Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หัวจะปวด

หัวจะปวด

Description: หัวจะปวด

Search

Read the Text Version

คำนำ หนังสือเล่มนเี้ ปน็ เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั เกาะอสี เตอร์ (Easter Island) ได้แต่ง และเรยี บเรยี งขนึ้ มาโดยอ้างอิงจากแหล่งเว็บไซตต์ ่าง ๆ เพ่ือเผยแพร่ เร่ืองราวต่าง ๆ บนเกาะอสี เตอรแ์ หง่ น้ี ความลึกลบั ที่เป็นปรศิ นาภายในบนเกาะ โมอายคืออะไร ? ใครเปน็ คนสร้างโมอาย ? โมอายเคลอ่ื นยา้ ยไดอ้ ยา่ งไร ? การล่มสลายของชาวโพลินี เชยี น เร่อื งราวเหล่านี้ต้งั แต่อดตี กาลภายในบนเกาะกย็ ังคงเป็นปริศนาทีไ่ ม่มี ข้อมูลแน่ชดั จวบจนปจั จบุ นั เรยี บเรยี งโดย Sun pt.

สารบัญ 1-3 4-7 I เกาะอสี เตอร์ 8-14 II ชาวเกาะอสิ เตอร์ 15-21 III การสารวจเกาะ 22-26 IV การเกดิ สงคราม 27-46 V Ceremonial and Living 47-55 VI องค์ประกอบโบราณคดี 56-61 VII โมอาย 62-65 IX การเคลอ่ื นยา้ ยโมอาย 66-78 X กองทุนอนุเสาวรีย์ 79-82 XI การอนรุ กั ษ์ บรรณานกุ รม

บทนำ ความลึกลับของเกาะอสิ เตอรน์ นั้ มหี ลายคนใหค้ าตอบไมไ่ ด้ หลายคนคง สงสยั วา่ ทาไมชาวเกาะอสิ เตอร์ถงึ ต้องสร้างโมอายขนาดใหญไ่ ว้ที่น่ี และ เคลือ่ นย้ายรูปปั้นหนิ ขนาดใหญน่ นั้ ไดอ้ ยา่ งไร ทาไมถงึ ชาวเกาะถงึ สญู หาย ทาไมเกาะนถ้ี ึงลึกลบั และหา่ งไกลผูค้ น นักโบราณคดหี ลายคนพยายามหา คาตอบมากมาย ถึงความลกึ ลบั ทแี่ สนน่าพิศวงน้ี แตเ่ พราะความลกึ ลบั ของเกาะน้ที าใหเ้ ป็นที่ดงึ ดูดให้มนี ักทอ่ งเทยี่ วและนกั โบราณคดี เดนิ ทางไปยงั เกาะอีสเตอร์มากมาย ทง้ั ทีเ่ กาะนีแ้ ทบจะไมม่ ีอะไร เลยนอกจากภูเขาหิน ชายหาด และผืนดนิ อันสดุ แสนจะเวิ้งวา้ งว่างเปลา่ ความวา่ งเปลา่ น้ีทง้ั ชวนหลงไหล สวยงาม น่าคน้ หา และนา่ พิศวงในเวลา เดยี วกนั ถือเปน็ อกี หนง่ึ ประติมากรรมโบราณท่มี ีความน่าสนใจ และทุกคน บนโลกกย็ งั ไมส่ ามารถหาคาตอบทแ่ี นช่ ดั ได้

I เกาะอสี เตอร์ (Easter Island) Island)มภี าษาท้องถน่ิ วา่ ราปา นยุ (Rapa Nui) และภาษาสเปนว่า ปสั กวา (Isla de Pascua) โดนักวชิ าการ บางคนนัน้ เชือ่ ว่าแต่เดมิ เกาะอีสเตอร์มชี อ่ื พ้ืนเมืองวา่ Te Pito O Te Henua ซึง่ มคี วามหมาย คอื Navel of The World หรือ “สะดือของโลก” ซ่ึงเปน็ เกาะเลก็ ๆท่ีอยู่กลางมหาสมุทรแป ซฟิ คิ และหา่ งจากชายฝ่งั ประเทศชลิ ปี ระมาณ 3,600 กโิ ลเมตร ขนาดของเกาะน้นั มีพืน้ ทเี่ พียง 160 ตารางกิโลเมตร และมีความยาวเพยี ง 25 กิโลเมตร เกาะอสี เตอรเ์ ป็นมหาสมุทรกงึ่ เขต รอ้ น จะมลี มอยู่ตลอด ในชว่ งฤดใู บไมผ้ ลฤิ ดรู ้อนและฤดูใบไมร้ ว่ ง ชว่ งกันยายนถึงพฤษภาคม ลมคา้ ตะวันออกเฉยี งใต้ เดน่ ในฤดหู นาว ช่วงมถิ ุนายนถึงสิงหาคม พัดมาจากทศิ ตะวนั ตกเฉยี ง เหนือ จากปตี ่อปแี ละ ฝนจะมแี นวโนม้ ตกเป็นหลกั มากกว่าพายุ และบอ่ ยครงั้ ในเดือน พฤษภาคมและมถิ ุนายน The Original Landscape (ทงุ่ หญา้ ทลี่ าดเอียงเบา ๆ และพ้นื ทีป่ า่ เป็นครัง้ คราว) เกาะมปี ฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์กบั สง่ิ แวดลอ้ มมานานหลาย 100 ปี แตก่ ่อนจะปก คลมุ ไปดว้ ยพุ่มไม้และทุ่งหญา้ มีป่าบ้างบางพ้ืนที่ ในพ้ืนที่ร่มของพันธ์ุไมพ้ ื้นเมอื งของเกาะ มตี น้ ปาล์มเฉพาะถิน่ ซึ่งตอนนส้ี ญู พันธุไ์ ปแล้ว เชน่ ปาล์มชิลี , ต้นเดซี่และ hauhauเป็นตน้ ไมเ้ ล็กๆท่ี เปลอื กใช้ทาไฟเบอร์ในการทาเชอื กและอวนจบั ปลา 1

The Arrival of Europeans การมาของชาวยุโรป ในปี ค.ศ. 1722 เมือ่ เจคอบ รอกเกวีน กปั ตันของเรอื ดัตช์ มาถึงเกาะนแ้ี ล้วได้ให้ช่ือ เกาะน้วี า่ เกาะอีสเตอร์ โดยต้งั ใหต้ ามวนั ท่พี วกเขา เดนิ ทางมาถงึ แตท่ ่ีนม่ี สี งิ่ ท่ที าให้นกั เดนิ เรือตะวันตกท่เี ดนิ ทางมาพบในศตวรรษที่ 18 และต้องทงึ่ นน่ั ก็คือ “โมอาย” ซึง่ เปน็ หินแกะสลกั รูปคนขนาดใหญม่ หมึ า โดยพวกเขาไดบ้ ันทกึ ไวเ้ มอื่ ปี ค.ศ.1774 วา่ ทน่ี ี่มกี ารแบง่ ชนเปน็ สองกลุ่มใหญๆ่ คอื กลุ่ม “หสู นั้ ” กับ “หยู าว” ซึ่งมลี ักษณะต่างกันเชน่ ผิวขาว ผม แดง รูปร่างสูงใหญ่ และใบหูยาว คนที่มีลกั ษณะพวกนคี้ อื พวกหูยาว ซงึ่ มีความฉลาดกว่าพวกผิวคลา้ ตวั เล็ก ซงึ่ กค็ อื พวกหูส้ัน โดยพวกหยู าวจะปกครองพวกหูส้นั และสง่ั ใหส้ รา้ งโมอายทห่ี น้าคลา้ ยบรรพ บรุ ุษขนาดมหมึ าไวเ้ ต็มชายหาดเพอื่ บชู า แตต่ อ่ มานั้นพวกหูสั้นกท็ นกดขี่ข่มเหงไม่ไหวกเ็ ลยลุกฮือ ขน้ึ มาโคน่ ลม้ พวกหูยาวได้สาเร็จในปี ค.ศ. 1680ต่อมา มีนักเดนิ ทางสามคนในยโุ รปได้มาสมั ผสั เกาะ คนแรกนา โดยกปั ตันชาวสเปน Gonzalez y Haedo ในปี ค.ศ. 1770 คร้ังทส่ี องคอื สปี่ ีตอ่ มา นาโดยกปั ตันคุก และคน สดุ ท้ายคือ Comte de La จากการสารวจในปี พ.ศ. 2329 กัปตันเจคอบ รอกเกวีน 2

ชาวตะวันตกวนั ตกไม่เชื่อวา่ ชาวเกาะอิสเตอร์ จะสามารถสรา้ ง โมอายไดเ้ ป็น เพราะพวกเขามา พบในชว่ งทต่ี กต่า และละทิ้งโมอายทเี่ คยเป็นที่บชู าไป ซง่ึ ชาวพนื้ เมืองท่ีนีเ่ ป็นกลมุ่ ยอ่ ย โดยคาดวา่ นา่ จะ เดินทางมาตั้งรกรากทเี่ กาะอสี เตอรม์ านานนบั พนั ปี ได้มีการพโบราณวตั ถเุ กา่ แก่ทสี่ ดุ ซึง่ มอี ายุอย่ใู นช่วง ศตวรรษที่ 8-9 และจากหลกั ฐานทางโบราณคดพี บว่า ผูต้ ง้ั ถ่นิ ฐานกล่มุ แรก ๆ นา่ จะมาพรอ้ มกบั เทคโนโลยีการก่อสร้างดว้ ยหนิ ท่กี ้าวหน้า และน่าจะ เดนิ ทางมายงั เกาะแห่งนี้โดยวางแผนไว้ มากกวา่ จะเปน็ ข้อสนั นษิ ฐานท่ีวา่ ชาวเกาะกลุ่มแรกคือ ชาวประมงที่จะบงั เอญิ ถกู กระแสนา้ พดั พามาตดิ เกาะ “เราคดิ ไมอ่ อกจรงิ ๆ ว่า ชาวเกาะทแี่ ทบไมร่ จู้ กั เครื่องมือทนุ่ แรงจะยก รปู สลกั หนิ ขนาดมหมึ าเชน่ นไี้ ดอ้ ยา่ งไร” นเ่ี ปน็ การจดบันทกึ ของ กัปตันเจมส์ คุก ซ่งึ เป็นนกั เดินเรือชาวองั กฤษ 3

II ชาวเกาะอิสเตอร์ นักโบราณคดสี มัยใหมไ่ ดเ้ ขา้ ไปสัมภาษณ์คนเก่าเเกบ่ นเกาะท่ี เหลอื อย่บู นเกาะ เเละอา่ นการจดบนั ทึกของกปั ตนั จาค็อบ รอกเกวีน ชาวดัชต์ และชาวยโุ รปคนเเรกท่มี าถึงเกาะน้ี เเละรวมของกปั ตนั เจมส์ คุก สนั นฐิ านวา่ ชนเผ่าเเรกทมี่ าอย่เู ปน็ ชาว โพลินีเซยี น เพราะมคี วามชานาญใน การสร้างเรือ เเละเดินเรือ เเละยงั นาทางในทะเลเปิด ตอ่ มาในปี 1994 พบ DNA พบโครงกระดกู บนเกาะอสี เตอร์ 12 ช้นิ ยนื ยันเเล้วว่าเปน็ ชาวโพลนิ เี ซียน ชาวโพลนิ ีเซียนกล่มุ เเรก มาต้ังถิ่นฐาน ใน ค.ศ. 400 - 700 Bc. 4

ช่วงเวลาทางประวตั ิศาสตร์ ตามตานานเกาะอสี เตอรเ์ มอื่ ประมาน 1,500 ปที เ่ี เลว้ หวั หนา้ ชาวโพลนิ เี ซยี ม ชื่อวา่ Hotu Matu’a (พ่อเเม่ผู้ย่ิงใหญ่) ล่องเรอื ด้วยเรอื เเคนคู จู่ ากเกาะ polynesian พร้อม ครอบครัว อาหาร พชื และสัตว์ เขาอาจจะเปน็ นักเดนิ เรอื ทม่ี องหาท่อี ยใู่ หม่ หรอื หนีจาก สงคราม เเละมาเจอเกาะอสี เตอรท์ ่ีหาดอนาเคนา ปลายเเผ่นดิน เปน็ ช่อื เเรกของเกาะบน Rapa Nui 5

ชาวเมลาเซยี น 5,500 คน เดินทางโดยเรอื ไปทางทศิ ตะวนั ตก ถึงเกาะตาฮิติ และหมเู่ กาะมารเ์ คซสั ในปี ค.ศ. 300 เรอื แคนูไดเ้ ดินทางไปถึงเกาะเพ่อื ไปอยู่ บนเกาะอิสเตอร์ อยใู่ นช่วงเวลา ค.ศ. 400 ปี ก็คือ ชาวโพลินีเซียน 6

การท่ี Hotu Matu’a นาเมล็ดพชื และสตั ว์ ทาใหร้ อดตายกบั การมอี าหารกินบนเกาะ และพืชท่ี นามาดว้ ย คอื คุมาระ มนั เทศ มี 25 สายพนั ธุ์ ท่ีมอี ยูท่ ่วั ไปบนเกาะคือ มะระ, ไมกา้ , กล้วย, ออ้ ย, ว่านหาง จระเขท้ ม่ี เี หงา้ หวานปรุงสุกได้ และใบของมนั ใหส้ ีที่ใช้ในการสัก และปัวขม้ิน ซึ่งเปน็ ต้นไม้ทใี่ หส้ ยี ้อม ทีแ่ นะนา คือหม่อนกระดาษ ซง่ึ เป็นเปลอื กทอทาปา สามารถใชเ้ ป็นแฟชัน่ ได้ มาริครุ ุ ผลของมันทใี่ ชเ้ ปน็ สบไู่ ด้ เพราะมนั ประกอบดว้ ยซาโปนิน มะโกะ หรอื เรียกอกี อยา่ งว่าโอเชยี เนยี โรสวูด ซ่งึ เป็นไม้ทใี่ ชส้ าหรบั แกะสลกั และยงั มีไม้ จนั ทน์ แต่ปจั จบุ ันไมม่ แี ล้วบนเกาะ ยกเวน้ พืชท่ีปลกู คมุ มะระเผอื ก, ไมก้า และโทอา ประชากรของชาวโพลินีเซยี ม ในศตวรรษที่ 19 เปน็ จุดเริม่ ตน้ ของยุคหายนะของชาวโพลนิ ีเซยี มเตอร์และวฒั นธรรมของพวกเขา ใน ตอนนัน้ เกิดจากการบกุ เกาะเพือ่ จบั คนบนเกาะประมาน 500 คน หนึง่ ในนน้ั มีหวั หน้า ลูกชาย และคนที่มี ความรูไ้ ปขายเปน็ ทาสทเ่ี ปรู ตอ่ มาเกดิ การสรู้ บภายในเกาะ และเกดิ เป็นโรคระบาด ทาใหเ้ หลอื ชาวเกาะอิส เตอร์ รอดมาเเค่ 110 คนเทา่ น้ัน 7

III การสารวจเกาะ ในปี ค.ศ. 1957 มกี าร พิมพจ์ า หน่ายหนังสอื ของ “ธอร์ เฮเยอร์ ดาหล์ ” เปน็ หนังสอื เก่ยี วกบั การสารวจของ เขา โดยใช้ชอ่ื หนังสือ เป็นภาษาพ้นื เมืองว่า “อากู-อากู” 8

หนังสอื รถทงขององคพ์ ระเจา้ เขยี นโดยเอรคิ ฟอน ดานเิ กน้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1960 มกี าร จัดพมิ พ์หนงั สอื เลม่ หนงึ่ ชือ่ วา่ “รถทรงของ องค์พระเจ้า” (Chariots of the Gods) เขยี นโดย “เอริค ฟอน ดานิเก้น” เป็นนกั ลึกลบั ศาสตร์ ดานเิ กน้ กล่าววา่ รูปสลักหนิ ขนาดสงู 30 ฟุต และหนัก 30 ตนั เกนิ กาลงั ของชาวโพลินีเซยี นทจี่ ะสามารถสลักขนึ้ มาได้ดว้ ยเครื่องมอื แบบง่าย ๆ และ หนิ ทีใ่ ชส้ ลกั น้นั ก็มคี วามแขง็ นอกจากนชี้ าวโพลินเี ซียนไปแกะสลกั หนิ จากที่ ภเู ขาไฟหา่ งเข้าไปในตัวเกาะ และลากรปู สลักหนิ ขนาดใหญไ่ ด้อยา่ งไรในเม่ือ พวกเขาไม่รจู้ กั การใช้ลอ้ เลือ่ นเลย ดานเิ ก้นจึงสรปุ ขน้ึ มาวา่ ผ้ทู ม่ี าสรา้ งรปู สลกั หินขนาดใหญ่นขี้ น้ึ มา คือมนุษย์ตา่ งดาวท่ีเดินทางมาจากโลกอ่ืน และแวะลงพักที่เกาะนี้ชว่ั คราว ด้วยจุดประสงค์บางอยา่ ง กเ็ ลยใชเ้ วลาวา่ งแกะสลกั หนิ ด้วยเครอ่ื งมอื ทคี่ มจน สามารถตัดหนิ ไดเ้ หมือนใชม้ ีดตัดเนย เมือ่ ยานอวกาศมารับพวกเขา 9

มนุษยต์ ่างดาวจงึ ทิ้งรูปสลกั หนิ ทสี่ ลกั ไวเ้ ล่น ๆ ยามวา่ งไว้แล้วพากนั ข้ึนยานกลับสดู่ าวของตน มีหลกั ฐานสาคัญบางประการที่ดานิเก้น ใชอ้ ้างถึงการยนื ยนั เรื่อง มนุษย์ตา่ งดาว เปน็ หลักฐานที่มาจากตานานของคนพน้ื เมอื งภายในเกาะ คือ คนพ้นื เมอื งในเกาะมีตานานของมนษุ ยป์ กั ษี (Birdman) ชาวเกาะเชื่อวา่ บรรพชนในอดีตของพวกเขาสามารถบนิ ไดใ้ นอากาศเหมือนนก แต่ เนือ่ งจากวา่ อารยะธรรมของชาวเกาะไดส้ ญู ไปเกือบหมด เพราะการทาลาย ล้างของนักเดนิ เรอื ผวิ ขาว ทาใหด้ านิเก้น สรปุ เอาว่าบรรพชนที่บนิ ได้เหมือน นกของชาวเกาะคือ มนษุ ยต์ ่างดาว Birdman Motifs at Orongo Mata Ngarau, Orongo Painted Slab from Orongo 10

หลกั ฐานอกี ประการท่ี “ดานเิ ก้น” พบก็คอื ภายในบนเกาะนน้ั มี ร่องรอยของถนนสายใหญล่ าดลงไปตกทะเล ซงึ่ แสดงวา่ พ้นื ทบ่ี างสว่ นของ เกาะน้นั จมหายลงไปในทะเลด้วย คานิเก้น บอกวา่ ถนนสายนแ้ี หละทมี่ นุษย์ ต่างดาวสร้างขึน้ มาไวเ้ พ่อื อานวยความสะดวกในการพกั อยู่ชั่วคราว กบั แผน่ ดินเหนยี วจารึกทมี่ ีอกั ขระที่ไม่มีผใู้ ดอ่านออก และคิดว่านา่ จะเป็นฝมี ือ ของมนษุ ยต์ ่างดาว เปน็ เรื่องท่นี า่ แปลกใจท่ีคนสารวจเกาะอย่างถี่ถ้วน และเขียน หนงั สอื ไว้กอ่ นหน้าอย่างธอร์ เฮเยอรด์ าหล์ กลับไมโ่ ตต้ อบหรอื ออกมาปฏิเสธ แนวคิดของคาดเิ ก้น ทาให้นักวิชาการหลายคนถึงกับออกมาพูดโตต้ อบแทน อย่าง ดร.คลิฟฟอรด์ วลิ สนั นักโบราณคดใี หญ่แหง่ มหาวิทยาลยั เซาธ์ แคโรไล นา กลา่ วว่าข้ออา้ งที่เกีย่ วกบั มนุษย์ตา่ งดาวทีเ่ ดนิ ทางมาเยือนบนเกาะอี สเตอร์นน้ั สามารถไขปญั หาเหลา่ นไ้ี ดง้ ่าย ๆ ดว้ ยวิชาโบราณคดเี ท่านนั้ นอกจากน้ี ในปี ค.ศ. 1976 ยงั มนี ักวชิ าการอีกคนชอ่ื โรแนลด์ สตอ ร่ี ทีอ่ อกมาเขยี นโตแ้ ย้งแนวคิดของดานิเก้น และเรียกรอ้ งให้ธอร์ เฮเยอร์ ดาห์ล ออกมาแถลงขอ้ เทจ็ จริงเกย่ี วกับความลบั ของรูปสลักหิน เฮเยอร์ดาหล์ คดิ อยู่นานจึงตัดสนิ ใจตกลงเขยี นสรุปการสารวจความลบั บนเกาะอสี เตอร์ ออกมาใหป้ ระชาชนรบั รู้ เฮเยอรด์ าห์ลบอกวา่ เทา่ ทไี่ ปอาศยั คลุกคลอี ยู่กบั ชาวเกาะเปน็ เวลานาน 6 เดอื นนัน้ เขาไดร้ คู้ วามลบั เบอื้ งหลังของรูปสลกั หนิ วา่ อายขุ องรปู สลักหินเหลา่ นี้นัน้ ไม่ไดม้ ีอายุเกา่ แก่อย่างทีเ่ ข้าใจกนั โดย สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 สมยั คอื สมยั แรกทเ่ี ริ่มแกะสลักหินเปน็ หนา้ คนน้ัน เรม่ิ ขึน้ คร้ังแรกในปี ค.ศ. 300 หรือราวหนึ่งพนั เจ็ดร้อยปเี สษมาแลว้ เป็นรปู ปนั้ สลกั หนิ ทมี่ ขนาดไม่ 11

ใหญ่มากนกั สนั นิษฐานว่าชาวพ้ืนเมืองในสมยั นัน้ ยงั ไม่มีความรคู้ วามสามารถ เทา่ ที่ควร สมัยต่อมาในปี ค.ศ. 1100 รปู ป้นั แกะสลักหินเรมิ่ มขี นาดใหญแ่ ละ มีน้าหนกั มากยิง่ ขึน้ ซึ่งแสดงถึงช่างในสมัยนัน้ เรมิ่ มคี วามรคู้ วามสามารถมาก ขน้ึ เพราะว่ารูปปน้ั แกะสลักหนิ บางรูปนัน้ มรี ปู รา่ งสงู ถงึ 32 ฟตุ หนกั 32 ตนั และในสมยั สดุ ทา้ ย การแกะสลกั หนิ นน้ั ไดเ้ ปลยี่ นไปเปน็ การ แกะสลกั เรือ่ งราวของมนุษย์ปกั ษที ่ีเป็นบรรพชนในอดตี กาลของพวกชนชาว พืน้ เมืองในอดีตกาล จนถงึ ปี ค.ศ. 1680 พวกหูส้ัน ได้ตกเปน็ เบ้ยี ล่างสลกั รปู เคารพใหแ้ ก่พวกหยู าว จากนน้ั พวกหสู ัน้ ไดท้ าการรัฐประหารพวกหยู าว สาเรจ็ และไดเ้ ลิกสลกั รูปเคารพตงั้ แต่บัดน้ันเป็นต้นมา เฮเยอรด์ าหล์ ไดถ้ ามหวั หน้าชาวเกาะวา่ คนโบราณขนรูปสลกั หนิ จากภเู ขากลางเกาะลงมาสชู่ ายฝัง่ ไดอ้ ย่างไร หัวหนา้ ชาวเกาะตอบมาวา่ “มัน เดินมาเอง !” โดยฮเยอรด์ าหล์ เชอื่ เหมือนกันวา่ รูปสลกั หินไดเ้ ดินลงมาจากภูเขา แต่ไมไ่ ด้เดินลงมาดว้ ยตัวเอง แต่เดนิ ลงมาไดด้ ว้ ยการใชแ้ รงชักลากของชาว เกาะโบราณ ฮเยอรด์ าหล์ ไดท้ ดลองดูแลว้ ก็เห็นวา่ ไมจ่ าเป็นต้องใช้คนจานวน เปน็ พันหรอื มากมายอยา่ งท่ีดานเิ กน้ ประมาณเอาไว้ แต่ใช้คนแค่ประมาณ 500 คนกม็ จี านวนเหลือเฟือท่จี ะใชส้ าหรบั ชกั ลากรูปสลกั หินลงมาทชี่ ายหาด ท่ไี ด้ทาทางลาดรอเอาไว้ก่อนแล้ว โดยใชอ้ าศยั ทางลาดน้ันเขน็ รูปสลกั หินทม่ี า จากภเู ขา 12

และถนนสายนไ้ี ด้ตอบปญั หาของดานเิ กน้ ทว่ี า่ มีถนนไว้เพอื่ อานวย ความสะดวกของมนษุ ยต์ ่างดาว แทจ้ ริงแลว้ น้นั มไี วเ้ พื่อเขน็ รูปสลักหนิ เทา่ นั้น เฮเยอรด์ าหล์ ยงั บอกอีกวา่ ถ้ามนษุ ยต์ ่างดาวเป็นผู้สร้างรูปสลักหิน เอาไว้จรงิ ๆ ทาไมจงึ ไมท่ ้งิ เครอื่ งมอื ที่แสดงถึงความเจรญิ เอาไว้ เชน่ โลหะ หรือพลาสตกิ ในสว่ นของตานานมนษุ ยป์ กั ษีน้นั เฮเยอรด์ าหล์ บอกว่ามนั เป็นเร่ือง ของขนบธรรมเนยี มดง้ั เดมิ ของชาวเกาะในอดีตท่ีจะให้คนทจ่ี ะเปน็ หวั หนา้ ชาวเกาะแสดงความสามารถดว้ ยการไตข่ ้ึนไปบนยอดผารมิ ทะเลแลว้ กระโดด รอ่ นลงมาลงสู่ที่ต่า ระหวา่ งที่กระโดดรอ่ นลงมานั้นกต็ ้องฉกหยิบไขข่ องนก ทะเลท่ที ารังบนชะงอนผาใหไ้ ด้ แลว้ ตกลงสู่น้าทะเลและดาลงไป ถ้าหากใคร โผลเ่ หนือน้าข้ึนมาไดโ้ ดยปลอดภยั ก็สมควรทจ่ี ะรบั ไว้เปน็ หัวหนา้ ของชาว เกาะได้ 13

เฮเยอร์ดาหล์ ยืนยันอกี อยา่ งประการอย่างหนกั แน่นวา่ หนิ ท่ีใชส้ ลกั รปู หน้าคนน้นั ไม่ได้แขง็ อยา่ งท่ีคดิ เพราะมันเปน็ หินภเู ขาไฟท่ีเกดิ จากการทบั ถมของขี้เถ้าจากปล่องภเู ขาไฟ ถา้ นาหินไปชุบนา้ ให้เปยี กก็จะสามารถ แกะสลักได้อยา่ งง่ายดาย เฮเยอรด์ าห์ลเคยขอให้หัวหน้าชาวเกาะสลักหินให้ ตวั เขาเองดู ปรากฏว่าใชค้ นเพยี ง 6 คนแกะสลกั หินดว้ ยขวานโบราณก็เสร็จ ภายในเวลาไมถ่ ึงเดอื นเท่าน้นั ทาใหส้ ามารถแกต้ า่ งแนวคดิ ของดานเิ ก้นได้ทกุ ขอ้ แบบหงายหน้า ทั้งในแงข่ อง 14

IV การเกิดสงคราม กำรหาข้อเท็จจริงในอดีตของเกาะอีสเตอร์ ทาใหน้ ักวจิ ยั หลายคนมองว่าเปน็ ปริศนา ต้งั แต่ 1.ความหมายของอนุสาวรีย์ 2.สาเหตขุ องการปะทุของสงคราม 3.การลม่ สลายทางวฒั นธรรมนบั พันปี นอกเหนอื จากประเพณปี ากเปล่าแล้ว ไมม่ บี นั ทึกทางประวัตศิ าสตรก์ ่อนทเ่ี รอื ยโุ รปลาแรกจะมาถึง แตห่ ลักฐานจากหลายแขนง เชน่ การขุดกระดูกและอาวธุ การศึกษาซากดกึ ดาบรรพ์ และการวเิ คราะหก์ าร เปลีย่ นแปลงโวหารในรูปปัน้ และภาพสกดั หิน ก่อให้เกิดภาพของเคร่อื งประดับ สาหรับหัวหนา้ นักบวช และสายเลอื ดของชนชัน้ สูง 15

ทาใหเ้ กิดการร่างภาพทางประวตั ศิ าตรข์ นึ้ มาคร่าว ๆ ผคู้ นท่ตี ง้ั ถน่ิ ฐานบน เกาะพบว่าเกาะแหง่ นคี้ รอบคลุมดว้ ยต้นไม้ โดยเฉพาะปาล์ม ทรพั ยากรอนั มีคา่ ในการ ทาเรอื แคนู และมปี ระโยชน์ในการขนสง่ โมอายในทสี่ ดุ พวกเขานาพชื และสัตวม์ าดว้ ย เพอื่ เปน็ อาหาร แมว้ า่ มีสตั ว์เพียงนอ้ ยนดิ ที่รอดชวี ิตคือไก่แ ะหนูโพลนิ เี ซียนตัวเลก็ ประเพณที างศลิ ปะทโ่ี ดดเด่ียว ชาวเกาะจานวนมากจากเผ่าวรรณะล่างไดร้ บั สถานะเปน็ ปรมาจารย์ชา่ งแกะสลกั นกั ดานา้ ช่างพายเรือแคนู หรอื สมาชิกของสมาคม ช่างฝมี ืออืน่ ๆ Georgia Lee นกั โบราณคดี ใชเ้ วลาถงึ 6 ปใี นการบนั ทึกภาพสกดั หิน ของเกาะ พบว่าสงิ่ เหล่านน้ี า่ ท่งึ พอๆ กับโมอาย “There’s nothing like it in Polynesia,” เธอกล่าวถงึ ศิลปะหินช้ินนี้ 16

“The size, scope, beauty of designs and workmanship is extraordinary.” ในบางชว่ งของประวตั ิศาสตรข์ องเกาะ เมอื่ ทั้งศิลปะและ จานวนประชากรเพ่มิ ข้นึ ทรัพยากรของเกาะถกู เก็บภาษมี ากเกนิ ไป ตน้ ไม้ ถูกโคน่ มากเกนิ ไป “Without trees you’ve got no canoes,” Pakarati กล่าว “Without canoes you’ve got no fish, so I think people were already starving when they were carving these statues. The early moai were thinner, but these last statues have great curved bellies. What you reflect in your idols is an ideal, so when everybody’s hungry, you make them fat, and big.” เม่ือทรัพยากรเกาะแห่งนี้ร่อยหรอ Pakarati คาดเดาว่า พวกเขา โยนรูปเคารพลงและเริ่มฆา่ กนั เอง ในบางชว่ งของประวัติศาสตรข์ องเกาะ 17

เมือ่ ทัง้ ศลิ ปะและจานวนประชากรเพ่มิ ขึ้น ทรัพยากรของเกาะก็ รอ่ ยหรอ ต้นไม้ถูกโคน่ มากเกนิ ไป “ไมม่ ตี น้ ไม้ คณุ กไ็ มม่ ีเรือแคนู” ปการตี กล่าว “หากไม่มเี รอื แคนู คณุ ก็จะไมม่ ีปลา ฉนั คิดวา่ ผูค้ นหวิ โหยแล้วตอนที่ แกะสลักรูปปัน้ เหล่าน้ี โมอายยคุ แรกน้ันบางกว่า แตร่ ูปปัน้ สดุ ทา้ ยเหล่านีม้ ี ทอ้ งโค้งมหึมา สงิ่ ท่ีคุณสะทอ้ นถึงไอดอลในอุดมคตขิ องคุณ ดังนั้นเมอื่ ทุกคน หิว คุณทาให้พวกเขาอ้วนและตัวใหญ่” ชาวเกาะอสี เตอรใ์ ชไ้ ม้ชนดิ นไ้ี ปเร่ือยโดยไม่ไดค้ านึงถึงอนาคต ไม้สาคญั นี้ ก็ค่อยๆ หมดไปจากเกาะ เมอื่ ไมม่ ปี า่ ไมผ้ ิวดนิ ก็เสอื่ มความอดุ มสมบรู ณ์ การ เพาะปลูกตน้ ไมก้ ็ปลกู ไมไ่ ด้ สตั ว์ป่าก็ค่อยๆ หมดไปจากการลา่ ของมนษุ ยแ์ ละ การไรถ้ ิ่นทอ่ี ยู่อาศยั 18

ทส่ี าคัญเมือ่ ไมเ่ หลอื ไม้ให้ใช้อีกต่อไป เช้ือเพลงิ ก็ไมเ่ หลอื ชาวบ้าน ตอ้ งเปลี่ยนพธิ ีกรรมในการทาศพ จากการเผาเลยต้องเปลยี่ นมาเป็นการทา มมั ม่ี การขาดแคลนไมย้ งั ทาให้ชาวบา้ นไมม่ วี ตั ถุดบิ ไว้ทาเรอื แคนู เมอ่ื ไมม่ ีเรอื กไ็ ม่สามารถออกหาปลาได้ เมอ่ื แหลง่ อาหารบนเกาะรอ่ ยหรอก็นาไปส่คู วาม ขดั แย้ง และภาวะขาดแคลนอาหาร จนทาให้จานวนประชากรลดลงอยา่ ง รวดเรว็ และอาจ เกดิ สภาพที่ “คนตอ้ งกนิ คน” ด้วยกันเอง นกั โบราณคดีบาง คนชี้ไปที่ชนั้ ดินใต้ผวิ ดินทีม่ หี อกออบซิเดียนจานวนมากซึ่งเปน็ สญั ลกั ษณก์ าร ทาสงครามกะทันหนั ของชาวเกาะ เพราะเหตุนี้ นักมานษุ ยวิทยานติ ิ วิทยาศาสตรข์ องสภาบัน Smithsonian Douglas Owsley ได้ศึกษากระดกู ของคนประมาณ 600 คนจากเกาะนี้ พบรอ่ งรอยของบาดแผลมากมาย เชน่ การถกู กระแทกท่ใี บหนา้ และศีรษะ แตเ่ พยี งสว่ นน้อยเท่าน้ันทอ่ี าการบาดเจบ็ รุกรามจนทาให้บคุ คลนัน้ ถึงแก่ชีวิต เนือ่ งด้วยเหตผุ ลนี้ \"โมอาย\" กเ็ ป็นหลักฐานสาคัญ 19

“โมอาย” เองก็เปน็ หลกั ฐานสาคญั ของปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ข้นึ เบื้องตน้ มนั ถกู สรา้ งขึ้นด้วยความเคารพ การท่มี นั ถกู สร้างให้ใหญ่ข้นึ เร่อื ย ๆ อาจแสดงถึงภาวะความยากลาบากของคนบนเกาะ ท่ไี ม่มีแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติ พวกเขา ภาวนาให้เทพเจ้าพอใจและดลบันดาลใหพ้ วก เขามีความเป็นอยทู่ ่ีดี ไมแ่ ร้นแคน้ อยา่ งทเ่ี ป็นอยู่ จงึ สร้างรปู สลักถวายใหใ้ หญ่ ยิ่งข้ึนเรอ่ื ยๆ แตย่ ิ่งทาใหม้ ันใหญ่โตแคไ่ หนกไ็ มไ่ ด้ชว่ ยให้พวกเขามคี วาม เปน็ อยทู่ ีด่ ีขนึ้ พวกมนั จงึ ถูกชาวบ้านละทิ้งหรือล้มทาลายดว้ ยความโกรธแคน้ โดยพวกเขาอาจไมไ่ ด้คานงึ เลยว่า ความยากลาบากของพวกเขาเกิดข้นึ มา จากการใชท้ รัพยากรธรรมชาตเิ ยอะมากจนเกนิ ไป ไมร่ กั ษาแถมยงั ทาลาย จน พวกเขาลมื ไปแลว้ หรือวา่ แทนที่พวกเขาจะนาเวลาไปสร้างโมอายมาถวาย เทพเจา้ เปลยี่ นมาเป็นช่วยกันอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตทิ ี่พวกเขามอี ยู่ เพ่ือ ชว่ ยเพมิ่ พูนทรัพยากรป่าไม้ของพวกเขา ให้ดกี ว่าเดมิ ยิ่งขนึ้ ไป 20

ท้ังน้ี การมาถึงของชาวตะวันตกก็มีสว่ นทาใหป้ ระชากรในเกาะย่ิง ยากลาบากแยย่ ิ่งข้ึนไปอกี การสารวจโดยสเปนในปี 1770 พบประชากรราว 3,000 คน และก่อนหนา้ ท่ี เจมส์ คุก เดินทางมาถึงในปี 1774 กน็ า่ จะเกิด สงครามภายในครง้ั ใหญ่ โดยเขาบนั ทกึ ว่ามีประชากรเหลือเพยี งชายราว 600-700 คน และผู้หญิงเพียง 30 คน ซ่งึ ตอนนน้ั ชาวบา้ นกเ็ ลิกนับถอื รูปปน้ั ยกั ษไ์ ปแลว้ หลงั จากนัน้ ประชากรบนเกาะเริม่ ฟนื้ ตัวข้นึ มา โดยในปี 1862 มี ประชากรบนเกาะราว 3,000 คน แตก่ ารบกุ เกาะเพอ่ื จบั ตวั ชาวบ้านไปขาย เป็นทาสและการมาถึงของโรคฝดี าษ ก็ทาใหจ้ านวนประชากรบนเกาะลดลง เหลอื เพียง 111 คน เมื่อปี 1877 21

V Ceremonial and Living Centers 22

หัวใจของพธิ ีการจะมีศนู ย์กลาง คือแท่นบูชาหินใหญ่หรืออาฮู ซึง่ ไดอ้ ทุ ิศให้กับบรรพบรุ ษุ ที่ใช้ บอ่ ยครงั้ ท่ี Ahu โมอายทีเ่ ป็นตัวแทนของบรรพบรุ ุษ การประชุมหรอื พิธกี รรม เช่น เป็นพธิ ีปฐมนิเทศ ชมุ นมุ และงานเลีย้ งใหญเ่ พ่ือแจกจ่ายพืชผลและอาหาร มกั จะถูกจัดขน้ึ ต่อหน้าอาฮูและที่ด้านหนา้ ของรูปปัน้ ระหวา่ งงานศพพิธกี รรม ศพจะถกู ห่อด้วยผ้าตะปะท่ีถูกสวมอาฮู จนกระท่งั มนั สลายตวั เมื่อกระดกู ถกู ลา้ ง และฝังอย่างระมัดระวังภายในโครงสร้าง Ahu ในโพรงหนิ (avanga) บา้ นของขนุ นางท่ีตัง้ อยู่ใกล้อาฮซู ึง่ สว่ นใหญอ่ ยูบ่ รเิ วณฝงั่ ใน 23

ซึ่งประเพณที ่ีชนเผ่าใการประมงนา้ ลกึ แสดงใหเ้ ห็นถงึ การเปลย่ี นแปลงจากใต้ ท้องทะเลลกึ การตกปลาบริเวณชายฝัง่ ท่ีมหี ลายวิธี พบวา่ มีใช้ตะขอเก่ยี วปลาเป็นหลักใน การตกปลาแถวชายฝ่งั ในที่น้าต้นื และบนชายฝ่งั ทางใต้ใชแ้ หในการจับปลา 24

The Evolution of theCulture Culture ววิ ัฒนำกำรของวัฒนธรรม ประมาณ 300 ปีก่อน สร้างศนู ยพ์ ธิ ีสาคัญคร้งั แรกบนเกาะ คอื ศูนยก์ ลางที่ตาไฮ และวินาปู มีอายปุ ระมาณ ค.ศ. 700 เช่นเดียวกบั โมอายส่วนใหญ่บนเกาะ รปู ปนั้ บนอาฮเู หล่าน้ถี ูกแกะสลกั ท่ี เหมืองราโนราราคุ จากผผู้เชยี่ วชาญการแกะสลัก tangata เมารี องั กา โมอาย มาเอ ซ่ึงหยิบหินบะซอลหรือสว่ิ (โทกิ)มาทาเป็นหลกั เพอ่ื ให้รายละเอยี ดของรูปป้นั เกือบทั้งหมด ถูกแกะสลกั ดว้ ยหินทยี่ ังคงอยู่ในเหมืองหินและได้มกี ารนาออกมาทาโมอาย 25

Paro ที่ Ahu Te Pito te Kura ซงึ่ สงู ประมาณ 10 เมตร และหนกั ประมาณ 80 ตัน รปู ป้นั ท่ีใหญท่ ่สี ุดที่เหลอื อยูใ่ นเหมืองหินมาตรการใกลก้ บั 22 เมตรและนา้ หนักประมาณ 250 ตนั หลงั จาก ทีเ่ ป็นยืนอยู่บนอาฮขู องพวกเขา บางรูปปน้ั ไดร้ ับ topknot (pukao) บนหวั ของพวกเขา pukao ถูกแกะสลกั จากสกอเรียสแี ดงของภเู ขาไฟปนู าเปามีนา้ หนกั ากถงึ 10 ตนั เปน็ ตวั แทนของ ชาวเกาะ ยอ้ มผมด้วยดินแดง และมดั บนหัว ไดต้ ดิ รปู ปัน้ บางส่วนไวด้ ว้ ยดวงตาเป็นสมั ผัสสุดท้าย ทไี่ ดจ้ าก ปะการงั สขี าวกบั สกอเรยี สีแดงหรอื สีดา การออกรูปปัน้ มีการพัฒนามากขน้ึ และรปู ปน้ั มขี นาดใหญ่ขนึ้ เรอ่ื ย ๆ ซึง่ ขนาดของรปู ปน้ั แสดงถงึ พลงั ของชนเผา่ น้นั ๆ ระหว่างช่วงในศตวรรษท่ี 11 – 17 กาลงั คนท่เี พม่ิ ข้ึนอย่าง ตอ่ เนอื่ งทาให้ทรัพยากรธรรมชาตขิ องพวกเขาไม่เพียงพอต่อการดารงอยู่อกี ต่อไประบบเศรษฐกจิ . 26

VI องค์ประกอบโบราณคดี Gonzalo Figueroa G.-H. อธบิ ายถึงองคป์ ระกอบทางโบราณคดีทส่ี าคัญทสี่ ุดของ เกาะอีสเตอร์ ท่ีไดร้ ับการดัดแปลงจาก คู่มือภาคสนามโบราณคดี, ราปานยุ อุทยานแหง่ ชาติ, และเผยแพรโ่ ดย CONAF กระทรวงเกษตร สาธารณรฐั ชิลี ข้อมูลถกู จดั ทาและแกไ้ ขโดย เจ้าหน้าท่ีวชิ าการของสถาบนั ศึกษาเกาะอสี เตอร์ (Instituto de Estudios Isla de Pascua) ของมหาวทิ ยาลัยชลิ ี ภาพประกอบโดย R. Forster M. ข้อความและภาพวาดถูกพมิ พใ์ หม่ โดยได้รบั อนญุ าตจาก CONAF 27

I. Ahu อาฮเู ปน็ ประเพณีและพธิ ีฝังศพ ท่ีซงึ่ บรรพชนไดร้ ับการบูชา พวกเขาเชอื่ ว่า เปน็ สถานทีศ่ ักดสิ์ ิทธิ์ท่ีค้มุ ครองโดยทาทู องคป์ ระกอบทส่ี าคัญของอาฮู คือ แพลตฟอรม์ สี่เหลยี่ ม ยกระดบั ค่ันดว้ ยบล็อกขนาดใหญท่ ที่ าให้เป็นรปู เปน็ รา่ ง หนิ ที่ใช้กอ้ นหนิ กรวดและดนิ ส่วนบนจะแบนราบ และถกู ปหู รอื ขึงไว้ จะเกีย่ วข้องกพั ลาซา่ ดา้ นหนา้ อาฮู โดยทว่ั ไปแลว้ อาฮูจะต้งั อยู่บนชายฝั่ง บางคร้ังการ สรา้ งอาฮู เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ โครงสรา้ งทเ่ี กา่ แกท่ ่สี ดุ ของสงิ่ นี้ ไดถ้ ูกบันทกึ ลงไปในในศตวรรษท่ี 8 โครงสร้างเหลา่ นีเ้ ป็นศูนยก์ ลางทางการเมอื งของชนเผา่ ต่างๆ เปรียบไดเ้ หมอื นเปน็ มาแร ในภาค กลางและตะวันออกของชาวโพลนี เี ซยี อาฮูพัฒนาขนึ้ ในชว่ งเวลามากกว่าพนั ปี สร้างข้นึ ด้วยองคป์ ระกอบ สุนทรยี ศาสตรแ์ ละความเชอื่ โดยใช้หนิ เรียงกันปเู ป็นรูปรา่ ง ปขี า้ ง เมรุและรปู ปนั้ โดยทั่วไปเราสามารถ จาแนกประเภทของ ahu ได้ 3 อยา่ ง ไดแ้ ก่ ahu moai, semipyramidal ahu และ poepoe ahu ยกเวน้ ahu moai อาฮอู ีก 2 ประเภทดเู หมอื นสร้างเพ่อื ใชเ้ ป็นการฝังศพ ในชว่ ง (1680-1868) ส่วนใหญข่ อง ahu moai ถูกเปลยี่ นเปน็ หลมุ ฝงั ศพขนาดใหญ่ 28

II.Ahu Moai Ahu moai เป็นแง่มมุ ท่โี ดดเดน่ ทสี่ ดุ ของยุคสถาปตั ยกรรมก่อนประวัตศิ าสตร์ Rapanui คณุ สมบตั ิที่ โดดเด่นคือรปู ปน้ั megalithic (moai) เพรารปู ปั้นพวกนี้แสดงถงึ ความปาณตี ของงานหินในยุคนน้ั รูปวาด ต่อไปนแี้ สดงถึง AHU ในยคุ กลาง (ปี 1100-1680) กบั องค์ประกอบท่อี าจเชือ่ มโยงกับงานหิน A. แพลตฟอร์มกลาง ท่รี ปู ปั้นถกู วางไว้ (บางครัง้ วางไวม้ ากถึง 15 ช้นิ ) ผนงั ดา้ นหน้าโดยทวั่ ไป ประกอบด้วยแผ่นสเ่ี หลยี่ มที่ตดิ เขา้ ด้วยกันเป็นอย่างดี บางครั้งประกอบดว้ ยบลอ็ กสเ่ี หลยี่ มของส โกเรยี สีแดง B. ปกี ขยายออกไปทางด้านขา้ งของแพลตฟอรม์ กลาง บางครั้งอาจอย่ตู า่ กวา่ แพลตฟอรม์ กลาง มี ทางลาดเอยี งทป่ี ูดว้ ยหนิ และถูกกาหนดเขตด้วยดา้ นหลังและผนงั ดา้ นทา้ ย 29

C. ดา้ นหนา้ และตดิ กนั ของแพลตฟอร์มกลาง เปน็ ทางลาดเอียงท่ีปูด้วยก้อนหินจากทะเล D. หนา้ และตดิ กันของแพลตฟอรม์ กลาง เปน็ ทางลาดเอยี งที่ปดู ้วยกอ้ นหนิ จากทะเล E. พลาซ่าที่ขยายใหญ่ เป็นพนื้ ท่ีเปิดโลง่ ทาหนา้ ที่เปน็ สถานท่สี าหรับการพธิ กี ารทางศาสนาต่างๆ พืน้ ท่ี ถูกกาหนดโดยการจดั ตาแหนง่ ของหนิ เป็นทีร่ ู้จักกนั ในชอ่ื ไปน่า (Paina) พนื้ ทเ่ี หลา่ นถ้ี ูกนามาใช้ใน พธิ ีทร่ี ะลกึ และอาลยั ถึงผู้ท่ีจากไปอยา่ งเป็นเกียรติ F. โมอเิ ปน็ รูปปน้ั ของภเู ขาไฟทฟั ฟ์ สว่ นใหญ่ถูกแกะสลักในเหมืองหินของภเู ขาไฟราโนราราคุPukao, topknots หรือ headdresses ของ red scoria, ถกู แกะสลกั ในเหมืองของเนนิ เขา Puna Pau Hill 30

G. Crematoria ตง้ั อยู่ดา้ นหลัง บนพน้ื สูง มีโครงสร้างสเี่ หลยี่ มที่ใช้การเรียงหินเพื่อแบ่งเขต จะพบเจอ เศษผงเล็กๆและชนิ้ สว่ นของกระดกู ที่ถกู เผา H. ใกลเ้ คยี งและตดิ กบั ผนงั ด้านหลงั ของบางอาฮู จะเป็นสเี่ หลย่ี ม ใช้ในการฝงั ศพทุกประเภท เปน็ การ ฝากกระดูกท่ีถูกเผาแลว้ ในบางอาฮู โครงกระดกู ทพี่ บใน cists แสดงสญั ญาณของการไดร้ ับแสงจาก ดวงอาทิตย์คนทีใ่ ชไ้ ดค้ ือ หวั หน้า , นกั บวช และคนที่มียศสูง I. อา่ วเลก็ ๆ ทอี่ ยูใ่ กล้ Ahu moai มพี น้ื ท่ีปูดว้ ยหนิ และผนงั เรียกวา่ Canoe ramp หรอื ทางลาดคานู J. ด้านหน้าของอาฮู ทางฝ่ังดา้ นใน มกั จะมกี ลมุ่ hare paenga เป็นบา้ น 31

III. Semipyramidal Ahu สงครามระหว่างชนเผา่ ครง้ั สาคญั เร่ิมขึน้ ประมาณศตวรรษที่ 17 สง่ ผลใหม้ าอาย ถกู ทาลายและ ตัง้ ใจท่จี ะโคน่ ลม้ โมอายที่ถกู ทาลายจานวนมากกลายเปน็ กองหินขนาดใหญ่ (Tumuli) ทคี่ ลมุ รปู ปัน้ อย่าง สมบรู ณแ์ บบ ห้องขนาดใหญแ่ ละ Funeral cists ถกู สรา้ งขึน้ ใต้กองหินขนาดใหญพ่ วกน้ี Ahu moai หรือ Tumulit ทถ่ี ูกเปลย่ี นโครงสรา้ ง ไดร้ บั การเรียกว่า semipyramidal ahu เพราะ เปน็ พรี ะมดิ ท่ีถกู ผ่าครงึ่ และมคี วามชนั เอียงไปทางด้านหนา้ และตง้ั ฉากผนังดา้ นหลงั น้ีกอ็ าฮู เหมือนกนั แตเ่ ป็นเพยี ง Tumuli หรือแพลตฟอรม์ งานศพ ตาแหน่งตามลาดับเวลายังไมไ่ ดร้ บั การยืนยนั ท่ี แน่ชดั แต่ถูกสร้างขนึ้ ในช่วงหลัง และถูกนามาใชใ้ นช่วงครึง่ แรกของศตวรรษท่ี 19 32

IV. Ahu Poepoe ช่ือนไี้ ด้มาจากรูปร่างของมนั โครงสร้างทยี่ าวและมแี ขนขาทัง้ สองข้างยกข้ึนคลา้ ยกบั เรือ (poepoe) สรา้ งขน้ึ จากหนิ ที่ไมไ่ ด้ถูกตัด แตเ่ อาหนิ ทม่ี รี ปู รา่ งเข้ากนั ได้มาประกอบกัน การตกแตง่ ภายในมักขยายความยาวของโครงสร้าง ส่วนใหญอ่ าฮูชนดิ น้ีสามารถพบได้ในภาคเหนือชายฝ่ัง นอกจากนี้ยังมตี ัวแปรรปู ลมิ่ ของอาฮูชนิดนซ้ี งึ่ แกนยาว มักจะตง้ั ฉากกบั ชายฝง่ั ใน บางสว่ นหินพวกนีถ้ กู ปกคลุมไปดว้ ยปะการังหรือก้อนสกอเรยี ถกู แตง่ ตง้ั ให้เปน็ จดุ บ่งชต้ี รงกลาง ของทางลาดทอี่ ยู่ทจี่ ดุ สูงสดุ หลกั ฐานทางชาติพันธว์ุ ิทยาบง่ ชี้ว่าอาฮชู นิดน้ถี กู สรา้ งขน้ึ หลังจากการ ค้นพบเกาะของชาวยโุ รป 33

V. Moai การแสดงออกท่โี ดดเด่นของวฒั นธรรม เป็นลักษณะเฉพาะในโพลีนีเซีย โพลีนเี ซยี มีประมาณ 1,000 รูปบนเกาะ ส่วนใหญม่ รี ปู แบบเดียวกนั และถกู แกะสลักในภูเขาไฟ จากเหมอื งหนิ ราโนราราคุ โม อายทอ่ี ยู่ใกลจ้ ะมีขนาดใหญ่ แต่หา่ งออกไปขนาดจะเล็กลงรปู ปน้ั ราราคเุ ป็นแบบอย่างโดยโมอายจาก Ahu Ko te Riku (Tahai complex) มีขนาด สูง 5.2 เมตรแสดงใหเ้ ห็นถึงชว่ งเวลา ในช่วง ค.ศ. 900 มีขนาดเล็ก ยคุ แรกมีความผดิ ปกติจากตน้ แบบ ใชว้ ัสดอุ ืน่ ๆในการแกะสลกั (ใชห้ นิ บะซอลตแ์ ละสกอเรยี สีแดง) และที่จะมีขนาดเล็กและดเู ปน็ ธรรมชาตมิ าก หวั โค้งมนและการไมม่ ี กลบี หู แสดงให้เห็นวา่ รปู ป้ันพวกน้มี สี ว่ นเกยี่ วข้องกบั อาฮู ในชว่ งปี ค.ศ. 700 394 โมอายถกู บันทึกว่าคน้ พบในเหมืองต่างๆและแถวเนนิ เขาของภูเขาไฟ ราโน ราราคุ ถกู ละทิ้งในขนาดขนส่ง 3 ตวั ถกู พบวา่ ของพวกมันมีหน้าอกทโี่ ดดเด่นซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ มัน เป็นตวั แทนเพศหญงิ รปู ปน้ั ทใ่ี หญท่ ่ีสดุ ยาว 21.6 เมตรและตดิ อยกู่ บั หินในเหมืองดา้ นนอก นา้ หนกั 250-300 ตนั ในบรรดาตวั ทข่ี นสง่ ไปยังอาฮู รปู ป้ันทใี่ หญท่ ีส่ ุดคือ โมไอ พาโร แห่ง Ahu Te Pito te Kura (ในเกาะตอนเหนือ) ความสงู 10 เมตรและหนัก 80 ตนั 34

VI. Pukao บนหัวของรปู ปนั้ บางตวั (เหมือนกบั ตัวท่ีอยูท่ ี่ Ahu Naunau) จะมกี ระบอกท่ที าจากสกอเรียสี แดงท่ีถกู นามาจากเหมืองของ Puna Pau บรเิ วณใกล้เคยี งของ Hangaroa และอาจมํีนา้ หนักมากถงึ 11 ตนั ความสาคญั ของกระบอกพวกนไ้ี ม่ชดั เจน ผเู้ ขยี นบางคนอ้างวา่ พวกมนั เปน็ รปู ร่างของทรงผม หรอื โมลีทส่ี ังเกตชาวยุโรปคนแรกมาถงึ เกาะ บางคนบอกว่ามนั เป็นหมวก แตว่ ่ามีรปู ปนั้ หลายรูปไมม่ ี Pukao ทาให้ผคู้ นคิดวา่ การตกแต่งของรูปทรงกระบอกบนหัวของรูปป้นั อันน้ี เป็นการมาเสรมิ เตมิ ที่รปู ปน้ั ทีหลงั 35

VII. Ana ด้วยธรรมชาติของภเู ขาไฟ บนเกาะจงึ มีถ้าจานวนมาก ถา้ ถูกเปน็ ที่อยอู่ าศัย บางคนใชถ้ า้ เป็น สถานทฝ่ี งั ศพ โครงกระดูกสว่ นใหญท่ ่ีพบในถา้ แสดงถึงการเสียชีวิตท่ีเกิดจากโรคระบาด ในชว่ งหลัง สงครามเกาะ ถกู ดัดแปลงเพ่ิมโดยกาแพงหนิ ท่ีปดิ ช่องทเ่ี ปิดตามธรรมชาติ ทาใหท้ างเขา้ มลี ักษณะเปน็ อุโมงคท์ ีย่ าวและแคบ (ไม่แนวตงั้ กแ็ นวนอน) และเชอื่ มตอ่ กับถา้ ภายนอกหนิ ท่ยี ่ืนออกมาและถ้าขนาด เลก็ ถกู เรยี กว่าคาวา นามาใช้การประกอบอาชีพชวั่ คราวและถกู ทง้ิ ไว้ ถา้ บางแห่งทีเ่ รียกว่า ana kionga ถกู นามาใช้ ฝ่ังที่พ่ายแพข้ องสงครามเพ่อื ลีภ้ ยั หรือปดิ กั้น ถูกแตง่ ต้งั ใหเ้ ปน็ สถานที่ ทาทู (สถานท่ี ต้องห้าม) 36

VIII. Hare Paenga ชาวโพลนิ เี ซียม ใชเ้ ป็นทีอ่ ยอู่ าศัยคนชัน้ สงู Hare Paenga เรียกว่า เรอื บา้ น เพราะมีรปู ร่างคลา้ ยกบั เรอื ควา่ แฮแพงกา้ มีทรงทรงร(ี ทรงไข)่ และถูกสร้างข้ึนจากการตัดบล็อกแทน่ หนิ บะซอลต์อยา่ งระมดั ระวงั ดา้ นบนมพี ชื ท่ีแทรกอยใู่ นโพรงบลอ็ กเหลา่ นี้ ทางเข้าแคบและและตา่ แผ่นคอนกรีตและคลมุ ดว้ ยฟางด้านหนา้ เปน็ ทางเท้าครึง่ วงกลม ภายนอกท่ีทาด้วย หนิ โคง้ มน (poro) ในแถว ขนานกนั ภายในเรยี บงา่ ยมากและใชส้ าหรับ การนอนเทา่ นัน้ ความยาว 10-15 เมตร กว้าง 1.5-2.5 เมตร บางบา้ นอาจยาวถึง 40 เมตร 37

IX. Common House ส่วนใหญ่ทพ่ี บเปน็ บ้านทวั่ ไป มีรปู ร่างเหมอื นกับโพรง่ กระตา่ ย มีทางเข้าท่มี ขี นาดเลก็ กว่าใน hare paenga และโครงสร้างอนั ตราย เสาถกู แทรกลงในดนิ มโี ดยตรง เช่นบา้ น (กระตา่ ย) และเตาอบดิน (umu pae) หนึ่งหรอื หลายเตา (umu pae) เปลอื กสวน (manavai) และบา้ นไกห่ ิน (hare moa) ซงึ่ มี ความซับซอ้ นแตกตา่ งกนั เลก็ น้อย บอกถึงการใช้งานได้หลากหลายมากข้ึน โครงสรา้ งรองมักจะอยหู่ ่างจาก บ้านไมเ่ กนิ 20 เมตร 38

X. Manavai มานาวายถูกสร้างดว้ ยหิน มานาวายคือกาแพงเลก็ ๆ หรือส่วนหน่ึงของพ้นื ดินท่ีปกคลุม ดว้ ยหิน รอบๆ ตน้ ไม้ ช่วยปกป้องพืชและดินโดยรอบจากแสงแดดโดยตรงและลมเคม็ ท่ีมาจาก ทะเล การใชม้ านาวายทาใหพ้ ชื ไม่เพยี งแต่เป็ นอาหารเท่าน้นั แต่ยงั ใชเ้ พื่อวตั ถปุ ระสงคอ์ ื่น ดว้ ย ตวั อยา่ งเช่น ใช้ mahute เพ่อื เตรียมเส้ือผา้ 39

XI.โมอา เป็นโครงสรา้ งของสเ่ี หล่ยี มผืนผา้ วางแผนดว้ ยปลายโค้งมน, คหู่ นา ผนังของหนิ ทไี่ มไ่ ดท้ างานดว้ ยกรวด เตมิ และรากฐานหนกั แคบ หอ้ งทางานมคี วามยาวของการ ตกแต่งภายในของโครงสร้างและมกี ารเขา้ ถึงภายนอกผา่ นทางเดินขนาดเลก็ โดยทว่ั ไป พบในทมี่ ี ชีวติ และมคี วามเก่ียวข้อง กับโครงสร้างทางการเกษตรของ แม้ว่า พวกเขาไดร้ บั การระบุว่าชาตพิ นั ธุ์ เปน็ บา้ นไกก่ ารศึกษารายละเอียดของพวกเขาบ่งชี้วา่ มีสอง ประเภทของโครงสรา้ งท่ีคลา้ ยกันมาก อาจมฟี ังก์ชันท่แี ตกต่างกัน ความแตกต่างกันโดยพ้ืนฐานในแตล่ ะประเภทและขนาดของหอ้ งภายใน ตาม Patrick McCoy กระต่าย moa เป็นลักษณะโครงสร้างของปลายยุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์ 40

XII.Umu Pae เป็นอุปกรณท์ าอาหารของชาวเกาะ การทาคือ ใช้หินรอ้ นๆในการทาใหอ้ าหารสกุ ขุดดินเพื่อทา เตาอบ ลึก 60 ซม. ใชห้ ินของ Umupae หา้ เหลีย่ ม, สี่เหลยี่ มผนื ผา้ และวงกลมมี 5-7กอ้ น หินส่ีเหลยี่ มวาง อยู่บนขอบในดนิ 41

XIII. Hare Oka บา้ นทาด้วยแผน่ หนิ บะซอลตท์ ี่ ไมแ่ สดงสญั ญาณของการตดั ใน บางกรณหี นิ รากฐานเหล่าน้ี แทรกอยู่ในพื้นดินเอยี งเลก็ น้อย ตอ่ การตกแต่งภายในและการจดั ตาแหน่งศนู ย์กลางอน่ื เกิดข้นึ จากหิน ทตี่ งั้ คา่ ในแนวนอนในพนื้ ดนิ และดูเหมอื นจะ สรา้ งการปภู ายนอก ใน ช่องว่างขนาดเล็ก ระหวา่ งการจดั แนวทง้ั สองโพสตแ์ ละกรอบโคง้ 42

XIV.Houses of Rectangular Plan บ้านของพวกเขามสี เ่ี หล่ยี มผืนผ้า มีหิแทรกอยูบ่ นขอบพ้นื ดิน ภายนอกมเี ลก็ เปน็ สี่เหลย่ี มผืนผา้ และประกอบด้วย หินแบน, หินผดิ ปกติ, พบในดา้ นหนา้ ของโครงสรา้ งหรอื บางครั้งรอบโครงสร้างทัง้ หมด โครงสร้างเป็นวสั ดุพืช กระท่อมเหลา่ นใ้ี ชช้ ่ัวคราว และพวกเขามกั จะเกีย่ วขอ้ งกับ ลิธิค การทางานและ ปากกาขนาดใหญ่ทส่ี ร้างขนึ้ ของหนิ encampments ตง้ั อยู่ ท่ามกลางหบุ เหวของ Maunga Terevaka อาจ แสวงหาประโยชน์ ของไม้ 43

15. Houses of Stone Masonryหมบู่ า้ นพธิ กี ารของ Orongo มีพืน้ ที่สามเหล่ียมขนาดเลก็ ระหวา่ ง การตกตะกอนของปลอ่ ง ภเู ขาไฟ Rano Kau และขอบภายนอก ประกอบดว้ ยโครงสรา้ ง 53 แหง่ ของ ก่ออิฐ, สร้างขึ้นในกลมุ่ ที่อยู่ ตดิ กนั และ สรา้ งคอมเพล็กซส์ ถาปตั ยกรรมทไ่ี มเ่ หมือนใคร ที่มคี ุณสมบตั ทิ ่ีนา่ สนใจเปน็ ตน้ แบบใน โครงสรา้ งอนื่ ๆ ของเกาะรูปแบบพน้ื ฐานของทอี่ ยอู่ าศัยเป็นเวลานาน และวงรแี คบโดยมดี า้ นในทางเดนิ เข้าและการตกแต่งภายในโค้ง บ้านจะมุง่ เนน้ ไปทที่ ง้ั สาม เกาะเล็กชอื่ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับลัทธิและ ตง้ั อยู่ใกล้ เชิงหนา้ ผา พวกเขา ถูกจดั เรยี งในครง่ึ วงรที ่ผี ดิ ปกติ ในชุดของโครงสรา้ งอย่างต่อเนือ่ ง ปรับให้เขา้ กับ ส่วนบนของลาดดนิ ผนังของบ้านหนามาก และถูกสรา้ งขึ้นจากสองหนิ แห้ง สกิน - แผน่ หินบะซอลต์ เชงิ มมุ ที่ไดร้ บั จากเหมืองในพ้นื ท่ี - และแผ่นดินเตมิ ช่องว่างระหว่างพวกเขา หลังคาเป็น โดม corbeled ท่ีเกิดขนึ้ จากเท้าแขน แผ่นคอนกรตี ปกคลมุ ดว้ ยดิน เว็บไซตค์ อื ทเ่ี กี่ยวข้องกับชว่ งเวลาลา่ สุดของท้องถิน่ ยุคกอ่ นประวตั ิศาสตร์ การออกเดททีเ่ ร็วทีส่ ุดสอดคล้องกับ 1410 และพิธสี ดุ ทา้ ยกิจกรรมดเู หมอื นจะ เกดิ ขน้ึ ใน1876. 44

XVI.Tupa ทูปา หนา้ ท่ขี องทปู าเปน็ ที่อยอุ่ าศัยนักบวชใช้ในการสงั เกตการณ์ดวงดาว การ สงั เกตการณ์ทางดาราศาสตรท์ าใหพ้ วกเขาทานายการเปลี่ยนแปลงของกระแสนา้ ในทะเล ในแถบเสน้ ศนู ยส์ ตู ร ซ่งึ นาเตา่ มาทีเ่ กาะ (อาหารศกั ดสิ์ ทิ ธิ์และหนงึ่ ท่ีถกู กาหนดไวส้ าหรับพระราชา) และปจี นั ทรคติ เวลาสาหรับการเพาะปลูก การเกบ็ เกีย่ ว และเทศกาลทางศาสนา และ การมาถึงของนกและปลาอพยพเป็นทรพั ยากรอาหารทีส่ าคญั ทปู าเป็นหอคอยหนิ กลมท่ี มแี ผนผังวงรหี รอื วงกลมท่ีมหี ลงั คาเรยี บ ภายในหอ้ งทม่ี ีหลังคาโค้งเชอื่ มตอ่ กบั ภายนอก ผ่านทางเดินแคบและตรง กว้างของหอ้ งแตกตา่ งกนั ไปตัง้ แต่สองถงึ 4 เมตรที่ระดบั พ้ืนดิน และภายในหอ้ งสูง 3 เมตร ปจั จบุ นั มีอยู่ประมาณ 30 แห่ง ส่วนใหญอ่ ยตู่ ามชายฝง่ั 45

XVII. Pipi Horeko Pipi Horeko เปน็ สถานทสี่ าคัญทสี่ รา้ งจากหินในรปู แบบต่างๆ ตง้ั แต่กองเล็กๆ ไปจนถึงหอคอย ทรงกลมอันวจิ ติ รงดงามในรูปแบบของกรวยทีถ่ ูกตัดทอน ซง่ึ มีความสูงสงู สุด 2 เมตรและความกว้างฐานสงู สุด 1.8 เมตร ข้างในเตม็ ไปด้วยเศษหนิ แหล่งขา่ วบางแห่งรายงานว่าสิ่งปลกู สรา้ งเหลา่ นบ้ี างสว่ นมธี งหรือเคร่อื งหมายแสดงความแตกต่างที่ ส่วนบนเพ่ือระบหุ นา้ ที่ของส่งิ ปลกู สรา้ ง บางแห่งใช้เพ่ือทาเคร่อื งหมายพืน้ ท่ี Tapu หรือครอบครัวและ ทรพั ย์สินของชนเผ่า ขณะท่ีชาวประมงใช้เพ่อื ระบุจดุ ตกปลา 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook