากแลวกน็ ำรายไดเขา สแู ผน ดนิ ไดจ ำนวน มากอยางเต็มเม็ดเตม็ หนว ย เงินแผนดินสมัยกอนเคาเรยี กวา เงนิ ในทองพระคลงั หลวง วิธีการหารายไดข องพระองคท าน คอื จดั แตง เรือสำเภานำสนิ คา ไปคา ขายกับตางประเทศ อยา งเชน จีน อินเดีย และประเทศทางก็จะมีเปอรเซียเปนนักคาตัวยง มีทั้งสำเภาหลวง แลวก็สำเภาของสวนพระองคดวย ทรงนำสินคา ของสว นพระองคใสเรือสำเภาของสว นพระองคคาขายกับตา งประเทศดว ย เงินทีไ่ ดม า ในสวนของสำเภาหลวงก็เขา คลงั หลวง ในสว นของสำเภาสวนพระองค ไดทรงแบง สว นหนึ่งก็คือถวายรัชกาลท่ี ๒ เพอ่ื นำเขาพระคลังหลวงดวย อีกสวนหนึ่งทรงเก็บไวเงินสวนพระองคที่ทรงเก็บไวในถุงแดง ขางที่พระบรรทม พอเงินเต็มถุง พอเต็มถุงก็จะทรง นำเขาพระคลังหลวงไวเปนสมบัติแผนดินทั้งหมด และทรงสะสมใหม เพื่อพระราชทานเก็บเขาพระคลังหลวงเปน สมบตั ิแผนดินอีก ท้ัง ๆ ที่เปนพระราชทรัพยส วนพระองค แตเ นอื่ งจากทรงมีพระราชดำรวิ า เมอ่ื พระองคมีพระราชทรัพยในขณะท่ีเปนพระเจาแผนดิน คือที่ท่ีทรงคาขาย ทั้งเมื่อยังเปนพระเจาลูกยาเธอ และเมื่อครองราชยแลวดวยเหมือนกัน คือจากสำเภาสวนพระองคดวยเหมือนกัน แตเ มื่อทรงมพี ระราชดำรวิ า เมอ่ื มพี ระราชทรัพยใ นขณะทเี่ ปน พระเจาแผนดิน พระราชทรัพยทัง้ หมดจึงควรจะเปน ของ แผนดินหาใชพระราชทรัพยที่จะตกทอดถึงพระราชโอรส ธิดาของพระองค เพราะเงินถุงแดงเก็บขางที่พระ บรรทม ซึ่งตอมาก็เปนที่มาของคำวาพระคลังขางที่ ใสในถุงแดง ถุงผา ถุงผาสีแดง แลวก็สมัยโบราณเวลาเขาเก็บ เงินเขาจะหอ มิดชิดแลวตีตรา คือ เกบ็ ในถงุ แดงแลวกจ็ ะมีกำปน คอื เปนวธิ กี ารเก็บเงนิ ในสมยั โบราณเขาจะใสกำปน จะวางไวข า งพระที่ หรือวา ตอบไมไ ดแ นน อนวา วางไวขางพระแทน บรรทมหรอื วามหี องเก็บ แตเ ขากเ็ รยี กวาเงินขาง ท่ีบรรทมหรือพระคลงั ขา งที่ ตอมาภายหลังการสวรรคต ไดมีการจัดการเงินกอนนี้โดยใหอยูในการดูแลของสำนักงานพระคลังขางที่ และ พบวาลนเกลารัชกาลที่ ๓ ทรงเก็บเงินไวในรูปของเงินเหรียญเม็กซิโก ซึ่งไดรับการยอมรับมากในสมัยนั้น และ สามารถใชเปนสกุลเงินสำหรับคาขายกับตางประเทศไดเปนอยางดี และดวยเงินถุงแดงนี้เอง พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลาเจาอยูหัว (สมเด็จพระปยมหาราช ลนเกลาฯ รัชกาลที่ ๕) ทรงใชในการไถบานไถเมืองจากกองทัพ ฝรั่งเศส เมื่อครง้ั ยกกองเรือรบมาปด ลอมอาวไทย และเรยี กเงินคาไถ (สนิ ไหมสงคราม) เนื่องจากมีการสูรบตอตานจากฝายไทย ทำใหทหารฝรั่งเศสลมตายเปนอันมาก) เปนจำนวนเงินถึง ๓ ลาน ฟรังก และตองจา ยภายใน ๔๘ ชว่ั โมง ในขณะทเ่ี งินถงุ แดงมจี ำนวนทั้งสน้ิ ๒.๔ ลา นฟรงั ก ลนเกลาฯ รชั กาลท่ี ๕จึง ไดสละพระราชทรัพยสวนพระองค พรอมดวยพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการและประชาชน ไดชวยกันขาย ทรัพยสินและบริจาคจนไดเงินเพิ่มมาอีก ๖๐๐,๐๐๐ ฟรังก จนครบ ๓ ลานฟรังก จึงสามารถจายคาไถครั้งนี้ได ทำ ใหป ระเทศไทยสามารถรกั ษาเอกราชมาไดจนถึงทกุ วันน้ี ๓๖

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม การเหยียบหวั ตะเภาเรือ กรมพระคลังสินคา (ตอมาเรียกวา กรมทา) มหี นาทีต่ ดิ ตอกับตางประเทศ เก็บภาษเี ขา และภาษีออก ตรวจตรา เรือสินคาตางประเทศ และเลือกซื้อสินคาตามที่ราชการตองการ ไดแก อาวุธ กระสุนปน ซึ่งอยูในความดูแลของ เสนาบดีกรมทาหรือโกษาธิบดี โดยจะสงเจาหนาที่ลงไปตรวจเรือสินคากอน เรียกวา การเหยียบหัวตะเภา การ เหยยี บหวั ตะเภานีเ้ กิดในสมยั รัชกาลที ๑ การเหยียบหัวตะเภา คือ อำนาจของราชการในการเลือกซื้อสินคาของทางราชการ กรมพระคลังสินคา จะให พนักงานลงไปตรวจดูสินคาในเรือซึ่งเรียกวา เหยียบหัวตะเภา เพื่อคัดเลือกสินคาที่จะซื้อหรือเก็บภาษีขาเขากอน พระคลังสินคาสามารถสั่งพอคาชาวตางชาติใหนำสินคาเขามาขายใหกับรัฐบาลกอน จึงจะขายใหกับประชาชนได หรือสินคาบางอยางทีจ่ ะเปนภยั ตอความมั่นคงของชาติรัฐบาลสามารถสั่งหามขายใหกับประชาชนตองนำออกนอก ราชกาณาจักร อาทเิ ชน อาวธุ ปน กระสุนปน ฝน เปน ตน การจ้ิมกอ ง จิ้มกอง หมายถึง การเจริญทางพระราชไมตรดี วยการถวายเครื่องราชบรรณาการ จิ้มกอง เปนคำจากภาษาจีน จม้ิ แปลวา ให, กอ ง แปลวา ของกำนัล ในการทำการคา กบั จีนในสมัยโบราณ พอ คามกั จะนำของกำนลั ไปใหเพ่ือขอ ความสะดวกในการทำมาคา ขาย แตจ นี มกั ถอื วา ผูท่มี าจิม้ กอ ง เปนผูที่มาสวามภิ กั ดขิ์ อเปนเมืองข้นึ เม่ือมีของกำนัล มาให นอกจากจีนจะใหความสะดวกในการคาแลว พระเจากรุงจีนยังตอบแทนดวยของกำนัลอยางมากมายดวย พอ คา ไทยจึงนิยมไปจม้ิ กอ ง ขุนวิจิตรมาตรา ใหความหมายของจิ้มกอง หรือ จินกง วาเปนคำภาษาจีน บางทีใชคำวา กอง คำเดียว เปน ความหมายตางๆ อาทิ ทวงกอง หมายความวา ทวงสวย มากอง หมายความวา มาสง สวยฐานเปน เมืองข้ึน หรือมา ขอเปนเมืองขึ้น เมืองกอง หมายถึง เมืองขึ้น หรือเมืองสวย และจิ้มกอง ก็เรียกวา สงสวย ภาษาอังกฤษเรียกวา Tribute เครื่องบรรณาการที่สยามสงใหจีนไดแก ชาง งาชาง จันทรหอม พริกไทย นกแกว นกยูง รงทอง ขี้ผึ้งขาว กำมะถัน มหาหงคุ เปลอื กสมลุ แวง กรักขี เปลือกสีเสยี ด กานพลู มดยอบ จันทรชะมด จนั ทรเทศ กระวานขาว ผล กระเบา ฝาง พรมลิอดู ผา โมรีแดง สว นสง่ิ ทจ่ี ีนจดั มอบใหสยาม ไดแก เครอ่ื งลายคราม ผาแพรโลตวน แพรกิมตวน เปน ตน ในสมัยรัตนโกสินทรจนถึง พ.ศ. ๒๓๙๖ ซึ่งเปนปสุดทาย ไทยสงจิ้มกองไปจีนรวม ๕๔ ครั้ง ซึ่งนับวาถี่มาก คือ เฉล่ียปครึง่ ตอครัง้ จนกระทง่ั จีนตองเตอื นมาอยางเปน ทางการ ใหจมิ้ กองได ๓ ปต อ ครั้งตามกฎเกณฑ เพราะการไป จิ้มกองแตละครั้งนั้นไทยเราไดกำไรมาก กลาวคือเครื่องราชบรรณาการก็ไมตองซื้อหาเนื่องจากเปนสวยที่ราษฎร ตองสงใหทางการอยูแลว และทางการจีนจะจัดสิ่งของตอบแทนโดยประเมินราคาแลวก็จะตองสูงกวาของที่ไทย นำไปถวายประมาณ ๒ เทาตวั ซึ่งเขา ทำนองวา ผใู หญใ หของตอบแทนผนู อ ย นอกจากนี้ กรมพระคลังสินคายังแตงเรือสำเภาไปซื้อของจากจีนไดโดยอิสระแบบไมตองเสียภาษี เสมือนเปน เอกสิทธิทางการทูต ยิ่งไปกวานั้น บรรดาขุนนางชั้นผูใหญก็จะถือโอกาสแตงเรือสำเภาขนสินคาประเภทขาว ฝาย พริกไทย ไมแดง หนังสัตว รวมขบวนไปและใชสิทธิทางการทูตซอ้ื สินคา จากจนี โดยไมตอ งเสียภาษี ๓๗

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ในราว พ.ศ. ๒๓๙๖ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูห ัว รัชกาลท่ี ๔ ทรงตัดสินพระทัยวา ตอ ไปไทยเราจะ ไมสง ทูตไปจิม้ กองจักรพรรดิจีนอกี แมว า ทางจนี จะสง ทูตมาทวงถาม ทางไทยเราก็ผัดผอ นและอางเหตุตาง ๆ นานา เนอื่ งจากจนี มิไดเปนมหาอำนาจศูนยกลางของโลกอีกตอไป และเหลา มหาอำนาจตะวนั ตกโดยเฉพาะอังกฤษไดกาว ขน้ึ มายงิ่ ใหญแ ทน ๖.๒ เศรษฐกจิ สมัยรัตนโกสนิ ทรยุคปฏริ ูปบา นเมือง ๖.๒.๑ สภาพการณเศรษฐกจิ สมยั รัชกาลที่ ๔ สมยั รัชกาลที่ ๔ น้ัน พระราชกรณียกจิ ทางการบรหิ ารประเทศอนั ดบั แรกทพ่ี ระองคทรงกระทำเพ่ือผอนคลาย ความตึงเครียดทางการเมืองระหวางประเทศ คือ การลดภาษีสินคาขาเขา การอนุญาตใหส ง ขาวเปน สนิ คาออกได และ การคาฝน โดยผานระบบเจาภาษี การทำสนธิสญั ญาเบาวรงิ กบั อังกฤษ หลังทำสนธิสญั ญาเบาวร ิงแลว ระบบเศรษฐกิจ ของไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงจากเศรษฐกิจแบบยังชีพไปสูเศรษฐกิจแบบเงินตรากับนานาประเทศ การคาขายขยายตัว ออกไปอยางกวางขวางโดยใชเ งินตราเปน ตวั กลางในการแลกเปลย่ี น การปฏริ ูปเงนิ ตราสมัยรัชกาลที่ ๔ สมัยรัชกาลที่ ๔ ระบบการคาเริ่มขยายตัวอยางรวดเร็ว ทำใหระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรามีความสำคัญมาก ขนึ้ ซ่ึงจะเห็นไดจากการขาดแคลนเงินตราในการซ้ือขายแลกเปลี่ยน เงนิ ตราที่ใชอยูทัว่ ไปคือ “เบ้ีย” ซึ่งเปนหอยชนิด หนึ่งไดมาจากหมูเกาะมาลดีบในมหาสมุทรอินเดีย แตอัตราแลกเปลี่ยนเบี้ยในทองตลาดไมคอยจะคงตัว โดยปกติจะ อยูร าว ๘๐๐ เบย้ี ตอ ๑ เฟอ ง นอกจากนี้ ก็มีการใชเงินพดดวง เปนลักษณะกองกลมมีตราประทับบนตัวดวง เงินตราทั้ง ๒ ชนิด ไมเหมาะ กบั การคาสมยั ใหมเพราะเบ้ียแตกงาย เงินพดดวงกป็ ลอมไดง ายและผลิตไดไมเพยี งพอกับความตองการ ครั้งเม่ือพอคา ตางชาตินำเงินเหรียญสเปน หรือเหรียญเม็กซิโกเขามาใช ก็ไมมีใครยอมรับ ทำใหเปนอุปสรรคตอการคาขายมากข้ึน เพอ่ื แกปญ หาน้ชี าวตางประเทศถึงกับแนะนำใหรัฐบาลไทยเลิกใชเงนิ บาท โดยพอคา เหลานัน้ จะผลิตเงินบาทเขามาใช เอง แตรัชกาลท่ี ๔ ไมทรงเหน็ ดวยเพราะจะเปน โอกาสใหม เี หรียญปลอมระบาดมากข้ึน การแกปญหาของรชั กาลท่ี ๔ ในเรื่องน้ี คอื มพี ระราชดำริที่จะเลกิ ใชเงินพดดว งซง่ึ ทำดว ยมือซึ่งผลิตไดชา ไม ทันการมาใชเงินเหรียญที่ผลิตจากเครือ่ งจักรแทน โดยซื้อเครื่องจักรมาจากตางประเทศ เริ่มมีการผลิตเงินเหรยี ญเปน ครั้งแรกในป พ.ศ. ๒๔๐๓ และตั้งแตนั้นมามีการผลิตเงินเหรียญในชนิดและอัตราตาง ๆ ออกมาในป พ.ศ. ๒๔๐๕ โปรดเกลาฯ ใหผลติ เหรียญดบี กุ ขึน้ ๒ ชนิด คือ ๑) อฐั มรี าคา ๘ อนั ตอ ๑ เฟอง ๒) โสฬส มีราคา ๑๖ อนั ตอ ๑ เฟอ ง ปพ.ศ. ๒๔๐๖ โปรดเกลาฯ ใหมีการผลิตเหรียญทองมีอัตราตางกันตามลำดับ คือ ทศ ราคาอันละ ๘ บาท พศิ ราคาอันละ ๔ บาท และพดั ดงึ ส ราคาอันละ ๑๐ สลงึ ป พ.ศ. ๒๔๐๘ โปรดเกลาฯ ใหผลิตเหรียญทองแดง ๒ ชนิด คือ ซีก มีราคา ๒ อัน ตอ ๑ เฟอง และเซี่ยว (ปจจุบันเรียก เสี้ยว) มีราคา ๔ อัน ตอ ๑ เฟอง โดยการเปลี่ยนแปลงนี้ รัชกาลที่ ๔ โปรดเกลาฯ ใหมีประกาศแจงให ๓๘

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ราษฎรไดท ราบและชักชวนใหราษฎรมาใชเงินเหรียญชนิดตาง ๆ ทีผ่ ลติ ขน้ึ นอกจากเงนิ เหรียญชนิดตาง ๆ แลว รัฐยัง ไดพมิ พธนบตั รที่เปน กระดาษคลายกับปจจุบนั ดวยสมยั น้ัน เรยี กวา “หมาย” มีราคาตง้ั แตเฟอ ง จนถงึ ๑ บาท ผูท่ีเปน เจาของหมายจะไดรับเงินก็ตอเมื่อนำหมายดังกลา วน้ันไปขึ้นเงินท่ีพระคลังมหาสมบัติ แตราษฎรไมเหน็ ประโยชนจ าก การใชกระดาษเปนเคร่ืองแลกเปล่ยี น การใชห มายดงั กลา วจงึ ไมแพรหลาย การตงั้ “โรงงานกษาปณ” เพ่อื ผลิตเหรียญ ตรา ในปพ.ศ. ๒๔๐๓ ในขั้นแรกเปนวิธีการที่รัฐพยายามที่จะแกปญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น แตผลที่ตามมา นอกเหนือจากน้นั กอ ใหเ กดิ การเปล่ียนแปลงระบบเงินตรา ซึ่งถือไดว า เปน ผลดีตอเศรษฐกจิ และการคา เพราะการซ้ือ ขายแลกเปลี่ยนดวยเงินตราในระบบใหมท ส่ี ะดวกกวา ระบบเกา ยอ มจะทำใหการคาระหวางประเทศขยายตวั ปริมาณ การหมนุ เวียนของสนิ คา มมี ากข้ึนตามไปดว ย สนธสิ ญั ญาเบาวร ิง หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษแลประเทศสยาม Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam หนังสือสัญญาเซอยอนโบวริง หรอื สนธสิ ัญญาเบาวริง ขอมลู ทว่ั ไป เปน สนธิสัญญาทร่ี าชอาณาจกั รสยามทำกบั สหราชอาณาจักร ลงนามเม่ือ ๑๘ เมษายน พ.ศ. ๒๓๙๘ โดยเซอร จอหน เบาวร ิง ราชทตู ที่ไดร ับการแตง ต้ังจากสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย เขามาทำสนธิสัญญา ซงึ่ มสี าระสำคัญ ในการเปด การคาเสรีกับตางประเทศในสยาม ซ่ึงมกี ารปรับเปลี่ยนกฎระเบียบการคาระหวางประเทศ โดย การสราง ระบบการนำเขา และสงออกใหม เพิ่มเติมจากสนธิสัญญาเบอรนี สนธสิ ัญญาฉบบั กอนหนาซงึ่ ไดร ับการลงนามระหวาง สยามและสหราชอาณาจกั รใน พ.ศ. ๒๓๖๙ สนธิสัญญาดังกลาว อนุญาตใหชาวตางชาติเขามาทำการคาเสรีในกรุงเทพมหานคร เนื่องจากในอดีตการคา ของชาวตะวันตกไดรับการจัดเก็บภาษีอยางหนัก สนธิสัญญาดังกลาวยังอนุญาตใหจัดตั้งกงสุลอังกฤษใน กรุงเทพมหานครและรับประกันสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ตลอดจนอนุญาตใหชาวอังกฤษสามารถถือครองที่ดินใน สยามได เซอรจอหน เบาวร ิง เซอรจอหน เบาวริง เกิดในครอบครัวนายพาณิชยที่มณฑลเดวอนไชร ในอังกฤษเมื่อวันที่ ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๓๕ เขาไดรับการศึกษาเปนสวนตัวขณะท่ีเริ่มตนงานในบริษัทการคาแหงหนึ่งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๕๐ เขาพูดไดหลาย ภาษาเชน ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี โปรตุเกส เยอรมัน ดัตช และใชภาษาสวีเดน เดนมารก รัสเซีย อาหรับ จีน ฯลฯ ได คลองพอสมควรเขามีธุรกิจของตนเองและสนใจในเรื่องการเมือง ปรัชญาและวรรณคดีดวย ในพ.ศ. ๒๓๙๐ เบาวริง ไดรับการแตงตั้งเปนกงสุลประจำเมืองกวางตุงในประเทศจีนซึ่งเขาไดทำหนาที่อยางโดดเดน พ.ศ. ๒๓๙๗ เขาไดรับ การแตงตงั้ ใหเปนอัครราชทูตผูมีอำนาจเต็มประจำประเทศจนี ซึง่ เทากับไดรับแตงตั้งเปนอคั รราชทูตประจำราชสำนัก ของประเทศญี่ปุน สยาม เวียดนามและเกาหลี พรอมกับดำรงตำแหนงผูวาการ ผูบัญชาการทหารสูงสุดและพลเรือโท ของฮองกงดวย หลังจากที่สมเด็จพระนางเจา วิกตอเรยี ทรงแตงตั้งใหเ ขาเปนอัศวินไดไมน านเขากม็ าอยูที่ฮองกง เบาว ๓๙

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา ส๒๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ พระมหาธีรพสิ ิษฐ์ จนฺทสาโร รวบรวม ริงเปนผูวาการเมืองฮองกงและอัครราชทตู ประจำประเทศจีนเปนเวลา ๙ ป ภารกิจแรกสุดในบทบาททางการทูตของ เขาคือ ภารกิจพิเศษในประเทศไทยหรือเปน ทีร่ จู ักกนั ดใี นเวลาตอมาคือการทำ “สนธิสัญญาเบาวร งิ ” เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๙๘ ชวงปลายรัชกาลที่ ๔ และตนรัชกาลที่ ๕ เซอรจอหน เบาวริงไดรับแตงตั้งเปนอัครราชทูตไทยประจำลอนดอนและ ยุโรป ถือไดวาเปน “ตัวแทนประจำคนแรกของไทย” มีบรรดาศักดิ์เปน “พระยาสยามมานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ” เซอรจ อหน เบาวร งิ ถึงแกอนิจกรรมเมอ่ื วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๕ ขณะทมี่ ีอายุ ๘๐ ป การเจรจา เมื่อทราบวาพระมหากษัตริยไทยพระองคใหมทรงแสดงความตองการจะทำสนธิสัญญาดวย รัฐบาลอังกฤษก็ ไดสงจอหน เบาวริงเขามาทำสนธิสัญญาฉบับใหมใน พ.ศ. ๒๓๙๘ โดยปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมไทย ใหทูตเชิญพระ ราชสาสน สมเดจ็ พระนางเจา วิกตอเรียเขามาถวายพระเจาแผนดนิ ไทย จึงไดรับการตอนรบั ดีกวาทูตตะวันตกท่ีผานมา ทง้ั หมด จอหน เบาวริง อยูในกรุงสยาม ๑ เดือน และใชเวลาประมาณ ๑ สัปดาห เจรจากับ “ผูสำเร็จราชการฝาย สยาม” ๕ พระองค/คน ไดแก ๑) สมเด็จเจาพระยาบรมมหาประยรุ วงศ (สมเด็จเจาพระยาองคใหญ) ผูสำเรจ็ ราชการทั่วพระราชอาณาจักร ประธานผแู ทนรัฐบาล ๒) พระเจา นองยาเธอ กรมหลวงวงศาธิราชสนิท ๓) สมเด็จเจา พระยาบรมมหาพิไชยญาติ (สมเด็จเจาพระยาองคนอ ย) ผูสำเร็จราชการพระนคร ๔) เจาพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) รักษาการในตำแหนงสมุหพระกระลาโหม บังคับบัญชาหัวเมือง ชายทะเลปากใตฝ ายตะวันตก ๕) เจา พระยารววิ งศ พระคลงั และสำเร็จราชการกรมทา บงั คบั บญั ชาหัวเมืองฝายตะวันออก จอหน เบาวริง กลาวยกยองผูแทนรัฐบาลไทยสองทานวามีความเห็นสอดคลองกับตน ไดแก เจาพระยาศรี สุริยวงศ (ชวง) และพระเจานองยาเธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท สำหรับเจาพระยาศรีสุริยวงศนั้นไดตำหนิระบบ ผูกขาดและการทุจริตของชนชั้นสูงอยางรุนแรง และออกปากจะชวยทูตอังกฤษในการแกไขสนธิสัญญา ถึงกับทำให เบาวร งิ สงสยั วาจะพูดไมจริง แตสดุ ทายก็ยอมรับวาเปน คนพูดจริงทำจริง และไดสรรเสริญวาเปนบุคคลที่ฉลาดย่ิงกวา คนอ่ืนท่พี บปะมาแลว สวนอีกดานหนึ่ง เบาวริงไดตำหนิสมเด็จเจาพระยาบรมมหาประยุรวงศและสมเด็จเจาพระยาบรมมหาพิไชย ญาติ ผูม คี วามคดิ ในการคาผูกขาด และคัดคา นขอเสนอของทูตอังกฤษอยเู สมอ เบาวร งิ เห็นวา ทัง้ สองคนนี้เองที่ทำให การเจรจาขอแกไ ขหนังสอื สญั ญาทางพระราชไมตรใี นชว งปลายรัชกาลท่ี ๓ ไมป ระสบความสำเรจ็ สาระสำคญั ๑. สยามใหอังกฤษตั้งสถานกงสุลในกรุงเทพฯ และใหสิทธิสภาพนอกอาณาเขตแกคนในบังคับอังกฤษ กงสุล อังกฤษเปนผูมีอำนาจพิจารณาตัดสินคดีตาง ๆ ทั้งคดีแพงและอาญาซึ่งคนในบังคับอังกฤษเปนจำเลย โดยกงสุลจะ ลงโทษตามกฎหมายอังกฤษ สวนคดีที่คนในบังคับอังกฤษเปนโจทกและคนไทยเปนจำเลยนั้น ใหขึ้นศาลไทยซึ่งเปนผู พจิ ารณาลงโทษตามกฎหมายไทย ในกรณีน้กี งสุลอังกฤษจะเขาไปรว มทง้ั การพจิ ารณาตดั สินได ๔๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook