Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา

กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา

Published by teachers_piyaphong, 2020-06-25 11:21:29

Description: กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา
ประพันธ์โดยสุนทรภู่
เหมาะสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

Keywords: กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา

Search

Read the Text Version

แบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๑ พระไชยสุริยากาพยเรอื่ ง จัดทาํ โดย ครูปยะพงษ งนั ลาโสม กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย โรงเรยี นนวมนิ ทราชินทู ศิ เตรียมอดุ มศกึ ษานอ มเกลา

คํานาํ แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอ ิเล็กทรอนิกส ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ ๑ เร่ือง กาพยเรื่องพระไชยสุริยาชุดน้ี จัดทําข้ึนเพื่อใช ประกอบการจัดการเรียนรูในรายวิชาพ้ืนฐาน กลุมสาระการ เรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหนักเรียนไดศึกษา วรรณคดีที่กําหนดในประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ อันจะ นําไปสูการพัฒนาสมรรถนะสําคัญของผูเรียนดานการคิดรวมท้ัง เกิดความซาบซ้ึงและตระหนักรูคุณคาของวรรณคดีไทย ใน ฐานะท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ผูเรียนสามารถเขาถึง ไดงายและพกพาสะดวก เหมาะสาํ หรับการเรียนในยคุ ปจ จบุ นั เนื้อหาในเลมนอกจากจะประกอบดวยเนื้อหาของ วรรณคดีแลว ยังมีแบบฝกหัดและแบบทดสอบทายบทที่ สอดคลองกับตัวช้วี ัดในหลักสตู รไวเพือ่ ทบทวนความรูอีกดวย ผจู ดั ทําหวงั เปน อยา งย่ิงวาแบบเรียนอิเล็กทรอนิกสชุดน้ี จะมีประโยชนแกการจัดการเรียนรูในยุคปจจุบัน หากมี ขอเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแบบเรียนประการใด ผูจัดทําขอ นอมรับไวดวยความขอบคุณและจะนําไปพัฒนาคุณภาพของ แบบเรยี นชุดน้ีตอ ไป ปย ะพงษ งันลาโสม แบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษอเิ ลก็ ทรอนิกส เรอื่ ง กาพยเ ร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน)

สารบัญ หนา สมบัติวรรณคดีของไทย ๑ ๑ ความหมายของวรรณคดี ๑ องคประกอบของวรรณคดี ๓ คุณคา ของวรรณคดี ๑๙ ๑๙ กาพยเร่อื งพระไชยสุริยา ๒๑ ๒๔ ประวัตคิ วามเปน มา ๓๐ ประวตั ิผูแ ตง ๕๕ ลักษณะคําประพันธ ๖๕ เน้อื เรอื่ ง ๖๖ คําอธิบายศัพทแ ละขอความ ๖๗ เร่ืองยอ ๘๒ แนวคดิ ของเร่อื ง บทวเิ คราะห คุณคาท่ีไดร บั จากเร่ือง แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอเิ ล็กทรอนกิ ส เรอื่ ง กาพยเรื่องพระไชยสุริยา (ครูแวน )

สารบญั หนา ๙๑ แหลง เรยี นรเู พม่ิ เติม ๙๒ กิจกรรมสะทอ นคดิ ๙๓ แบบฝกหัดทายบท ๙๔ แบบทดสอบ บรรณานกุ รม ๑๐๑ ภาคผนวก ๑๐๒ ประวตั ผิ ูจ ดั ทํา ๑๐๓ แบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษอิเลก็ ทรอนิกส เรื่อง กาพยเร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน)

กาพยเ รอื่ งพระไชยสรุ ยิ า สุนทรภู แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอ ิเล็กทรอนิกส เรอื่ ง กาพยเ ร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครแู วน)

บทนาํ สมบตั วิ รรณคดขี องไทย “วรรณคดี” คือ งานประพันธซึ่งไดรับการยกยองวา แตงดีมีคุณคาที่จะประเทืองปญญาแกผูอาน นอกจากคําวา “วรรณคดี” ยังมีอีกคําหนึ่งที่ใชเรียกงานประพันธคือคําวา “วรรณกรรม” ซ่ึงมีความหมายครอบคลุมงานประพันธทุก ประเภท กลา วคอื หมายถึงงานประพันธท่ัวไป โดยมิไดมีขอจํากัด วา จะตองไดรับการยกยองวาแตงดีดังเชนวรรณคดี ดังน้ันจึง กลา วไดว า วรรณกรรมมีความหมายกวา งกวา วรรณคดี การอานวรรณคดีและวรรณกรรมนอกจากผูอาน จะตองจับใจความหรือสาระสําคัญของเรื่องแลว ผูอานควร พิจารณาองคประกอบตาง ๆ ของวรรณคดีและวรรณกรรม ดังตอ ไปน้ี ๑. รูปแบบ หมายถึง ลกั ษณะตา ง ๆ ท่ปี ระกอบขึ้นเปนวรรณคดี ซ่ึงอาจจาํ แนกได ๒ ประเภท ดังนี้ ๑.๑ จําแนกตามลักษณะการถายทอด มี ๒ ประเภท คือ ๑) วรรณคดแี ละวรรณกรรมทถี่ ายทอดดว ยวธิ ีการ ๑บอกเลาและจดจําสืบตอกนั มา เชน นทิ านพ้นื บาน เพลงพนื้ บา น แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เร่อื ง กาพยเ รื่องพระไชยสุริยา (ครแู วน)

๒) วรรณคดีและวรรณกรรมท่ีถายทอดดวยวิธีการจด บันทึกเปนตัวอักษร เชน วรรณคดีในราชสํานัก วรรณคดีที่ใช ประกอบประเพณหี รอื พิธีกรรมทางศาสนา ๑.๒ จําแนกตามลักษณะคําประพันธ มี ๒ ประเภท คอื ๑) รอ ยแกว หมายถึง เรือ่ งท่ีแตง ขึ้นเปน ความเรยี ง ๒) รอ ยกรอง หมายถึง เร่อื งท่แี ตง ดว ยคาํ ประพนั ธทม่ี ี ลักษณะบังคับหรือฉันทลักษณ เชน กาพย กลอน โคลง ราย ฉันท ๒. เนื้อหา หมายถึง เร่ืองราวหรอื เนื้อหาในวรรณคดหี รือ วรรณกรรม แบง เปน ๒ ประเภท ดงั นี้ ๒.๑ บันเทิงคดี หมายถึง เร่ืองราวท่ีเปนเรื่องเลา สมมุติหรือมีความเปนจริงอยูบาง มุงใหความบันเทิงและความ เพลิดเพลินเปนสําคัญ โดยบางคร้ังอาจแทรกความรูความคิดเห็น ในเรอ่ื งตาง ๆ ไวด ว ย ๒.๒ สารคดี หมายถึง เรื่องราวท่ีมุงใหความรูความ คิดเห็น โดยมีเน้ือหาสาระที่เปนความจริงเปนสวนสําคัญ และมุง ใหความเพลิดเพลินรองลงมา ๒ แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ ิเล็กทรอนกิ ส เรือ่ ง กาพยเร่อื งพระไชยสุริยา (ครแู วน)

๓. กลวิธีการประพันธ หมายถึง การเลือกใชถอยคําใหเกิดความ ไพเราะงดงาม ซง่ึ แสดงถงึ ความสามารถในการประพันธ และชวย สือ่ ความหมายใหเกิดความชัดเจนมากย่งิ ข้ึน นอกจากการพิจารณาองคประกอบตาง ๆ ดังที่กลาว มา ผูอานควรพิจารณาคุณคาของวรรณคดีหรือวรรณกรรมดวย เพ่ือใหเห็นความสําคัญและเกิดความซาบซึ้งในวรรณคดีหรือ วรรณกรรมเรื่องน้ันมากย่ิงข้ึน คุณคาของวรรณคดีหรือ วรรณกรรมอาจแบง ได ๔ ดาน ดงั นี้ ๑. คณุ คา ดานวรรณศิลป คําวา “วรรณศิลป” หมายถึง ศิลปะในการเลือกสรร ถอยคําใหเกิดความไพเราะงดงาม ทั้งน้ี เพื่อใหผูอานไดรับรสของ เสียง สัมผัสไดถึงอารมณและความรูสึกของกวีหรือตัวละครใน เร่ือง เชน นางนวลจบั นางนวลนอน เหมอื นพ่ีแนบนวลสมรจนิ ตะหรา จากพรากจบั จากจํานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตี แขกเตา จบั เตารางรอ ง เหมอื นรา งหอ งมาหยารัศมี นกแกว จับแกวพาที เหมือนแกวพี่ทงั้ สามส่ังความมา ๓(อิเหนา: พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลยั ) แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ เิ ล็กทรอนกิ ส เรื่อง กาพยเ ร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน)

เมื่อพิจารณาคําประพันธขางตนจะพบวา มีการ เลือกใชถอยคําใหเกิดเสียงสัมผัส เชนคําวา จาก จับ จํานรรจา ขณะเดียวกันมีการเลนคํา คือ การใชคําเดียวกันแตคนละ ความหมาย เชน นกแกวจบั แกว พาที เหมือนแกวพท่ี ัง้ สามส่งั ความมา จะเห็นไดวากวีใชคําวา “แกว” ถึง ๓ คํา คําแรก หมายถึง นกชนิดหน่ึง คําท่ีสองหมายถึง ช่ือของตนไม และคํา สุดทายหมายถึง นางอันเปนที่รัก คําประพันธขางตนจึงมีการใช ถอยคําใหเกิดความไพเราะงดงามขณะเดียวกันก็สื่อถึงอารมณ ของตัวละครท่มี ีความโศกเศรา เมอ่ื ตอ งจากนางผเู ปนท่ีรัก วรรณศิลปใ นวรรณคดไี ทย วรรณศิลปในวรรณคดีไทยเปนเคร่ืองสะทอนใหเห็น วางานประพันธแตละเร่ืองจะตองเลือกสรรคําประพันธให เหมาะสมกับผลงาน เพื่อส่ือความหมายและถอยคําท่ีไพเราะ สละสลวยอันเปนลักษณะเฉพาะของภาษากวีและทําใหผูอานเกิด ความสะเทือนอารมณก ลวิธใี นการพิจารณาวรรณศิลปในวรรณคดี ไทย ดงั น้ี ๔ แบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษอิเลก็ ทรอนิกส เร่อื ง กาพยเรอื่ งพระไชยสุริยา (ครูแวน)

๑. รสวรรณคดไี ทย รสวรรณคดีเปนส่ิงท่ีสัมผัสไดดวยตาและหู เปนรสที่บง บอกถึงสภาวะของอารมณ ถาวรรณคดีเรื่องใดสามารถโนมนาวใจ ผูอานใหเกิดความเพลิดเพลินและเกิดอารมณฝายสูง วรรณคดีเรื่อง นั้นก็มีคุณคาทางวรรณศิลปและรสวรรณคดียอมถายทอดผานภาษา จากผูแตง สูผูอาน ดังนนั้ ภาษากับวรรณคดจี งึ แยกกันไมไ ด รสวรรณคดไี ทยแบง ออกไดเ ปน ๔ รส ดังนี้ ๑) เสาวรจนี เปนบทท่ีชมความงาม ไมวาจะเปนความ งามของตัวละครหรือความงามของสถานท่ี เชน ความงามของนาง ศกุนตลา ดผู ิวสนิ วลละอองออน ๕ ซอนดดู าํ ไปหมดสิน้ สองเนตรงามกวามฤคิน นางนี้เปน ปน โลกา งามโอษฐดงั ใบไมออน งามกรดังลายเลขา งามรปู เลอสรรขวัญฟา งามยิง่ บปุ ผาเบง บาน (ศกุนตลา: พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจา อยหู ัว) แบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส เรื่อง กาพยเร่ืองพระไชยสุรยิ า (ครแู วน )

๒) นารีปราโมทย เปนบททีแ่ สดงความรกั ใครหรือพูดจาโอ โลมใหอีกฝายเกิดความปฏิพัทธ เชน บทแสดงความรักท่ีทาวชัยเสนมี ตอ นางมัทนา ผลิ นิ้ พจ่ี ะมีหลาย ก็ทกุ ล้นิ จะรุมกลา ว แสดงรกั ณ โฉมฉาย, และทกุ ล้ินจะเปรยปราย ประกาศถอ ยปะฏญิ ญา พะจวี าจะรักยดื บจางจดื สเิ นหา, สบถใหล ะตอหนา พระจนั ทรแ จม ณ เวหน. (มัทนะพาธา: พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยหู วั ) ๓) พิโรธวาทงั เปน บทแสดงความโกรธ ตัดพอ เหนบ็ แนม เสยี ดสี หรอื แสดงถงึ ความเคยี ดแคน เชน ตวั นางเปนไทแตใ จทาส ไมรกั ชาตริ สหวานมาพานขม ดัง่ สุกรฟอนฝา แตอาจม หอนนยิ มรกั รสสุคนธาร น้ําใจนางเหมือนอยา งชลาลยั เสียดายทรงแสนวไิ ลแตใจพาล ไมเ ลอื กไหลหวยหนองคลองละหาน สุกแดงดงั่ แสงปท มราช ประมาณเหมือนหนึง่ ผลอุทุมพร ขางในลวนกมิ ชิ าติเบยี นบอน ๖(กากีกลอนสุภาพ: เจา พระยาพระคลงั (หน)) แบบเรยี นวรรณคดวี จิ ักษอ ิเลก็ ทรอนิกส เร่ือง กาพยเร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครแู วน)

๔) สลั ลาปง คพิสัย เปนบททแี่ สดงการครํา่ ครวญ โศกเศรา เชน แลว วา อนจิ จาความรกั พ่งึ ประจกั ษดง่ั สายนํ้าไหล ตัง้ แตจ ะเช่ยี วเปนเกลียวไป ทไ่ี หนเลยจะไหลคนื มา สตรใี ดในพภิ พจบแดน ไมม ใี ครไดแ คนเหมือนอกขา ดวยใฝร ักใหเกินพกั ตรา จะมีแตเ วทนาเปนเนืองนิตย (อิเหนา: พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลานภาลยั ) ๓.๒ การใชภ าพพจน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ไดใหความหมายของ “ภาพพจน” วา ถอยคําท่ีเปน สํานวนโวหารทําใหนึกเปนภาพ ถอยคําท่ีเรียบเรียงอยางมีชั้นเชิง เปนโวหาร มีเจตนาใหมีประสิทธิผลตอความคิด ความเขาใจ ให จินตนาการและถายทอดอารมณไดอยางกวางขวางลึกซ้ึงมากกวา การบอกอยางตรงไปตรงมา กลวิธีในการนําเสนอภาพพจนที่ผูแตงนิยมใชในการ ประพนั ธ มีดงั นี้ ๗ แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอิเล็กทรอนิกส เรือ่ ง กาพยเ ร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน )

๑) การใชความเปรียบวาส่ิงหน่ึงเหมือนกับส่ิงหนึ่ง เรียกวา “อุปมา” โดยมีคําเปรียบปรากฏอยูในขอความ คําเปรียบ เหลาน้ี ไดแกคําวา เหมือน เสมือน คลาย ราวกับ เฉก เชน ดุจ ประดจุ ดงั ดัง่ เพียง เพ้ียง ปาน ปนู ฯลฯ ดังตัวอยาง พระนิพพานปานประหน่ึงศีรษะขาด ดว ยไรญาติยากแคน ถึงแสนเข็ญ ทง้ั โรคซาํ้ กรรมซัดวิบตั ิเปน ไมเลง็ เหน็ ทีซ่ ง่ึ จะพึง่ พา (นิราศภูเขาทอง: สุนทรภู) ออ นหวานมานมติ รลน เหลอื หลาย หยาบบมเี กลอกราย เกล่ือนใกล ดจุ ดวงศศิฉาย ดาวดาษ ประดบั นา สุรยิ ะสอ งดาราไร เพ่อื รอนแรงแสง (โคลงโลกนติ ิ: สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดศิ ร) แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอเิ ล็กทรอนกิ ส เรอ่ื ง กาพยเ ร่ืองพระไชยสรุ ยิ า (ครูแวน ) ๘

๒) การเปรียบวาส่ิงหน่ึงเปนอีกสิ่งหนึ่ง เรียกวา “อุปลักษณ” เปนภาพพจนที่นําสิ่งที่แตกตางกัน แตมีลักษณะรวม กันมาเปรียบเทียบกัน โดยใชคําเชื่อมวา \"เปน คือ หรือไมปรากฏ คําเช่ือมก็ได ดังตัวอยางตอไปนี้ท่ีเปรียบผูชายเปนขาวเปลือกและ เปรียบผูหญิงเปน ขา วสาร ชายขา วเปลือกหญงิ ขา วสารโบราณวา นํ้าพง่ึ เรือเสอื พ่งึ ปา อชั ฌาสยั เรากจ็ ิตคดิ ดูเลา เขากใ็ จ รักกันไวดีกวา ชังระวงั การ (อศิ รญาณภาษิต: หมอ มเจา อศิ รญาณ) สารสยามภาคพรอ ม กลกานท นี้ฤๅ คือคูมาลาสวรรค ชอชอ ย เบญญาพศิ าลแสดง เดิมเกียรติ พระฤๅ คือคไู หมแสรง รอ ย ก่ึงกลาง (ลลิ ิตยวนพา ย: ไมปรากฏนามผแู ตง ) ๙ แบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษอิเล็กทรอนิกส เร่ือง กาพยเรื่องพระไชยสรุ ิยา (ครแู วน )

๓) การสมมติใหส่ิงตาง ๆ มีกิริยาอาการหรือ ความรสู ึกเหมือนมนุษย เรียกวา “บุคคลวัตหรือบุคลาธิษฐาน” เปนการสมมติใหสิ่งไมมีชีวิต พืช สัตว มีความคิดและการ แสดงออกเหมือนมนุษย ดังตัวอยางตอไปนี้ที่กวีกลาววาสัตว ทั้งหลายในมหาสมุทรก็พลอยแสดงความโศกเศราเสียใจไปดวย เมือ่ ถงึ วันทก่ี วีตอ งจากนางอันเปน ท่ีรกั แสนสัตวนาเนกถวน แสนสนิ ธุ ทุกขบ นั ดาลไฟฟอน ชว ยเศรา วันเจียรสุดาพินท พักเตรศ แสนสุเมรุมวนเขา ดั่งลาญ (โคลงทวาทศมาส: พระเยาวราช) สัตภณั ฑบ รรพตทง้ั หลาย ออ นเอยี งเพียงปลาย ประนอมประนมชยั (บทพากยเอราวณั : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลยั ) กวีเปรียบเทียบวาภูเขาท้ังหลายตางคอมศีรษะลงเพื่อ แสดงความเคารพ เม่ือเหน็ ขบวนเสด็จขององคอมรนิ ทร ๑๐ แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอิเล็กทรอนิกส เร่อื ง กาพยเร่ืองพระไชยสุริยา (ครแู วน )

๔) การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ เรียกวา “สัทพจน” คือ การใชถอยคําเพื่อเลียนเสียงของธรรมชาติ เชน เสียงสัตวรอง เสียงคนรอ ง เสยี งดนตรี เชน ระวังตวั กลวั ครูหนูเอย ไมเ รยี วเจยี วเหวย กเู คยเข็ดหลาบขวาบเขวียว (พระไชยสรุ ิยา: สุนทรภ)ู คาํ วา “ขวาบเขวียว” เปนคําเลียนเสียงของไมเรียวยาม ท่แี หวกอากาศมากระทบผิวหนงั ๓.๓ การสรรคาํ การสรรคํา คือ การเลือกใชคําใหส่ือความคิด ความ เขา ใจ ความรูสึก และอารมณไดอยางงดงาม โดยคํานึงถึงความงาม ดา นเสยี งของถอ ยคําเปนสาํ คญั กลวิธีในการเลือกสรรคาํ มดี งั น้ี ๑) การเลน เสยี ง เปน การสรรคําทท่ี ําใหเกิดทว งทํานอง ที่ไพเราะ ไมวา จะเปนการเลนเสยี งสระ การเลน เสียงพยญั ชนะ และการเลน เสียงวรรณยุกต ๑๑ แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอ ิเล็กทรอนิกส เร่ือง กาพยเรือ่ งพระไชยสุริยา (ครูแวน )

๑.๑) การเลนเสียงสระ เปนการใชคําที่มีเสียงสระ ตรงกัน ถามีตัวสะกดก็ตองเปนตัวสะกดในมาตราเดียวกัน สวน วรรณยกุ ตจ ะตางรปู หรือตา งเสียงกันกไ็ ด เชน ดหู นูสรู งู ู งูสุดสูห นูสูงู หนงู ูสูดอู ยู รปู งูทูหนมู ูทู พรูพรู ดูงขู ฝู ดู ฝู สดุ สู หนสู รู งู งู ู งูอยู งสู ูหนหู นสู ู รปู ถมู ทู ู หนรู ูงงู ูรู (กาพยหอ โคลงประพาสธารทองแดง: เจาฟา ธรรมธิเบศร) ๑.๒) การเลนเสียงพยัญชนะ เปนการใชคําที่มี พยัญชนะตนเสียงเดียวกัน อาจเปนตัวอักษรที่เปนพยัญชนะรูป เดียวกัน หรือพยัญชนะท่ีมีเสียงสูงตํ่าเขาคูกัน หรือพยัญชนะควบ ชดุ เดียวกนั ก็ได เชน ฝูงลิงไตกิ่งลางลิงไขว ลางลิงแลน ไลก นั วนุ วงิ่ ลางลิงชงิ คา งข้ึนลางลงิ กาหลงลงกง่ิ กาหลงลง เพกากาเกาะทกุ กา นกงิ่ กรรณิการก าชงิ กนั ชมหลง มัดกากากวนลวนกาดง กาฝากกาลงทาํ รังกา ๑๒(ขนุ ชา งขุนแผน: พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลานภาลัย) แบบเรยี นวรรณคดวี จิ ักษอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรือ่ ง กาพยเ รือ่ งพระไชยสรุ ยิ า (ครูแวน)

๑.๓) การเลนเสียงวรรณยุกต เสียงวรรณยุกตเปน ขอกําหนดที่บังคับใชในการแตงคําประพันธบางประเภท เชน ฉันท หรือกลบท การเลนเสียงวรรณยุกตเปนการไลระดับเสียงเปนชุด ซ่ึง ทาํ ใหเกดิ เสยี งทไี่ พเราะชวนฟงเปน อยา งยิง่ เชน เสนาสสู สู ู ศรแผลง ยิงคา ยทลายเมอื งแยง แยงแยง รกุ รน รนรนแรง ฤทธิร์ ีบ ลวงลวงลว งวงั แวง รวบเรา เอามา (โคลงอกั ษรสามหม:ู พระศรมี โหสถ) ๒) การเลนคํา เปนความไพเราะของบทประพันธท่ีเกิด จากการเลือกใชถอยคําเปนพิเศษ การเลนคําแบงออกเปนการซ้ําคํา และการหลากคาํ ๒.๑) การซํ้าคํา เปนการกลาวซ้ํา ๆ ในคําเดิมเพื่อเพิ่ม นํา้ หนักของคําและย้าํ ใหค วามหมายชดั เจนขนึ้ เชน เหลือบเหน็ สตรวี ิไลลักษณ พิศพักตรผ อ งเพยี งแขไข งามโอษฐง ามแกม งามจุไร งามนยั นงามเนตรงามกร งามถันงามกรรณงามขนง งามองคย ่ิงเทพอปั สร งามจรติ กิริยางามงอน งามเอวงามออ นท้งั กายา ๑๓(รามเกียรติ์: พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช) แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ เิ ลก็ ทรอนิกส เร่อื ง กาพยเรอ่ื งพระไชยสรุ ยิ า (ครแู วน)

๒.๒) การหลากคํา เปนการใชคําท่ีมีความหมายเหมือนกัน หรอื “คาํ ไวพจน” ในบทประพันธเ ดียวกนั ตวั อยางเชน ❀ พระเจาแผน ดิน ใช บดินทร ภบู าล ภบู ดินทร ราเชนทร ❀ ดวงอาทิตย ใช ตะวัน สุริยา สุริยะ ระพี ไถง ทินกร ❀ ดวงจนั ทร ใช รัชนีกร แข บุหลัน นิศากร ศศิธร โสม ❀ ปา ใช ไพร ไพรสณั ฑ พง ดง อารัญ พนา เถอ่ื น พนัส ❀ ขาศกึ ใช ไพรี ดสั กร ริปู ปจนกึ อริ ปรปก ษ ปจ จามติ ร ❀ เมอื ง ใช บรุ ี ธานี นคร พารา ปรุ ะ กรงุ นคเรศ บรุ ินทร ❀ ดอกไม ใช บุปผา บษุ บา โกสมุ มาลี ผกา สคุ ันธชาติ ❀ ภูเขา ใช ครี ี สิงขร บรรพต ไศล ศิขรนิ ทร พนม ภูผา ❀ ทอ งฟา ใช นภา เวหา อมั พร ทฆิ ัมพร คคั นานต โพยม ❀ แผน ดนิ ใช ภมู ิ ธรณี ปฐพี ธาตรี ธรา ภวู ดล พิภพ หลา ❀ ชา ง ใช ไอยรา ดาํ รี กญุ ชร สาร คช หัตถี กรนิ ทร หัสดี ❀ มา ใช อาชา อาชาไนย พาชี สินธพ อัศวะ มโนมยั แสะ การเขาใจความหมายและแนวทางของการวิจักษวรรณคดี ตลอดจนศิลปะในการแตง และการใชถอยคําสํานวนอันเปนหัวใจของ วรรณคดีดังกลาวไปขางตน ผูเรียนสามารถนําความรูเหลาน้ีมาใชเปน พื้นฐานในการวิจารณและประเมินคาวรรณคดี เพ่ือใหสามารถอาน วรรณคดที ่นี ํามาศกึ ษาไดอ ยางเขาใจและไดอรรถรสมากย่ิงขึ้น ๑๔ แบบเรียนวรรณคดีวจิ ักษอิเลก็ ทรอนกิ ส เร่อื ง กาพยเรอ่ื งพระไชยสุรยิ า (ครแู วน )

๒. คณุ คาดา นแนวคดิ คําวา “แนวคิด” หมายถึง สารหรือความคิด สําคัญท่ีผูเขียนตองการ จะสื่อสารมายังผูอาน ซึ่งโดยสวน ใหญแลวมักเปนความคิดท่ีแสดงกฎเกณฑตามธรรมชาติและ ความจริงของโลก วรรณคดีที่ดีจะตองไมเสนอแนวคิดอยาง ตรงไปตรงมา ผูอานจะตองพิจารณาและขบคิด ท้ังในดาน พฤติกรรมของตัวละครและเหตุการณตาง ๆ ในเรื่องทั้งหมด เพ่ือประมวลสรุปเปนแนวคิดสําคัญ เชน เร่ืองรามเกียรต์ิ ปรากฏแนวคิดของเร่ือง คือ ธรรมะยอมชนะอธรรม เห็นได จากเนือ้ เรอื่ งท่ีพระรามซึ่งเปนมนุษยสามารถสังหารทศกัณฐผู เปน พญายักษทลี่ กั พานางสีดาไป วรรณคดีที่มีเนื้อเรื่องขนาดยาวอาจมีสาระสําคัญ หรือแนวคิดของเร่ืองท้ังแนวคิดหลักและแนวคิดรอง แนวคิด หลัก หมายถึง การพิจารณาสารของเน้ือเรื่องโดยรวม และ แนวคิดรอง หมายถึง การพิจารณาสารของเนื้อเรื่องเฉพาะ ตอนใดตอนหนึ่ง เปน แนวคดิ ทปี่ ระกอบเขากับแนวคดิ หลกั แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอ เิ ลก็ ทรอนิกส เรอ่ื ง กาพยเ รอ่ื งพระไชยสุริยา (ครูแวน ) ๑๕

๓. คณุ คา ดานเนอื้ หา เนื้อหาในวรรณคดีคือ เร่ืองราว สาระ ขอคิดท่ี ปรากฏในวรรณคดี ซ่ึงมาจากเนื้อเรื่อง ตัวละคร เหตุการณ ตาง ๆ เน้ือหาท่ีเกิดประโยชนตอผูอานในดานความรูความคิด การปฏิบตั ิทด่ี งี ามจึงเปนวรรณคดที ่มี คี ุณคา ถงึ บางพูดพูดดีเปนศรศี ักดิ์ มคี นรักรสถอยอรอ ยจติ แมนพดู ช่วั ตวั ตายทําลายมติ ร จะชอบผิดในมนษุ ยเ พราะพูดจา (นิราศภูเขาทอง: สนุ ทรภู) คําประพันธขางตนมีเนื้อหาแสดงความสําคัญของ การพูดวาการพูดเปนปจจัยสําคัญท่ีจะทําให มนุษยประสบ ความสําเร็จหรือลมเหลว เนื้อหาของคําประพันธบทน้ีจึงมี คณุ คา เพราะใหคติในการดาํ เนนิ ชีวติ แกผอู าน แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอ ิเลก็ ทรอนกิ ส เรื่อง กาพยเ รอื่ งพระไชยสุรยิ า (ครแู วน) ๑๖

๔. คุณคาดานสงั คม หมายถึง การพิจารณาส่ิงที่สะทอนจากวรรณคดีและ วรรณกรรม ซึ่งกวีนิยมแทรกไวในเร่ือง เพื่อเสริมเนื้อความใหมี ความชดั เจนและสมจรงิ มากย่งิ ขึ้น นอกจากนี้ ยงั แสดงถงึ ความรอบ รูของกวีในเร่ืองราวหรือเหตุการณตาง ๆ ท่ีปรากฏอยูในสังคม เชน ประเพณี พิธีกรรม ความเช่ือ การดําเนินชีวิต และคานิยม มี วรรณคดีหลายเรื่องท่ีปรากฏคุณคาดานสังคม ซึ่งแสดงถึง ความสามารถ ความรอบรูของกวี เสริมความรูและประสบการณแก ผูอานไดเปนอยางดี ตัวอยางคุณคาดานสังคมที่ปรากฏในวรรณคดี เชน เสภาเรื่อง ขุนชาง-ขุนแผน ที่กลาวถึงวิถีชีวิตของชาวบานใน สมยั โบราณ ถึงฤกษงามยามปลอดคลอดงายดาย ลกู น้ันเปนชายรองแวแ ว พี่ปานาอามาดแู ล ลางแชแลวก็สง ใหแ มนม ทาขมนิ้ แลว ใสก ระดง รอ น ใสเบาะใหนอนเอาผาหม ปูยาตายายสบายชม เรือนผมนา รกั ดังฝกบวั เอาขนึ้ ใสอแู ลว แกวงไกว แมเขานอนไฟใหร อ นทว่ั เดือนหนงึ่ ออกไฟไมหมองมัว ขมนิ้ แปงแตง ตวั นา เอน็ ดู (เสภาเร่ือง ขนุ ชาง-ขุนแผน) ๑๗ แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอ ิเล็กทรอนกิ ส เรือ่ ง กาพยเ รือ่ งพระไชยสรุ ยิ า (ครูแวน)

เมื่อพิจารณาคําประพันธขางตนจะเห็นวา กวี กลาวถึงประเพณีการเกิดของชาวบานในสมัยโบราณ เริ่ม จากมีญาติพ่ีนองมาคอยชวยดูแลในการคลอด ลูกท่ีคลอด อ อ ก ม าก็ จ ะ ไ ด รั บกา ร ดู แ ลเ อ าใ จ ใ สเป น อ ย าง ดี ขณะเดียวกันผูเปนแมก็เขาไปนอนอยูไฟตามความเช่ือ ทางการแพทยสมัยกอน นักเรียนควรนําหลักการอานวรรณคดีและ วรรณกรรมน้ีไปศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม เพ่ือให เกิดความเขาใจ ซาบซึ้ง และตระหนักในคุณคาของมรดก ทางปญ ญาทถ่ี ายทอดมาจากบรรพชนไทย แบบเรยี นวรรณคดวี จิ ักษอเิ ลก็ ทรอนิกส เรื่อง กาพยเร่อื งพระไชยสรุ ยิ า (ครูแวน ) ๑๘

ประวตั ิความเปน มา กาพยเร่ืองพระไชยสุริยาเปนวรรณกรรมท่ีสุนทรภูแตง ข้ึน โดยมีความยาวประมาณ ๑ เลมสมุดไทย ในแตละตอนจะแตง เปนบทอา นตามมาตราตวั สะกด เรียงลําดับตั้งแต แม ก กา แลวตาม ดวย แมกน แมกง แมกก แมกด แมกบ แมกม และจบลงท่ีแมเกย กาพยเรื่องพระไชยสุริยาน้ีสามารถใชเปนตัวอยางในการอานคํา เทียบหลังจากเรียนผันอักษรไดแลว ดังนั้น ถานํากาพยเร่ืองพระไชย สุริยาไปใชในการสอนอาน ก็จะทําใหเด็ก ๆ สนุกสนานเพลิดเพลิน ไมเบื่อหนาย เพราะไดรูเรื่องนิทานเรื่องพระไชยสุริยาไปดวย และ ปรากฏวากาพยเร่ืองพระไชยสุริยาไดรับการยกยองวาเปนบท ประพันธที่ไพเราะ อานเขาใจงาย มีคติสอนใจ และใชสอนศิษยได เปนผลดี ภายหลังจึงมีผูนํากาพยเรื่องพระไชยสุริยาของสุนทรภูไปใช สอนศิษยโ ดยท่วั กัน จนเปนท่ีนิยมอยางกวางขวาง สําหรับระยะเวลา ท่ีแตงกาพยเรื่องพระไชยสุริยาน้ัน นักวรรณคดีและผูศึกษาประวัติ สนุ ทรภตู างก็ใหค าํ สันนิษฐานที่แตกตางกันออกไป ดงั น้ี สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเลาวาพระยาธรรมปรีชา(บุญ) ซึ่งเคยบวชอยูท่ีวัดเทพธิดาราม เลาใหพระองคฟงวา สุนทรภูแตงกาพยเรื่องพระไชยสุริยาเมื่อคร้ัง บวชอยูทีว่ ัดเทพธดิ าราม แบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษอิเลก็ ทรอนกิ ส เร่อื ง กาพยเร่อื งพระไชยสรุ ิยา (ครแู วน)

ราว พ.ศ. ๒๓๘๓-๒๓๘๕ มีนักวิชาการทานหนึ่งกลาววา สุนทรภูแตงกาพยเร่ืองพระไชยสุริยาเมื่อแรกบวชและจํา พรรษาอยูที่วัดในจังหวัดเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. ๒๓๖๘ หรือไม กแ็ ตงขน้ึ เมือ่ ไปสอนหนังสือที่เพชรบรุ ใี นคร้งั หลัง จะเห็นไดวานักวรรณคดีสองทานนี้ มีความเห็น ตางกันในเร่ืองของปและสถานท่ีท่ีแตง แตขอสันนิษฐานที่ ตรงกันก็คือ สุนทรภูแตงกาพยเรื่องพระไชยสุริยาในขณะท่ี บวชเปน พระภิกษุ แบบเรยี นวรรณคดวี จิ ักษอ เิ ล็กทรอนิกส เร่ือง กาพยเรอื่ งพระไชยสุริยา (ครแู วน ) ๒๐

ประวตั ผิ ูแตง “สุนทรภู” ช่ือนี้มาจากราชทินนามของทาน คือ “สุนทรโวหาร” กับนามเดิมวา “ภู” รวมกันเปนสุนทรภู ทานเกิด เม่ือวันท่ี ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ ตรงกับรัชกาลของ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) สําหรับประวัติบิดามารดาของสุนทรภูน้ัน นักวิชาการ ดา นวรรณคดมี ีความเหน็ ท่ีแตกตางกัน บางก็เชื่อวาบิดาของสุนทร ภูเปนชาวบานกรํ่า อําเภอแกลง จังหวัดระยอง บางก็เชื่อวาบิดา ของสุนทรภูเปนชาวเพชรบุรี สวนมารดานั้นสันนิษฐานวาอพยพ มาจากกรุงศรีอยุธยา ครั้งเสียกรุงแกพมาใน พ.ศ. ๒๓๑๐ แลวมา ต้ังรกรากที่กรุงธนบุรี กาลตอมาบิดามารดาของสุนทรภูไดแยก ทางกัน มารดาของสุนทรภูมีสามีใหมและมีลูกสาว ๒ คนช่ือ ฉิม ๒๑กับนมิ่ แบบเรยี นวรรณคดีวจิ กั ษอ ิเลก็ ทรอนกิ ส เรอื่ ง กาพยเร่อื งพระไชยสุริยา (ครูแวน)

สวนบิดาของสุนทรภูนั้นไปบวชอยูท่ีเมืองแกลง จังหวัดระยอง แลวหลังจากน้ันมารดาของสุนทรภูไดรับราชการเปนนางพระนม ในพระองคเ จาจงกล พระธิดาของกรมพระราชวงั หลัง สนุ ทรภูจ ึง ไดถวายตัวเปน ขาในกรมพระราชวงั หลงั ต้งั แตยงั เดก็ เม่ือถึงวัยเรียนสุนทรภูไดเรียนหนังสือท่ีวัดชีปะขาว (วัดศรีสุดาราม) จนมีความรูพอที่จะทํามาหากินได ก็ไปเปน เสมียนนายระวาง กรมพระคลังสวน ทําไดไมนานก็ออกมาอยู พระราชวังหลังตามเดิม ในขณะที่กลับมาอยูพระราชวังหลังนี้ สุนทรภูแอบคบหากับนางในคนหน่ึงชื่อแมจัน ทําใหสุนทรภู ตองโทษจองจํา คร้ันกรมพระราชวังหลังทิวงคต สุนทรภูก็พน โทษ เมื่อพนโทษแลวจึงเดินทางไปหาบิดาท่ีเมืองแกลง เม่ือกลับ จากเมืองแกลงแลวก็เขารับราชการเปนมหาดเล็กของพระองค เจาปฐมวงศ พระโอรสในกรมพระราชวังหลัง ตอมาเจาครอก ทองอยูพระอัครชายาในกรมพระราชวังหลังไดเปนธุระสูขอแม จันใหกับสุนทรภู กาลตอมาพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา นภาลัยไดเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเปนรัชกาลท่ี ๒ แหงราชวงศ จักรี ในรัชกาลน้ีสุนทรภูมีบุญวาสนามาก ไดเปนกวีท่ีปรึกษารับ ใชใกลชิด และยังไดเปนพระอาจารยถวายพระอักษรเจาฟา อาภรณพ ระราชโอรสในรชั กาลท่ี ๒ กบั เจา ฟา กณุ ฑลทพิ ยวดี แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอ เิ ล็กทรอนิกส เร่ือง กาพยเ ร่ืองพระไชยสุริยา (ครูแวน ) ๒๒

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย สวรรคต ชีวิตของสุนทรภูก็ตกตํ่าและไมไดรับราชการ สุนทรภู จึงออกบวช ในระหวางนี้เจาฟากุณฑลทิพยวดี ไดนําเจาฟาชาย กลางและเจาฟาชายปว พระอนุชาในเจาฟาอาภรณมาฝากฝงให เปนลูกศิษยข องสนุ ทรภู นอกจากนี้ สุนทรภูไดรับอุปการะจากพระราชวงศ องคตาง ๆ ไดแก กรมหม่ืนอัปสรสุดาเทพ พระองคเจาลักขณา นุคุณ สมเด็จเจาฟากรมขุนอิศเรศรังสรรค (พระบาทสมเด็จ พระปนเกลาเจาอยูหัว) ครั้นเขาสูแผนดินของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ชีวิตของสุนทรภูก็กลับมาสูความสุขอีก คร้ัง เพราะไดรับการโปรดเกลาฯ ใหเปนเจากรมอาลักษณ ฝาย พระราชวงั บวร ตาํ แหนงพระสุนทรโวหาร ซง่ึ ทานอยูในตําแหนง น้ีได ๕ ปก็ถึงแกกรรมในป พ.ศ. ๒๓๙๘ แลวในวาระครบ ๒๐๐ ปชาตกาลของสุนทรภู เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๙ องคการศึกษาวิทยาศาสตรและวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ (UNESCO) ไดประกาศยกยองเกียรติคุณสุนทรภู ใหเ ปน ผมู ผี ลงานดเี ดน ทางดานวัฒนธรรมระดบั โลก แบบเรียนวรรณคดีวจิ ักษอเิ ล็กทรอนกิ ส เร่อื ง กาพยเ ร่ืองพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน) ๒๓

ลกั ษณะคาํ ประพนั ธ สุนทรภูแตงกาพยเร่ืองพระไชยสุริยา โดยใชคําประพันธ ประเภทกาพย ซึ่งมีอยูดวยกัน ๓ ชนิด คือ กาพยยานี ๑๑ กาพยฉบัง ๑๖ และกาพยสรุ างคนางค ๒๘ ซง่ึ มีรายละเอยี ดดังตอไปน้ี กาพยย านี ๑๑ แผนผัง กฎ : ๑. วรรคหนามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา รวม ๒ วรรค เปน หนึ่งบาท นับ ๒ บาทเปนหน่ึงบท รวมเปน ๒๒ คํา แตงอยางนอยตอง หน่ึงบท (๔ วรรค) เสมอ จะแตงนอยกวาน้ันไมได ในวรรคหนึ่ง ๆ จะใช คาํ เกนิ กวา กาํ หนดบางกไ็ ด แตต องเปน คาํ ท่ปี ระกอบดวยสระเสยี งส้ัน ๒. ใหคําสุดทายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคําท่ี ๓ ของวรรคท่ี ๒ (บางทีเลื่อนมาสัมผัสกับคําท่ี ๑ ของวรรคท่ี ๒ บางก็ได) และใหคํา สุดทายของวรรคท่ี ๒ สัมผัสกับคําที่ ๕ ของวรรคที่ ๓ ถาแตงบทตอไป อีกตองใหคําสุดทายของบทตนสัมผัสกับคําสุดทายของวรรคท่ี ๒ ของ ๒๔บทตอ ไปคลา ยกับสมั ผัสของกลอนดังกลาวแลว แบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษอเิ ลก็ ทรอนิกส เร่ือง กาพยเร่ืองพระไชยสุรยิ า (ครูแวน)

หรือจะแตงใหบาทที่สองสัมผัสกันเหมือนบาทที่ ๑ ก็ได คือใหคําที่ ๕ ของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคําท่ี ๓ ของวรรคที่ ๔ ซ่ึงโบราณนิยมใชคําที่ ๕ ของวรรคที่ ๓ สัมผัสกบั คําท่ี ๑ ของวรรคท่ี ๔ กม็ ี ๓. ถอยคําที่ใชในวรรคเดียวกัน นิยมใหมีสัมผัสในเหมือน กลอนจงึ จะไพเราะ ถอ ยคาํ ในระหวา งวรรคจะใชย ตั ิภงั คก็ได แตจะใช ยตั ภิ งั คใ นระหวา งบาทหรือบทไมไ ด ๔. คําสุดทายของบทหามใชคําตายหรือคําที่มีรูป วรรณยกุ ต ๕. กาพยชนิดน้ีมีชื่อเรียกหลายอยาง คือ กาพยยานีบาง กาพยยานีลํานําบาง กาพย ๑๑ บาง เหตุท่ีเรียกกาพยยานีนั้นเขาใจ วาเปนกาพยที่แปลงมาจากคําฉันทบาลีใน “รตนสูตร” ซ่ึงขึ้นตนดวย คาํ วา “ยานี” จงึ เรยี กชอื่ ตามคาํ ขึ้นตนนัน้ ๖. กาพยยานีมักนิยมแตงเปนบทสวด บทเหเรือ บท พากยโขน และบทสรภัญญะที่ใชในบทละคร นิยมแตงเกี่ยวกับตอนท่ี เปน พรรณนาโวหาร ตอนชมสิ่งตาง ๆ หรือตอนทโี่ ศกเศราคร่ําครวญ ตัวอยา งกาพยย านจี าํ นวน ๒ บท กาพยย านีลํานํา สิบเอด็ คาํ จาํ อยา คลาย ๒๕ วรรคหนา หา คําหมาย วรรคหลังหกยกแสดง ครุลหุน้ัน ไมส ําคัญอยาระแวง สัมผัสตอ งจดั แจง ใหถูกตอ งตามวธิ ี แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ เิ ล็กทรอนิกส เรื่อง กาพยเรอ่ื งพระไชยสุรยิ า (ครูแวน )

กาพยฉ บงั ๑๖ แผนผัง กฎ : ๑. บทหน่ึงของกาพยฉบังมีอยู ๓ วรรค วรรคที่ ๑ กับวรรค ที่ ๓ มีวรรคละ ๖ คาํ วรรคท่ี ๒ มี ๔ คาํ รวมเปน ๑๖ คํา ๒. ใหคําสุดทายของวรรคแรกสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค ที่ ๒ ของวรรคที่ ๒ ถาจะแตงบทตอ ๆ ไปอีกตองใหคําสุดทายของบท ตน สัมผัสกับคาํ สุดทา ยของวรรคท่ี ๒ ของบทตอ ไป ๓. ความไพเราะของกาพยฉบังอยูที่การใชคําและเสียงของ คํา ใหมีสัมผัสสระและอักษร คําทุกคําควรเลือกใหไดลักษณะ “เสียงดี ความเดน” ๔. ลักษณะดพี ิเศษของกาพยฉ บังอีกอยางหน่ึงคอื ก. ใหค าํ ที่ ๑ และคําที่ ๒ ของวรรคที่ ๓ เปนคาํ ตาย ข. ให ๒ คําหลังของวรรคตนกบั ๒ คาํ ตนของวรรคท่ี ๒ เลน อกั ษรกัน ค. ใหคําท่ี ๒ ของวรรคที่ ๓ เลนอักษรหรือสัมผัสอักษรกับ คาํ สดุ ทา ยของวรรคที่ ๒ เชน ๒๖ แบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษอิเลก็ ทรอนิกส เรอ่ื ง กาพยเรื่องพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน)

ลมโชยชวนชนื่ ร่ืนรมย รน่ื รสคาํ คม ขอดแคะเขี่ยกรรณหรรษา หม สขุ ทกุ ขโศกสรา งซา สรา งส้นิ วิญญาณ เพราะยอดเยาวลักษณรว มสม ๕. ถอยคําในระหวางวรรคจะใชยัติภังคก็ได แตจะใช ยตั ภิ งั คใ นระหวา งบทไมไ ด ๖. ในวรรคหน่ึง ๆ จะใชคําเกินกวากําหนดบางก็ได แตตองเปนคําลหุและตองไมยาวเกินไปจนขัดกับจังหวะและ ทํานองอา น ๗. กาพยฉบังนิยมแตงเกี่ยวกับตอนที่เปนพรรณนา โวหาร เปนบทสวด และบทพากยโขนดว ย ตัวอยา งกาพยฉบงั จาํ นวน ๓ บท ฉบังสิบหกคาํ ควร ถอยคาํ สํานวน พงึ เลือกใหเ พราะเหมาะกัน วรรคหน่ึงพึงสรร วรรคหนาวรรคหลงั รําพัน แตง เสนาะเพราะเพลนิ ใสว รรคละหกคาํ เทอญ วรรคสองตองส่ีคาํ เชิญ ใครไดส ดบั จบั ใจ แบบเรยี นวรรณคดีวจิ กั ษอิเล็กทรอนิกส เรื่อง กาพยเ ร่ืองพระไชยสุริยา (ครูแวน) ๒๗

กาพยส ุรางคนางค ๒๘ แผนผงั หรอื กฎ : ๑. บทหนึ่งมี ๗ กลอนหรือ ๗ วรรค วรรคหน่ึงมี ๔ คํา รวม เปน ๒๘ คาํ ๒. คําสัมผัสใหดูตามแผนผัง ถาจะแตงบทตอไปอีกตองให คําสดุ ทา ยของบทตน สัมผัสกบั คาํ สุดทายของวรรคท่ี ๓ ของบทตอ ไป ๓. จะเพม่ิ สมั ผัสใหค าํ ท่ี ๔ วรรคที่ ๔ สัมผัสกับคําท่ี ๒ วรรค ที่ ๕ ก็ได จะทําใหไ พเราะข้ึนอีกดว ย ๔. การเขียนแผนผังสามารถเขียนไดทั้งแบบแนวต้ังและ ๒๘แนวนอน แบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษอ เิ ล็กทรอนิกส เรื่อง กาพยเรือ่ งพระไชยสรุ ยิ า (ครแู วน)

ตวั อยา งกาพยสรุ างคนางคจ ํานวน ๒ บท กําหนดบทวาง สุรางคนางค บทหนึ่งเจด็ วรรค ย่ีสิบแปดคํา วรรคหน่ึงสีค่ ํา เปนหลกั พงึ จาํ จําตองกาํ หนด แนะนาํ วธิ ี คาํ ทายวรรคสาม หากแตง หลายบท สมั ผัสกนั ดี บญั ญัตจิ ดั มี ตองตามวถิ ี ทายบทตน แล หรือ สรุ างคนางค กาํ หนดบทวาง ย่สี ิบแปดคํา บทหนึ่งเจด็ วรรค เปนหลกั พึงจํา วรรคหนึง่ สคี่ าํ แนะนาํ วธิ ี หากแตง หลายบท จาํ ตอ งกาํ หนด บญั ญตั จิ ดั มี คาํ ทา ยวรรคสาม ตองตามวิถี สมั ผสั กันดี ทายบทตนแล แบบเรียนวรรณคดีวจิ ักษอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรอ่ื ง กาพยเ ร่ืองพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน) ๒๙

เนื้อเร่ือง ยานี ๑๑ พระศรีไตรสรณา เทวดาในราศี ๏ สาธุสะจะขอไหว เขา มาตอ ก กา มี พอ แมแ ลครบู า ดมี ดิ ีอยาตรีชา ๏ ขาเจา เอา ก ข แกไ ขในเทาน้ี แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอ ิเล็กทรอนิกส เร่อื ง กาพยเร่ืองพระไชยสุรยิ า (ครูแวน) ๓๐

๏ จะราํ่ คาํ ตอไป พอลอ ใจกมุ ารา ธรณมี รี าชา เจา พาราสาวะถี มีสุดามเหสี ๏ ช่ือพระไชยสุริยา อยูบรุ ไี มมีภัย ช่อื วา สมุ าลี มีกิริยาอชั ฌาศรัย ไดอ าศัยในพารา ๏ ขาเฝา เหลาเสนา ชาวบุรกี ็ปรดี า พอ คามาแตไ กล ไดข า วปลาแลสาลี ๏ ไพรฟาประชาชี ทาํ ไรขา วไถนา แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอิเลก็ ทรอนกิ ส เร่อื ง กาพยเ รอ่ื งพระไชยสุริยา (ครูแวน ) ๓๑

๏ อยมู าหมขู า เฝา ก็หาเยาวนารี ท่หี นาตาดีดี ทาํ มโหรที ีเ่ คหา ๏ คาํ่ เชาเฝาสีซอ เขา แตหอลอ กามา หาไดใ หภริยา โลโภพาใหบ าใจ ๏ ไมจ ําคาํ พระเจา เหไปเขาภาษาไสย ถือดมี ีขา ไท ฉอแตไพรใ สขอื่ คา ๏ คดที ่มี คี ู คอื ไกหมเู จาสุภา ใครเอาขา วปลามา ใหส ภุ าก็วา ดี ๏ ทแ่ี พแ กชนะ ๓๒ไมถือพระประเวณี ข้ฉี อกไ็ ดดี ไลด าตีมอี าญา แบบเรียนวรรณคดีวจิ กั ษอเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรือ่ ง กาพยเ รื่องพระไชยสรุ ยิ า (ครูแวน)

๏ ทซี่ ื่อถอื พระเจา วา โงเ งา เตาปูปลา ผูเฒาเหลาเมธา วาใบบา สาระยํา เหลาก็ละพระสธรรม ๏ ภิกษุสมณะ ไปเรร า่ํ ทําเฉโก คาถาวาลาํ นํา ศรี ษะไมใจโยโส ขาขอโมทนาไป ๏ ไมจาํ คาํ ผใู หญ ใครไมมีปรานใี คร ทด่ี ีมอี ะโข ท่ใี ครไดใสเ อาพอ ทาํ ดุดื้อไมซ ื้อขอ ๏ พาราสาวะถี อะไรลอ กเ็ อาไป ดุดื้อถอื แตใ จ ๏ ผูทม่ี ฝี ม ือ ไลควาผา ท่ีคอ แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ ิเลก็ ทรอนกิ ส เรอ่ื ง กาพยเ รือ่ งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน ) ๓๓

๏ ขาเฝา เหลา เสนา มไิ ดวาหมขู าไท ถอื น้ําร่าํ เขาไป แตน า้ํ ใจไมนําพา ไพรฟาเศราเปลาอรุ า ๏ หาไดใ ครหาเอา ไลต ดี า ไมป รานี ผทู ม่ี อี าญา แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ ิเล็กทรอนกิ ส เรื่อง กาพยเร่อื งพระไชยสุริยา (ครแู วน) ๓๔

๏ ผีปามากระทํา มรณกรรมชาวบรุ ี นํ้าปาเขา ธานี กไ็ มมที ่อี าศัย หนีไปหาพาราไกล ๏ ขา เฝา เหลาเสนา ไมมใี ครในธานี ชบี าลาลไ้ี ป แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอเิ ลก็ ทรอนิกส เรอ่ื ง กาพยเ รอื่ งพระไชยสรุ ิยา (ครแู วน ) ๓๕

ฉบัง ๑๖ พาพระมเหสี นารีที่เยาว ๏ พระไชยสรุ ยิ าภูมี เสนีเสนา มาทีใ่ นลําสําเภา วายุพยุเพลา คํา่ เชาเปลา ใจ ๏ ขา วปลาหาไปไมเ บา ราชานารี ก็เอาไปในเภตรา ๏ เถาแกช าวแมแ ซมา ก็มาในลาํ สาํ เภา ๏ ตีมา ลอ ชอ ใบใสเ สา สาํ เภากใ็ ชใ บไป ๏ เภตรามาในนํา้ ไหล ทีใ่ นมหาวารี ๏ พสธุ าอาศัยไมมี อยทู ีพ่ ระแกลแลดู แบบเรียนวรรณคดีวจิ ักษอเิ ลก็ ทรอนิกส เร่อื ง กาพยเ รอ่ื งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน) ๓๖

๏ ปลากะโหโลมาราหู เหราปลาทู มีอยใู นน้ําคลํา่ ไป วายพุ าคลาไคล เปลาใจนัยนา ๏ ราชาวา เหวห ฤทยั มาในทะเลเอกา ๏ แลไปไมป ะพสุธา โพลเพลเ วลาราตรี แบบเรียนวรรณคดวี จิ ักษอ เิ ลก็ ทรอนิกส เรอ่ื ง กาพยเ ร่ืองพระไชยสุรยิ า (ครแู วน ) ๓๗

๏ ราชาวาแกเ สนี ใครรูค ดี วารีนเี้ ทา ใดนา ๏ ขาเฝา เลาแกร าชา วา พระมหา วารีน้ีไซรใหญโต ๏ ไหลมาแตใ นคอโค แผไ ปใหญโ ต มโหฬารลํา้ นํา้ ไหล ๏ บาลีมไิ ดแ กไข ขาพเจาเขาใจ ผูใหญผูเฒา เลา มา ๏ วามพี ญาสกุณา ใหญโตมโหฬาร กายาเทา เขาคีรี ๏ ชอ่ื วา พญาสําภาที ใครรคู ดี วารีนี้โตเทา ใด ๏ โยโสโผผาถาไป พอพระสรุ ิใส จะใกลโ พลเ พลเ วลา ๏ แลไปไมป ะพสุธา ยอ ทอ รอรา ชวี าก็จะประลัย ๏ พอปลามาในน้ําไหล สกณุ าถาไป อาศยั ทศ่ี ีรษะปลา ๏ ชะแงแ ลไปไกลตา จําของอ ปลา วา ขอษมาอภยั ๓๘ แบบเรียนวรรณคดวี จิ กั ษอ เิ ล็กทรอนกิ ส เรือ่ ง กาพยเร่ืองพระไชยสุริยา (ครูแวน )

๏ วารีทเี่ ราจะไป ใกลหรือวา ไกล ขาไหวจ ะขอมรคา มิไดไปมา ลาปลาจรลี ๏ ปลาวา ขาเจาเยาวภา อาศัยอยตู อธรณี ๏ สกณุ าอาลัยชวี ี สทู ภี่ ูผาอาศยั แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอเิ ลก็ ทรอนิกส เรอื่ ง กาพยเรอื่ งพระไชยสรุ ิยา (ครแู วน) ๓๙

๏ ขาเฝา เลา แกภ วู ไนย พระเจา เขาใจ ฤทัยวาเหวเ อกา พายุใหญม า ทะลปุ รไุ ป ๏ จาํ ไปในทะเลเวรา เจากรรมซํ้าเอา เภตรากเ็ หเซไป ๏ สมอกเ็ กาเสาใบ น้าํ ไหลเขาลําสําเภา ๏ ผนี ้ําซํา้ ไตใ บเสา สําเภาระยําคว่าํ ไป แบบเรียนวรรณคดีวจิ ักษอ เิ ลก็ ทรอนิกส เรื่อง กาพยเรือ่ งพระไชยสุริยา (ครูแวน ) ๔๐

๏ ราชาควา มอื อรไท เอาผาสไบ ตอ ไวไ มไ กลกายา นํ้าเขา หูตา มีกรรมจาํ ใจ ๏ เถา แกชาวแมเสนา เขา ไปไสยา จระเขเ หราครา ไป ๏ ราชานารีรํา่ ไร จําไปพอปะพสุธา ๏ มีไมไทรใหญใ บหนา เวลาพอคํา่ ราํ ไร แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอ เิ ลก็ ทรอนิกส เรื่อง กาพยเ รอ่ื งพระไชยสรุ ยิ า (ครแู วน) ๔๑

สุรางคนางค ๒๘ ก กา วา ปน ๏ ข้ึนใหมใ น กน ๔๒ เอน็ ดภู ูธร ระคนกันไป มณฑลตนไทร มานอนในไพร แทนไพชยนตสถาน วันทาสามี ๏ สว นสมุ าลี เฝา อยูดูแล เทวอี ยูงาน ใหพ ระภูบาล เหมือนแตก อ นกาล สาํ ราญวญิ ญา เข็นใจไมข อน ๏ พระชวนนวลนอน ภธู รสอนมนต เหมอื นหมอนแมนา เย็นค่าํ รํา่ วา ใหบ นภาวนา กันปาภยั พาล มีดารากร ๏ วนั นั้นจันทร เหน็ ส้นิ ดนิ ฟา เปน บรวิ าร มาลีคลีบ่ าน ในปา ทา ธาร ใบกา นอรชร ชื่นชะผกา ๏ เย็นฉํา่ นํา้ ฟา สารพันจันทนอนิ วายุพาขจร แตนตอ คลอรอ น ร่ืนกลิน่ เกสร วาวอ นเวียนระวัน แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอเิ ล็กทรอนิกส เรอื่ ง กาพยเร่อื งพระไชยสรุ ยิ า (ครูแวน )

กระเวนไพรไกเ ถือ่ น ๏ จันทราคลาเคลอ่ื น ๔๓ ปเู จาเขาเขนิ เตอื นเพอ่ื นขานขัน สนิ ธุพลุ น่ั กเู กรนิ่ หากนั ครื้นคร่ันหวน่ั ไหว ไกลพระนคร ๏ พระฟน ตน่ื นอน เชา ตรสู ุริยน สะทอ นถอนทยั มีกรรมจาํ ไป ขึ้นพนเมรไุ กร ในปาอารญั แบบเรยี นวรรณคดีวจิ กั ษอเิ ล็กทรอนิกส เร่อื ง กาพยเ รอื่ งพระไชยสรุ ิยา (ครูแวน )

ฉบัง ๑๖ ๏ ขึ้นกงจงจําสําคัญ ท้งั กนปนกัน รําพนั ม่งิ ไมในดง ตลงิ ปลิงปรงิ ประยงค หลนเกล่อื นเถ่ือนทาง ๏ ไกรกรา งยางยูงสูงระหง คนั ทรงสงกลนิ่ ฝน ฝาง ๏ มะมวงพลวงพลองชองนาง กินพลางเดินพลางหวา งเนิน แบบเรยี นวรรณคดีวจิ ักษอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส เรอื่ ง กาพยเร่ืองพระไชยสุริยา (ครแู วน ) ๔๔

๏ เห็นกวางยางเยอื้ งชาํ เลอื งเดนิ เหมอื นอยา งนางเชญิ พระแสงสําอางขางเคยี ง เรงิ รองกอ งเสยี ง ฟงเสียงเพยี งเพลง ๏ เขาสงู ฝงู หงสล งเรียง เพยี งฆอ งกลองระฆัง สําเนียงนาฟงวังเวง พญาลอคลอเคยี ง เพลนิ ฟงวงั เวง ๏ กลางไพรไกขนั บรรเลง คางแข็งแรงเรงิ ซอเจงจาํ เรียงเวียงวงั องึ คะนึงผงึ โผง ๏ ยูงทองรองกะโตง โหงดงั แตรสังขก งั สดาลขานเสียง ๏ กะลงิ กะลางนางนวลนอนเรยี ง แอนเอย้ี งอโี กงโทงเทง ๏ คอ นทองเสยี งรองปอ งเปง อเี กงเริงรอ งลองเชงิ ๏ ฝงู ละม่งั ฝง ดนิ กนิ เพลิง ยนื เบิ่งบง้ึ หนา ตาโพลง ๏ ปาสูงยูงยางชางโขลง โยงกันเลน นาํ้ คลํา่ ไป แบบเรยี นวรรณคดวี จิ กั ษอเิ ล็กทรอนกิ ส เรอ่ื ง กาพยเ รือ่ งพระไชยสุริยา (ครแู วน ) ๔๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook