Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมบทคัดย่อ มจว 2563 เทอม 2

รวมบทคัดย่อ มจว 2563 เทอม 2

Published by Nattakamon Phepakpro, 2021-05-29 06:52:52

Description: รวมบทคัดย่อ มจว 2563 เทอม 2

Search

Read the Text Version

1 รวมบทคัดย่องานวิจัยในช้ันเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเชยี งราย

2 ท่ี ชื่อวจิ ยั ชอื่ ผู้วจิ ัย หน้า 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ 2 3 1 การพฒั นาไวยากรณภ์ าษาองั กฤษของนักเรยี น นางวิภา ผสมกิจ 4 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 5 6 การจัดการเรียนร้โู ดยใช้โครงงานเป็นฐานในรายวชิ า 7 2 ภาษาจนี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 เพือ่ พฒั นาทกั ษะการ นางสาวนนั ทน์ ภสั บุญธรรม เรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 8 การพฒั นาทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษของนกั เรียนชั้น 3 มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โดยใช้สถานการณ์จำลอง นางสาวณฐั กมล ฝีปากเพราะ (Stimulation) การแก้ไขปัญหาการเขยี นภาษาจนี ไม่ถูกตอ้ งของ 4 นกั เรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4/6 ด้วยการใช้วธิ ี นางปิยธดิ า ปนิ ตาแกว้ เขยี นตามคำบอก การศึกษาปญั หาความคงทนในการจำคำศพั ท์ของ 5 นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/3 โรงเรยี นแมจ่ ัน นางสาวพิลาวัลย์ จันทร์กอง วิทยาคม อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย การพฒั นาทักษะการจดจำคำศพั ท์ภาษาเกาหลี โดยใช้ 6 บัตรคำศพั ท์รปู ภาพ (Flash card) ของนักเรียน นางสาวมัชฌิมา เตชะคฤหะ แผนการเรียนภาษาองั กฤษ – ภาษาเกาหลี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/5 การสรา้ งเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ วิชาภาษาองั กฤษโดยใช้ 7 แอพพลเิ คช่นั Quizizz ในกระบวนการเรยี น นางสาวอารยี ์ กองแกว้ การสอนของนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 จำนวน 27 คน วชิ าภาษาองั กฤษพน้ื ฐาน (อ 31102) การพัฒนานักเรยี นในการอ่านภาษาองั กฤษ 8 มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โดยทำการคดั เลอื ก นางสาวอาภากร เลิศรงั สี จำนวน 5 คน วชิ าภาษาองั กฤษพื้นฐาน (อ22102) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

3 ท่ี ช่ือวจิ ัย ช่อื ผ้วู ิจัย หน้า 9 9 การแก้ปญั หาการจดจำคำศพั ท์ HSK 3 ของนักเรยี น นางสาวรชั นวี รรณ แซ่โง้ว 10 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5/6 11 การพฒั นาทักษะการเรียนรคู้ าศพั ท์ภาษาฝร่งั เศส 12 13 10 ของนกั เรยี นแผนการเรยี นภาษาฝร่ังเศส นางสาววรญั ญา จนั ทร์ธรี ะโรจน์ 14 ชั้นมธั ยมศึกษา 5/5 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแมจ่ นั 15 วทิ ยาคม 16 การพัฒนาความรไู้ วยากรณภ์ าษาองั กฤษ articles 11 โดยใช้ส่อื YouTube และรอ้ ง Rap ของนกั เรียนชั้น นายอฐั พงศ์ บตุ รเสน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/5 (อ21102) กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย การศึกษาพฤตกิ รรมของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 12 4/7 เร่อื งการไมส่ ง่ งานหรือการบ้าน นางกมลรัตน์ คำโมนะ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 การพฒั นาชดุ การเรียนดว้ ยตนเอง กลุมสาระการเรียน 13 รภู าษาไทย เรอื่ งชนิดของประโยค สำหรบั นกั เรียนช้นั นายบรรจง ใจมขุ มธั ยมศึกษาปที่ 6 การพฒั นาการจดั การเรยี นรภู าษาไทย เรอื่ ง คาํ นาม 14 ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 1 โดยใชบทเรยี นการตูนประกอบ นางเบญจพร สันตา การจดั กิจกรรมดวยกลุ่มร่วมมอื แบบ STAD ผลของการสอนแบบออนไลนท์ ่ีมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ 15 ทางการเรยี นวิชาภาษาไทยพน้ื ฐานของนักเรียน นางสาววิมลรตั น์ ขัดสุรินทร์ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นแม่จนั วทิ ยาคม ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 16 ผลการจัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการ บนั ได 5ขน้ ั เพ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ าภาษาไทยเรื่อง นายเฉลมิ พล ทรายหมอ การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ ของนกเั รียนช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/7

4 ท่ี ช่อื วิจยั ชอ่ื ผู้วจิ ัย หน้า 17 17 ผลการใชว้ ิธกี ารสอนแบบ SQ4R ในการสอนอา่ นจบั 18 ใจความสำคญั สำหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 นางปริศนา นิเท 20 21 โรงเรยี นแมจ่ นั วทิ ยาคม 22 23 18 การใช้แบบฝึกทกั ษะการเขียนคำไทยท่ีนกั เรยี นส่วน 24 25 ใหญ่มกั เขียนผิด เพื่อการจัดการเรยี นรใู้ หก้ บั นกั เรยี น นางสาวณฐั ฉรา ปากูล ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นแมจ่ นั วทิ ยาคม อำเภอ แมจ่ นั จงั หวดั เชียงราย 19 การศึกษาการปรับพฤติกรรมความรบั ผิดชอบในการ ทำงาน ท22207 วชิ าการค้นควา้ นางสาวประภาพร อัตมะ เพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/6 โดยการใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวก 20 การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น รายวิชา ท 22207 การคน้ ควา้ เพ่อื สรา้ งองค์ความรู้ เรอ่ื ง การเขยี นโครง นางสาวธชั กร จบั ใจนาย เร่อื ง โดยใช้Storyboard กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี 21 การพฒั นาการปลกู เมลอ่ นในพ้ืนทโี่ รงเรียนแมจ่ นั นายพงษส์ ิทธ์ิ นนั ทญา วิทยาคม 22 การศกึ ษาพฤติกรรมเร่อื งการไมส่ ง่ งาน ของนกั เรียน ช้นั มัธยมศึกษา ปที ี่ 5/8 สาขาวิชาอาหารและ นางวิมล ปญั ญานนั วงศ์ โภชนาการ 23 การพฒั นาพฤติกรรมการเรียนใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/10 ในรายวิชา นางสาวศริ เิ พญ็ ดอนน้อยหนา่ พลังงาน ทรัพยากร และสงิ่ แวดล้อม โดยการสอนแบบ รว่ มแรงร่วมใจ และปรบั พฤตกิ รรมแบบยอมรบั 24 การพฒั นาทักษะการทำงานของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/8 สาขาอาหารและโภชนาการ ใน นางสาววรนิ ทร กาบสนิท รายวิชา เบเกอรี่เพอ่ื ธรุ กจิ ประจำภาคเรียนท่ี 2

5 ท่ี ชื่อวิจยั ชื่อผวู้ ิจัย หน้า 26 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ 28 29 25 การพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ 30 31 พ้นื ฐาน ค21102 ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/8 นางสาวอุบล นิ่มนวล 32 เร่ือง กราฟและความสัมพนั ธ์เชิงเส้น โดยใช้แบบฝึก 33 ทักษะคณติ ศาสตร์ โรงเรียนแมจ่ ันวทิ ยาคม 26 การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัติการในชั้นเรียนเพื่อสง่ เสรมิ ความสามารถในการแก้ปญั หา นางสาวจันทาภา บุษบญุ ทางคณติ ศาสตรข์ องนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดย ใช้รปู แบบการสอนแบบ KWDL 27 การพฒั นาทักษะการแก้โจทย์ปญั หา เรื่อง พีระมดิ กรวย และทรงกลม รายวิชา คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหสั กรรณกิ า ตบ๊ิ มณี วิชา ค23102 โดยการใชเ้ ทคนคิ KWDL ของนกั เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนแม่จนั วิทยาคม 28 การพัฒนาทักษะการแกโ้ จทยป์ ญั หาพีระมดิ กรวย และทรงกลม รายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ค23102 นางสาวณิชานนั ทน์ ศนู ย์กลาง โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 3 โรงเรียนแม่จนั วิทยาคม 29 การพัฒนาทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ญั หา เร่อื งอนุกรม พรรณี สาระตา เรขาคณิต รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน นางสาวสภุ ารตั น์ เลาเหล็ก รหัสวิชา ค32102 โดยการใช้เทคนคิ KWDL ของ นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 นางสาวอัญชลี ประวงั 30 การพฒั นาทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ัญหา เร่ือง ความน่าจะ เปน็ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน รหสั วิชา ค31102 โดยการใชเ้ ทคนคิ KWDL ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 4 31 การพัฒนาทกั ษะการแก้โจทย์ปัญหา เรอ่ื ง ดอกเบ้ียทบ ตน้ รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน รหสั วิชา ค32102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษา ปที ่ี 5

ท่ี ชือ่ วิจัย ชื่อผ้วู จิ ัย 6 หน้า 32 การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชัน้ เรียนเพ่อื ส่งเสรมิ นางสาวเปรมกมล อนิ หลี 34 ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตรข์ อง นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรยี นแมจ่ นั วทิ ยาคม 35 โดยใชร้ ปู แบบการสอนแบบ KWDL 37 33 การพฒั นากิจกรรมการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์ ด้วย 38 การจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบกลุ่มรว่ มมอื โดยใช้ 39 40 เทคนิค TAI เรื่อง การแจกแจงทวินาม รายวิชา นางมณัชยา ปีบ้านใหม่ คณติ ศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค33202 สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 34 การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน เรอ่ื ง กราฟและ ความสมั พันธ์เชิงเสน้ โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะของชั้น นางสาวธญั สมร อาทติ ยส์ าม มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนแมจ่ นั วิทยาคม 35 การศกึ ษาผลการใช้กิจกรรมการเรยี นการสอนด้วย นางณฐมน ศรภี กั ดี บนั ได 5 ขั้น (QSCCS) เรอื่ ง กราฟและความสมั พันธ์ เชงิ เส้น รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค21102 สำหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ 36 ผลการใช้ชดุ ฝึกทักษะปฏบิ ัติเคร่ืองสายสากล โดยใช้ นายสมศักด์ิ ชา่ งศลิ ป์ บทเพลงลูกทุ่ง สำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม 37 ศึกษาพฤตกิ รรมของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4/9 นางสุกนั ยา อนิ ทิม โรงเรียนแมจ่ ันวิทยาคมในเรือ่ งการไม่ส่งงาน 38 การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและทักษะการ นายณัฐพนั ธ์ อิสระดำรง 41 ทำงานกลุม่ วชิ าดนตรีไทย (ศ 23102) โดยการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมอื ของนกั เรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม

ท่ี ชื่อวิจยั ช่ือผู้วจิ ยั 7 หน้า 39 การพัฒนาทักษะในการวาดรูปโดยการทำซำ้ เพ่อื สร้าง 42 43 สมาธแิ ละเสริมความอดทน รายวิชา ศ 21102 นางสาวทพิ ยม์ ณี ทองกลาง 45 นกั เรียนระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 46 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 47 40 สมรรถภาพทางกายของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 นายวุฒิเดช รัญชนานนท์ 49 50 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 41 การกำหนดราคาในระบบเศรษฐกจิ รายวิชา สังคม ศึกษา รหัสวิชา ส 32102 โดยการใช้กลวธิ ีถามคือสอน นางสาวฉววี รรณ คำปนั ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5/10 โรงเรียนแมจ่ นั วิทยาคม ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 42 การใชโ้ จทย์ คํานวณดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ เพ่ือสร้างความเข้าใจเกีย่ วกบั การค้าระหว่างประเทศ สาระเศรษฐศาสตร์ วชิ าสงั คมศึกษา ส32102 ของ นางสงิ หท์ อง ชาวคําเขต นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5/4 โรงเรียนแมจ่ ัน วิทยาคม ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 43 การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโดยการใช้ส่ือวดี ี ทศั นป์ ระกอบการสอนกลุม่ สาระการเรยี นรู้ สงั คม ศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เรอื่ งพทุ ธประวัตหิ นา้ รู้ นางสาวนฤมล สารขัติ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ที่ การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเชยี งราย 44 การพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ เรอ่ื งกรงุ ธนบุรี ของ นักเรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 นายกฤษขจร ฟ้าเลิศ ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแมจ่ นั วทิ ยาคม โดยการ เรยี นด้วยบทเรยี นสำเรจ็ รูป 45 เปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ นและหลังการ นางสาวมลั ลิกา คูสีวิน จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในรายวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมอื ง

ท่ี ชอ่ื วจิ ยั ชอ่ื ผูว้ ิจยั 8 หน้า (ต่อ) ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กอ่ นและหลัง 51 การจดั การเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนคิ การสอนแบบเพอื่ นช่วย 52 53 เพือ่ น 55 56 46 การพฒั นาการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ารเรยี นรู้แบบ 57 รว่ มมอื กนั เทคนิคกลมุ่ ผลสมั ฤทธิ์ (STAD) เปรยี บเทยี บ นายนําชยั หอมแก่นจนั 58 กับวิธกี ารสอนแบบปกติวชิ าสังคมพื้นฐาน(ส ๓๓๑๐๒) เรอื่ ง วัฒนธรรม ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 47 การสง่ เสริมเจตคตใิ นการส่งงานของนักเรียนระดับช้ัน นายธวชั ชัย ยะถา มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3/3 48 การพัฒนาการจัดการเรียนรโู้ ดยใชก้ ารเรยี นรแู้ บบ ร่วมมือโดยใช้เทคนคิ Teams-Games- Tournaments (TGT) เปรียบเทียบวิธีการสอนแบบ นางสาวศทุ ธน์ ชั ชา สารนันต์ ปกติ เรอ่ื งประวัติศาสตร์สมัยใหม่ วิชาประวัติศาสตร์ (ส33104) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 49 การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น โดยการสอนแบบ นางอญั ชลี ขาเลศกั ด์ิ รว่ มมือดว้ ยเทคนิค STAD 50 สง่ เสริมการมีสมาธเิ พ่อื ประเทืองปญั ญาโดยมุง่ เน้น กจิ กรรมท่ีต้องใชส้ มาธกิ บั นกั เรียน นางทพิ วรรณ บญุ หวาน ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/3 โรงเรยี นแม่จันวิทยาคม 51 การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียนโดยใช้ แบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง วันสำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา นางทศั นีย์ ปรุ ณะพรรค์ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา รหสั วิชา ส 31102 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 52 การจดั การเรียนรแู้ บบเชิงรุกรายวิชาอตุ นุ ยิ มวทิ ยาตาม กรอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสตู รสถานศึกษา นางกานดา ชว่ งชยั

ท่ี ชื่อวจิ ยั ชือ่ ผู้วิจยั 9 (ตอ่ )รายวชิ า อุตุนยิ มวทิ ยา รหสั วิชา ว 32264 ของ นางเกศนิ ี ทองอำ่ หน้า นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 นางสาวชนสิ รา จิณะไชย 59 53 รายงานผลการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เชงิ รุก (Active นางธดิ า จินะศรี learning) รายวิชา ว33226 เคมี 6 เร่อื ง เคมกี บั การ นางสาวบุณณดา ยอดแกว 60 แกป้ ัญหา สำหรับนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 นางปทั มภรณ์ ปญั ญาวงค์ 61 54 การพัฒนากจิ กรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื เพิ่มศักยภาพ นางพรวิมล ไชยสุข ใหแ้ กผ่ ู้เรยี น โดยเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั ในวชิ า นางสาวพิชชยานาฏ รรี ักษ์ 62 วิทยาศาสตรก์ บั ความงาม เร่ือง สมุนไพรในอาหาร 63 ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/1 โรงเรียนแม่จนั 64 วิทยาคม 65 55 การศึกษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและความพงึ พอใจ ในการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์กายภาพของนกั เรยี น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5/7 ดว้ ยการจดั การเรยี นรแู้ บบ ร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD 56 การพฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดยใชการจดั กิจกรรมการเรียนรแู บบเชงิ รุก (Active learning) ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 6 57 การพัฒนาผลการเรียนโดยใชค้ ่บู ัดดี้(Baddy)รายวิชา วิทยาศาสตร์พนื้ ฐานระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 58 การพัฒนาแอปพลเิ คชนั เพ่ือการเรียนรบู้ น ระบบปฏบิ ัติการแอนดรอยดว์ ิชาการออกแบบ เทคโนโลยเี ร่อื ง กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม สำหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 59 เพือ่ ศึกษาผลของการใชแ้ รงเสรมิ ทางบวกดว้ ยสมุด สะสมแต้มในการเรยี นรายวิชาวิทยาการคํานวณท่ี

ท่ี ช่อื วิจัย ชอ่ื ผูว้ จิ ยั 10 (ตอ่ ) สง่ ผลต่อพฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบการสง่ งาน หน้า ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 นางศุภาลยั ช่างศิลป์ 66 60 ผลการจัดการเรียนร้ตู ามแนวคิดสะเต็มศึกษา เร่ือง นางสาวสมุ ารินทร์ นโิ รจน์ ปฏกิ ิริยาเคมี ผ่านกจิ กรรมออกแบบ 67 วธิ ีการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกไดอ้ ยา่ งไร ของ นางสาวอรจริ า ศรีสขุ นักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 นางสภุ าลี สีเขียว 68 69 61 การศกึ ษาประสิทธิภาพของการวดั และประเมนิ ผลการ นางสิรนิ ุต นาเมืองรกั ษ์ 70 เรียนร้ผู า่ นเกมโดยใชโ้ ปรแกรมออนไลนร์ ่วมกบั การ นายภานพุ งค์ ชมภูต๊ิบ 71 ทดสอบแบบปกติตอ่ การพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการ นายอติคณุ นมเนย 71 เรียนของนักเรยี น ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ในรายวิชาเคมี นางสาวชนาธิป ปะทะดวง 72 ว32224 62 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการสรุปองค์ ความรู้ดว้ ยตนเอง โดยใชก้ ารทำภาพกราฟกิ (Infographic) เร่อื ง การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก ของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 63 การศกึ ษาเจตคติตอ่ การเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ของ นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/3 โรงเรยี นแม่จัน วิทยาคมที่มรี ะดับผลการเรียนตา่ งกัน 64 สรา้ งและพฒั นาแบบจำลองชุดปอดและกำบงั ลมของ มนษุ ย์ 65 การพัฒนาทกั ษะการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรด์ ้วย Scratch ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 66 การพัฒนาทกั ษะการคดิ เรื่อง ฟิสกิ ส์นวิ เคลียรรายวิชา ฟสิ กิ ส์ รหสั วชิ า ว33206 โดยใชกลวิธีถามคือสอน ของ นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 67 พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ด้วยวธิ ีการสอนแบบActive Learning รายวิชา ว22104 วิทยาการคาํ นวณ สำหรบั

ท่ี ชอ่ื วจิ ยั ช่อื ผูว้ จิ ยั 11 (ตอ่ ) นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนแมจ่ นั นายธวฒั น์ กา้ งออนตา หน้า วิทยาคม จ.เชยี งราย นายไพวฒุ ิ ขุนซาง 73 68 การศกึ ษาพฤติกรรมการสอนวชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน ของครดู าราศาสตรใ์ นการรบั รขู้ องนกั เรียนที่เรยี น 74 รายวชิ า ว33101 สาขาวิชาโลก ดาราศาสตรแ์ ละ อวกาศ 69 การศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและการพฒั นา ทักษะกระบวนการคดิ ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง งานและพลงั งาน โดยใชก้ ารสอนด้วยรปู แบบซิป ปาของ นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4/1

1 ช่ือเรอ่ื ง : การพฒั นาไวยากรณภ์ าษาอังกฤษของนกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ผูว้ จิ ัย : นางวภิ า ผสมกิจ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปีทีท่ ำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวิจยั ครัง้ นี้มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื 1. เพ่อื พฒั นาไวยากรณภ์ าษาอังกฤษของนกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยใช้การผันกริยา (Irregular Verbs) 2. เพื่อใหน้ กั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5ได้นำหลักของกรยิ า 3 ชอ่ ง ไปใช้ในประโยคภาษาองั กฤษ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 3. เพือ่ ใหน้ กั เรยี นมีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี นภาษาองั กฤษ กล่มุ ตวั อยา่ งทใี่ ชค้ ือ นกั เรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/8 จำนวน 20 คน เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจัยได้แก่ 1. ตาราง Irregular Verbs 2. แบบทดสอบ Irregular Verbs การเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยการ 1. ผ้วู จิ ยั ทดสอบนักเรยี นโดยใช้แบบทดสอบ Irregular Verbs เพอ่ื เกบ็ รวบรวมข้อมูลก่อนการฝกึ 2. นำผลการสอบกลุ่มตวั อย่างมาวิเคราะหห์ าจำนวนคนทีท่ ำผิด คดิ เปน็ ร้อยละจากมากไปหาน้อย 3. นำตารางกริยา 3 ช่องให้นกั เรียนฝึกทอ่ งในคาบเรยี นพรอ้ มกันก่อนกิจกรรมการเรยี นการสอน สปั ดาหล์ ะ 20 คำ เปน็ เวลา 8 สปั ดาห์

2 ชอ่ื เรอื่ ง : การจดั การเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐานในรายวชิ าภาษาจีน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 ผู้วิจยั : นางสาวนันทน์ ภัส บุญธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปที ีท่ ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวิจยั ครง้ั นมี้ ีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลของการใชว้ ิธีการเรียนการสอนภาษาจีน โดย ใชโ้ ครงงานเป็นฐาน 2) เพ่ือพฒั นาทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 แผนการเรียนภาษาจนี โรงเรียนแม่จนั วิทยาคม 3) เพื่อศึกษาความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรยี นรูโ้ ดย ใช้โครงการเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่างเป็นนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 5 แผนการเรียนภาษาจีน ประจ าภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย จำนวน 41 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) งานวิจยั ครงั้ นเ้ี ปน็ งานวจิ ัย เชิงปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการสอนภาษาจีนแบบโครงงาน จำนวน 18 ชั่วโมง 2) แบบประเมินทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 3) แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรียน ที่มตี ่อการจัดการเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงการเป็นฐาน สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู คอื ค่าเฉล่ยี คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถติ ทิ ดสอบ t-test แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้ภาษาจีนแบบโครงงานเป็นฐานมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2) นักเรียน ไดร้ ับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน มีคา่ เฉลีย่ ของทักษะการเรียนรูข้ นั้ พืน้ ฐานในศตวรรษที่ 21 ก่อนเรียนและหลังเรียน เท่ากับ 2.36 และ 3.68 ตามล าดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีการ พัฒนาทางทักษะการเรียนรู้ขน้ั พื้นฐานในศตวรรษที่21 ท่เี พ่มิ ข้ึนหลงั จากทีไ่ ดร้ ับการจัดการเรียนรู้ซ่ึง อยู่ในระดับที่ดีเยี่ยม 3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน ใน ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก

3 ชือ่ เรอื่ ง : การพัฒนาทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใชส้ ถานการณ์จำลอง (Stimulation) ผู้วจิ ยั : นางสาวณัฐกมล ฝปี ากเพราะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปที ่ที ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวจิ ัยครงั้ นมี้ วี ตั ถุประสงค์ เพอื่ พฒั นาทกั ษะการพูดภาษาองั กฤษของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษา ปที ่ี 1 โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม ที่ไดร้ บั การจัดการเรยี นรู้ โดยใช้สถานการณจ์ ำลอง (Stimulation) กล่มุ ตวั อยา่ งที่ใชค้ ือ นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นแม่จัน วทิ ยาคม อำเภอแม่จนั จังหวดั เชียงราย จำนวน 39 คน โดยใชว้ ธิ ีการส่มุ อย่างงา่ ย (Simple Random Sampling) ดำเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังทดลอง เครื่องมอื ที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีประกอบด้วยแผนการเรียนรูก้ ารพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ . ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใช้สถานการณ์จำลอง (Stimulation) ที่ผ้ศู ึกษาไดพ้ ัฒนาขึน้ จำนวน 8 แผน แบบประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีค่าอำนาจจำแนกตั้งแต่ 0.20 - 0.71 และมีค่าความเช่ือมั่นของแบบทดสอบทงั้ ฉบับ เทา่ กบั 0.7 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐานด้วย t-test (dependent) ผลการวจิ ยั พบวา่ นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ทีไ่ ดร้ บั การจดั การเรยี นรู้ โดยใชส้ ถานการณ์จำลอง (Stimulation) มีทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษในระดบั ดมี าก คำสำคญั : การจดั การเรียนรู้ โดยใช้สถานการณจ์ ำลอง (Stimulation), ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ, นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษา

4 ช่ือเร่ือง : การแก้ไขปัญหาการเขียนภาษาจีนไมถ่ ูกต้องของนกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/6 ด้วยการใช้วิธีเขียนตามคำบอก ผ้วู ิจัย : นางปยิ ธิดา ปนิ ตาแกว้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ : ภาษาต่างประเทศ ปที ท่ี ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคัดยอ่ การวิจัยคร้งั นมี้ วี ตั ถุประสงค์เพอื่ ศึกษาแนวทางแก้ไขใหน้ กั เรียนเขยี นตัวอกั ษรภาจีนได้ ถกู ต้องและมีลายมือสวยงาม กลุม่ ตัวอย่างที่ใชค้ อื นักเรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4/6 เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั ได้แก่ 1. แบบฟอรม์ การเขยี นตามคำบอก 2. เนื้อเร่อื งและคำศัพท์ใหม่ของแตล่ ะบทเรียน 3. แบบประเมนิ ผลการเขยี นตามคำบอก 4. แบบสอบถามความคดิ เหน็ ของผู้เรยี นทม่ี ตี อ่ วิธีการเขยี นตามคำบอก การเก็บรวบรวมขอ้ มูล โดยการ ประเมินผลการเขียนตามค าบอกของนักเรียน วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใช้สถติ ิ(ถ้ามี) - ผลการวจิ ัยปรากฏว่านักเรียนระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/6 มีการพัฒนาการเขยี นภาษาจีนได้ถูกต้อง เพิ่มมากขึ้น ตัวอักษรที่เขียนออกมาก็สวยงามและมีความถูกต้อง และนักเรียนมีความพึงพอใจกับ วิธกี ารเขียนตามคำบอก ซ่งึ จะเปน็ ประโยขนใ์ นการเรียนวิชาภาษาจีนในระดับชนั้ ท่สี งู ข้ึนไป

5 ชอื่ เร่ือง : การศึกษาปญั หาความคงทนในการจำคำศัพทข์ องนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/3 โรงเรียน แมจ่ นั วิทยาคม อำเภอแมจ่ นั จงั หวดั เชียงราย ผ้วู จิ ยั : นางสาวพิลาวลั ย์ จันทรก์ อง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : ภาษาต่างประเทศ ปที ท่ี ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนีม้ ีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาความคงทนในการจดจำคำศัพท์ โดยใช้กิจกรรมการ เรียนรู้คำศัพท์และทำแบบฝึกหัดเกี่ยวกับคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4/3 จำนวน 34 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 โดยวิธีการสุ่มอย่าง ง่าย ดำเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังทดลอง เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจัยคร้งั นปี้ ระกอบดว้ ยแบบฝกึ หดั เก่ียวกับคำศพั ทภ์ าษาอังกฤษ ท่ีผู้วิจัยได้สร้าง ขน้ึ จำนวน 4 ฉบับ การเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บจากผลทดสอบคำศัพท์ก่อนและหลังการทำแบบฝึกหัดเกี่ยวกับ คำศัพทภ์ าษาองั กฤษของนกั เรยี น สถติ ทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู ได้แก่ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมติฐานดว้ ย t-test (dependent) ผลการศึกษาปรากฏว่า การใช้กิจกรรมการเขียนคำศัพท์และทำแบบฝึกหัดเกี่ยวกับ ภาษาอังกฤษทำให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และความจำที่คงทนขึ้นในคำศัพท์ สามารถทำ แบบทดสอบหลังเรียนไดค้ ะแนนเพ่มิ ข้ึนจากเดิม ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อน เรยี นและหลงั เรียน ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4/3 ทเ่ี พมิ่ ขึ้นโดยเฉลีย่ คิดเปน็ ร้อยละ 30.45

6 ชือ่ เร่อื ง : การพัฒนาทกั ษะการจดจำคำศพั ท์ภาษาเกาหลี โดยใช้บตั รคำศัพท์รปู ภาพ (Flash card) ของนกั เรียนแผนการเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาเกาหลี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/5 ผู้วิจัย : นางสาวมัชฌมิ า เตชะคฤหะ กลุม่ สาระการเรียนรู้ : ภาษาต่างประเทศ ปีทท่ี ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคัดยอ่ การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงค0เพือ่ พัฒนาทักษะการจดจําความหมายของคำศัพท์ภาษาเกาหลี และเพอื่ เป็นแนวทางในการพัฒนากจิ กรรมการเรียนการสอนคำศัพท์ภาษาเกาหลีกลุ่มตวั อยา่ งท่ีใช้คือ นักเรียนแผนการเรียนภาษาอังกฤษ – ภาษาเกาหลี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียน แมจ่ นั วทิ ยาคม อำเภอแมจ่ ัน จงั หวดั เชียงราย จำนวน 7 คน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบทดสอบคำศัพท์ก่อนเรียน (Pre-test) บัตรคํารูปภาพ (Flash card) และแบบทดสอบคำศพั ทห์ ลงั เรยี น (Post-test) การเกบ็ รวบรวมข้อมูล เกบ็ จากผลทดสอบคำศัพท์ก่อนและหลงั เรียนโดยใช;กิจกรรมการจัดการ เรียนด้วยบตั รคำศพั ท์รูปภาพ (Flash card) สถิติทีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูลได้แก่ ร้อยละ ผลการวจิ ยั ปรากฏว่าการทำกิจกรรมฝqกทักษะการจดจําโดยใช;บัตรคำศพั ทร์ ูปภาพ (Flash card) ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาการจดจำคำศัพท์ภาษาเกาหลีได้ถูกต้องมากขึ้น ร้อยละ 35 ซึ่งส่งผลให้ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5/5 สามารถจดจําคาํ ศัพท์ภาษาเกาหลีได้มากข้ึน

7 ชื่อเรือ่ ง : การสร้างเจตคติท่ีดตี ่อวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้แอพพลเิ คช่ัน Quizizz ในกระบวนการเรยี น การสอนของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1 จำนวน 27 คน วชิ าภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน (อ 31102) ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 ผวู้ จิ ยั : นางสาวอารีย์ กองแกว้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปที ีท่ ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้ น มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 จำนวน 27 คน กลุ่มตวั อยา่ งทใี่ ช้คอื นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 จำนวน 27 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ยั ไดแ้ กแ่ บบสอบถามเรอื่ งเจตคตใิ นการใช้แอพพลิเคชัน่ Quizizz ในการ เรยี นวชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน (อ 33102) การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละของแบบสอบถามเรื่องเจตคติในการใช้ แอพพลิเคช่นั Quizizz ในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 33102) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ (ถ้ามี) ค่าร้อยละของแบบสอบถามเรื่องเจตคติในการใช้ แอพพลิเคชัน่ Quizizz ในการเรียนวชิ าภาษาอังกฤษพื้นฐาน (อ 33102) ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 มีเจตคติในการใช้แอพพลิเคช่ัน Quizizz ระดับมาก จำนวน 7 หวั ขอ้ ได้แก่ แอพพลิเคชนั่ Quizizz ทำใหน้ ักเรยี นมคี วามสนุกสนานใน การเรียนภาษาองั กฤษมากขน้ึ เป็นโปรแกรมท่ีใชง้ านง่ายสำหรับนักเรียน ช่วยให้นกั เรียนเกิดความท้า ทายในการเรียนภาษาองั กฤษ เพราะไดแ้ ข่งขนั กับเพ่ือนๆในหอ้ ง มีสาระและมปี ระโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษสำหรบั นกั เรียน เป็นโปรแกรมที่ครูควรนำมาใชร้ ่วมกบั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ มี ความทนั สมยั ต่อการเรียนรวู้ ิชาภาษาอังกฤษในปัจจบุ นั สำหรับนักเรยี น และนกั เรียนมีความพึงพอใจ มากในการใช้แอพพลิเคชั่น Quizizz 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 มีเจตคติในการใช้ แอพพลิเคชัน่ Quizizz ระดบั ปานกลาง จำนวน 5 หวั ข้อ ไดแ้ ก่ แอพพลิเคชัน่ Quizizz ทำให้นกั เรียน เข้าใจในเนื้อหาเร่ือง Grammar (ไวยากรณ์) วิชาภาษาอังกฤษที่ครูสอนมากขึ้น มีความเหมาะสมต่อ การเรียนรูภ้ าษาอังกฤษท้ังในหอ้ งเรียนและเรียนรู้ดว้ ยตนเองสำหรับนักเรียน เป็นโปรแกรมที่ครคู วร นำมาใช้ร่วมกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ นักเรียนได้ใช้แอพพลิเคชั่น Quizizz ในเวลาว่างเพ่อื แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และนกั เรียนไดแ้ นะน าแอพพลเิ คช่นั Quizizz ให้แกค่ นอื่นๆ

8 ชื่อเรอ่ื ง : การพัฒนานกั เรียนในการอ่านภาษาอังกฤษ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 โดยทำการคัดเลือก จำนวน 5 คน วชิ าภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน (อ22102) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ผวู้ จิ ัย : นางสาวอาภากร เลิศรังษี กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปที ่ที ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อพัฒนาความสามารถในด้าน ทักษะการอา่ นของกลมุ่ นกั เรียนตวั อย่างในวิชาภาษาอังกฤษ กลุม่ ตวั อย่างทใ่ี ช้คอื นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 5 คน เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวิจยั ได้แกบ่ ทความเรอ่ื ง The frog Princess Episode 1 เรียบเรียงใหม่โดย Jenny Dooley & Vanessa Page และแบบบันทึกการอ่านของกลุ่มนักเรียนตัวอย่างมีการเก็บ รวบรวมข้อมูล โดยการแบ่งการทดสอบนักเรียน 5 ครั้งและสังเกตพฤติกรรม ผลการวิจัยปรากฏว่า นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 จำนวน 5 คน ผลการวจิ ยั พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทำใหผ้ ้เู รยี นมี พฒั นาการการอา่ นท่ีดขี ้นึ ตามลำดับ ขั้นตอนที่ได้ถูกพฒั นาจากการฝึกฝนอย่างต่อเนื่อง เข้าใจในเนื้อหาที่อ่านได้มากขึน้ และผู้เรียนที่ได้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา ทักษะการอ่านภาษาองั กฤษ สามารถอ่านได้อยา่ งลืน่ ไหล ตามหลกั การอา่ นได้อยา่ งถกู ต้อง

9 ช่อื เร่ือง : การแกป้ ญั หาการจดจำคำศัพท์ HSK 3 ของนกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5/6 ผวู้ จิ ัย : นางสาวรชั นวี รรณ แซโ่ งว้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปที ่ที ำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ แก้ปัญหาการจดจำคำศัพท์HSK 3 ของนักเรียนแผนการ เรยี นภาษาจีน กลมุ่ ตวั อยา่ งทีใ่ ช้คือ นกั เรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/6 จำนวน 41 คน เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั ไดแ้ ก่ 1. แบบทดสอบวดั ความรคู้ าศพั ท์HSK ทง้ั ทกั ษะด้านการจำและการตอบคำถามกอ่ นเรยี น (Pre-Test) 2. แผน่ พับคำศัพท์ HSK 3 3. แอพพลิเคชั่นค าศัพทภ์ าษาจีน HSK 4. แบบทดสอบวดั ความรู้ค าศพั ท์ HSK ทงั้ ทกั ษะดา้ นการจำและการตอบคำถามหลงั เรียน (Post-Test) การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการ 1. ทดสอบวัดความรู้คำศัพท์ HSK3 ก่อนเรียน (Pre-test) และดำเนินการบันทึกผลคะแนน ของนกั เรยี นทุกคนรวมทง้ั คำศพั ท์ HSK3 ทีน่ ักเรยี นมกั เขียนหรือตอบผดิ 2. บันทึกสาเหตุและปัญหาในการจดจำคำศัพท์และการเขียนคำศัพท์ HSK3 ของนักเรียน รายบคุ คล 3. แจกแผ่นพบั คำศัพท์ HSK3 พร้อมทงั้ แนะนำแอพพลเิ คชน่ั คำศัพท์ภาษาจีนให้กับนกั เรียน 4. ผู้วิจัยมีการถาม ตอบ และให้นักเรยี นเขียนตามคำบอกคำศัพท์HSK 3 อย่างต่อเนื่องเพื่อ สง่ เสริมการจดจำคำศพั ทใ์ ห้กับนักเรยี น 5. ใหน้ กั เรยี นทจ่ี ดจำคำศัพทแ์ ละเขียนคำศพั ท์ HSK3 ไดช้ ่วยเหลือนักเรยี นทีย่ งั จดจำคำศัพท์ และเขยี นคำศพั ท์ HSK3 ไม่ได้ 6. ทดสอบวัดความรู้คำศัพท์ HSK3 หลังเรียน (Pro-Test) เพื่อดูพัฒนาการด้านการจดจำ คำศัพทแ์ ละการเขียนคำศัพท์ HSK 3 7. สรปุ ผลและประเมนิ งานวิจยั

10 ชื่อเร่อื ง : การพัฒนาทกั ษะการเรียนรูค้ ำศัพทภ์ าษาฝร่งั เศส ของนักเรียนแผนการเรยี นภาษาฝร่ังเศส ชั้นมัธยมศึกษา 5/5 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นแม่จนั วทิ ยาคม ผู้วิจยั : นางสาววรญั ญา จันทร์ธีระโรจน์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปที ่ที ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในแผนการ เรียนภาษาฝร่งั เศส และเพือ่ ใหค้ รไู ด้พฒั นาการเรียนการสอนภาษาฝรงั่ เศสท่ีเหมาะสมกับนักเรียนใน แผนการเรียนภาษาฝร่งั เศส กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือนักเรียนแผนการเรียนภาษาฝรั่งเศสชั้น ม.5/5 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบทดสอบคำศัพท์ภาษาฝรั่งเศสในระดับชั้น ม.5 และ แบบสอบถามเรอ่ื งการพฒั นาทกั ษะการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาฝร่งั เศส การเกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการทำการศึกษาจากผลการสอบย่อยในรายวิชาภาษาฝรัง่ เศสของ นักเรียนแผนการเรียนภาษาฝรั่งเศสชั้น ม.5/5 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จัน ดำเนินการเก็บ ข้อมลู โดยใช้แบบสอบถาม วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใชส้ ถิตเิ ชิงพรรณนา เสนอเปน็ รอ้ ยละจากกลุม่ ตวั อย่างทัง้ หมด ผลการวิจัยปรากฏว่าการประเมินผลพัฒนาการทั้ง 4 ทักษะ พบว่านักเรียนมีระดับการ พัฒนาการในดา้ นทกั ษะปานกลาง มปี ริมาณมากท่สี ุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 60.4 รองลงมา นักเรยี นมรี ะดับ พัฒนาการน้อย ร้อยละ 21.6 และนักเรียนมีระดับพฒั นาการมากอยู่ในระดับน้อย คิดเป็นรอ้ ยละ 18 และพบว่าผลการเรียนของนักเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 เพิ่มขึ้นจากภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 เฉลี่ยร้อยละ 8.55

11 ชื่อเร่อื ง : การพัฒนาความรไู้ วยากรณ์ภาษาอังกฤษ articles โดยใช้ส่อื YouTube และร้อง Rap ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1/5 (อ21102) ผ้วู จิ ยั : นายอัฐพงศ์ บตุ รเสน กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาตา่ งประเทศ ปีท่ีทำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาความรู้ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษ articles โดยใช้สื่อ YouTube และร้อง Rap ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 (อ21102) น้ี จะชว่ ยชว่ ยใหน้ ักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/5 สามารถจดจำการใชแ้ ละเตมิ ไวยากรณ์ให้ ถูกต้องมากขึ้น สามารถนำไปใช้ในในชีวิตจริงได้อย่างมั่นใจและถูกต้อง อีกทั้งจะช่วยให้นักเรียนมี ความสนใจในการเรียนการสอนและช่วยให้นักเรียนพัฒนาความสามารถในใช้ไวยากรณ์ภาษอังกฤษ เพิ่มมากขนึ้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย ได้แก่ แบบทดสอบหลังเรียนภาษาอังกฤษไวยากรณ์ Articles โดยเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ผลการวิจัยปรากฏว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 จำนวน 32 คน ได้คะแนนระดับพอใช้คิดเปน็ รอ้ ยละ 91.43 และมนี กั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1/5 จำนวน 3 คน ไดค้ ะแนนระดบั ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.57

12 ชือ่ เรอื่ ง : การศึกษาพฤตกิ รรมของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/7 เรื่องการไม่ส่งงานหรือการบา้ น ผู้วจิ ยั : นางกมลรัตน์ คำโมนะ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ปีทีท่ ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม ของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4/7 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม ผู้วิจัยได้จัดทำแบบสอบถามเพื่อศึกษาหาสาเหตุของการไม่ส่งงานหรือ การบ้านของนักเรียนจำนวน 15 ข้อ โดยให้นักเรียนเรียงลำดับสาเหตุการไม่ส่งงานหรือการ บ้าน ตามลำดับที่มากท่ีสดุ จนถึงน้อยที่สุด จากลำดับ 1 – 15 และได้ทำการนำผลของแต่ละสาเหตุ มาหาค่า ร้อยละ แล้วนำขอ้ มูลมาวิเคราะห์และหาขอ้ สรปุ พรอ้ มทัง้ นำเสนอในรูปของตารางประกอบคำบรรยาย เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียน ในเรื่องการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ผลการศึกษาปรากฏว่า จาก การศึกษาและวเิ คราะห์แบบสอบถาม เพอื่ ศกึ ษาพฤติกรรมของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4/7 ในเรื่อง การไม่สง่ งานหรือการบ้าน แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของการไมส่ ่งงานหรือการบา้ น ลำดับที่ 1 คือ การให้ การบ้านมากเกินไป และแบบฝึกหัดทำไม่ได้ โดยคิดจากนักเรยี น 41 คน ที่เลือกเป็นสาเหตุอันดับที่ 1 และ 2 จำนวน 27 คิดเป็นร้อยละ 65.85

13 ช่ือเรื่อง : การพัฒนาชดุ การเรียนด้วยตนเอง กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย เร่ืองชนิดของประโยค สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 6 ผู้วจิ ัย : นายบรรจง ใจมุข กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ปีทที่ ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การศึกษาในครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนา การพัฒนาชุดการเรียนด้วยตนเอง กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย เรื่องชนิดของประโยค ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ 80/80 และเพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของชุดการเรียนดวนตนเอง กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 หลงั เรียนด้วยและชดุ การเรียนด้วยตนเองที่สร้างขึน้ กลุม่ ตัวอย่างในการศึกษาคนควา ไดแ้ ก นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรยี นแมจ่ นั วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มธั ยมศกึ ษาเชยี งราย ซึ่งได้มาโดยวิธกี ารเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมอื ท่ีใชในการวิจยั คือ แผนการจดั การเรยี นรูเร่ืองชนิดของประโยค จำนวน 13 แผน ชุดการเรยี น ด้วยตนเองจำนวน 13 ชุด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องชนิดของประโยคชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 40 ขอ ซึ่งมีค่าความยากง่าย อยู่ระหว่าง.40 - .65 คาอำนาจจําแนก ตั้งแต่ .38 - .64 และมีค่าความเชอ่ื ม่นั ท้งั ฉบับเทากับ 0.91 ใชระยะเวลาในการทดลอง 13 ชัว่ โมง สถิติ ที่ใชในการวิเคราะหข์ อ้ อมูล คอื คา่ ร้อยละ คาเฉล่ีย ค่าสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index) ผลการศึกษาคนควาพบวา 1. ชุดการเรียนด้วยตนเอง เรื่องชนิดของประโยค กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยของนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปที่ 6 มีประสิทธภิ าพเทากับ 94.50/85.83 ซ่งึ เป็นไปตามเกณฑท่ตี ง้ั ไว 2. คดัชนีประสิทธิผลของแบบฝกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคาํ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 หลังเรียนด้วยชุดการเรียนด้วยตนเองมีคาเทากบั 0.7063 หมาย ความวา นกั เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนรูเรอ่ื งชนิดของประโยค เพมิ่ ข้ึนคดิ เป็นรอ้ ยละ 70

14 ชือ่ เร่ือง : การพฒั นาการจดั การเรยี นรูภาษาไทย เรื่อง คาํ นาม ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 โดยใช บทเรยี นการตูนประกอบการจดั กจิ กรรมดวยกลุ่มรว่ มมือแบบ STAD ผวู้ จิ ยั : นางเบญจพร สันตา กลุม่ สาระการเรียนรู้ : ภาษาไทย ปีทท่ี ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวจิ ยั ในครั้งน้มี ีวตั ถปุ ระสงคเพอื่ หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรูภาษาไทย เรื่องคํานาม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 1 โดยใชบทเรียนการตูนประกอบการจัด กจิ กรรมดวยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ท่ีมีประสทิ ธภิ าพตามเกณฑ 80/80 และเพือ่ หาค่าดัชนีประสทิ ธิผล ของแผนการจัดการเรียนรูภาษาไทย เรื่องคํานาม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 1 โดยใช บทเรียนการตูนประกอบการจัดกิจกรรมดวยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 จำนวน 37 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรูการ จำนวน 6 แผน แบบเรียนการตูน เรื่องคํานาม จำนวน 10 ชุด และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางแบบเรียนการ ตูน เรื่อง คํานาม เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ขอ ซึ่งมีค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง .40 - .65 คา อำนาจจำแนกอยู่ระหว่างตั้งแต่ .38 - .64 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเทากับ 0.91 ใชระยะเวลาใน การทดลอง 12 ชัว่ โมง ระหว่างเดือนพฤศจกิ ายน – ธนั วาคม พ.ศ 2563 สถติ ิท่ใี ชในการวิเคราะห์ข้อมูล คอื คา่ รอ้ ยละ คาเฉล่ยี คา่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคา่ ดัชนีประสทิ ธิผล (Effectiveness Index) ผลการวจิ ยั พบวา 1. ผลการพัฒนา/ความเปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้นึ ระหว่างการวิจัย นกั เรยี นได้เรยี นรูตาม กระบวนการ 10 คร้งั ครง้ั ละ 10 คะแนน รวม 100 คะแนน ผวู้ ิจยั ได้ตั้งเกณฑ์ผ่านไว รอ้ ยละ 80 ของ คะแนนเตม็ พบวามีนักเรยี นผา่ นเกณฑทต่ี งั้ ไวทุกคน สรปุ วา คะแนนกลุม่ นกั เรียนทดลองแสดงใหเห็นวา ผู้เรียนผานกระบวนการเรียนรูด้วยแบบเรียนการตูน เรื่อง คํานาม ได้คะแนนรวมเฉลี่ย 87.81 จาก คะแนนเต็ม 100 คะแนน และเมื่อทดสอบหลังการเรียนรูแล้วคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.62 ปรากฏวา เมื่อคํานวณหาประสิทธิภาพจากกลุ มตัวอย่างที่เรียนด้วยแบบฝกทักษะ ชั้น มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ได้เทากับ 87.81/87.62 ซง่ึ สงู กว่าเกณฑ 80/80 2. การทดสอบกอนเรยี นและหลงั เรยี นของนกั เรียนมัธยมศึกษาปท่ี 1 มีคะแนนเฉลยี่ เทากบั 20.05 คะแนน และ 35.05 คะแนน ตามลำดบั และเมื่อเปรียบเทยี บระหว่างคะแนนกอนและหลังเรียน พบวา คะแนนสอบหลังเรยี นของนกั เรียน สูงกวา่ กอ่ นเรยี น อย่างมนี ยั สําคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05

15 ชอ่ื เร่อื ง : ผลของการสอนแบบออนไลน์ทีม่ ผี ลตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าภาษาไทยพื้นฐาน ของนักเรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรยี นแม่จนั วิทยาคม ผวู้ จิ ัย : นางสาววิมลรัตน์ ขัดสุรินทร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ปที ่ีทำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจยั ครั้งน้ีมวี ตั ถุประสงค์เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นรายวิชาภาษาไทย พนื้ ฐาน ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ทไี่ ด้รับการสอนโดยการเรียนแบบออนไลนก์ บั การเรียนการ สอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนการสอนแบบปกติกับการ เรียนการสอนแบบออนไลน์กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนแม่จัน วิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม กล่มุ จากทงั้ หมด 8 หอ้ งเรยี น วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชส้ ถติ คิ า่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบหาค่า t-test แบบ Dependent samples ผลการวจิ ยั พบวา่ นกั เรียนทไ่ี ด้รับการสอนแบบปกติกับนักเรยี นทไี่ ด้รบั การสอนแบบออนไลน์ มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนแตกต่างกันอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05

16 ช่ือเร่ือง : ผลการจัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการ บนั ได 5ขน้ ั เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วชิ าภาษาไทยเรือ่ งการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ ของนกัเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษา ปีที่ 4/7 ผู้วจิ ัย : นายเฉลิมพล ทรายหมอ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ปีที่ทำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การศกึ ษาในครง้ั นมี้ ีวตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยเร่ืองการอ่านแปลความ ตคี วาม และขยายความ หลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรูต้ ามบันได 5 ขนั้ ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/7 โรงเรยี นแม่จนั วิทยาคม และเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนเรื่องการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ โดยใช้ กิจกรรมการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม จังหวัดเชียงราย จำนวน 40 คน เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษาได้แก่ 1) การจัดการเรยี นรูต้ ามกระบวนการบันได 5 ขนั้ เรื่องการ อ่านแปลความ ตีความ และขยายความ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าสถิติ t-test เปน็ การทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการศึกษา พบว่า การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่าน แปลความตคี วาม และขยายความกอ่ นเรียนและหลังเรียนจากจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามบนั ได 5 ข้ัน ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/7 โรงเรยี นแมจ่ ันวิทยาคม ผลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูง กว่ากอ่ นเรยี น

17 ชอ่ื เรอื่ ง : ผลการใชว้ ธิ กี ารสอนแบบ SQ4R ในการสอนอ่านจับใจความสำคญั สำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนแมจ่ นั วิทยาคม ผูว้ ิจัย : นางปริศนา นิเท กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาไทย ปีที่ทำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคัดยอ่ การวจิ ัยในครัง้ น้ี มีวตั ถุประสงค์เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิใ์ นการใชว้ ิธีสอนอ่านแบบ SQ4R ในการสอนอา่ นจบั ใจความสำคัญ สำหรบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 กลุม่ ตัวอยา่ งที่ใช้ในการทดลอง จำนวน 32 คน ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Random Sample) สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล ไดแ้ กค่ ะแนนเฉลยี่ ความเบยี่ งเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบคา่ ที (t-test) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นก่อนและหลังผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระหวา่ ง ผลสัมฤทธ์ิกอ่ น และหลงั เรียนดว้ ยวิธกี ารสอนแบบ SQ4R ในการสอนอ่านจบั ใจความสำคญั สำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบ SQ4R ในการสอน อ่านจับใจความสำคัญสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนแม่จันวิทยาคมสูงขึ้นกว่าก่อน เรยี น แตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ .01

18 ชอ่ื เรื่อง : การใช้แบบฝกึ ทกั ษะการเขียนคำไทยท่ีนกั เรียนสว่ นใหญม่ ักเขียนผิด เพอื่ การจัดการเรยี นรู้ ให้กบั นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรยี นแม่จันวิทยาคม อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ผู้วจิ ัย : นางสาวณัฐฉรา ปากลู กล่มุ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ปีทีท่ ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะพัฒนาการเขียนค ำ ไทย ศึกษาทกั ษะการเขียนคำไทยท่ีสว่ นใหญม่ ักเขยี นผิดหลังจากใช้แบบฝึกทกั ษะพัฒนาการเขียนคำ ไทย และเพื่อเปรียบเทียบทักษะการเขียนคำไทยที่มักเขียนผิดทั้งก่อนและหลังใช้แบบฝึกทักษะ พัฒนาการเขียนคำไทย โดยมีประชากรที่ศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 30 คน โรงเรียนแม่จันวิทยาคม ตำบลป่าซาง อำเภอแมจ่ ัน จังหวดั เชียงราย ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 25 คน นวตั กรรมทใี่ ช้ในการวจิ ัยคร้ังนค้ี ือ แบบฝึกทกั ษะการเขยี นค าไทย จำนวน 60 คำ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบ Per – test Post – test และ แบบทดสอบย่อย 2 ชดุ รวม 60 ข้อ และหลงั การฝึกวเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยการหาคา่ เฉล่ียส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา่ 1. ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการเขียนค าไทย ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนแม่จนั วิทยาคม ตำบลป่าซาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย พบว่า E1 = 66.26 และ E2 = 88.13 คะแนนประสิทธิภาพแบบฝึกทกั ษะการเขียนค าไทย (E1) มีค่า 66.26 เมื่อ พิจารณาแบบทดสอบระหว่าง เรียน พบว่า มีคะแนนสูงสุดถึง 58 คะแนน จากคะแนนเต็ม 60 คะแนน คะแนนประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีค่า 88.13 เมื่อพิจารณา คะแนนสูงสุด 30 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนต่ำสดุ 18 คะแนน จากคะแนนเตม็ 30 คะแนน 2. ผลสัมฤทธิจ์ ากการใช้นวตั กรรมของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนแมจ่ นั วิทยาคม พบวา่ นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเขยี นค าไทย โดยเฉลี่ย 26.44 โดยไดค้ ะแนนสูงสดุ คอื 30 คะแนน ได้คะแนนต่ำสุดคอื 18 คะแนน ผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนคำไทย ของนักเรียนก่อนและ หลงั ใช้แบบฝึกทักษะการเขียนคำไทยมีความแตกต่างกัน โดยมผี ลสัมฤทธ์ิในการจัดการเรียนรู้หลังใช้ แบบฝึกทักษะการเขียนค าไทย สูงกว่าผลสัมฤทธิก์ ่อนใชแ้ บบฝกึ ทักษะการเขียนคำไทย ทั้งนี้ก่อนใช้ แบบฝกึ ทกั ษะการเขียนคำไทย ในการจัดการเรยี นร้ขู องนกั เรยี นมคี ะแนนผลสัมฤทธิ์ โดยเฉล่ยี 14.32 คะแนน ซง่ึ นักเรยี นได้คะแนนสูงสดุ คือ 21 คะแนน และต่ำสุด คอื 8 คะแนน

19 ส่วนหลังใช้ แบบฝึกทักษะการเขียนค าไทย ในการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการฟงั โดยเฉลี่ย 26.44 คะแนน ซึ่งนักเรยี นได้คะแนนสูงสุด คือ 30 คะแนน และต่ำสดุ 18 คะแนน 3. การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นก่อนและหลงั การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ แบบฝกึ ทักษะการเขียนคำไทยพบวา่ เม่ือพิจารณาคะแนนความก้าวหนา้ นักเรียนมคี ะแนน ความกา้ วหน้า เฉลย่ี 12 คะแนน (รอ้ ยละ 39.99) โดยมคี ะแนนความกา้ วหน้าสงู สุด คอื 17 คะแนน และมีคะแนนความกา้ วหนา้ ต่ำสดุ คอื 7 คะแนน

20 ชอ่ื เรื่อง : การศึกษาการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการท างาน ท22207 วิชาการค้นคว้าเพอ่ื สร้างองค์ความรู้ ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/6 โดยการใชก้ ารเสรมิ แรงทางบวก ผ้วู จิ ยั : นางสาวประภาพร อตั มะ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ปีทที่ ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ งานวิจยั ในครงั้ นมี้ ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศกึ ษาการปรบั พฤตกิ รรมความรบั ผดิ ชอบในการส่งงาน ของนกั เรียน การจัดการเรยี นการสอนในชนั้ เรียน นอกจากจะเปน็ สถานท่ีให้ความรู้แลว้ ยงั เปน็ สถานท่ี ฝึกพฤติกรรมใหอ้ ยู่ในระเบียบวนิ ัยตามความประสงค์ของสังคม การขาดความรับผิดชอบในการทำงาน เปน็ พฤตกิ รรมที่เปน็ ปัญหา และเปน็ อุปสรรคตอ่ การเรียนรู้อันเป็นผลทำใหก้ ารสอนไมส่ ามารถบรรลุ จดุ มงุ่ หมายท่ตี ้งั ไว้ ดงั นั้นผ้วู ิจยั จึงไดเ้ หตุความสำคัญและนำวิธเี สรมิ แรงทางบวกในการปรับพฤติกรรม ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ม.2/6 รหสั วชิ า ท22207 รายวิชาการคน้ คว้าเพอ่ื สร้างองค์ความรู้ นักเรียนจำนวน 10 คน จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด 31 คน โดยใช้วิธีการเสริมแรงทางบวก ในการ ปรับพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน ได้แก่ การชมเชย การให้คะแนน การให้รางวัล เพื่อให้ นักเรียนมคี วามประพฤตทิ ี่ดี จากความสำคญั และปัญหาข้างตน้ ทำใหผ้ ู้วิจยั ใช้แบบบันทกึ การสังเกตการท างานในแตล่ ะ ชั่วโมงมาใช้ในการปรับพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักเรียน โดยการเสริมแรงทางบวก และสามารถ ลดพฤตกิ รรมการขาดความรบั ผิดชอบในการท างานของนักเรยี นทงั้ 10 คนได้อยา่ งดี เพราะนักเรียน มีความพงึ พอใจในการไดร้ บั แรงเสรมิ มคี วามกระตือรอื ร้นในการท างานมากข้นึ

21 ชื่อเรอ่ื ง : การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน รายวชิ า ท 22207 การค้นคว้าเพื่อสร้างองคค์ วามรู้ เร่อื ง การเขียนโครงเรื่อง โดยใช้Storyboard ผ้วู ิจยั : นางสาวธชั กร จับใจนาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาไทย ปีทที่ ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวิจยั ครั้งนม้ี ีวัตถุประสงคเ์ พือ่ พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมเรอ่ื ง การเขยี นโครง เรื่อง โดยใช้ Storyboard ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 จำนวน 33 คน โรงเรียนแม่จัน วทิ ยาคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 33 คน โรงเรยี นแม่จันวิทยาคม เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ 1. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้Storyboard 2. แบบประเมินการเขยี นโครงเร่อื งโดยใช้ Storyboard การเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยการ 1. จากการประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้การวางแผนการดำเนินงาน ความ รบั ผิดชอบ, ความคิดสรา้ งสรรค์, ความคดิ รวบยอด, ส่งงานตรงตามเวลา 2. จากการทำชน้ิ งาน เร่ือง การเขียนโครงเรื่องโดยใช้ Storyboard 10 คะแนน วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้สถติ (ิ ถ้าม)ี 1. จาการเปรยี บเทียบพฤตกิ รรมการเรยี นร้รู ะหวา่ งกิจกรรมครง้ั ท่ี 1 และกจิ กรรมครง้ั ท่ี 2 สถิตทิ ีใ่ ช้โดยการหาค่าเฉลี่ย 2. จากคะแนนการทำชน้ิ งาน เรื่อง การเขียนโครง เรอื่ งโดยใช้ Storyboard สถติ ทิ ่ใี ช้โดยการหาค่าเฉลีย่ และค่าร้อยละ ผลการวจิ ัยปรากฏว่า 1. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการเรียนรู้ ระหว่างกิจกรรมครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 มีดังนี้ ครั้งท่ี 1 พบว่า ความคิดรวบยอด ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3.75 ความคิดสร้างสรรคไ์ ด้ค่าเฉล่ียต่ำสดุ เท่ากับ 3.10 พฤติกรรมการเรียนรู้ครั้งที่ 2 พบว่า ความคิดรวบยอด ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3.90 ความคดิ สรา้ งสรรค์ไดค้ ่าเฉลี่ยต่ำสุด เท่ากับ 3.50 2. ผลการทำช้ินงาน เร่อื ง การเขียนโครงเร่ืองโดยใช้ Storyboard พบว่า คะแนนสงู สดุ ทีไ่ ด้ เท่ากับ 10 คะแนน และคะแนนต่ำสดุ เท่ากับ 7 คะแนน

22 ช่ือเร่อื ง : การพัฒนาการปลูกเมล่อนในพื้นทีโ่ รงเรียนแมจ่ ันวิทยาคม ผู้วิจยั : นายพงษ์สทิ ธิ์ นนั ทญา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : การงานอาชพี ปีที่ทำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวจิ ัยครั้งนม้ี วี ัตถุประสงคเ์ พอื่ พฒั นาการปลูกเมล่อนในพื้นทโี่ รงเรียนแมจ่ ันวทิ ยาคม และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนในกิจกรรมการเรียนรู้การปลูกเมล่อนของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษา ปีที่ 4/10 กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ช้คอื นกั เรียนระดับชนั้ ม.4/10 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แปลงทดลองการปลูกเมล่อน แบบบันทึกการเก็บข้อมูล แบบสอบถามความ พงึ พอใจ การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการแบบบันทึกการเจริญเตบิ โตของตน้ เมล่อนโดยนกั เรยี นเปน็ ผู้ เก็บรวบรวม ขอ้ มลู แบบสอบถามความพงึ พอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชส้ ถิติ คา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ ความถี่ ผลการวิจัยปรากฏว่าจากการเก็บข้อมูล การเจริญเติบโตของต้นเมล่อนพบว่ามีการเจรญิ เติบโตดีเมื่อเทียบกับ แหล่งปลูกทั่วไปแต่ผลผลิตยัง ไม่ได้คุณภาพ100 % ทั้งนี้อาจเกิดจากหลายปัจจัยเช่นนักเรียนผู้ดแู ล สภาพ พื้นที่ การดูแลเอาใจใส่ และเมื่อสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนพบว่ามีความพึงพอใจมากร้อยละ 80 นักเรียนมีความ สนใจมากขนึ้ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียนรขู้ องผู้เรยี น

23 ชือ่ เรอื่ ง : การศึกษาพฤตกิ รรมเร่ืองการไมส่ ง่ งาน ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษา ปที ่ี 5/8 สาขาวชิ าอาหารและโภชนาการ ผวู้ ิจัย : นางวิมล ปัญญานนั วงศ์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : การงานอาชีพ ปีที่ทำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/8 สาขาอาหารและโภชนาการ ในรายวิชาโภชนาการ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 20 คน จากการวจิ ัยพบวา่ การศกึ ษาและวิเคราะหแ์ บบสอบถามความคดิ เห็นถึงสาเหตุที่ ไม่ส่งงานตาม กำหนดเวลา ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ปีท่ี 5/8 สาขาอาหารและโภชนาการ รายวิชาโภชนาการ โรงเรียนแม่จันวิทยาคม แสดงให้เห็นว่าสาเหตุที่ไม่ส่งงานตามกำหนด โดยทำการ เรียงลำดับจากสาเหตุท่ี นักเรียนคิดว่าเป็นสาเหตุที่สำคัญที่สุดจนถึงสาเหตุที่น้อยที่สุด 3 อันดับ ดังต่อไปน้ี ลำดบั ท่ี 1 งานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย มากเกินไป จำนวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.00 ลำดับท่ี 2 ให้เวลานอ้ ย จำนวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 ลำดบั ท่ี 3 งานหาย จำนวน 8 คน คดิ เป็นร้อยละ 40.00

24 ชือ่ เรอ่ื ง : การพฒั นาพฤตกิ รรมการเรียนให้มคี วามรับผดิ ชอบ ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4/10 ใน รายวิชาพลังงาน ทรพั ยากร และสงิ่ แวดล้อม โดยการสอนแบบรว่ มแรงร่วมใจ และปรับ พฤตกิ รรมแบบยอมรับ ผ้วู ิจยั : นางสาวศริ เิ พญ็ ดอนน้อยหนา่ กล่มุ สาระการเรียนรู้ : การงานอาชพี ปีที่ทำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ปรับพฤติกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/10 ห้องเรียนอาหารและโภชนาการ จำนวน 4 คน ด้านความรับผิดชอบต่อการเรียนรายวิชาพลังงาน ทรพั ยากร และสงิ่ แวดลอ้ ม โดยมีเปา้ หมายว่านกั เรยี นจะมีความรับผดิ ชอบเพิม่ มากขึ้น กลุ่มตัวอย่างท่ี ใช้คอื นักเรียนห้องเรียนอาชพี สาขาอาหารและโภชนาการ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4/10 รายวชิ าพลังงาน ทรัพยากร และส่งิ แวดล้อม จำนวน 4 คน เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ครัง้ นี้ประกอบดวั ย 1. รูปแบบการเรียนการสอนแบบรว่ มแรงร่วมใจ และรูปแบบการปรับพฤติกรรมแบบยอมรับ 2. แบบสังเกตพฤตกิ รรมความรบั ผิดชองของนักเรียน 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ การตรงต่อเวลาในการทำ กิจกรรมกลมุ่ การแสดงความคดิ เห็น การดูแลรักษาวัสดุอปุ กรณ์ การใหค้ วามร่วมมือ

25 ชือ่ เรอ่ื ง : การพัฒนาทักษะการทำงานของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5/8 สาขาอาหารและโภชนาการ รายวชิ า เบเกอร่ีเพอ่ื ธรุ กิจประจำภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ผู้วิจัย : นางสาววรนิ ทร กาบสนทิ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : การงานอาชีพ ปที ่ที ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาทักษะในการทำงานและมีนิสัยรักการทำงานของ นักเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/8 สาขาอาหารและโภชนาการ ในรายวิชาเบเกอรี่เพื่อธุรกจิ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 5/8 แผนการเรียนอาหารและโภชนาการ โรงเรียนแม่จันวิทยาคม จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบบันทึกการสังเกตการณ์ ทำงาน การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 5/8 แผนการเรยี นอาหารและโภชนาการ โรงเรยี นแมจ่ นั วทิ ยาคม จำนวน 20 คน ผู้วจิ ยั ไดป้ ฏิบัตดิ งั น้ี 1. ขั้นตระหนกั ให้นกั เรยี นแต่ละคนรับมอบหมายงานไปศึกษาปัญหาที่เกดิ ขน้ึ ในงานผลดี ผลเสีย และ วิธกี ารแกไ้ ขปรับปรงุ 2. ข้ันวางแผนปฏบิ ัติงาน นักเรียนวางแผนว่าจะปฏิบัติงานขั้นตอนอย่างไร จะรบั ผดิ ชอบงานได้อย่างไร จะมีการศึกษาปรับปรุงแกไ้ ขการปฏบิ ตั งิ านเปน็ ระยะ ๆ อย่างไร 3. ขนั้ ลงมือปฏบิ ตั ิงาน นกั ศึกษาปฏิบตั งิ านตามทีไ่ ด้รับมอบหมายงานท่ีวางแผนไว้ 4. ขั้นตรวจการประเมินผลงาน นักเรียนตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานว่าเปน็ ไปตามแผนหรือไมม่ ปี ัญหา อปุ สรรคอยา่ งไร มีส่งิ ใดทีจ่ ะตอ้ งปรบั ปรุงแก้ไข 5. ขั้นปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน นักเรียนทำการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานตามที่ได้ตรวจสอบ และประเมินผลไว้ จนได้ผลงานตามท่ีตอ้ งการ 6. ขั้นปฏิบัติงานด้วยความภาคภูมิใจ นักเรียนนำประสบการณ์จาการทำงานไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจำวนั ทำงานเป็น ทำงานอยา่ งมีความสุข และภาคภมู ใิ จผลงานของตนการวเิ คราะห์ข้อมูลโดย ใช้สถิติ (ถ้ามี) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปผลจากการบันทึกการสังเกต และกระบวนการทำงานของ นกั เรียน โดยใช้ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (SD) จากจำนวนนักเรยี นทัง้ หมด 20 คน ผลการวจิ ยั ปรากฏวา่ จากการใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิงานโดยใชก้ ระบวนการทำงาน ซ่ึงประกอบดว้ ย ขั้นตอนต่าง ๆ 6 ขั้นตระหนัก ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน ขั้นตรวจสอบและประเมินผลงาน ขั้นปรับปรุง แกไ้ ขและพฒั นางาน และขั้นปฏิบตั ิงานดว้ ยความภาคภูมิใจ มีผลทำให้นกั ศกึ ษาสามารถทำงานร่วมกัน ไดเ้ ป็นอย่างดี มคี วามรับผดิ ชอบและรักงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย ทำงานอย่างเป็นข้นั ตอน ตลอดจนมีนิสัย ทด่ี แี ละมีความสขุ ในการทำงาน

26 ช่อื เรือ่ ง : การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ืน้ ฐาน ค21102 ของนกั เรยี นชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1/8 เรือ่ ง กราฟและความสมั พนั ธเ์ ชิงเส้น โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะคณิตศาสตร์ โรงเรยี นแม่จันวทิ ยาคม ผู้วิจัย : นางสาวอุบล น่ิมนวล กล่มุ สาระการเรียนรู้ : คณติ ศาสตร์ ปที ีท่ ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวจิ ยั คร้งั น้ีมวี ัตถุประสงค์ เพอื่ เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่อง กราฟและความสัมพนั ธ์เชิงเส้น วิชา คณิตศาสตร์กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้คือ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1/8เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการวิจยั ได้แก่ 1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรือ่ ง กราฟและความสมั พันธเ์ ชิงเส้น ของนักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1/8 2. แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง กราฟและความสัมพนั ธ์เชงิ เส้น ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1/8 3. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตร์ เร่อื ง กราฟและความสัมพนั ธเ์ ชิงเสน้ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1/8 มีลักษณะเป็นแบบทดสอบปรนัยชนดิ เลอื กตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน ทง้ั ส้นิ 30 ขอ้ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล โดยการศกึ ษาในครัง้ นี้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ดงั น้ี 1. ทำความเข้าใจกับผ้เู รียนเกย่ี วกับการเรียนการสอน บทบาทของครู บทบาทของผเู้ รียน จุดประสงค์ การเรยี นการสอน และวิธีการวดั ผลประเมนิผล 2. ทดสอบกลุ่มตัวอยา่ งกอ่ นการเรียน (Pre - test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน คณิตศาสตร์ 3. ดำเนินการสอนกลุ่มตวั อย่างโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง กราฟและความสมั พนั ธ์เชงิ เส้น ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/8 ประกอบดว้ ย 10 แผนการเรยี นรใู้ ช้เวลา 10 ชว่ั โมง 4. ทดสอบหลังเรยี น (Post - test) เม่ือสนิ้ สดุ การทดลองโดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งเปน็ ฉบับเดียวกันกบั ทดสอบก่อนเรยี น วเิ คราะห์ข้อมูลโดยใชส้ ถิติ 1. การหาประสิทธิภาพของแบบฝกึ ทกั ษะ โดยใช E้ 1/E2 2. คะแนนแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นคณิตศาสตรก์ ่อนและหลงั เรียนมา หาคา่ เฉล่ีย (Mean) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

27 ผลการวจิ ยั ปรากฏว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าคะแนน การทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับ สมมติฐานที่ตั้งไว้ โดย คะแนนของการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอ่ นเรยี นมคี ่าเฉล่ียเป็น 12.94 และคะแนนของการทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเป็น 23.25 ทั้งนี้เนื่องจากแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้น ได้ยึด หลกั ในการสรา้ งแบบฝึกทักษะ โดยสรา้ งแบบฝกึ ใหส้ อดคลอ้ งกับจิตวทิ ยาและพฒั นาการของผ้เู รียน มี การกำหนดจุดหมายที่จะฝึกเนื้อหาตรงกับจุดหมายที่วางไว้ คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน และ แบบฝึกมีหลายรูปแบบ ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะความชำนาญ และผู้เรียนได้รับ การฝึกหลาย ๆ คร้ัง และหลายรูปแบบ เมื่อผู้เรียนได้รับการฝึกแล้ว ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเอง และแบบฝึกทักษะ คณติ ศาสตรท์ ่ีสร้างขน้ึ มีประโยชน์ตอ่ ครูผู้สอนในการแกป้ ญั หาของนกั เรยี นท่มี ปี ัญหามากต่าง ๆ กนั ได้ ดี ประกอบกบั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมอื ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมจรงิ และแสดง ความคิดเห็นภายในกลมุ่ และเนอื้ หาเหมาะสมกับการทำแบบฝึกทกั ษะตรงกับความสนใจของนักเรียน สง่ ผลใหน้ ักเรียนมีคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรยี นสงู กวา่ คะแนนการทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ก่อนเรียน

28 ชือ่ เรื่อง : การวจิ ัยเชิงปฏบิ ตั กิ ารในชัน้ เรียนเพ่อื ส่งเสรมิ ความสามารถในการแกป้ ัญหา ทางคณติ ศาสตร์ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 โดยใชร้ ูปแบบการสอนแบบ KWDL ผู้วิจยั : นางสาวจันทาภา บษุ บุญ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : คณติ ศาสตร์ ปีทีท่ ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวิจยั ครง้ั นี้เปน็ การวิจยั เชิงปฏิบัติการในชัน้ เรียนเพ่ือส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตรข์ องนกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ KWDL ในการออกแบบ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง สถติ ิ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2/3 ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม จำนวน 32 คน ดำเนินการวจิ ัยโดยการเรียนรู้ใช้รปู แบบ การสอนแบบ KWDL ซึ่งมีขั้นตอนการทำงาน 4 ขั้น ได้แก่ K: เรารู้อะไร (What we Know) W: เรา ต้องการทราบอะไร (What we want to know) D: เราทำอะไร/อย่างไร (What we Do) และ L: เรา เรียนรู้อะไรจากการดำเนินการขั้นท่ี 3 (What we Learned) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจดั การเรียนรู้ จำนวน 12 แผน แบบทดสอบวดั ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ แบบอัตนัย จำนวน 10 ข้อ และแบบวัดความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ยร้อยละ ผลการวิจัย พบว่านกั เรียนมีความสามารถในการแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ ดีและความพึง พอใจตอ่ การจัดการเรยี นร้โู ดยใชร้ ูปแบบการสอนแบบ KWDL เร่อื ง สถิติของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยใู่ นระดบั มากขึน้ ไป

29 ช่ือเรือ่ ง : การพฒั นาทักษะการแกโ้ จทยป์ ญั หา เรือ่ ง พีระมดิ กรวย และทรงกลม รายวชิ า คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน รหัสวิชา ค23102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนกั เรียน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นแม่จันวทิ ยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 ผ้วู ิจัย : กรรณกิ า ติ๊บมณี กลุ่มสาระการเรียนรู้ : คณิตศาสตร์ ปีท่ที ำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ที่จัดการ เรียนรูโ้ ดยใชเ้ ทคนิค KWDL เรื่อง พีระมิด กรวยและทรงกลม รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค 23102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนแมจ่ นั วทิ ยาคม ภาคเรียน ท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่มีต่อการ จัดการเรยี นรู้ โดยใชเ้ ทคนคิ KWDL เร่อื ง พีระมิด กรวย และทรงกลม รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหัส วชิ า ค23102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นแมจ่ ันวิทยาคม ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 333 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1, 3/3, 3/5 และนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3/8 จำนวน 128 คน เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบประเมนิ ผลงานนักเรียนจากการทำแบบฝึกทักษะ จำนวน 15 คาบ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น และแบบประเมนิ ความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลงานนักเรยี นกลมุ่ ตวั อยา่ งจากพฒั นาทกั ษะการแก้โจทยป์ ัญหา เรอื่ ง พรี ะมิด กรวย และทรงกลม รายวิชาคณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน รหัสวชิ า ค23102 โดยการใช้เทคนคิ KWDL ของนักเรยี นชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นแม่จนั วิทยาคม ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มีผลงานเฉลยี่ อยู่ใน . ระดับคณุ ภาพดีร้อยละ 54.59 2. คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรื่อง พีระมิด กรวย และทรงกลม โดยใชเ้ ทคนคิ KWDL ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาคณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหสั วชิ า ค23102 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนแมจ่ ันวิทยาคม หลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียนอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .01 3. ในภาพรวมนกั เรยี นมีความพึงพอใจในระดบั มาก พิจารณาตามรายด้านพบว่า ดา้ นบรรยากาศ การจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือด้านกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับมากและด้าน ประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการร่วมกจิ กรรมอยู่ในระดบั มาก

30 ช่อื เรือ่ ง : การพฒั นาทักษะการแก้โจทยป์ ัญหาพีระมดิ กรวย และทรงกลม รายวชิ าคณติ ศาสตร์ พื้นฐาน ค23102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นแม่จนั วิทยาคม ผวู้ ิจัย : นางสาวณิชานนั ทน์ ศนู ยก์ ลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : คณติ ศาสตร์ ปีทีท่ ำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปญั หาพรี ะมดิ กรวย และทรงกลม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค23102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนแม่จัน วิทยาคม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวชิ าคณิตศาสตรท์ ี่ จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เรื่องการแก้ปัญหาพีระมิด กรวย และทรงกลม ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 1. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวชิ าคณติ ศาสตร์ท่ีจัดการเรียนรเู้ รอื่ งการแก้ปัญหาพีระมิด กรวย และ ทรงกลม โดยใช้เทคนิค KWDL ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 พบว่านักเรียนทั้งสองห้องมีผลงานเฉลี่ยอยู่ในระดับคุณภาพดีมากร้อยละ 82.27 และมี ผลงานอยใู่ นระดบั คณุ ภาพดีรอ้ ยละ 17.73 มคี ะแนนเฉลี่ยหลงั เรยี นสงู กวา่ ก่อนเรยี น 2. นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มคี วามพึงพอใจมากหรือมากทส่ี ุดต่อการเรยี นคณติ ศาสตร์ โดยใช้ เทคนิค KWDLพบว่านักเรียนทั้งสองห้องมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในระดับดีมากคิดเป็น คา่ เฉล่ยี ร้อยละ ซ่งึ เปน็ ไปตามสมมุติฐานที่ต้งั ไว้

31 ชื่อเร่อื ง : การพฒั นาทกั ษะการแกโ้ จทย์ปัญหา เรื่องอนกุ รมเรขาคณติ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน รหัสวชิ า ค32102 โดยการใช้เทคนิค KWDL ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ผูว้ จิ ยั : พรรณี สาระตา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ : คณิตศาสตร์ ปีท่ีทำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ที่จัดการ เรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เรื่องอนุกรมเรขาคณิต ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 และ เพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เร่ืองอนกุ รม เรขาคณติ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 155 คน กลุ่มตวั อยา่ ง คือ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/3 และนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 5/6 จำนวน 71 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค32102 เรอื่ ง การแก้โจทย์ปญั หาเรอ่ื ง อนุกรมเรขาคณติ จำนวน 2 คาบ แบบฝึกทกั ษะ ชนิด แสดงวิธี ทำ จำนวน 2 ขอ้ แบบสังเกตพฤติกรรมในการตอบคำถามจากแบบฝึกทักษะและ แบบประเมินผลงาน นักเรียน ผลการวิจัยปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคนิค KWDL เร่ืองโจทยป์ ัญหาเรอ่ื งอนุกรมเรขาคณิต ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 มคี ะแนนเฉลย่ี หลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียน และนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 5 มีความ พงึ พอใจมากหรอื มากท่สี ดุ ต่อการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โดยใชเ้ ทคนคิ KWDL ซ่งึ เป็นไปตามสมมุตฐิ านท่ตี ั้ง ไว้

32 ช่ือเรื่อง : การพัฒนาทักษะการแก้โจทยป์ ัญหา เรือ่ ง ความนา่ จะเปน็ รายวิชาคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน รหสั วิชา ค31102 โดยการใชเ้ ทคนิค KWDL ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ผวู้ ิจยั : นางสาวสุภารตั น์ เลาเหล็ก กลุ่มสาระการเรียนรู้ : คณติ ศาสตร์ ปีทีท่ ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ที่ จัดการเรียนร้โู ดยใช้เทคนิค KWDL เร่อื ง ดอกเบีย้ ทบต้น ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการ จัดการเรียนรโู้ ดยใช้เทคนิค KWDL เร่อื ง ดอกเบย้ี ทบต้น ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 รวมจำนวนทั้งสิน้ 119 คน เครื่องมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่แผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ารจดั เรยี นรโู้ ดยใช้เทคนคิ KWDL เรื่อง ความน่าจะเป็น แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน แบบประเมินผลงานของนักเรียน และ แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมีต่อการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนคิ KWDL เร่ือง ความน่าจะ เป็น วเิ คราะห์ขอ้ มลู โดยใช้สถิติคา่ เฉลีย่ เลขคณติ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ที่จัดการเรยี นรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เรื่องโจทย์ปัญหา เร่ือง ดอกเบย้ี ทบตน้ ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 มคี ะแนนเฉล่ีย หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน และมีผลงานอยใู่ นระดับคุณภาพดีมาก ร้อยละ 50.50 มผี ลงานอยู่ในระดับ คณุ ภาพดรี อ้ ยละ 45.25 2) นกั เรียนมีความพงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค KWDL อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด

33 ชือ่ เร่ือง : การพัฒนาทักษะการแกโ้ จทยป์ ัญหา เรื่อง ดอกเบยี้ ทบต้น รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน รหสั วิชา ค32102 โดยการใช้เทคนคิ KWDL ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ผู้วิจยั : นางสาวอญั ชลี ประวัง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ : คณิตศาสตร์ ปีทท่ี ำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ท่ี จัดการเรยี นรู้โดยใช้เทคนคิ KWDL เรอ่ื ง ดอกเบีย้ ทบต้น ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียน ท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 และ 2) เพอื่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ทม่ี ีต่อการ จดั การเรยี นรโู้ ดยใช้เทคนิค KWDL เรอ่ื ง ดอกเบี้ยทบต้น ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียน ที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 กลุ่มตวั อย่างท่ใี ช้คอื นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/1 และช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5/2 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 รวมจำนวนทั้งสิ้น 58 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การจัดเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เรื่อง ดอกเบี้ยทบต้น แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน แบบประเมินผลงานของนักเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ เรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL เรื่อง ดอกเบี้ยทบต้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยเลขคณิต และ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจยั ปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ าคณิตศาสตร์ท่จี ัดการเรยี นรู้โดยใชเ้ ทคนิค KWDL เรือ่ งโจทย์ปัญหา เรื่อง ดอกเบี้ยทบต้น ของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 มีคะแนน เฉลยี่ หลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรียน และมีผลงานอยู่ในระดับคณุ ภาพดีมาก ร้อยละ 51.72 มีผลงานอยู่ใน ระดับคณุ ภาพดี ร้อยละ 48.28 2) นกั เรียนมีความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนรโู้ ดยใชเ้ ทคนิค KWDL อยู่ในระดบั มากที่สุด

34 ชอื่ เรื่อง : การวจิ ยั เชงิ ปฏิบัติการในชัน้ เรยี นเพ่ือสง่ เสริมความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณติ ศาสตร์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยใชร้ ูปแบบการสอนแบบ KWDL ผวู้ ิจยั : นางสาวเปรมกมล อนิ หลี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ : คณิตศาสตร์ ปีท่ีทำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ยอ่ การวิจยั ครงั้ นี้เป็นการวิจยั เชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนเพ่ือส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ KWDL ในการออกแบบ และจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง พีระมดิ กรวย และทรงกลม กลุ่มเป้าหมาย คอื นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 3/2 และ3/9 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม จำนวน 70 คน ดำเนินการวิจัยโดยผ่านระเบียบ วิธีวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนตามวงจร PAOR 4 ขั้น คือ ขั้นวางแผน ขั้นปฏิบัติตามแผน ขั้นการสังเกตผลการปฏิบัติ และขั้นสะท้อนผลการปฏิบัติ เป็นวงจรต่อเนื่องกัน 3 วงจร โดยกิจกรรมการเรียนรู้ใช้รูปแบบการสอนแบบ KWDL ซึ่งมีขั้นตอนการทำงาน 4 ขั้น ได้แก่ K: เรารู้อะไร (What we Know) W: เราต้องการทราบอะไร (What we want to know) D: เราทำอะไร/ อย่างไร (What we Do) และ L: เราเรียนรู้อะไรจากการดำเนินการ ขั้นท่ี 3 (What we Learned) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 15 แผน แบบทดสอบวัด ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ แบบอตั นัย จำนวน 10 ขอ้ และแบบวัดความพงึ พอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจยั พบวา่ นกั เรียนมีความสามารถในการแกป้ ญั หาทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับ ดี และ ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ KWDL เรื่อง พีระมิด กรวย และทรง กลม ของนกั เรยี นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 อย่ใู นระดบั มากขึน้ ไป

35 ชอ่ื เรือ่ ง : การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ด้วยการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบกลุ่ม ร่วมมือ โดยใช้เทคนคิ TAI เรื่อง การแจกแจงทวินาม รายวชิ าคณิตศาสตร์เพิ่มเติม รหัสวิชา ค33202 สำหรบั นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ผวู้ ิจัย : นางมณัชยา ปีบา้ นใหม่ กลุม่ สาระการเรียนรู้ : คณิตศาสตร์ ปีทท่ี ำวิจยั : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test Design โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ 1) เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเรื่องการแจกแจงทวินาม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ด้วยกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค TAI ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรยี น เร่อื ง การแจกแจงทวินาม ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ดว้ ยกจิ กรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค TAI ก่อนเรียนและหลัง เรยี น 3) เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ โดย ใชเ้ ทคนคิ TAI เรอื่ ง การแจกแจงทวินาม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2563 โรงเรียนแม่จนั วิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เชียงราย จำนวน 30 คน ซึ่งได้มา โดยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่ม ( Cluster Random Sampling ) จากทัง้ หมด 3 หอ้ งเรียน เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ในครัง้ น้ี คือ แผนการจัดการเรยี นร้แู บบกล่มุ ร่วมมือ โดยใช้เทคนิค TAI 2) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 2.1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง การแจกแจงทวินาม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 2.2) แบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง การแจก แจงทวินาม ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบหาค่า t-test แบบ dependent samples ผลการวิจยั พบว่า 1. การวเิ คราะห์ประสิทธิภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบกล่มุ ร่วมมอื โดยใช้เทคนิค TAI เรอ่ื ง การ แจกแจงทวินาม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ที่ผวู้ ิจยั สรา้ งข้ึน พบว่า มีประสิทธภิ าพเท่ากับ 88.77/87.86 ซึง่ เปน็ ไปตามเกณฑ์ประสิทธภิ าพ 80/80 ที่กำหนดไว้ 2. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ ง การแจกแจงทวินาม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบกลุ่มร่วมมือ โดยใชเ้ ทคนิค TAI ผลการทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดบั .05

36 3. ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีเรียนวิชาคณิตศาสตร์ดว้ ยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ โดยใช้เทคนิค TAI เรื่อง การแจกแจงทวินาม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยภาพรวม พบว่า นักเรียนมี ความพงึ พอใจในระดบั ดีมาก

37 ชื่อเรอ่ื ง : การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เร่อื ง กราฟและความสมั พนั ธ์เชิงเส้นโดยใชแ้ บบฝึก ทักษะของชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนแม่จันวทิ ยาคม ผวู้ จิ ัย : นางสาวธญั สมร อาทติ ย์สาม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ : คณติ ศาสตร์ ปีทที่ ำวจิ ยั : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวิจัยในครัง้ นมี้ ีวัตถุประสงค์ เพ่อื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลงั เรียน และศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อแบบฝกึ ทกั ษะ เร่ือง กราฟ และความสัมพันธ์เชิงเส้น โดยใช้แบบฝึกทักษะของชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนโรงเรียนแม่จัน วิทยาคม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นประกอบด้วย แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-3 เรื่อง กราฟ และความสัมพันธ์เชิงเส้น แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อนวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยได้ ดำเนินการเก็บรวบรวมกับกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 37 คน ซึ่งมีการ ทดสอบวัดผลผลสัมฤทธิ์ก่อนการใช้นวัตกรรม เมื่อใช้นวัตกรรมกับนักเรียนแล้วให้นักเรียน ทำ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังเรียน และตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการใช้ นวัตกรรมจากนัน้ นำมาวเิ คราะห์หาคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏวา่ 1. ประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง กราฟและความสัมพันธ์เชงิ เส้น ทุกชุดค่าประสทิ ธิภาพสูง กว่าเกณฑท์ ่กี ำหนด 2. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลังจากการใชแ้ บบฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง กราฟและความสัมพนั ธ์ เชิงเสน้ มคี ะแนนเฉล่ยี เทา่ กบั 8.05 และมคี ะแนนสงู สุด เทา่ กับ 10 คะแนน และคะแนนต่ำสุด เทา่ กบั 3 คะแนน 3. นกั เรยี นมคี ะแนนความกา้ วหนา้ เฉลยี่ 4.18 คิดเปน็ รอ้ ยละ 41.75โดยมีความก้าวหน้าสูงสดุ 6 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 60 รองลงมา 5 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 50 และมคี วามก้าวหนา้ ต่ำสดุ 2 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 20

38 ชือ่ เรอื่ ง : การศกึ ษาผลการใช้กจิ กรรมการเรียนการสอนด้วยบันได 5 ขัน้ (QSCCS) เรอื่ ง กราฟ และความสัมพันธ์เชงิ เส้น รายวิชาคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน รหสั วชิ า ค21102 สำหรับนกั เรยี น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ผ้วู จิ ยั : นางณฐมน ศรีภกั ดี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ : คณติ ศาสตร์ ปีทที่ ำวจิ ัย : พ.ศ.2563 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่องกราฟและความสมั พันธ์เชงิ เส้น รายวิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน รหสั วชิ า ค21102 สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โดยการใช้กิจกรรม การเรียนการสอนด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS) และศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนด้วยบันได 5 ขัน้ (QSCCS) กลมุ่ ตวั อย่างทใ่ี ช้คือ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนแม่จนั วทิ ยาคม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ศกึ ษานกั เรยี น จำนวน 30 คน หอ้ ง ม.1/1 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การจัดกิจกรรมด้วยกระบวนการ จัดการเรียนรู้ด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS) 2. แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบ ปรนัย 4 ตวั เลอื ก จำนวน 20 ข้อ 3.แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ท่ีมี ตอ่ กจิ กรรมการเรยี นการสอนด้วยบันได 5 ข้นั (QSCCS) เปน็ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ วเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใช้สถิติใชส้ ถติ ิพ้ืนฐานค่าร้อยละ เฉลยี่ เลขคณิต และ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัยปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์พื้นฐาน เรือ่ ง กราฟและ ความสมั พนั ธ์เชิงเส้น รายวิชาคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวิชา ค21102 สำหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนแม่จันวทิ ยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โดยการใชก้ จิ กรรมการเรยี นการสอน ด้วย บันได 5 ขั้น (QSCCS) ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดคือร้อยละ 70 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต 13.8 มีค่าส่วน เบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.95 และ ความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ทม่ี ีตอ่ กิจกรรม การเรียนการสอนด้วยบันได 5 ขั้น (QSCCS) อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ยเท่ากบั 4.24

39 ช่อื เรอ่ื ง : ผลการใช้ชดุ ฝึกทักษะปฏบิ ตั ิเคร่อื งสายสากล โดยใช้บทเพลงลกู ทงุ่ สำหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม ผ้วู ิจยั : นายสมศักดิ์ ชา่ งศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ศิลปะ ปีท่ีทำวิจัย : พ.ศ.2563 บทคดั ย่อ การศกึ ษาครงั้ น้ี มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื 1) หาประสิทธิภาพชุดฝกึ ทกั ษะปฏิบัตเิ ครือ่ งสายสากล โดยใช้บทเพลงลูกทุ่ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) ศึกษาความพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การใช้ชดุ ฝกึ ทกั ษะปฏิบัติเครื่องสายสากล โดยใชบ้ ทเพลงลูกทุ่ง สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/8 โรงเรียนแม่จันวิทยาคม เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการศึกษาประกอบด้วย 1) ชดุ ฝกึ ทักษะปฏิบตั ิเคร่ืองสายสากล โดยใช้บทเพลงลูกทุ่ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ขอ้ มลู คอื คา่ เฉลย่ี คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผู้ศึกษาไดศ้ ึกษาหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และเก็บรวบรวมทฤษฎี และองค์ความรู้เรื่องเครือ่ งสายสากล ดำเนินการสร้างและพฒั นาชุดฝกึ ทักษะปฏิบัติเครื่องสายสากล โดยใชบ้ ทเพลงลูกทุ่ง สำหรับนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ประเมินผลในระหวา่ งเรียนและหลังการใช้ ชุดฝึกคำนวณหาประสิทธิภาพของชุดฝึก ทำการทดสอบก่อนใช้ และหลังการใช้ นำผลมาวิเคราะห์ ข้อมลู ทางสถิติ ผลการศกึ ษาพบว่า 1. ชดุ ฝกึ ทกั ษะปฏิบตั เิ ครอ่ื งสายสากล โดยใชบ้ ทเพลงลกู ท่งุ สำหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 มีประสทิ ธิภาพสงู กว่าเกณฑท์ ต่ี งั้ ไว้ คือ E1 /E2 = 83.17/83.42 2. นกั เรียนมคี วามพึงพอใจชดุ ฝึกทกั ษะปฏิบตั เิ คร่ืองสายสากล โดยใชบ้ ทเพลงลูกทุ่ง สำหรับ นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ในระดบั มากท่ีสดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook