Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT

การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT

Published by watchara.tmc, 2020-04-19 00:04:27

Description: การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT

Search

Read the Text Version

42 การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT รูปที่ 35 ภาพแสดงท่านวดทา้ ความสะอาดบรเิ วณปกี จมกู และหน้าผาก 2.4 ลากมือโดยใช้น้ิวกลางและน้ิวนางหมุนเป็นวงกลม บริเวณปีกจมูก ปลายและบนจมูกประมาณ 3 รอบ ลากข้ึนบนหน้าผาก ต่อเนื่องกัน ดังแสดงใน รูปท่ี 35 รปู ท่ี 36 ภาพแสดงทา่ นวดทา้ ความสะอาดบรเิ วณหน้าผาก 2.5 ใช้นิ้วกลางและนิ้วนางนวดเป็นวงกลมบริเวณหางคิ้วด้านขวา ขึ้น ลงด้วยน้าหนักที่สม้่าเสมอ นวดบริเวณหน้าผากไล่มาทางด้านซ้ายประมาณ 3 รอบ ดังแสดงในรูปท่ี 36

การดแู ลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 43 รปู ท่ี 37 ภาพแสดงทา่ นวดลบู วนเปน็ วงกลมบรเิ วณคอ หัวไหล่ และเนินอก 2.6 ลากมือจากหน้าผากลงมาท่ีคอ นวดลูบวนเป็นวงกลมบริเวณคอ หวั ไหล่ และเนนิ อก โดยใช้น้าหนักมือทส่ี ม่า้ เสมอกัน และเป็นจงั หวะที่ต่อเนือ่ งจะ ทา้ ให้ลกู ค้าสบาย และผ่อนคลาย ประมาณ 3 รอบ ดงั แสดงในรูปท่ี 37 รปู ที่ 38 ภาพแสดงการเช็ดทา้ ความสะอาดบรเิ วณคอ 2.7 เช็ดท้าความสะอาดใบหน้าด้วยฟองน้าเช็ดหน้า เร่ิมจากบริเวณคอ เช็ด ขึ้นด้านบน ตามด้วยเช็ดบริเวณคอออกทางด้านข้าง ลากออกด้านข้าง เช็ดจาก บริเวณคางออกทางด้านข้าง ขึ้นด้านบนมาท่ีติ่งหู เช็ดบริเวณแก้ม จากด้านในออก ด้านนอก ไล่จากแก้มจนถงึ โหนกแก้ม เช็ดท่ีบริเวณหน้าผาก ลากจากข้างหน่ึงไปอีก

44 การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT ข้างหนึ่งสลับกันจนสะอาด โดยจะเช็ดท่ีละข้างหรือจะเช็ดท้ัง 2 ด้านพร้อมกันตาม ความถนัด ดังแสดงในรูปท่ี 38 และ 39 รปู ที่ 39 ภาพแสดงการเชด็ ท้าความสะอาดบริเวณแก้มและหน้าผาก 2.8 เช็ดจากบริเวณหัวตาลากออกด้านหางตา ด้วยน้าหนักที่เบามือเช็ดท่ี บริเวณเหนอื รมิ ฝีปาก ใต้ริมฝีปาก จากด้านมุมปากไปอกี ดา้ นหนงึ่ ดังแสดงในรปู ท่ี 40 หมายเหตุ ควรลา้ งฟองน้าและเปลยี่ นน้าท่ใี ชใ้ นการเช็ดหน้า รูปที่ 40 ภาพแสดงการเชด็ ท้าความสะอาดบริเวณตาและปาก

การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 45 3. ปรบั สภาพผวิ หน้า (Facial toner) ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการปรับสภาพผิวและสมานผิว จะใช้ภายหลังการท้า ความสะอาดหน้าเพื่อปรับสภาพผิวก่อนการนวดหน้า เป็นการขจัดสิ่งสกปรกที่ ตกคา้ งบนผิวหลังการล้างหนา้ และช่วยกระชับรูขุมขนที่เปดิ กว้างขณะลา้ งหน้าให้ กลับสู่สภาพปกติ โดยผลิตภัณฑ์บางชนิดอาจจะผสมแอลกอฮอล์ เพื่อเก็บคราบ มนั และฆา่ เชื้ออย่างอ่อนๆ แต่บางชนิดอาจใช้สารส้าคัญท่ีอยู่ในพชื ธรรมชาติ ชว่ ย สมานผวิ และฆา่ เชือ้ ไปในตัว พร้อมปรบั สภาพผิวใหส้ มดลุ ทส่ี ้าคัญต้องไม่ทา้ ใหผ้ ิว เกิดการระคายเคือง การใช้โทนเนอร์ปรับสภาพผิว อาจใช้ได้มากกว่า 1 คร้งั โดย ใช้ส้าลีเช็ดท้าความสะอาดท่ีบริเวณเนินอก หัวไหล่ ล้าคอ กลับด้านส้าลีหรือ เปลยี่ นใหม่ เชด็ ข้ึนมาท่ีคาง แกม้ และบริเวณหนา้ ผาก ดังแสดงในรูปที่ 41 รูปท่ี 41 ภาพแสดงการใช้โทนเนอรเ์ ช็ดเพือ่ ปรบั สภาพผิวหนา้

46 การดูแลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 4. ขดั หน้า (Facial Scrub/exfoliation) การขัดหน้า เป็นการเอาผิวช้ันนอกบางส่วนออกซ่ึงปกติผิวจะมีการหลุด ลอกออกเป็นประจ้าอยู่แล้ว ตลอดจนการด้าเนินชีวิตประจ้าวันที่ต้องมีการ แตง่ หน้า การใช้เครือ่ งสา้ อาง และเผชิญกับมลภาวะตา่ งๆ เชน่ ฝุ่น คราบเหงอื่ ไคล จึงจ้าเป็นต้องมีการขัดหน้าหรือสครับหน้าเพ่ือเอาสิ่งสกปรกหรือค ราบ เคร่ืองส้าอางท่ีเกาะแน่นบนผิวให้ออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การเลือกตัวขัด ผวิ ควรเลือกทอี่ ่อนโยน ไม่ระคายเคืองกับผิว ขณะเดียวกันก็มีคณุ สมบตั ิในการขัด เซลลผ์ วิ ออกได้อย่างอ่อนโยน โดยมีทา่ ทใ่ี ช้ในการขัดหน้าดังน้ี 4.1 แต้มครีมขัดหน้าท่ีบริเวณใบหน้าและล้าคอ เกล่ียครีมให้ทั่วใบหน้า เร่ิมทา่ นวด Friction ท่ีใชใ้ นการขัดหน้า โดยใช้นิว้ กลางและน้ิวนาง ขดั เป็นวงกลม สลับไปมาด้านซ้ายและด้านขวา 1-2 รอบ และขัดเป็นแบบฟันปลาด้านซ้ายและ ดา้ นขวา 1-2 รอบ ดงั แสดงในรูปที่ 42 รปู ท่ี 42 ภาพแสดงการขดั หน้าบรเิ วณหนา้ ผาก

การดูแลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 47 4.2 ลากมือจากหน้าผากลงมาที่บริเวณคอ นวดท่า Effleurage จาก เนินอก ไหล่ มาที่คอประมาณ 2 รอบ โดยลงน้าหนักเบา หลังจากนั้น นวดลูบ วนขึ้นบริเวณแก้ม นวดเป็นวงกลมเป็น 2 แนว จากโหนกแก้มถึงคาง และจาก หน้าหูถึงคาง ดังแสดงในรูปท่ี 43 รูปท่ี 43 ภาพแสดงการขัดหนา้ บรเิ วณแก้ม 4.3 นวดเป็นวงกลม ใช้นา้ หนักมือเบา ไล่จากคาง รอบริมฝีปาก ขึ้นมาท่ี ข้างจมูก บนจมูกแล้วลากออกมาที่โหนกแก้มขึ้นมาที่หน้าผาก นวดวนรอบ ดวงตาโดยใช้น้ิวนางนวดวนรอบดวงตา 3 รอบ ดังแสดงในรูปท่ี 44 รปู ที่ 44 ภาพแสดงขัดหน้าบรเิ วณจมกู และรอบดวงตา

48 การดูแลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 4.4 ลากมือนวดเป็นวงกลมออกด้านข้างแก้ม นวดบริเวณแก้ม ร่องแก้ม เป็นวงกลมอย่างละ 2 รอบ แล้วลากมือขึ้นมาบริเวณหน้าผาก ลากลงมาที่คาง ดงั แสดงในรูปท่ี 45 รูปที่ 45 ภาพแสดงขดั หนา้ บรเิ วณแก้ม 4.5 นวดลากขน้ึ ลงบริเวณเหนือรมิ ฝปี ากและคางแบบสลบั มือ 3 รอบ แล้ว นวดลากจากคางลงลงบริเวณล้าคอ เนินอก เป็นลักษณะวงกลม ขัดผิวเล็กน้อย โดยไมต่ ้องออกแรงมาก ดังแสดงในรปู ท่ี 46 รปู ท่ี 46 ภาพแสดงการขดั หนา้ บรเิ วณรมิ ฝปี ากและลา้ คอ 4.6 ใชฟ้ องน้าเชด็ ออกให้เกลยี้ ง ท้าการเชด็ หนา้ ขา้ งต้นแลว้ ซับหน้าด้วย กระดาษทิชชูอีกคร้งั ดงั แสดงในรูปท่ี 39-40

การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 49 5. นวดหน้า (Facial massage) เป็นการนวดหน้า เพ่ือผ่อนคลายกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหลเวียนเลือด และบา้ รงุ ผวิ โดยมีท่าที่ใชใ้ นการการนวดหนา้ ดังนี้ 5.1 วางมือทั้งสองข้างท่ีบริเวณต่ิงหู นวดแบบ Effleurage ลากมือท่ี บรเิ วณกลางเนินอก นวดแยกมือออกมาทีห่ ัวไหล่ ผา่ นหลัง ลากมาจบท่บี รเิ วณติ่ง หู 3 รอบ โดยใชน้ ้าหนักปานกลาง ดงั แสดงในรปู ที่ 47 รปู ท่ี 47 ภาพแสดงการนวดคอและเนินอกแบบ Effleurage

50 การดแู ลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 5.2 นวดท่า knuckling ท่ีบริเวณคอ ไล่มาท่ีเนินอก แล้วมากดท่ีบริเวณ ตอ่ มน้าเหลือง โดยนวดบริเวณคอ เนินอก โดยใชน้ ้าหนักปานกลาง 3 รอบ ดงั แสดงในรูปท่ี 48 รปู ท่ี 48 ภาพแสดงการนวดคอและเนนิ อกแบบ knuckling

การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 51 5.3 ลากมือมาโอบกระชับใบหน้า ซา้ ย-ขวา สลับกัน 3 รอบ ดังแสดงในรูปที่ 49 รปู ท่ี 49 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณคาง 5.4 ใช้มือทั้ง 2 ข้าง โอบคางลากกระชับใบหน้า โดยลากจากคางข้ึนมาท่ี ขมับ 3 รอบ ดังแสดงในรูปที่ 50 รูปที่ 50 ภาพแสดงการนวดกระชบั บริเวณคาง

52 การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 5.5 ลากมือท้ังสองข้างมาท่ีหน้าผาก แล้วใช้น้ิวนางนวดเป็นวงกลมรอบ ดวงตา 3 รอบ ดังแสดงในรปู ที่ 51 รูปท่ี 51 ภาพแสดงการนวดรอบดวงตา 5.6 ลากมือตอ่ เน่ืองมาท่หี นา้ ผาก นวดโดยใช้น้ิวกลางและนว้ิ นางนวดเป็น ลักษณะฟันปลา จากหน้าผากขวาไปซา้ ย 3 รอบ ดังแสดงในรปู ที่ 52 รูปที่ 52 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณหน้าผาก

การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 53 5.7 ลากมอื ตอ่ เน่อื งมาขา้ งแก้ม ลงมาทค่ี าง ใช้นิ้วหัวแม่มอื นวดสลับข้ึนลง ระหวา่ งคางกับเหนือรมิ ฝีปาก ขนึ้ ลง 3 รอบ แลว้ ท้ามอื ขนานกับใบหนา้ ดงั แสดงในรูปที่ 53 รปู ท่ี 53 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณคาง 5.8 ใช้นิ้วโป้งและนิ้วชี้ในท่า Pinching บริเวณคางถึงกราม 3 รอบ ดังแสดงในรูปท่ี 54 รปู ท่ี 54 ภาพแสดงการนวดแบบ Pinching บรเิ วณคางถึงกราม

54 การดแู ลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 5.9 ใช้ท้ังน้ิวสีน่ ิ้วยกเว้นน้ิวหัวแม่มือ ยกตีสลับขน้ึ ลงบนใบหน้าสลับขึ้นลง ในท่า Tapping 3 รอบ ดังแสดงในรปู ท่ี 55 รปู ที่ 55 ภาพแสดงการนวดแบบ Tapping บรเิ วณใบหนา้ 5.10 ใช้น้ิวท้ังสี่น้ิว ยกเว้นนิ้วหัวแม่มือ ท่ีเหลือท้าท่า Rolling ที่คาง ด้านขวา และด้านซา้ ย ด้านละ 3 รอบ แล้วนวดที่มุมปาก ดังแสดงในรูปท่ี 56 รปู ท่ี 56 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณกราม

การดูแลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 55 5.11 ลากมือขึ้นมาที่จมูก ใช้น้ิวหัวแม่มือนวดไขว้กันบริเวณจมูก ดงั แสดงในรูปที่ 57 รูปท่ี 57 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณจมกู 5.12 ลากมอื ลงมาท่ีใต้คาง นวดบริเวณนวดไล่น้าเหลืองจากคางดา้ นขวา ขน้ึ มาถงึ หนา้ หู แลว้ สลบั มาด้ายซา้ ยข้างละ 3 รอบ ดังแสดงในรูปท่ี 58 รูปท่ี 58 ภาพแสดงการนวดยกกระชับบรเิ วณแกม้ ทง้ั สองข้าง

56 การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 5.13 นวด Effleurage บริเวณเนินอก หัวไหลแ่ ละคอ เหมือนตอนเร่ิมการ นวดหน้า 3 รอบ ดังแสดงในรปู ท่ี 59 รปู ที่ 59 ภาพแสดงแบบ Effleurage บรเิ วณเนินอก หวั ไหล่และคอ 5.14 เชด็ ทา้ ความสะอาดใบหน้า ดังแสดงในรปู ท่ี 38 – 40

การดูแลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 57 6. พอกหน้า (Facial mask) การพอกหน้า ไม่ควรพอกหน้าหนาหรือบางเกินไป ครีมท่ีใช้ในการ พอกหน้า มีหลายแบบ แบบที่มีส่วนผสมของสารเคมี สารสกัดจากธรรมชาติ ขน้ึ กับสถานประกอบการที่เลือกใช้ สรรพคุณของครีมพอกหน้าทีใ่ ช้ เช่น ลดรอยด้า บ้ารงุ ผวิ ลดรวิ้ รอย เป็นต้น โดยเริม่ การพอกหน้าดงั นี้ 6.1 ใช้ฟูกันป้ายครีมพอกหน้า ระวังไม่ให้หยดใส่ลูกค้า ลากจากกลางไห ปลารา้ ออกทางด้านขา้ ง ลากจากคอออกทางดา้ นขา้ ง ท้าสลับกันท่ลี ะขา้ ง ดงั แสดงในรูปที่ 60 รปู ท่ี 60 ภาพแสดงการพอกท่บี รเิ วณเนินอกถึงคอ 6.2 ใช้ฟูกันป้ายครีมพอกหน้า ลากจากคางออกทางด้านข้างมาท่ีติ่งหู สลบั ท้าอกี ข้างหนงึ่ ดงั แสดงในรปู ท่ี 61 รูปที่ 61 ภาพแสดงการพอกจากคางออกทางด้านขา้ งถงึ ติง่ หู

58 การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 6.3 ใช้ฟูกันป้ายครีมพอกหน้า ลากจากปีกจมูกออกด้านข้าง ให้เป็นแนว ยาวสม้า่ เสมอกัน สลบั ทา้ อกี ข้างหนงึ่ ดงั แสดงในรปู ที่ 62 รูปท่ี 62 ภาพแสดงการพอกหนา้ จากปกี จมกู ลากออกด้านขา้ ง 6.4 ใช้ฟูกันป้ายครีมพอกหน้า ลากจากหน้าผากข้างหน่ึง ไปอีกด้านหน่ึง ดังแสดงในรูปที่ 63 รปู ท่ี 63 ภาพแสดงการพอกบรเิ วณหน้าผาก 6.5 ลากจากปลายจมูก ผา่ นระหว่างค้ิวข้นึ มาทหี่ นา้ ผาก โดยการพอกหน้า ในบริเวณนีต้ ้องระวังไม่ใหค้ รมี พอกหนา้ เขา้ ตา จมูก และปาก ดงั แสดงในรูปที่ 64

การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 59 รปู ท่ี 64 ภาพแสดงพอกหน้าบรเิ วณจมูก 6.6 ใช้ฟูกันเกบ็ รายละเอยี ด โดยเกล่ียครมี ใหเ้ รียบสม้า่ เสมอกนั ปิดตาด้วย ส้าลีเปียก ทิ้งไว้ประมาณ 10-15 นาที ในกรณีท่ีห้องมีอากาศเย็น ควรใช้ผ้าคลุม บริเวณที่ไหล่ และหน้าอก เพ่ือป้องกนั ผู้มารับบริการหนาวในขณะนอนพอกหน้า ดงั แสดงในรปู ที่ 65 รูปที่ 65 ภาพแสดงปิดตาและคลมุ ผา้ ขณะนอนพอกหนา้ 6.7 เช็ดครีมพอกหนา้ ออกให้เกล้ียงเหมือนการเช็ดทา้ ความสะอาดหน้า ข้างตน้ ดังแสดงในรูปที่ 25-27 โดยตรวจตามซอกจมกู และบริเวณผมวา่ มีครีม พอกหน้าตดิ อยหู่ รือไม่

60 การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 7. บารุงผวิ หนา้ (Facial moisturizer) การบ้ารุงหน้า ควรเลือกครีมบ้ารุงผวิ หน้าให้ตรงกับสภาพของผิว หรือตัว บ้ารุงผิวสูตรอ่อนโยนท่ีใช้ได้กับทุกสภาพผิว โดยทาบางๆให้ทั่วใบหน้า แล้วเชิญ ผูร้ บั บรกิ ารอย่ใู นท่านั่งพกั สกั ครู่ ให้ผรู้ บั บรกิ ารเปลยี่ นเสื้อผา้ แลว้ เตรยี มเสิร์ฟน้า การดแู ลหลงั นวดหนา้ (Approaches to facial massage care) เมื่อผู้รับบรกิ ารกลบั จากการเปลย่ี นเสื้อผา้ ท้าการเสิร์ฟน้า โดยนา้ ท่ีเสิร์ฟ หลังท้าทรีทเม้นท์อาจเป็นชาสมุนไพรที่หาง่าย และคงเป็นเอกลักษณ์ความเป็น ไทยไว้ เช่น ชามะตูม ชาเกสรบัวหลวงผสมใบเตย ดังแสดงในรูปที่ 66 เป็นต้น และใหค้ ้าแนะนา้ ดงั นี้ 1. หลีกเลย่ี งแสงแดด เนอ่ื งจากหลงั ท้าทรที เมน้ ท์ใบหนา้ จะไดส้ ารอาหาร และ ผวิ หนงั ชัน้ บนสดุ ท่ีถกู ขัดออกไป จะทา้ ให้ผวิ หนา้ ไวต่อแสงแดดได้ 2. รับประทานอาหารใหค้ รบ 5 หมู่ เพอื่ ส่งเสริมสขุ ภาพผิว 3. ดม่ื น้าหลังการท้าทรีทเมน้ ท์ จะช่วยบา้ รุงผิวและขจัดของเสียออกจากรา่ งกาย 4. แนะน้าทรีทเม้นท์ในครั้งหน้า เช่น การนวดน้ามันหอมระเหย นวดไทยเพื่อสุขภาพ รูปท่ี 66 ภาพแสดงชาสมนุ ไพรเสริ ์ฟหลงั ทา้ ทรีทเม้นท์

การดูแลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 61 เอกสารอา้ งองิ 1. การนวดเพื่อสุขภาพแบบสวีดิช. ส้านักการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก. กรุงเทพฯ: บรษิ ัทสามเจริญพาณชิ ย์. 2552. 2. พระราชบัญญัติสถานประกอบการเพ่ือสุขภาพ พ.ศ. 2559. กองสถานประกอบการเพ่ือ สขุ ภาพ กรมสนับสนุนบริการเพื่อสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ . กรุงเทพฯ: บรษิ ัทอาร์ต ควอลิไฟท์. 2559. 3. มาตรฐานการรับรองคุณภาพสถานประกอบการสปาเพ่ือสุขภาพ. ส้านกั พยาบาลและการ ประกอบโรคศลิ ปะ กรมสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จา้ กดั . 2556. 4. สปาเพื่อสขุ ภาพ. กรมสนับสนุนบริการเพ่ือสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: โรง พมิ พ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย จ้ากดั . 2556. 5. Atkinson M and Floyd E. The complete Book of the Massage. Dubai: Carlton Books Limited. 2014. 6. Saeger JL and Kyle-Brown D. New Foundations in Therapeutic Massage and Bodywork. USA: McGraw-Hill Companies, Inc. 2008. 7. Williams A. Spa Bodywork A Guide for Massage Therapists. 2nd ed. MD: Lippincott Willians & Wilkins. 2015.

62 การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT บทท่ี 4 การนวดนาเหลืองหนา้ พืนฐาน (Fundamental facial lymphatic drainage) น้าเหลือง (Lymph) มีลักษณะใส อยู่ภายในหลอดน้าเหลือง (Lymphatic vessel) หลอดน้าเหลืองกระจายอยู่ทั่วร่างกาย ท้าหน้าท่ใี นการดูดซึมของเหลวและ สารท่ไี ม่สามารถดดู ซึมกลับเขา้ หลอดเลือดได้ โดยของเหลวและสารดงั กล่าวจะถกู ส่ง เข้าหลอดเลือดต่อไป ระบบน้าเหลืองจัดเป็นระบบไหลเวียนและเกี่ยวข้องกับ ภมู ิคมุ้ กันของร่างกายโดยท้าหน้าท่ใี นการต่อตา้ นอนั ตรายจากสิง่ แปลกปลอมตา่ งๆ ที่ สู่รา่ งกาย ซึ่งระบบน้าเหลืองจะเกยี่ วข้องกับเซลล์ เน้ือเยื่อ อวัยวะต่างๆของร่างกาย ระบบน้าเหลืองประกอบดว้ ยหลอดน้าเหลอื ง (Lymphatic vessel) เน้อื เยอ่ื นา้ เหลอื ง (Lymphatic tissue) ต่อมน้าเหลือง (Lymphatic node) และอวัยวะน้าเหลือง (Lymphatic organ) ท่อน้าเหลืองใหญ่ด้านขวา (Right lymphatic duct) จะรับ น้าเหลอื งจากแขนขาและลา้ ตัวซกี ขวา ส่วนน้าเหลืองจากซีกซา้ ยของร่างกายจะไหล เข้าสู่ท่อน้าเหลอื งทรวงอก (Thoracic duct) นา้ เหลอื งท้งั หมดจะไหลผ่านหลอดเลือด ด้าใต้ไหปลาร้า (Subclavian vein) เข้าห้องหัวใจบนด้านขวา เพื่อกระจายไปท่ัว ร่างกายผา่ นระบบไหลเวยี นของเลือดแดง ดังแสดงในรปู ท่ี 67 หน้าทขี่ องนาเหลอื ง (Lymphatic function) 1. รกั ษาสมดลุ ของเหลว (Fluid balance) ของเหลวในร่างกายจะออกจากหลอดเลือดเข้าสู่เน้ือเยื่อ ส่วนหนึ่งไม่สามารถ กลับเข้าสหู่ ลอดเลือดฝอยได้ ของเหลวดังกล่าวยังคงตกค้างอยภู่ ายในเนื้อเย่อื ท้าให้มี การคั่งค้างอยู่ถ้าไม่มีการดูดกลับก็ท้าให้เกิดอาการบวม (Edema) ของเหลวท่ีถูกดูด กลบั เข้าสหู่ ลอดน้าเหลอื งและส่งกลบั ส่หู ลอดเลอื ด เรยี กว่า นา้ เหลอื ง โดยองคป์ ระกอบ ของน้าเหลือง ได้แก่ น้า สารอาหาร โปรตีน เอนไซม์ ฮอร์โมน และของเสียจาก ขบวนการเผาผลาญอาหาร

การดูแลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 63 2. ดดู ซมึ และขนสง่ ไขมนั (Fat absorption and transportation) นา้ เหลอื งยังท้าหน้าทลี่ ้าเลยี งไขมนั และสารอ่ืนๆ บางชนิดในระบบทางเดิน อาหาร โดยถูกดูดซึมเข้าสู่หลอดน้าเหลืองฝอย มีท่ีบริเวณล้าไส้เล็ก นอกจากน้ี นา้ เหลืองยงั ทา้ หน้าท่ีขนสง่ วิตามินชนดิ ท่ีละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามินเอ ดี อี เค ทถ่ี กู ดูดซึมออกจากระบบทางเดนิ อาหารเพอื่ สง่ เข้าสู่กระแสเลือด 3. ป้องกันเชือโรค (Germs defense) เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย จะถูกส่งผ่านไปตาม น้าเหลือง หลังจากน้ันจะถูกส่งเข้าสู่ต่อมน้าเหลืองและม้าม โดยเซลล์ท่ีอยู่ใน อวัยวะดังกล่าว จะท้าหน้าท่ีในการก้าจัดเช้ือโรคและส่ิงแปลกปลอม ผ่านทาง หลอดน้าเหลอื ง ต่อมน้าเหลอื ง เขา้ สหู่ ลอดเลือดดา้ ตอ่ ไป รูปที่ 67 ภาพแสดงต่อมนา้ เหลอื งบรเิ วณใบหนา้ และร่างกาย ดดั แปลงภาพจาก Braun MB and Simonson S., 2008.

64 การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT การนวดนาเหลอื ง (Manual lymphatic drainage) Manual lymphatic drainage (MLD) เป็นการนวดเพื่อเพ่ิมการไหลเวียน ของน้าเหลืองเป็นการนวดที่ไม่ลงน้าหนัก โดยจะช่วยการเคลื่อนไหวของน้าเหลือง และช่วยขับของเสียออกจากร่างกาย ซ่ึงการระบายน้าเหลืองไม่ดีหรือมีภาวะ เจ็บป่วย ก็ทา้ เกดิ ภาวะบวมนา้ เหลอื ง (Lymphedema) ได้ การนวดน้าเหลืองเร่ิมขึ้นในปีค.ศ. 1930 โดยด็อกเตอร์ Emil Vodder ใน ประเทศฝร่ังเศส ทีท้างานกับผู้ป่วยติดเช้ือ และเป็นหวัดเรื้อรัง โดยคนเหล่าน้ีจะมี ภาวะบวมน้าเหลอื ง เขาได้ท้าการศึกษาระบบน้าเหลืองและพัฒนาเทคนิคการนวด น้าเหลือง จนเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นการนวดที่ไม่ลงน้าหนัก นวดไล่ไป ต้าแหน่งน้าเหลืองที่ส้าคัญเช่น ที่บริเวณรักแร้ (Axillary) ขาหนีบ (Groin) ในการ นวดน้าเหลืองพ้ืนฐานท่ีหน้า จะมีลักษณะเป็นการนวดไล่น้าเหลืองจากบริเวณ ใบหน้า ออกมาหน้าหู (Preauricular nodes) คอ (Cervical nodes) และไหปลาร้า (Supraclavicular nodes) ดงั แสดงในรปู ท่ี 68 รปู ท่ี 68 ภาพแสดงการนวดเพิม่ การไหลเวยี นน้าเหลอื งมาทตี่ อ่ มนา้ เหลืองหนา้ หูและคอ ดัดแปลงมาจาก Földi M and Strossenreuther R., 2005.

การดูแลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 65 ประโยชน์ของการนวดนาเหลืองหน้า (Benefits of facial lymphatic massage) 1. ช่วยลดอาการบวมบริเวณใบหน้า 2. ขับของเสียท่คี ั่งค้างตามเน้อื เยอ่ื ให้ระบายออก 3. กระตุ้นระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย ข้อห้ามและข้อควรระวังในการนวดระบายนาเหลือง (Contraindications and precautions fundamental lymphatic drainage) 1. คนที่เปน็ ไข้ 2. มแี ผลอกั เสบ แผลเปิด แผลติดเชื้อ 3. โรคมะเรง็ 4. โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสงู ทคี่ มุ อาการไม่ได้ 5. หญิงมคี รรภ์ ขันตอนการนวดนาเหลืองหน้าพืนฐาน (Fundamental facial lymphatic drainage procedure) 1. การซักประวตั ิและการเตรียมผู้รบั บรกิ าร ใชห้ ลกั การซกั ประวัตเิ ชน่ เดียวกันกบั การนวดหน้า เพอ่ื ทราบข้อมูลในเรอ่ื ง ของข้อห้ามและข้อควรระวังของการนวดน้าเหลืองหน้าพื้นฐาน และยังทราบ พฤติกรรม การดา้ เนินชีวิตของลกู ค้า ท่ีส่งผลไม่ดีต่อสุขภาพ เพอ่ื ใช้เป็นข้อมูลใน การนวดและการแนะนา้

66 การดูแลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 2. การเตรียมอปุ กรณ์ - เช็ดเคร่อื งส้าอาง (Make up remover) - เจลท้าความสะอาด (Cleansing gel) - น้ามันมะพร้าว หรือครีมนวดหน้า (Coconut oil/base cream) ท่ีไม่มี ส่วนผสมของสารขัดผวิ น้าหอม ท่จี ะท้าให้เกิดการระคายเคืองในขณะนวด - แผน่ มาสก์หน้า (Facial mask) หรือเป็นครมี พอกหน้าได้เช่นกนั - สา้ ลีเปยี ก (Wet cotton pad) ปิดตา และเช็ดทา้ ความสะอาดใบหนา้ - เสือ้ คลมุ (Robe) - ผ้าขนหนผู ืนเล็ก (Small towel) 2 ผนื ส้าหรบั เก็บผม และคลุมอก - ผ้าขนหนผู ืนกลาง (Medium towel ) ส้าหรบั ใหผ้ ู้รับบริการเปลีย่ น - ผ้าขนหนผู นื ใหญ่ (Top towel) สา้ หรบั หม่ /คลมุ ตัว - หนา้ กากอนามัย (Mask)

การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 67 การนวดน้าเหลืองหน้าพ้ืนฐานเริ่มจากการเช็ดเครื่องส้าอาง ท้าความ สะอาดใบหนา้ ตามขน้ั ตอนที่กล่าวไว้ในการนวดหนา้ เม่ือซับหนา้ แห้งแล้ว ท้าการ กดจุดตามแนวน้าเหลืองเพอื่ กระตนุ้ ก่อนการนวดน้าเหลือง ดงั น้ี 3. การกดจุด 3.1 ใช้นิ้วหัวแม่มือกดบริเวณหัวค้ิว กลางขมับ ตีนผม ขึ้นด้านบนศีรษะ ดงั แสดงในรูปท่ี 69 รูปท่ี 69 ภาพแสดงการกดจดุ บรเิ วณหนา้ ผาก 3.2 ใช้นิ้วหวั แมม่ อื กดบรเิ วณกดที่หวั คว้ิ กลางค้วิ ออกทางข้างขมับ ดังแสดงในรปู ที่ 70 รูปที่ 70 ภาพแสดงการกดจุดบรเิ วณขมับ

68 การดูแลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 3.3 ใชน้ ้ิวหวั แมม่ ือกดใตต้ า เปน็ 3 จุด ออกด้านขา้ ง จนถงึ ขมับ ดงั แสดงในรปู ท่ี 71 รูปที่ 71 ภาพแสดงการกดจุดบรเิ วณใตต้ า 3.4 ใช้นว้ิ หวั แมม่ ือกดปกี จมูกออกทางดา้ นข้างถึงหน้าหู เป็น 3 จดุ ดงั แสดงในรปู ที่ 72 รปู ที่ 72 ภาพแสดงการกดจดุ บรเิ วณปกี จมูก

การดูแลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 69 3.5 ใชน้ ิว้ หัวแมม่ ือกดเหนอื รมิ ฝปี าก 3 ครงั้ ดังแสดงในรูปที่ 73 รูปท่ี 73 ภาพแสดงการกดจดุ บรเิ วณเหนอื รมิ ฝปี าก 3.6 ใชน้ ิ้วหวั แมม่ อื กดบริเวณคาง 3 คร้ัง ดังแสดงในรูปที่ 74 รปู ท่ี 74 ภาพแสดงการกดจดุ บรเิ วณคาง

70 การดูแลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 4. การนวดนาเหลอื งหน้าพนื ฐาน (Fundamental facial lymphatic drainage) การนวดน้าเหลืองเพ่ือเพิ่มการไหลเวียนจะนวดไล่ตามแนวเส้นน้าเหลือง และเส้นเลอื ดดา้ เพอื่ ไลข่ องเสียที่คั่งค้างบรเิ วณเนื้อเยื่อ ให้เพ่ิมการไหลเวียนไปที่ท่ี ตอ่ มน้าเหลืองทห่ี ลงั หู คอ และระบายสเู่ ส้นเลอื ดต่อไป โดยมีขน้ั ตอนดงั นี้ 4.1 เทนา้ มนั มะพร้าวหรือครมี นวดหน้าลงทีม่ ือ กระจายน้ามันหรอื ครีมให้ ทวั่ มือ แล้วนวดลบู วน 3 รอบ เพ่ือกระจายครีมหรือน้ามันมะพรา้ วใหท้ ่ัวใบหน้า เนนิ อกและคอ ดงั แสดงในรปู ที่ 75 รูปท่ี 75 ภาพแสดงการนวดนา้ เหลืองบรเิ วณเนินอกและคอ

การดูแลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 71 4.2 นวดเป็นวงกลมเป็นรูปตัวเจ (J) น้าหนักเบาจากใต้คางบริเวณต่อม น้าลายและน้าเหลอื ง (Submandibular and Submental) ออกมาที่ต่อมน้าเหลอื ง ท่คี อ (Superficial cervical lymph node) 10 รอบ ดงั แสดงในรูปท่ี 76 รปู ที่ 76 ภาพแสดงการนวดนา้ เหลอื งบรเิ วณคอ 4.3 นวดเป็นวงกลม น้าหนักเบาบริเวณคางถึงต่อมน้าเหลืองท่ีหน้าหู (Parotid lymph node) 10 รอบ ดังแสดงในรปู ท่ี 77 รูปที่ 77 ภาพแสดงการนวดระบายน้าเหลอื งคาง

72 การดแู ลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 4.4 นวดเปน็ วงกลม บรเิ วณรอ่ งแก้มถึงต่อมน้าเหลอื งหนา้ หู (Parotid lymph node) 10 รอบ ดงั แสดงในรปู ที่ 78 รูปที่ 78 ภาพแสดงนวดบรเิ วณร่องแก้ม 4.5 นวดเปน็ วงกลม น้าหนักเบาจากใตต้ าออกมาท่หี นา้ หู ด้านข้าง 10 รอบ ดงั แสดงในรปู ที่ 79 รูปที่ 79 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณใตต้ า

การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 73 4.6 นวดเปน็ วงกลมจากหัวค้ิวออกดา้ นขา้ ง 10 รอบ ดังแสดงในรูปที่ 80 รูปที่ 80 ภาพแสดงการนวดบรเิ วณหัวค้ิว 4.7 นวดเป็นวง จากหนา้ ผากออกด้านขา้ ง 10 รอบ ดงั แสดงในรปู ที่ 81 รูปท่ี 81 ภาพแสดงการกดจุดบรเิ วณหน้าผาก 4.8 แล้วนวดเปน็ วงกลมจากข้างขมบั มาท่ีต่อมน้าเหลืองหนา้ หู (Parotid lymph node) ไล่ลงมาท่คี อ (Superficial cervical lymph node)

74 การดแู ลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 4.9 นวดลูบวน ใช้มือท้ังสองข้าง ลากท่ีบริเวณใต้คางข้ึนมาท่ีต่อม น้าเหลอื งทห่ี ู (Parotid lymph node) 10 รอบ ดงั แสดงในรูปท่ี 82 รูปที่ 82 ภาพแสดงการนวดเพิ่มการไหลเวยี นนา้ เหลืองบรเิ วณคอ 4.10 ใช้มือขวานวดลูบวน สลับมือซ้าย เพิ่มการไหลเวียนของน้าเหลือง จากคางถึงต่อมน้าเหลืองท่ีหน้าหู (Parotid lymph node) 10 รอบ ดังแสดงใน รปู ที่ 83 รปู ท่ี 83 ภาพแสดงการนวดเพิ่มการไหลเวยี นของน้าเหลอื งบริเวณคาง

การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 75 4.11 ใช้มือขวานวดลูบเบาไม่ลงน้าหนักสลับมือซ้าย จากร่องแก้มถึงต่อม น้าเหลอื งที่หนา้ หู (Parotid lymph node) 10 รอบ ดังแสดงในรปู ที่ 84 รปู ที่ 84 ภาพแสดงการนวดเพ่มิ การไหลเวียนของน้าเหลืองบรเิ วณรอ่ งแกม้ 4.12 ใช้มือขวานวดลูบเบาไม่ลงน้าหนักสลับมือซ้าย จากใตต้ า และคิ้วถึง ต่อม นา้ เหลอื งทหี่ น้าหู (Parotid lymph node) 10 รอบ ดังแสดงในรปู ท่ี 85 รูปท่ี 85 ภาพแสดงการนวดเพ่ิมการไหลเวียนน้าเหลอื งบรเิ วณใตต้ า

76 การดูแลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 4.13 ใช้มือขวานวด Effleurage สลับมือซา้ ย บริเวณหน้าผาก 10 รอบ ดังแสดงในรูปที่ 86 รปู ท่ี 86 ภาพแสดงการนวดเพมิ่ การไหลเวียนน้าเหลอื งบรเิ วณหนา้ ผาก 4.14 เริ่มท้าด้านซ้ายเหมือน ด้านขวา ใช้มือขวานวดนวดลูบเบาไม่ลง นา้ หนัก สลบั มือซา้ ย จากคางถงึ ต่อมนา้ เหลอื งที่หน้าหู ดังแสดงในรูปที่ 87 รปู ที่ 87 ภาพแสดงการนวดเพม่ิ การไหลเวียนนา้ เหลอื งบรเิ วณคอ

การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 77 4.15 เม่ือท้าครบท้ังสองข้างให้นวดเป็นวงกลม ไล่จากหนา้ ผาก มาที่ต่อม น้าเหลอื งทห่ี ู คอ 4.16 นวดจบด้วยท่า Effleurage ไมล่ งนา้ หนกั บรเิ วณ เนนิ อก ไหล่ และคอ 5 เชด็ ทาความสะอาดใบหน้า การเช็ดทา้ ความสะอาด ท้าเหมือนในรูปที่ 38-40 6. มาสก์หน้า ทิงไว้ 10-15 นาที การมาสกห์ น้า ควรเลือกทไี่ มม่ ีการบา้ รงุ มากเกนิ ไป เนน้ ให้ความช่มุ ช้ืนผิว และลดการระคายเคือง เช่น แผ่นมาสกห์ นา้ ว่านหางจระเข้ (Aleo vera mask) การดูแลหลงั การนวดนาเหลอื งหน้าพืนฐาน (Approaches to fundamental facial lymphatic drainage care) 1. ให้ลกู คา้ ดม่ื นา้ เพื่อช่วยในการขับถ่ายของเสยี 2. ไม่ควรอาบน้าทันที ควรนั่งสักครู่

78 การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT เอกสารอ้างองิ 1. การนวดเพื่อสขุ ภาพแบบสวีดชิ . สา้ นกั การแพทยท์ างเลือก กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทย และการแพทยท์ างเลอื ก. กรงุ เทพฯ: บริษทั สามเจรญิ พาณชิ ย์. 2552. 2. Braun MB and Simonson S. Introduction to Massage Therapy 2nd Philadelphia: Lippincott Wilkins, a Wolters Kolters business. 2008. 3. Capellini S. The Complete Spa Book for Massage Therapists. New York: Milady. 2010. 4. Atkinson M and Floyd E. The complete Book of Massage. Dubai: Carlton Books Limited. 2014. 5. Földi M and Strossenreuther R. Foundations of Manual Lymph Drainage. 3th Elsevier Mosby. 2005. 6. Fritz S. Mosby‘s Fundamentals of Therapeutic Massage. China: Mosby Elsevier. 2009. 7. Salvo SG. Massage Therapy Principles and Practice. 5th China: Elsevier. 2016.

การดแู ลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 79 บทท่ี 5 การนวดยกกระชับใบหนา้ (Facial lift massage) เมื่ออายุมากข้ึน ปัญหาเรื่องริ้วรอย รอยเห่ียวย่น จากการท่ีร่างกายมีการ เสื่อมสภาพตามวัย มีการสร้างฮอร์โมนและสร้างคอลลาเจนลดลง วิธีการดูแล สุขภาพผิวเพื่อชะลอริ้วรอยด้วยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ หลีกเลี่ยง แสงแดด และทาครีมบ้ารุงผิวเป็นประจ้า อกี หนึ่งวิธที ี่ชว่ ยในการชะลอร้วิ รอย ได้แก่ การนวดยกกระชับใบหน้า เป็นการดูแลผวิ หน้าที่ช่วยลดร้ิวรอยและชะลอการเห่ียว ย่นของใบหน้าโดยไม่ต้องท้าการท้าศัลยกรรม การนวดยกกระชับใบหน้าเป็นการ นวดหน้าผสมผสานกับการนวดน้าเหลือง โดยนวดเน้นท่ีการกระตุ้นการไหลเวียน ของเลือด การผอ่ นคลายกล้ามเนือ้ ใบหน้า และยกกระชับกล้ามเนอ้ื ใบหนา้ กล้ามเนอื บนใบหนา้ และคอ (Face and neck muscle) กล้ามเนื้อที่บริเวณใบหน้าเป็นกล้ามเนื้อขนาดเล็ก การเปล่ียนแปลงของ กล้ามเน้ือใบหน้า ส่งผลให้เกิดร้ิวรอยและความหย่อนคล้อยได้ โดยกล้ามเน้ือท่ี ใบหนา้ และคอท่ีสา้ คัญมดี งั นี้ 1. Frontalis เป็นกลา้ มเนอ้ื บริเวณส่วนหนา้ ผาก มีลกั ษณะแบนและตอ่ เนื่องไป กบั กล้ามเนื้อมัดอืน่ เมื่อเกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ ท้าให้มีการยกกล้ามเน้ือข้ึน เชน่ การยกั คิว้ เลิกคว้ิ และการย่นของหนา้ ผาก 2. Corrugator Supercilii เป็นกล้ามเน้ือขนาดเล็ก มีจุดเกาะต้นที่กระดูก frontal และไปเกาะท่ีผิวหนังบริเวณค้ิว เมื่อหดตัวจะท้าให้เกิดลักษณะของการ ขมวดคิว้ และเกิดรอยยน่ ในแนวตง้ั 3. Orbicularis oculi เป็นกลา้ มเน้อื วงรอบลกู ตาและเปลือกตา มลี ักษณะแบบ และบาง มีหน้าท่ีป้องกันลูกตาไม่ให้ได้รับอันตรายจากแสง และสิ่งแปลกปลอม

80 การดแู ลรักษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT ตา่ งๆ โดยการกระพริบตา หยีตา และดึงควิ้ ลงมาทางด้านล่าง และถ้าเราหลับตา แน่น จะท้าให้เกิดรอยตีนกาท่บี รเิ วณหางตา 4. Zygomaticus minor และ 5. Zygomaticus major กล้ามเนื้อคู่นี้เปน็ ลักษณะมัดคู่ เมื่อเกิดการหดตัวจะ ท้าให้เกิดการยกมุมปาก เชน่ ในขณะท่มี ีการย้ิม หรอื เรียกวา่ smiling muscle 6. Risorius เป็นกล้ามเน้ือท่ีมีขนาดเล็ก อยู่ด้านลึกถัดออกไปทางด้านข้างของ กล้ามเนอ้ื Zygomaticus มจี ุดเกาะตน้ ทพี่ งั พืดบรเิ วณแก้ม ไปเกาะปลายท่ีกลา้ มเนอ้ื Orbicularis oris และผวิ หนังบริเวณมมุ ปาก เมอ่ื หดตัวจะดงึ มมุ ปากไปดา้ นขา้ ง และ ทา้ งานร่วมกับกล้ามเนือ้ Zygomaticus ทา้ ให้เกิดอาการทเ่ี รยี กวา่ แสยะย้มิ 7. Orbicularis oris เป็นกล้ามเนื้อเป็นวงอยู่รอบปาก มีลักษณะเรียงซ้อนกัน หลายชั้น ท้าหน้าทใี่ นการปดิ และเมม้ ปาก 8. Platysma เปน็ กล้ามเน้ือปกคลุมบริเวณสว่ นตืน้ บริเวณล้าคอดา้ นหน้า มีสว่ น ช่วยในการแสดงอารมณ์ของใบหนา้ 9. Temporalis กล้ามเน้ือมัดน้ี เมื่อเกิดการหดตัว จะท้าให้เกิดการปิดของ ขากรรไกร 10. Occipitalis กลา้ มเน้ือบริเวณศรี ษะ 11. Sternocleidomastoid เป็นกล้ามเนื้อบริเวณคอ ท้าหน้าท่ีในการหมุนและ เอยี งศีรษะไปดา้ นข้าง 12. Nasalis เป็นกล้ามเน้ือบริเวณจมูก ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ีทอด ตามแนวขวางของกระดูก (transverse part หรือ compressor nalis ) อีกส่วน ทอดตามแนวยาวของกระดูก (alar part หรือ dilator nalis) การหดตัวของ compressor nalis ทา้ ใหร้ จู มกู แคบลง สว่ น dilator nalis ท้าให้รูจมกู กวา้ งขนึ้

การดูแลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 81 (1) (2) รปู ที่ 88 ภาพแสดงกล้ามเนอ้ื ใบหน้าและคอ 1 และ 2 ดัดแปลงภาพมาจาก Saeger JL and Kyle-Brown D., 2008.

82 การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT ขอ้ ห้ามและขอ้ ควรระวังในการนวด (Contraindications and precautions facial lift massage) 1. ผวิ ทมี่ กี ารอกั เสบ เชน่ สวิ อักเสบ บวมแดง ติดเชื้อ 2. ผิวทม่ี ีอาการแพ้ เชน่ มผี น่ื เลก็ ๆท่วั หน้าจากการแพ้ยา เครื่องส้าอาง สารเคมี 3. ผวิ ท่ีมีการตดิ เช้ือ เช่น มีรอยวงแดงจากเชอ้ื รา มหี นองจากการตดิ เช้ือสุกใส 4. มีแผลบนใบหนา้ เช่น แผลถลอก แผลเปดิ 5. มไี ข้ ไมส่ บาย ขนั ตอนการนวดยกกระชับใบหน้าหนา้ 1. เช็ดท้าความสะอาดเครอื่ งสา้ อาง 2. ทาน้ามนั มะพร้าวหรอื ครีมลงมอื กระจายครีมหรือน้ามันให้ท่วั ใบหนา้ 3. นวดยกกระชบั ใบหน้า โดยมีขัน้ ตอนดงั น้ี 3.1 นวดกระชบั ใบหน้าบรเิ วณคาง โดยนวดตามน้าเหลอื งท่ีบริเวณคางถึง ต่อมน้าเหลืองหน้าหู โดยนวดตามแนวกล้ามเนื้อบริเวณคอ (Platysma) กล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า (Zygomaticus minor และ Zygomaticus major) โดยลงนา้ หนกั ปานกลาง นวดตดิ ตอ่ กันอยา่ งนอ้ ย 10 รอบ ดังแสดงในรูปที่ 89 รูปท่ี 89 ภาพแสดงการนวดกระชบั ใบหน้าบรเิ วณคาง

การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 83 3.2 นวดกระชับใบหน้าบริเวณแก้มด้วยการยก ดึง กล้ามเนื้อบริเวณแก้ม (Risorius, Zygomaticus minor และ Zygomaticus major) โดยลงน้าหนัก ปานกลาง นวดตดิ ตอ่ กนั อยา่ งนอ้ ย 10 รอบ ดงั แสดงในรูปท่ี 90 รปู ท่ี 90 ภาพแสดงการนวดกระชบั ใบหน้าบรเิ วณแก้ม 3.3 นวดกระชบั ใบหน้าบริเวณแก้มและมุมปาก ด้วยการยก ดงึ กลา้ มเน้ือ ใบหนา้ (Risorius) โดยลงน้าหนักปานกลาง นวดตดิ ต่อกนั อย่างน้อย 10 รอบ ดัง แสดงในรูปที่ 91 รูปท่ี 91 ภาพแสดงการนวดกระชบั ใบหนา้ บรเิ วณแกม้ และมมุ ปาก

84 การดูแลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 3.4 นวดกระชับใบหน้าบริเวณหน้าผาก ด้วยการยก ดึง กล้ามเนื้อ หน้าผาก (Frontalis) โดยลงน้าหนักปานกลาง นวดติดต่อกันอย่างน้อย 10 รอบ ดังแสดงในรูปท่ี 92 รปู ที่ 92 ภาพแสดงการนวดกระชบั ใบหนา้ บรเิ วณหน้าผาก 3.5 นวดกระชับใบหน้าบริเวณมุมปาก ด้วยการยก ดึง กล้ามเนื้อรอบมุม ปาก (Orbicularis oris) โดยลงน้าหนักปานกลาง นวดติดต่อกันอย่างน้อย 10 รอบ ดงั แสดงในรปู ที่ 93 รูปท่ี 93 ภาพแสดงการนวดกระชบั ใบหนา้ บรเิ วณมมุ ปาก

การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT 85 4. เช็ดทา้ ความสะอาดใบหนา้ ท้าเหมือนในรูปที่ 38-40 5. มาสก์หน้าบ้ารุงผิว การเลือกมาสก์หน้าเพ่ือบ้ารุงผิว สามารถเลือกตัวท่ีช่วย บ้ารุงผิว ลดริ้วรอย ท้าให้ผวิ หน้ากระจ่างใส เช่น มาสก์คอลลาเจน มารกส์ าหรา่ ย เปน็ ต้น การดแู ลหลังการนวดกระชบั หนา้ (Approaches to facial lift massage care) 1. หลีกเล่ียงแสงแดด เน่ืองจากหลังท้าทรีทเม้นท์ใบหน้าจะได้สารอาหาร และ ผิวหนังชนั้ บนสุดทีถ่ ูกขดั ออกไป จะทา้ ใหผ้ วิ หน้าไวต่อแสงแดดได้ 2. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ เพ่อื ส่งเสรมิ สขุ ภาพผิว 3. ด่มื น้าหลงั การท้าทรที เม้นท์ จะช่วยบ้ารุงผวิ และขจัดของเสยี ออกจากรา่ งกาย

86 การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT เอกสารอา้ งองิ 1. Diego M., Dieter JN., Field T., Lecanuet JP., Hernandez-Reif M., Beutler J., Largie S.u, Redzepi M and Salman FA. Fetal activity following vibratory stimulation of the mother’s abdomen and foot and hand massage. Development Psychobiology. 2002; 41: 396-406. 2. Kiviluoma L. Vital Face, Facial Exercise and Massage for Health and Beauty. Singing Dragon, Philadelphia, USA. 2013. 3. Mehta N and Mehta K. The Face Lift Massage: Rejuvenate your Skin and reduce Fine Lines and Wrinkles. London: Thorson. 2004. 4. Saeger JL and Kyle-Brown D. New Foundations in Therapeutic Massage and Bodywork. New York: McGraw-Hill. 2008. 5. Tran Thi Anh Tu. Evaluation of a Radiofrequency Device for Facial Skin Laxity Improvement and Body Contouring in Asians. Clinical Report, Cosmetic Surgery & Skin Care Clinic Dr. Tu, Tran Hung Dao St, District 1, Ho Chi Minh City, Vietnam. 2013.

การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 87 บทที่ 6 การกวั ซาหนา้ (Facial Gua Sha) กวั ซา (Gua Sha) เป็นภาษาจีน ซึ่งเกดิ จากคา้ 2 คา้ ไดแ้ ก่ “กัว” แปลว่า ขูด “ซา” แปลว่า เชื้อโรค ซ่ึงเป็นการรักษาโรคของชาวจีน ท่ีสืบทอดกันมาสมัย บรรพบุรุษ โดยใช้อุปกรณ์ที่หาได้ทั่วไป เช่น ก้อนหิน เหรียญโลหะ หรือช้อน ดงั แสดงในรูปที่ 81 ปจั จุบันได้มกี ารประยุกต์น้าเขาสตั ว์ หยก ดงั แสดงในรูปที่ 94 มาใช้เป็นอุปกรณ์ในการท้ากัวซา ซึ่งจะมีลักษณะและขนาดท่ีแตกต่างกันไป โดยนิยมใช้ท้าที่หน้าและท่ีตัว การท้ากัวซาท่ีตัวจะนิยมท้าเพื่อรักษาอาการปวด การติดเชื้อ เช่น การปวดต้นคอ ปวดหลังจากการท้างาน ส่วนกัวซาที่หน้าจะมี ลักษณะคล้ายกับการไล่น้าเหลือง ช่วยในเร่ืองการไหลเวียนของเลือดและ น้าเหลอื ง ลดอาการบวม ทา้ ใหเ้ ลือดมาไหลเวยี นดขี ้นึ รูปท่ี 94 ภาพแสดงอุปกรณ์พ้นื ฐานในการทา้ กัวซา (Nielsen et al., 2007) ในการท้ากัวซาท่ีใบหน้าจะต่างจากที่ตัวคือน้าหนักท่ีลง จะไม่ลงหนักให้ เน้ือเย่ือซ้า โดยก่อนท้าควรทาครีมหรือน้ามัน เพ่ือเป็นสารหล่อลื่น (Lubricant) เพอ่ื ใหก้ ารขูดลนื่ ไหลดี โดยมอี ปุ กรณ์ดังนี้

88 การดูแลรักษาใบหน้า FACIAL TREATMENT อปุ กรณ์ - แผ่นกัวซา (ท้าจากเขาสตั วห์ รอื ท้าจากหยก) ดังแสดงในรูปที่ 95 - นา้ มนั มะพรา้ ว น้ามันงา /ครีม - สา้ ลแี อลกอฮอล์ (ท้าความสะอาดแผ่นกวั ซา) รปู ท่ี 95 ภาพแสดงแผน่ กัวซาทท่ี ้าจากหยก รปู ท่ี 96 ภาพแสดงตา้ แหนง่ การกัวซาทบี่ รเิ วณใบหนา้ ดดั แปลงมาจาก ธีระศักด์ิ วณั นาวิบลู , 2445.

การดแู ลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 89 ประโยชน์ของการทากวั ซา (Benefits of Gua Sha) 1. เพิม่ การไหลเวียนของเลือดและน้าเหลือง 2. ผอ่ นคลายกล้ามเนอ้ื บรเิ วณใบหนา้ ข้อห้ามและข้อควรระวังในการทากัวซา (Contraindications and precautions Gua Sha) 1. ผู้ที่มโี รคประจา้ ตัวเชน่ เลอื ดออกง่าย ความดันโลหติ สงู เบาหวาน หวั ใจ 2. ผู้ทีม่ แี ผลเปิด แผลติดเช้อื 3. โรคผวิ หนงั บางชนิด 4. มีไข้ ขันตอนการทากัวซาหน้า (Facial Gua Sha process) 1. ท้าความสะอาดใบหนา้ และแผน่ กวั ซา 2. จบั แผน่ กัวซา ท้ามุมกับใบหน้าประมาณ 45 องศา เร่ิมขูดจากบริเวณเหนือคิ้ว ถึงคาง ตามหมายเลข 1-8 ดงั แสดงในรปู ท่ี 96 3. เร่ิมจากด้านซ้าย จุดละ 10 ครั้ง ลักษณะขวางกล้ามเนื้อ Frontalis, Obiculalis Oruli, Zygomatic major and mimor, Mentalis ไลต่ ามแนวน้าเหลอื งทใ่ี บหนา้ 4. หลังจากนนั้ เปลี่ยนมาท้ากวั ซาทางดา้ นขวามือ ตามหมายเลข 1-7 จุดละ 10 ครั้ง 5. สุดท้ายเป็นการขูดที่บริเวณล้าคอ กล้ามเน้ือ Plytysma ประมาณ 10 ครั้ง ดงั แสดงในรปู ที่ 97 การดูแลหลังการกวั ซา (Approaches to Gua Sha care) 1. ด่มื น้าหลงั จากการกัวซา 2. นัง่ พักสกั ครู่ ไม่ควรอาบน้าทันที

90 การดแู ลรกั ษาใบหน้า FACIAL TREATMENT รปู ที่ 97 ภาพแสดงการทา้ กวั ซาใบหนา้

การดูแลรกั ษาใบหนา้ FACIAL TREATMENT 91 อย่างไรก็ตาม การท้ากัวซาใบหน้าจะแตกต่างจากการท้ากัวซาท่ีตัวหรือ อวัยวะอ่ืนๆ เนื่องจากบริเวณใบหน้าจะมีกล้ามเน้ือที่เล็กกว่า มีผิวหนังและชั้น ไขมันท่ีน้อยกว่า การลงนา้ หนักโดยไม่มีสารหล่อล่ืนบริเวณใบหน้า อาจท้าให้เกิด การระคายเคือง จ้าเลือดได้ ควรลงน้าหนักเบาปานกลาง ในการท้ากัวซาท่ีตวั นั้น ส่วนใหญ่จะรักษาอาการปวด เช่น ปวดกล้ามเน้ือที่คอ หลังจากการท้างาน ตัวอยา่ งงานวิจัยของ Bran และคณะ (2011) ได้ทา้ การรกั ษาผู้ป่วยทม่ี อี าการปวด คอ (Neck pain) ท้าการรักษาด้วยกัวซา (Gua Sha therapy) เปรียบเทียบกับ การรักษาด้วยความร้อน (Thermal therapy) ในจ้านวนคนไข้กลุ่มละ 24 คน พบวา่ สามารถลดอาการปวดคอ อยา่ งมีนัยส้าคัญทางสถติ ิ ดังนน้ั การท้ากัวซาท่ีบริเวณใบหน้าและท่ีตัว ควรท้ากับผู้เชี่ยวชาญที่ผ่าน การอบรมและฝกึ ปฏิบัติจนช้านาญ เพ่ือหลีกเลี่ยงอาการแทรกซ้อนท่ีเกิดข้นึ หลังทา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook