Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียนการสอนพืชไร่

เอกสารประกอบการเรียนการสอนพืชไร่

Published by สิรวิชญ์ เฉียบแหลม, 2019-07-03 02:10:19

Description: เอกสารประกอบการเรียนการสอนพืชไร่

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา การผลติ พืชไร่ หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ 2562 รหสั วชิ า 20501-2202

สารบัญ หนา้ 1 เรอื่ ง 1 บทท่ี 1 ความหมายและความสาคญั ของพชื ไร่ 1 1 ความหมายของพชื ไร่ 2 ความสาคญั ของพชื ไร่ 3 การใชป้ ระโยชนข์ องพชื ไร่ 3 พชื เศรษฐกจิ ที่สาคัญของไทย 4 แหล่งปลกู พชื ไร่ที่สาคัญของประเทศไทย 4 ระบบการทาไรใ่ นประเทศไทย 4 บทท่ี 2 การตลาดทีเ่ ก่ียวข้องกบั พืชไร่ 5 ความหมายของตลาดและการตลาดพชื ไร่ 7 ความสาคัญและหน้าที่ของการตลาดพืชไร่ 8 ลกั ษณะสินคา้ พืชไร่ แหล่งตลาด และคนกลางทางการตลาด 9 การกาหนดราคาและความเคลอ่ื นไหวของราคาสนิ ค้าพชื ไร่ 11 วถิ ีการตลาดพชื ไร่ 11 การจดั จาหน่ายสนิ คา้ พชื ไร่ 11 บทท่ี 3 การจาแนกประเภทพืชไร่ 12 การจาแนกพชื ไร่ตามลกั ษณะของการใชพ้ น้ื ที่ 13 การจาแนกพชื ไร่ตามหลกั พฤกษศาสตร์ 13 การจาแนกพชื ไร่ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ 13 การจาแนกพืชไรต่ ามชีพจกั ร 14 การจาแนกตามจดุ มุ่งหมายเฉพาะอยา่ ง 14 การจาแนกตามความต้องการน้า 20 บทที่ 4 ปจั จยั ท่เี กี่ยวขอ้ งกับการผลิตพืชไร่ 21 ปัจจยั ทเี่ กีย่ วกับสภาพแวดล้อม 23 ปัจจัยเกย่ี วกบั สภาพเศรษฐกจิ และสงั คม 23 ปัจจัยเก่ียวกับการบริหารจดั การ 23 บทท่ี 5 การวางแผนการผลิตพืชไร่ 25 ความสาคัญของการวางแผนการผลติ พืชไร่ 29 ปัจจัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการวางแผนการผลติ พืชไร่ 32 การวางแผนและการเขียนโครงการผลติ พชื ไร่ 34 การปลูกพืชตามระบบ GAP 34 การวางแผนการผลิตพืชไร่ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง บทที่ 6 เครื่องมือและเครอื่ งทุ่นแรงทใ่ี ชใ้ นการผลติ พืชไร่ เครอื่ งมอื เกษตรถา้ แบง่ เปน็ ตามต้นกาเนิดของพลังงาน

สารบัญ (ต่อ) หนา้ เรอื่ ง 35 บทที่ 6 เคร่ืองมือและเครอื่ งทุ่นแรงทใี่ ช้ในการผลติ พชื ไร่ (ต่อ) 36 38 จาแนกตามลักษณะของงาน 38 หลกั การเลือกเคร่ืองมือและวธิ ีทาเคร่ืองมือบางชนดิ 38 บทท่ี 7 การปลูกและการปฏิบตั ิดแู ลรักษาพืชไร่ 38 การเตรยี มดิน 39 39 วตั ถุประสงค์ของการเตรียมดิน 40 หลักในการเตรียมดนิ ปลูกพชื ไร่ 43 ปัจจยั ท่คี วรพจิ ารณาในการเตรยี มดนิ ปลูกพชื ไร่ 45 วธิ ีการเตรียมดนิ ปลูกพืชไร่ 47 เครือ่ งมือและอุปกรณ์ในการเตรียมดิน 50 พนั ธแ์ุ ละการเตรียมพนั ธ์พุ ชื ไร่ 51 การปลกู พืชไร่ 56 การปฏิบตั ิดูแลรักษาพชื ไร่ 58 การกาจดั วัชพืช 58 การป้องกันกาจัดโรค 58 การปอ้ งกนั กาจัดแมลง 59 บทท่ี 8 การเกบ็ เกีย่ วและการจัดการหลังการเกบ็ เกี่ยวพชื ไร่ 59 ความหมาย ความสาคัญของการเกบ็ เกย่ี วและการจดั การหลงั การเกบ็ เกี่ยวพชื ไร่ 61 ปัจจยั ทเี่ ก่ยี วข้องกับการเกบ็ เก่ียวและการจดั การหลังการเกบ็ เกยี่ วพืชไร่ 61 ดัชนีการเกบ็ เก่ียวพชื ไร่ 66 วธิ ีการเกบ็ เกี่ยวพืชไร่ 66 การเตรยี มการเก็บเก่ยี วพชื ไร่ 66 การจดั การหลังการเกบ็ เกย่ี วพชื ไร่ 68 บทท่ี 9 การเพ่มิ มูลค่าผลผลิตพชื ไร่ 69 ประโยชน์ของการเพิ่มมูลค่าผลผลิตพืชไร่ 71 แนวทางการเพ่ิมมลู ค่าผลผลิตพชื ไร่ 71 การเพ่ิมมูลคา่ ผลผลิตพืชไร่ 71 การเพ่ิมมลู คา่ ในระดบั ท้องถ่นิ 71 บทที่ 10 การบันทกึ กจิ การฟารม์ และบัญชฟี ารม์ พชื ไร่ 73 ความหมายและความสาคญั ของการบนั ทึกกิจการฟารม์ พืชไร่ ประเภทของการบันทึกกจิ การฟาร์มพืชไร่ ขัน้ ตอนการทาบญั ชีฟารม์ พชื ไร่ เอกสารอา้ งอิง

บทท่ี 1 ความหมายและความสาคัญของพืชไร่ 1. ความหมายของพชื ไร่ พืชไร่ หมายถึง พชื ทปี่ ลกู ในบรเิ วณพื้นที่กว้างมาก ไม่พถิ ีพถิ ันในการปลูก ไม่ต้องการการเอาใจใส่ดูแล อย่างใกล้ชิด และข้ันตอนในการปลูกน้อย ซึ่งปลูกได้ง่ายกว่าพืชสวน ส่วนใหญ่จะเป็นพืชล้มลุก มีอายุในการ เก็บเกีย่ วไม่นาน เมื่อให้ผลผลิตแลว้ มกั จะตาย ขอ้ แตกตา่ งระหว่างพืชไร่และพืชสวน 1. พืชไร่มีพ้ืนท่ีปลูกบริเวณพ้ืนท่ีกว้างมาก ไม่พิถีพิถันในการปลูก ไม่ต้องการการเอาใจใส่ดูแลอย่าง ใกล้ชิด แต่พืชสวนเป็นพืชที่ต้องดูแลอย่าพิถีพิถัน ต้องดูแลเอาใจใสอย่างใกล้ชิด มีขอบเขตในการปลูกท่ีแน่น นอน 2. พืชไร่มขี ัน้ ตอนในการปลูกน้อย ซ่ึงปลูกไดง้ า่ ยกวา่ พืชสวน 3. พืชไร่อายุการเก็บเก่ียวไม่ยาวนาน ส่วนใหญ่เม่ือให้ผลผลิตแล้วก็จะตายไป ส่วนพืชสวนส่วนมาก อายุยนื สามารถเก็บเกี่ยวได้เป็นเวลาหลายปี 2. ความสาคัญของพชื ไร่ 2.1 ความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์ โดยเป็นแหล่งอาหารหลักของประชากรในหลายๆ ประเทศ นอกจากนเ้ี ป็นเครื่องใช้ เครือ่ งนงุ่ หม่ ในชวี ิตประจาวันตา่ ง ๆ 2.2 ความสาคัญด้านอาหารสัตว์ ปัจจุบันการเลี้ยงสัตว์ต้องอาศัยพืชไร่เป็นอาหารหลัก เพ่ือให้สัตว์กิน เป็นอาหาร 2.3 ความสาคัญดา้ นอุตสาหกรรม เพ่อื เปน็ วตั ถุดิบสโู่ รงงานอตุ สาหกรรมเพือ่ แปรรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ที่มี ราคาสงู ขน้ึ อตุ สาหกรรมสกดั นา้ มนั พืช เช่น ถ่วั เหลอื ง ถ่ัวลิสง - อตุ สาหกรรมน้าตาล เชน่ อ้อย - อตุ สาหกรรมอาหารสตั ว์ เชน่ ขา้ วโพด มันสาปะหลงั - อตุ สาหกรรมส่ิงทอ เชน่ ฝา้ ย ปอ 2.4 มคี วามสาคัญทางเศรษฐกจิ ของประเทศ 2.5 ความสาคัญดา้ นวัฒนธรรม โดยในพิธกี รรมตา่ ง ๆ จะใช้พืชไร่เข้าไปมีส่วนร่วมในพิธีกรรม เชน่ พธิ ี พืชมงคล จะใชเ้ มลด็ ขา้ ว ถ่ัว งา เปน็ ตน้ พธิ ีแตง่ งาน จะใช้อ้อยร่วมในพิธี 2.6 ความสาคัญด้านอ่ืน ๆ เช่น ทาให้ประชากรมีอาชีพ มีงานทาตลอดทั้งปี ทาให้การใช้ท่ีดินเพื่อทา การเกษตรค้มุ คา่ ทาใหป้ ระชากรใช้แรงงานมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน 3. การใช้ประโยชน์ของพืชไร่ 3.1 ใชป้ ระโยชน์โดยตรง เป็นการนาสว่ นของพืชไรม่ าใชบ้ รโิ ภคโดยตรง 3.2. ใช้ประโยชน์โดยผ่านกระบวนการแปรรูป 3.2.1 การแปรรปู เพอ่ื การบรโิ ภค เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 1

- การสกดั น้ามันเพอ่ื ใชป้ ระกอบอาหาร - การผลิตน้าตาลทรายจากออ้ ย - การผลิตแป้ง - การผลิตเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ - การผลิตอาหารสาเรจ็ รูป 3.2.2 การแปรรปู เพ่อื เปน็ อาหารสตั ว์ 3.2.3 การแปรรูปเพือ่ เป็นวัตถดุ บิ ในอตุ สาหกรรม - อุตสาหกรรมส่งิ ทอ - อุตสาหกรรมเยอื่ กระดาษ - อุตสาหกรรมพลาสตกิ - อุตสาหกรรมผลติ แผ่นยางดิบ 3.3 การใช้ประโยชนจ์ ากผลพลอยได้ 3.3.1 การทาเฟอรน์ ิเจอร์ 3.3.2 การใช้ชานอ้อยเปน็ วัสดุเช้ือเพลิงในการผลติ ไอน้า 3.4 การใชป้ ระโยชน์ในลกั ษณะอ่นื ๆ 3.4.1 ออ้ ย เป็นยาขับปัสสาวะ แก้ไตพิการ 3.4.2 ทานตะวนั ชว่ ยแก้โรคบดิ มกุ เลือด ขับหนองใน ฝีฝักบวั แกไ้ อ แกไ้ ข้หวดั 3.4.3 ถั่วเหลือง นาเมล็ดมาต้มเป็นยาบารุงม้าม หล่อล่ืนลาไส้เป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ รักษาโรคบดิ ซบู ผอม 4. พืชเศรษฐกิจทสี่ าคัญของไทย พืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญของประเทศไทยมีหลายอย่าง แต่ท่ีประเทศเราส่งออกและมีรายได้เข้าประเทศ อย่างเปน็ กอบเป็นกาจะไดแ้ ก่ ข้าว มันสาปะหลงั ข้าวโพด อ้อย ถ่ัวเหลอื ง เป็นต้น 4.1 ข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของไทย ในปีหน่ึงประเทศไทยสามารถส่งออกข้าวได้เป็นจานวน มาก คิดเป็นรายได้เข้าประเทศนับแสนล้านบาท และมีแนวโน้มท่ีจะส่งออกเพ่ิมข้ึนทุกปี ประเทศท่ีเราส่งออก ข้าวมากทสี่ ดุ กไ็ ด้แก่ จีน ฮอ่ งกง มาเลเซีย แคนนาดา อิหร่าน อริ กั ฯลฯ โดยข้าวทสี่ ่งออกมีทง้ั ขา้ วหอมมะลิ ท่ี มีช่อื เสยี งโด่งดงั ไปทวั่ โลก ขา้ วเจ้า ข้าวเหนียว รวมถึงขา้ วเปลือกด้วย 4.2 มันสาปะหลงั เปน็ พืชเศรษฐกิจที่ปลูกง่าย ทนทานตอ่ สภาพดินฟ้าอากาศ และเปน็ อาหารที่สาคัญ ของประเทศในเขตร้อน เช่น ประเทศในทวีปแอฟริกา และทวีปอเมริกาใต้ รวมถึงทวีปเอเชียด้วย การส่งออก มันสาปะหลังจึงสามารถสร้างรายได้เข้าประเทศเป็นจานวนมากในแต่ละปี นับเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญไม่แพ้ ข้าว 4.3 ข้าวโพด โดยเฉพาะขา้ วโพดหวานเปน็ พืชเศรษฐกิจท่ีน่าจับตามอง ในชว่ งระยะเวลาประมาณ 5 ปี การส่งออกข้าวโพดหวานของไทยมีอัตราเติบโตอย่างต่อเนื่อง สามารถแข่งขันในด้านคุณภาพและราคากับ ต่างประเทศได้ จนขณะน้ไี ทยเป็นอนั ดับท่ี 3 ของโลกในการส่งออกข้าวโพดหวาน โดยอันดับ1 คือ ฮังการี และ อนั ดับ 2 คอื สหรัฐฯ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หน้า 2

5. แหลง่ ปลูกพชื ไรท่ ี่สาคัญของประเทศไทย การปลูกพืชไร่สามารถปลกู ได้ทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวัดในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ เป็นแหล่งปลูกที่สาคัญ เพราะมีสภาพภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศมีความ เหมาะสม ส่วนในภาคใตแ้ ทบจะไมม่ ีการปลกู พืชไรเ่ ปน็ อาชพี หลัก มกี ารปลกู เพยี งเล็กน้อย แหล่งปลกู พชื ไร่ทส่ี าคัญมดี งั น้ี 1. ภาคกลาง เป็นแหลง่ ปลกู ข้าวโพด ถ่ัวเขยี ว ละห่งุ ถั่วเหลอื ง 2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นแหล่งปลูกข้าว ข้าวโพด อ้อย มันสาปะหลัง ปอแก้ว ละหุ่ง ถ่ัวเขียว 3. ภาคเหนอื เป็นแหลง่ ปลูกข้าว ถว่ั เหลอื ง ถั่วลสิ ง ยาสูบ ถ่ัวเขียว ข้าวโพด 4. ภาคใต้ เปน็ แหลง่ ปลกู ขา้ ว ข้าวโพด ถวั่ ลิสง สับปะรด 6. ระบบการทาไร่ในประเทศไทย ระบบการปลูกพืชไรใ่ นประเทศไทยแบ่งเป็น 2 รปู แบบ ดังนี้ 6.1 ระบบการปลูกพืชไร่เชิงเด่ียว หรือ ระบบเกษตรกรรมพืชเดี่ยว เป็นรูปแบบการเกษตรท่ีสังคม เกษตรกรรมของไทยทากันอย่างแพร่หลาย ซึ่งเป็นวิธีการเพาะปลูกที่จัดการง่าย สะดวกสามารถดูแลเป็น บริเวณกวา้ ง อีกทง้ั การเกษตรรูปแบบนีเ้ กษตรกรมักจะใชส้ ารเคมีเปน็ ตัวควบคุมการผลติ ทงั้ เร่งการเจริญเติบโต กาจัดศัตรูพืช เพื่อให้ผลผลิตท่ีได้ออกมาน้ันสวยงามและได้ราคาท่ีดี แต่ผลเสียที่สาคัญของเกษตรเชิงเดี่ยวคือ เม่อื ปลูกพืชชนิดเดียวกันไปเรื่อย ๆ ผลผลิตทไี่ ดอ้ อกมานน้ั ล้นตลาด ส่งผลให้ราคาตกตา่ เกษตรกรบางรายต้อง ยอมขายในราคาที่ขาดทุนเนื่องจากหากเก็บไว้นานผลผลิตจะเน่าและเสียหาย อีกท้ังการทาเกษตรเชิงเดี่ยวยัง สง่ ผลใหค้ วามหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศเสอื่ มโทรมลง เช่น พชื สัตว์ แมลง และจุลินทรยี ต์ ่าง ๆ 6.2 ระบบไร่นาสวนผสม เป็นระบบการเกษตรที่มีกิจกรรมการผลิตหลาย ๆ กิจกรรมเพื่อตอบสนอง ต่อการบริโภคหรอื ลดความเส่ยี งจากราคา ผลิตผลที่มคี วามไม่แน่นอนเทา่ นั้น โดยไมไ่ ด้มีการจดั การให้กจิ กรรม การผลิตเหล่านั้นมีการผสมผสานเก้ือกูลกันเพ่ือ ลดต้นทุนการผลิต และคานึงถึงสภาพแวดล้อมเหมือนเกษตร ผสมผสาน การทาไรน่ าสวนผสมอาจมีการเกื้อกลู กนั จากกิจกรรมการผลิตบ้าง แตก่ ลไกการเกิดข้ึนนั้นเป็นแบบ “เป็นไปเอง” มิใช่เกิดจาก “ความรู้ ความเข้าใจ” อย่างไร ก็ตามไร่นาสวนผสม สามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถของเกษตรกรผูด้ าเนินการให้เปน็ การดาเนนิ การในลักษณะ ของระบบเกษตรผสมผสานได้ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หน้า 3

บทท่ี 2 การตลาดทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับพชื ไร่ 1. ความหมายของตลาดและการตลาดพืชไร่ ตลาด หมายถึง การตกลงซ้ือขายสินค้าหรือบริการแลกเปลี่ยนสนิ ค้าระหวา่ งผู้ซ้ือ และผู้ขาย การทั้งนี้ ในลักษณะพบหนา้ โดยตรงหรือไม่เคยพบหนา้ กนั โดยตรง จะมีสถานทีห่ รอื ไม่มสี ถานท่ีก็ได้ เช่น การซอื้ ขายกัน ทางอินเตอร์เน็ต หรือการติดต่อซ้ือขายทางโทรศัพท์ โดยการซ้ือขายที่เกิดขึ้นน้ันเกิดจากความพึงพอใจ ระหว่างผู้ซ้ือและผู้ขาย ดังนั้นตลาดจะต้องประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 4 อย่างคือ ผู้ซ้ือ ผู้ขาย สินค้า และเงอ่ื นไขทางการตลาด ส่วนคาว่า การตลาด หมายถึง กิจกรรมทั้งหมดท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการเคลื่อนย้ายสินค้าหรือบริการ จากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย ในเวลา สถานท่ี และรูปลักษณะท่ีผู้บริโภคต้องการและในระดับราคาท่ี ผู้บริโภคพอใจ จะเห็นได้ว่า การตลาดจะคานึงถึงผู้บริโภคเป็นสาคัญ เพราะผู้บริโภคเป็นผมู้ ีรายไดท้ ่ีจะมาซื้อ สนิ ค้า ดงั นั้นผผู้ ลติ จาเป็นต้องผลิตสินค้าเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บรโิ ภค ดงั นั้นเราจงึ จาเป็นที่จะต้อง ดาเนินการตอบสนองความตอ้ งการของผู้บรโิ ภคในดา้ นตา่ ง ๆ โดยมีผทู้ ่ีทาหน้าทที่ างการตลาด ซ่ึงประกอบด้วย เกษตรกรผู้ผลิต พ่อค้าคนกลาง ผู้แปรรูป เป็นต้น ดังนั้นหากเกษตรกรสามารถทาหน้าท่ีทางการตลาดได้ครบ วงจรจะเปน็ เรอื่ งทดี่ ี รวมทั้งจะมรี ายได้จากการผลติ เพิม่ ข้ึน เกษตรกร กิจกรรมตา่ ง ๆ ทางการตลาด ผ้บู ริโภค ภาพที่ 8.1 แผนผงั การตลาด ดังนั้น การตลาดพืชไร่ หมายถึง กระบวนการเคลื่อนย้ายผลผลิตจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งกิจกรรมที่จาเป็นในกระบวนการผลิตหรอื กระบวนการเคล่อื นย้ายผลผลิตพืชไร่ ได้แก่ การซื้อ การขาย การ รวบรวมผลผลิต การกาหนดราคา การบรรจุหีบหอ่ การขนส่ง การโฆษณา การจดั จาหนา่ ย เปน็ ต้น 2. ความสาคญั และหน้าที่ของการตลาดพชื ไร่ 2.1 ความสาคญั ของการตลาดพืชไร่ การตลาดพืชไร่ช่วยตอบสนองความต้องการ ความพึงพอใจของผู้บริโภค ทาให้ระบบเศรษฐกิจดาเนิน ไปด้วยดีตั้งแต่ข้ันตอนการผลิตจนถึงมือผู้บริโภค ก่อให้เกิดประโยชน์งอกเงย จึงถือได้ว่าการตลาดสร้าง อรรถประโยชน์ให้อยู่ในรูปร่างท่ีบริโภคได้ นาไปสถานท่ีที่ต้องการ สามารถซื้อหาได้ในเวลาท่ีต้องการ ถ้าไม่มี ตลาด อรรถประโยชน์ก็จะไมเ่ กดิ ขน้ึ ดังนน้ั การตลาดพืชไร่มีความสาคญั ก่อให้เกิดอรรถประโยชน์ดังนี้ 1) อรรถประโยชน์ด้านรูปร่าง เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวกับการแปรรูปสินค้าจากรูปหนึ่งเป็นอีก รปู หน่ึงอาจจะมกี ารปรบั ปรุงคุณภาพสินค้าและบรรจุหบี ห่อได้ 2) อรรถประโยชน์ด้านสถานที่ เป็นการสรา้ งความพึงพอใจและตอบสนองความต้องการของ ผ้บู รโิ ภคในการบริโภคสินค้าในแหลง่ ท่ไี ม่สามารถผลิตได้ 3) อรรถประโยชน์ด้านเวลา เป็นความพึงพอใจท่ีบริโภคได้รับสินค้าพืชไร่ในเวลาหรือตาม เวลาทกี่ าหนด เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 4

4) อรรถประโยชน์ด้านความเป็นเจ้าของ เป็นกิจกรรมการซื้อขายแลกเปล่ียนให้แก่กันแลว้ ทาให้เกิดความพึงพอใจท้ังสองฝ่ายเข้า นอกจากนี้แล้วการซ้ือขายแลกเปล่ียนยังก่อให้เกิดราคา และ มูลค่าเพมิ่ ในสนิ คา้ 2.2 หนา้ ท่ีของการตลาดพืชไร่ 1) หน้าที่ในการแลกเปล่ียน เป็นหน้าที่ท่ีทาการเคล่ือนย้ายสินค้าพืชไร่ ประกอบด้วย กิจกรรม 2 สว่ นคอื การซอื้ สนิ ค้าพืชไรแ่ ละการขายสนิ คา้ พชื ไร่ 2) หนา้ ทีท่ างกายภาพ เปน็ หนา้ ท่ที ต่ี อ้ งทาอยา่ งใดอยา่ งหนึ่งกบั สนิ ค้าท่ตี อ้ งการซ้ือ ขาย เปน็ หน้าทที่ ่ีเก่ยี วขอ้ งกบั สนิ ค้าโดยตรงน้ี ดงั นี้ 2.1) การเกบ็ รกั ษาสนิ คา้ 2.4) การขนสง่ 2.3) การแปรรปู 3) หน้าทอี่ านวยความสะดวก เป็นหนา้ ที่การตลาดทม่ี ีความสาคญั ที่เอ้ืออานวยความสะดวก ให้กับหนา้ ทใ่ี นการแลกเปลย่ี นและหน้าท่ีทางกายภาพ ได้แก่ 3.1) การจดั มาตรฐานสนิ ค้า 3.2) หนา้ ทเ่ี กี่ยวกับงานเงิน 3.3) หน้าทยี่ อมรับการเตอื นภัยทีจ่ ะเกดิ ข้นึ ในการขายสนิ คา้ พืชไร่ 3.4) หนา้ ทีก่ ารให้ขา่ วสารการตลาด 3. ลกั ษณะสินคา้ พชื ไร่ แหลง่ ตลาด และคนกลางทางการตลาด 3.1 ลักษณะสินคา้ พชื ไร่ สินคา้ พืชไร่จัดเป็นลกั ษณะสนิ ค้าเกษตร มีลกั ษณะดังน้ี 1. มีลกั ษณะเปน็ วัตถุดิบ กอ่ นที่จะนาไปใช้ประโยชนห์ รือบรโิ ภคต้องผ่านกระบวนการแปรรูป ก่อน เช่น ข้าวเปลอื กกอ่ นทจ่ี ะบรโิ ภคไดจ้ ะต้องผ่านกระบวนการแปรรปู เปน็ ขา้ วสารก่อน 2. เส่ือมคุณภาพเร็ว ผลผลิตพืชไร่เม่ือเก็บเกี่ยวเรียบรอ้ ยแล้วจะเสื่อมคุณภาพเร็ว ต้องรีบขน ย้ายไปสู่ผู้บริโภคหรือโรงงานแปรรูปทันที เช่น ข้าวโพดหวานหลังจากเก็บเก่ียวต้องรีบนาส่งโรงงานหรือ จาหนา่ ยทนั ที เพราะจะทาให้น้าตาลเปล่ียนเป็นแปง้ มผี ลทาให้ความหวานลดลง 3. กินเนื้อท่ี สินค้าพืชไร่ส่วนใหญ่ท่ีใช้บริโภคหรือใช้ประโยชน์ได้ มีปริมาณน้อยเมื่อเทียบกับ ส่วนท่ีเหลือ ทาให้ไม่สะดวกในการขนส่ง การเก็บรักษา เป็นผลให้ต้นทุนค่าขนส่งมากข้ึน ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ส่วนใหญ่โรงงานแปรรูปมักจะอยู่ใกล้แหล่งผลิต และมักจะรับซื้อผลผลิตจากฟาร์ม โดยมีการแปรรูปเบื้องต้น ก่อน เพ่ือลดปัญหาการกินเนื้อท่ี เช่น การรับซ้ือสับปะรดกระป๋อง ผู้รับซ้ือจะให้เกษตรกรตัดจุกสับปะรดใน ฟาร์มเพ่อื ลดขยะและต้นทุนค่าขนสง่ 4. ออกเป็นฤดูกาล มีผลกระทบต่อตลาดเป็นอย่างมาก ทาให้สนิ ค้าล้นตลาด มีปญั หาทั้งเรื่อง การขนสง่ การเกบ็ รักษา 5. ปรมิ าณผลผลติ ในแต่ละปไี มแ่ น่นอน เน่ืองจากมปี ัจจัยทมี่ ีผลกระทบต่อการตัดสินใจในการ ผลิต ในเร่ืองของราคาท่ีได้รับในปีที่ผ่านมา นโยบายของรัฐบาล รวมถึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่ เปล่ยี นแปลงในแต่ละปี เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หน้า 5

6. คุณภาพไม่แน่นอน มีการเปล่ียนแปลงโดยตลอด แม้ว่าจะผลิตจากผู้ผลิตรายเดียวกันก็ ตาม รวมถงึ การผลติ โดยใช้พนั ธุ์ วิธีการผลิต การจัดการหลังการเก็บเก่ยี ว และทอ้ งท่ี ทาให้การผลติ แตกตา่ งกัน คณุ ภาพผลผลติ ก็จะแตกตา่ งกันดว้ ย 7. มคี วามเหมาะสมในการผลติ ในแตล่ ะท้องที่ข้นึ อยู่กับสภาพภูมิประเทศ และภมู อิ ากาศน้ัน นนั้ ส่งผลตอ่ ผลผลิตท้งั ในเร่ืองของความแตกต่างของปริมาณและคุณภาพ 8. สินค้าพืชไร่มักมีผู้ผลิตสินค้าจานวนมากมาย กระจัดกระจาย ไม่มีมาตรฐานสินค้า ท่ี แน่นอน ทาใหผ้ ลผลติ ไม่สามารถกาหนดราคาสินค้าได้ 9. สินค้าพืชไร่มักจะไม่มีความเป็นมาตรฐาน มีความแตกต่างกันท้ังในรูปร่าง คุณภาพทาให้ ควบคุมการผลติ ค่อนข้างลาบาก 3.2 แหล่งตลาดพืชไร่และคนกลางทางการตลาด ด้วยลักษณะของสินค้าพืชไร่ที่มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ เสื่อมคุณภาพเร็ว กินเน้ือท่ีมาก การนาไปใช้ ประโยชน์ต้องผ่านกระบวนการแปรรูปก่อน ดังน้ันเกษตรกรต้องรีบจาหน่ายผลผลิตทันที เพื่อให้ผู้บริโภคหรือ โรงงานนาไปแปรรูปหรือนาไปใช้ประโยชน์ต่อไป จึงทาให้เกิดแหล่งตลาดพืชไร่ในการรวบรวมผลผลิตในระดับ ต่าง ๆ ดังนี้ 1. ตลาดท้องที่หรือตลาดในระดับไร่นา เป็นตลาดท่ีอยู่ใกล้กับแหล่งผลิตมากท่ีสุดส่วนใหญ่ มักเป็นแหล่งจาหน่ายผลผลิตของเกษตรกรรายย่อยท่ีมีอยู่จานวนมาก อยู่อย่างกระจัดกระจาย ตลาดนี้อาจจะ อยู่ตามหมู่บ้านหรือตาบล ส่วนใหญ่มักจะมีปัญหาด้านการขนส่งเพราะอยู่ห่างไกลชุมชนและการคมนาคมไม่ สะดวก ทาให้ค่าใช้จ่ายในการขนสง่ สงู เป็นผลให้ราคาในตลาดท้องที่ต่ากวา่ ราคาในตลาดระบบอ่ืนมาก พ่อค้า คนกลางท่ีทาการค้าขายอยู่ในตลาดระดบั นี้ คือ พ่อค้าเร่หรือพอ่ คา้ จร พ่อคา้ รวบรวม ตัวแทน เปน็ ตน้ 2. ตลาดระดับท้องถ่ิน เป็นตลาดท่ีรวบรวมผลผลิตท่ีมีปริมาณมากขึ้น โดยรวบรวมจาก เกษตรกรรายใหญท่ ่ีมีผลผลติ จานวนมาก และเกษตรกรรายย่อยท่ผี า่ นตลาดระดบั ทอ้ งทีม่ าแลว้ ส่วนใหญต่ ลาด ท้องถิ่นจะต้องอยู่ในพ้ืนท่ีที่มีสภาพทางเศรษฐกิจที่ดี การคมนาคมขนส่งค่อนข้าง สะดวก มีความพร้อมในสิ่ง อานวยความสะดวก มีระบบการสื่อสารทด่ี ี และมีข่าวสารการตลาดทท่ี นั ตอ่ เหตุการณ์ 3. ตลอดปลายทาง ตลาดระดับนี้เป็นตวั สดุ ท้ายในการรวบรวมสนิ ค้า ตลาดระดับน้ีจะมีการ เก็บรักษา มีการจัดคุณภาพตามมาตรฐานท่ีรัฐจัดตั้งขึ้น หรือเป็นที่ยอมรับในวงการค้าซื้อขายในตลาดระดับน้ี จะดาเนินไปเพ่ือนาไปสู่ผู้บริโภคหรือโรงงานแปรรูปท้ังในและต่างประเทศ ลักษณะของตลาดปลายทางน้ีจะ ตง้ั อยู่ ณ จดุ ทม่ี คี วามสะดวกในด้านการคมนาคม และการตดิ ต่อ พ่อค้าคนกลางทางการตลาด ไดแ้ ก่ นายหน้า พอ่ คา้ สง่ พ่อค้าสง่ ออก พอ่ ค้าแปรรูป ผ้เู กง็ กาไร โรงงานแปรรปู และสถาบันหรือองคก์ ารของรัฐบาล เป็นตน้ 3.3 คนกลางทางการตลาด คนกลางทางการตลาดหรือพ่อค้าคนกลาง เป็นคนที่อยู่ระหว่างผู้ซ้ือและผู้ขาย หรืออีกนัยหนึ่งคือ พ่อค้าที่อยู่ระหว่างเกษตรกรกับผู้บริโภค พ่อค้าคนกลางในตลาดพืชไร่มีลักษณะเหมือนกับพ่อค้าคนกลางใน ตลาดสินค้าเกษตรอื่น ประกอบด้วย พ่อค้าขายส่ง ขายปลีก ตัวแทน นายหน้า ผู้แปรรูป และโรงงาน อุตสาหกรรม เป็นต้น พ่อค้าคนกลางเหล่านี้จะอยู่ทั่วไปตามตลาดในระดับต่าง ๆ พ่อค้าคนกลางมักจะถูกมอง ว่าเป็นบุคคลที่เอารัดเอาเปรียบเกษตรกร มักจะซ้ือสินค้าจากเกษตรกรในราคาที่ต่า และนาไปจาหน่ายให้ ผู้บริโภคในราคาท่ีสูงข้ึน มุ่งหวังกาไรเพียงอย่างเดียวแต่ในทางกลับกันการที่พ่อค้าคนกลางจะนาสินค้าจาก ผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคได้ต้องมีค่าใช้จ่ายในการตลาด มีการลงทุน ลงแรง ดังนั้นพ่อค้าคนกลางจึงโดนเอารัดเอา เปรียบอย่างท่ีเข้าใจ เพียงแต่เกษตรกรจะขายสินค้าให้กับพ่อค้าคนกลางได้มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความมี คุณธรรมของพ่อค้าคนกลาง ในการกาหนดราคา และแข่งขันระหว่างพ่อค้าด้วยกันเอง หรือการรวมกลุ่มของ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หน้า 6

เกษตรกรในการขายสินค้าในรูปสหกรณ์ อย่างไรก็ตามการจาหนา่ ยสนิ ค้าพืชไรจ่ าเป็นต้องอาศัยพ่อค้าคนกลาง โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยทขี่ าดเงินทนุ แรงงาน ยานพาหนะในการขนสง่ สนิ ค้า พ่อคา้ คนกลางมีทั้งข้อดีและ ข้อเสีย ดังนี้ ข้อดขี องพ่อค้าคนกลาง 1. เป็นผรู้ บั ซ้ือผลผลติ จากเกษตรกรโดยตรง ทาใหเ้ กิดความสะดวกในการขนส่งสนิ ค้า 2. ให้บริการข้อมูลข่าวสารการตลาดแก่เกษตรกร ทาให้เกษตรกรมีข้อมูลในการวางแผนการ ผลิตพืชไร่ให้ตรงกับความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค 3. ให้บริการสนิ เชอ่ื หาแหล่งเงนิ ทนุ ใหเ้ กษตรกรในการผลติ พชื ไร่ 4. ให้บริการในการแปรรูปสินค้า การเก็บรักษา และการจัดคุณภาพของสินค้า เพ่ือให้สินค้า ตรงกับความตอ้ งการของผู้บริโภคและเกิดประโยชนก์ บั การเกษตร ขอ้ เสียของพอ่ คา้ คนกลาง 1. เปน็ ผ้กู าหนดราคาสินคา้ ทาให้เกษตรกรเสียเปรียบในการซอื้ ขาย 2. เครื่องมืออุปกรณ์ในการซ้ือขาย เช่น เคร่ืองชั่งตวง เครื่องวัดน้าหนัก ไม่เป็นมาตรฐาน ไม่ แน่นอนทาใหเ้ กษตรกรเสยี เปรยี บ 3. การให้บริการสินเช่ือของพอ่ คา้ คนกลาง โดยส่วนใหญเ่ ป็นการใหก้ ้เู งินแกเ่ กษตรกร โดยคดิ ใน อัตราดอกเบ้ียท่ีสูง ทาให้เกิดภาระผูกพัน บางครั้งเกิดจากความต้องการในราคาที่ต่ากว่า ความเปน็ จรงิ นอกจากนี้ยังทาใหเ้ กษตรกรมีหน้ีสนิ เพ่ิมมากขน้ึ 4. การกาหนดราคาและความเคลือ่ นไหวของราคาสนิ ค้าพืชไร่ 4.1 การกาหนดราคาสนิ คา้ พชื ไร่ ราคาของสินค้าพืชไร่จะมีการเปลี่ยนแปลงข้ึนลงตามสภาวะของตลาดและส่วนใหญ่เกษตรกรมักจะ ไม่ใช่ผู้กาหนดราคา โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อยที่ทาการตลาดเองให้กับพ่อค้าคนกลางในตลาดระดับต่าง ๆ และยังเข้าใจว่าการกาหนดราคาเป็นหน้าที่โดยตรงของรัฐบาล ที่มาจัดการเรื่องราคาไม่ให้ต่าจนเกินไปแต่ใน ความเป็นจรงิ ราคาจะถกู กาหนดราคาโดยตลาด โดยรัฐบาลและผผู้ ลติ ดงั น้ี 1. การกาหนดราคาโดยตลาดหรือที่เรียกว่า ราคาตลาด เป็นราคาที่แท้จริง เกิดจากความต้องการ ซ้ือของผู้บริโภคกับความต้องการขายของผู้ผลิตท่ีตรงกัน เช่น ถ้าผู้บริโภคมีความต้องการสินค้าน้อย แต่ถ้าใน ตลาดมสี นิ ค้าในปริมาณท่ีน้อยไม่เพียงพอจะทาให้ราคาขายสงู ขึ้น และขณะเดยี วกันถา้ ผู้บรโิ ภคมีความต้องการ น้อย แตใ่ นตลาดมีสนิ ค้าปริมาณมากเกินไป จะทาใหร้ าคาสินคา้ น้นั ถูกลง 2. การกาหนดราคาโดยรัฐบาล สินค้าพืชไร่หลายชนิด เช่น ข้าว มันสาปะหลัง จะถูกแทรกแซงราคา โดยรฐั บาล โดยมีวัตถุประสงคเ์ พือ่ 2.1 ควบคุมราคา เพ่ือไม่ให้ผู้ขายกาหนดราคาสูงกว่าที่รัฐบาลกาหนดราคาไว้ก่อนกว่าราคา ตลาด เพื่อช่วยเหลือผู้บริโภคไม่ให้เดือดร้อนจากราคาตลาดที่สูงเกินไป เช่น การควบคุมราคาข้าวสาร น้าตาล ทราย เป็นตน้ 2.2 ประกันราคา เป็นการกาหนดราคาขั้นต่า เพื่อไม่ให้ผู้ซื้อ ๆ สินค้าในราคาที่ต่ากว่าท่ี รัฐบาลกาหนด และการกาหนดราคาประกันไว้สูงกว่าราคาตลาด เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรผู้ผลิตรายเล็ก ๆ ไดร้ บั ความเดอื ดร้อนจากราคาผลผลติ ตา่ เกินไป เช่น มันสาปะหลงั ขา้ วเปลือก เป็นตน้ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หนา้ 7

2.3 การพยุงราคา เป็นการใช้วิธีการต่าง ๆ ระดับราคาผลผลิตสูงขึ้นรบั ซื้อผลผลิตและขยาย ตลาดให้มีจานวนมากขึ้นในประเทศและต่างประเทศ เพื่อเพ่ิมปริมาณการซื้อห้องขายสินค้าได้ในราคาที่สูงขึ้น หรือการท่ีรฐั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้เกษตรกรลดพื้นท่ีหรอื ปรมิ าณการผลิตลดลง 3. การกาหนดราคาโดยผู้ผลิต และการกาหนดราคาของผู้ผลิตส่วนใหญ่จะเป็นเกษตรกรรายใหญ่ ๆ ท่ผี ลติ สินคา้ จานวนมากมอี านาจตอ่ รอง เปน็ เกษตรกรทท่ี าการตลาดเอง ซง่ึ การกาหนดราคาจะพิจารณาจาก 3.1 ความตอ้ งการของตลาด ตลาดมคี วามต้องการสนิ ค้ามากน้อยเพียงใด ผู้บรโิ ภคมคี วามพึง พอใจในสินคา้ มากน้อยแค่ไหน รวมถึงตอ้ งพจิ ารณาถึงตน้ ทนุ ของผูบ้ ริโภคดว้ ย 3.2 ต้นทุนตอ้ งพจิ ารณาถึงตน้ ทนุ การผลติ ตน้ ทนุ การตลาด ต้นทนุ การบริหารจัดการ เปน็ ต้น 3.3 การแข่งขันในตลาด การกาหนดราคาต้องพิจารณาถึงผู้แข่งขันในตลาดด้วย โดยต้อง ติดตามการกาหนดราคาของคแู่ ขง่ ขนั จะเห็นได้ว่าการกาหนดราคาขั้นต่า แนวทางจะถูกกาหนดขึ้นโดยลักษณะของตลาด สถานการณ์ทาง การตลาด และความสามารถของผู้ผลติ ด้วย การกาหนดราคาทีผ่ ู้ผลิตไมส่ ามารถควบคุมไดค้ ือ การกาหนดราคา โดยตลาด และการกาหนดราคาโดยรัฐบาล โดยเฉพาะราคา ข้าว มันสาปะหลัง ตามตลาดในช่วงตกต่า เกษตรกรต้องมีความเปน็ เอกลักษณส์ ร้างความแตกต่างสินค้าในตลาด จะทาให้ราคาสินค้าสูงข้ึนได้ นอกจากนี้ เกษตรกรควรมีการติดตามข้อมูลข่าวสารการผลิตอย่างสม่าเสมอ หรือต่อเน่ืองเพื่อรับรู้ถึงนโยบายของรัฐบาล ราคาท่ีรัฐบาลกาหนด รวมถึงแนวโน้มของตลาดท้ังในประเทศและต่างประเทศ จะทาให้เกษตรกรสามารถวาง แผนการผลติ ไดส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของตลาด รวมท้งั จะสามารถขายสนิ คา้ ไดใ้ นราคาทีเ่ ป็นธรรม 4.2 ความเคล่ือนไหวของราคาสนิ คา้ พชื ไร่ จากลักษณะของสินคา้ พืชไร่ทมี่ ักออกเป็นฤดูกาล และการกาหนดราคาข้ึนอยูก่ ับสภาวะของตลาดและ นโยบายของรัฐบาล ซ่ึงเกษตรกรไม่สามารถควบคุมได้ ทาให้ราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงข้ึน ๆ ลง ๆ แตกต่างไป จากสนิ ค้าชนดิ อื่น ซงึ่ ลักษณะความเคลอื่ นไหวของราคาสินค้าพชื ไร่ จาแนกได้เปน็ 4 ลักษณะดงั นี้ 1) ความเคล่ือนไหวของราคาตามฤดูกาล เป็นความเคลื่อนไหวของราคาท่ีเกิดข้ึนในเดือน ต่าง ๆ ในรอบปีราคาสนิ ค้าจะสูงหรือต่าขึ้นอยู่กับปริมาณผลผลติ ทอี่ อกส่ตู ลาด 2) ความเคล่อื นไหวตามวัฏจกั ร เป็นความเคลอื่ นไหวของราคาทม่ี ีการเปลยี่ นแปลงเป็นช่วง ๆ แต่ละชว่ งใช้เวลา 1 ปีหรอื มากกวา่ ช่วงหนง่ึ ของราคาจะสงู และอีกช่วงหน่งึ จะต่าแล้วไปใหมส่ ลับกัน ไปเรือ่ ย ๆ 3) ความเคล่ือนไหวตามแนวโน้ม แนวโน้มความเคลื่อนไหวของราคาสินค้าที่เปล่ียนแปลง เป็นรายปี 4) ความเคล่ือนไหวของราคาการผิดปกติ เป็นการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าที่ไม่ได้ กาหนดไว้ล่วงหน้าได้ เช่น เกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติ น้าท่วม ฝนแล้ง ทาให้ผลผลิตหาย ขาดแคลน สินค้า สง่ ผลให้ระดับราคาสินค้าสงู ขึ้นอย่างรวดเรว็ 5. วถิ ีการตลาดพืชไร่ วิถีการตลาดพืชไร่ หมายถึง เส้นทางการเคล่ือนย้ายผลผลิตพืชไร่จากแหล่งผลิตโดยผ่านพ่อค้าคน กลางในตลาดระดับต่าง ๆ ไปจนถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย วิถีการตลาดของพืชไร่แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไป บางชนิดอาจมีความยุ่งยากสลับซับซ้อน บางชนิดเป็นแบบง่าย ๆ ขึ้นอยู่กับว่ามีพ่อค้าคนกลางเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยน้อยเพียงใด เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 8

ความสาคญั ของข้อมูลวถิ ีการตลาด ทาให้ทราบว่าสินคา้ จากผูผ้ ลิตว่าปริมาณเทา่ ใดก่อนถึงมือผู้บริโภค หรือส่งออกไปจาหน่ายยังตลาดต่างประเทศ และในตลาดแต่ละระดับมีใครบ้างเป็นผู้รับซ้ือและรับซ้ือใน ปรมิ าณเทา่ ใด เพ่ือจะใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการแข่งขนั การรบั ซ้ือผลผลิตหรือการหาลทู่ างตลาดให้กวา้ งข้นึ เป็นต้น 6. การจดั จาหนา่ ยสนิ ค้าพชื ไร่ การจัดจาหน่ายเป็นหน้าท่ีท่ีสาคัญของการตลาด เป็นการเลือกช่องทางการจัดจาหน่าย เพ่ือให้สินค้า พืชไร่จากเกษตรกรผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย โดยเกษตรกรสามารถเลือกช่องทางการจัดจาหน่ายที่เกิด ประโยชนก์ บั เกษตรกรมากท่สี ดุ 6.1 ความสาคญั ของการจดั จาหนา่ ยสนิ คา้ พืชไร่ 1) เป็นการขยายตลาดอย่างท่ัวถึง เกษตรกรอาจใช้พ่อค้าคนกลางที่มีความชานาญในการขยาย ตลาดสินคา้ พชื ไร่จากระดับท้องท่ีไปสรู่ ะดับท้องถิน่ และตลาดปลายทาง 2) ระบบการแข่งขัน การเลือกวิธีการจัดจาหน่าย หรือการเลือกพ่อค้าคนกลางที่เหมาะสมจะ ทาให้สินค้าไปถึงผู้บริโภคคนสุดท้ายได้อย่างทั่วถึง และตรงกับความต้องการ ทาให้เกิดการ แข่งขันกับผ้ผู ลติ รายอืน่ ๆ ได้ 3) กระตุ้นใหม้ กี ารพัฒนาผลิตภัณฑ์ พ่อค้าคนกลางในช่องทางการจัดจาหน่ายจัดเป็นผู้นาข้อมูล ข่าวสารและความต้องการของผู้บริโภคกลับมากระตุ้นให้มีการพัฒนา ปรับปรุงผลิตภณั ฑ์ให้ เป็นไปตามความต้องการของผู้บริโภค 4) ลดต้นทุน การจัดจาหน่ายเพ่ือส่งออกสินค้าพืชไร่ไปยังตลาดเป้าหมายจะมีค่าใช้จ่ายในการ ขนส่งสินค้าทาใหเ้ พ่ิมต้นทุน ดังนั้นการจัดจาหนา่ ยท่ีมีประสิทธภิ าพ เช่น การรวบรวมพ่อค้า คนกลางการเลือกช่องทางการจัดจาหน่ายท่ีมีประสทิ ธิภาพและจะช่วยให้ลดต้นทุนที่เกิดข้ึน ได้ 6.2 ช่องทางการจดั จาหนา่ ยสนิ คา้ พชื ไร่ ในการจดั จาหนา่ ยสนิ ค้าพืชไรเ่ กษตรกรสามารถเลือกชอ่ งทางการจดั จาหน่ายได้ 2 ชอ่ งทางคอื 1) ทางตรง เป็นการจัดจาหน่ายสินค้าพืชไร่ให้กับผู้บริโภคโดยตรง ไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง เป็นช่องทางการจัดจาหน่ายที่ใกล้ท่ีสุด สินค้าไปถึงมือผู้บริโภคเร็วท่ีสุด เช่น การท่ีชาวบ้านนาผลผลิตมาขาย ข้างถนน เป็นตน้ 2) ทางอ้อม เป็นการจัดจาหน่ายที่ผ่านพ่อค้าคนกลาง การจัดจาหน่ายเพื่อให้เกิดประโยชน์ กับเกษตรกรต้องพิจารณาถึงจานวนและประเภทของพ่อค้าคนกลาง โดยทั่วไปการจัดจาหน่ายทางอ้อมส่วน ใหญ่จะเป็นเกษตรกรรายยอ่ ยอยู่หา่ งไกลชนบท ขาดแคลนเงนิ ทนุ แรงงาน ยานพาหนะ ในการขนส่ง พ่อค้าคน กลางทเ่ี ข้ามาเก่ยี วขอ้ งและมบี ทบาท คอื พอ่ ค้าส่งและพอ่ คา้ ปลีก 2.1) พ่อค้าส่ง จะเป็นผู้เข้าไปรับซื้อผลผลิตกับเกษตรกรโดยตรงแล้วขายสินค้าให้กับ พ่อคา้ ปลีกหรอื พ่อค้าส่งรายอ่ืนอื่น ๆ และโรงงานอตุ สาหกรรมทใี่ ช้เปน็ วตั ถุดิบ พอ่ ค้าส่งจะมีท้ังผู้ ทีท่ าหน้าที่การตลาดทัง้ หมด หรอื อาจทาบางหน้าที่ 2.2) พ่อค้าปลีก จะเป็นผู้ขายสินค้าให้แก่ผู้บริโภคโดยตรง เป็นตัวแทนของผู้ผลิตให้กับ ผูบ้ รโิ ภคจะซือ้ สินค้าพอ่ ค้าสง่ หรอื รบั ซ้อื ผลผลิตจากเกษตรกรโดยตรง เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หน้า 9

สรุป ตลาดมีความหมายแตกต่างกับการตลาด โดยตลาดจะ หมายถึง การซ้ือการขายสินค้าท่ีผ่านจะมี สถานทห่ี รอื ไม่มีสถานที่ก็ได้ สว่ นการตลาด หมายถึง กจิ กรรมท้ังหมดที่เกิดข้ึนในระหว่างการเคลื่อนย้ายสินค้า จากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภคคนสุดท้าย ในเวลา สถานที่ และรูปลักษณะ ที่ผู้บริโภคต้องการ และในระดับราคาท่ี ผู้บริโภคพอใจ ดังน้ันการตลาดพืชไร่ หมายถึง กิจกรรมการเคลื่อนย้ายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค โดย การตลาดพืชไร่จะทาหน้าที่ในการแลกเปล่ียนสินค้า หน้าท่ีทางกายภาพ และหน้าที่อานวยความสะดวก ซ่ึง ลักษณะของสินค้าพืชไร่จะเป็นวัตถุดิบ เส่ือมคุณภาพเร็ว มีเน้ือที่มาก ออกเป็นฤดูกาล สินค้าพืชไร่จะถูกนาไป จาหน่ายในตลาดระดับตา่ ง ๆ ทง้ั ตลาดระดบั ท้องท่ี ตลาดระดบั ทอ้ งถ่ิน และตลาดปลายทาง มีพ่อคา้ คนกลางที่ ทาหน้าท่ีทางการตลาดในการตลาดระดับต่าง ๆ โดยการกาหนดราคาของสินค้าพืชไร่จะถูกกาหนดโดยราคา ตลาด รัฐบาล และตัวของผู้ผลิตเอง การเคลื่อนไหวของราคาสินค้า เคล่ือนไหวตามฤดูกาล ตามวัฏจักร แนวโน้ม และตามเหตุการณ์ผิดปกติ ทุกข้อมูลความเคลื่อนไหวของราคาที่ผ่านมาเป็นตัวกาหนดให้เกษตรกร ตัดสินใจผลิตพชื ไร่ วถิ กี ารตลาดพืชไร่ เปน็ เสน้ ทางการเคลื่อนย้ายสินคา้ พืชไร่จากผผู้ ลิตไปยังผู้บริโภค ซ่ึงวธิ ีการตลาดพืช ไร่จะแตกต่างกันข้ึนอยู่กับชนดิ ของพืชไร่ ความสาคัญของวิถีการตลาดพืชไร่ จะทาให้ข้อมูลในการแข่งขัน การ รับซ้อื ผลผลติ หรอื การหาลู่ทางขยายตลาดโลกกว้างข้ึน เชน่ เดยี วกบั การจัดจาหนา่ ยสินค้าพชื ไร่ เป็นการเลือก ชอ่ งทางการจัดจาหน่าย เพ่ือให้สินค้าพชื ไร่จากเกษตรกรผผู้ ลติ ไปยังผู้บริโภคคนสุดท้าย โดยเกษตรกรสามารถ เลือกชอ่ งทางการจัดจาหน่ายทีเ่ กิดประโยชนก์ บั เกษตรกรมากท่ีสุด เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 10

บทท่ี 3 การจาแนกประเภทพชื ไร่ 1. การจาแนกพชื ไรต่ ามลกั ษณะของการใช้พืน้ ที่ 1.1 ประเภทปลูกในพนื้ ท่ีดอน เป็นกลุ่มพืชที่ปลูก และเจริญเติบโตได้ดีในพ้ืนที่ราบสูงหรือพ้ืนที่ลาดชัน หน้าดินแห้ง และมีความช้ืนน้อย มัก เป็นพืชที่ต้องการน้าน้อย ไม่ชอบน้าท่วมขัง อาศัยเพียงน้าฝนตามฤดูกาลก็สามารถให้ผลผลิตได้ ส่วนมากเป็น พืชที่เก็บผลผลิตในปีเดียว มักปลูกในต้นฤดูฝน และเก็บเก่ียวในช่วงต้นฤดูหนาว ส่วนมากเป็นพืชตระกูลหญ้า ไดแ้ ก่ ขา้ วไร่ ข้าวฟา่ ง ขา้ วสาลี งา เป็นตน้ 1.2 ประเภทปลูกในพืน้ ทรี่ าบลุ่ม เป็นกลุ่มพืชที่ปลูก และเจริญเติบโตได้ดีในพ้ืนที่ราบท่ัวไป หน้าดินมีความชุ่มช้ืนเพียงพอ มักเป็นพืชท่ีต้องการ น้าปานกลาง และต้องการความชุ่มช้ืนตลอดการเติบโต จาเป็นต้องอาศัยระบบน้าจากแหล่งอื่นช่วยเสริม นอกเหนือจากนา้ ฝนตามฤดูกาล มักปลกู ตลอดทัง้ ปี แต่จะเติบโต และให้ผลผลิตดีเม่อื ปลกู ในตน้ ฤดูฝน พชื กล่มุ นี้ส่วนมากจะเป็นพืชตระกูลถั่ว ได้แก่ ถ่ัวเหลือง ถั่วเขียว ถ่ัวลิสง เป็นต้น และมีพืชตระกูลหญ้าบ้าง ได้แก่ ขา้ วโพด เป็นต้น 1.3 ประเภทปลกู ในพืน้ ท่รี าบลุ่มนา้ ทว่ มขงั เปน็ กลุม่ พืชทปี่ ลูก และเจริญเตบิ โตไดด้ ีในพน้ื ทนี่ า้ ท่วมขัง เปน็ พืชทีต่ อ้ งการนา้ มาก อาศยั น้าจากน้าฝน และน้า จากระบบชลประทาน มักปลูกตลอดท้ังปีตามชนิดพันธุ์ท่ีเหมาะสม พืชในกลุ่มน้ีมีเพียงไม่กี่ชนิด ได้แก่ ข้าว หอมมะลิ ข้าวเหนยี ว เปน็ ตน้ 2. การจาแนกพชื ไร่ตามหลักพฤกษศาสตร์ เป็นการจาแนกที่มีหลักการชัดเจน โดยอาศัยความแตกต่างหรือความคล้ายคลึงของพืชทั้งลักษณะ ภายในและภายนอกท่ีสามารถสังเกตได้ เป็นตัวกาหนดในการแบ่งออกเป็นหมวดหมู่ โดยจัดลาดับจาก หมวดหมู่ที่ใหญ่ที่สุดคือ อาณาจักรส่ิงมีชีวิตท่ีอยู่ในอาณาจักเดียวกันจะมีลักษณะบางอย่างท่ีเหมือนกัน อาณาจักรหนึ่ง ๆ จะแบ่งออกได้หลายดิวิชั่น และแบ่งย่อยไปเรื่อย ๆ จนถึงหน่วยที่เล็กที่สุด คือ ชนิดหรือ สปชี ีส์ ดังนี้ อาณาจักร Kingdom กลมุ่ Division ชั้น Class ช้ันยอ่ ย Sub Class อันดบั Order วงศ์ Family สกลุ Genus ชนิด Species เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หน้า 11

การจาแนกพืชมีดอก พืชไร่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจเป็นพืชที่จัดอยู่ในกลุ่มน้ีทั้งหมด ลักษณะที่ สาคัญของกลุ่มนคี้ อื มีดอก มผี ล และเมลด็ สามารถจาแนกได้ 2 กลมุ่ คอื 2.1 พืชใบเลี้ยงเดียว คือ พืชท่ีมีใบเลี้ยง 1 ใบ ลักษณะเส้นใบจะขนานไปตามความยาวของใบพืชมัก เป็นพืชตระกูลหญ้า ลาต้นเป็นข้อ ปล้อง ใบแตกตามข้อ ก้านใบหุ้มรอบลาต้น ใบมีลักษณะเรียวยาว ปลายใบ ทิ้งดิ่ง ผลผลติ มกั เปน็ ผล และเมลด็ เชน่ ขา้ ว ขา้ วโพด เปน็ ต้น 2.2 พืชใบเลี้ยงคู่ คือ พืชที่มีใบเล้ียง 1 คู่ ลักษณะใบเป็นร่างแห มักเป็นพืชตระกูลถั่ว ลาต้นแตกก่ิง แขนงเป็นทรงพุ่มหรือเล้ือยตามพื้นดิน ใบมีลักษณะป้อม สั้น รูปทรงต่าง ๆ มีมากกว่า 1 ใบ ใน 1 ก้านใบ ผลผลิตมักเป็นผล และเมล็ด เชน่ พชื ตระกลู ถัว่ ต่าง ๆ ความแตกตา่ งระหว่างพชื ใบเล้ียงคู่และพชื ใบเล้ยี งเดยี่ ว พชื ใบเลย้ี งเด่ยี ว พชื ใบเลีย้ งคู่ 1. มใี บเลย้ี งใบเดียวเม่อื งอกออกจากเมลด็ 1. มีใบเลย้ี ง2 ใบ เมื่องอกออกจากเมลด็ 2. ใบโดยท่วั ไปมีเสน้ ใบเรยี งแบบขนาน 2. ใบโดยท่ัวไปมีเสน้ ใบเปน็ รา่ งแห 3. ใบมีกาบใบ 3. ใบไม่มกี าบใบ 4. มีระบบรากฝอย 4. มีระบบรากแกว้ 5. ลาต้นมองเห็นข้อปล้องชัดเจน 5. ลาตน้ เห็นขอ้ ปลอ้ งไมช่ ดั เจน 3. การจาแนกพชื ไรต่ ามลกั ษณะการใช้ประโยชน์ จาแนกโดยอาศัยพื้นฐานการใช้ประโยชน์จากองค์ประกอบและส่วนต่าง ๆ ท่ีสาคัญของพืช สามารถ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ กลุม่ ดังน้ี 3.1 ธัญพืช หมายถึง พืชล้มลุกตระกูลหญ้า ที่ให้เมล็ดเป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์โดยไม่เป็นพิษ เชน่ ขา้ ว ข้าวโพด ขา้ วสาลี ข้าวไรย์ ขา้ วโอ๊ต ขา้ วบาเลย์ เปน็ ต้น 3.2 พวกถั่ว หมายถึง พืชที่อยู่ในตระกูลถั่วท่ีให้เมล็ดเป็นอาหาร เช่น ถั่วเหลือง ถ่ัวเขียว ถ่ัวลิสง เป็นต้น 3.3 พืชอาหารสัตว์ หมายถึง พืชพวกหญ้า ผัก หรือถั่ว ท่ีอยู่ในรูปของแห้งหรือยังสดอยู่ นามาใช้ใน การเลี้ยงสัตว์ เช่น ถ่ัวตา่ ง ๆ ฟางข้าว ขา้ วโพด หญา้ ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 3.4 พืชท่ีใช้รากเป็นประโยชน์ หมายถึง พืชที่สามารถนารากมาใช้เป็นประโยชน์ ในด้านเป็นอาหาร ของมนษุ ย์และสัตว์ เช่น มันเทศ มันสาปะหลัง หวั บที เป็นต้น 3.5 พชื ใชห้ วั หมายถึง พชื ทม่ี ีลาตน้ ขนาดใหญอ่ ยูใ่ ต้ดนิ สาหรบั เก็บสะสมอาหาร และสามารถนามาใช้ เปน็ ประโยชน์แกม่ นษุ ย์ได้ เชน่ มนั ฝรงั่ เผือก เป็นต้น 3.6 พืชเส้นใย หมายถึง พืชที่ปลูกขึ้นเพ่ือใช้เส้นใยทางอุตสาหกรรม เช่น ทาเชือก กระสอบ เสื้อผ้า วัสดุเยบ็ ปักถักรอ้ ยตา่ ง ๆ เช่น ฝา้ ย ปา่ น ปอ ศรนารายณ์ เปน็ ตน้ 3.7 พืชให้น้าตาล หมายถึงพืชที่สามารถนาเอาส่วนใดส่วนหนึ่งมาผลิตน้าตาลได้ เช่น อ้อย หัวบีท เปน็ ต้น เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 12

3.8 พืชประเภทกระตุ้นประสาท หมายถึง พืชที่ช่วยกระตุ้นประสาท หากใช้มาก ๆ หรือใช้นาน ๆ ก็ จะทาใหต้ ิดได้ เช่น ยาสูบ ชา กาแฟ เปน็ ต้น 3.9 พืชให้น้ามัน หมายถึง พืชท่ีให้ผลิตผลท่ีสามารถนามาแปรรูปเป็นน้ามันใช้เป็นประโยชน์ได้ เช่น ถ่ัวเหลือง ถัว่ ลสิ ง ละหุง่ งา ฝา้ ย ข้าวโพด ทานตะวนั ปาล์มนา้ มัน เปน็ ต้น 3.10 พืชให้น้ายาง หมายถึงพืชพวกที่ให้น้ายาง เพ่ือใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ เช่น ยางพารา ยางสน เปน็ ต้น 4. การจาแนกพืชไรต่ ามชพี จกั ร เป็นการจาแนกพืชตามอายุ นับตง้ั แตง่ อกออกจากเมล็ดจนกระท้ังตาย แบง่ ออกได้ดังน้ี 4.1 พืชล้มลุกหรือพืชฤดูเดียว เป็นพืชอายุส้ัน จะออกดอกให้เมล็ดและตายภายในเวลา 1 ปี ธัญพืช สว่ นใหญเ่ ปน็ พืชล้มลุก เชน่ ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟา่ ง 4.2 พืชคาบปี เป็นพืชที่มีอายุ 2 ฤดู หรือ 2 ปี โดยในปีแรกจะมีการเจริญเฉพาะทางด้านลาต้น กิ่ง และใบ มีการสะสมอาหารไว้ แต่จะไม่ออกดอก และในฤดูถัดมาของปีที่ 2 จึงออกดอกให้เมล็ดและตาย เช่น บที น้าตาล 4. 3 พชื ยืนต้น เป็นพชื ทีม่ ีอายุยาวมากกว่า 2 ปขี ึ้นไป อาจจะออกดอกมผี ลใหเ้ มลด็ ทุกปี หรอื อาจมีปี เวน้ ปีกไ็ ด้ เชน่ ยางพารา ปาลม์ น้ามนั เป็นตน้ 5. การจาแนกตามจดุ มุ่งหมายเฉพาะอยา่ ง เปน็ การจาแนกโดยจดุ มุ่งหมายของผ้ปู ลูกเปน็ หลัก ซึ่งสามารถจาแนกได้ดงั น้ี 5.1 พืชคลุมดิน จะปลูกโดยการหว่านเมล็ดให้คลุมดิน ช่วยป้องกันการพังทลายของดิน รักษาความ ชุ่มช้ืนในดนิ เชน่ พชื ตระกลู ถัว่ 5.2 พืชปุ๋ยสด เป็นพืชท่ีปลูกแล้วไถกลบลงไปในดิน ในขณะท่ียังสดอยู่เพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน นิยมไถกลบในระยะทพ่ี ชื ออกดอก ซึง่ เป็นช่วงทีพ่ ืชมธี าตุอาหารสงู สุด เช่น ถัว่ ตา่ ง ๆ ปอเทือง เปน็ ต้น 5.3 พชื หลกั ไดแ้ ก่ พืชทป่ี ลกู เพื่อเป็นรายได้หลกั ให้กับฟารม์ เช่น ข้าว อ้อย เปน็ ต้น 5.4 พืชแซม เปน็ พืชที่ใช้ปลกู แซมกบั พืชหลัก นอกจากจะเป็นการเพ่ิมรายไดแ้ ลว้ พืชแซมอาจจะปลูก เพอื่ คลุมดินระหว่างแถวของพืชหลกั ด้วย นิยมใช้พชื ตระกลู ถั่วเปน็ พืชแซม เชน่ ปลูกถวั่ เขียวแซมกับข้าวโพด 5.5 พืชชดเชย หมายถงึ พชื ท่ีปลกุ ชดเชยไดเ้ ม่ือปลูกพชื หลักไม่ทันหรือพชื หลักเกิดความเสยี หาย พืช ชดเชยมกั เป็นพืชอายุส้นั ๆ มีการเจรญิ เติบโตเร็ว มอี ายุการเก็บเกย่ี วสน้ั เช่น ถั่วเขียว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง 6. การจาแนกตามความตอ้ งการนา้ 6.1 พืชไรท่ ต่ี ้องการนา้ มาก เชน่ ขา้ ว 6.2 พชื ไร่ท่ตี อ้ งการนา้ น้อย เช่น ออ้ ย มนั สาปะหลัง เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หน้า 13

บทท่ี 4 ปจั จัยที่เกย่ี วขอ้ งกบั การผลติ พชื ไร่ 1. ปจั จัยท่เี ก่ียวกับสภาพแวดล้อม ปัจจัยท่ีเก่ียวกับสภาพแวดล้อม ได้แก่ ดิน น้า ธาตุอาหาร แสง อุณหภูมิ ความช้ืน อากาศ ลม ความ สูงและความลาดเท ซ่งึ มคี วามสาคัญต่อการเจรญิ เตบิ โต และการใหผ้ ลผลติ ของพืชไร่ ผู้ผลติ ต้องจดั การปจั จัยที่ เกยี่ วข้องดังกลา่ วให้อยใู่ นสภาพท่ีเหมาะสมตามหลักการและด้วยวธิ ีการที่คานึงถึงสง่ิ แวดลอ้ ม 1. ดิน (soil) ดินเกิดจากการสลายตัวตามธรรมชาติของวัตถุต้นกาเนิด และซากพืช ซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยเป็นปัจจัย สาคัญในการผลิตพืชไร่ เนื่องจากดินมีส่วนประกอบของอินทรีย์วัตถุ อนินทรีย์วัตถุ น้า และอากาศ ซึ่งเป็น รากฐานของการเจริญเติบโตของพืช สว่ นประกอบท่ีเหมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืชไร่ คอื มสี ว่ นประกอบ ของอนินทรีย์วัตถุ 45% อินทรีย์วัตถุ 5% น้า 25% และอากาศ 25% โดยปริมาณน้าและอากาศในดินจะมี ความสัมพนั ธ์กันคือ ถ้าในดนิ มมี ากอากาศกจ็ ะมนี ้อย และตรงกันข้ามถ้าน้าในดินมีน้อยอากาศกจ็ ะมมี าก 25% 45% 25% ภาพที่ 3.1 สว่ นประกอบของดนิ โด5ย%ปริมาตรที่เหมาะสมในการปลูกพชื อนินททร่ีมียา์ว:ตั โถดุ ยนิพนอธิน์ ทเอร่ยี ยี มวสัตภุถาุ ษิต อ(2า5ก5า2ศ) นา้ 1.1 ความสาคญั ของดินท่มี ตี ่อการเจริญเติบโตของพชื ไร่ 1.1.1 เป็นทีย่ ึดเกาะ คา้ จนุ ของรากพชื ทาใหล้ าตน้ ต้ังตรง แขง็ แรง 1.1.2 เป็นแหล่งนา้ และอากาศ 1.1.3 เปน็ แหลง่ ใหธ้ าตอุ าหารของพืชไร่ 1.1.4 เปน็ ที่อย่ขู องจลุ นิ ทรยี ์ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อพชื ไร่ 1.2 คุณสมบัติของดินทีเ่ หมาะสมสาหรับการปลูกพชื ไร่ 1.2.1 มีแร่ธาตุอาหารพชื ครบถว้ นเพยี งพอแกค่ วามต้องการของพืช 1.2.2 มีความร่วนซุย โปรง่ 1.2.3 ระบายนา้ และอากาศดีเพ่อื ให้รากเจริญได้ 1.2.4 มีสภาพความเป็นกรดเป็นดา่ งพอเหมาะ 1.2.5 ไมม่ ีสารเคมี สารพษิ และวัชพชื เจอื ปนอันอาจเป็นอันตรายแกพ่ ืช หรอื ไมเ่ หมาะแก่การ เจรญิ ของเช้ือโรคตา่ ง ๆ ทจี่ ะเป็นอันตรายแกพ่ ชื ได้ 1.2.6 เก็บและรักษาความชื้นได้ดี 1.2.7 มโี ครงสรา้ งทส่ี ามารถป้องกันการพังทลายของดินและการสูญเสียอาหารธาตุตา่ ง ๆ ใน ระหว่างฤดกู ารปลูกพชื เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 14

ดินทั่วทั่วไปส่วนมากจะมีคุณสมบัติเพียงข้อเดียวหรือมากกว่านั้น ซ่ึงในการปลูกพืชไร่จาเป็นต้อง เปล่ียนแปลงสภาพ และสร้างคุณสมบัติของดินการที่พืชไร่ต้องการ เพ่ือให้เกิดความเหมาะสมต่อการ เจรญิ เติบโตของพืช 1.3 คณุ สมบัตขิ องดินที่เกีย่ วขอ้ งกบั การปลูกพืชไร่ ดินแต่ละพื้นท่ีมีส่วนประกอบไม่เหมือนกัน ทาให้มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชแตกตา่ ง กัน ก่อนการปลูกพืชไร่ควรมีการศึกษาคุณสมบัติของดิน เพื่อจะได้วิเคราะห์ตรวจสอบดินและปรับปรุงดินให้ เหมาะสมตอ่ การปลกู พืชไร่ คุณสมบตั ิของดินท่ีเกี่ยวข้องกับการปลกู พืชไร่ มดี ังน้ี 1.3.1 คณุ สมบตั ทิ างกายภาพของดนิ หมายถึง คณุ สมบัติทีส่ ามารถสงั เกตได้ด้วยตาเปล่าหรือ จับต้องสัมผัสได้ เช่น ความหยาบ ความละเอียด และสี เป็นต้น คุณสมบัติทางกายภาพท่ีมีความสาคัญต่อการ ปลูกพืชไร่ เชน่ เนื้อดิน เน้ือดิน หมายถึง ความหยาบ ความละเอียดของเน้ือดิน ประกอบด้วยอนุภาคดิน 3 ชนิด ได้แก่ อนุภาคทราย (sand) อนุภาคซิลท์ (silt) และอนุภาคดินเหนียว (clay) ในอัตราส่วนท่ีแตกต่างกัน เป็น คณุ สมบตั ทิ ่มี ีผลตอ่ การปลกู พืชไรอ่ ยา่ งมาก เพราะพืชไร่แตล่ ะชนดิ สามารถเจรญิ เติบโตได้ดใี นเนื้อทแี่ ตกต่างกัน เนือ้ ดนิ แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทคอื 1. เนื้อดินหยาบหรือดินทราย ดินกลุ่มนี้มีอนุภาคดินขนาดใหญ่ มีความโปร่งและช่องว่างใน เนื้อดินมาก มีการถ่ายเทอากาศดี ระบายน้าดี เกือบจะไม่คุ้มน้าเลย มีแร่ธาตุอาหารสาหรับพืชน้อย (ปฐพีชล วาย อุ ัคคี, ม.ป.ป.) ส่วนมากเป็นดนิ ท่ไี ถพรวนงา่ ยเหมาะสาหรบั การปลกู พืชไร่ เช่น มนั สาปะหลงั 2. เน้อื ดนิ ละเอียดหรือดินเหนียว มีอนุภาคดนิ ขนาดเล็กมากสามารถอุ้มน้าและแร่ธาตุอาหาร พืชไว้ได้มาก แต่การระบายน้าและการถ่ายเทอากาศไม่ดี เมื่อดินเปียกช้ืนจะเหนียว เม่ือแห้งจะแข็งมากทาให้ ยากต่อการไถพรวน เหมาะสาหรบั การปลกู พชื ไรท่ ต่ี ้องการน้าขงั เชน่ ข้าว 3. เนื้อดินปานกลางหรือดินร่วน กลุ่มนี้มีอนุภาคดินเนื้อหยาบและดินเน้ือละเอียดผสมอยู่ใน อัตราเทา่ ๆ กัน ทาใหเ้ ปน็ เนอื้ ดินปานกลาง มกี ารถ่ายเทอากาศและระบายนา้ ได้ดี สามารถอุ้มน้าได้พอสมควร การไถพรวนทาได้ง่าย สะดวก เป็นเนอื้ ดนิ ท่ีเหมาะสมต่อการปลกู พืชไรม่ ากทสี่ ุด 1.3.2 คุณสมบัติทางเคมีของดิน เป็นคุณสมบัติทางเคมีที่ใช้คาดคะเนความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน ซึ่งทราบได้จากผลการวิเคราะห์ทางเคมีที่สาคัญ ๆ ค่าคุณสมบัติทางเคมีของดินที่เหมาะสมต่อการปลูกพชื ไร่ ไดแ้ ก่ 1. ค่าความจุในการแลกประจุบวก (cation exchange capacity : CEC) ในดินมีค่าสูง แสดงว่าในดินมีธาตุอาหารที่พืชจะนาไปใช้ประโยชน์ได้มาก แต่ถ้าในดินมีค่า CEC สูงมากเกินไปจะทาให้การ ระบายน้าและอากาศไมด่ ี 2. ค่าปริมาณอินทรีย์วตั ถคุ วรมคี า่ มากกวา่ ร้อยละ 2 3. ค่าของปรมิ าณธาตฟุ อสฟอรสั และโพแทสเซียมทเี่ ปน็ ประโยชน์ควรมคี า่ สงู 4. ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH) เป็นคุณสมบัติทางเคมีที่มีผลโดยตรงต่อการ เจริญเติบโตของพืช แต่จะมีผลทางอ้อมคือ เป็นตัวควบคุมการละลายของธาตุอาหารให้อยู่ในรูปท่ีพืชสามารถ นาไปใช้ได้ พืชไร่แต่ละชนิดเจริญเติบโตได้ดีในสภาพที่มีความเปน็ กรดเป็นด่างไม่เท่ากัน ถ้าดินเป็นกรดมากจะ ทาให้เกิดความเป็นพิษของธาตุเหล็กและอะลูมินัม ทาให้พืชชะงักการเจริญเติบโต ควรมีการแก้ความเป็นกรด โดยการใส่ปูนขาว หินปูน หรือปูนมาร์ล ลดความเป็นพิษของธาตุเหล็กและอะลูมินัม (อานาจ สุวรรณฤทธิ์, 2548) พรอ้ มทั้งยังเป็นการเพ่ิมธาตุฟอสฟอรสั ในดินท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อพืชด้วย โดยท่ัวไปพชื ไรก่ ับเจริญเติบโต ได้ดีในดินทม่ี ีความเปน็ กรดเป็นด่าง 5 - 7 แตม่ พี ืชไร่บางชนิดสามารถเจรญิ เติบโตไดใ้ นสภาพดนิ ทเ่ี ปน็ กรด เช่น เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หนา้ 15

ยาสูบ ข้าวโอ๊ต หญ้าซูดาน เป็นต้น และมีหลายชนิดท่ีสามารถขึ้นได้ในดินด่าง เช่น ซูการ์บีท ฝ้ายและหญ้า หลายชนดิ เปน็ ตน้ 5. ความเค็มของดิน คือ ดินท่ีมีสารละลายของเกลืออยู่มาก โดยเฉพาะโซเดียม ซึ่งจะ สังเกตเห็นได้จากมีคราบสีขาวของเกลือบนผิวดิน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในหน้าแล้งจะเห็นเป็นที่ว่างเปล่าไม่มีพืช อ่ืนข้ึนได้ ดินเค็มจะส่งผลให้พืชดึงน้าจากดินมาใช้ได้ยาก ทาให้เกิดสภาวะขาดน้า นอกจากนี้ดินเค็มยังทาให้ เกิดความไมส่ มดุลของธาตุอาหาร ส่งผลใหเ้ กิดการสะสมของธาตุทเี่ ปน็ พิษต่อพชื วธิ ีแกไ้ ขดนิ เค็มคือ อย่าทาให้ หน้าดนิ แห้งเพราะจะทาให้น้าใต้ดินนาเกลือข้ึนมาสะสมบนเน้ือดนิ ถ้าดนิ ยงั มีความเค็มอยู่อาจจะเลือกปลูกพืช ไร่ทีท่ นเคม็ เช่น ข้าวพนั ธ์ขุ าวดอกมะลิ 105 เปน็ ตน้ จะเห็นได้ว่าการเจริญเติบโตของพืชไร่และดีหรือไม่ข้ึนกับคุณภาพของดิน ซ่ึงดูได้จากคุณสมบัติทาง กายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของดิน โดยทว่ั ไปดินที่มีการระบายนา้ ดี มีการถ่ายเทอากาศดีซ่งึ จัดเป็นดินร่วน หรือดินร่วนปนทราย เป็นดินท่ีเหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืชไร่ขณะเดียวกันดินต้องไม่เป็นกรดหรือด่าง จนเกินไป มีอินทรียวัตถุสูง และมีธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์อย่างเพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามพื้นไร่แต่ละชนิดมี ปัจจยั ทางพันธุกรรมท่แี ตกตา่ งกนั ทาใหค้ วามเหมาะสมในดินทป่ี ลกู แตกตา่ งกันแล้วแต่ละชนิดของพืชไร่ 2. น้า (Water) การปลูกพืชไร่ถ้าจะให้ได้ผลผลิตท่ีดี ทั้งปริมาณและคุณภาพพืชต้องได้รับน้าอย่างสม่าเสมอและ เพยี งพอตลอดฤดปู ลกู เพราะนา้ เปน็ ปัจจัยทมี่ คี วามสาคัญดงั น้ี 2.1 คามสาคญั ของน้า 2.1.1 เป็นวัตถุดิบที่จาเป็นในกระบวนการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างอาหาร ของพืช 2.1.2 ทาให้เซลลเ์ ตง่ ชว่ ยรักษาสภาพ รูปทรงของเซลล์ 2.1.3 ช่วยในการละลายแร่ธาตุอาหารต่าง ๆ ทาให้สารละลายเคลื่อนย้ายไปยังส่วนต่าง ๆ ของพชื ได้ 2.1.4 ชว่ ยควบคุมอณุ หภูมใิ นตน้ พืชและอณุ หภมู ิของอากาศท่ีอยภู่ ายนอกพชื 2.1.5 ช่วยในการงอกของเมล็ด 2.1.6 ควบคุม ชักนาการออกดอกของพืช 2.2 คุณสมบตั ิของน้าทเ่ี หมาะสมสาหรับการเพาะปลูกพชื ไร่ 2.2.1 สะอาด ไม่มสี ง่ิ ปฏกิ ูลเจอื ปน เพราะจะทาให้ท่าน้าหรือหัวฉีดอดุ ตนั ได้ 2.2.2 ไมม่ เี กลือแร่หรือสารเคมที ่ีเป็นพษิ 2.2.3 ไมเ่ ปน็ น้าเนา่ เสยี จากโรงงานอุตสาหกรรม 2.2.4 ไมม่ เี ชอื้ จลุ นิ ทรีย์ทีเ่ ป็นอันตรายตอ่ พืช 2.2.5 มีค่าความเปน็ กลางคอื มีค่าความเป็นกรด เปน็ ดา่ ง 6 - 7 จะเหน็ ได้ว่านา้ มีความสาคญั เปน็ อย่างมากจ่อการเจริญเตบิ โตของพชื ไร่ ดงั นัน้ ในการปลกู พชื ไรต่ ้องหา แหล่งนา้ ที่จาเปน็ ต่อการเพาะปลกู พชื ไร่ 2.3 แหลง่ น้าเพอื่ การเพาะปลกู แหล่งน้าท่ีใชใ้ นการเพาะปลกู แบ่งออกเปน็ 2 แหล่งใหญ่ ๆ ดังนี้ 2.3.1 แหล่งน้าธรรมชาติ แหล่งกาเนิดท่ีสาคัญตามธรรมชาติ คือ น้าฝน ซ่ึงพืชจะนาไปใช้ใน การเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะพืชไร่ที่ปลูกในพ้ืนท่ีดอน น้าฝนที่ใช้ไม่หมดจะไหลซึมลงสู่ดิน แม่น้า ลาธาร ซ่ึงสามารถนาไปใช้ในการเพาะปลูกพืชไร่ในที่ราบลุ่มได้อีกต่อหน่ึง บางครั้งเรียกน้าแบบน้ีว่า น้าผิวดิน เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 16

หรือน้าท่า นอกจากน้ียังมีน้าบางส่วนไหลซึมลงไปในดิน และสะสมอยู่ในช่องว่างระหว่างดิน ซ่ึงเรียกว่า น้าใต้ ดิน ซึง่ เป็นแหลง่ น้าตามธรรมชาตทิ ีส่ ะอาด เหมาะสมต่อการเพาะปลกู พชื ไร่ การปลูกพืชไร่โดยอาศัยแหล่งน้าธรรมชาติจะปลูกได้เพียงปีละ 1 คร้ัง ในช่วงฤดูฝนเท่าน้ัน และจะให้ผลผลิตสงู ก็ต่อเมื่อการกระจายของฝนสม่าเสมอ แต่ในช่วงเกบ็ เก่ียวพืชไร่ต้องไม่มีฝน เพราะจะทาให้ ผลผลิตเสยี หาย พืชไร่บางชนิดเมล็ดอาจงอกบนตน้ หรืองอกในแปลง เช่น ขา้ ว ถัว่ เขยี ว เปน็ ต้น 2.3.2 แหล่งน้าชลประทาน เป็นแหล่งน้าท่ีได้จากน้าใต้ดินและน้าท่า ซึ่งการที่จะนาน้ามาใช้ ในการเพาะปลกู ต้องมีการขุดเจาะเป็นบ่อบาดาลหรือทาอา่ งเก็บนา้ ตาราง ปริมาณน้าท่เี หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโตของพืชไร่บางชนิด ชนิดของพืชไร่ ปริมาณนา้ ทต่ี ้องการ (มลิ ลเิ มตรตอ่ ฤดูกาลปลกู ) อ้อย 1,650 ข้าวโพด 610 มนั สาปะหลงั 500 – 2,500 ขา้ วฟ่าง 450 – 650 ถวั่ ลิสง 500 - 600 ถวั่ เขยี ว 410 ละหุง่ 600 – 1,000 สบั ปะรด 1,000 – 1,500 3. ธาตอุ าหาร (mineral nutrient) ธาตุอาหาร มีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ถ้าพืชขาดธาตุอาหารจาทาให้ชะงักการ เจริญเติบโต ไม่สามารถพัฒนาถึงระยะออกดอก ผล และเมล็ดได้ ธาตุอาหารท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของ พชื มี 17 ธาตุ 3.1 ความสาคญั ของธาตุอาหาร - ทาใหพ้ ชื สามารถเจรญิ เตบิ โตไดต้ ามปกติ - ช่วยเรง่ ให้กระบวนการตา่ ง ๆ ในตน้ พืชเกดิ ข้นี ตามกลไกธรรมชาติ 3.2 แหล่งของธาตุอาหาร ธาตุอาหารท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชทั้งหมด 17 ธาตุ ได้มาจากน้า และอากาศ 3 ธาตุ และไดม้ าจากดิน จากน้าและอากาศ ได้แก่ คาร์บอน (C) ออกซิเจน (O) และไฮโดรเจน (H) เป็นธาตุท่ีพืชต้องการ มากกวา่ ธาตุอื่น ๆ และมีเพียงพอในธรรมชาติ จากดนิ แบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ ตามความตอ้ งการของพืช 1. มหธาตุ หมายถึง ธาตุที่พืชต้องการในปริมาณมากจึงจะเพียงพอต่อการเจริญเติบโต แบ่ง ออกเป็น 2 พวกคือ ธาตุอาหารหลัก มี 3 ธาตุ คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โปแตสเซียม (K) พืช ต้องการมาก แต่ได้รับจากดินไม่เพียงพอ และธาตุอาหารรอง มี 3 ธาตุคือ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และกามะถัน (S) พืชตอ้ งการนอ้ ยกว่าธาตุอาหารหลกั และไดร้ ับจากดินเพยี งพอ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 17

2. จุลธาตุหรือธาตุอาหารเสริม พืชต้องการในปริมาณเล็กน้อย แต่ถ้าขาดจะมีผลต่อการ เจริญเติบโตเช่นเดียวกัน มีจานวน 8 ธาตุ ดังน้ี เหล็ก แมงกานีส ทองแดง สังกะสี โบรอน โมลิบดีนัม คลอรีน และนิกเกิล 3.3 การสูญเสยี ธาตุอาหารพืชในดนิ 3.3.1 สญู เสยี ไปกับผลผลติ พืชทเี่ ก็บเกี่ยวออกไป เป็นการสญู เสียทม่ี ากท่สี ุด 3.3.2 ถูกชะล้างออกไปจากบรเิ วณรากพชื 3.3.3 สูญเสยี ไปกับเนื้อดิน 3.3.4 สูญเสยี โดยกระบวนการเปลีย่ นรปู เป็นแก๊ส 3.3.5 การตรงึ ธาตอุ าหารในดนิ 4. แสง (light) แสงเป็นปัจจัยสาคัญต่อการดารงชีวิตของพืช เน่ืองจากพืชองการแสงในกระบวนการสังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างอาหารของพืช ทาให้พืชมีการเจริญเติบโตได้ดี ซึ่งองค์ประกอบของแสงท่ีมีผลต่อการ เจรญิ เติบโตของพืช มีอยู่ 3 องค์ประกอบหลกั คือ คณุ ภาพของแสง ความเขม้ ของแสง และช่วงแสง 4.1 คุณภาพของแสง หมายถึง คล่ืนแสงหรือสีของแสง แสงประกอบด้วยสีท้ังหมด 7 สี คือ ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง ซึ่งแต่ละสีจะมีช่วงคล่ืนท่ีแตกต่างกัน สีน้าเงินและสีแดง เป็นสีท่ีมีผลต่อ การเจรญิ เตบิ โตของพชื มากท่ีสุด 4.2 ความเข้มแสง หมายถึง ความสวา่ งมากนอ้ ยของแสง ซง่ึ แตกต่างกนั ไปตามฤดูกาล ตามท้องท่ี ฤดู ร้อนจะมคี วามเข้มแสงสูงสดุ และต่าสดุ ในฤดูหนาว ความเขม้ แสงมีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ดงั นี้ 4.2.1 การสร้างอาหารของพชื 4.2.2 กระบวนการงอกของเมลด็ 4.3 ช่วงแสง หมายถึง ระยะเวลาที่พืชได้รับแสง บางทีเรียกว่า ความยาวของวันหรือระยะเวลาท่ีมี แสง ในฤดรู ้อนช่วงแสงจะยาว และคอ่ ย ๆ ลดลงในชว่ งฤดหู นาว ชว่ งแสงจะมผี ลต่อการออกดอกของพชื โดย จะตอ้ งไดร้ ับแสงทพ่ี อเหมาะ สามารถแบ่งชนดิ ของพชื ตามการตอบสนองต่อชว่ งแสงได้เปน็ 3 พวก ได้แก่ 4.3.1 พชื วนั สัน้ เชน่ ขา้ ว ข้าวโพด ถ่ัวเหลอื ง เปน็ ต้น 4.3.2 พชื วันยาว เช่น ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต เปน็ ต้น 4.3.3 พืชทีไ่ ม่ตอบสนองตอ่ ช่วงแสง เชน่ ขา้ วพันธุ์ กข. ตา่ ง ๆ ถวั่ เขียว เปน็ ตน้ 5. อณุ หภูมิ (temperature) อุณหภูมิเป็นปัจจัยที่สาคัญต่อการปลูกพืช เพราะอุณหภูมิท่ีเปล่ียนแปลงไปจะทาให้ปฏิกิริยาทางเคมี ภายในเซลล์พืชเกดิ ขึน้ ได้ชา้ หรือเร็วข้ึน โดยอณุ หภูมทิ สี่ ง่ ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื และผลผลิตแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท 5.1 อุณหภูมิอากาศ จะมีผลต่อการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายพันธ์ุของพืช แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทคอื 5.1.1 อณุ หภมู ิทเ่ี หมาะสม เป็นช่วงระดับอณุ หภูมทิ เ่ี หมาะสมกบั ความตอ้ งการของพืช 5.1.2 อณุ หภูมสิ งู สุด เปน็ ช่วงระดับอณุ หภูมทิ ่สี ูงสุดที่พืชจะเจรญิ เติบโตได้ ถา้ สงู กวา่ น้พี ืชอาจ ตายได้ 5.1.3 อุณหภูมิตา่ สดุ เปน็ ช่วงระดับอุณหภูมทิ ่ตี า่ สุดท่ีพืชจะเจรญิ เตบิ โตได้ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หน้า 18

5.2 อุณหภูมิดิน จะมีผลต่อการงอกของเมล็ด การเจริญเติบโตของราก และการดูดธาตุอาหารของ รากพชื 5.2.1 ในชว่ งเวลาเช้าอุณหภูมดิ ินจะต่ากว่าในชว่ งกลางวนั 5.2.2 ฤดูร้อนอณุ หภูมดิ ินจะสงู กวา่ ฤดหู นาว 5.2.3 อุณหภมู ิทเี่ หมาะสมตอ่ การงอกของเมลด็ อยรู่ ะหว่าง 20 – 25 องศาเซลเซยี ส ตาราง อณุ หภมู ิทีเ่ หมาะสมสาหรบั การเจริญเติบโตของพชื ไรบ่ างชนิด ชนิดของพืชไร่ อณุ หภมู ิที่เหมาะสม อุณหภมู ิต่าสุด อณุ หภมู สิ ูงสุด (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) (องศาเซลเซียส) ข้าว 25 - 30 18 35 ออ้ ย 24 - 27 15 38 ขา้ วโพด 21 – 27 15 35 มนั สาปะหลัง 18 – 23 10 35 ข้าวฟ่าง 24 – 30 15 35 ถั่วลสิ ง 22 – 28 14 38 ถ่วั เขียว 20 – 30 15 35 ละหงุ่ 24 – 26 16 40 ยาสบู 21 - 26 15 35 6. อากาศ 6.1 อากาศในบรรยากาศ ประกอบดว้ ย กา๊ ซออกซิเจน (O2) 21% ก๊าซไนโตรเจน (N) 78% และก๊าซ อ่นื ๆ 1% อากาศในบรรยากาศมีความสาคญั เกย่ี วข้องกับกระบวนการตา่ ง ๆ ของพชื ดงั น้ี 1. กระบวนการสังเคราะห์แสง 2. กระบวนการหายใจ 3. กระบวนการตรึงไนโตรเจน 6.2 อากาศในดิน ประกอบด้วยก๊าซที่สาคัญคือ ก๊าซไนโตรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ โดยมีความสาคัญต่อพชื ดังน้ี 6.2.1 มผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของรากพืช 6.2.3 การดูดนา้ และแรธ่ าตุอาหารของพชื 6.2.4 มีผลทาให้จุลนิ ทรยี ใ์ นดินทางานไดด้ ีขึน้ 7. ลม เป็นปจั จยั ทค่ี วบคุมสภาพแวดล้อมรอบตน้ พืช ซึง่ ลมจะมีผลทางอ้อมมากกวา่ ผลโดยตรง ประโยชน์ของลมตอ่ พืช 1. ช่วยลดอุณหภมู ภิ ายในตน้ พชื 2. ช่วยในการผสมเกสรและการกระจายตวั ของเมล็ดพืช 3. กระตุ้นการดดู นา้ ของรากพืช 4. ชว่ ยในการกระจายและแลกเปล่ยี นกา๊ ซ 5. ควบคุมอุณหภมู ิและความชื้นภายในแปลงปลูกพชื ไร่ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หน้า 19

โทษของลมตอ่ พชื 1. ทาใหใ้ บเหี่ยวและร่วงหลน่ เนือ่ งจากเกิดการคายน้ามากเกินไป 2. ทาใหใ้ บฉีกขาด 3. ทาให้พชื ชะงักการเจริญเตบิ โต 4. เกดิ การแพร่กระจายของโรคและเมลด็ 5. เปน็ อุปสรรคตอ่ การพ่นสารกาจัดศตั รพู ืช 6. ลมแรงทาให้ผวิ ดนิ กรอ่ น ดนิ สญู เสยี ความอดุ มสมบรู ณ์ 8. ความช้ืนในอากาศหรือความชน้ื สมั พทั ธ์ ความช้ืนในอากาศหรือความชืน้ สมั พัทธ์ หมายถึง ปริมาณไอน้าที่อากาศสามารถพุ่มงามไวอ้ ย่างเตม็ ท่ี ณ อณุ หภมู ใิ ด อณุ หภมู หิ นึง่ อยู่ในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ เปน็ ตวั ควบคมุ การคายนา้ ของพชื และการระเหย น้าจากตน้ พืช ในสภาพที่ความช้นื สมั พัทธ์ตา่ ยิง่ ตา่ เท่าไหรย่ งิ่ ทาใหก้ ารคายน้าและการระเหยของน้าในพชื สงู ขึน้ ในสภาพที่มีความช้ืนสัมพัทธ์สูง พืชจะลดการคายน้า ทาให้พืชมีการดูดน้าและแร่ธาตุอาหารในดินได้ น้อย พืชไมส่ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากธาตุอาหารไดเ้ ต็มที่ พชื จะชะงักการเจรญิ เตบิ โต อุณหภูมิและความชื้นจะมีความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน ถ้าอุณหภูมิสูงความชื้นสัมพัทธ์ต่าใน ขณะเดียวกัน ถ้าอุณหภมู ติ า่ ความช้นื สัมพัทธจ์ ะสูง 9. ความสงู และความลาดเท ระดับความสูงเป็นปัจจัยที่มีผลทางอ้อมต่อการเจริญเติบโตของพืช ระดับความสูงจะมีผลต่ออุณหภูมิ ความสงู ยง่ิ สงู ขึ้นอณุ หภูมิก็จะลดลง โดยทวั่ ไปกับภาพพ้นื ทข่ี องประเทศไทยแบ่งออกเปน็ 3 ประเภทคอื 9.1 ท่ีสูง หมายถึง พ้ืนท่ีสูงจากระดับน้าทะเลต้ังแต่ 700 เมตรข้ึนไป สภาพอากาศหนาวเย็นเกือบ ตลอดทัง้ ปี 9.2 ที่ดอน หมายถึง สภาพพ้ืนที่ที่ไม่มีน้าขัง พบบริเวณที่เป็นเนิน มีการระบายน้าดี สภาพพื้นท่ีอาจ เป็นทีร่ าบเรียบ เปน็ ลกู คลนื่ หรือเนินเขา ใชป้ ลูกพืชไร่ต้องการนา้ น้อย เช่น อ้อย มนั สาปะหลงั เป็นตน้ 9.3 ทร่ี าบลุม่ หมายถงึ พื้นท่ีล่มุ ชืน้ แฉะ พ้นื ท่ชี มุ่ น้า มีน้าท่วม มีนา้ ขัง เหมาะสาหรบั การปลูกพืชไร่ท่ี ต้องการน้ามาก เช่น ข้าว ความลาดเท พ้ืนที่ท่ีมีความลาดเทมักพบเห็นตามภูเขา บริเวณลาดเทที่หันหน้าเข้าหาแสงจะทาให้ อุณหภูมิสูงข้ึน พ้ืนไร่บางชนิดอาจเจริญเติบโตได้ พื้นท่ีที่มีความลาดเทสงู จะมีอัตราการชะล้างพังทลายของดิน เกดิ ข้ึนสูง หนา้ ดนิ จะตื้น และขาดความอดุ มสมบรู ณ์ การปลกู พชื ต้องใช้วธิ กี ารคลมุ ดิน จะเห็นได้ว่าปัจจัยสภาพแวดล้อมใจเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตขอ งพืชไร่ซ่ึงจะ แตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของพืชไร่ ดังน้ันเกษตรกรต้องศึกษาความต้องการของปัจจัยดังกล่าว และจัด สภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมท่ีสดุ เทา่ ทีจ่ ะเปน็ ไปได้ เพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ในการผลิตพืชไร่ 2. ปจั จัยเก่ยี วกบั สภาพเศรษฐกิจและสงั คม ปัจจัยเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม เป็นปัจจัยท่ีกาหนดทิศทางการผลิตพืชไร่สนับสนุนการผลิต ให้ดาเนินไปได้อย่างสะดวก และประสบความสาเร็จ ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่สาคัญคือ ที่ดิน แรงงาน ทุน และประเพณที อ้ งถ่นิ มคี วามสาคัญเก่ียวขอ้ งกับการผลติ พืชไรด่ งั นี้ 1. ที่ดิน เป็นพนื้ ทท่ี าการเกษตร ซง่ึ เปน็ พ้ืนที่ของเกษตรกรเองหรือพ้ืนทเี่ ชา่ ทีด่ ินจะเกี่ยวข้องกับการ ผลิตพืชไร่ การใช้เคร่ืองมือทุ่นแรง รวมท้ังการจัดการแรงงาน เช่น ถ้าเกษตรกรมีพ้ืนท่ีทาการเกษตรน้อย การ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 20

ใช้เคร่ืองมือทุ่นแรงฟาร์มอาจจะทาได้ค่อนข้างยาก การผลิตพืชไร่ต้องใช้แรงงานคนหรือใช้เครื่องมือขนาดเล็ก แต่ถ้ามีพื้นที่ทาการเกษตรมาก แรงงานไม่เพียงพอการผลิตพืชไร่ อาจต้องใช้เคร่ืองมือทุ่นแรงฟาร์มเข้าไปช่วย ในการจัดการ 2. แรงงาน หมายถึง การใช้กาลังกายเข้าทางาน การผลิตพืชไร่ส่วนใหญ่เกษตรกรจะใช้แรงงานใน ครอบครัว ซึ่งถ้ามีพื้นท่ีน้อยการใช้ในงานในของครัวเรือนอาจเพียงพอ แต่ถ้ามีพื้นที่ขนาดใหญ่ แรงงานใน ครัวเรือนไม่เพียงพอต้องมีการจ้างแรงงานเพิ่ม อาจจะเป็นแรงงานจ้างตลอดปีหรือจ้างเป็นคร้ังคราว การจ้าง แรงงานเป็นการเพ่ิมต้นทุนในการผลติ ดังนั้น ถา้ เกษตรกรท่ีมเี งนิ ทุนน้อยไมเ่ พยี งพอต่อการจ้างแรงงานต้องใช้ เฉพาะแรงงานในครัวเรือนอาจจะต้องลดขนาดของพ้ืนที่ปลกู ลงถงึ แมจ้ ะมีพ้ืนท่ีถือครองมากกต็ าม 3. ทนุ หมายถงึ เงินทนุ และปัจจยั การผลติ ตา่ ง ๆ เชน่ ป๋ยุ สารเคมี เมล็ดพันธุ์ เคร่อื งมอื เครื่องจักรกล เกษตร เป็นต้น การผลิตพืชไร่จะข้ึนกับทุนที่มีอยู่ ถ้าขาดแคลนเงินทุนจะทาให้ประสิทธิภาพการผลิตและการ ขยายการผลิตลดลง โดยเฉพาะถ้ามีพ้ืนที่ขนาดใหญ่จะต้องมีเงินทุนมากข้ึน การหาแหล่งเงินทุนจึงเป็นเรื่องที่ จาเป็นทีจ่ ะช่วยลดความเสย่ี งในการผลิตพืชไร่ได้โดยแหล่งเงินทุนอาจจะได้มาจาก 3.1 เงินทุนในระบบ เป็นแหล่งเงินทุนท่ีได้จากการกู้ยืมจากหน่วยงานของรัฐ เช่น ธนาคารเพื่อ การเกษตร ธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ 3.2 แหล่งเงินทุนนอกระบบ เป็นแหล่งเงินทุนที่ได้จากการกู้ยืม ญาติพ่ีน้อง เจ้าของโรงงาน พ่อค้า เพอ่ื นบา้ น เจ้าของทีด่ ิน เป็นตน้ หรอื อาจจะเป็นการกู้ยมื ปจั จยั การผลติ เชน่ ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ สารเคมี เป็นต้น 4. ประเพณีท้องถ่ิน มีผลเก่ียวข้องกับการผลิตพืชไร่ เช่น ในช่วงเทศกาลต่าง ๆ เช่น วันปีใหม่ วัน เข้าพรรษา วันสงกรานต์ มักจะขาดแคลนแรงงานจา้ ง ซึง่ อาจจะมผี ลต่อประสทิ ธิภาพการผลติ ได้ เกษตรกรควร มีการวางแผนการจดั การแรงงานในช่วงดังกลา่ ว เพอ่ื ให้มผี ลกระทบตอ่ การผลิตนอ้ ยที่สุด 3. ปัจจยั เกย่ี วกบั การบริหารจัดการ ปัจจัยเก่ียวกับการบริหารจัดการ เป็นปัจจัยท่ีเกี่ยวกับความสามารถในการบริหารงาน การวางแผน งาน ควบคุมงาน เพื่อให้การผลิตพืชไร่ประสบความสาเร็จท้ังปริมาณและคุณภาพ โดยใช้ปัจจัยท่ีมีอยู่ให้เกิด ประโยชนส์ ูงสดุ ซ่งึ นภิ าพร เครอื มา (2551) ไดก้ ล่าววา่ การบริหารจดั การตอ้ งคานงึ ถึงองคป์ ระกอบ ดังน้ี 1. คน (man) หมายถึง แรงงานท่ีใช้ในการผลิตพืชไร่ทั้งหมด ซ่ึงหมายถึงตัวของเกษตรกรเองหรือ แรงงานในครอบครวั แรงงานจ้าง คนเปน็ ปจั จยั ที่สาคญั ทีส่ ดุ ในการผลิตพืชไร่ ดังนั้น ผูผ้ ลิตต้องมีการบริหารคน จัดคนให้เหมาะกับงาน รวมท้งั สรา้ งแรงจงู ใจในการทางาน 2. เงินทุน (money) หมายถึง เงินที่ใช้ในการลงทุนท้ังหมด รวมถึงค่าวัสดุทางการเกษตร เช่น ปุ๋ย เมล็ดพันธุ์ ท่ีดิน เป็นต้น การบริหารเงินจะจัดสรรเงินอย่างไรให้มีต้นทุนน้อยที่สุด และเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสงู สุด 3. วัสดุ อุปกรณ์ (materials) เป็นการบริหารวัสดุในการดาเนินงานการผลิตพืชไร่ว่าจะทาอย่างไร ให้ส้ินเปลืองน้อยท่ีสุดหรือเกิดประโยชน์สูงสุด หรือการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่หาได้ง่าย ๆ ทาได้เองในท้องถิ่น เช่น การเลือกใช้ปุ๋ยอนิ ทรยี แ์ ทนการใชป้ ๋ยุ อนินทรีย์ เปน็ ต้น 4. เคร่ืองจักรกลและเทคโนโลยี (machine) เป็นการใช้เคร่ืองจักรกลและเทคโนโลยีต่าง ๆ ในการ ดาเนินการผลิตหรือเพ่ิมผลผลิต เกษตรกรอาจจะมีการบริหารจัดการโดยการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ในการเพิ่ม ผลผลิตหรือใช้เครื่องจักรกลเข้ามาช่วยในการทางาน เพื่อให้การทางานสะดวกรวดเร็ว และเสียค่าใช้จ่ายน้อย เช่น การปลูกอ้อยในพ้ืนท่ีขนาดใหญ่ การใช้เคร่ืองจักรกลเข้ามาช่วยจะทาให้สามารถปลูกได้รวดเร็ว และ สนิ้ เปลอื งนอ้ ยกวา่ การปลกู โดยใชแ้ รงงานคน เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 21

5. การจัดการ (management) เป็นกระบวนการจัดการบริหารงานควบคุม เพ่ือให้การผลิตพืชไร่ เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเกิดประสิทธิผลอยา่ งเต็มที่ 6. การตลาด (marketing) การท่ีเกษตรกรจะเลือกปลูกพืชไร่ชนิดใดน้ันต้องมีการสารวจตลาด วเิ คราะหต์ ลาด เพอ่ื ผลติ พืชไร่ให้สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาด มตี ลาดรองรับท่แี นน่ อน 7. คุณธรรม จริยธรรมในการดาเนินการผลิตพืชไร่ (moral) เป็นปัจจัยสาคัญซ่ึงเกษตรกรต้อง คานึงถึงคอื เกษตรกรต้องมคี วามประพฤตทิ ่ีดีงาม ตอ่ ตนเอง ตอ่ ผู้อืน่ และสังคม ไม่เอารัดเอาเปรียบ คดโกง ไม่ สรา้ งปญั หาใหก้ ับสงั คม รวมท้งั การผลิตพืชไร่ต้องตระหนักถงึ ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมด้วย จากองค์ประกอบที่กล่าวมาเรียกส้ัน ๆ ว่า 7 Ms เป็นสิ่งท่ีเกษตรกรต้องบริหารจัดการ เพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ดังน้ัน เกษตรกรต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีประสบการณ์หลายด้าน รู้จักแสวงหา ความรู้ เทคโนโลยกี ารผลิตใหม่ ๆ อยเู่ สมอ รวมท้ังความสามารถสว่ นตัว เช่น ความเอาใจใสด่ ูแล ความมมี นุษย์ สัมพันธ์ ความเป็นผู้นา ความขยันหม่ันเพียร จะทาให้การผลิตพืชไร่มีประสิทธิภาพสูงสุดตามเป้าหมายท่ี ตอ้ งการ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 22

บทที่ 5 การวางแผนการผลิตพชื ไร่ 1. ความสาคญั ของการวางแผนการผลติ พชื ไร่ การวางแผนการผลิตพืชไร่ หมายถึง กระบวนการตัดสินใจเกี่ยวกับการผลิตพืชผลทางการเกษตร การวางแผนการผลิตพืชไร่ เป็นการกาหนดทิศทางการดาเนินการผลิตพืชไร่ไว้ล่วงหน้า เพ่ือใช้เป็นแนวทางใน การปฏิบัติงาน เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายตามท่ีวางไว้ ซง่ึ การวางแผนการผลติ พชื ไรม่ คี วามสาคญั ดังนี้ 1. เพอื่ ให้การผลิตพชื ไร่ เปน็ ไปดว้ ยความราบร่ืน บรรลเุ ป้าหมายค่อนขา้ งแน่นอน 2. ทางานเปน็ ระบบ มขี น้ั ตอน สามารถตรวจสอบและแก้ไขปญั หาอปุ สรรคทีเ่ กิดข้ึนได้ 3. เป็นการใชท้ รัพยากรต่าง ๆ และปัจจยั การผลติ เชน่ คน ท่ีดิน แรงงาน ทุน ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด 2. ปัจจัยท่เี กยี่ วข้องกับการวางแผนการผลติ พืชไร่ การวางแผนการผลิตพืชไร่ เป็นการพิจารณาตัดสินใจการผลิตพืช ซ่ึงเกษตรกรต้องสามารถตอบ คาถามได้ว่า จะผลิตพืชอะไร ผลิตท่ีไหน ผลิตอย่างไร ผลิตจานวนเท่าไหร่ ผลิตเมื่อไร ใครเป็นผู้จัดการดูแล และใช้งบประมาณเท่าไหร่ ซึ่งการท่ีจะตอบคาถามเหล่าน้ีได้ต้องอาศัยข้อมูลประกอบการในการพิจารณา ตัดสนิ ใจ ประกอบกับเกษตรกรตอ้ งมีความรู้ในทุก ๆ ด้าน การวางแผนการผลิตพชื ไร่ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความผิดพลาด นอ้ ยที่สดุ มปี จั จยั ท่ีเก่ยี วข้อง ดังนี้ 1. ความรอบรู้ของผู้วางแผน เกษตรกรควรมีความรอบรู้ในทุก ๆ ด้านที่เก่ียวข้องกับการผลิตพืชไร่ ได้แก่ 1.1 สภาพพื้นที่ เช่น ท่ีตั้งของพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการผลิตพืชไร่ ความลาดเทของพ้ืนที่ สภาพดนิ ทางสมบัติทางกายภาพและสมบตั ทิ างเคมี ปริมาณธาตอุ าหารในดิน แหล่งนา้ ระดับนา้ ใตด้ ิน การรู้จกั สภาพพ้ืนท่ีที่ปลูกเป็นอย่างดี จะช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกปลูกพืชได้เหมาะสม รวมทั้งสามารถจัดเตรียม ปรับพื้นที่ ปรับสภาพดิน และเตรียมส่ิงอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในพ้ืนท่ี เช่น การขุดบ่อกักเก็บน้า การทา ถนน เป็นต้น 1.2 สภาพภูมิอากาศ ภูมิอากาศท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตพืชไร่ เช่น อุณหภูมิ แสงแดด ฝน ลม ความชื้นสัมพัทธ์ ซึ่งพ้ืนที่ที่แตกต่างกัน จะมีสภาพภูมิอากาศแตกต่างกันไปด้วย การผลิตพืชไร่ซึ่งส่วนใหญ่จะ อาศัยน้าฝน จึงควรพิจารณาเลอื กชนดิ ของพืชไร่ท่ีปลกู เวลาปลูก และวธิ ีปลกู ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพภูมอิ ากาศ 1.3 ชนิดของพืชไร่ที่ปลูก เกษตรกรควรรู้จักพืชไร่ที่เลือกปลกู เป็นอย่างดี โดยเฉพาะลักษณะ ทางพฤกษศาสตร์ พันธ์ุพืชที่เลือก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับพืชพันธุ์นั้น ๆ ลักษณะการเจริญเติบโต ความ ตอ้ งการธาตุอาหาร ศตั รพู ชื ท่ีสาคัญท่ีทาลายพชื นัน้ ๆ รวมทั้งศกั ยภาพของพันธ์ุพชื นนั้ ๆ ในการให้ผลผลิต ทั้ง ในสภาพปลูกท่เี หมาะสม และไมเ่ หมาะสม เชน่ ฝนแล้ง น้าท่วม ดินขาดความอดุ มสมบรู ณ์ เป็นต้น 1.4 เทคโนโลยีในการผลิต ถือเป็นองค์ประกอบสาคัญในการผลิตพืชไร่ เกษตรกรที่มีความรู้ เรือ่ งเทคโนโลยจี ะทาให้สามารถผลิตพชื ไร่ได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 23

การเพ่ิมผลผลิตได้ ซ่ึงปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตพืชไร่มีความก้าวหน้ามากท้ังในเรื่องของเครื่องมืออุปกรณ์ และเทคนคิ วิธีการ ถ้าเกษตรกรตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสารอยา่ งสมา่ เสมอ จะทาให้เป็นผู้รอบร้เู รอ่ื งเทคโนโลยีได้ 1.5 การปลูกและการดูแลรักษา พืชไร่แต่ละชนิดมีวิธีการปลูกและการดูแลรกั ษาแตกต่างกนั ขึ้นอยู่กับลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และลักษณะการเจริญเติบโตของพืชนั้น ๆ จึงจาเป็นต้องเลือกวิธีการปลกู และการดูแลรกั ษาใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของพืชไร่ 1.6 การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวพืชไร่แต่ละชนิดอาจมีความ แตกตา่ งกนั เช่น ถัว่ ลิสงต้องขุดขึน้ จากดนิ ผลผลิตทเี่ ก็บไดบ้ างประเภทต้องรีบนาส่งโรงงานทันที เชน่ ออ้ ย มัน สาปะหลงั ผลผลิตพชื ไร่บางชนิดต้องมีการจดั การหลังการเก็บเก่ยี ว เชน่ ลดความชนื้ ทาความสะอาด เช่น พืช ตระกูลถั่ว ธัญพืช เกษตรกรต้องมีความรู้ในความแตกต่างเหล่านี้ เพื่อสามารถวางแผนการเก็บเก่ียวและการ จัดการหลังการเก็บเก่ยี วไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพือ่ ใหเ้ กิดความเสียหายน้อยทีส่ ุด 1.7 ใช้ประโยชน์จากผลผลิตพืช เกษตรกรต้องมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของผลผลิต พืชว่าสามารถนาไปบริโภคได้โดยตรงหรือต้องผ่านกระบวนการแปรรูป ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรสามารถวาง แผนการปลกู ดูแลรักษา และเกบ็ เกีย่ วได้อยา่ งถกู ต้องและสอดคลอ้ งกบั การใชป้ ระโยชน์ 1.8 การตลาด ความร้ทู เ่ี ก่ยี วข้องกบั การตลาด เช่น สถานการณ์การผลิตพืชไร่ วถิ ตี ลาด ราคา ต้นทุนการผลิต การขนส่งและการจัดจาหน่าย ความรู้เรื่องการตลาดจะช่วยให้เกษตรกรวางแผนการผลิตได้ สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ท่เี ปล่ยี นแปลงอยเู่ สมอ สามารถคาดการณ์การผลิตได้ และชว่ ยให้จาหนา่ ยผลผลิตได้ ในจงั หวะทเี่ หมาะสมและราคาผลผลิตสูง เกษตรกรท่ีมีความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการผลิต และการตลาดพชื ไร่จะสามารถวางแผนการ ผลิตพืชไร่ได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม สามารถกาหนดการปลูกการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการ จัดการหลังเก็บเกี่ยวได้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด นอกจากนี้สามารถเตรียมทุน แรงงาน เครื่องมือ วัสดอุ ปุ กรณ์ และปัจจัยในการผลิตไวไ้ ดล้ ่วงหนา้ 2. ข้อมูลเพือ่ การวางแผนการผลติ ข้อมูลเป็นปัจจัยสาคัญในการวางแผนการผลิตพืชไร่ เกษตรกรที่มีข้อมูลมากจะทาให้สามารถวางแผน ผลิตพืชไร่ได้มีประสิทธิภาพ มีข้อผิดพลาดน้อย ซึ่งข้อมูลเพ่ือการวางแผนการผลิตพืชไร่ ควรประกอบด้วย ขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 ข้อมูลเก่ียวกับพันธพ์ุ ืช ปัจจุบันมีการปรบั ปรุงพันธุ์พืชไร่ที่เหมาะสมสาหรับแต่ละท้องถน่ิ เพ่ิมมากขึ้นข้อมูลพันธ์ุพืชใหม่ ๆ ท่ีแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะประจาพันธ์ุ สภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสม สาหรับการปลกู ความสามารถในการตา้ นทานโรค แมลงศัตรูพชื ความสามารถในการทนแล้ง หรือลกั ษณะเด่น ลักษณะด้อยต่าง ๆ ส่วนของพืชท่ีใช้ในการขยายพันธ์ุ แหล่งซ้ือพันธ์ุพืช ข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้เกษตรกร สามารถวางแผนเลือกใช้พันธ์ุเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมเฉพาะพื้นท่ี สามารถจัดหาเมล็ดพันธุ์หรือส่วน ขยายพันธุ์คุณภาพดี และกาหนดการปลูกได้โดยไม่คาดเคลื่อน ท้ังยังสามารถกาหนดตารางการปลูก การดูแล รักษา การเก็บเกี่ยวได้อย่างเหมาะสม ข้อมูลพันธ์ุพืช สามารถหาได้จาก กรมวิชาการ กรมวิชาการเกษตร มหาวิทยาอาลัยต่าง ๆ ท่ีมีการสอนทางด้านการเกษตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี บริษัทเอกชน ผู้ผลิต เมลด็ พนั ธุ์ เป็นต้น 2.2 ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาที่สาคัญ ได้แก่ ข้อมูลปริมาณน้าฝน ระดับ อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่าสุด และอุณหภูมิเฉล่ียข้อมูลเหล่าน้ีจะช่วยให้เกษตรกรสามารถเลือกวันปลูกได้ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หน้า 24

เหมาะสม ซึ่งเป็นวิธีการหนง่ึ ในการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับพืช ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี หลีกเล่ียง ระยะทีศ่ ตั รูพืชระบาดได้ เป็นแนวทางหน่ึงสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ ท้ังยงั ทาให้พืชไดผ้ ลผลิตสงู นอกจากนี้ ข้อมูลอุตุนิยมวิทยายังชว่ ยใหเ้ กษตรกรสามารถตัดสินใจเก่ียวกับการใหน้ ้า การใส่ปุ๋ย การป้องกันกาจัดศัตรพู ืช และการปฏิบัติอ่ืน ๆ จนถึงการเก็บเก่ียวได้ ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาสามารถสอบถามและขอได้จาก สถานี อุตุนิยมวิทยา ศูนย์สถิติการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร หรือค้นหาได้จากเอกสารรายงานประจาปี ของบางหนว่ ยงาน 2.3 ข้อมูลดิน เป็นข้อมูลท่ีบอกให้ทราบว่าดินท่ีปลูกมีสภาพอย่างไร หน่วยงานราชการหลาย หน่วยงาน เช่น กรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มหาวิทยาลัยบางแห่ง ได้สารวจสภาพดินใน พืน้ ท่ตี ่าง ๆ ทั่วประเทศ และแบง่ เปน็ กลุ่มดินหรือแบ่งเป็นชดุ ดินต่าง ๆ ไว้แล้วในรายงานเหลา่ นม้ี ักจะให้ข้อมูล แนะนาชนิดของพืชไร่ท่ีควรปลูกในแต่ละกลุ่มดิน หรือแต่ละชุดดินสามารถนามาใช้วางแผนได้ ส่วนการ วางแผนเฉพาะพื้นที่ ควรเก็บดินเฉพาะพื้นท่ีน้ัน ๆ ส่งไปวิเคราะห์ยังส่วนราชการท่ีบริการวิเคราะห์ดิน เช่น กรมวชิ าการ หน่วยงานของกรมพฒั นาที่ดนิ มหาวทิ ยาลัยบางแหง่ เป็นตน้ เพอื่ จะได้ขอ้ มูลละเอยี ดเฉพาะพ้ืนท่ี เช่น ปริมาณธาตุอาหาร N P K ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน pH ของดิน เป็นต้น ข้อมูลดินเฉพาะพื้นท่ีจะช่วยให้ เกษตรกรวางแผน การเตรียมดนิ การปรบั ปรุงดิน บารุงดนิ การใส่ปุย๋ ได้อย่างถูกต้อง 2.4 ข้อมูลความต้องการของตลาด เป็นข้อมูลสาคัญที่ช่วยให้เกษตรกรตัดสินใจปลูกพืช ปริมาณมากหรือน้อย ถ้าตลาดมีความต้องการผลผลิตพืชไร่ชนิดใดมาก ผลผลิตท่ีได้ย่อมขายได้หมดและได้ ราคาดี การคาดการณ์ความต้องการของตลาดจึงเป็นแนวทางท่ีควรปฏบิ ตั ิ ความตอ้ งการผลผลิตพชื ไรใ่ นรอบปี มักมีช่วงเดือนที่ต้องการมาก และช่วงเดือนท่ีต้องการน้อย อาจสามารถวางแผนการผลิตให้เก็บเกี่ยวและ จาหน่ายในช่วงท่ีตลาดมีความต้องการมาก แต่ผลผลิตมีน้อย เกษตรกรย่อมสามารถขายได้ในราคาสูง ข้อมูล เก่ียวกับความต้องการตลาด สามารถหาได้จากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณชิ ย์ เปน็ ตน้ 2.5 ข้อมูลราคาผลผลิต ราคาผลผลิตจะขึ้นลงตามปริมาณผลผลิตท่ีมีอยู่ในตลาด และความ ต้องการของตลาด ถ้าผลผลิตมีมากในขณะท่ีความต้องการของตลาดไม่มาก ราคาของผลผลิตมักจะตามความ เคลื่อนไหวของราคาผลผลิตมีการเปล่ียนแปลงทุกวัน การกาหนดราคาของผลผลิตพืชไร่บางชนิดขึ้นกับ ตลาดโลก เช่น มันสาปะหลัง ข้าว ข้อมูลเกี่ยวกับราคาจึงควรติดตามอย่างสม่าเสมอ การเก็บรวบรวมข้อมูล ราคาผลผลิตอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ เปน็ เวลานานหลาย ๆ ปีจะชว่ ยให้เกษตรกรสามารถปริมาณราคาผลผลิต ได้และเพื่อให้ราคาดีเกษตรกรควรต้องเริ่มต้นวางแผนการปลูก และเลือกพันธ์ุท่ีจะปลูกให้สามารถเก็บเก่ียว ผลผลิตออกขายในช่วงท่ีตลาดต้องการสูง แต่ปริมาณผลผลิตในตลาดมีไม่มาก ข้อมูลราคาผลผลิตสามารถ สอบถามไดจ้ ากสานกั งานเศรษฐกิจ การเกษตรกระทรวงพาณชิ ย์ เป็นตน้ 3. การวางแผนและการเขยี นโครงการผลิตพชื ไร่ หลังจากมีการศึกษา สารวจข้อมูลในเร่ืองต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการวางแผนการผลิตพืชไร่เรียบร้อย แลว้ เกษตรกรต้องนาข้อมลู ต่าง ๆ เหลา่ น้มี าวเิ คราะหเ์ พ่ือประกอบการตัดสนิ ใจวา่ จะผลิตพชื อะไร ผลิตทีไ่ หน ผลิตอย่างไร ผลิตจานวนเท่าไหร่ ผลิตเม่ือไร ใครเป็นผู้ดูแล และใช้งบประมาณเท่าไหร่ เม่ือเกษตรกรสามารถ ตอบคาถามเหล่านี้ได้ก็นาไปเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร หรือท่ีเรียกว่า โครงการ ซึ่งโครงการจะเป็นข้อกาหนด ท่ีบ่งบอกแนวทางในการดาเนินงานเป็นระยะเวลาเร่ิมต้นและสิ้นสุด ทาให้การทางานมีเป้าหมายทิศทางที่ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หนา้ 25

ชดั เจน การเขียนโครงการผลิตพืชไร่อาจเขียนเป็นโครงการในระดับง่าย ๆ ทีจ่ ะช่วยให้เกษตรกรมแี นวทางและ เป้าหมายท่ีชัดเจน และนาไปใช้ในการพัฒนางานให้มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังใช้ในการเสนอ เพ่ือให้ได้รับพิจารณาอนุมัติงบประมาณในการลงทุนทาโครงการดังกลา่ วอีกด้วย ซึ่งการเขียนโครงการผลติ พชื ไร่ประกอบด้วย 1. ช่ือโครงการผลิตพืชไร่ ควรเขียนส้ัน ๆ กระชับ ชัดเจน เฉพาะเจาะจง และสื่อความหมายว่าจะ ผลิตพืชไร่อะไร 2. ผู้รับผิดชอบโครงการ เขียนได้โดยไม่ยุ่งยาก หมายถึง ตัวของเกษตรกรเองหรือสมาชิกครัวเรือนท่ี ดาเนินโครงการ 3. หลักการและเหตุผล อาจเป็นเร่ืองยุ่งยากในการเขียนอยู่บ้างแต่ถ้าเกษตรกรเขียนจากข้อคาถา ม ทวี่ า่ ทาไมถึงเลือกผลิตพืชชนดิ นั้น จะทาให้เกษตรกรพอเขียนได้บ้าง การเขยี นหลกั การและเหตุผลควรเขียนให้ กระชับ ตรงประเด็น มหี ลกั ฐานขอ้ มูล เหตผุ ล และความเป็นไปได้ 4. วัตถปุ ระสงค์ การเขยี นวตั ถปุ ระสงค์ก็เพื่อให้เกษตรกรบอกตนเอง หรอื แหล่งเงินทุนวา่ ต้องการผลิต เพื่ออะไร เช่น ต้องการเพ่ิมผลผลิตในพื้นที่เท่าไหร่ วัตถุประสงค์จะมีกี่ข้อก็ได้ แต่ไม่ควรมากเกินไป เพราะจะ ทาใหเ้ มอื่ ดาเนินโครงการไปแล้ว จะไม่สามารถตอบวัตถุประสงค์ไดค้ รบทุกข้อ ซ่ึงจะสง่ ผลให้โครงการดูเหมือน ไมป่ ระสบความสาเร็จ 5. เป้าหมาย บางคร้ังการต้ังเป้าหมายอาจควบคู่ไปกับวัตถุประสงค์ การคาดหวังเก่ียวกับผลผลิตท่จี ะ ได้รับเมื่อดาเนินการตามโครงการ การเขียนเป้าหมายต้องเขียนให้ชัดเจนว่าต้องการผลิตอะไร อย่างไร ท้ังใน ปริมาณและคุณภาพ 6. วิธีดาเนินการ มีความสาคัญมาก เป็นการแสดงถึงแนวทาง และวิธีการที่จะต้องทาตามลาดับ ข้ันตอน การกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการผลิตพืชไร่ ตั้งแต่เร่ิมต้นจนส้ินสุดโครงการโดยจะกาหนด เปน็ แผนปฏิบัติงาน รายละเอียดของกิจกรรม และระยะเวลาท่ีจะดาเนินการ 7. ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน เป็นการระบุช่วงระยะเวลา และสถานที่ในการดาเนินงานต้ังแต่ เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ 8. งบประมาณและทรัพยากร ระบุถึงค่าใช้จ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์ ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด และ ทรัพยากรที่ใช้ในการดาเนินงาน รวมท้ังแหล่งที่มาของเงินทุน และทรัพยากรโดยการเขียนงบประมาณและ ทรพั ยากรต้องทาใหล้ ะเอยี ด รอบคอบ สมเหตสุ มผล คานงึ ถึงความประหยดั ความมีประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล และความยุติธรรม 9. การติดตามและประเมินผล เป็นการกาหนดว่าจะติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการ อย่างไร จะประมาณความสาเร็จของการดาเนินงานอย่างไร และปรับปรุงแก้ไขหรือไม่อย่างไร ใครเป็น ผู้รับผิดชอบและจะดาเนนิ การในช่วงใด เช่น ก่อนเร่ิมทาโครงการ ระหว่างดาเนินการ และเมื่อสิ้นสุดโครงการ โดยหัวข้อการประเมินต้องสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ 10. ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ แสดงถึงผลประโยชน์ท่ีผู้ดาเนินโครงการ และผู้ท่ีเกี่ยวข้องจะได้รับหลัง โครงการสิ้นสดุ ทั้งทางตรงและทางออ้ ม 11. ปัญหาและอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดข้ึน แสดงถึงส่ิงที่ผู้ดาเนินโครงการคาดว่าอาจจะเกิดขึ้นและ เป็นปัญหาหรืออุปสรรคให้การดาเนินโครงการไม่เป็นไปตามข้ันตอน ระยะเวลา วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ กาหนดไว้ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หน้า 26

โครงการทีด่ ีควรมีลักษณะดงั นี้ 1. มีความทนั สมยั และความเปน็ ไปไดข้ องโครงการ 2. สามารถชว่ ยแกป้ ัญหาหรือพัฒนางานใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด 3. มีความประหยดั และสามารถสร้างผลตอบแทนได้คุ้มค่า ข้นั ตอนการวางแผนผลิตพืชไร่ 1. ศึกษา/สารวจข้อมลู ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2. รวบรวมขอ้ มลู /วเิ คราะห์ขอ้ มลู 3. การวางแผน/เขียนโครงการผลติ พืชไร่ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หน้า 27

แบบฟอร์มการเขียนโครงการ 1 ชือ่ โครงการ 2 ผู้รบั ผิดชอบโครงการ 3 หลักการและเหตผุ ล 4. วตั ถปุ ระสงค์เปา้ หมาย 5. เป้าหมาย 6. วิธีดาเนินการ เดือน............. เดือน............. เดือน............. เดอื น............. กิจกรรม สัปดาหท์ ่ี สัปดาหท์ ี่ สปั ดาหท์ ่ี สัปดาหท์ ่ี หมายเหตุ 1234123412341234 7. ระยะเวลาและสถานทด่ี าเนนิ การ หน้า 28 8. งบประมาณและทรพั ยากร 9. การติดตามและการประเมินผล 10. คาดว่าจะไดร้ ับ 11. ปญั หาและอปุ สรรคทค่ี าดว่าจะเกดิ ขึน้ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202

4. การปลูกพืชตามระบบ GAP ปัจจุบันมาตรฐานสินค้าเกษตรเป็นเรื่องท่ีใกล้ตัวมากข้ึน รัฐบาลค่อนข้างให้ความสนใจ และเป็นท่ี ยอมรับของประชาชน เนื่องจากการบริโภคหรือการเลือกซ้ือสินค้าที่มีมาตรฐานรับรอง ช่วยสร้างความมั่นใจ ให้กับผู้บริโภคมากขึ้น ซึ่งมาตรฐาน GAP พืชอาหาร ก็เป็นมาตรฐานอีกตัวนึงที่มีความน่าสนใจและเป็นที่รู้จัก ของประชาชนท่ัวไป โดยสัญลักษณ์จะมีลักษณะเป็น รูปอักษรคิวสีเขียวทรงกลม โดยมาตรฐาน GAP พืช อาหาร เปน็ การผลิตพชื เพ่ือใช้เป็นอาหาร เช่นพืชผัก ไม้ผล พชื ไร่ พืชเครื่องเทศ พืชสมนุ ไพร รวมถึงทุกขั้นตอน ของการผลิตในระดับฟาร์มและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อให้ได้ผลิตผลที่ปลอดภัย มีคุณภาพ เหมาะสม ในการบริโภค คานงึ ถงึ สง่ิ แวดล้อม สขุ ภาพ ความปลอดภัยและสวสั ดภิ าพของผ้ปู ฏิบัติงาน การปลกู พชื ตามระบบ จี เอพี เปน็ การปลูกพชื ต้ังแต่ การเตรียมพนั ธุ์ การปลกู การดแู ลรกั ษา การเก็บเกี่ยว การปฏบิ ัตหิ ลังการเก็บ เก่ียว เกษตรกรต้อง บันทึกการปฏิบัติงาน ทุกขั้นตอน เพื่อให้มีความปลอดภัยต่อเกษตรกร ไม่ทาลาย สิ่งแวดล้อม ผลผลิตมีคุณภาพ ปลอดภัยจากการปนเป้ือนของสารเคมี และเช้ือโรค ผลผลิตเป็นที่ต้องการของ ตลาดทงั้ ภายในและตา่ งประเทศ มาตรฐานระบบการผลติ : GAP พืชอาหาร (มกษ.9001-2556) ครอบคลุมข้อกาหนดการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสาหรบั การผลิตพืช เพื่อเก็บเกี่ยวผลิตผลสาหรับใช้ เปน็ อาหาร เชน่ พชื ผกั ไมผ้ ล พืชไร่ พืชเครือ่ งเทศ พืชสมนุ ไพร ทกุ ขน้ั ตอนของการผลิตในระดบั ฟาร์มและการ จดั การหลังการเก็บเก่ียว ซึ่งมีการบรรจุ และ/หรือรวบรวมผลิตผล เพ่อื จาหนา่ ยวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อใหไ้ ดผ้ ลิตผลท่ี ปลอดภัย มีคุณภาพเหมาะสมในการบริโภค โดยคานึงถึงส่ิงแวดล้อม และสุขภาพ ความปลอดภัยและสวัสดิ ภาพของผปู้ ฏบิ ัติงาน ประโยชนข์ อง จี เอพี ต่อเกษตรกร 1. มคี วามรู้และผลิตอยา่ งมรี ะบบ ทาใหล้ ดต้นทุนการผลิต และป้องกนั กาจัดศตั รูพืชอยา่ งถกู ต้อง 2.เกษตรกรและผู้ซ้ือได้บรโิ ภคพืชผกั ผลไมท้ ป่ี ลอดภัยมคี ุณภาพดี ทาให้มีสขุ ภาพแขง็ แรง 3.ได้ผลผลิตมีคุณภาพ ปลอดภัยจากการปนเปื้อนสารเคมี เชื้อโรคและศัตรูพืช เป็นท่ีต้องการของ ตลาดทั้งในและตา่ งประเทศ 4. ได้การรับรองระบบการผลิต และผลผลติ เป็นทีย่ อมรับ 5. มรี ายได้จากการขายพชื ผัก ผลไม้ที่ปลอดภัยอยา่ งสมา่ เสมอ ทาให้ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ ม่ังคง่ั หลกั เกณฑแ์ ละเง่อื นไข ดาเนินงานด้านการรับรองแหลง่ ผลิตพืชตามมาตรฐานระบบการจัดการคุณภาพ GAP พืช และรับรอง การผลิตพืชอินทรีย์ ตามมาตรฐานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (มกษ.) โดยกรมวิชาการเกษตรกาหนด นโยบายในการดาเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งจะรวมถึง ข้ันตอนการปฏิบัติงาน หลักเกณฑ์และเงื่อนไข ตลอดจนระเบยี บปฏิบัตติ า่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งตามท่กี าหนดไว้แล้ว ข้อกาหนด/ปฏิบัติ GAP พชื อาหาร มี 8 ขอ้ 1. แหลง่ น้า - ไมม่ กี ารปนเปื้อนสารพิษ สารเคมี โลหะหนัก ส่ิงท่เี ปน็ อนั ตราย - ไม่ใกล้หรอื ผา่ นแหล่งชุมชนคอกสตั ว์ โรงเกบ็ สารเคมีโรงพยาบาล โรงงานอตุ สาหกรรม เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 29

- น้าที่ใช้หลังเก็บเกี่ยว ต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานน้าบริโภค หรือเทียบเท่า โดยเฉพาะ น้าท่ี สมั ผสั สว่ นผลผลติ ทบ่ี ริโภค น้าท่ตี กค้างบนผลผลติ เช่น ใบ พนื้ ผวิ ไม่เรียบ 2. พ้นื ท่ปี ลูก - ไมเ่ คยเปน็ ท่ีตง้ั ของ โรงพยาบาล โรงงานอุตสาหกรรม โรงเกบ็ สารเคมี คอกสัตว์ ทท่ี งิ้ ขยะ - ไม่เคยพบสารเคมกี ลุม่ ออรก์ าโนคลอรนี ออรก์ าโนฟอสเฟต หรอื โลหะหนักตกคา้ ง - พื้นที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกควรเป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง หลักฐาน: โฉนด นส.3 สค. ภทบ. สปก.ฯลฯ 3. การใชว้ ตั ถอุ ันตรายทางการเกษตร - ใช้ตามคาแนะนา ตามฉลากใช้ตามประเทศคคู่ ้า - ตรวจสอบเครื่องพ่นสารเคมใี หพ้ ร้อมใช้งานเสมอ - ใช้ไมห่ มด ปิดฝา เก็บในสถานที่เก็บเปน็ สัดสว่ น - ต้องล้างถงั พ่นสารเคมีหลังใชท้ ุกคร้งั - ผ้พู น่ ต้องรูก้ ารใช้ รจู้ ักแมลงและป้องกนั ตนเอง - มีอุปกรณป์ ้องกนั อบุ ัติเหตุ เชน่ นา้ ยาลา้ งตา นา้ ทราย 4. การจดั การคุณภาพในการผลติ ก่อนเกบ็ เกย่ี ว - จัดทารายการปัจจยั การผลิต - แหล่งพันธ์ุ /การคลุกเมล็ด หากมีการคลุกหรือเคลือบเมล็ดพันธด์ุ ้วยวตั ถุอันตรายทางการเกษตร ใหใ้ ชต้ ามวิธกี ารและอตั ราตามคาแนะนาบนฉลากท่ีข้นึ ทะเบยี นตามกฎหมาย และบันทกึ ขอ้ มูลไว้ - ปุย๋ สารปรบั ปรุงดนิ ปยุ๋ หมกั ตอ้ งย่อยสลายสมบูรณ์ และไมใ่ ช้ส่งิ ขับถา่ ยจากคน - พื้นท่ีเก็บ ผสม ต้องแยกเป็นสัดสว่ น ไมป่ นเป้อื นลงพ้นื ทปี่ ลกู และแหลง่ นา้ 5. การเก็บเกี่ยวแลการปฏิบัติหลังการเก็บเกยี่ ว - ต้องเก็บเก่ียวผลิตผลที่มีอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม โดยผลิตผลมีคุณภาพตามความต้องการของ ตลาด หรือตามข้อกาหนดของคู่คา้ - การเก็บเก่ียวต้องปฏิบัตอิ ย่างถูกสุขลักษณะ เพ่ือป้องกันการปนเปื้อนท่ีมีผลต่อความปลอดภยั ใน การบริโภค - อุปกรณ์ ภาชนะบรรจุ และวัสดุที่สัมผัสกับผลิตผลโดยตรง ต้องทาจากวัสดุที่ไม่ทาให้เกิดการ ปนเปือ้ น - คัดแยกผลิตผลท่ีไม่ได้คุณภาพออก หากมีการคัดแยกชั้นคุณภาพและขนาดก่อนจาหน่ายให้คัด แยกช้ันคุณภาพและขนาดของผลิตผลตามข้อกาหนดในมาตรฐานสิน ค้าเกษตรท่ีกาหนดส าห รั บ ผลติ ผลแตล่ ะชนิดหรอื ตามข้อกาหนดของคคู่ ้า - แยกภาชนะในการบรรจขุ องเสยี และวัตถุอันตรายทางการเกษตรอยา่ งชัดเจนจากภาชนะบรรจุใน การเก็บเกี่ยวและการขนยา้ ย เพื่อปอ้ งกนั การปนเปื้อน - ป้องกันสัตว์เล้ียงไม่ให้อยู่ในบริเวณปฏิบัติงาน โดยเฉพาะสถานท่ีเก็บเกี่ยว คัดบรรจุและเก็บ รักษา หากมีความเสีย่ งในการเปน็ พาหะนาโรคให้มีมาตรการป้องกนั เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 30

- อุปกรณ์ ภาชนะบรรจุ และวัสดุที่สัมผัสกับผลิตผลโดยตรง ต้องทาจากวัสดุท่ีไม่ทาให้เกิดการ ปนเป้ือน 6. การพักผลผลิตการขนยา้ ยในแปลง และเกบ็ รักษา - มีการจัดการด้านสุขลักษณะของสถานที่และวิธีการขนย้าย พักผลิตผล และ/หรือเก็บรักษา ผลิตผล เพื่อป้องกันการปนเป้ือนจากอันตรายและสิ่งแปลกปลอมที่มีผลต่อความปลอดภัยในการ บรโิ ภคและคณุ ภาพของผลติ ผล - ใช้วัสดุปูรองพ้ืนในบริเวณ พักผลิตผล ท่ีเก็บเกี่ยว เพื่อป้องกันการปนเปื้อนของสิ่งปฏกิ ูล เศษดิน และสง่ิ สกปรก หรือส่งิ ที่เปน็ อนั ตรายอน่ื ๆ จากพื้นดนิ - ไม่ใช้พาหนะท่ีขนย้ายหรือขนส่งวัตถุอันตรายทางการเกษตรหรือปุ๋ย ในการขนย้ายหรือขนส่ง ผลติ ผล เพ่ือป้องกันการปนเป้ือนที่เปน็ อันตรายต่อการบรโิ ภค ในกรณีทไี่ ม่สามารถแยกพาหนะในการ ขนย้ายหรือขนส่งได้ต้องมีการทาความสะอาดพาหนะ เพ่ือป้องกันการปนเป้ือนดังกล่าว รวมถึงมีการ บันทึกการใช้พาหนะขนสง่ - เลือกใช้ภาชนะที่ใช้ในการบรรจุขนถ่ายผลิตผลในพื้นที่แปลงไปยังท่ีคัดแยกบรรจุที่เหมาะสม มี วสั ดุกรภุ ายใน (ปอ้ งกันการช้าของผลผลติ ) - การขนย้ายผลติ ผลในแปลงปลูกดว้ ยความระมดั ระวงั และป้องกันการปนเป้ือนต่อการบริโภค - พาหนะขนยา้ ยตอ้ งสามารถรกั ษาคุณภาพของผลติ ผล - ให้ขนสง่ ดว้ ยความระวังและขนสง่ ไปยงั จุดรวบรวมสนิ คา้ ทนั ที 7. สุขลักษณะสว่ นบคุ คล - ผู้ท่ีสัมผัสกับผลิตผลโดยตรง โดยเฉพาะหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลท่ีมีความเสี่ยงต่อการปนเป้ือน ตอ้ งมีการดูแลสุขลกั ษณะส่วนบคุ คลและมีวธิ ีการป้องกันไมใ่ ห้เกดิ การปนเปอื้ นสู่ผลิตผล - ผู้ปฏิบัติงานต้องมีความรู้ความเข้าใจ หรือได้รับการฝึกอบรมสุขลักษณะส่วนบุคคล เพื่อให้ สามารถปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งถูกสขุ ลักษณะ (รวมผจู้ า้ งเหมา) - ผ้ปู ฏิบตั งิ านเกยี่ วกับวตั ถุอนั ตรายทางการเกษตรตอ้ งได้รับการตรวจสขุ ภาพอยา่ งน้อยปีละ 1 ครั้ง 8. การบันทกึ ขอ้ มูล และการตามสอบ - บันทึกที่มาของปัจจัยการผลิต เช่น สารเคมี ปุ๋ยเคมี สารเร่งการเจริญเติบโต แหล่งที่ซ้ือมา และ การใชส้ ารเคมี ชอื่ ชนดิ อัตรา วนั ใช้ ใครใช้ - ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงาน ก่อนการเกบ็ เกย่ี ว เชน่ การเตรียมดนิ วันใด ใหน้ า้ ใส่ปุย๋ ตัดแตง่ กิง่ สารวจ โรคแมลง - หลังการเก็บเก่ียว เช่น ระบุวันเก็บบนตะกร้า/ผลผลิต จานวนผลผลิต ขายใคร เท่าไร ไปขายที่ ไหน - การกาจัดสตั ว์พาหะ เช่น หนูแมลงวนั วนั ใด อยา่ งไร - การใชพ้ าหนะขนส่ง เช่น การซอ่ มบารงุ - ต้องมรี หสั แปลง และขอ้ มลู ประจาแปลง ผ้ดู แู ลแปลง ผังแปลง ประวัติการอบรมฯลฯ - เก็บบันทกึ อย่างน้อย 2 ปี เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 31

5. การวางแผนการผลติ พชื ไรต่ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกจิ พอเพียง” เปน็ ปรัชญาท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดารสั ชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกวา่ 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและ เม่ือภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคง และย่ังยืน ภายใต้กระแสโลกาภวิ ตั นก์ ารเปล่ียนแปลงตา่ ง ๆ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจทส่ี ามารถพึง่ พาตนเองให้มากทสี่ ุด ไม่ทะเยอทะยานจนเกนิ กาลังของ ตนเอง ยึดหลักความพอดีในการดารงชีวิต ไม่มุ่งเน้นการแข่งขันทางเศรษฐกิจท่ีเกินกาลัง และศักยภาพของ ตนเอง ไมล่ งทนุ เกนิ กาลงั และรายได้ของตนเอง และต้องรู้จกั อดออมไวใ้ ชย้ ามจาเป็นอีกดว้ ย การวางแผนการผลิตพืชไร่ หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวทางปฏิบัตดิ ังนี้ 1. ความพอประมาณ เกษตรกรควรวางแผนการผลติ พชื ไร่ โดยพจิ ารณาถึงปจั จัยตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับ การผลิต ไม่ว่าเร่ืองของพื้นท่ี ทุน แรงงาน รวมถึงปัจจัยการผลิตอื่น ๆ แล้วควรวางแผนการผลิตให้สอดคล้อง เหมาะสมกบั ปัจจัยการผลติ ท่ีมีอยู่ ไม่น้อยเกนิ ไป ไม่มากเกินไป สมดุลกับอตั ภาพ ศักยภาพของตนเอง 2. ความมีเหตุผล ในการวางแผนการผลิตพืชไร่ ทั้งการตัดสินใจการผลิตพืชไร่ชนิดใด มีวิธีการ ดาเนินการผลิตอย่างไร ทุกข้ันตอนการผลิต ต้องเป็นการตัดสินใจหรือการกระทาอย่างมีเหตุผล คานึงถึง ผลกระทบท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ เช่น การตัดสินใจผลิตพืชไร่ชนิดใดต้องพิจารณาว่าพืชหลายชนิด น้ันมีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมหรือไม่ ตลาดมีความต้องการหรือไม่ หรือการตัดสินใจการใช้วิธีการ กาจัดศตั รูพชื ควรจะเลอื กใช้วิธใี ด ถา้ ใช้แล้วจะมีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมหรือไม่ ถา้ มผี ลกระทบเกษตรกรต้อง ไมเ่ ลือกใช้วิธดี ังกลา่ ว 3. การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง เกษตรกรต้องรู้จักศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ ไม่หยุดน่ิง พยายาม พัฒนาตนเอง มีความสามารถในการวิเคราะห์ วางแผนการผลิต และจัดการด้วยตนเอง ซ่ึงจะทาให้เกษตรกร สามารถเผชิญกับผลกระทบหรือการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่อาจเกิดข้ึนโดยไม่คาดคิดหรือควบคุมไม่ได้ ในการ ตดั สนิ ใจกระทาการลงทนุ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตผุ ล คานึงถึงปจั จัยต่าง ๆ ทีเ่ กยี่ วข้องและผลท่คี าดว่าจะเกิดข้ึน อย่างรอบคอบ ในการวางแผนการผลิตพืชไร่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เง่ือนไขและปัจจัยท่ีทาให้การวาง แผนการผลิต การตัดสินใจ การดาเนนิ การแตล่ ะอยา่ งไปสู่ความพอเพยี ง ตอ้ งอาศยั 2 เง่อื นไขคอื 1. เงื่อนไขความรู้ เกษตรกรต้องเป็นผมู้ คี วามรู้ รอบคอบ และใชค้ วามรูแ้ ละภูมปิ ัญญาอย่างระมดั ระวัง ในการนาเอาหลักวิชาการหรอื เทคโนโลยีตา่ ง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการปฏบิ ัติ เช่น การวางแผนการผลิต พืชไร่ ถ้าไม่วางแผนให้รอบคอบตั้งแต่ต้นทางคือ การผลิต และปลายทางคือ ตลาด จะมีโอกาสนาไปสู่ความไม่ พอเพียงไดอ้ ยา่ งมาก 2. มีคุณธรรม เกษตรกรต้องเป็นผู้ตระหนักถึงคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีความอดทน ความ เพียร รู้ผิดชอบช่ัวดี ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อ่ืน มีการแบ่งปัน เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ ซึ่งการท่ีเกษตรกรมีคุณธรรม จะทาใหก้ ารวางแผนการผลิตพชื ไรเ่ กดิ ความตระหนักถึงผลทจ่ี ะเกิดขน้ึ ต่อตนเองสังคม และสิง่ แวดล้อม จะเห็นไดว้ ่าการใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงในการผลิตพืชไร่จะทาให้เกษตรกรเกิดความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ ภูมิคุ้มกันการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน ซึ่งถ้าเกษตรกรและครอบครัวพึ่งตนเองได้ มีความ พอเพยี ง อาจจะรวมกลุ่มของเกษตรกรในชุมชน ในรปู ของสหกรณห์ รือกลุ่มธุรกิจตา่ ง ๆ เพอื่ สรา้ งประโยชน์กับ ส่วนรวมโดยไม่เบียดเบียนกัน มอี านาจในการต่อรองราคาทาให้เศรษฐกิจในชุมชนดีขน้ึ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หน้า 32

สรุป การวางแผนการผลิตพืชไร่ เป็นการพิจารณาตัดสินใจการผลิตพืชไร่ โดยมีปัจจัยที่เก่ียวข้องคือ ความ รอบรู้ของผูว้ างแผน เช่น ต้องมีความรอบรู้ในเรอ่ื งของพันธท์ุ ่ีใช้ สภาพพื้นท่ี เปน็ ต้น และข้อมลู ที่ใช้ประกอบใน การวางแผน เช่น ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลพันธ์ุพืช เป็นต้น การวางแผนต้องอาศัยข้อมูลพิจารณาอย่าง รอบคอบ เพื่อให้แผนมีความสมบรู ณ์ ผดิ พลาดนอ้ ยท่ีสุด และใช้ทรพั ยากรใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ เมอ่ื ผู้วางแผน มีการสารวจศึกษาข้อมูลอย่างรอบคอบ การนาข้อมูลดังกล่าวไปวางแผนโดยการเขียนเป็นโครงการ ซ่ึง โครงการจะเป็นข้อกาหนดที่บ่งบอกแนวทางในการดาเนนิ งาน มีระยะเวลาเร่ิมต้นและสนิ้ สดุ ทาให้การทางาน มีเป้าหมายทท่ี างทชี่ ดั เจน สามารถตรวจสอบและประเมินแกไ้ ขได้ การวางแผนการผลิตพืชไรต่ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นการวางแผนเพื่อมงุ่ เน้นใหเ้ กษตรกร สามารถพง่ึ พาตนเองได้ มคี วามเขม้ แข็ง ซง่ึ จะนาไปส่คู วามพอเพยี งในระดับชุมชนและระดับประเทศตอ่ ไป เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หน้า 33

บทท่ี 6 เครื่องมือและเคร่ืองทุ่นแรงที่ใชใ้ นการผลติ พชื ไร่ เคร่ืองมือและเครื่องทุ่นแรงที่ใช้ในการเกษตรหมายถึง สิ่งต่าง ๆ ท่ีมนุษย์ประดิษฐ์หรือสร้างข้ึนเพ่ือใช้ ผอ่ นแรงในการทาการเกษตรและทาใหเ้ กิดความสะดวก รวดเรว็ ข้นึ ประโยชน์เคร่ืองมอื และเครือ่ งทนุ่ แรง - ประหยดั แรง เวลา และคา่ ใชจ้ ่าย - ทางานได้มากและรวดเร็วขึ้น - ใชแ้ ทนแรงงานคนได้ดีกวา่ เครื่องมอื เกษตรมีมากมายหลายชนิดตามแต่ประเภทของงานเกษตร เช่น เครื่องมือสาหรับงานทางพืช เคร่ืองมือสาหรับการเลี้ยงสัตว์การเลี้ยงปลา เครื่องมืออนุรักษ์ดินและน้า เครื่องจักรกล การเกษตร และ อปุ กรณ์การถนอมอาหารตา่ ง ๆ เครอ่ื งมือเกษตรถา้ แบ่งเปน็ ตามต้นกาเนดิ ของพลังงาน จะแบ่งได้เป็น 5 ประเภทคือ 1. เครื่องมือที่ใชแ้ รงงานคน - เครื่องมอื กสกิ รรม เชน่ เสียม จอบ พล่ัว คราด สองเขาขุด จอบสามงา่ ม พร้าหวด - เคร่ืองมือบารุงรักษาพพืช เช่น เครื่องมือใส่ปุ๋ย เครื่องพ่นยา บัว กรรไกร เล่ือยตัดกิ่งไม้ช้อนส้อม พรวนดนิ - เครื่องมือเก็บเก่ียว เชน่ เคยี ว มีด จอบ ตะกรอ้ กรรไกร - เครอ่ื งมอื พเิ ศษ เชน่ รถตัดหญ้า เครื่องมอื กะเทาะเมล็ด 2. เคร่ืองมือท่ีใชแ้ รงสัตว์ - ไถ คราด เครอื่ งพรวน - ลูกกลง้ิ และอปุ กรณอ์ ืน่ ๆ 3. เครอื่ งมือทีใ่ ช้เคร่ืองจกั รกล(เคร่อื งยนต)์ - เคร่ืองยนตข์ นาดเลก็ เช่น เครื่องสบู น้า รถไถเดินตาม เครอ่ื งกะเทาะเมลด็ เครื่องพ่นยา - เครอ่ื งยนต์ขนาดใหญ่ เช่น รถแทรกเตอร์ รถตีนตะขาบ เคร่ืองบดอาหาร เครอ่ื งผสมอาหาร - เครื่องนวดข้าว เครื่องมือท่ีใช้เครื่องจักรกลมักจะต่อพ่วงกับรถแทรกเตอร์เพ่ือทากิจกรรมต่าง ๆ ใน ด้านการเกษตรในอดตี - ปัจจุบัน เกษตรกรไทยยังนาเอาเครื่องสูบน้าและเคร่ืองจักรกลต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในไร่นาของตน เชน่ รถอแี ตน๋ รถแทรกเตอรด์ านา รถแทรกเตอร์หว่านเมลด็ พชื รถแทรกเตอรเ์ กบ็ เกี่ยว เคร่อื งพน่ ยา เปน็ ต้น 4. เคร่ืองมือทใี่ ชแ้ รงธรรมชาติ - ระหดั วิดน้า เคร่ืองสบู น้า เคร่ืองบดอาหาร - กังหันลมและกงั หันน้า เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหัสวชิ า 20501 – 2202 หน้า 34

5. เคร่ืองมอื ท่ีใชไ้ ฟฟ้า (และมอเตอร์) - เครื่องบดอาหาร เครื่องผสมอาหารสัตว์เคร่ืองหน่ั หญา้ - เครื่องสูบน้า นอกจากนเ้ี ครื่องมือเกษตรอาจจะจาแนกออกไปตามลกั ษณะของงานทเ่ี ครือ่ งมอื เคร่อื งทนุ่ แรงนน้ั ทา เช่น 1. เครื่องทนุ่ แรงในการเตรียมดนิ เชน่ ไถ พรวน คราด จอบ สองเขาขดุ ฯลฯ รถไถนาทผ่ี ลติ ในประเทศไทย 2. เคร่ืองมือทุ่นแรงในการชลประทาน เช่น ระหัดวิดน้า เคร่ืองสูบน้า ท่อส่งน้า หัวฉีดน้า บัวรดน้า ฯลฯ ท่อสบู นา้ พญานาค 3. เครอื่ งมือทนุ่ แรงในการปลูกพชื เช่น เครื่องหยอดเมล็ด เคร่อื งมือยกรอ่ งทาแถว เคร่ืองปลกู จอบ คราด ช้อนพรวน ชอ้ นขุด เสียมขุดหลมุ ฯลฯ 4. เครือ่ งมือทนุ่ แรงในการกาจดั โรคพชื เช่น กระบอกฉีดยา ถังพน่ ยา ถังผสมยา และ เครอื่ งพน่ ยา 5. เครอ่ื งมือทุ่นแรงในการปราบและป้องกันศตั รูพชื เชน่ อุปกรณฉ์ ดี และพ่นยาชนดิ ตา่ ง ๆ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หนา้ 35

6. เครือ่ งมือทุ่นแรงในการบารุงดิน เชน่ เครอื่ งมือเก็บตัวอย่างดนิ จอบ พลัว่ คราด เสยี ม เครอ่ื งมอื อนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ และเครือ่ งมือหวานป๋ยุ 7. เครอ่ื งมือทนุ่ แรงในการเกบ็ เก่ียว เช่น เคร่อื งมือเก็บเก่ียวข้าว ขา้ วโพด เคร่ืองตดั หญ้า เคียวเกี่ยว ขา้ ว 8. เคร่ืองมือทุ่นแรงในการแปรสภาพ เช่น เครอื่ งนวดข้าว เครอื่ งกะเทาะเมล็ด เครื่องสีข้าว เครอื่ งหัน เครอื่ งบดต่าง ๆ 9. เครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรมการเกษตร เช่นเคร่ืองสีและกะเทาะเมล็ดเครื่องบดอาหาร สตั ว์ เครอื่ งโม่แปง้ เคร่อื งมือถนอมอาหาร เคร่อื งบรรจกุ ระป๋อง ฯลฯ หลักการเลือกเครอ่ื งมือและวิธที าเครอ่ื งมือบางชนดิ 1. เลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับสภาพของพ้ืนที่และชนิดของดิน เช่น ถ้าเป็นดินเหนียว ท่ีแห้งก็ควร ใช้สองเขาขุดหรอื อเี ตอร์ จอบทใี่ ช้ก็ควรเป็นชนิดจอบขดุ ซึง่ มสี นั คอแข็งแรง ถา้ จะ พรวนดินหรอื ดายหญา้ กค็ วรใช้จอบถาก ซงึ่ มนี ้าหนักเบาและหน้าจอบตัดตรง 2. เลือกให้เหมาะกับชนดิ ของงาน เช่น งานเตรียมดิน หรอื งานปลกู พชื หรืองานเกบ็ เกย่ี ว ซงึ่ เครือ่ งมือ และอปุ กรณย์ อมไม่เหมือนกนั 3. ต้องพิจารณาความนิยมของเคร่ืองมือน้ัน ๆ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการเปล่ียนหาอะไหล่ และ ซ่อมแซมต่าง ๆ 4. คุณภาพและราคายุติธรรม การซ้ือเครื่องมือท่ีมีคุณภาพดีแม้ราคาจะสูงสักนิดก็ยังดีกว่า ซื้อของ ถกู ๆ แต่คุณภาพเลวๆ ในบางโอกาสเราอาจจะประหยัดเงินลงได้โดยการทาเครอื่ งมือบางชนิดหรือดัดแปลงส่ิงของที่มีอยูแล้ว เปน็ เครือ่ งมือเกษตรได้ หลกั การใช้เครอื่ งมือเกษตร 1. เครือ่ งมอื ท่ีมคี มต้องลับหรอื ปรับให้คมอย่เู สมอ 2. ตรวจตราแก้ไขและซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีก่อนจะใช้ขณะท่ีใช้อยู่ถ้ารู้สกึ ว่าเครื่องมือผิดปกติต้อง แกไขทันที 3. มอี ะไหล่และถุงเครอื่ งมอื ไว้ให้พรอ้ ม 4. ใช้เคร่อื งมอื ใหถ้ กู กับงาน 5. อย่าประมาทขณะปฏิบตั ิงาน 6. ถ้าร่างกายอ่อนเพลยี หรอื ง่วงนอน ไม่ควรใช้เคร่อื งจกั รกลตา่ ง ๆ 7. ควรแต่งกายให้เหมาะสมและรัดกุม เช่น อาจจะต้องสวมหมวก สวมแว่น ถุงมือ หน้ากากป้องกัน สารพษิ และรองเทา้ ถุงเทา้ เม่ือจะเดินพ่นยาปราบวัชพืช เป็นต้น ตวั อย่าง วิธีทาเครือ่ งมือบางชนิด เชน่ จอบและการใช้จอบ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หน้า 36

จอบเป็นเครื่องมือหลักท่ีจาเป็นสาหรับงานหลายชนิด การเข้าด้ามจอบเป็นส่ิงท่ีสาคัญมาก เพราะถ้า ดา้ มจอบหลวมและโยกคลอนจะทางานไมไ่ ด้ผล วิธีเข้าด้ามจอบควรบากด้ามจอบให้เล็ก กว่าคอจอบเล็กน้อย แล้วจึงหายางในรถยนต์เก่าๆ หรือแผน หนังตัดเปน็ แผ่นสีเ่ หลีย่ มสอดใสร่ ะหวา่ ง ด้ามกับคอจอบจากนนั้ จึงใชล้ ิม่ อดั ใหแ้ นน่ - ควรเลือกจอบให้เหมาะสม ถ้าจะขุดดิน พลิกดินท่ีมีลักษณะแข็ง หรือมีตอไม้รากไม้ ก็ควรใช้จอบขดุ ถ้าตอ้ งการถากหญา้ ดายหญ้า หรอื เกล่ียดิน กค็ วรใช้จอบถาก ซ่งึ มลี ักษณะบอบบาง และเบากวา่ จอบขุด - จอบตอ้ งคมปานกลาง และเข้าดา้ มแน่น - ในขณะขุดดิน ไม่ควรขยับเท้าบ่อย ๆ เพราะจะทาให้ดินแน่น ควรยืนอยู่กับท่ีและขุดดิน จนสุดด้าม จอบ จงึ จะเปลยี่ นทใี่ หม่ -ควรขดุ ดนิ ขณะทด่ี ินมคี วามชื้นพอดีอาจขุดดินไว้เป็นก้อนโต ๆ แล้ว เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวชิ าการผลติ พชื ไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หน้า 37

บทที่ 7 การปลกู และการปฏบิ ตั ิดแู ลรักษาพชื ไร่ การปลูกพืชไร่ หมายถึง การใช้เมล็ดหรือส่วนขยายพันธุ์ของพืชไร่ปลูก ในพ้ืนที่ที่มีการเตรียมดิน เรียบร้อยแล้ว การปลูกพืชไร่มีหลายวิธีส่วนใหญ่จะปลูกโดยใช้เมล็ด หลังจากการปลูกต้องมีการปฏิบัติดูแล รักษา ต้ังแต่การปลูกซ่อม ถอนแยก ให้น้า ใส่ปุ๋ย กาจัดวัชพืช และการป้องกันกาจัดโรคและแมลง ในการปลกู พืชไร่เพ่ือให้ได้ผลผลิตที่ดีท้ังปริมาณและคุณภาพ และไม่มีผลกระทบต่อผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม เกษตรกรต้องมีความรคู้ วามเข้าใจในเร่อื งการปลกู และการปฏบิ ัตดิ ูแลรกั ษาเป็นอยา่ งดี เพราะพืชไร่แต่ละชนิด มีการปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษาท่ีแตกต่างกัน ข้ึนกับปัจจัยต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง เช่น สภาพดิน สภาพอากาศ ทนุ แรงงาน เปน็ ต้น ดังน้ันการศึกษาเรื่องการปลูกและการปฏิบัติดูแลรักษาจะทาให้เกษตรกรสามารถเตรียมดิน เลือก วิธีการปลูก และการปฏิบัติดูแลรักษาที่ถูกต้อง เหมาะสม แล้วแต่ชนิดของพืชไร่ ซึ่งจะช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ท่ี เกิดข้ึนระหว่างการปลูก เช่น ปัญหาเร่ืองวัชพืช โรคและแมลง มีผลต่อผลผลิตพืชไร่ด้านปริมาณและคุณภาพ รวมทง้ั ไม่มีผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม 1. การเตรียมดิน การเตรียมดินเป็นข้ันตอนแรกของการปลูกพืชไร่ ซึ่งมีความสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะผลผลิตจะดี หรือไมด่ ขี นึ้ อย่กู บั การเตรยี มดนิ ทถี่ กู ต้องเหมาะสมกับชนิดของพืชไร่ การเตรียมดิน หมายถึง การปฏิบัติที่เก่ียวกับดิน เพ่ือให้เกิดสภาพที่เหมาะสมแก่การเจริญเติบโตของ พชื หรือใชแ้ รงผ่านเคร่ืองมือไถไปกระทาต่อดนิ เพอื่ ใหด้ ินแตกตัวออกจากกนั เปน็ ก้อนเลก็ ลง เหมาะสมต่อการ เจริญเติบโตของพชื 1.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการเตรียมดนิ 1) เพ่ือให้ดินมีสภาพที่เหมาะสมสาหรับการปลูกพืช เช่น มีลักษณะแตกร่วนเป็นก้อนเล็ก ๆ จับตัวกัน อยา่ งหลวม ๆ ทาให้นา้ ซึมผ่านได้สะดวก และมีปริมาณอาหารในดินทเ่ี หมาะสมต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื 2) เพื่อควบคมุ และกาจดั วชั พืช นอกจากน้ยี งั ช่วยทาลายโรคและแมลงจากการตากดินหลงั การไถ 3) ช่วยให้ดนิ มีการระบายนา้ และถา่ ยเทอากาศไดด้ ีข้นึ 4) เพื่อให้ดินมีก้อนเล็กลง ก้อนดินละเอียด ร่วนซุยเหมาะต่อการงอกของเมล็ด เน่ืองจากการถ่ายให้ ดนิ รว่ นจะทาใหเ้ มล็ดพชื สัมผัสกบั ดนิ ได้อย่างสมบรู ณ์ และรับความชนื้ จากดินได้มากพืชจะงอกและเจริญเติบโต ได้อยา่ งรวดเรว็ 5) เพอื่ ใหก้ ารปลูกพชื ทาได้สะดวก รวดเร็ว และมคี วามลกึ ทีส่ ม่าเสมอ ประหยดั แรงงานและเวลา 6) ทาให้อินทรีย์วัตถุย่อยสลายเกิดประโยชน์แก่ดิน ซ่ึงดินท่ีมีการเตรียมดินเป็นอย่างดี พวกอินทรีย์ สารท่ไี ถกลบลงไปในดินจะรวมกบั ธาตุอาหารพืชท่ีทาให้เกิดการเพ่ิมจลุ ินทรียใ์ นดิน ทาใหด้ ินสามารถอ้มุ น้าได้ดี ข้ึนและยงั ชว่ ยปรับสภาพของดนิ ได้อกี ด้วย 1.2 หลักในการเตรียมดินปลูกพชื ไร่ ในการเตรียมดินปลูกพืชไร่ เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดและไม่มีผลกระทบต่อดิน ควรยึดหลักในการ เตรยี มดนิ ดงั นี้ 1) ต้องทาใหด้ นิ ร่วน โปร่ง เหมาะกับการงอกของเมลด็ เพ่อื ใหต้ ้นออ่ นท่ีงอกมรี ะบบรากทีแ่ ขง็ แรง 2) ทาให้ดินร่วนซุย เพื่อให้จุลินทรีย์ในดินเจริญเติบโตเต็มที่ ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุในดินท่ีเป็น อาหารพืชใหอ้ ยูใ่ นรูปทพี่ ชื สามารถนาไปใช้ไดแ้ ละเพ่ือใหอ้ ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 38

3) ทดี่ ินให้เป็นกอ้ นเลก็ พอสมควร เพ่ือใหน้ ้าใต้ดินเคล่ือนทส่ี ูตรผวิ ดินไดส้ ะดวก 4) ไม่ควรไถเตรียมดินในขณะที่ดินเปียกหรือดินแห้งเกินไป โดยเฉพาะดินเหนียวเพราะถ้าดินเปียก เกินไปจะทาให้ดินตดิ ผานไถทางานไม่สะดวก รวมทง้ั ทาใหด้ ินจับตัวกันแนน่ ในขณะท่ีถ้าดนิ แหง้ เกนิ ไปจะทาให้ ไถไดย้ าก ดงั น้นั ควรถา่ ยในขณะทด่ี ินมคี วามช้ืนพอเหมาะ 5) ถ้าดินแนน่ เกนิ ไปต้องสับพรวนหนา้ ดิน เพอ่ื รักษาความชืน้ ในดนิ เพราะในดินทน่ี น่ั จะทาใหน้ ้าในดิน ระเหยออกไดง้ ่าย 6) ควรถ่ายในขณะทวี่ ชั พชื ยงั ไม่ออกดอก เพื่อเป็นการปอ้ งกันและการแพรก่ ระจายของวชั พืช 7) เวลาทค่ี วรไถ ควรไถทนั ทหี ลงั จากเก็บเกีย่ วพืชเพอ่ื รกั ษาความชนื้ ในดนิ 8) ความลึกในการไถ ในการปลูกพืชไร่ทั่วท่ัวไปควรไถให้ลึกประมาณ 6-8 นิ้ว แต่ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับชนิด ของดนิ และพชื ไรท่ ปี่ ลูกดว้ ย 1.3 ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเตรยี มดินปลูกพืชไร่ 1. สภาพพื้นท่ี ต้องพิจารณาถึงสภาพของพ้ืนท่ีวา่ มีลกั ษณะอย่างไร เช่น ถ้าเป็นพื้นที่ป่าเปิดใหม่ ต้อง ควรถางป่าเอาต้นไม้หรือตอไม้ออกให้หมด เพ่ือความสะดวกในการจัดการ ถ้าเป็นพ้ืนที่รกร้างว่างเปล่า พื้นท่ี ประเภทน้ีมักจะเกิดการทาไร่เลื่อนลอย สภาพโดยทั่วไปมักจะมีหญ้าข้ึนปกคลุมสลับกับต้นไม้ใหญ่หรือมีตอไม้ ตอ้ งรอ้ื ตอและโคนต้นไมใ้ หญ่ออกก่อน ถ้าเปน็ ทลี่ มุ่ ต้องทาทางระบายนา้ หรือยกร่องปลูก สว่ นท่ีดอนหรอื ที่ลาด เชงิ เขาต้องไถขวางทางลาดชันเพ่ือปอ้ งกันการพงั ทลายของดิน 2. ชนิดของพืชไร่ที่ต้องการปลูก พืชไร่แต่ละชนิดมีลักษณะที่แตกต่างกัน พืชไร่บางชนิดมีขนาดเล็ก เช่น งา ข้าวฟ่าง การเตรียมดินต้องย่อยดินให้ละเอียด เพ่ือให้เหมาะสมต่อการงอก ส่วนพืชไร่ท่ีมีเมล็ดขนาด ใหญห่ รือใช้ทอ่ นพนั ธุ์ การเตรียมดนิ อาจจะหยาบกวา่ ก็สามารถปลูกได้ 3. ปริมาณวัชพืช ถ้าพื้นท่ีปลูกมีปริมาณวัชพืชขึ้นเป็นจานวนมาก ควรมีการเตรียมดินอย่างพิถีพิถัน กวา่ แปลงทีม่ ีปรมิ าณวัชพชื จานวนน้อย 4. เนื้อดิน ในพ้ืนท่ีท่ีเป็นดินเหนียวหรือดินท่ีมีหน้าดินตื้น การเตรียมดินจะมากกว่ากลุ่มเนื้อดินทราย หรอื ดนิ รว่ นที่มหี น้าดินลกึ เพราะโครงสรา้ งของดินเหนยี วเป็นดนิ หนักมคี วามยากแก่การไถ 5. สภาพดินฟ้าอากาศ ในเขตพ้ืนท่ีอากาศค่อนขา้ งแหง้ แล้ง ส่วนใหญ่จะมีวัชพชื ขนึ้ น้อยไมค่ วรไถกลบ เศษพืชลงไปในดิน เพราะเศษพืชจะช่วยป้องกันการชะล้างและกัดกร่อนของดิน โดยลมป้องกันการกระแทก จากเม็ดฝน รวมท้งั ยังชว่ ยลดอตั ราการไหลบ่าของน้าในฤดูฝน 6. แรงงาน ถ้ามีแรงงานมากกว่าใช้แรงงานควรแต่ถา้ มแี รงงานน้อยจาเป็นต้องใชท้ ุนค่อนข้างมากตาม ไปด้วย 1.4 วธิ กี ารเตรียมดนิ ปลูกพืชไร่ พืชไร่แต่ละชนิดมีลักษณะการปลูกท่ีแตกต่างกัน บางชนิดขยายพันธ์ุโดยใช้เมล็ด ซ่ึงขนาดของเมล็ด เล็กบ้างใหญ่บ้าง ขึ้นอยู่กับชนิดของพืชไร่ หรือบางชนิดขยายพันธุ์โดยใช้ท่อนพันธ์ุ รวมถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ เกย่ี วข้อง เช่น ทนุ แรงงาน สภาพของพ้ืนท่ีปลูก ทาให้การเตรียมดนิ เพ่ือปลูกพืชไร่สามารถทาได้หลายรูปแบบ ดงั น้ี 1. การเตรียมดินเต็มรูปแบบหรือการเตรียมดินทั่วไป เป็นการเตรียมดินโดยใช้เคร่ืองทุ่นแรงหรือ เครอื่ งจักรกล ประกอบด้วย 1) การไถดะ เป็นการถา่ ยคร้งั แรก เพอ่ื พลิกหน้าดินและกลบวชั พืช เศษพชื ลงไปขา้ งล่าง 2) การไถแปร เป็นการไถขวางแนวการไถนา เพ่ือยอ่ ยดนิ ใหม้ ีขนาดเล็กลง 3) การไถพรวน เป็นการไถยอ่ ยดนิ ให้มีขนาดเล็กลงไปอกี เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 39

การไถแต่ละครั้งต้องเว้นระยะห่างกันประมาณ 7-10 วัน เพื่อตากดิน กาจัดวัชพืช เช้ือโรค แมลง ศัตรูพืช และเพื่อให้ดินแห้งเหมาะสาหรับการไถคร้ังต่อไป การไถพรวนทาให้ดินมีคุณสมบัติทางกายภาพดีข้ึน ทาให้ดินร่วนซุย อากาศถ่ายเทได้สะดวก เก็บความชื้นได้ดีขึ้น และมีสภาพเหมาะสมต่อการงอกของเมล็ด ใน กรณที ี่การไถดะแลว้ ดินรว่ นพอควร กอ็ าจจะพรวนไดเ้ ลยโดยไมต่ ้องมกี ารไถแปร 4) การยกร่อง ในการปลูกพืชไร่ถ้าเป็นการปลูกโดยใช้แรงงานคน ในการเตรียมดินมักจะยก ร่องกอ่ นปลูก เชน่ ข้าวโพด ถัว่ ตา่ ง ๆ ออ้ ย โดยจะมกี ารไถข้นึ ร่องไดต้ ามระยะท่ตี ้องการ การปลกู พชื บนรอ่ งจะ ช่วยให้ไม่ให้พชื ถูกน้าขังกรณีที่มีฝนตกมาก ๆ แตถ่ า้ เป็นการปลูกโดยใช้เคร่ืองจักร สามารถปลกู ได้เลยหลังจาก ไถพรวนดนิ เรียบรอ้ ยแล้ว การเตรียมดินแบบเต็มรูปแบบ ถึงแม้จะมีข้อดีดังกล่าวแล้ว แต่ข้อเสียที่พบคือ ถ้ามีการไถพรวน ติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทาให้ปริมาณอินทรีย์วัตถุในดินลดลง เกิดชั้นดินดาน เป็นสาเหตุให้รากพืชไม่ สามารถชอนไชไปได้ รวมทัง้ ทาให้การระบายของนา้ ลดลง 2. การเตรียมดินโดยลดการไถพรวน เป็นการเตรียมดนิ ทีท่ าให้ดินได้รบั ผลกระทบจากการเหยยี บย่า ของเคร่ืองจักรกลและเครื่องทุ่นแรงน้อยที่สุด การเตรียมดินวิธีน้ีอาจเป็นการเตรียมดินเพียงเล็กน้อย เช่น มี การไถดะและไถแปรก็สามารถปลูกได้ 3. การเตรียมดินแบบไม่ไถพรวน เป็นการเตรียมดินโดยไม่ใช้เคร่ืองจักรกลหรือเครื่องทุ่นแรงใด ๆ เลยแต่เป็นการนาสารเคมีที่มีประสิทธิภาพเข้ามาใช้ในการกาจัดวัชพืชท่ีตกค้างก่อนการปลูกและนาสารเคมี ประเภทเลือกทาลายมาใชใ้ นการควบคุมการงอกของเมลด็ 1.5 เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ในการเตรยี มดนิ เคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ใี ช้ในการเตรียมดนิ แบ่งออกเป็น 2 กล่มุ ใหญ่ ๆ ดงั นี้ 1 เครื่องมือเตรียมดินขนาดเล็ก เป็นเคร่ืองมือที่ใช้แรงงานคนหรือแรงงานสัตว์ ในการเตรียมดิน ประกอบดว้ ยเครอื่ งมือตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. เคร่อื งมอื ทีใ่ ช้แรงงานคน 1) จอบ เป็นเครอ่ื งมือพ้นื ฐานที่สาคัญมากในการเตรียมดนิ โดยเฉพาะในการเตรียม ดินคร้ังแรกมีหลายชนิด เช่น จอบขุด ออกแบบเพื่อใช้ในการขุด เพื่อเตรียมดินให้ร่วนซุยหรือพลิกดิน เพ่ือผ่ึง แดด หรอื จอบถาก ใช้สาหรับขดุ ดนิ ร่วน กาจดั วชั พชื หรอื ย่อยดนิ 2) เสยี ม เปน็ เคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับขดุ แต่มกั จะใชข้ ุดดินท่ีค่อนข้างลึกและดินไม่แข็ง ใชใ้ นการเตรยี มดนิ ปลกู พชื ไรไ่ ด้ แต่ไม่เหมาะกับพน้ื ท่ีปลกู ทม่ี ขี นาดใหญ่ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 40

3) คราด ทาจากเหล็ก ซี่ลวดหรือไม้ไผ่ เป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการพรวน ใช้สาหรับ ย่อยดนิ ปรับระดบั พนื้ ท่ี หรือคราดเศษพชื วชั พืชออกจากแปลง 4) มดี มีหลายชนดิ ใช้สาหรบั ถางปา่ ตัดต้นไม้ขนาดเล็ก 2. เครื่องมือที่ใช้แรงงานสัตว์ ได้แก่ เครื่องมืออุปกรณ์จาพวก ไถและพรวน เป็นเครื่องมือที่ เกดิ จากภมู ิปัญญาท้องถ่ินที่ต้องการใช้เคร่ืองแรงงานสัตว์ในการเตรียมดิน ซึ่งการทางานจะใช้แรงงานสัตว์ เชน่ วัว ควาย ลา ในการลาก ดึง ไถพลกิ หน้าดิน และพรวนดินใหล้ ะเอียด รวมทง้ั ทาสันร่องดว้ ย ปจั จุบันเครอ่ื งมอื และอุปกรณเ์ หล่าน้ีมใี ช้น้อยมาก เน่ืองจากมีเครื่องจกั รกลเกษตรเข้ามาแทนท่ี เพราะ เคร่ืองจักรกลเกษตรสามารถทางานได้รวดเร็วกว่าในพ้ืนที่เท่า ๆ กัน เกษตรกรจึงหันมาใช้เครื่องจักรกลเกษตร กันเปน็ จานวนมาก แต่อย่างไรกต็ ามเคร่ืองมือที่ใชแ้ รงงานสัตว์ ควรอนรุ ักษไ์ วห้ รอื อาจนาไปพฒั นา เพื่อกลับมา ใชใ้ หม่ เพราะเครอ่ื งมอื อุปกรณเ์ หล่านเี้ ปน็ มรดกลา้ ค่าของประเทศทชี่ ว่ ยบุกเบิกพฒั นาการเกษตรของประเทศ 2. เครื่องจักรกลเกษตร สามารถแบ่งเป็น 2 กลมุ่ ตามขน้ั ตอนการเตรียมดิน ดังน้ี 1.เครือ่ งมือเตรยี มดินข้นั แรก ประกอบด้วยเครอ่ื งมือต่าง ๆ ดงั นี้ 1) ไถหัวหมู เป็นไถที่สามารถพลิกกลับหน้าดินได้ดี เหมาะกับพ้ืนที่ท่ีได้รับการ ปรบั ปรงุ มาแลว้ ดินไมแ่ ขง็ ไมม่ ีตอไม้ รากไม้ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าการผลติ พืชไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 41

2) ไถจาน ไถบุกเบิก หรือไถกระทะ เหมาะกบั สภาพพ้ืนท่ีเปิดใหม่ ดินแหง้ แข็งมาก มีเศษไม้ รากไม้ ตอไม้ แต่ไถจานไม่สามารถพลิกกลบขี้ไถได้อย่างเรียบร้อย ทาให้วัชพืชสามารถงอกข้ึนมา ภายหลงั ได้ ไถจานที่นิยมใช้เป็นแบบผาล 3 หรอื ผาล 4 แล้วแต่ขนาดของแทรกเตอร์ 3) ไถระเบิดดินดาน ใช้สาหรับไถทาลายชั้นดินดาน ซ่ึงเกิดจากการอัดตัวของดิน อันเน่ืองมาจากการใช้เครื่องจักรกลเกษตรติดต่อกันหลายปี ไถระเบิดดินดานจะทาให้ดินมีการระบายน้าได้ดี ทาใหด้ นิ แตกรว่ นโดยไม่มีการพลิกดนิ 4) ไถส่ิว วัตถุประสงค์ของการไถคล้ายกับไถระเบิดดินดาน แต่มีขนาดเล็กและเบา ทางานในระดับความลึกน้อยกว่าไถระเบดิ ดินดาน 2.เครือ่ งมือเตรียมดินครั้งทสี่ อง เปน็ เครื่องมอื ทีใ่ ช้ย่อยดินให้ละเอยี ด ทาให้ดนิ มีขนาดเล็กลง เหมาะตอ่ การงอกของเมล็ดพืชรวมทั้งปรบั หน้าดนิ ให้มีความสม่าเสมอ เครอ่ื งมอื ในกล่มุ น้ี ไดแ้ ก่ 1) จอบหมุน ใช้สาหรับการเตรียมดินทั้งในดนิ แห้งและดินเปียก จอบหมุนสามารถ ทางานได้สองลักษณะในเวลาเดียวกันคือ ตดี ินและย่อยดนิ ทาใหป้ ระหยดั เวลาในการเตรียมดนิ เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หน้า 42

2) ไถผาลพรวน ใช้สาหรับพรวนย่อยดินให้ละเอียดก่อนการปลูกพืช โดยท่ัวไปจะ นยิ มใช้ผาล 7 แต่อย่างไรก็ตามไม่ควรใช้ผานพรวนตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน เพราะอาจจะทาให้เกดิ ชนั้ ดินดานได้ 3) พรวนชดุ ใชใ้ นการพรวนย่อยหน้าดนิ เช่นเดียวกบั ไถผาลพรวน แต่พรวนชุดจะมี จานวนจานมากกว่า โดยมีการวางจานเป็นสองแถวและหันจานพรวนแถวหนา้ และหลงั สลับกัน ทาใหด้ ินที่ผ่าน การพรวนมีก้อนดินที่ละเอียดและยังพรวนได้ลึก ทาให้หน้าดินซ่ึงเป็นแหล่งน้าและอาหารของพืชเพิ่มขึ้นด้วย ซ่ึงพรวนชุดมีหลายขนาด เช่น 16 จาน 20 จาน 24 จานหรือ 36 จาน การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับขนาดกาลังของ แทรกเตอร์ 4) เครื่องมือปรับหน้าดิน ใช้สาหรับปรับระดับหน้าดินในแปลงให้เรียบสม่าเสมอ ทาให้ควบคุมระดับน้าได้เท่ากันทั่วทั้งแปลง เป็นผลให้พืชมีการเจริญเติบโตที่สม่าเสมอทั่วท้ังแปลง ส่งผลให้ ผลผลิตท่ีได้รบั มีความสมา่ เสมอ ได้ปริมาณผลผลติ ทแ่ี น่นอน 2. พนั ธ์ุและการเตรียมพนั ธพุ์ ืชไร่ 2.1 พนั ธุ์ พันธ์ุพืช (variety) หมายถึง กลุ่มของพืชท่ีมีลักษณะทางพันธุกรรม และลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เหมือนหรือคล้ายคลึงกัน เป็นลักษณะประจาพันธุ์ ซ่ึงพืชไร่แต่ละชนิดจะมีอยู่หลายพันธ์ุ แต่ละพันธุ์จะมี ลักษณะประจาพันธุ์ทีแ่ ตกต่างกันไป มีหน่วยงานท่ีทาหนา้ ที่ในการปรบั ปรุงพันธ์ุ ผสมพันธพุ์ ืชไร่ เพือ่ ใหไ้ ด้พันธ์ุ ท่ดี ีเกดิ พนั ธุ์ท่ดี ี เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หน้า 43

พนั ธุ์ทด่ี ีควรมลี ักษณะดงั น้ี 1) ให้ผลผลติ สูง 2) ต้านทานตอ่ โรคและแมลง 3)ตอบสนองต่อปยุ๋ เม่อื พืชนนั้ ได้รับปุ๋ยแล้ว พืชนัน้ สามารถใชป้ ๋ยุ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ สาหรบั การ เจริญเติบโตได้อย่างเตม็ ท่ีเพือ่ สรา้ งผลผลติ 4) ปรบั ตัวเข้ากบั สภาพแวดลอ้ มไดด้ ี 5) อายกุ ารเกบ็ เก่ยี วสั้น 6) ลักษณะทางคุณภาพดี เชน่ เปอรเ์ ซน็ ตโ์ ปรตีนสูง เปอรเ์ ซน็ ตน์ า้ มนั สงู ซึ่งลักษณะดังกล่าว เป็นลักษณะท่ีมีอยู่ประจาในต้นพืช การท่ีเกษตรกรจะเลือกพันธ์ุใดไปปลูกน้ัน นอกจากจะคานึงถงึ ตลาดแล้ว ควรคานึงถงึ ลักษณะดงั กลา่ วด้วย 2.2 การเตรยี มพันธ์พุ ชื ไร่ การเตรียมพันธุ์พืชไร่ เป็นการจัดหาหรือคัดเลือกพันธุ์พืชไร่ เพ่ือเตรียมท่ีจะนาไปปลูกในพ้ืนท่ีที่ กาหนดไว้ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการเตรียมพนั ธ์พุ ชื ไร่ 1) เพอ่ื ใหไ้ ด้ตน้ พืชท่ปี ลูกตรงกบั ความต้องการ 2) เพอื่ ใหต้ ้นพืชท่ปี ลูกมีอตั ราการเจริญเติบโตรวดเรว็ 3) เพือ่ ให้ไดต้ น้ พชื ท่ีให้ผลผลิตท่ดี ที ่ีสดุ ทางดา้ นปรมิ าณและคุณภาพ 4) เพ่ือใหไ้ ดพ้ ันธุ์พืชในปรมิ าณทเี่ พยี งพอกบั ความต้องการ พืชไร่เป็นพืชท่ีสามารถขยายพันธ์ุเพ่ือเพิ่มจานวน โดยการใช้ส่วนขยายพันธุ์ อาจเป็นเมล็ดหรือท่อน พันธุ์ หลักการคดั เลอื กเมล็ดหรอื ทอ่ นพนั ธ์ุ ดังนี้ 1 การคัดเลือกเมลด็ พันธพ์ุ ชื ไร่ มพี ชื ไรห่ ลายชนดิ ที่ปลกู โดยใชเ้ มลด็ พนั ธุ์ เช่น พวกธญั พชื พืชตระกูลถ่ัว พชื น้ามัน เมลด็ พนั ธ์ทุ ดี่ ีควรมี ความงอกสูง เมื่อนาไปปลูกแล้วงอกได้เร็ว ต้นกล้าเจริญเติบโตได้ดี ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมของแหล่ง ปลูก และระบบการปลูกได้ดี ทนทานตอ่ สภาพวกิ ฤตต่าง ๆ เช่น สภาพแห้งแลง้ เนอื่ งจากฝนท้ิงช่วงสามารถให้ ผลผลิตได้ดีในสภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า รวมท้ังต้านทานต่อการระบาดของโรคและแมลง นอกจากนี้ เมล็ดพนั ธ์ุพชื ท่ดี ีควรตอบสนองต่อการใช้ปจั จัยการผลติ ดว้ ย ซ่ึงเมลด็ พนั ธท์ุ ดี่ คี วรมีลกั ษณะดงั น้ี 1) มคี วามบริสุทธ์ขิ องสายพันธุ์สงู 2) มีความบรสิ ุทธข์ิ องเมล็ดพันธ์ุสงู 3) มีความช้ืนตา่ 4) มีความงอกหรือความมชี ีวติ สูง 5) มีความแขง็ แรงสงู 6) ปราศจากโรคและแมลงทต่ี ิดมากับเมลด็ 7) มีน้าหนกั มากและมีขนาดใหญ่ 8) สีสดใสเมล็ดทใ่ี หมจ่ ะมีสีสดใสกว่าเมลด็ ทเ่ี ก็บไวน้ าน 9) เจริญเติบโตเต็มที่ 10) เป็นเมล็ดทไี่ ม่มีรอยแตกหกั หรือมีรอยแผลจากเคร่อื งจักรหรือแมลง เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พืชไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หนา้ 44

11) มาจากแหลง่ ท่เี ชือ่ ถือได้ 2.การเตรียมพันธ์ุกอ่ นปลูก หลังจากที่มีการคัดเลือกพันธุ์พืชไร่ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของเมล็ดพันธุ์หรือท่อนพันธ์ุ ก่อนการ ปลกู พืชเพอื่ ใหพ้ ืชมีการเจริญเติบโตและไดผ้ ลผลิตทด่ี ี ควรมีการเตรยี มพนั ธก์ุ ่อนปลกู โดยมหี ลกั การเตรยี มดังนี้ 1.การเตรยี มเมลด็ พนั ธุ์ 1) ใช้สารเคมีคลุกเมล็ดก่อนปลูกเพื่อป้องกันโรคและแมลงเข้าทาลายสารเคมีที่ใช้ เช่น แคปแทน (captan) ไทแรม (thiram) หรอื เอพรอน (apron) 2) เมล็ดพนั ธ์บุ างชนดิ เชน่ เมลด็ พืชตระกลู ถัว่ ไดแ้ ก่ ถัว่ เหลอื ง ควรคลกุ เชือ้ ไร โซเบียมกอ่ นปลกู 3) เมล็ดพันธ์ุที่มีการพักตัว เช่น มีเปลือกแข็งหรือหนา เมื่อนาไปปลูกจะทาให้งอก ยาก ควรทาลายการพักตัวก่อน เช่น การใช้สารเคมีกระตุ้นการงอก พวกจิบเบอเรลลิน เอทธลิ นี หรอื การทาลายส่วนห่อหุ้มเมลด็ เช่น การทบุ กระเทาะ การลวกดว้ ยนา้ ร้อน 4) เมล็ดพนั ธ์ุบางชนดิ ตอ้ งแช่นา้ ให้งอกก่อนแลว้ นาไปปลกู หรือหว่าน เชน่ ขา้ ว 2.การเตรียมทอ่ นพันธุ์ 1) เตรียมทอ่ นพันธุ์ท่ีผ่านการคัดเลอื กแลว้ 2) ตดั ท่อนพันธุใ์ ห้ได้ความยาวตามขนาดทีต่ อ้ งการเหมาะกบั ชนิดของพชื ไร่ 3) การแช่หรือชบุ ทอ่ นพันธุ์ดว้ ยสารเคมี เพอื่ ปอ้ งกนั กาจัดโรคที่ตดิ มากบั ท่อนพันธุ์ 4) ท่อนพันธุ์ที่ตัดแล้วควรปลูกทันที ถ้ายังไม่ปลูกทันทีควรกองท่อนพันธุ์ไว้ในท่ีร่ม คลุมดว้ ยใบไม้หรอื ฟาง รดน้าให้ช่มุ 3. การปลูกพืชไร่ หลังจากเตรียมดินและเตรียมพันธุ์เรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนต่อไป คือ การปลูกพืชไร่ ซึ่งการปลูกพืชไร่ เป็นการนาเอาส่วนขยายพันธ์ขุ องพืชไร่ ลงไปในดินท่ีมีการเตรียมไวแ้ ล้ว การปลูกพืชไร่จะได้ผลดีใหผ้ ลผลติ สูง ตอ้ งใชร้ ะยะปลูก อัตราปลกู และวิธปี ลกู ท่ีเหมาะสม ซ่งึ แตกต่างกนั ไปแลว้ แตช่ นิดของพืชไร่ 1. ระยะปลูก หมายถึง ระยะห่างระหว่างต้น และระหว่างแถว ระยะปลูกน้ีขึ้นอยู่กับชนิดของพืชไร่ รวมท้ังลักษณะของดนิ และการใชเ้ ครื่องทุน่ แรง 2. อัตราปลกู หรือจานวนปลกู หมายถึง จานวนต้นทีเ่ หมาะสมต่อหน่วยพน้ื ที่ นยิ มคดิ เปน็ กโิ ลกรัมต่อ ไร่ หรอื จานวนต้นตอ่ ไร่ ซ่ึงอตั ราปลกู จะมากหรือน้อยขึ้นอยกู่ บั ปจั จัย ดงั นี้ 1. ชนิดของพืชไร่ พืชไร่แต่ละชนิดต้องการจานวนปลูกต่อหลุมหรือต่อไร่แตกต่างกัน ซึ่งจะ มากหรอื น้อยขึน้ อยกู่ ับการแตกกอหรอื ทรงพมุ่ ของพชื ไร่ 2. วิธีปลูก พืชไร่ชนิดเดียวกันถ้าใช้วิธปี ลูกแตกต่างกัน มีผลทาให้ใช้เมล็ดพันธ์ุหรือท่อนพนั ธ์ุ แตกต่างกัน 3. วิธีปลกู เป็นตวั บ่งช้ีถึงเปอรเ์ ซ็นตก์ ารมีชีวติ ของเมล็ดพนั ธุ์ การหาจานวนต้นต่อพนื้ ที่ปลูกหาไดจ้ าก จานวนตน้ = พืน้ ที่ปลกู ระยะระหวา่ งต้น x ระยะระหว่างแถว เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหสั วิชา 20501 – 2202 หน้า 45

วิธกี ารปลูกพืชไร่ การปลกู พืชไร่สามารถปลูกไดห้ ลายวิธี แบ่งวธิ ีการปลกู พชื ไร่ตามสว่ นขยายพันธไุ์ ด้ ดงั นี้ 1. วธิ ปี ลูกพชื ไร่ด้วยเมล็ด มวี ิธกี ารปลูก ดงั นี้ 1. การหว่าน เป็นวิธีดั้งเดิมท่ีใช้กันมากเหมาะกับพืชไร่ท่ีมีเมล็ดขนาดเล็ก มีการเตรียมดินดี ในการ หว่านจะหว่านเมล็ดให้กระจายเต็มพื้นที่หรือการหว่านให้สม่าเสมอทั่วท้ังแปลง การปลูกโดยวิธีน้ีค่อนข้างง่าย สะดวก ไมย่ งุ่ ยาก ใชแ้ รงงาน และเวลาน้อย แตข่ ้อเสีย คือ ส้นิ เปลืองเมล็ดพันธุ์ มคี วามยุง่ ยากในการดแู ลรักษา โดยเฉพาะการกาจดั วชั พชื พืชทปี่ ลูกโดยการหว่าน ไดแ้ ก่ ถั่วเขยี ว ขา้ วนา ข้าวฟ่าง เปน็ ตน้ 2. การปลูกเป็นแถว เป็นวิธีปลูกพืชไร่ท่ีแนะนาให้ปฏิบัติ เพราะการปฏิบัติดูแลรักษาง่าย สะดวก และยังสามารถควบคุมจานวนต้นที่เหมาะสมต่อไร่ได้ ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องมือท่ีใช้ในการปลูกทาให้การปลูกมี ความสะดวกรวดเร็วย่งิ ขึน้ การปลกู แบบเปน็ แถวสามารถปลกู ได้ 2 วิธี คือ 1. โรยเป็นแถว การปลูกแบบน้ีจะมีระยะระหว่างแถวท่ีแน่นอน แต่ระยะระหว่างต้นไม่ แนน่ อน นิยมปลูกกบั พชื ไร่ทม่ี ีเมล็ดขนาดเล็ก เชน่ ข้าวฟา่ ง งา 2. หลอดเป็นหลุม การปลูกแบบนี้จะมีระยะระหว่างแถว และระหว่างหลมุ ท่ีแน่นอน เหมาะ กับพืชไร่ทมี่ ีเมล็ดขนาดใหญ่ เชน่ ข้าวโพด ถั่วลิสง ถ่วั เหลอื ง เปน็ ต้น เน่ืองจากการปลูกด้วยวิธีโรยเป็นแถว และหยอดเป็นหลุม จะมีการกระจายของพืชสม่าเสมอ ดังน้ัน พืชจึงเจริญเติบโตได้ดี ถูกโรคและแมลงทาอันตรายได้น้อยกว่า ผลผลิตก็ย่อมสูงกว่าการปลูกแบบหว่าน แต่ ค่าใช้จ่ายและแรงงานในการปลูกแบบเป็นแถวจะสูงกว่าแบบหวาน ดังน้ันการจะเลือกปลูกพืชโดยวิธีการใด นอกจากจะข้ึนอย่กู ับชนิดของพชื ไร่แล้วยังตอ้ งคานงึ ถึงทุน แรงงานประกอบด้วย ในการปลูกพืชไร่ด้วยเมล็ดน้ัน หากจะให้พืชขึ้นดีและได้จานวนต้นตามความต้องการจะต้องคานึงถึง ปจั จยั ตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ความลึกในการปลกู โดยท่ัวไปควรปลกู ลกึ ประมาณ 1 – 1.5 เซนตเิ มตร 2) การสัมผัสของเมล็ดกับดิน การหยอดเมล็ดต้องทาให้เมล็ดสัมผัสกับดินมากที่สุดเท่าท่ีจะ ทาได้ แตไ่ ม่ตอ้ งทาให้แนน่ เพราะถา้ ดนิ แน่นจะทาให้หนา้ ดินเปน็ แผ่น ทาใหเ้ มล็ดงอกช้าหรอื ไมง่ อก 3) ระยะปลกู และอตั ราปลกู ท่เี หมาะสม 4) เวลาในการปลูก พืชไร่ส่วนใหญ่ถ้าปลูกช้ากว่าช่วงปลูกที่เหมาะสมแล้ว จะทาให้ผลผลิต ต่าลง 2. วธิ ีการปลกู โดยใช้ส่วนขยายพนั ธุอ์ ืน่ การปลูกพชื ไร่นอกจากการปลูกโดยใช้เมลด็ แลว้ ยงั สามารถปลกู โดยใช้ส่วนขยายพันธ์ุอน่ื ๆ ดังน้ี 1. การปลูกโดยใช้ท่อนพันธุ์ ท่อนพันธ์ุอาจจะตัดมาจากลาต้นโดยตรงหรือท่อนพันธ์ุที่นาไปเพาะชา จนออกรากก่อนนาไปปลกู นิยมปลกู ในอ้อย มนั สาปะหลงั การปลกู อาจใช้แรงงานคนหรือเครื่องปลูก โดยปลูก เปน็ หลุมหรือเปน็ แถวตามระยะปลกู ตามชนิดของพืชไร่ 2. การปลูกโดยการเพาะกล้า พชื ไร่บางชนิดต้องเพาะกลา้ กอ่ นยา้ ยนาไปปลูกในแปลงที่เตรียมไว้ เชน่ ยาสูบ ข้าวนาดา การเตรียมดิน เพ่ือทาแปลงเพาะกล้าต้องเตรียมดินให้ดี ย่อยดินให้ละเอียด กาจัดวัชพืช โรค และแมลง เม่อื กล้าไดข้ นาดแล้วจงึ ย้ายปลกู ลงในแปลงตามระยะปลูกที่กาหนดไว้ตามชนดิ ของพชื ไร่ 3. การปลูกโดยติดตาหรือต้นตอตา เช่น การปลูกยางพารา โดยการติดตาในต้นยางพาราท่ีปลูกด้วย เมล็ด ซึ่งจะติดตามเม่ือกล้ายางพาราอายุได้ 8 เดือน หรือการนาต้นตอที่ติดตาเรียบร้อยแล้วไปปลูกในแปลง ปลกู โดยการขุดหลมุ ทาให้ดนิ ร่วนแลว้ ปลกู ตน้ ต่อตาลงไปใหร้ อยติดตาอยเู่ หนือพ้ืนดิน เอกสารประกอบการเรยี นการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหสั วชิ า 20501 – 2202 หน้า 46

4. การปฏิบตั ิดแู ลรักษาพชื ไร่ หลังจากมีการปลูกพืชไร่เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนที่มีความสาคัญมากท่ีสุดที่ส่งผลต่อผลผลิตท้ังปริมาณ และคุณภาพ คือ การปฏิบัติดูแลรักษา โดยเฉพาะพืชไร่เป็นพืชที่ปลูกในพื้นที่ท่ีมีขนาดใหญ่ ถ้าการปฏิบัติดูแล รักษาไมด่ หี รือไมถ่ ูกวธิ ีจะทาใหก้ ารจัดการไม่ทนั ส่งผลเสียตอ่ ผลผลิต ได้รบั ผลตอบแทนไม่คมุ้ ค่า การปฏิบตั ดิ ูแลรักษาพืชไร่ หมายถงึ การจัดการเก่ียวกับพชื ไร่หลงั การปลูกจนกระท่ังถึงการเก็บเก่ียว เพอื่ ใหพ้ ืชไร่มีการเจริญเติบโตเต็มที่ ผลผลิตสูง ไมไ่ ด้รับอันตรายจากสภาพที่ไม่เหมาะสม การปฏิบัตดิ ูแลรักษา ประกอบด้วย การปลูกซ่อม การถอนแยก การให้น้า การใส่ปุ๋ย การกาจัดวัชพืช การป้องกันกาจัดโรคและ แมลง โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. การปลูกซ่อม เป็นการปลูกพืชทดแทนพืชไร่ที่ปลูกไปแล้วไม่งอกหรืองอกน้อยจนเกินไป ไม่ได้ จานวนตน้ ตามท่ีต้องการ ซง่ึ จะมผี ลกระทบตอ่ ผลผลติ ได้ การปลูกซ่อมต้องปลกู ในระยะเวลาทใี่ กล้เคยี งกับการ ปลูกพืชไร่คร้ังแรก คือ อยู่ในช่วง 3 - 7 วัน หลังจากพืชงอกแล้ว เพ่ือให้ต้นท่ีปลูกซ่อมโตทันกับต้นเดิม เพ่ือ ความสะดวกในการเกบ็ เกย่ี ว 2. การถอนแยก เป็นการนาต้นพืชที่ปลูกเกินจานวนออกจากแปลงให้เหลือจานวนต้นที่เหมาะสมต่อ พ้นื ท่ี หลักในการถอนแยก มีดังน้ี 1. ถอนแยกเฉพาะตน้ ที่แคระแกร็น เหลือต้นที่สมบรู ณ์ไว้ 2. ถอนแยกตน้ ทเ่ี ปน็ โรค ไมแ่ ข็งแรง 3. ถอนแยกในกลมุ่ ทขี่ นึ้ หนาแน่นจนเกินไป 4. ถอนแยกให้เหลอื จานวนตน้ ทีต่ อ้ งการ 3. การใหน้ ้าและการระบายน้า การให้น้าเป็นการนาน้าเข้าสู่แปลงพืชไร่ เพ่ือการเจริญเติบโตของพืช การปลูกพืชไร่ต้องปลูกในขณะ ท่ีดินมีความช้ืนพอเหมาะ คือ ถ้าดินไม่มีความช้ืนหลังปลกู ต้องมีการให้น้าทันที เพราะน้าจะเป็นตวั กระตุ้นการ งอกของเมล็ด หลังจากเมล็ดงอกแล้วพืชยงั มีความต้องการน้าในการเจริญเติบโต เพื่อการให้ผลผลิตท่ีดี อีกพืช ไรแ่ ต่ละชนดิ มคี วามต้องการน้าในปรมิ าณทแี่ ตกตา่ งกัน วธิ ีการให้นา้ สามารถทาไดห้ ลายวิธี ดงั น้ี 1) การให้น้าตามร่อง เป็นการให้น้า โดยปล่อยน้าให้ไหลไปตามร่อง หรือแถวปลูกพืช โดย อาศัยความลาดเทของพื้นที่ นยิ มใช้กบั พื้นที่ปลูกเป็นแถว บนรอ่ งเน้อื ดินละเอยี ดถึงหยาบปานกลาง และอยู่ใน เขตชลประทาน เปน็ วธิ ที นี่ ิยมปฏิบัติกันมาก เพราะลงทนุ น้อย แตม่ ขี ้อเสีย คอื ปรมิ าณน้าที่ใช้ค่อนข้างสูง 2) การให้น้าแบบท่วมแปลง เป็นการปล่อยน้าเข้าท่วมผิวดินในแปลงปลูกทั้งหมด เป็นการ ใช้น้าปริมาณมาก เหมาะกับการเพาะปลูกแบบหว่านหรือโรยเป็นแถว เช่น พวกธัญพืช พืชตระกูลถั่ว เป็น วิธกี ารทสี่ ะดวก เสยี คา่ ใช้จา่ ยนอ้ ย แต่ต้องปรับพนื้ ที่ให้ราบเรียบและมีความลาดเทสม่าเสมอ 3) การให้น้าแบบพ่นฝอย เป็นวิธีการให้น้าในลักษณะที่น้าถูกพ่นฝอยออกจากหัวฉีด เป็น ฝอยปลอ่ ยไปในอากาศ และจะตกลงสพู่ นื้ ดินอยา่ งสม่าเสมอ 4) การให้น้าหยด เป็นการให้น้าแก่พืชท่ีจุดใดจุดหน่ึงหรือหลายหลายจุดในบริเวณรากพืช ซึง่ สามารถให้ได้ท้ังบนผิวดนิ และใต้ดนิ เหมาะกับพ้ืนทมี่ ีปริมาณน้าจากัด 5) การให้น้าหยอด เป็นการหยอดน้าลงไปในดินพร้อมกับการปลูกพืชไร่ เพื่อให้ดินมี ความชืน้ เพยี งพอต่อการงอก การเตรียมดินต้องยอ่ ยพรวนดนิ ให้ละเอียดมีความราบเรียบสมา่ เสมอ เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการผลติ พชื ไร่ รหัสวิชา 20501 – 2202 หนา้ 47


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook