Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Preceptor CVN_Complete June 9, 2021

Preceptor CVN_Complete June 9, 2021

Published by Somkiat Lertprasert, 2021-06-11 06:22:17

Description: Preceptor CVN_Complete June 9, 2021

Search

Read the Text Version

คู่มือการอบรมระยะสน้ั การสอนการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผปู้ ่วยโรคหวั ใจและหลอดเลือด ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๔ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง สถาบันพระบรมราชชนก

ก คำนำ คู่มือ การอบรมระยะสั้นการสอนการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด จัดทำเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการอบรมสำหรับพยาบาลวิชาชีพสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการ พยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด เพื่อให้เข้าใจและปฏิบัติตามกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปใน แนวทางเดียวกัน ซึ่งจะนำไปสู่การอบรมระยะสั้นการสอนการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ และหลอดเลือด ให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย โรคหัวใจและหลอดเลือดให้มีความรู้ความชำนาญเฉพาะสาขา สามารถปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ทั้งในภาวะวิกฤติ ฉุกเฉิน เรื่อรังและการฟื้นฟูสภาพอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ เป็นการตอบสนองแผนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพของประเทศและยกระดับคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดให้มีประสิทธิภาพ โดย ใช้กระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และทนั สมัย วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง วนั ที่ ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔

ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ลักษณะวิชา ขอบเขตเนื้อหา กจิ กรรม และเกณฑ์ประเมนิ ผล หลักสตู รการอบรมระยะส้นั การสอนการ ๑ พยาบาลเฉพาะทาง กำหนดการ “การอบรมระยะสน้ั การสอนการพยาบาลเฉพาะทาง ร่นุ ที่ ๑ ๘ กำหนดการ “การอบรมระยะสั้นการสอนการพยาบาลเฉพาะทาง รนุ่ ท่ี ๒ ๑๐ ๑๒ เกณฑก์ ารอบรมออนไลน์ ๑๓ รายวชิ าภาคปฏบิ ตั ิของหลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและ หลอดเลอื ด ๒๗ รายชอ่ื ครูพี่เลี้ยงและผ้เู ขา้ รับการอบรม ร่นุ ที่ ๑ ๒๙ รายช่อื ครูพเ่ี ล้ียงและผเู้ ข้ารับการอบรม รุ่นท่ี ๒ ๓๑ ๓๒ แบบบันทึกประสบการณ์ ๓๓ ๓๔ แบบประเมนิ ผลการอบรมระยะสัน้ การสอนการพยาบาล แบบประเมินการเขียนแผนการสอน ๓๕ แบบประเมินการจดั การเรยี นรู้และพฤติกรรมการสอน ๓๖ ๓๗ แบบประเมนิ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรขู้ องผูเ้ รียน ๔๔ ภาคผนวก ภาคผนวก ก หลกั สูตรการอบรมระยะสนั้ การสอนการพยาบาลเฉพาะทาง ภาคผนวก ข ตัวอยา่ งแผนการสอนในคลินกิ

ลกั ษณะวิชา ขอบเขตเน้อื หา กิจกรรม และเกณฑป์ ระเมินผล การอบรมระยะสั้นการสอนการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผูป้ ว่ ยโรคหวั ใจและหลอดเลือด รายละเอียดวิชาตามโครงสรา้ งหลักสตู ร ๔ หน่วยกติ จำแนกเปน็ ภาคทฤษฎี ๓ หน่วยกติ จำนวน ๒ วชิ า ประกอบด้วย ๑. วิชา วทิ ยาการกา้ วหน้าในการดแู ลผปู้ ่วยกลมุ่ เฉพาะทีม่ ปี ญั หารุนแรง/ซับซอ้ น ๑ หน่วยกติ (๑๕ ชว่ั โมง) ๒. วชิ า หลกั การและวธิ ีการจดั ารเรียนการศึกษาภาคปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเฉพาะทาง ๒ หน่วยกติ (๓๐ ชว่ั โมง) ภาคปฏบิ ัติ ๑ หน่วยกิต จำนวน ๑ วชิ า คือ ๑. วชิ า ปฏบิ ัตกิ ารสอนการพยาบาลเฉพาะทางในคลินิก ๑ หนว่ ยกิต (๖๐ ช่วั โมง) การวัดผลและประเมินผล ๑. การวดั ผล รายวิชาภาคทฤษฎี ประเมินผลจากการสอบขอ้ เขียนรอ้ ยละ ๑๐๐ รายวชิ าภาคปฏบิ ตั ิ ประเมินผลจากแผนการสอนและการแสดงการสอนภาคปฏิบัตแิ ละจาํ นวนชั่วโมง ประสบการณใ์ นการฝกึ สอนภาคปฏิบัติ ๒. การประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล รอ้ ยละ ๗๐ ขน้ึ ไป ให้ระดบั ขั้น S (satisfy) ตํา่ กวา่ ร้อยละ ๗๐ ใหร้ ะดบั ขั้น U (Unsatisfy) เนอ้ื หารายวชิ าโดยสงั เขป ๑. วิชา วิทยาการกา้ วหนา้ ในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเฉพาะที่มีปญั หารนุ แรง/ซบั ซอ้ น ๑(๑-๐-๒) คำอธบิ ายรายวิชา วิทยาการก้าวหน้าด้านการรักษาพยาบาลในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดทั้งด้านอายุรกรรมและศัลยกรรม ประเด็นและแนวโน้ม ความรุนแรงและซับซ้อนของโรคหัวใจและหลอดเลือด การดูแลต่อเนื่องนวตกรรม การบริการ สุขภาพบทบาทของทีมในการดูแลในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด การจัดการทรัพยากรทางสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ การบนั ทึกขอ้ มูลทางสขุ ภาพทีม่ ปี ระโยชน์กบั ทกุ ฝ่ายทเ่ี กย่ี วข้อง ลกั ษณะกจิ กรรม การบรรยายแบบมสี ่วนรว่ ม รูปแบบ การประชมุ ออนไลนผ์ า่ นโปรแกรม google meet ลำดับและชอ่ื หัวข้อ ๑. วทิ ยาการก้าวหนา้ ในการพยาบาลผู้ปว่ ยโรคหวั ใจและหลอดเลือดท้งั ด้านอายุรกรรม และศัลยกรรม วัตถปุ ระสงค์ อธบิ ายความสําคัญของวิทยาการก้าวหน้าดา้ นการรักษาพยาบาลในผู้ป่วยโรคหวั ใจและ หลอดเลอื ดทง้ั ดา้ นอายุรกรรมและศัลยกรรมทมี่ คี วามรุนแรงและซบั ซอ้ น ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. นโยบาย สทิ ธิการเขา้ ถึงการรักษา และแผนพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพ (Service plan) สาขาหวั ใจ ระบบบริการฉุกเฉนิ และสง่ ตอ่ เพ่อื การดแู ลผู้ป่วยโรคหวั ใจและหลอดเลือด ๒. ความสําคัญของวทิ ยาการกา้ วหนา้ ด้านการรักษาพยาบาลในผู้ปว่ ยโรคหวั ใจและหลอด เลือด ทัง้ ดา้ นอายุรกรรมและศัลยกรรมทีม่ คี วามรุนแรงและซับซ้อน จำนวนชวั่ โมง ๔ ชั่วโมง ลำดับและช่อื หัวข้อ ๒. ประเด็นและแนวโนม้ ความรุนแรงและความซับซอ้ นของผู้ปว่ ยโรคหวั ใจและหลอดเลือด ทางอายุรกรรมและศัลยกรรม วัตถปุ ระสงค์ วเิ คราะหป์ ระเด็นและแนวโน้มความรนุ แรงและซบั ซ้อนของผู้ปว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลือด -๒-

ขอบเขตเน้อื หา ทางอายุรกรรมและศัลยกรรม จำนวนชั่วโมง ๑. สถานการณก์ ารเจบ็ ป่วย ระบาดวิทยา โรคหัวใจและหลอดเลือด ระดบั โลก ระดับชาติและ ระดับหน่วยงาน ๒. ประเด็นและแนวโนม้ ความรนุ แรงและซบั ซอ้ นของผปู้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลือดทง้ั ด้าน อายุรกรรมและศลั ยกรรมท่มี ีความรนุ แรงและซบั ซอ้ น ๒ ชัว่ โมง ลำดับและช่อื หัวข้อ ๓. การพัฒนานวตกรรมการบรกิ ารสุขภาพและการดูแลต่อเนอื่ ง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. ระบุแนวทางการพฒั นานวตกรรมการบริการสุขภาพในผูป้ ว่ ยโรคหวั ใจและหลอดเลือด ๒. บอกแนวทางการดแู ลตอ่ เน่ืองในผปู้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. แนวทางการพฒั นานวตกรรมการบริการสขุ ภาพในผูป้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด ๒. แนวทางการดูแลต่อเนอ่ื งในผ้ปู ่วยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด จำนวนช่วั โมง ๒ ชวั่ โมง ลำดบั และชอ่ื หวั ขอ้ ๔. บทบาทของทีมในการดูแลผู้ปว่ ยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด วตั ถุประสงค์ วิเคราะห์บทบาทของทมี ในการดูแลผปู้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลอื ดท่ีมีประสทิ ธภิ าพ ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. ทีมสุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน การจัดการกับมาตรฐานพยาบาล ลกั ษณะทมี สุขภาพ ๒. สมรรถนะของพยาบาลเฉพาะทางโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น Nurse case manager, Clinical nurse specialist, Clinical nurse researcher จำนวนชั่วโมง ๒ ช่วั โมง ลำดบั และช่ือหัวข้อ ๕. การจดั การทรพั ยากรทางสุขภาพท่ีมีประสทิ ธิภาพในการรักษาพยาบาลผปู้ ่วยโรคหัวใจ และหลอดเลือด วัตถุประสงค์ อธิบายแนวทางการจัดการทรพั ยากรทางสุขภาพทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ขอบเขตเนอื้ หา ๑. ทมี สุขภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน การจัดการกับมาตรฐานพยาบาล ลักษณะทมี สุขภาพ ๒. เศรษฐศาสตรส์ ขุ ภาพทเ่ี กย่ี วข้อง ๓. การจดั สรรทรัพยากร งบประมาณ อปุ กรณ์ ค่าใชจ้ า่ ยบริการและต้นทุนทีเ่ กึย่ วข้อง ๔. หลักการบรกิ ารเพ่อื ความเป็นเลิศ ๕. การจัดระบบเครอื ขา่ ยสุขภาพ จำนวนชวั่ โมง ๒ ชวั่ โมง ลำดับและช่อื หัวขอ้ ๖. การใชส้ ารสนเทศทางสุขภาพท่เี กี่ยวช้องกบั ผปู้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด วัตถุประสงค์ ระบแุ นวทางการใช้สารสนเทศทางสขุ ภาพท่มี ีประโยชนก์ ับทกุ ฝา่ ยท่เี กีย่ วข้อง ขอบเขตเนือ้ หา ๑. การจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี กย่ี วช้องกับผปู้ ่วยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด ๒. การบนั ทกึ ขอ้ มูลทางสขุ ภาพท่มี ปี ระโยชน์กบั ทุกฝ่ายทเี่ กย่ี วข้อง จำนวนช่วั โมง ๓ ช่ัวโมง ๒. วิชา หลักการและวิธีการจดั การเรยี นการศึกษาภาคปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเฉพาะทาง ๒(๒-๐-๔) คำอธิบายรายวชิ า แนวคิดของการจัดการศึกษาพยาบาล การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การวิเคราะห์ปัญหาในสถานการณ์ จริงและในคลินิก การบูรณาการทฤษฎีการพยาบาลและทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในคลินิก รูปแบบการ -๓-

จัดการเรียนสอนการพยาบาลเฉพาะทาง การประเมินผลการเรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์ จริยธรรมในการใช้สถานการณ์ จรงิ เพอ่ื จัดการเรยี นการสอน ลกั ษณะกจิ กรรม การบรรยายแบบมีสว่ นรว่ ม รูปแบบ การประชมุ ออนไลนผ์ ่านโปรแกรม google meet ลำดบั และชื่อหวั ขอ้ ๑. Adult learning & active Learning การบรู ณาการในการจดั การศึกษาภาคปฏบิ ตั ิใน คลนิ ิก วตั ถุประสงค์ อธิบายแนวคิดทฤษฎที ีเ่ กยี่ วข้องกบั การเรียนรู้แบบผูใ้ หญ่ ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วข้องกับการเรยี นรู้แบบผูใ้ หญ่ ๒. การบูรณาการในการจัดการศกึ ษาภาคปฏิบตั ิในคลนิ กิ จำนวนชว่ั โมง ๒ ชว่ั โมง ลำดับและชอ่ื หวั ข้อ ๒. การส่งเสรมิ การคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณในการเรยี นการสอนในคลนิ กิ วัตถปุ ระสงค์ อธิบายวิธกี ารพฒั นาการคดิ อย่างมีวิจารณญาณ ขอบเขตเนอ้ื หา ๑. วิธีการพฒั นาการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ๒. การสง่ เสรมิ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณในการเรยี นการสอนในคลนิ กิ จำนวนชว่ั โมง ๒ ชว่ั โมง ลำดับและชอ่ื หัวข้อ ๓. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ วัตถุประสงค์ ระบุแนวทางการพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ขอบเขตเนอื้ หา ๑. การใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ๒. แนวทางการพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ ่ีเกยี่ วของกบั ผ้ปู ่วย โรคหวั ใจและหลอดเลือด จำนวนชั่วโมง ๒ ช่ัวโมง ลำดบั และชอื่ หวั ขอ้ ๔. การสอนโดยใช้สถานการณ์ทางคลินกิ ในสาขาการพยาบาลผ้ปู ่วยโรคหวั ใจและ หลอดเลอื ด วตั ถปุ ระสงค์ อธิบายการจดั การเรียนสอนภาคปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเฉพาะทางโดยใชส้ ถานการณ์ทางคลนิ ิก ขอบเขตเนือ้ หา การใช้สถานการณท์ างคลินกิ ทีเ่ กย่ี วของกบั ผปู้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลอื ดในการจดั การเรยี น สอน จำนวนช่ัวโมง ๔ ชั่วโมง ลำดับและชื่อหวั ข้อ ๕. หลกั การและรูปแบบการจดั การศกึ ษาในคลนิ กิ วัตถุประสงค์ อธบิ ายการจัดการเรยี นสอนภาคปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเฉพาะทางโดยใช้รปู แบบการสอนต่างๆ ขอบเขตเน้ือหา ๑. การประชมุ ปรึกษา (Pre- Post Conference, Case Study, Case Conference, Nursing Care Conference) ๒. การสาธติ (Demonstration) ๓. การตรวจเยยี่ มผ้ปู ว่ ยร่วมกัน (Nursing Round) ๔. การสอนโดยเน้นการสงั เกตเปรียบเทียบ ๕. การสอนขา้ งเตยี ง (Bedside Teaching) -๔-





































ลำดบั ประสบการณ์และทักษะ เกณฑ์ จำนวน ข้ันตำ่ / ชว่ั โมง ราย ๔ การประเมินและการพยาบาลผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการ Sleep disorders, ๒๒ Stress, Anxiety & Depression ๕ การประเมินและการพยาบาลผปู้ ่วยทม่ี ปี ัญหาการบบี ตัวของกลา้ มเนือ้ ๑ ๓ หัวใจ - กล้ามเนือ้ หัวใจออ่ นแรง (Dilated Cardiomyopathies) - กล้ามเนือ้ หัวใจโต (Hypertrophic Obstructive Cardiomyopathies: HOCM) - เยอ่ื บุหัวใจอักเสบตดิ เชอ้ื (Infective endocarditis) ๖ การประเมนิ และการพยาบาลผู้ป่วยทีม่ ภี าวะหวั ใจล้มเหลวจากปัญหา ๑ ๒ ลน้ิ หัวใจรั่วหรอื ตบี ๗ การประเมนิ และการพยาบาลผ้ปู ่วยหวั ใจล้มเหลว ๒๖ ๘ การประเมนิ และการพยาบาลผู้ปว่ ยทม่ี ีความผิดปกติของระบบไฟฟา้ ๒ ๔ หัวใจ - Brady arrhythmia: Sinus bradycardia, SSS, Heart block, AIVR - Tachyarrhythmia: Supraventricular tachycardia (SVT), Atrial fibrillation (AF)/ Atrial flutter, Ventricular tachycardia (VT), VF ๙ การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหลอดเลือด ๒ ๔ หัวใจและไดร้ บั การจดั การดว้ ยยาหรอื การทำ PCI ๑๐ การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหลอดเลือด ๑ ๒ สมองและไดร้ ับการจดั การดว้ ยยา ๑๑ การประเมินและการพยาบาลผู้ปว่ ยที่มคี วามผิดปกตขิ องระบบไฟฟา้ ๑ ๒ หวั ใจและได้รับการจดั การด้วยเครอื่ งมือพิเศษ (Cardiac implantable electronic devices) - Cardiac pacing pacemaker - Automate implantable cardioverter-defibrillator: AICD - Cardiac resynchronization therapy (CRTD, CRT) ๑๒ การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจที่มีโรคร่วมหรือมีปัญหา ๒ ๖ ซับซอ้ น - โรคเบาหวาน (Cardiovascular diseases with diabetes) - โรคไต (Cardiovascular diseases with renal disorders) - โรคทางระบบประสาท - โรคปอดร่วม (Cardiovascular diseases with pulmonary disorders) - ๒๓ -

ลำดบั ประสบการณแ์ ละทกั ษะ เกณฑ์ จำนวน ขั้นต่ำ/ ชั่วโมง ราย - ปัญหาจติ สังคม ๑๓ การประเมินและการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจกลุม่ เฉพาะ ๒๒ - สูงอายุ (Cardiovascular diseases in the elderly) - ต้ังครรภ์ (Cardiovascular diseases and hypertension in pregnancy) - กลมุ่ โรคหวั ใจทีไ่ ดร้ บั ยาต้านไวรสั HIV (Cardiovascular diseases in HIV infection/ AIDS) - ผปู้ ว่ ยทไี่ ด้ยาหลายชนิด (Polypharmacy in cardiovascular patients) ตำราหลัก พจิ ารณ์ พิมพช์ นธไวย์. (๒๕๕๒). คุมความดันโลหิตสงู ใหอ้ ยู่ สโู้ รคร้าย. พิมพค์ รงั้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ : ฟลิ กดู๊ . ๙๗๘-๖๑๑-๗๐-๙๘๑๖-๑ วโิ รจน์ ไววานชิ กิจ. (๒๕๕๖). การตรวจวนิ จิ ฉัยและจัดการผลการตรวจคล่ืนไฟฟ้าหัวใจเบื้องตน้ สำหรับ พยาบาล แพทย์และบคุ ลากรทางการแพทย.์ พิมพ์ครง้ั ที่ ๑. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ๙๗๘-๖๑๖-๓๓-๕๕๓๗-๙ สมพงศ์ สหพงศ์, รศ.นพ.ดร. (๒๕๕๓). ธรรมชาติบำบัดป้องกันรักษาโรคหัวใจ. พิมพ์ครั้งที่ ๑๒. กรุงเทพฯ : รวมทรรศน.์ ๙๗๘-๙๗๔-๙๗-๕๑๘๐-๐ องค์การ เรืองรัตนอัมพร. (๒๕๖๐). The Electrocardiography : Self Study, Book I. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรงุ เทพฯ : พี เอ็น เค แอนด์ สกายพริน้ ตงิ้ ส์. ๙๗๘-๖๑๖-๔๔-๕๓๒๖-๕ องคก์ าร เรืองรัตนอมั พร. (๒๕๕๕). The Review Book of PRACTICAL ECG. พมิ พค์ รัง้ ท่ี ๒. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทอมรนิ ทรพ์ รน้ิ ตง้ิ แอนด์พับลิชช่งิ จำกดั (มหาชน). ๙๗๘-๖๑๖-๙๑-๓๖๔๐-๘ Franco, K. L. & Thourani, V. H. (๒ ๐ ๑ ๒ ). Cardiothoracic Surgery Review. NY: Lippincott Williams & Wilkins Hatchett, R., & Thompson, D. R. (๒ ๐ ๐ ๗ ). Cardiac Nursing: A comprehensive guide. PA: Elsevier. Loscalzo, J. (๒๐๑๐). Harrison’s: Cardiovascular medicine. NY: McGrawhill. ๓. วชิ าปฏบิ ัติการจดั การระบบข้อมลู ทางสุขภาพและการใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ๑(๐-๔-๑) หนว่ ยกติ (Practicum of Health Information Management System and Evidence Based Application) ลกั ษณะวิชา สถานการณ์และแนวโน้มการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ระบบข้อมูลในการจัดบริการสุขภาพ ชุดข้อมูล มาตรฐานในการดูแล การพัฒนาการบันทึกทางคลินิก การใช้เครื่องมือ กระบวนการจัดการสารสนเทศทางการ รกั ษาพยาบาล การประมวลผลระบบข้อมลู การประเมนิ ผลลพั ธ์ทางการพยาบาลและตัวชีว้ ัดทางสุขภาพ - ๒๔ -

วตั ถปุ ระสงคท์ ว่ั ไป ผู้เข้ารับการอบรมสามารถวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว ระบบ ข้อมูลในการจัดบริการสุขภาพ ชุดข้อมูลมาตรฐานในการดูแล การพัฒนาการบันทึกทางคลินิก กระบวนการ จัดการสารสนเทศทางการรักษาพยาบาล การประมวลผลระบบข้อมูล การประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล และตัวชี้วัดทางสุขภาพ และนำเสนอแนวทางการจัดการสถานการณ์ เพื่อให้เกิดการพัฒนาการบริการสำหรับ ผูป้ ่วยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ดและครอบครวั วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ ๑. วิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการดูแลผู้ป่วยและครอบครัวด้วยหลักฐานเชิงประจักษ์ทาง คลินกิ ๒. พัฒนาระบบข้อมูลในการจดั บรกิ ารสขุ ภาพและการบันทึกทางคลนิ กิ ได้ ๓. วิเคราะห์การใช้สารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมกับสถานการณ์การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและ หลอดเลือด ในบรบิ ทตา่ ง ๆ ภายใตส้ ิง่ แวดล้อมของการบริการสาธารณสขุ และวถิ ีการดำเนินชวี ติ ในสังคมไทยได้ ๔. กำหนดการประเมินผลลัพธท์ างการพยาบาลและตัวชวี้ ัดทางสุขภาพ ๕. นำเสนอแนวทางการจัดการสถานการณ์ เพื่อให้เกิดแนวทางการพัฒนาการบริการสำหรับผู้ป่วย โรคหัวใจและหลอดเลือดและครอบครัว โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และแนวคิดการดูแลต่าง ๆ มาเป็นพื้นฐาน การแก้ไข ทั้งในเชิงโครงสร้าง กระบวนการทำงานและการติดตามผลลัพธ์เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและ หลอดเลือดมีคณุ ภาพตามมาตรฐานระดบั ตา่ ง ๆ ได้ สังเขปหัวขอ้ รายวชิ า ลำดับ ทักษะ/ประสบการณ์ จำนวน ช่วั โมง ปฏิบัติ ๑. ฝึกปฏบิ ัตกิ ารวเิ คราะหบ์ ริบททางการพยาบาลผปู้ ่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดและ ๖ กำหนดชุดขอ้ มลู ท่ีมคี วามไวและเฉพาะทางการพยาบาลผ้ปู ่วยโรคหวั ใจและหลอด เลอื ด ๒. ฝกึ ปฏิบัตกิ ารสร้างพจนานุกรมขอ้ มูลและแฟม้ ขอ้ มูลขนาดเลก็ โดยใชโ้ ปรแกรม ๑๘ คอมพิวเตอร์ ๓. ฝกึ ปฏบิ ัติการบันทึกข้อมลู ลงในแฟ้มข้อมลู ขนาดเลก็ ๑๒ ๔. ฝึกปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มลู และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ๖ เบือ้ งตน้ และนำเสนอขอ้ มูล ๕. ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวิเคราะห์ความผันแปรของสารสนเทศ ๖ ๖. ฝึกปฏบิ ัตกิ ารกำหนดแนวทางการพยาบาลและพฒั นาคุณภาพการพยาบาล และการ ๑๒ พฒั นาโครงการเพือ่ จัดการปัญหาทางคลนิ กิ จากขอ้ มูลและสารสนเทศที่รวบรวมได้ การจัดการเรียนการสอน ๑. การฝึกปฏิบัติการจัดการข้อมูลและใช้ข้อมูลสารสนเทศในการกำหนดแนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ๑.๑ การวเิ คราะหบ์ รบิ ททางการพยาบาลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด - ๒๕ -

๑.๒ การสรา้ งพจนานกุ รมข้อมูลและแฟ้มข้อมลู ขนาดเลก็ ๑.๓ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและบันทึกข้อมูลลงในแฟ้มข้อมลู ขนาดเล็กอย่างนอ้ ย ๒๐ ราย ๑.๔ การวเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใช้สถติ เิ บือ้ งต้นและนำเสนอขอ้ มลู ๒. การพัฒนาโครงการจำนวน ๑ โครงการ ๓. การนำเสนอ การประเมินผล ร้อยละ ๗๐ ๑. ฝึกปฏิบตั ิการจัดการขอ้ มูล ร้อยละ ๓๐ ๒. รายงานโครงการและการนำเสนอ ตำราหลกั Davis, N., & LaCour, M. (๒๐๑๗). Foundations of health information management. (๔th ed). St. Louis, Missouri: Elsevier. Government of Western Australia. (๒๐๑๖). WA Health information management strategy ๒๐๑๗-๒๐๒๑. In Retrieved from http://ww๒.health.wa.gov.au/~/media/Files/Corporate/Reports%๒ 0and%0publications/Information%20management%20strategy/WA_Health_Infor mation_Management_Strategy_๒๐๑๗-๒๐๒๑ pdf. Ingun, P., Narkpaichit, C., & Boongerd, P. (๒๐๑๕). Thailand health information system improvement through universal health coverage implementation. Journal of the Thai Medical Informatics Association, ๒, ๑๓๔-๑๔๗. International Training and Education Center for Health (I-TECH). (๒๐๑๕). Building effective health information systems. Module ๑-๗: Introduction to health information systems (HIS), ๒ HIS: Data management concepts, ๓ Using EMR data for decision making, ๔ Improving and maintaining the quality of EMR System Data, 5 Logic models and systems classification. ๖ Overview of system architecture, ๗ Introduction to interoperability at the facility level. Retrieved from http://globalhealthworkforce.org/index.html McGonigle, D., & Mastrian, K. (๒๐๑๘). Nursing Informatics and the foundation of knowledge (๔thed.). Burlington, Massachusetts: Jones & Bartlett Learning. - ๒๖ -

รายชอื่ ครูพีเ่ ลี้ยงและผู้เขา้ รบั การอบรม การอบรมระยะสัน้ การสอนการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผปู้ ่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด รุ่นที่ ๑ ครพู ีเ่ ลย้ี ง: อาจารย์ ดร.พรรณี ไพศาลทักษิน/ อาจารย์ พวงเพชร มีศิริ ลำดับ ชอื่ -สกลุ ตำแหน่ง สถานทป่ี ฏิบตั ิงาน ๑ นาง เพชรร่งุ เพชรประดับ พยาบาลวชิ าชพี หอผปู้ ่วยศลั ยกรรมทรวงอก หัวใจและหลอด ชำนาญการ เลอื ด (CVT) โรงพยาบาลลำปาง ๒ นาง มลั ลกิ า โกศัยภทั ร์ พยาบาลวิชาชีพ หอผู้ปว่ ยหนักศลั ยกรรมทรวงอก หัวใจและ ชำนาญการ หลอดเลือด (ICU CVT) โรงพยาบาลลำปาง ๓ นางสาว ศรุดา หยุน่ นอ้ ย พยาบาลวชิ าชีพ หอผ้ปู ว่ ยหนกั โรคหวั ใจ (CCU) โรงพยาบาล เชยี งรายประชานเุ คราะห์ จงั หวัดเชียงราย ๔ นางสาว นารีภรณ์ แกว้ วิจติ ร พยาบาลวชิ าชพี หอผู้ปว่ ยหนกั โรคหัวใจ (CCU) โรงพยาบาล นครพงิ ค์ จังหวดั เชยี งใหม่ ครูพี่เล้ียง: อาจารย์ ดร.วิภา เอีย่ มสำอางค์ จารามลิ ลิโล ลำดับ ช่ือ-สกุล ตำแหนง่ สถานท่ปี ฏิบัตงิ าน ๑ นางสาว สมจติ ร ยศแกว้ อดุ พยาบาลวิชาชีพ ห้องตรวจหัวใจดว้ ยเครอ่ื งมือพเิ ศษแบบ ภายนอก (Echo) โรงพยาบาลลำปาง ชำนาญการ หอผ้ปู ่วยอุบัตเิ หตุและฉกุ เฉิน (ER) โรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ ๒ นางสาว สุดารัตน์ พัฒนโพธิ์ พยาบาลวชิ าชพี จงั หวดั เชียงราย หอ้ งผ่าตัด โรงพยาบาลเชียงราย ๓ นางสาว พัชนี หล้าแก้ว พยาบาลวชิ าชพี ประชานเุ คราะห์ จงั หวดั เชียงราย ๔ นางสาว เกษณี ศรพี ฒั นตระกูล พยาบาลวชิ าชีพ หนว่ ยตรวจพิเศษหวั ใจ โรงพยาบาล นครพิงค์ จงั หวัดเชียงใหม่ ครพู ีเ่ ล้ียง: อาจารย์ วนดิ า อินทราชา ตำแหน่ง สถานทปี่ ฏบิ ัติงาน ลำดับ ชื่อ-สกลุ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ หนว่ ยตรวจสวนหัวใจและหลอดเลอื ด ๑ นาง กฤษณา พ่ึงศรี พยาบาลวชิ าชพี (Cath lab) โรงพยาบาลลำปาง ๒ นางสาว รสสุคนธ์ อนิ ต๊ะราช หอผปู้ ว่ ยศัลยกรรมหญงิ โรงพยาบาล พยาบาลวชิ าชพี เชยี งรายประชานุเคราะห์ จงั หวดั ๓ นางสาว อมรรตั น์ คำม่ัน เชียงราย พยาบาลวชิ าชีพ หน่วยตรวจสวนหัวใจและหลอดเลอื ด ๔ นางสาว อรศิ รา พ่มุ ฉัตร (Cath lab) โรงพยาบาลเชยี งราย ประชานเุ คราะห์ จงั หวัดเชียงราย หนว่ ยตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด (Cath lab) โรงพยาบาลเชียงราย ประชานุเคราะห์ จังหวัดเชียงราย - ๒๗ -

ครูพี่เลีย้ ง: อาจารย์ จนั ทรจ์ ีรา ยานะชยั ตำแหน่ง สถานทปี่ ฏบิ ตั ิงาน ลำดับ ชอื่ -สกลุ พยาบาลวิชาชพี หอผู้ปว่ ยหนักโรคหวั ใจ (CCU) ๑ นาง อุษาวดี กุมภาพันธ์ ปฏบิ ตั ิการ โรงพยาบาลลำปาง ๒ นางสาว พัทยา แผ่นชยั พรม พยาบาลวิชาชพี หอผปู้ ว่ ยศัลยกรรมตกแต่ง โรงพยาบาล ๓ นางสาว ธดิ ารัตน์ หนชยั เชียงรายประชานเุ คราะห์ จงั หวัด เชยี งราย พยาบาลวชิ าชีพ ศูนยห์ ัวใจ โรงพยาบาลเชียงราย ประชานเุ คราะห์ จงั หวัดเชยี งราย ครพู ่เี ล้ยี ง: อาจารย์ ดร.กญั ญณ์ พชั ญ์ ศรที อง ตำแหนง่ สถานทีป่ ฏบิ ตั งิ าน ลำดับ ชอ่ื -สกุล พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ัติการ หอผู้ปว่ ยศลั ยกรรมทรวงอก หัวใจและ ๑ นาง โสภาพรรณ ชมุ ภูแกว้ พยาบาลวิชาชีพ หลอดเลอื ด (CVT) โรงพยาบาลลำปาง หอผูป้ ว่ ยหนกั ศลั ยกรรมทรวงอก หวั ใจ ๒ นาง มะลิวลั ย์ ชวนคดิ พยาบาลวิชาชีพ และหลอดเลอื ด (ICU CVT) โรงพยาบาล เชยี งรายประชานเุ คราะห์ จงั หวัดเชยี งราย ๓ นางสาว พรสิริ บำเรอราบ หอผปู้ ว่ ยหนกั โรคหวั ใจ (CCU) โรงพยาบาลนครพิงค์ จงั หวัดเชยี งใหม่ - ๒๘ -

รายชื่อครูพเ่ี ล้ียงและผเู้ ขา้ รบั การอบรม การอบรมระยะสนั้ การสอนการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผ้ปู ่วยโรคหวั ใจและหลอดเลือด รุ่นที่ ๒ ครพู เ่ี ล้ียง: อาจารย์ วนดิ า อนิ ทราชา ตำแหนง่ สถานที่ปฏิบตั งิ าน ลำดับ ช่อื -สกลุ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ หอผูป้ ่วยหนกั โรคหวั ใจ (CCU) ๑ นางสาว ปณดิ าภา จองมล พยาบาลวิชาชพี โรงพยาบาลลำปาง หอผ้ปู ่วยหนักศลั ยกรรมทรวงอก หวั ใจ ๒ นาง นัฐวรรณ อาษายศ พยาบาลวชิ าชีพ และหลอดเลอื ด (ICU CVT) โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ๓ นาย ยทุ ธการณ์ นนั ไชย พยาบาลวิชาชีพ จังหวัดเชยี งราย ชำนาญการ หน่วยตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือด ๔ นางสาว ชลิดา เกียรตริ งุ่ เรอื ง (Cath lab) โรงพยาบาลเชียงราย ประชานุเคราะห์ จงั หวัดเชียงราย หอผ้ปู ่วยหนกั โรคหวั ใจ (CCU) โรงพยาบาลนครพงิ ค์ จงั หวัดเชียงใหม่ ครพู เี่ ลี้ยง: อาจารย์ จนั ทร์จรี า ยานะชยั ตำแหน่ง สถานทป่ี ฏบิ ตั ิงาน ลำดบั ช่ือ-สกลุ พยาบาลวชิ าชพี หอผูป้ ่วยหนักศัลยกรรมทรวงอก หวั ใจ ๑ นางสาว พจนยี ์ ดอี ำภา ชำนาญการ และหลอดเลือด (ICU CVT) โรงพยาบาล ๒ นางสาว ศริ ขิ วัญ คำน้อย ลำปาง ๓ นางสาว ตอ้ งหทยั สัสดแี พง พยาบาลวชิ าชีพ หอผปู้ ว่ ยหนักโรคหวั ใจ (CCU) ๔ นาง รตั นา ใจเสาร์ดี โรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ จังหวดั เชยี งราย พยาบาลวชิ าชีพ หอผู้ปว่ ยนอก แผนกศัลยกรรมทรวงอก หวั ใจและหลอดเลอื ด (OPD CVT) โรงพยาบาลเชยี งรายประชานุเคราะห์ จงั หวดั เชยี งราย พยาบาลวชิ าชีพ หน่วยตรวจพเิ ศษหวั ใจ โรงพยาบาล ชำนาญการ นครพงิ ค์ จังหวดั เชยี งใหม่ ครพู ีเ่ ลย้ี ง: อาจารย์ ดร.กัญญณ์ พชั ญ์ ศรีทอง ลำดบั ชอ่ื -สกุล ตำแหนง่ สถานท่ีปฏิบตั งิ าน ๑ นางสาว สายแกว้ ยาปะโลหติ พยาบาลวิชาชีพ งานผู้ปว่ ยอุบัตเิ หตแุ ละฉกุ เฉิน รง พยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ ๒ นาง จติ ตว์ รา ยาละ พยาบาลวชิ าชีพ จงั หวัดเชียงราย ห้องผา่ ตดั รงพยาบาลเชียงรายประชานุ เคราะห์ จังหวดั เชยี งราย - ๒๙ -

ลำดับ ชอ่ื -สกลุ ตำแหน่ง สถานที่ปฏบิ ตั ิงาน ๓ นาง พยาบาลวชิ าชพี สุประวณี ์ งามมีฤทธิ์ ศนู ย์หัวใจ รงพยาบาลเชยี งรายประชานุ ๔ นางสาว สกลุ พยาบาลวชิ าชพี เคราะห์ จังหวดั เชยี งราย หอผู้ป่วยหนักโรคหวั ใจ (CCU) จังหวดั สุดารตั น์ ทรงเดช เชยี งใหม่ - ๓๐ -

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง สถาบนั พระบรมราชชนนก แบบบนั ทกึ ประสบการณ์ การอบรมระยะสัน้ การสอนการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการพยาบาลผูป้ ว่ ยโรคหัวใจและหลอดเลือด ชอ่ื -สกุล ผเู้ ข้ารับการอบรม ……………………………………………………………………………………………………………………………. สถานทีฝ่ กึ ปฏิบัติ ..................…………………………………………………………………………………………………………………………... ลำดบั ท่ี รายการ การ ลงช่ือผนู้ เิ ทศ/ระบุ วนั เดอื น ปี ๑ ฝึกปฏบิ ัติ การนาํ Pre- Post Conference ครั้งท่ี ๑ ๒ ครง้ั ท่ี ๒ ๓ การนํานักศึกษาตรวจเยย่ี มผู้ป่วยร่วมกับทมี ครง้ั ที่ ๓ ๔ สุขภาพ (Patient round) ครง้ั ที่ ๔ ๕ การสอนแสดงตามแผนการสอน (Micro คร้ังที่ ๕ teaching) ระยะเวลาไม่เกิน ๒๐ นาที ครั้งท่ี ๖ (การบันทกึ คลิปวดิ ิโอ) ครัง้ ท่ี ๑ การเปน็ ผ้นู ําในการประชุมปรกึ ษาทางการ ครั้งที่ ๒ พยาบาลแบบ case study, case ครั้งท่ี ๑ conference ครั้งละประมาณ ๒๐ นาที ครั้งท่ี ๒ การดแู ล/สอนนักศึกษาในขณะปฏิบัติการ หลอดเลือด ใชเ้ วลาไม่นอ้ ยกว่า ๓๕ ชว่ั โมง ครั้งท่ี ๑ ครง้ั ท่ี ๒ ผู้ป่วยคนที่ ๑ ผู้ป่วยคนท่ี ๒ ผู้ป่วยคนที่ ๓ ผ้ปู ว่ ยคนท่ี ๔ - ๓๑ -































๒ วิทยาลัยพยาบาลบรม แผนการสอ ช่ือวชิ า ปฏิบตั ิหลักการและเทคนิคการพยาบาล รหัสวชิ า พย. ๑๒๐๔ จำ รูปแบบการสอน การสอนสาธิต (Demonstration Method) ช่ือเรอื่ งท่สี อน ผสู้ อน.....................................................สถานทีส่ อน หอผู้ป่วย.............................. ระยะเวลาฝกึ ปฏบิ ัติ .............................กลมุ่ .............จำนวน .................... คน แนวคดิ สำคัญ ปกตริ า่ งกายมีผวิ หนงั ห่อหมุ้ อยู่ หากมภี าวะทเี่ ยื่อบุผิวหนงั หรือเน้อื เย่อื ทีอ่ ยูใ่ ต้ผิวหน เส้นประสาท เส้นเอ็นและกระดูก รา่ งกายจะมีกลไกการซอ่ มแซมสว่ นทไ่ี ด้รบั อันตรายหรือท่สี การหายของบาดแผลเร็วขนึ้ วัตถปุ ระสงค์รายวชิ า ๑. ปฏิบตั กิ ารพยาบาลภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชีพและห ๒. สามารถเชื่อมโยงความรู้ที่เกี่ยวกับการพยาบาลและการดูแลบุคคลทุกช่วงวัยข แบบองค์รวม รวมทง้ั รูท้ นั ตอ่ สถานการณโ์ ลกทม่ี ีผลกระทบตอ่ ภาวะสขุ ภาพและประชาชน(L ๓. สามารถใช้กระบวนการพยาบาล มาวางแผนและให้การดูแลบคุ คลทุกช่วงวยั ขอ ๔. สามารถทำงานเปน็ ทมี ร่วมกบั สหสาขาวชิ าชีพได้ (LO๔.๑) ๕. สามารถสอ่ื สารได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและเหมาะสมกบั สถานการณ์( LO๕.๑) ๖. มีทักษะปฏิบัติการพยาบาลในการดูแลบุคคลทุกช่วงวัยของชวี ิตที่มีภาวะสุขภาพ ความเออื้ อาทรและการบริการดว้ ยหวั ใจความเป็นมนุษย์ (L๖.๒ และ LO ๖.๓) วัตถุประสงค์ทั่วไป เมือ่ เรยี นจบเร่ืองน้ีแลว้ นักศึกษาสามารถ ๑. เพื่อให้นักศกึ ษามีความร้คู วามเขา้ ใจเก่ยี วกับการพยาบาลผู้ป่วยท่ีมีบาดแผล (K) ๒. เพื่อใหน้ ักศึกษามีทัศนคติท่ดี ีในการดแู ลผู้ปว่ ยทม่ี บี าดแผล ทตี่ ้องไดร้ ับการทำแผล ๓. เพื่อให้นักศกึ ษาสามารถวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยทมี่ บี าดแผล ทตี่ ้องได้รับการทำ วตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะเมื่อเรยี นจบแล้วนกั ศึกษาสามารถ ๑. บอกความแตกตา่ งของบาดแผลแตล่ ะชนดิ สามารถประเมนิ บาดแผล และสามารถ

๒ มราชชนนี นครลำปาง อนในคลนิ ิก ำนวนหนว่ ยกติ ๒ หนว่ ยกิต การพยาบาลผปู้ ว่ ยท่ีมีบาดแผล .........โรงพยาบาล.......................................... นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรบณั ฑิตช้นั ปที ี่ ..............รนุ่ .................... นังไดร้ บั อนั ตราย เกิดการฉกี ขาด ไมม่ กี ารเช่ือมกัน รวมถึงการฉกี ขาดของหลอดเลือด ส่วนทเ่ี ปน็ บาดแผล และหากไดร้ ับการดแู ลบาดแผลอยา่ งถกู วธิ ีจะเป็นการช่วยส่งเสริมให้ หลกั สิทธิมนุษยชน (Lo๑.๑, ๑.๓, ๑.๔, ๑.๖, ๑.๘) ของชีวิตที่มีภาวะสุขภาพปกติและเบี่ยงเบนโดยใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขภาพ LO๒.๑, ๒.๒, ๒.๓ และ ๒.๖) องชวี ิตทม่ี ภี าวะสขุ ภาพปกตแิ ละเบ่ียงเบนได้ (LO๓.๒ และ ๓.๔) พปกติและเบี่ยงเบนในสถานการณ์จริง โดยใช้กระบวนการพยาบาลบนพื้นฐานการดูแลด้วย (A) ำแผลโดยคำนึงสิทธิมนุษยชนและหลักจรยิ ธรรม(P) ถเลือกใช้อปุ กรณท์ ำแผลที่เหมาะสมกับแผลได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook