Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปประเด็น TCAS65 และสิ่งที่ควรรู้ในการเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย for P.K. students

สรุปประเด็น TCAS65 และสิ่งที่ควรรู้ในการเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย for P.K. students

Published by Nithikarn Nonghang, 2021-12-10 14:10:17

Description: สรุปประเด็น TCAS65 และสิ่งที่ควรรู้ในการเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัย for P.K. students

Search

Read the Text Version

สรปุ ประเด็น และส่ิงท่ีควรร้ใู นการเตรยี มสอบเข้ามหาวทิ ยาลยั for P.K. students โดย นายนธิ กิ านต์ หนองห้าง (ครแู คน) และ นางสาวประชุมพร สุขสนทิ (ครจู า๋ ย) นสิ ิตฝึกประสบการณว์ ิชาชพี โรงเรียนปทมุ คงคา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 วชิ าเอกจติ วทิ ยาการปรกึ ษาและการแนะแนว - ภาษาอังกฤษ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั

01 รูล้ กึ ทั้ง 4 รอบ 6 TABLE OF 02 CONTENTS เจาะลกึ TCAS ทงั้ 4 รอบ 2 คณุ มสี ิทธิ์ ผมก็มสี ิทธิ์ 39การบริหารจดั การสิทธ์ิในระบบ TCAS65 03 สอบ! สอบ! สอบ! 55ทําความร้จู กั ข้อสอบท่ใี ช้ในระบบ TCAS 04 เคลด็ ลับดี ๆ ทีค่ วรมชี ่วงสอบ 69 05 การเตรียมตัวก่อนสอบขอ้ เขียน และสอบสัมภาษณ์ บอกตอ่ แหลง่ ข้อมูล 95รวบรวมเวบ็ ไซตแ์ ละชอ่ งยูทูปท่มี ปี ระโยชน์

เปดิ ประตู ร้จู กั TCAS TCAS คือ? TCAS หรอื Thai University Central Admission System คอื ระบบกลางทีใ่ ช้ คัดเลือกบคุ คลเขา้ ศึกษาต่อในระดับอดุ มศึกษา ใครเป็นผ้ดู แู ล? ที่ประชุมอธิการบดีแหง่ ประเทศไทย (ทปอ.) เปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบ ดูแล และพัฒนาระบบ ทาํ ไมต้องมี TCAS? 3 ทําใหน้ กั เรยี นไม่ต้องตระเวนสอบหลายที่ และไมใ่ ช้สิทธ์ิซ้ําซ้อนจนเกดิ ปัญหาการกนั สิทธใ์ิ น การเขา้ ศึกษา

ระบบ TCAS มกี ่ีรอบ? รอบที่ 1 มี 4 รอบ ตามลําดับ ดังน้ี Portfolio รอบท่ี 3 Admission (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 รอบท่ี 4 Quota Direct Admission 4

ระบบ TCAS มกี ี่รอบ? ที่มา https://www.mytcas.com/ 5

01 ร้ลู ึกทง้ั 4 รอบ 6

รอบที่ 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) “เน้นพิจารณาความสามารถของนกั เรียนเป็นหลัก” กลุม่ เป้าหมาย นักเรียนที่มคี วามสามารถโดดเด่นตามท่สี าขาวิชาต้องการ วธิ คี ดั เลอื ก ● ไม่ใช้การสอบ การสมัคร ● ใช้แฟม้ สะสมผลงาน และ/หรือ GPAX (4 – 5 เทอม) การประกาศผล ● การสอบสัมภาษณ์ การยนื ยันสิทธิ์ ● อาจจะ Audition นกั เรยี นเพิ่มเตมิ สมคั รกับมหาวทิ ยาลัยโดยตรง สมัครไดไ้ ม่จํากัดที่ (แตค่ วร สมคั รเฉพาะทที่ ่ีเราเขา้ เกณฑ)์ ประกาศผลทกุ ทท่ี ี่ผา่ นการคัดเลอื ก ยืนยนั สิทธ์ิได้ 1 ที่เท่าน้นั หรือไมใ่ ชส้ ิทธิ์ 7

รอบที่ 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) Trick การทํา Port แบบเอาไปเลยสิบนิ้วโป้ง “แสดงตัวตนของเรา ทักษะ ความรู้ ความสามารถ การเข้าร่วมกิจกรรม รวมไปถึง รางวลั ทไี่ ดร้ ับ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับสาขาวชิ านนั้ ๆ” “จดั ทาํ ไมเ่ กนิ 10 หนา้ กระดาษ A4 (ไมร่ วมหน้าปก)” “จัดทาํ ให้สอดคลอ้ งกบั เกณฑห์ รอื หัวขอ้ ที่แต่ละคณะวิชาหรือมหาวทิ ยาลัยกําหนด” 8

“ รอบที่ 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) Trick การทํา Port แบบเอาไปเลยสิบนว้ิ โป้ง “ก่อนทําแฟม้ สะสมผลงาน นักเรียนควรศึกษา องค์ประกอบหรือเกณฑก์ ารส่งแฟม้ สะสม-ผล งานให้รอบคอบ เพราะแต่ละสาขาวิชาอาจมี ข้อกาํ หนดท่ีแตกตา่ งกัน หากนกั เรียนสมคั รหลาย ที่ นกั เรียนกค็ วรศึกษาจดุ เน้นว่าทางมหาวิทยาลัย /คณะ/สาขาวชิ านัน้ ๆ ตอ้ งการผลงานแบบใด 9

รอบที่ 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) “ Trick การทํา Port แบบเอาไปเลยสิบน้ิวโป้ง “ ควรจัดหมวดหม่กู จิ กรรมให้เปน็ สัดส่วน เชน่ หมวดวิชาการ หมวดกฬี า หรือหมวดจิตอาสา เปน็ ต้น การทําแบบนีจ้ ะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ทักษะใน การจดั การข้อมูลทีด่ ี และยังสะดวกตอ่ กรรมการ ในการอา่ น หากคณะ/สาขาวิชาทีน่ กั เรียนสมัคร เนน้ กิจกรรมด้านใด นกั เรยี นกค็ วรใส่ผลงานด้าน นัน้ และทําใหโ้ ดดเด่นเป็นพิเศษ 10

“ รอบที่ 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) Trick การทํา Port แบบเอาไปเลยสิบน้ิวโปง้ “ การใส่ภาพกิจกรรมเพียงอยา่ งเดียวอาจยัง ไม่ชดั เจน นักเรียนควรใส่คาํ อธบิ ายเกยี่ วกบั รปู ภาพนนั้ ๆ เพื่อเลา่ วา่ เราทาํ อะไร ที่ไหน อย่างไร และควรสะท้อนคดิ ดว้ ยวา่ นกั เรยี นได้อะไรหลังจาก การเข้ารว่ มกิจกรรม เช่น ประสบการณท์ ่ไี ด้รบั ส่ิง ทไี่ ดเ้ รียนรู้ หรอื ประโยชน์ที่เกดิ ข้ึนกับตนเองและ สังคม 11

รอบที่ 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) Trick การทํา Port แบบเอาไปเลยสิบนว้ิ โป้ง “ อยา่ สะกดคาํ ผดิ เดด็ ขาด โดยเฉพาะช่ือเฉพาะ “ ตา่ ง ๆ เช่น ช่อื -สกลุ นกั เรียน ช่ือโรงเรียน ชอื่ มหาวทิ ยาลัย เป็นตน้ โดยเคลด็ ลับในการตรวจคาํ ผิด คือ เม่ือทําแฟม้ สะสมผลงานเสร็จแล้วให้ นักเรยี นวางทิง้ ไว้ 1 – 2 วนั จากนนั้ คอ่ ยกลบั มา อา่ นเพ่ือตรวจสอบคําผิดอกี ครัง้ หรืออาจให้คน อ่ืนชว่ ยอ่านให้ 12

“ รอบท่ี 1: Portfolio (แฟม้ สะสมผลงาน) Trick การทํา Port แบบเอาไปเลยสิบนิว้ โปง้ “ควรคํานึงไวเ้ สมอว่าเน้ือหาภายในแฟม้ สะสม ผลงานมคี วามสําคญั ไมแ่ พ้ความสวยงาม ดงั นัน้ นกั เรยี นควรเลอื กใช้สีและฟอนต์อย่างเหมาะสม อา่ นงา่ ย ชัดเจน ขนาดไม่เล็กหรือใหญจ่ นเกนิ ไป ส่วนเรื่องสีสามารถออกแบบไดต้ ามความชอบเพื่อ แสดงออกถงึ ตวั ตนนกั เรียน แตค่ วรมีสีหลกั ไม่ เกนิ 4 สี และสีของตวั อกั ษรควรตัดกบั สีพ้ืนหลงั เพ่ือความชดั เจน เชน่ หากพื้นหลังเป็นสีอ่อน ตวั อักษรก็ควรเปน็ สีเขม้ เป็นตน้ 13

รอบที่ 2: Quota (โควตา) “คุณสมบัตเิ ฉพาะแบบนี้ทีฉ่ ันตอ้ งการ” กลุม่ เปา้ หมาย นักเรียนที่ - มีคณุ สมบัติเฉพาะ (เรยี นดี มคี วามสามารถพิเศษ) - เรยี นในโรงเรียนพื้นท่ีเฉพาะ หรอื โรงเรยี นเครือข่ายความร่วมมือ วธิ ีคัดเลอื ก ● ขอ้ สอบกลาง (GAT / PAT / 9 วิชาสามัญ) ● การสอบสัมภาษณ์ ● อาจใช้แฟม้ สะสมผลงาน และ/หรอื GPAX (4 – 5 เทอม) ● อาจใช้คะแนนจากการสอบวชิ าเฉพาะ/ขอ้ สอบอนื่ ๆ การสมัคร สมัครกับมหาวทิ ยาลยั โดยตรง สมคั รได้ไม่จํากดั ที่ (แตค่ วรสมัครเฉพาะ ท่ีทีเ่ ราเขา้ เกณฑ์) การประกาศผล ประกาศผลทกุ ทท่ี ผ่ี ่านการคัดเลือก การยืนยันสิทธ์ิ ยนื ยนั สิทธิ์ได้ 1 ท่ีเทา่ นนั้ หรอื ไมใ่ ช้สิทธ์ิ 14

รอบที่ 2: Quota (โควตา) ขยายความโควตาประเภทตา่ ง ๆ เรยี นดี “นกั เรียนทมี่ ีผลการเรยี นสูง (ตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนด)” มคี วามสามารถพิเศษ “นกั เรยี นที่มที กั ษะ/ความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ ทโ่ี ดดเด่น เช่น วชิ าการ กฬี า เปน็ ตน้ ” โรงเรียนในพ้ืนที่เฉพาะ ใกล้ “นกั เรียนทเี่ รยี นหรืออาศัยอย่ใู นพ้ืนท/ี่ จงั หวัด/ภมู ิภาค กบั ทตี่ ัง้ ของมหาวทิ ยาลัย” โรงเรยี นในเครือข่ายความร่วมมือ “นกั เรยี นในโรงเรียนทีอ่ ย่ใู นเครือขา่ ยความร่วมมือของ มหาวิทยาลยั ส่วนใหญ่จะตดิ ต่อโควตา้ มาท่ีโรงเรียนโดยตรง” 15

รอบท่ี 3: Admission (แอดมิชช่ัน) “พิจารณาจากคะแนนเป็นหลกั ” กลมุ่ เป้าหมาย นกั เรียนโครงการท่วั ไป และ กสพท. วิธคี ดั เลอื ก ● ใช้คะแนนจากข้อสอบกลาง (GAT / PAT / 9 วิชาสามัญ) ซึ่งแตล่ ะ การสมัคร สาขาจะกําหนดเกณฑ์และค่าน้าํ หนักเอง การประกาศผล การยนื ยันสิทธ์ิ ● อาจใชG้ PAX 6 ภาคเรยี น (บางสาขาวชิ าใช้แค่ GPAX) ● อาจมกี ารกําหนดคะแนนข้นั ต่าํ ในแต่ละวชิ าด้วย ● คณะสายแพทย์ ใช้คะแนนกสพท.ดว้ ย ● อาจมีการสัมภาษณ์ดว้ ย แต่ไมม่ ีผลต่อคะแนน สมคั รไดส้ ูงสุด 10 อนั ดบั ภายในระยะเวลาท่กี ําหนดในเวป็ ไซต์ mytcas.com ประกาศผลเพียง 1 อันดับสูงสุดทีไ่ ด้รบั คัดเลอื ก หากไม่พอใจกับผล รอบแรกสามารถขอประมวลผลได้อีก 1 รอบ ยืนยนั สิทธิ์ได้ 1 ที่เท่าน้ัน หรือไมใ่ ช้สิทธ์ิ 16

รอบท่ี 3: Admission (แอดมิชชัน่ ) วธิ ีคดั เลอื ก ● คดิ คะแนนจากขอ้ สอบกลาง (GAT / PAT / 9 วิชาสามญั ) ซง่ึ แต่ละสาขาจะกาํ หนดเกณฑแ์ ละคา่ น้าํ หนักเอง ● อาจใช้GPAX 6 ภาคเรยี น (บางสาขาวชิ า) ● อาจมีการกาํ หนดคะแนนข้ันต่ําในแต่ละวชิ าด้วย ● คณะสายแพทย์ ใช้คะแนนกสพท.ดว้ ย เกณฑข์ ัน้ ต่ํา/ VS ค่าน้ําหนกั เกณฑ์คะแนนขนั้ ต่าํ /เกณฑ์ผ่านขน้ั ต่าํ ● คณุ สมบัติเฉพาะทท่ี างคณะ/สาขากําหนด ● สัดส่วนคะแนนทีท่ างคณะ/สาขากาํ หนดไว้ ● อาจมกี ารกําหนดทั้งในรูปแบบของ % และ ● กาํ หนดในรปู แบบของรอ้ ยละ (%) คะแนน ● ค่าน้าํ หนกั แตล่ ะวชิ าอาจเท่ากนั หรอื ไม่ก็ได้ ● แต่ละมหาวทิ ยาลัยมวี ิธคี าํ นวณไมเ่ หมอื นกนั ● หากไดต้ ่ํากวา่ ที่กาํ หนด คือไมผ่ า่ นเกณฑ์ และ ● บาง GPAX กําหนดแค่ GPAX ไม่ได้รบั การพิจารณา 17

รอบท่ี 3: Admission (แอดมิชช่นั ) มนุษยศาสตร์ สาขานิเทศศาสตร์ มก. เกณฑ์ขนั้ ต่าํ ค่าน้ําหนัก GPAX ≥ 2.75 GAT = 30% GAT (รวม) ≥ 170 PAT 1 หรอื 7 = 70% GAT Eng ≥ 50 18 ขอ้ มลู จาก www.mytcas.com

รอบที่ 3: Admission (แอดมชิ ชัน่ ) วทิ ยาศาสตร์ สาขาชวี วทิ ยา จฬุ าฯ ค่าน้ําหนกั ไดแ้ ก่ GAT = 20% PAT 1 (71) = 20%PAT 2 (72) = 60% เกณฑข์ ัน้ ต่าํ กาํ หนดว่า PAT รวมกันได้ขน้ั ต่าํ 30% = 30% ของ คะแนน PAT 1 (300) + 2 (300) = ต้องได้อย่างน้อย 180 คะแนน 19

รอบท่ี 3: Admission (แอดมชิ ชัน่ ) “ “ เวลาคดิ คะแนน ต้องใชค้ า่ นาํ หนกั หรือเกณฑข์ นั ตํา่ ? “ดคู า่ น้าํ หนกั เป็นหลกั เพราะเป็นสัดส่วนคะแนนท่ีใชค้ ํานวณ ส่วน เกณฑข์ ัน้ ต่าํ ถอื เป็นคุณสมบัติขนั้ ต่าํ ทีน่ ักเรียนต้องผา่ นเทา่ นนั้ ดูคา่ นําหนกั ทีไ่ หน? “ ● เวป็ ไซต์ทางการของมหาวทิ ยาลัย ● Mytcas.com ● เว็ปไซต์แนะแนวการศึกษาใหญ่ ๆ 20

รอบที่ 3: Admission (แอดมชิ ชั่น) คํานวนคะแนนยังไง? ดจู ากเวป็ ไซตท์ างการของมหาวทิ ยาลยั (ถา้ ม)ี หรือเวป็ ไซต/์ แอปพลิเคชนั ท่นี า่ เช่ือถอื แแออปปTTccaasstteerr 21 หมายเหตุ ใหน้ กั เรยี นตรวจสอบด้วยวา่ แอปฯตา่ ง ๆ ใช้เกณฑข์ องปใี ด เพราะอาจจะยังไมอ่ ปั เดท

รอบที่ 3: Admission (แอดมชิ ชน่ั ) www.dek-d.com/tcas/ wwwwww.a.addmmisisssioionnpprreemmiuiumm.c.coomm//aapppp//ccaalclcuulalattoorr// 22 หมายเหตุ ให้นกั เรยี นตรวจสอบด้วยว่าแอปฯตา่ ง ๆ ใช้เกณฑ์ของปีใด เพราะอาจจะยงั ไม่อัปเดท

รอบท่ี 3: Admission (แอดมชิ ช่นั ) คาํ นวณคะแนนเสรจ็ แลว้ ยงั ไงต่อ? Ans: เรยี งลาํ ดับสาขาวชิ าตามความสนใจ กอ่ี ันดับก็ได้ (สูงสุด 10 อนั ดบั ) 23

รอบท่ี 3: Admission (แอดมชิ ช่นั ) “ ตอ้ งจดั อันดับยงั ไง คะแนนหรืออนั ดับสําคญั กวา่ กัน? “ทัง้ สองอยา่ งมีความสําคัญ แตร่ ะบบจะดจู าก คะแนนเปน็ หลกั โดยระบบจะนาํ คะแนนนักเรียนทกุ คนมาเรียงลาํ ดับ ใครทไ่ี ด้คะแนนมากกว่าจะอยู่ ลําดับสูงกวา่ และจะตดั คนสุดท้ายตามจํานวนรับ ดังตวั อยา่ งสถานการณต์ อ่ ไปนี้ 24

สถานการณท์ ี่ 1 25 สถานการณท์ ี่ 2 ทมี่ า: https://www.eduzones.com/2021/05/14/tcas3-ranking/

สถานการณท์ ่ี 3 26 สถานการณ์ที่ 4 ที่มา: https://www.eduzones.com/2021/05/14/tcas3-ranking/

รอบท่ี 3: Admission (แอดมชิ ชน่ั ) เคลด็ ไมล่ บั จัดอันดบั รอบที่ 3 ให้ตดิ ชวั ร์ 1. ดูคะแนนสูงสุด-ต่ําสุดย้อนหลงั 1 - 3 ปี TCAS 2564 ให้ดเู กณฑ์ Admission 1 TCAS 2563 ลงไป ใหด้ คู ะแนนรอบรบั ตรงของแต่ละมหาฯลยั 27

รอบท่ี 3: Admission (แอดมิชช่นั ) 28

รอบท่ี 3: Admission (แอดมชิ ชัน่ ) เคล็ดไมล่ บั จัดอันดบั รอบท่ี 3 ใหต้ ิดชัวร์ 2. จดั อันดบั ตามความชอบเป็นหลกั และพิจารณาคะแนนเป็นเร่อื งรอง ลงมา อันดับ ความสนใจ/ความตอ้ งการเขา้ คณะ คะแนน/โอกาสติด คา่ สมัคร ณ วนั ที่ 17 คณะในฝนั มากกกกก ตุลาคม 2564 1 ตดิ ได้คอื จุดพลุ ติดลบแค่ไหนไม่ต้องแคร์ 150 ทปอ. ไดม้ ีมตลิ ด 2 ตดิ ลบนอ้ ยลงมา นา่ จะมีโอกาสติดได้บ้าง +50 3 เออ้ อ ไดท้ ีน่ ก่ี ็เลศิ อยู่ ตดิ ลบกรุบกริบ พอมแี ววตดิ +50 คา่ สมัคร 4 ติดลบบ้าง พอมแี ววติด +50 TCAS65 ในรอบ 5 สนใจอยู่เด้อ คะแนนตดิ ลบนอ้ ย/บวกระดบั หนงึ่ นา่ จะตดิ +100 6 คะแนนตดิ ลบนอ้ ยมาก/บวกระดับหนึง่ นา่ จะตดิ +100 ท่ี 3 ลง 15% 7 +100 8 คณะนก้ี ็โอเคแหละ ไดอ้ ยู่ คะแนนเปน็ บวกระดับหนึ่ง-มาก ติดแน!่ +100 29 9 คะแนนเปน็ บวกระดบั หนง่ึ -มาก ติดแน!่ +100 10 คะแนนเปน็ บวกระดบั หนง่ึ -มาก ตดิ แน!่ +100 คะแนนเปน็ บวกระดบั หนึ่ง-มาก ติดแน!่

รอบที่ 3: Admission (แอดมิชช่ัน) ขน้ั ตอนการคัดเลือกในรอบที่ 3 เปิดรับสมัคร นกั เรยี นเลือกกอนั ดับ ตามความสนใจ ประกาศผล 1 ปดิ รบั สมัคร ประมวลผลคะแนน อันดบั ทไ่ี ดส้ ูงสุด และประกาศผลรอบแรก จากทีเ่ ลือก ทงั้ หมด OK กบั ผล ไม่ OK กับผล ไม่ผ่านคดั เลือก ไมพ่ อใจอันดบั ยนื ยนั สิทธิ์ + ไมใ่ ช้สิทธิ์ ขอประมวลผลรอบ 2 เพ่ือเลอื่ นอันดับ + ตอ่ ไมข่ อประมวลผลใหม่ ยนื ยนั สิทธ์อิ ัตโนมัตหิ ากอนั ดับข้นึ ไปตอ่ รอบ 4 30 ไปต่อรอบ 4 ไม่ไดแ้ ล้ว

รอบท่ี 3: Admission (แอดมิชช่ัน) ขน้ั ตอนการคดั เลอื กในรอบท่ี 3 ตอ่ ประมวลได้ตงั้ แต่อนั ดบั ทีต่ ดิ ข้ึนไป Ex. รอบแรก ติดอนั ดับ 5 ขอประมวลผล ขอประมวลผลรอบ 2 เพ่ือเลือ่ นอันดบั + ยืนยนั สิทธอิ์ ัตโนมัตหิ ากอนั ดบั ข้ึน ใหม่ อันดับ 1 - 5 หรือแค่ 1 2 ได้ แตข่ อ ประมวลผลคะแนนเพื่อเลือ่ นอนั ดับ ประมวลอนั ดับ 6 - 10 ไม่ได้ และประกาศผลรอบ 2 อนั ดับสูงขน้ึ อันดบั ไมส่ ูงขน้ึ ประกาศอนั ดับใหม่ + ไม่โอเคกบั ประกาศผลเดมิ โอเคกบั ผลเดมิ ยืนยันสิทธอ์ิ ัตโนมัติ ผลเดมิ ไม่ใชส้ ิทธ์ิ ยนื ยนั สิทธิ์ ไปต่อรอบ 4 ไปต่อรอบ 4 ไม่ได้แล้ว 31

รอบท่ี 4: Direct Admission “รอบสุดทา้ ย เก็บตกทนี่ ่ัง” กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนทย่ี ังไมม่ ที ีเ่ รียน วธิ คี ดั เลือก ● ขอ้ สอบกลาง (GAT / PAT / 9 วิชาสามญั ) ● แต่ละมหาวทิ ยาลัยจะมีเกณฑเ์ ป็นของตัวเอง และจะประกาศ ระเบยี บการหลังจากจบรอบที่ 3 ไปแล้ว ● อาจใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน และ/หรอื GPAX (4 – 5 เทอม) ● อาจใช้คะแนนจากการสอบวิชาเฉพาะ/ขอ้ สอบอน่ื ๆ ● อาจใชค้ ะแนนจากการสอบสัมภาษณ์ การสมคั ร สมัครกบั มหาวทิ ยาลยั โดยตรง สมัครได้ไมจ่ าํ กัดที่ (แตค่ วรสมคั รเฉพาะท่ี ที่เราเข้าเกณฑ์ + การรบั ค่อนขา้ งไมค่ งที่ บางปรี ับ บางปไี ม่รบั ) การประกาศผล ประกาศผลทกุ ท่ีที่ผ่านการคัดเลอื ก การยืนยนั สิทธิ์ ยืนยันสิทธ์ิได้ 1 ทเ่ี ทา่ นั้น หรือไม่ใช้สิทธ์ิ 32

“ตวั อยา่ งระเบยี บการรอบ 4 - ม.บูรพา 64” 33

“ตัวอยา่ งระเบยี บการรอบ 4 - ม.บรู พา 64” ● ใชท้ ั้ง GPAX และขอ้ สอบกลาง 34 ● จาํ นวนรับมากน้อยแตกตา่ งกนั ไป

“ตวั อยา่ งระเบยี บการรอบ 4 - มรภ.บา้ นสมเดจ็ 64” 35

“ตวั อย่างระเบียบการรอบ 4 - มรภ.บ้านสมเดจ็ 64” ● ใช้ GPAX ● มกี ารสอบสัมภาษณ์ 36

“ตวั อยา่ งระเบยี บการรอบ 4 - มศว 64” 37

“ตัวอย่างระเบยี บการรอบ 4 - มศว 64” ● ใชแ้ ฟม้ สะสมผลงาน 38

02 คณุ มสี ิทธิ์ ผมก็มสี ิทธ์ิ 39

การบรหิ ารจัดการสิทธ์คิ ือ? “ “ การบรหิ ารจัดการสิทธใ์ิ นระบบ TCAS คือ ระบบการจัดการสิทธิ์ ส่วนกลางของทปอ.ใน MyTCAS เพื่อให้นักเรยี นสามารถเขา้ ใช้งานในระบบ ตามท่ตี อ้ งการ และไม่ใชส้ ิทธ์ิซ้ําซอ้ น ซง่ึ นักเรียนจะตอ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การ สิทธิใ์ นระบบ TCAS65 อย่างถูกต้องจงึ จะมสี ิทธ์ิศึกษาตอ่ ในระดบั อุดมศึกษา หากไม่บริหารจัดการสิทธ์ิ จะส่งผลใหน้ กั เรียนพลาดโอกาสใน การศึกษาตอ่ ตามท่ตี อ้ งการได้ การยืนยนั สิทธ์ิ การไม่ใชส้ ิทธ์ิ การสละสิทธิ์ การคืนสิทธ์ิ การตรวจสอบสถานะการใช้สิทธ์ิ 40

การยนื ยนั สิทธิ์ คือ ผ้สู มัครตอ้ งการเข้าศึกษาในสาขาทผ่ี า่ นการคดั เลอื กเพียง 1 สาขา โดยกดยืนยันสิทธิ์ใน MyTCAS หลงั จบการคดั เลอื กแตล่ ะรอบ 41

1. การยนื ยนั สิทธ์ิ ??? Q: Admission ประมวลผล 2 รอบ แต่ทาํ ไมให้ยนื ยนั สิทธคิ์ รั้งเดยี ว? ● ระบบจะเปดิ ให้ยืนยนั สิทธใ์ิ นรอบ 3 เฉพาะหลังการประกาศผลรอบแรก โดยหาก นักเรยี นพอใจกบั ผลการคดั เลอื กในรอบแรก ให้นักเรียนกดยืนยนั สิทธต์ิ ามปกติ ● ถ้าขอประมวลผลรอบท่ี 2 เพ่ือเลอ่ื นอันดับ ระบบจะบังคับใหน้ ักเรียนยืนยันสิทธ์ิ ลว่ งหนา้ หากผลออกมาแล้วอนั ดับสูงขึ้น ● ถ้าขอประมวลผลรอบที่ 2 เพ่ือเล่ือนอันดับ แตอ่ นั ดบั นักเรียนไมส่ ูงขนึ้ จากครงั้ แรก และนกั เรียนยังต้องการเขา้ ศึกษาในสาขาทีต่ ิดในครงั้ แรก นกั เรยี นจะตอ้ ง กดยืนยนั สิทธเิ์ พื่อเขา้ ศึกษาดว้ ยในวันประกาศผล 42

1. การยืนยนั สิทธิ์ ??? Q: บางสถาบัน ติดแลว้ ให้ยืนยันสิทธิ์ด้วย คอื ระบบเดียวกันไหม? ● ไมใ่ ชใ่ นระบบเดยี วกัน ● ในรอบตา่ ง ๆ บางมหาวิทยาลยั อาจใหย้ ืนยนั สิทธิต์ า่ งหาก เพื่อส่งช่อื เข้าระบบ TCAS65 ใหน้ ักเรยี นได้ยืนยันสิทธ์ใิ นช่วงเวลากลางตอ่ ไป ● ในรอบที่ 1 2 และ 4 นักเรยี นสามารถยืนยนั สิทธิใ์ นระบบของมหาวทิ ยาลัยได้หลาย ทห่ี ากสนใจหลายที่ แต่สุดท้าย จะตอ้ งยืนยันสิทธิ์ในเวป็ ไซต์ MyTCAS เพื่อเลอื ก สาขาทผี่ ่านเพียง 1 สาขา ● ยนื ยันสิทธ์ิทีม่ หาฯลัยแลว้ แตไ่ ม่ยนื ยันสิทธ์ใิ น MyTCAS จะถอื วา่ นกั เรยี นไม่ ประสงคจ์ ะยนื ยนั สิทธิ์ 43

1. การยนื ยันสิทธ์ิ ??? Q: ถา้ ไม่ยืนยนั สิทธิ์ภายในวนั ทกี่ าํ หนดได้ไหม? ● ไมไ่ ด้ ต้องยนื ยันสิทธภิ์ ายในวันทกี่ าํ หนดเทา่ นัน้ หากเลยกาํ หนดแล้ว จะถือว่า นกั เรียนไม่ประสงค์จะยนื ยนั สิทธ์ิ (ไมใ่ ชส้ ิทธ์)ิ ในคณะ/สาขาทผี่ ่านการคัดเลือกใน รอบนนั้ ๆ Q: ยนื ยันสิทธ์ิแล้ว ไปสมัครรอบต่อไปได้ไหม? ● ไมไ่ ด้ เนือ่ งจากระบบจะไมใ่ ห้นักเรยี นสมคั ร ยกเว้นวา่ นักเรียนจะสละสิทธกิ์ ่อน 44

2. การไมใ่ ช้สิทธ์ิ ผูส้ มคั รไม่ต้องการเขา้ ศึกษาในสาขาท่ผี า่ นการคัดเลอื กทงั้ หมด (รวมถึงสาขาท่ีนักเรยี นยืนยนั สิทธท์ิ ่รี ะบบของมหาวิทยาลยั ไปแล้ว) ไม่ใชส้ ิทธิ์ ทํายงั ไง? ในวันยืนยันสิทธ์ิ ให้นักเรียน 1. กดไมใ่ ช้สิทธิใ์ น MyTCAS 2. ไม่ตอ้ งทาํ อะไรเลยใน MyTCAS ท้ังสองวธิ ีนี้ ระบบจะถือวา่ ไม่ใชส้ ิทธิ์ 45

2. การไม่ใช้สิทธ์ิ ??? Q: ถา้ ไม่ใชส้ ิทธิ์แลว้ สมัครรอบตอ่ ไปได้ไหม? ● นกั เรยี นสามารถสมัครรอบต่อไปไดเ้ ลย จนกว่านกั เรยี นจะยนื ยนั สิทธิ์ Q: ถา้ ตอนแรกไมใ่ ช้สิทธ์แิ ลว้ จะขอกลบั มายนื ยันสิทธท์ิ ีหลงั ? ● ทําไม่ได้ หากไมใ่ ช้สิทธิ์ในเวลาทีก่ าํ หนดแล้ว ระบบจะให้นักเรยี นไปรอบต่อไปเลย ระบบจะเดินหน้าอย่างเดยี ว ไม่กลบั มาให้นักเรยี นยืนยนั สิทธ์อิ กี ในทกุ กรณี 46

2. การไม่ใช้สิทธ์ิ ??? Q: แล้วรอบ 3 ท่ีมีการประมวลผล 2 รอบ จะขอไมใ่ ช้สิทธิย์ ังไง? 47

2. การไมใ่ ชส้ ิทธ์ิ ??? Q: แล้วรอบ 3 ทมี่ ีการประมวลผล 2 รอบ จะขอไมใ่ ชส้ ิทธิ์ยังไง? การประมวลผลรอบที่ 1 ทาํ ได้ 2 วิธี คือ ● กด “ไมใ่ ชส้ ิทธิ์เข้าศึกษาและไมข่ อรับการประมวลผลในรอบท่ี 2” ● ไม่ตอ้ งกดยนื ยันสิทธิ์ (ไม่ต้องทําอะไรเลย) ● ทงั้ สองวิธนี ้ี จะถือว่าไมใ่ ชส้ ิทธ์ิ ไปรอบที่ 4 ได้ การประมวลผลรอบที่ 2 ทําได้ 1 วิธี จากเงือ่ นไขดงั นี้ ● ขอประมวลผลแลว้ อนั ดับเลื่อนข้นึ ขอไมใ่ ช้สิทธิ์ไมไ่ ด้ > ไปรอบตอ่ ไปไมไ่ ด้ ● อนั ดับไม่เล่ือนขนึ้ > ไม่ตอ้ งกดยืนยนั สิทธิ์ ไม่ต้องทําอะไรเลย แล้วไปรอบ 4 ได้ 48

3. การสละสิทธ์ิ ผ้สู มคั รตอ้ งการยกเลกิ การยืนยันสิทธ์ิหรือขอคืนสิทธทิ์ ีไ่ ดใ้ ช้ไปแลว้ ยกเลิกการยืนยนั สิทธิ์ทเ่ี คย คนื สิทธิ์ สมัครรอบตอ่ ไปได้ ใชไ้ ปแลว้ ในรอบก่อนหน้า 49 ขอสละสิทธ์ิ ระบบคนื สิทธ์ิในการ ยืนยนั ใหอ้ ีกครงั้

3. การสละสิทธิ์ ??? Q: สละสิทธไิ์ ดก้ ค่ี ร้งั ถา้ สละสิทธ์ิเกินจากน้ันจะเป็นอยา่ งไร ● สละสิทธิไ์ ด้ 1 ครัง้ เทา่ นนั้ ● หากสละสิทธิ์ครบ 2 ครงั้ จะสมคั รรอบตอ่ ไปไมไ่ ด้ นักเรยี นทสี่ ละสิทธ์ิในสาขาแพทยศาสตร์ ทนั ตแพทยศาสตร์ และเภสัชศาสตร์ ของ สถาบนั รฐั ฯ จะไมส่ ามารถสมคั รเข้าคัดเลือกในระบบ TCAS ในสาขาเดมิ ที่นักเรยี นเคย สละสิทธิ์ได้ ยกเวน้ นกั เรยี นจะสมัครเข้าเรยี นในมหาวทิ ยาลัยเอกชน Ex. สละสิทธแ์ิ พทยศาสตร์ของจุฬาฯ จะสมคั รแพทยศาสตรข์ องม.อ่ืนอีกครงั้ ไม่ได้ 50