i การศึกษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรุงรักษาหัวงานอาคารชลประทาน ทางด้านวศิ วกรรม ฝายแม่ยม จ.แพร่ จดั ทำโดย ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอุทกวิทยา กันยายน 2561
ii คำนำ การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรุงรักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรมนี้ จัดทำ ขึ้นโดยฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน รวมถึงศึกษาหลักเกณฑ์การตรวจสภาพและประเมินสภาพของ อาคารหัวงานชลประทาน ประเภทฝาย เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ ท่ีควรมีหลักเกณฑ์ที่ แน่นอน ชัดเจน และใชเ้ ป็นมาตรฐาน จะประกอบดว้ ยรายละเอียดแบบบันทึกการตรวจสภาพประตูระบายน้ำ/ เขื่อนระบายน้ำ/ฝายทดน้ำ หลักเกณฑ์การตรวจสภาพและการประเมินสภาพอาคารหัวงาน เพื่อให้เกิด ประโยชนแ์ ละประสิทธภิ าพสงู สดุ ในการดำเนินการ การศึกษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรุงรักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรมนี้ อาจมี การทบทวน ปรับปรุงแก้ไข ให้มีความเหมาะสมและเพิ่มประสิทธิภาพในตรวจสภาพของอาคารหัวงาน ชลประทานมากยงิ่ ข้นึ ภายหลงั จากที่ได้นำแนวทางหลักเกณฑ์น้ีไปทดลองใช้กับโครงการชลประทาน/โครงการ ส่งนำ้ และบำรุงรักษาท่ีคัดเลอื กบางโครงการในสำนักงานชลประทานที่ 1-17 แลว้ ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา กันยายน 2561
iii กติ ติกรรมประกาศ คณะผู้จัดทำ ขอขอบคุณคุณไกรฤกษ์ อินท์ชยะนันท์ ที่ปรึกษาสำนักออกแบบและ สถาปัตยกรรม คุณพิเชษฐ์ รัตนประสาทกุล ผู้เชี่ยวชาญดา้ นวิศวกรรมโยธา (ด้านออกแบบและคำนวณ) และ หัวหนา้ ฝ่ายออกแบบระบบชลประทานที่ 1 - 8 ท่ีให้คำแนะนำในการจำแนกองคป์ ระกอบและจัดทำแบบฟอร์ม ตรวจสภาพฝาย เขื่อนทดน้ำ/ระบายน้ำ และประตูระบายน้ำที่เป็นมาตรฐาน และคุณธำรงศักด์ิ นคราวงศ์ ผู้อำนวยการส่วนปรับปรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา ที่ให้การสนับสนุนและข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ เกี่ยวกับแนวทางการจัดทำหลักเกณฑ์การพิจารณาซ่อมแซมอาคารหัวงาน ชลประทานให้สมบูรณ์และสำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีของสำนักงานชลประทานที่ 1-17 โครงการชลประทานและโครงการส่งน้ำ และบำรงุ รักษา ทอี่ ำนวยความสะดวกในการศึกษาดูงานเพื่อประเมินผลการบำรุงรักษาหวั งานอาคารชลประทาน ทางดา้ นวศิ วกรรม
สารบัญ iv คำนำ หน้า สารบญั ภาพ ii สารบัญตาราง vi บทที่ 1 บทนำ xii 1 1.1 หลักการและเหตผุ ล 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 1.3 ขอบเขต 2 บทท่ี 2 การตรวจเอกสาร 4 2.1 ทฤษฎีทเี่ กี่ยวขอ้ งในการศึกษา 4 2.2 อาคารหัวงานชลประทาน 10 บทที่ 3 ขัน้ ตอนการดำเนินการ 17 3.1 การศึกษาสภาพอาคารหัวงาน 17 3.2 การเดนิ ตรวจสภาพอาคารหวั งาน 17 3.3 แบบบันทึกการตรวจสภาพอาคารหัวงาน 17 3.4 การประเมนิ สภาพอาคารหัวงาน 18 บทที่ 4 การตรวจและการประเมินสภาพอาคารหวั งานชลประทาน 20 4.1 หลักการตรวจสภาพ 20 4.2 วธิ กี ารตรวจสภาพ 20 4.3 การแบง่ องค์ประกอบของอาคารหัวงานชลประทาน 22 4.4 การแบง่ สภาพท่ีใช้ในการตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน 42 4.5 แบบบันทกึ การตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน 51 4.6 การประเมนิ สภาพอาคารหัวงานชลประทาน 64 บทที่ 5 ผลการตรวจสภาพและประเมนิ สภาพ 80 5.1 สรุปผลการตรวจสภาพและประเมนิ สภาพ (กรณีศึกษา) 80 5.2 สรปุ ผลการประเมินสภาพอาคารหวั งาน 118
สารบัญ v บทที่ 6 บทสรุป หน้า 6.1 สรปุ การประเมนิ ผลการบำรุงรักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 120 6.2 การนำไปใชป้ ระโยชน์ 120 6.3 ความยุ่งยากในการดำเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค 120 6.4 ขอ้ เสนอแนะ 120 121 เอกสารอา้ งองิ 122 ภาคผนวก 124
สารบัญภาพ vi ภาพท่ี หน้า 1 โครงสร้างของกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดบั ชน้ั (Analytic Hierarchy Process) 7 2 ฝายสา จ.นา่ น 11 3 ฝายชาวบา้ น จ.เชยี งราย 12 4 ฝายชว่ั คราวกน้ั แมน่ ้ำปิง แห่งที่ 1 จ.นครสวรรค์ 12 5 ฝายก่ึงถาวร 13 6 ฝายถาวร 13 7 ฝายไม้ 14 8 ฝายแม่ยม จ.แพร่ 14 9 ฝายทงุ่ ไผ่ จ.แพร่ 15 10 ฝายยางลำเซบาย จ.อุบลราชธานี 15 11 เข่อื นพระรามหก จ.อยุธยา 16 12 ประตรู ะบายน้ำทา่ โบสถ์ จ.ชยั นาท 16 13 รปู ตัดตามยาวสว่ น Protection เหนือน้ำของฝายทดน้ำ 22 14 ตวั อยา่ งส่วน Protection เหนอื นำ้ ของฝายทดนำ้ 23 15 รปู ตดั ตามยาวสว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของฝายทดน้ำ 23 16 ตวั อย่างส่วนเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) ของฝายทดน้ำ 23 17 รูปตดั ตามยาวสว่ นควบคุมนำ้ (Control Section) ของฝาย 24 18 ตัวอย่างสว่ นควบคมุ น้ำ (Control Section) ของฝายทดน้ำ 24 19 ตวั อย่างฝายคอนกรีตของฝายทดน้ำ 24 20 บนั ไดปลาของฝายทดน้ำ 25 21 ตวั อย่างกำแพงคอนกรีตของฝายทดน้ำ 25 22 ตัวอยา่ งประตูระบายทรายของฝายทดน้ำ 25 23 แสดงตำแหนง่ ของ Chute Blocks ของฝายทดน้ำ 26 24 ตัวอย่าง Chute Blocks ของฝายทดนำ้ 26 25 ตวั อย่างสะพานสำหรบั ใชใ้ นการเปิด-ปิดประตรู ะบายทรายของฝายทดนำ้ 26 26 ทอ่ นก้ันน้ำและร่องบานของฝายทดนำ้ 27 27 รูปตัดตามยาวสว่ นท้ายนำ้ (Downstream Concrete Section) ของฝายทดนำ้ 27 28 ส่วนทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) ของฝายทดนำ้ 27 29 แสดงตำแหน่งของ Floor Blocks และ End Sill ของฝายทดน้ำ 28 30 ตวั อยา่ งของ Floor Blocks และ End Sill ของฝายทดน้ำ 28
vii สารบัญภาพ ภาพท่ี หนา้ 31 ส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ของฝายทดน้ำ 28 32 ตวั อย่างสว่ น Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ของฝายทดนำ้ 29 33 แสดงองค์ประกอบของฝายทดน้ำ 30 34 รูปตัดตามยาวส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) ของประตูระบายน้ำ 31 35 ตัวอย่างสว่ น Protection เหนือน้ำของประตูระบายน้ำ 31 36 รูปตดั ตามยาวสว่ นเหนอื นำ้ (Upstream Concrete Section) ของประตรู ะบายน้ำ 32 37 ตวั อยา่ งส่วนเหนอื น้ำ (Upstream Concrete Section) ของประตรู ะบายน้ำ 32 38 รูปตดั ตามยาวส่วนควบคุมน้ำ (Control Section) ของประตูระบายน้ำ 32 39 ตวั อยา่ งสว่ นควบคมุ นำ้ (Control Section) ของประตูระบายน้ำ 33 40 ตัวอยา่ งพ้ืนและตอม่อ 33 41 ตัวอย่างกำแพงข้าง (Retaining Wall) 33 42 ตวั อยา่ งบานระบายน้ำแบบตรง 34 43 ตวั อย่างบานระบายแบบโค้ง 35 44 ตัวอยา่ งอุปกรณ์เคร่ืองกล/ไฟฟ้า 35 45 ตำแหน่งของแทง่ สลายพลงั งานน้ำปลายรางเท (Chute Blocks) ของประตูระบายนำ้ 35 46 ตำแหนง่ ของฟนั ตะเข้ (Floor Blocks) ของประตูระบายนำ้ 36 47 แสดงลักษณะฟนั ตะเข้ (Floor Blocks) ของประตรู ะบายน้ำ 36 48 ตัวอย่างสะพานรถยนต์ของเข่ือนระบายน้ำ 36 49 ตวั อยา่ งสะพานโครงยกของประตูระบายน้ำ 37 50 ตัวอย่างรอ่ งบานสำหรบั ใส่ Bulkhead Gate/Stoplogs ของประตูระบายน้ำ 37 51 ตวั อย่างบานก้ันน้ำ (Bulkhead Gate) ของประตรู ะบายนำ้ 37 52 ตัวอย่างประตเู รือสญั จร (Navigation Lock) 38 53 ตัวอยา่ งบนั ไดปลา (Fish Ladder) ของประตูระบายน้ำ 38 54 ส่วนทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) ของประตูระบายน้ำ 39 55 ตัวอย่างสว่ นท้ายน้ำ ของประตูระบายน้ำ 39 56 สว่ น Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) ของประตูระบายน้ำ 40 57 ตวั อย่างสว่ น Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) ของประตูระบายนำ้ 40 58 แสดงองค์ประกอบของเขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตรู ะบายน้ำ 41 59 การกดั เซาะคอนกรตี จนเห็นเนื้อเหลก็ 44 60 การกัดเซาะบริเวณส่วนทา้ ยน้ำ 44
viii สารบญั ภาพ ภาพที่ หน้า 61 ตารางตรวจสภาพฝายแผน่ ท่ี 1 53 62 ตารางตรวจสภาพฝายแผน่ ท่ี 2 54 63 ตารางตรวจสภาพฝายแผ่นที่ 3 55 64 สว่ นรายละเอยี ดผู้ตรวจสภาพและผ้ตู รวจสอบ 56 65 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ แผน่ ที่ 1 59 66 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายนำ้ /ทดนำ้ และประตูระบายนำ้ แผน่ ท่ี 2 60 67 ตารางตรวจสภาพเขื่อนระบายน้ำ/ทดนำ้ และประตรู ะบายนำ้ แผน่ ที่ 3 61 68 ตารางตรวจสภาพเขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ แผน่ ท่ี 4 62 69 ตารางตรวจสภาพเข่ือนระบายนำ้ /ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ แผน่ ที่ 5 63 70 แผนภมู ลิ ำดับช้ันของการตัดสินใจของประตูระบายนำ้ /เข่ือนระบายนำ้ /ทดนำ้ และฝายทดนำ้ 65 71 ฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย 80 72 ฝายคอนกรีตและฝายยาง 80 73 ประตรู ะบายทรายฝ่งั ซา้ ย 81 74 ประตูระบายทรายฝง่ั ขวา 81 75 ปตร.ปากคลองส่งน้ำสายใหญฝ่ ง่ั ซา้ ย 81 76 ปตร.ปากคลองส่งนำ้ สายใหญ่ฝงั่ ขวา 82 77 คลองส่งนำ้ สายใหญฝ่ ่ังซ้าย 82 78 คลองส่งนำ้ สายใหญ่ฝั่งขวา 82 79 รปู ตัดตามยาวสว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) ของฝายแม่ลาว 83 จ.เชยี งราย 80 ส่วน Protection เหนอื นำ้ ของฝายแมล่ าว จ.เชียงราย 83 81 รปู ตัดตามยาวส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย 83 82 สว่ นเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) ของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย 84 83 รูปตดั ตามยาวส่วนควบคุมนำ้ (Control Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย 84 84 สว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย 84 85 ฝายคอนกรีตและฝายยางของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย 85 86 กำแพงคอนกรีตของฝายแม่ลาว จ.เชียงราย 85 87 ประตูระบายทรายฝั่งซ้ายของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย 85 88 ประตูระบายทรายฝ่ังขวาของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย 86 89 สะพานสำหรับใชใ้ นการเปิด-ปิดประตูระบายทรายของฝายแมล่ าว จ.เชียงราย 86
ix สารบัญภาพ ภาพที่ หนา้ 90 รปู ตัดตามยาวสว่ นสลายพลังงาน (Downstream Concrete Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชียงราย 86 91 สว่ นสลายพลงั งาน (Downstream Concrete Section) ของฝายแมล่ าว จ.เชยี งราย 87 92 แผงปะทะดา้ นทา้ ยน้ำ (End Sill) ของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย 87 93 รปู ตดั ตามยาวสว่ น Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ของฝายแมล่ าว 87 จ.เชียงราย 94 ส่วน Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) ของฝายแม่ลาว 88 จ.เชียงราย 95 แสดงองคป์ ระกอบของฝายแม่ลาว จ.เชยี งราย 88 96 สภาพสว่ น Protection เหนอื นำ้ 89 97 ตะกอนทรายบริเวณหน้าฝาย 89 98 ลาดด้านข้างถูกนำ้ กัดเซาะ 89 99 ลาดด้านขา้ งแตกรา้ ว 90 100 สภาพฝายคอนกรตี 90 101 สภาพประตูระบายทรายฝัง่ ซ้าย 91 102 สภาพคอนกรตี ของกำแพงฝ่ังขวาของประตูระบายทรายฝัง่ ซา้ ย 91 103 การปรับปรงุ กำแพงฝ่งั ขวาสว่ นทางน้ำออกของประตรู ะบายทรายฝง่ั ซา้ ย 91 104 สภาพบานระบายของประตูระบายทรายฝ่งั ซา้ ย 91 105 สภาพประตูระบายทรายฝัง่ ขวา 92 106 สภาพคอนกรตี ของกำแพงฝ่ังซา้ ยของประตรู ะบายทรายฝั่งขวา 92 107 การปรบั ปรุงกำแพงฝัง่ ขวาสว่ นทางน้ำออกของประตรู ะบายทรายฝ่งั ขวา 92 108 สภาพบานระบายของประตรู ะบายทรายฝง่ั ขวา 92 109 สภาพสะพาน 93 110 สภาพฝายยาง 93 111 สภาพส่วนสลายพลงั งาน 93 112 สภาพด้านท้ายน้ำฝายแม่ลาว 94 113 สภาพ ปตร.ปากคลองสง่ นำ้ สายใหญ่ฝ่ังขวา 94 114 สภาพการเคลื่อนตวั ของกำแพงระหวา่ งประตูระบายทรายฝ่งั ขวา 94 และปตร.ปากคลองส่งน้ำสายใหญฝ่ ัง่ ขวา 115 เขอ่ื นพระรามหก จ.อยธุ ยา 100 116 ฝายคอนกรีตและฝายยาง 101
x สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 117 ประตรู ะบายน้ำพระนารายณ์ 101 118 คลองส่งน้ำสายใหญฝ่ ั่งขวา 101 119 รูปตัดตามยาวส่วน Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) 102 ของเขื่อนพระรามหก จ.อยธุ ยา 102 120 ส่วน Protection เหนือนำ้ ของเขื่อนพระรามหก จ.อยธุ ยา 103 121 รปู ตัดตามยาวสว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของเขื่อนพระรามหก 103 จ.อยธุ ยา 103 122 ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา 104 123 รูปตัดตามยาวส่วนควบคมุ น้ำ (Control Section) ของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา 104 124 ส่วนควบคมุ นำ้ (Control Section) ของเขือ่ นพระรามหก จ.อยธุ ยา 104 125 ตอมอ่ ของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา 105 126 กำแพงคอนกรีตของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา 105 127 บานของประตูระบายนำ้ ของเข่อื นพระรามหก จ.อยธุ ยา 105 128 อุปกรณ์เครอ่ื งกล/อุปกรณไ์ ฟฟ้าของเขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา 106 129 สะพานรถยนต์ของเข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา 130 สะพานโครงยกสำหรบั ใช้ติดต้งั อปุ กรณ์ในการเปดิ -ปดิ ประตูระบายนำ้ ของเขื่อนพระรามหก 106 จ.อยุธยา 106 131 รปู ตดั ตามยาวสว่ นสลายพลังงาน (Downstream Concrete Section) ของเข่ือนพระรามหก 107 จ.อยุธยา 132 สว่ นสลายพลังงาน (Downstream Concrete Section) ของเขอื่ นพระรามหก 107 จ.อยุธยา 108 133 รปู ตัดตามยาวส่วน Protection ทา้ ยนำ้ (Downstream Protection Section) 109 109 ของเขอื่ นพระรามหก จ.อยธุ ยา 109 134 ส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ของเขื่อนพระรามหก 110 จ.อยธุ ยา 135 แสดงองค์ประกอบของเขื่อนพระรามหก จ.อยุธยา 136 สภาพสว่ น Protection เหนอื น้ำ 137 สภาพส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) 138 ลาดด้านข้างถูกน้ำกัดเซาะ 139 สภาพตอม่อ
สารบญั ภาพ xi ภาพท่ี หนา้ 140 สภาพบานระบาย 110 141 สภาพบานระบายและยางกันซมึ มีการร่วั ซึม 110 142 สภาพอุปกรณเ์ คร่ืองกล/อปุ กรณ์ไฟฟ้า 111 143 สภาพสะพานรถยนต์ 111 144 สภาพสะพานโครงยก 111 145 สภาพลาดดา้ นข้างสว่ นสลายพลังงาน 112 146 รอยรา้ วลาดดา้ นข้าง 112 147 สภาพด้านทา้ ยนำ้ 112
xii สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 บัญชสี รปุ ข้อมูลอาคารชลประทานประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดนำ้ และฝายทดน้ำ 1 2 การใหค้ ะแนนปจั จัยหลัก (สุทธิศกั ด์ิ, 2555) 5 3 สเกลในการเปรียบเทยี บความสำคัญหรือความชอบของสองสง่ิ (Pairwise Comparison Scale) 8 (Huizingh and Virolijk, 1994) 9 4 Random Inconsistency Index (RI) (Sahoo, 1998) 43 5 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การกัดเซาะ 45 6 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การทรุดตวั 46 7 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การแตกร้าว 47 8 นยิ ามของการใหค้ ะแนนสภาพ : สิ่งกดี ขวางทางนำ้ 47 9 นยิ ามของการใหค้ ะแนนสภาพ : รโู พรง 48 10 นยิ ามของการใหค้ ะแนนสภาพ : การรวั่ 49 11 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การเคลือ่ นตวั 50 12 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : การระบายน้ำ 50 13 นิยามของการให้คะแนนสภาพ : ต้นไม้/วัชพชื 51 14 นิยามของการใหค้ ะแนนสภาพ : สภาพการใช้งาน 67 15 คะแนนน้ำหนกั ความสำคัญของเกณฑย์ ่อยเม่ือเทียบกับเกณฑก์ ารเกดิ 68 Piping (Weighted Creep Ratio) ของฝายทดน้ำ 16 คะแนนนำ้ หนกั ความสำคญั ของเกณฑ์ย่อยเม่ือเทียบกบั เกณฑก์ ารเกิดการเลอ่ื นตวั 68 (Sliding : SL) ของฝายทดน้ำ 68 17 คะแนนน้ำหนกั ความสำคญั ของเกณฑย์ ่อยเมื่อเทียบกบั เกณฑ์การพลิกคว่ำ 69 (Overturning : OT) ของฝายทดน้ำ 70 18 คะแนนน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ย่อยเม่ือเทียบกบั เกณฑก์ ารรบั น้ำหนักกดของดินใตฐ้ าน 71 (Bearing : BR) ของฝายทดนำ้ 19 คะแนนน้ำหนกั ความสำคญั รวม (Combined Weight) ทั้ง 4 กรณี ของฝายทดนำ้ 72 20 แสดงค่าคะแนนความสำคัญของเกณฑย์ ่อย กรณีการเกดิ Piping (Weighted Creep Ratio) ของประตรู ะบายนำ้ /เข่ือนระบายนำ้ /ทดนำ้ 21 แสดงค่าคะแนนความสำคัญของเกณฑย์ ่อย กรณกี ารเกิดการเลื่อนตวั (Sliding : SL) ของประตูระบายนำ้ /เข่ือนระบายนำ้ /ทดนำ้ 22 แสดงคา่ คะแนนความสำคัญของเกณฑ์ย่อย กรณีการพลิกควำ่ (Overturning : OT) ของประตรู ะบายน้ำ/เขอื่ นระบายน้ำ/ทดน้ำ
xiii สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 23 แสดงค่าคะแนนความสำคัญของเกณฑย์ ่อย กรณกี ารรับน้ำหนกั กดของดนิ ใตฐ้ าน 73 (Bearing : BR) ของประตรู ะบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ 24 ผลรวมคะแนนน้ำหนกั ความสำคญั ท้ัง 4 กรณี ของประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดนำ้ 74 25 การเปรยี บเทียบคา่ คะแนนน้ำหนักความสำคัญของอาคารหัวงาน 74 26 สรุปผลการประเมินสภาพของฝายแม่ลาว จงั หวัดเชียงราย แต่ละกรณี ของฝายแม่ลาว 95 จังหวัดเชยี งราย 27 สรปุ คะแนนสภาพความสมบรู ณ์ขององคป์ ระกอบย่อย กรณี Piping (Weighted Creep Ratio) 95 ของฝายแมล่ าว จังหวัดเชียงราย 28 สรุปคะแนนสภาพความสมบรู ณข์ ององคป์ ระกอบย่อย กรณี Sliding ของฝายแม่ลาว 96 จงั หวดั เชยี งราย 29 สรปุ คะแนนสภาพความสมบูรณข์ ององค์ประกอบย่อย กรณี Overturning ของฝายแมล่ าว 97 จงั หวดั เชียงราย 30 สรปุ คะแนนสภาพความสมบูรณข์ ององค์ประกอบย่อย กรณี Bearing ของฝายแม่ลาว 98 จงั หวัดเชยี งราย 31 สรปุ ผลการประเมินสภาพของเข่ือนพระรามหก จ.อยุธยา แต่ละกรณี 113 32 สรุปคะแนนสภาพความสมบรู ณ์ขององค์ประกอบย่อย กรณี Piping 113 (Weighted Creep Ratio) ของเขือ่ นพระรามหก จ.อยธุ ยา 33 สรปุ คะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององคป์ ระกอบย่อย กรณี Sliding ของเขื่อนพระรามหก 114 จ.อยธุ ยา 34 สรุปคะแนนสภาพความสมบูรณ์ขององค์ประกอบย่อย กรณี Overturning ของเขือ่ นพระรามหก 115 จ.อยธุ ยา 35 สรปุ คะแนนสภาพความสมบรู ณข์ ององค์ประกอบย่อย กรณี Bearing ของเข่ือนพระรามหก 116 จ.อยธุ ยา 36 แสดงผลการประเมินสภาพประตูระบายน้ำ/เข่ือนระบายนำ้ /ทดน้ำ 118 37 แสดงผลการประเมินสภาพฝายทดนำ้ 119
การศึกษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล กรมชลประทานได้ก่อตั้งมามากกว่า 116 ปี อาคารชลประทานที่กรมชลประทานรับผิดชอบมี จำนวนมากมาย อาคารหัวงานที่สำคัญประกอบด้วย เขื่อน/อ่างเก็บน้ำ ประตูระบายน้ำ/เขื่อนทดน้ำ ฝาย เป็น ต้น อายุการใช้งานเพิ่มมากขึ้น สภาวะการปัจจุบันอาคารหัวงาน นอกจากจะมีอายุการใช้งานท่ี มากขึ้นดังที่ได้ กล่าวมาแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของอาคารเพิ่มมากขึ้นด้วย เช่น การเกิดเหตุการณ์ แผน่ ดินไหว การดแู ลบำรงุ รกั ษา เป็นตน้ ทำใหอ้ าคารหัวงานมคี วามเสีย่ งที่จะเกดิ การวบิ ตั ิได้ ประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ท่ีเป็นอาคารหัวงาน เป็นอาคาร ชลประทานขนาดกลาง แต่มีจำนวนมากกว่าเมื่อเทียบกับเขื่อน/อ่างเก็บน้ำเป็นจำนวนมาก อีกทั้งยังมี องค์ประกอบไม่ซบั ซ้อนเหมือนเขื่อน/อ่างเกบ็ น้ำ ทำใหก้ ารตรวจสภาพไม่ซบั ซ้อนตามไปดว้ ย ดังท่ไี ด้กล่าวมาแล้ว ข้างต้น ในปจั จุบนั ประสบเร่ิมประสบปัญหาต่างๆ ทีอ่ าจจะสง่ ผลกระทบต่อความมน่ั คงของอาคารจำนวนมากขึ้น เช่น การเสื่อมสภาพของวัสดุที่มีอายุการใช้งานมายาวนาน เป็นต้น จำเป็นต้องได้รับการดูแลและบำรุงรักษา ได้แก่ การซ่อมแซม หรือปรับปรุง เพื่อให้อาคารอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและมีความมั่นคง เพื่อลดอัตราความ เส่ียงต่อการวิบัติของอาคารชลประทาน โดยการตรวจสภาพถือเป็นจุดเริ่มต้นของการตรวจสอบสภาพความ พร้อมใช้งานของอาคาร ซึ่งโดยทั่วไปการตรวจสภาพอาคารจะทำการตรวจสภาพปีละ 2 ครั้ง/ปี คือ ก่อนฝนมา (เตรยี มความพรอ้ มของอาคาร) และหลังฤดูฝนผา่ น (ตรวจความเสยี หายของอาคาร) ข้อมูลบัญชีอาคารชลประทานประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และฝายทดน้ำ ณ ปี 2561 ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 บญั ชีสรปุ ข้อมูลอาคารชลประทานประเภทประตูระบายน้ำ/เข่ือนระบายน้ำ/ทดนำ้ และฝายทดน้ำ สำนกั นกั ชลประทานที่ ฝาย เข่ือนระบายน้ำ ประตูระบายน้ำ (แห่ง) (แห่ง) (แหง่ ) 1 922 1 89 2 382 3 64 3 43 3 43 4 61 0 40 5 65 15 82 6 220 13 131 7 112 2 166 8 136 10 89 9 13 1 114 ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจดั การนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 2 ตารางที่ 1 บัญชสี รุปข้อมูลอาคารชลประทานประเภทประตูระบายน้ำ/เข่ือนระบายนำ้ /ทดน้ำ และฝายทดน้ำ(ต่อ) สำนกั นักชลประทานท่ี ฝาย เขื่อนระบายน้ำ ประตรู ะบายน้ำ (แห่ง) (แหง่ ) (แห่ง) 10 100 1 127 11 0 340 12 0 1 89 13 14 1 125 14 48 1 264 15 52 0 30 16 38 0 80 17 61 1 28 รวมท้ังหมด 184 53 1,901 2,451 ท่มี า : ฝ่ายบำรงุ รกั ษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรงุ บำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา ดังน้นั การจัดทำเกณฑ์การตรวจและประเมินสภาพอาคารหัวงานนี้ ใช้วิธกี ารตรวจสภาพอาคาร ด้วยสายตา (Visual Inspection) ซึ่งเป็นวิธีการตรวจสภาพอย่างหนึ่งที่ใช้ในการตรวจสภาพทางกายภาพ ภายนอกของอาคาร และนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจสภาพมาประเมินสภาพอาคารหัวงาน เพื่อให้ได้ทราบถึง คะแนนสภาพของอาคารและองคป์ ระกอบนั้นๆ และนำไปใชใ้ นการจัดลำดับอาคารหัวงานเพื่อเรียงลำดับการขอ งบประมาณงานซอ่ มแซมและปรบั ปรงุ อาคารหวั งานต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ (1) เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของอาคารหัวงานประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ ทดนำ้ และฝายทดน้ำ (2) เพื่อศึกษาเกณฑ์การตรวจสภาพอาคารหัวงานประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ ทดนำ้ และฝายทดน้ำ (3) เพื่อศึกษาเกณฑ์การประเมินสภาพอาคารหัวงานประเภทประตูระบายน้ำ/เขื่อนระบายน้ำ/ ทดน้ำและฝายทดนำ้ 1.3 ขอบเขต การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรุงรักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรมนี้ จะครอบคลุมโครงการชลประทาน/โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา โดยมีกิจกรรมในการจัดทำหลักเกณฑ์การ พิจารณาประเมินผลการบำรุงรกั ษาอาคารหัวงานชลประทาน ดงั นี้ ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 3 (1) แนวทางการจัดทำหลักเกณฑ์การตรวจสอบสภาพอาคารหัวงานเป็นการศึกษา รวบรวม ข้อมูล องค์ความรู้ของอาคารหัวงานชลประทาน ประเภทฝาย เขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ เพ่ือ จดั ทำเป็นแนวทาง/หลักเกณฑ์มาตรฐานในการจัดลำดับความสำคญั ก่อนหลังในการพิจารณาของบประมาณงาน ซอ่ มแซมให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ (2) การดำเนินงานในครั้งนี้ได้สำรวจลักษณะของอาคารชลประทานที่อยู่ในเขตสำนักงานท่ี ชลประทานที่ 1-17 เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรุงรักษาหัวงานอาคารชลประทาน ทางดา้ นวิศวกรรม (3) หลกั เกณฑก์ ารตรวจสภาพและประเมินสภาพอาคารหัวงานประเภทประตูระบายน้ำ/เข่ือน ระบายน้ำ/ทดน้ำและฝายทดน้ำ นำไปใช้ในการจัดลำดับอาคารหัวงานเพื่อเรียงลำดับการของบประมาณงาน ซอ่ มแซมและปรับปรุงอาคารหวั งานตอ่ ไป ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 4 บทท่ี 2 การตรวจเอกสาร 2.1 ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องในการศกึ ษา 2.1.1 Walk Thru Walk Thru เป็นการแนะนำกระบวนการปฏิบัติเพื่อการบำรุงรักษา ไม่ใช่การแนะนำ วิธีการบำรุงรักษา เพื่อให้งานบำรุงรักษาดำเนินการอย่างมีขั้นตอน (บุญยง, 2542) โดยตรวจสภาพอาคาร ชลประทานทุกแห่งในคลองแต่ละสายทัง้ คลองสายใหญ่ คลองซอยและคลองแยกซอย เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการ พจิ ารณาวางแผนบำรงุ รกั ษา โดยกำหนดลำดบั ความสำคัญกอ่ นหลงั การ การเดินตรวจสภาพอาคารโดยการเดินจะไดผ้ ลมากกว่าการขับรถตรวจ เพราะการเดิน จะเห็นสภาพความเสียหายไดโ้ ดยละเอียด แม้แต่รูโพรงเล็กๆ ใต้แผ่นคอนกรีตก็สามารถมองเห็นได้ง่าย ส่วนการ ขับรถตรวจจะพบแต่ความเสียหายจุดใหญ่ๆ เท่านั้น การเดินตรวจสามารถวินิจฉัยสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาใน ระยะเริ่มแรกจากปัญหาเล็กน้อย สามารถดำเนินการแก้ไขได้ทันก่อนที่ความเสียหายเหล่านั้นจะลุกลามใหญ่ขน้ึ ผู้ทำการตรวจสภาพจำเป็นจะตอ้ งมีความรู้และสามารถวนิ ิจฉัยสาเหตุที่ทำให้อาคารในระบบส่งน้ำชำรุดเสียหาย พร้อมจดบันทึกใหช้ ดั เจน (วรวิทย,์ 2561) 2.1.2 การประเมนิ สภาพเข่อื นดว้ ยวิธีดัชนสี ภาพ (condition Index) สภาพผิดปกติ เชน่ การทรุดตวั รอยแตกร้าว นำ้ ซึม ฯลฯ ทเ่ี กดิ ขึ้นกบั เขอ่ื น ทำให้เข่ือน เกิดความเสียหาย จะมาก หรือ น้อย ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของสภาพที่เกิดขึ้น ดังนั้นการใช้งานเขื่อนอยู่ ตลอดเวลา จึงต้องทำการตรวจสอบ และบำรุงรักษาเขื่อนอย่างสม่ำเสมอด้วยเช่นกัน วิธีการตรวจสอบที่ได้รับ ความนิยมทั้งจากภายในประเทศ และต่างประเทศ คือ การตรวจสภาพเขื่อนด้วยสายตา (Visual Inspection) และการประเมินสภาพเข่อื นโดยวิธดี ชั นีสภาพ (Condition Index) การประเมนิ สภาพเข่อื นดา้ นความปลอดภยั และการบำรงุ รักษา มพี ื้นฐานมาจากระบบ “REMR” ของหน่วยงานทหารช่างประเทศสหรัฐอเมริกา (US. Crops of Engineers) ซึ่งจะแตกต่างไปจากการ ประเมินความปลอดภยั เข่ือนเพยี งอย่างเดยี ว เนอื่ งจากวิธีการนี้จะมฐี านขอ้ มลู ของทุกองคป์ ระกอบย่อยของเข่ือน และมีการจดบันทึกรายละเอยี ดของสภาพองค์ประกอบยอ่ ยเหล่านน้ั ไวม้ ากทสี่ ดุ เท่าทจ่ี ะเปน็ ไปได้ นอกจากนั้นใน การประเมินยังพิจารณาน้ำหนักความสำคัญขององค์ประกอบนั้นๆ ที่มีต่อสภาพการใช้งานและความปลอดภัย ของตัวเขื่อนโดยรวมอีกด้วย เมื่อประมวลในระดับสุดท้ายจะออกมาเป็นค่าดัชนีสภาพ (Condition Index) ซ่ึง เปน็ ตวั เลขท่ีมีค่าต้ังแต่ 0 ถึง 100 เพอ่ื ใชบ้ ่งบอกถึงสภาพเข่ือนนัน้ ๆ โดยเข่ือนที่มีความสมบูรณ์และสภาพดีท่ีสุด จะมีคา่ CI=100 ทัง้ น้ีเขือ่ นท่อี ยใู่ นสภาพปลอดภัยและใชง้ านไดต้ ามปกติ จะมคี า่ ดัชนีสภาพอยู่ในช่วง 70 ถึง 100 สำหรับสภาพเข่ือนที่มคี ่า CI ตำ่ กวา่ 70 จะตอ้ งไดร้ ับการซ่อมแซมและบำรงุ รักษาตอ่ ไป ซึง่ สามารถใช้ค่า CI=100 ท่ีประเมินน้ีเพ่ือการจัดลำดบั ความเร่งดว่ นในการซ่อมแซมในระหว่างเข่ือนต่างๆได้อีกด้วย (คณะทำงานโครงการ เพิ่มพูนทักษะด้านความปลอดภัยเขื่อนเชิงปฏิบัติการการตรวจสภาพเขื่อนด้วยสายตาและประเมินผลโดยดัชนี สภาพ, 2556) ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 5 2.1.3 วธิ ีดชั นปี จั จยั ร่วม (Weighting Factor Method) วิธีดัชนีปัจจัยร่วม เป็นการประเมินเชิงสมการทางคณิตศาสตร์บนพื้นฐานของทฤษฎี ทางตรรกศาสตร์ เพื่อการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา โดยพิจารณาร่วมกับปัจจัยต่าง ๆ ที่มีนัยสำคัญต่อ ปัญหา ท้ังปัจจยั คงที่ และปัจจัยกระตนุ้ วธิ ดี ัชนปี จั จัยร่วม สามารถนำไปใช้ได้ในทุกด้าน ทงั้ ด้านธุรกิจ วิศวกรรม หรือด้านการป้องกันภยั พิบัติ เป็นต้น อิทธิพลของแต่ละปัจจัยท่ีมีผลต่อปัญหาจะถูกกำหนดค่าคะแนนตามลำดบั ความสำคัญต่อผลลัพธ์ของปัญหา ผลรวมของคะแนนปัจจัยหลักประกอบด้วยค่าน้ำหนักคูณคะแนนของแต่ละ ปจั จยั รวมกนั ดงั แสดงในสมการที่ 1 และตารางที่ (2) ดังตอ่ ไปนี้ (สุทธิศักด,ิ์ 2555) S = W1R1+W2R2+W3R3+…+WnRn (1) เมือ่ S = ผลรวมของคะแนนจากทุกปัจจัย (คะแนนปัจจยั หลกั ) W = นำ้ หนักของปัจจัย R = ระดับคะแนนของแต่ละปจั จัย ตารางท่ี 2 การให้คะแนนปัจจัยหลกั (สทุ ธศิ กั ดิ์, 2555) ผลรวมของ ลำดับ ชื่อ นำ้ หนักปจั จัย คะแนน ปจั จัย W1 W2 W3 W4 … Wm S1 1 อาคารท่ี 1 R1,1 R1,2 R1,3 R1,4 ... R1,m S2 2 อาคารที่ 1 R2,1 R2,2 R2,3 R2,4 ... R2,m S3 3 อาคารท่ี 1 R3,1 R3,2 R3,3 R3,4 ... R3,m S4 4 อาคารที่ 1 R4,1 R4,2 R4,3 R4,4 ... R4,m S4 … ... ... ... ... ... ... ... ... n อาคารท่ี n Rn,1 Rn,2 Rn,3 Rn,4 Rn,m Sn Sx = W1xRx,1+W2,Rx,2+W3xRx,3+W4,Rx,4+…+Wm,Rxm (2) เม่ือ Sx = ผลรวมของคะแนนปัจจยั หลัก Wx = นำ้ หนกั ของปจั จยั Rx = ระดับคะแนนของแตล่ ะปัจจัย 2.1.4 การตัดสินใจโดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Decision Making by Analytic Hierarchy Process : AHP) กระบวนการตัดสนิ ใจบางครั้งก็ง่าย บางครง้ั ก็ยาก บางครง้ั ตดั สนิ ใจถูก บางคร้ังก็ตัดสินใจ ผดิ พลาด ในชวี ิตประจำวันคนเรามีเร่ืองต้องตัดสินใจมากมาย การตัดสนิ ใจเรื่องเล็กๆ เรือ่ งส่วนตัวทำได้ง่ายและการ ตัดสินใจผิดพลาดไม่มีผลอะไรมากนัก แต่การตัดสินใจในเร่ืองสำคัญ เช่นเก่ียวข้องกับค่าลงทุนที่สูงมาก เก่ียวข้องกับ คนมากมายและผลที่ตามมาอาจเลวร้ายมากถ้าตัดสินใจผิดพลาดนับเป็นเรื่องยาก ต้องมีการประชุมระดมความ ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพ่ือประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 6 คิดเห็นบุคคลที่เกี่ยวข้อง ใช้ความเห็นผู้เชี่ยวชาญ เพื่อกำหนดเกณฑ์ในการตัดสินใจ กำหนดทางเลือกที่หลากหลาย แล้วพิจารณาวิเคราะห์ทางเลือกอย่างละเอียดรอบคอบ เพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด อาจต้องมีการวิเคราะห์ซ้ำแล้วซ้ำ อีก เพื่อให้แน่ใจว่าได้ทางเลือกที่เหมาะสมจริงๆ ในบทความนี้จะเสนอกระบวนการตัดสินใจที่มีผู้นิยมใช้กันมากใน ปัจจุบันซึ่งเหมาะที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์วางโครงการชลประทาน หรือการบริหารจัดสรรน้ำชลประทานใน ประเทศไทย หลักการวิเคราะห์ตามลำดับช้ัน (Analytic Hierarchy Process) กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process) หรือเรียกสั้นๆ ว่า AHP เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด (Best Alternatives) พัฒนาขึ้น โดย Saaty ในปี ค.ศ. 1970 เพ่ือใชเ้ ป็นเครื่องมือสำหรับผู้บริหาร โดยมหี ลักการง่ายๆ คอื แบง่ โครงสร้างของปัญหา ออกเป็นชั้นๆ ชั้นแรกคือ การกำหนดเป้าหมาย (Goal) แล้วจึงกำหนดเกณฑ์ (Criteria) เกณฑ์ย่อย (Subcriteria) และทางเลือก (Alternatives) ตามลำดับ (Saaty, 1980) แล้วจึงวิเคราะห์หาทางเลือกที่ดีที่สุด โดยการวิเคราะห์ เปรียบเทยี บ (Trade off) เกณฑใ์ นการคัดเลือกทางเลือกทีละคู่ (Pairwise) เพือ่ ให้งา่ ยต่อการตัดสินใจ ว่าเกณฑ์ไหน สำคัญกว่ากัน โดยการให้คะแนนตามความสำคัญหรือความชอบ หลังจากให้คะแนนเพื่อจัดลำดับความสำคัญของ เกณฑ์แล้วจึงค่อยพิจารณาวิเคราะห์ทางเลือกทีละคู่ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ทีละเกณฑ์จนครบทุกเกณฑ์ ถ้าการให้ คะแนนความสำคัญหรือความชอบนัน้ สมเหตสุ มผล (Consistency) จะสามารถจัดลำดับทางเลือกเพื่อหาทางเลือกท่ี ดที ีส่ ุดได้ ได้ (วราวธุ , 2546) ซึ่งต้องเลือกทางเลือกที่ดที สี่ ดุ จากหลายทางเลือก และมเี กณฑ์ในการพิจารณาทางเลือก หลายเกณฑ์ AHP เป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบของทีละคู่ จึงทำให้การเลือกทางเลือกทำได้ง่ายและสะดวกขึ้น ปัจจุบัน AHP เป็นวิธีหนึ่งของกระบวนการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (Multicriteria Decision Making) ซึ่งมีผู้นิยม ใช้กันมาก (Lequna et. al., 1999) มีการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยให้การวิเคราะห์ตัดสินใจทำได้ง่าย และสะดวกขึน้ การวิเคราะห์ตามลำดับชั้นมีสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา 3 ประการ คือ การจัดลำดับชั้นใน การวิเคราะห์ การหาลำดับความสำคัญ (Priority) และการวิเคราะห์ความสมเหตุสมผลของข้อมูล ซึ่งจะกล่าวถึงใน รายละเอยี ดดังต่อไปน้ี (1) การจัดลำดบั ชั้นในการวเิ คราะห์ (Structuring the Hierarchy) ในการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจเลือกของหรือทางเลือกที่ดีที่สุด จะแบ่งการวิเคราะห์ ออกเป็นลำดับชั้นดังนี้คือ เป้าหมาย (Goal) เกณฑ์ (Criteria) เกณฑ์ย่อย (Subcriteria) และทางเลือก (Alternatives) โดยในแต่ละชั้นอาจมีหลายเกณฑ์ และในแตล่ ะเกณฑ์อาจมีหลายเกณฑ์ย่อยได้ ดงั แสดงในภาพที่ 1 ชน้ั ลา่ งสุดคือช้ันของทางเลอื ก (สาธติ , 2547) ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 7 ภาพที่ 1 โครงสร้างของกระบวนการวเิ คราะห์ตามลำดับช้นั (Analytic Hierarchy Process) (2) การคำนวณหาลำดับความสำคญั (Calculation of Relative Priority) ในแต่ละชั้นผู้บริหารหรือผู้เชี่ยวชาญหรือผู้เกี่ยวข้องจะเป็นผู้ให้คะแนนความสำคัญ หรือความชอบโดยการเปรียบเทียบของ (เกณฑ์หรือทางเลือก) ทีละคู่ (Pairwise Comparison) โดยเริ่มจากชั้นบน ลงสู่ชั้นล่าง โดยแบ่งระดับความสำคัญหรือความชอบ (AHP Measurement Scale) ออกเป็น 9 ระดับ ดังแสดงใน ตารางท่ี 3 หลังจากที่ทราบความเห็นที่ผู้บริหารหรือผู้เชี่ยวชาญหรือผู้เกี่ยวข้องในรูปของ คะแนนความสำคัญหรือความชอบจากการเปรียบเทียบของเป็นคู่ในชั้นนั้นแล้ว จะทำการคำนวณหาน้ำหนัก ความสำคัญ (Weight) หรือลำดับความสำคัญสัมพัทธ์ (Relative Priority) ของในชั้นนั้นทำการวิเคราะห์ในทำนอง เดียวกันทีละชั้นจากชั้นบนลงสู่ชั้นล่างจนครบทุกชั้น จะทราบคะแนนความสำคัญรวมของทางเลือกตามเกณฑ์ท่ี กำหนดไวไ้ ด้ น้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์หรือทางเลอื กในแต่ละช้นั จะคำนวณได้ดังสมการท่ี (3) Aw = max w (3) เม่ือ A คอื สแควร์เมตริกแสดงความเห็นของผบู้ รหิ ารหรือผเู้ ช่ยี วชาญหรือผู้เก่ียวข้อง ในรูปของคะแนนความสำคัญซึ่งปรบั คา่ ใหเ้ ป็น 1 แล้ว (Normalized) w คือ Eigenvector แสดงน้ำหนักความสำคัญสมั พทั ธ์ของของซง่ึ อยู่ในลำดบั ช้ัน เดียวกัน หรือกลมุ่ ของท่ีอย่ภู ายใต้ของในลำดับชนั้ ทีส่ งู กวา่ ดังแสดงในรูปท่ี 1 ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 8 max คือ Maximum eigenvalue 1 a12 a13 … a1n A1 1 a23 … a2n A2 1⁄������12 1⁄������2������ 1 … a3n A3 A = 1⁄������1������ ∶ ∶ ∶ …⃛ .̇ ∶ 1⁄������2������ 1⁄������3������ … 1 ] A������ [ 1⁄������1������ ������������������ = 1 = คะแนนความสำคัญของที่เปรยี บเทียบทลี ะคู่ มีค่าอยรู่ ะหวา่ ง 0-1 ������������������ ������ = lim ������ ������������������ (4) ������������������������ ������→∞ เมื่อ k คือ การคำนวณคร้ังที่ k e คือ Unit Vector ตารางท่ี 3 สเกลในการเปรียบเทียบความสำคัญหรือความชอบของสองสิ่ง (Pairwise Comparison Scale) (Huizingh and Virolijk, 1994) เชิงคณุ ภาพ เชิงปริมาณ เทา่ กัน (Equally Preferred ) 1 เทา่ กนั ถงึ ปานกลาง (Equally to Moderately) 2 ปานกลาง (Moderately Preferred) 3 ปานกลางถึงค่อนข้างมาก (Moderately to Strongly) 4 คอ่ นขา้ งมาก (Strongly Preferred) 5 คอ่ นข้างมากถึง มากกวา่ (Strongly to Very Strongly) 6 มากกว่า (Very Strongly Preferred) 7 มากกวา่ ถึงมากท่ีสดุ (Very Strongly to Extremely) 8 มากท่สี ุด (Extremely Preferred) 9 (3) การตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของข้อมูล (Consistency) ความเหน็ ผู้บริหารหรือผู้เช่ยี วชาญหรือผู้เกีย่ วข้องในรูปของคะแนนความสำคัญ ซึ่ง ไดจ้ ากการเปรียบเทียบของเปน็ คู่ บางครงั้ อาจไมส่ มเหตุสมผลหรือมีข้อผิดพลาด (Error) ในการแสดงความเห็น เช่น เมื่อเปรียบเทียบระหว่าง นาย ก. และ นาย ข. ชอบนาย ก. เป็น 2 เท่าของ นาย ข. ถ้าเปรียบเทียบระหวา่ ง นาย ข. กบั นาย ค. ชอบนาย ข. เป็น 3 เท่าของ นาย ค. และเมอื่ เปรยี บเทียบระหวา่ ง นาย ก. กับ นาย ค. ชอบ นาย ก. เปน็ 5 เท่าของ นาย ค. เป็นต้น ซึ่งตามหลักของเหตุผลแล้วควรชอบนาย ก. เป็น 6 เท่าของนาย ค. เป็นต้น ความไม่ สมเหตุสมผลหรือข้อผิดพลาดเป็นสิ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้ในการวเิ คราะห์เปรียบเทียบของเป็นคู่ จึงจำเป็นต้องมีการ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อมูล โดยการคำนวณดรรชนีความสมเหตุสมผลของข้อมูล (Consistency Index, C.I.) ถ้า C.I. > 0.1 แสดงว่าข้อมูลคะแนนความสำคัญท่ีได้จากการเปรียบเทียบของเป็นคู่ไม่สมเหตสุ มผล (Huizingh and Vrolijk, 1994; Sahoo, 1998) จะต้องปรับคะแนนความสำคัญในการเปรียบเทียบของเป็นคู่ใหม่ก่อนที่จะ วเิ คราะหใ์ นลำดับชัน้ ถดั ไป ดงั สมการท่ี (5) และ (6) ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 9 CI = CR (5) RI เมื่อ C.I. คอื ดรรชนีความสมเหตสุ มผล (Consistency Index) CR คือ สัดสว่ นความสมเหตสุ มผล (Consistency Ratio) และ RI คือ ดรรชนีค่าสุ่มของความไม่สมเหตุสมผล (Random Inconsistency Index) ข้ึนอยู่กบั ขนาดของสแควรเ์ มตรกิ A ดังแสดงในตารางที่ 4 CR = λmax−n (6) n−1 เมื่อ n คือขนาดของสแควรเ์ มตริก ตารางที่ 4 Random Inconsistency Index (RI) (Sahoo, 1998) n RI n RI n RI 10 6 1.124 11 1.51 20 7 1.32 12 1.48 3 0.58 8 1.41 13 1.56 4 0.90 9 1.46 14 1.57 5 1.12 10 1.49 15 1.59 (4) ขนั้ ตอนการวเิ คราะห์ด้วย AHP การวิเคราะหก์ ารตัดสนิ ใจดว้ ย AHP มี 8 ขั้นตอน ดงั น้ี (4.1) กำหนดทางเลือก ในแต่ละปัญหาจะมีทางเลือกในการแก้ไขที่หลากหลาย ใน ข้ันตอนนีใ้ หก้ ำหนดทางเลือกต่างๆ ทเี่ ก่ียวข้องทัง้ หมด (4.2) ระบรุ ะดับของเกณฑ์ต่ำสดุ (Threshold Level) ท่ตี อ้ งการของแตล่ ะทางเลือก (4.3) คัดเลือกทางเลือกเบื้องต้นจากทางเลือกที่กำหนดในขั้นที่ 1 โดยตรวจสอบกับ เกณฑต์ ำ่ สุด ถา้ ทางเลือกใดต่ำกวา่ เกณฑ์ ใหค้ ดั ออก (4.4) ระบุเกณฑ์ (Criteria) หรือเกณฑ์ย่อย (Subcriteria) เพื่อใช้ในการตัดสินใจ เลอื กทางเลอื กที่ดที ่สี ุดจากทางเลือกใน (4.3) (4.5) สร้างลำดับชั้นของการตัดสินใจ (Develop Decision Hierarchy) จาก ทางเลือกและเกณฑ์ที่กำหนดไว้ โดยอย่างน้อยจะมี 3 ลำดับชั้น คือ เป้าหมาย (Goal), เกณฑ์ (Criteria) และ ทางเลือก (Alternatives) ดงั แสดงในรูปที่ 1 (4.6) เปรียบเทียบเกณฑ์ทีละคู่ แล้วจึงเปรียบเทียบทางเลือกทีละคู่ตามเกณฑ์ที่ กำหนดไว้ ทีละเกณฑ์ จนครบทุกเกณฑ์ ในการเปรียบเทียบทางเลือกนั้นจะให้คะแนนเป็นเชิงปริมาณหรือคุณภาพก็ ได้ ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 10 (4.7) คำนวณลำดับความสำคัญของทางเลือก โดยการนำค่าน้ำหนัก (Weight) ของ แต่ละทางเลือกในแตล่ ะเกณฑ์ คณู กับคา่ น้ำหนักของเกณฑ์ แล้วหาผลรวม ถา้ เรียงลำดับผลลัพธ์ของแต่ละทางเลือก ตามคะแนนจากมากไปน้อย ทางเลอื กที่มคี ะแนนมากท่สี ุดจะเปน็ ทางเลือกท่ดี ีท่สี ุด (4.8) วิเคราะห์ความอ่อนไหว (Sensitivity Analysis) ก่อนที่จะตัดสินใจเลือก ทางเลือกจากข้อ (4.7) จำเป็นต้องวิเคราะหค์ วามอ่อนไหวอันเกิดจากความไม่แน่นอนของข้อมูลท่ีใชใ้ นการตัดสินใจ ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักหรือความสำคัญของเกณฑ์แล้ว ทางเลือกที่ดีที่สุดจะยังคงเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด หรอื ไม่ ถา้ เปน็ จะทำใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจท่ีเลือกทางเลือกนน้ั 2.1.5 การรวมค่าน้ำหนักและคะแนนสภาพ ในการพิจารณาการให้น้ำหนักในแต่ละองค์ประกอบและสภาพนั้น จำเป็นต้องใช้ ผู้เชี่ยวชาญร่วมกันกำหนดค่าคะแนนของน้ำหนัก โดยการคำนึงถึงความเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้น หลังจากที่ทำการ กำหนดวธิ ีของการได้มาซึ่งคะแนนของน้ำหนักแลว้ ดังหวั ขอ้ ท่ี 2.1.2 ตอ้ งทำการดูโดยภาพรวมของค่าน้ำหนักอีก ครั้ง เพื่อเป็นเคร่ืองยืนยันถึงความถูกตอ้ ง จากนั้นจะนำค่าที่ได้จากการตรวจสภาพและน้ำหนัก มาคำนวณหาคา่ คะแนนดชั นสี ภาพ ดงั สมการที่ 7 สมการดชั นีสภาพได้ดัดแปลงมาจากสมการที่ (2) จะไดส้ มการ ดังน้ี CI = WF1*SC1 + WF2*SC2 + WF3*SC3 + … + WFn*SCn (7) เมอ่ื CI = ดัชนีสภาพของอาคารหวั งาน WF1 = น้ำหนกั ความสำคัญขององค์ประกอบที่ 1 SC1 = คะแนนของสภาพท่ี 1 WF2 = นำ้ หนกั ความสำคญั ขององคป์ ระกอบที่ 2 SC2 = คะแนนของสภาพท่ี 2 WF3 = น้ำหนักความสำคญั ขององค์ประกอบท่ี 3 SC3 = คะแนนของสภาพที่ 3 WFn = น้ำหนกั ความสำคัญขององคป์ ระกอบท่ี n SCn = คะแนนของสภาพที่ n 2.2 อาคารหวั งานชลประทาน อาคารหวั งานชลประทาน หมายถงึ บรรดากจิ การหรือสง่ิ ก่อสรา้ งท้ังหมด ซง่ึ สร้างไวท้ แ่ี หล่งน้ำ อันเป็นต้นน้ำของโครงการชลประทาน เพื่อจัดหาหรือเก็บกักน้ำให้มีจำนวนเพียงพอกับความต้องการของพื้นที่ ชลประทานทั้งหมด หรือเพื่อยกระดับน้ำให้สูงพอที่จะส่งต่อไปยังพื้นที่เพาะปลูกให้ได้อย่างทั่วถึงอย่างใดอย่าง หนึ่ง นอกจากนั้นยังหมายรวมถึงสิ่งก่อสร้างหรืออาคารประกอบต่างๆ ที่สร้างอยู่ในบริเวณของโครงการ ชลประทานเพ่ือวัตถปุ ระสงค์อน่ื ๆ อกี ด้วย ฝ่ายบำรงุ รักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 11 อาคารหัวงานชลประทานซึง่ ใช้แหล่งน้ำบนผิวดิน เช่น แม่น้ำ ลำธาร และ ลำห้วย ฯลฯ ที่นิยม สรา้ งกันอยทู่ ัว่ ไป แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คือ 1) อาคารหัวงานชลประทานประเภททดน้ำ ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างที่สร้างปิดกั้นแม่น้ำ ลำ ธาร และ ลำห้วย ฯลฯ เพื่อทำหน้าที่ยกน้ำที่ไหลเข้ามาในแหล่งน้ำนั้น ให้มีระดับสูงพอที่จะส่งเข้าคลองส่งน้ำ หรือระบบ ส่งน้ำของโครงการ เพื่อแจกจ่ายไปยงั พ้ืนที่เพาะปลกู ต่อไป เชน่ เขื่อนเจา้ พระยา จงั หวดั ชัยนาท เขือ่ น พระรามหก จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา นอกจากนน้ั ยังรวมถงึ ฝายทดน้ำ 2) อาคารหัวงานชลประทานประเภทเก็บกักน้ำ ประกอบด้วยสิ่งก่อสร้างที่สร้างปิดกั้นแม่น้ำ ลำธาร และลำหว้ ย ฯลฯ เพือ่ ทำหน้าท่ีเก็บกักนำ้ ท่ีไหลมามากในลำน้ำตอนฤดนู ้ำหลาก จนเกดิ เปน็ แหล่งน้ำถาวร มีจำนวนน้ำมากสำหรับส่งไปให้พื้นที่เพาะปลูกในเขตโครงการ เช่น เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ จังหวัดลพบุรี เขื่อนภูมิ พล จงั หวดั ตาก 3) อาคารหัวงานชลประทานประเภทสูบน้ำ โดยทั่วไปหัวงานของโครงการชลประทานสูบน้ำ จะสร้างขึ้นเฉพาะในกรณีที่สภาพภูมิประเทศและสภาพของแหล่งน้ำไม่เอื้ออำนวยให้ทำการก่อสร้างหัวงานของ โครงการชลประทานประเภททดน้ำหรือประเภทเก็บกักน้ำได้อย่างเหมาะสมและประหยัด เช่น โครงการ ชลประทานมีพน้ื ทีช่ ลประทานนอ้ ยอยู่รมิ แม่นำ้ ขนาดใหญ่ ในท่ีนี้ จะกล่าวถงึ หวั งานชลประทานในประเภทที่ 1 ประเภททดนำ้ (1) ฝาย (Weir) ฝายคืออาคารหวั งานชลประทานท่สี ร้างขึ้นขวางทางน้ำ เพอ่ื ชะลอน้ำ ยกระดับน้ำ หรอื ผันน้ำ นอกจากนั้น ฝายยังหมายถึงอาคารชลศาสตร์สร้างปิดกั้นลำน้ำธรรมชาติทำหน้าที่ทดน้ำ ให้ระดับสูงขึ้นจน สามารถไหลเข้าคลองสง่ นำ้ ชลประทานได้ ฝายจะตอ้ งมีความยาวมากพอท่ีจะให้น้ำไหลมาในชว่ งหน้าฝนไหลข้าม ฝายไปได้ โดยไมท่ ำใหเ้ กดิ นำ้ ทว่ มตล่งิ สองฝั่งมากเกนิ ไป ดงั แสดงในภาพท่ี 2 (กรมชลประทาน. 2553) ภาพที่ 2 ฝายสา จ.น่าน ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจัดการน้ำและอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 12 ประเภทของฝาย (1.1) ตามอายุการใช้งาน (1.1.1) ฝายเฉพาะฤดู เปน็ ฝายท่สี รา้ งขน้ึ ในลำน้ำขนาดเล็กโดยใชว้ สั ดทุ ่มี รี าคาถกู และหาได้ง่ายใน ท้องถิ่นเป็นสว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ ก่ิงไม้ ใบไม้ ไมไ้ ผ่ เสาไม้ ทรายและกรวด เปน็ ตน้ เมื่อถงึ เวลานำ้ ไหลหลากมา ฝายจะ แตกพงั ทลายไปหมดทำใหต้ ้องสรา้ งขน้ึ ใหม่ทกุ ปี ดงั แสดงในภาพที่ 3 ภาพท่ี 3 ฝายชาวบา้ น จ.เชียงราย (1.1.2) ฝายชั่วคราว เป็นฝายขนาดเล็กและมีลักษณะคล้ายกับฝายเฉพาะฤดู แต่มีความมั่นคง แข็งแรงและมีอายุการใชง้ านนานกวา่ เพราะสร้างให้แข็งแรงขึ้น และวัสดทุ ่ใี ช้ก็คงทนถาวรกว่า ถ้าหม่ันคอยดูแล ซอ่ มแซมวสั ดทุ ีช่ ำรุดเสยี หาย และทีห่ ลดุ ลอยตามน้ำไปให้อยใู่ นสภาพดีเหมือนเดิม ฝายประเภทนี้ ก็จะมีอายุการ ใช้งานได้นานหลายปี ดังแสดงในภาพที่ 4 ภาพที่ 4 ฝายชวั่ คราวก้นั แมน่ ้ำปิง แหง่ ที่ 1 จ.นครสวรรค์ (1.1.3) ฝายก่ึงถาวร ฝายประเภทนี้จะมีอายุการใช้งานนานกว่าฝายชั่วคราว ถ้าคอยดูแลและ บำรุงรกั ษาอยู่เสมออาจมีอายุการใชง้ าน ไดถ้ ึง 20 ปี เพราะใชว้ ัสดุท่ีมีขนาดใหญห่ รือแขง็ แรงมากกวา่ เช่น เสาไม้ ที่มีขนาดใหญต่ ั้งแต่ 0.20 เมตรข้นึ ไป และทำการกอ่ สรา้ งใหม้ คี วามม่นั คงมากขน้ึ ดงั แสดงในภาพท่ี 5 ฝ่ายบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 13 ภาพท่ี 5 ฝายกึ่งถาวร (1.1.4) ฝายถาวร เป็นฝายที่สร้างด้วยวัสดุต่าง ๆ ที่มีความแข็งแรง เช่น คอนกรีตล้วน หินก่อ คอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นต้น มีการคำนวณออกแบบถูกต้องตามหลักวิชาการ จึงมั่นคงต่อแรงดันของน้ำ และ ทนทานต่อการกัดเซาะของน้ำได้ และการก่อสร้างก็จะทำถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ฝายถาวรจงึ มอี ายกุ ารใช้งาน ยืนยาว ถา้ ไดร้ ับการบรู ณะซอ่ มแซมอยเู่ สมอจะใชง้ านได้ตลอดไป ดังแสดงในภาพท่ี 6 ภาพท่ี 6 ฝายถาวร (1.2) ตามวสั ดุทใี่ ช้งาน (1.2.1) ฝายไม้ หรอื กรวด เป็นฝายขนาดเล็กและมีลักษณะคล้ายกับฝายชั่วฤดู แต่มีความมั่นคง แข็งแรงและมีอายุใช้งานนานกว่า เพราะสร้างด้วยวัสดุค่อนข้างถาวรหรือถาวร ได้แก่เสาไม้ ไม้กระดาน กรวด หรอื หนิ เหลก็ และมีวิธีการสรา้ งประณีตมากขึ้น เม่อื ถงึ เวลาน้ำไหลหลากมาฝายจะตา้ นทานได้ ถ้าคอยซ่อมแซม ส่วนของฝายที่ชำรุดหรือที่ถูกน้ำพัดหลุดลอยไปบ้างอยู่เสมอแล้วอาจมีอายุใช้งานถึง 10 ปี ส่วนของฝายที่ชำรุด มกั เปน็ ไม้ทอี่ ยู่ชนั้ บนซ่ึงเปลีย่ นใหม่ได้ง่าย ไมข้ า้ งลา่ งไมค่ ่อยพเุ พราะจมนำ้ อยเู่ สมอตะกอนทรายในลำน้ำซ่ึงน้ำพัด พามาจะเข้าไปอุดช่องว่างในตัวฝายและตกทับถมอยู่ทางด้านเหนือน้ำของฝายกลายเป็นทำนบทรายจากฝาย ออกไปไกล ทำใหฝ้ ายแน่นทึบและแข็งแรงมากข้ึน ดงั แสดงในภาพที่ 7 ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน สว่ นปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 14 ภาพที่ 7 ฝายไม้ (1.2.2) ฝายคอนกรีต (Concrete Weir) เป็นฝายประเภทถาวร ฝายคอนกรตี มี 2 ชนิด ได้แก่ 1) ฝายคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Weirs) มีลักษณะ เป็นตอม่อคอนกรีต ตั้งอยู่บนพื้นคอนกรตี เป็นระยะ ห่างกันประมาณ 2.0 เมตร ตลอดความกว้างของลำน้ำ ช่อง ระหว่างตอม่อทุกช่องมีกำแพงคอนกรีตตั้งทำหน้าที่เป็นสันฝาย (sharp crested weir) และมีแผ่นไม้ กระดาน สำหรับไว้อัดน้ำ เม่อื ตอ้ งการยกระดับน้ำใหส้ งู ขน้ึ ดังแสดงในภาพที่ 8 ภาพท่ี 8 ฝายแม่ยม จ.แพร่ 2) ฝายคอนกรีตล้วนหรือฝายหินก่อ (Mass Concrete or Masonry Weirs) ฝายคอนกรีตล้วนหรือฝายหินก่อเป็นกำแพงทึบ มีรูปตัดคล้ายรปู ส่ีเหลี่ยมคางหมู ซึ่งมีด้านบนคือสันฝาย แคบกว่าดา้ นลา่ ง ซ่ึงเปน็ ฐานฝาย โดยปกติลาดฝายด้าน เหนือน้ำไม่มี หนา้ ฝายตงั้ ชันเปน็ แนวดิ่งกบั พ้ืนฝาย ส่วน ลาดฝายด้านทา้ ยน้ำมีสว่ นสดั ตามท่ีคำนวณได้ เพื่อใหน้ ้ำไหลขา้ มฝายสะดวกและไม่ให้นำ้ ตกกระแทกพ้นื ฝายแรง เกินไปรปู ตัดของฝายจะถูกดัดแปลงไปบ้าง คอื จะทำสันฝายและบริเวณ ท่ปี ลายลาดฝายตัดกับพ้นื ทา้ ยน้ำไม่ให้มี เหลี่ยมมมุ เหลืออยู่เลย ดังแสดงในภาพที่ 9 ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 15 ภาพท่ี 9 ฝายท่งุ ไผ่ จ.แพร่ (1.2.3) ฝายยาง (Rubber Weir) ฝายที่สามารถควบคุมการพองตัวและยุบตัวด้วยน้ำ หรือ อากาศเพื่อเก็บกัก นำ้ ในลำนำ้ เหนือฝาย สำหรบั ใชป้ ระโยชนเ์ พื่อการเกษตร และการอุปโภคบริโภค ในฤดูแล้ง และสามารถลดระดับ เพื่อระบายน้ำหลากมากเกินความต้องการในฤดูฝน ซึ่งจะสามารถระบายตะกอนที่ทับถมบริเวณหน้าฝายได้ดว้ ย ฐานฝายและพื้นลาดตลิ่งสร้างด้วยหินก่อ คอนกรีต หรือคอนกรีตเสริมเหล็ก ตัวฝายยางประกอบด้วยแผ่นยาง ม้วนเป็นรูปคลา้ ยทรงกระบอก วางพาดขวางตลอดลำน้ำแล้วยึดติดแน่นกับฐานฝาย และท่ีตลง่ิ ท้ังสองฝ่ังตามแนว ขอบยางด้านเหนอื น้ำ ซ่ึงหลงั จากสูบลมหรอื น้ำเขา้ ไปในตัวฝายยางจนถึงระดับความดันที่กำหนดแล้ว ตัวฝายยางน้ีจะ สามารถกักก้ันน้ำได้ตามที่ต้องการ ซึ่งแผ่นยางนั้นทำมาจากยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห์ ดังแสดงในภาพท่ี 10 ภาพที่ 10 ฝายยางลำเซบาย จ.อบุ ลราชธานี (2) ประตูระบายนำ้ (Head Regulator) ประตูระบายน้ำ หรอื ปตร. คือ ส่ิงกอ่ สร้างในบริเวณทางนำ้ ท่ีใช้ควบคุมการไหลของน้ำใน แม่น้ำ คลอง ทะเลสาบ ฝาย อ่างเก็บน้ำ สำหรับหัวงานของโครงการที่เป็นประตูระบายน้ำ อาคารประกอบของ ประตูระบายน้ำอาจจะมีไมเ่ หมือนกนั และไม่จำเปน็ ตอ้ งมีครบทกุ อย่าง (กรมชลประทาน. 2553) ประเภทของประตูระบายน้ำ (2.1) เข่ือนระบายนำ้ /ทดนำ้ (Barrage, Diversion dam) เขื่อนระบายน้ำ เป็นอาคารทดน้ำหรือเขื่อนทดน้ำที่ต้นน้ำของหัวงานโครงการ ชลประทานประเภททดน้ำ ซึง่ สรา้ งขวางลำน้ำสำหรบั ทดน้ำทีไ่ หลมาให้มีระดบั สงู จนสามารถส่งเขา้ คลองส่งน้ำได้ ฝา่ ยบำรงุ รักษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 16 ตามปริมาณที่ต้องการในฤดูกาลเพาะปลูกเช่นเดียวกับฝายแต่เขื่อนระบายน้ำจะระบายน้ำผ่านเขื่อนไปได้ตาม ปริมาณท่ีกำหนดโดยไม่ยอมให้นำ้ ไหลล้นขา้ มเหมือนฝายและเมื่อเวลาน้ำหลากมาเต็มที่ในฤดูฝนเข่ือนระบายน้ำนี้ ยังสามารถระบายนำ้ ให้ผ่านไปไดท้ นั ที (กรมชลประทาน. 2553) เขอ่ื นระบายนำ้ สรา้ งขึ้นโดยการแบ่งความกว้างของแมน่ ้ำออกเป็นช่องๆ ด้วยตอม่อ โดยทั่วไปกว้างช่องละ ๖.๐๐ เมตร ถึง ๑๒.๕๐ เมตร แต่จะมีกี่ช่องนั้นแล้วแต่ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านเขื่อนมีมาก หรือน้อย ช่องระบายน้ำระหว่างตอม่อทุกช่องมบี านประตู (gate) ปิดไวซ้ ง่ึ จะยกขึ้นเพื่อระบายผ่านไปหรือหย่อน ลงเพื่อทดน้ำได้ทกุ ระดับ ในเวลาน้ำใหญ่ไหลหลากมาบานประตูเขื่อนทุกบานจะถกู ยกสงู พ้นระดบั นำ้ ทั้งสองข้าง ปล่อยให้น้ำไหลผ่านไปไดเ้ ต็มท่ีโดยระดับน้ำในแมน่ ้ำดา้ นเหนือน้ำของเขื่อนไม่สงู กว่าระดบั น้ำปกตติ ามธรรมชาติ มากเกินไป บานประตูของเขื่อนระบายน้ำซึ่งมักเรียกกันว่าบานระบายน้ำนั้นมีรูปร่างต่าง ๆ กัน เช่น เป็นบาน เดี่ยวตั้งตรงรูปสี่เหลี่ยมผนื ผ้า (slide gate) หรือเป็นบานเดี่ยวรูปโค้ง (radial gate) ซึ่งสร้างด้วยวัสดหุ ลายชนิด เช่น ไม้ เหล็ก หรือไม้และเหลก็ รว่ มกัน ดงั แสดงในภาพท่ี 11 ภาพท่ี 11 เข่ือนพระรามหก จ.อยธุ ยา (2.2) ประตูระบายนำ้ (Regulator Gate) ประตูระบายน้ำ (ปตร.) คือ สิ่งก่อสร้างในบริเวณทางน้ำที่ใช้ควบคุมการไหลของ น้ำในแม่น้ำ คลอง ทะเลสาบ ฝาย อ่างเก็บน้ำ ประตูระบายน้ำจะใช้สำหรับในการปรับปริมาณน้ำที่ต้องการให้ ไหลผ่าน ปรบั ความเร็วของนำ้ หรอื ใชใ้ นการกกั เก็บน้ำได้ ในขณะเดียวกันประตูระบายนำ้ ยังช่วยป้องกนั ในกรณีที่ มพี ายหุ รือเกิดนำ้ ท่วม ดังแสดงในภาพท่ี 12 ภาพที่ 12 ประตรู ะบายน้ำทา่ โบสถ์ จ.ชยั นาท ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 17 บทท่ี 3 ขน้ั ตอนการดำเนินการ 3.1 การศกึ ษาสภาพอาคารหัวงาน ก่อนเข้าตรวจสภาพอาคารหัวงานทุกครั้ง ผู้เข้าตรวจสภาพต้องทำการศึกษาถึงลักษณะของ อาคารและองค์ประกอบให้ถูกต้อง ว่าอาคารที่จะทำการตรวจสภาพนั้นมีองค์ประกอบอะไรบ้าง โดยทั่วไป การศึกษารายละเอยี ดอาคารหวั งานที่จะใชใ้ นการตรวจสภาพน้ัน ประกอบดว้ ย (2.1.1) การศกึ ษาจากแบบก่อสรา้ ง แบง่ ออกเป็น 2 กรณี คอื กรณีท่ีมีแบบครบ และกรณีที่แบบ ไมม่ ี หรอื มบี างสว่ น ซ่ึงจะต้องใชเ้ วลาในการตรวจสภาพอย่างครา่ วๆ กอ่ น (2.1.2) การเข้ารับฟังข้อมูลจากโครงการ เพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบในส่วนทีอ่ าจขาดหายไป (รวมถงึ ข้อมูลจากแบบทหี่ ายไป) ตลอดจนปญั หาที่เกดิ ข้นึ กับอาคารตา่ งๆ เมื่อได้ข้อสรุปถึงองค์ประกอบที่จะทำการตรวจสภาพแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การพิจารณาแบบ บันทึกรายการที่จะตรวจวัด โดยพิจารณาหัวข้อที่เกี่ยวข้องของอาคารนั้นๆ ก่อนที่จะออกสนาม ซึ่งแบบบันทึก การตรวจสภาพน้จี ะใช้ในการตรวจสภาพอาคารตัวเดิมในครงั้ ต่อๆ ไป ถา้ ยังไมม่ ีการปรับปรุงอาคาร 3.2 การเดนิ ตรวจสภาพอาคารหวั งาน ก่อนเดินตรวจสภาพอาคารหัวงานนั้น จะต้องตรวจสอบในสนามอย่างคร่าวๆ ให้แน่ใจว่าในแต่ ละอาคารมขี ้อมลู ตรงกันกับรายการท่ีจะตรวจวัด ผตู้ รวจสภาพเพือ่ ทำการสำรวจ ว่ามจี ดุ บกพร่อง มีความเหมือน หรอื ความต่างกนั อยา่ งไร จนเม่อื ไดข้ อ้ ยตุ ิ จะไดร้ ายการทีจ่ ะตรวจวดั ท่คี วามสมบรู ณเ์ รียบร้อย เน่อื งจากการตรวจสภาพอาคารหัวงานประเภทประตูระบายนำ้ /เข่ือนระบายน้ำ/ทดนำ้ และฝายทดนำ้ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า องค์ประกอบไม่ได้ซับซ้อนหรือมีจำนวนมากเท่ากับเขื่อน ดังนั้น ระยะเวลาในการตรวจ สภาพและจำนวนคนจะไม่มากเท่ากับเขื่อน ซึ่งผู้ตรวจสภาพจากส่วนกลาง (ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนัก บริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา หรือส่วนบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษา สำนักงานชลประทาน) สามารถที่จะ ทำการตรวจไปพร้อมๆ กันกับเจ้าหน้าที่ของโครงการได้ อุปกรณ์สำหกรับใช้ในการตรวจสภาพอาคารหัวงาน ประกอบด้วย แบบบันทึกรายการการตรวจสภาพ (Checklist) ปากกา/ดินสอ กล้องถ่ายรูป เป็นต้น สิ่งต่างๆ ท่ี เรามองเห็นทผ่ี ิดปกตจิ ะถกู บนั ทึกลงในแบบบันทึกฯ 3.3 แบบบนั ทึกการตรวจสภาพอาคารหัวงาน ประตรู ะบายน้ำ/เขอ่ื นระบายนำ้ /ทดน้ำและฝายทดนำ้ สามารถแยกออกเปน็ 5 ส่วนใหญ่ๆ คือ (1) สว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) (2) ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section (3) สว่ นควบคมุ น้ำ (Control Section) (4) สว่ นทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) (5) ส่วน Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่ือประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 18 โดยในบางส่วนจะถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบย่อยๆ ซึ่งองค์ประกอบในแต่ละส่วนนั้น จะ ประกอบไปดว้ ยสภาพทจ่ี ะต้องตรวจ รวม 10 สภาพ และจะมรี ะดับคะแนนที่บง่ บอกสภาพต้ังแต่ 1-4 ถ้าคะแนน ที่ใหเ้ ทา่ กบั 1 หมายถึงสภาพทแี่ ย่ทสี่ ดุ สว่ นคะแนนเท่ากบั 4 หมายถงึ สภาพเปน็ ปกติ ไม่มคี วามเสียหาย ส่ิงต่อไป ที่เราจะต้องทราบเพื่อทำการตรวจสภาพได้อย่างถูกต้อง ในการกำหนดสภาพของประตรู ะบายน้ำ/เขอื่ นระบายน้ำ/ ทดน้ำและฝายทดน้ำที่เราจะทำการตรวจสภาพนั้น ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของอาคารที่จะทำการตรวจสภาพ ประกอบด้วย 10 สภาพ สำหรับองค์ประกอบส่วนท่เี ป็นดนิ คอนกรีต และเหล็ก องคป์ ระกอบแตล่ ะองค์ประกอบ จะมีสภาพที่ต้องทำการตรวจแตกต่างกันออกไป เช่น ส่วนควบคุมน้ำ (ตัวฝาย) มีสภาพที่ต้องทำการตรวจ 6 สภาพ จากทั้งหมด 10 สภาพ หรือส่วนควบคุม ได้แก่ ประตูระบายทราย ต้องตรวจสภาพทั้งหมด 3 สภาพ เปน็ ตน้ ในส่วนของเกณฑ์การให้คะแนนเป็นส่วนที่สำคัญในการกำหนดระดับคะแนนของสภาพว่าตรง ตามสภาพทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ สามารถทำงานไดต้ ามปกติหรือไม่ ในกรณที ส่ี ภาพความเส่ียงอยใู่ นระดับท่ีต้องดำเนินการ แก้ไข ให้ดำเนินการซ่อมแซม หรือปรับปรุงเพื่อให้สภาพดีขึ้น พร้อมใช้งานและสามารถทำงานได้ตาม วัตถุประสงค์ ระดับคะแนนไดก้ ำหนดให้คะแนนตั้งแต่ 1 ถึง 4 โดยคะแนนระดับ 1 ถือว่าอาคารชลประทานอยู่ใน สภาพแย่ทส่ี ุด จนถงึ คะแนนระดับ 4 ถือว่าสภาพปกติ เมื่อทำความเข้าใจในเรื่องของสภาพและหลักเกณฑ์การให้คะแนนแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือการ ให้คะแนนตามสภาพที่พบเห็น รวมถึงให้บันทึกถึงเพิ่มเติมถึงลักษณะอื่นๆ ที่จำเป็น ในการประกอบการจัดทำ รายงาน ในกรณีที่พบสิ่งผิดปกติ พร้อมทั้งทำการถ่ายรูปเพื่อประกอบการพิจารณาต่อไป การให้คะแนนตาม สภาพที่พบเห็นนั้น ควรทำการให้คะแนนในขณะที่ตรวจ เนื่องจากการให้คะแนนหลังจากที่กลับจากการออก ตรวจสภาพแลว้ อาจทำให้ลมื หรอื ลงระยะที่พบเห็นส่ิงผิดปกติผิดพลาด 3.4 การประเมนิ สภาพอาคารหวั งาน เมื่อทำการตรวจสภาพในสนามและให้คะแนนแล้วเสร็จ ขั้นตอนสุดท้าย คือ การประเมินสภาพ อาคาร ว่าปัจจุบันสภาพอาคารที่เราใช้งานอยู่นั้น มีสภาพอยู่ในระดับใด โดยข้อมูลที่เราได้จากการเดินตรวจ สภาพอาคารนั้น เป็นข้อมูลสภาพในแต่ละองค์ประกอบ เพื่อนำไปใช้ในสมการ โดยนำไปคูณกับค่าน้ำหนัก (WF) ในแต่ละองค์ประกอบ ซ่งึ ผลคูณดังกล่าวจะทำใหเ้ ราได้ค่าดัชนีสภาพ (CI) นอกจากนั้น ในส่วนของสำนักงานชลประทาน ยังสามารถนำผลของการตรวจสภาพและ ประเมินสภาพในแต่ละเขื่อนภายในสำนักฯ มาจัดเรียงลำดับงานซ่อมแซมภายในโครงการ/สำนัก เพื่อขอ งบประมาณต่อไปได้ ซง่ึ แบ่งระดบั คะแนนออกเป็น 4 ระดบั คือ การแบง่ ช้นั ของสภาพความสมบรู ณแ์ บงอออกเป็น 4 ระดบั ดังตอ่ ไปน้ี ระดับที่ 1 (CI>=1.00-1.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหายมาก มีผลต่อการพิบัติอย่าง เห็นได้ชดั จำเปน็ ที่ตอ้ งการซอ่ มแซม/ปรบั ปรุงโดยทันที ระดับที่ 2 (CI>=2-2.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสียหาย ควรวิเคราะห์และติดตาม พฤตกิ รรมเปน็ พเิ ศษเพ่ือประเมินความปลอดภัย อาจสามารถรอการซ่อมแซมได้ (มีแนวโนม้ ไปในทางไม่ปกต)ิ ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 19 ระดบั ที่ 3 (CI>=3-3.99) สภาพองค์ประกอบ มีความเสยี หาย เลก็ น้อย (มแี นวโนม้ ไปในทางปกต)ิ ระดับที่ 4 (CI=4.00) สภาพองค์ประกอบ มีความสมบูรณ์ หรือทำหน้าที่เป็นปกติ หรือไม่ ปรากฏสภาพความเสี่ยงน้นั ในบางครั้ง ค่าดัชนีสภาพรวมของอาคารอยู่ในสภาพปกติ แต่ผู้ทำการประเมินจำเป็นต้อง พิจารณาในองค์ประกอบย่อยลงไปด้วย เนื่องจากองค์ประกอบย่อยนั้น อาจจะส่งผลเสียหายต่อตัวอาคารใน อนาคตได้ ถา้ หากไม่ได้รับการซอ่ มแซม ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 20 บทที่ 4 การตรวจและประเมนิ สภาพอาคารหัวงานชลประทาน 4.1 หลกั การตรวจสภาพ การตรวจสภาพอาคารหวั งานชลประทานมีจดุ ประสงค์หลกั เพ่อื ตรวจหาความบกพรอ่ งต่างๆ ท่ี อาจมีผลทำให้เกิดความเสียหายหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของเขื่อนอาคารประกอบ ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดจะ ถูกนำไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อประเมินความมั่นคงปลอดภัยทั้งในด้านเสถียรภาพของโครงสร้าง (Structural Stability) และด้านการใช้งาน (Operation) ของฝายว่ายังอยู่ในสภาพมั่นคงแข็งแรง และสามารถใช้งานได้ตาม จุดประสงค์ที่ออกแบบไว้หรือไม่ โดยปกติแล้วความมั่นคงแข็งแรง และพฤติกรรมของฝายขึ้นอยู่กับปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ - การออกแบบ - ลักษณะทางธรณีวิทยา ปฐพวี ิทยาฐานราก - การก่อสร้าง ผู้ตรวจสภาพต้องช้ีจุดบกพรอ่ งตา่ งๆ ที่พบเห็น และเสนอแนะวิธีการแกไ้ ขข้อบกพร่องเหล่านน้ั กำหนดแนวทางปฏิบัติสำหรับการปฏิบัติที่ถูกต้อง (Operational Restrictions) หรือเสนอแนะให้ดำเนินการ ปรบั ปรงุ ส่ิงต่างๆ ทีจ่ ำเปน็ และเร่งด่วน เพื่อรกั ษาสภาพของฝายให้สามารถใช้งานไดด้ ีอยู่ โดยปกติควรทำการตรวจสภาพอาคารชลประทานอยา่ งน้อยปลี ะ 2 คร้ัง ไดแ้ ก่ ก่อนฤดูฝนท่ีจะ มา เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการใช้งานของอาคารชลประทาน และหลังฤดูฝนหมด เพื่อเป็นการตรวจ สภาพความเสยี หายท่ีอาจจะเกิดขึน้ 4.2 วธิ กี ารตรวจสภาพ การตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน (ฝายและประตูระบายน้ำ) สามารถทำได้โดยการ ตรวจสภาพด้วยวิธีทางสายตา (Visual Inspection) ซึ่งจะไม่เหมือนกับเขื่อน/อ่างเก็บน้ำที่มีการติดตั้งเครื่องมือ วัดพฤติกรรมเขื่อน (Dam Instrumentation) เพื่อตรวจสภาพเขื่อน/อ่างเก็บน้ำได้ทั้งภายในและภายนอก การ ตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน (ฝายและประตูระบายน้ำ) ด้วยวิธีทางสายตานั้นไม่ยุ่งยากเท่ากับตรวจ สภาพเขอื่ น เนอ่ื งจากองคป์ ระกอบไม่มากหรือซบั ซอ้ น ซ่ึงใช้วธิ ีการเดนิ ตรวจสภาพด้วยสายตา ตรวจสภาพในแต่ ละองค์ประกอบ และในแต่ละองค์ประกอบจะต้องตรวจตามสภาพจริง เพื่อใช้ตัดสินว่าองค์ประกอบของอาคาร หัวงานชลประทาน (ฝายและประตูระบายน้ำ) มีสภาพเป็นอย่างไรบ้าง (คณะทำงานโครงการเพิ่มพูนทักษะด้าน ความปลอดภัยเข่อื นเชิงปฏิบตั กิ ารการตรวจสภาพเขอ่ื นด้วยสายตาและประเมินผลโดยดัชนีสภาพ, 2556) การตรวจสภาพด้วยสายตา (Visual Inspection) เป็นวิธีการตรวจสภาพที่ง่ายที่สุด ไม่ต้องใช้ อุปกรณ์ใดท่ีเป็นพิเศษ หลกั การคือการเดินตรวจสภาพ และใชส้ ายตาประเมินสภาพ เพื่อตรวจสภาพสิ่งผิดปกติหรือ ข้อบกพร่องของอาคารนั้นๆ โดยทั่วไป การตรวจสภาพด้วยสายตา แบ่งออกเป็น 4 ประเภท (อ้างอิงประเภทของ การตรวจสภาพด้วยสายตาของเข่อื น คือ ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพอื่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 21 4.2.1 การตรวจสอบประจำ (Routine Inspection) เป็นการตรวจสอบตามปกติตามระยะเวลาที่กำหนด เช่นการตรวจประจำวัน ประจำ สปั ดาห์ ประจำเดอื น โดยบุคลากรทร่ี บั ผดิ ชอบดแู ลบำรุงรักษาอาคารนัน้ ๆ โดยตรง (โครงการชลประทานจงั หวัด/ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา) ได้แก่ การตรวจสอบสภาพโดยทั่วไปรอบๆ ตัวอาคาร การวดั ค่าระดับน้ำ หน้าอาคาร การวัดข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา เป็นต้น รายงานการตรวจวัดดังกล่าว จะถูกรวบรวมไว้ที่โครงการฯ สำเนาส่งให้ ฝ่ายปรบั ปรงุ บำรงุ รกั ษาของสำนกั งานชลประทานนนั้ ๆ และส่วนปรบั ปรงุ บำรุงรกั ษา สำนักบริหารจดั การน้ำและ อุทกวทิ ยา 4.2.2 การตรวจสอบประจำปี (Annual Inspection) เป็นการดำเนินการรว่ มกันระหวา่ งบุคลากรท่รี ับผิดชอบดูแลบำรุงรักษาอาคารและฝ่าย ปรบั ปรุงบำรุงรักษาของสำนักงานชลประทาน เพื่อทำการตรวจสภาพอาคารโดยละเอยี ด แล้วจดั ทำเปน็ รายงาน การตรวจอาคารประจำปีของฝ่ายปรับปรุงบำรุงรักษา (สำเนาให้ส่วนส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหาร จดั การน้ำและอุทกวิทยา) เพื่อประโยชนด์ ้านการจัดการ เชน่ การจัดลำดับความสำคัญความเสี่ยง ความเสียหาย ฯลฯ ต่อไป 4.2.3 การตรวจสอบโดยคณะกรรมการตรวจสอบอาคารชลประทาน (Formal Inspection) เป็นการตรวจสอบโดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญที่กรมชลประทานแต่งตั้งขึ้น ใหด้ ำเนินการติดตามและตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารท่ีสำคญั ตามระยะเวลาซ่ึงอาจกำหนดจากอายุการ ใชง้ านและสภาพความเสี่ยงของอาคารน้ันๆ 4.2.4 การตรวจสอบโดยกรณพี ิเศษ (Special Inspection) เป็นการตรวจสอบเมื่อมีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น หรือเกิดความเสียหาย เช่น เมื่อเกิด แผ่นดินไหว เมื่อมีระดับน้ำสูงขึ้นหรือลดลงอย่างรวดเร็ว (rapid drawdown) เมื่อพบว่ามีอัตราการรั่วซึมสูงข้ึน ผิดปกติ มีการทรุดตัว แตกร้าว ฯลฯ ที่ผิดปกติ เป็นต้น การตรวจสอบในกรณีนี้ ต้องอาศัยความชำนาญเฉพาะ ด้านตามสภาพของความผิดปกตินั้นๆ จึงจำเป็นต้องอาศัยข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์เบื้องต้น โดยฝ่ายปรับปรุง บำรุงรักษาของสำนักงานชลประทานนั้นๆ รายงานให้ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทก วิทยาพิจารณาขอความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้นๆ และเข้าดำเนินการตรวจสอบและประเมิน สถานการณ์ พร้อมทั้งจัดทำรายงานให้กับโครงการฯ และสำนักงานชลประทานนั้นๆ ต่อไป เหตุการณ์ต่อไปนี้ จำเป็นตอ้ งมีการตรวจสอบสภาพอาคารเป็นกรณพี เิ ศษ โพรงใตอ้ าคาร ลกั ษณะความผิดปกตทิ ีเ่ กดิ ขึน้ ในลักษณะดังตอ่ ไปน้ี (Bearing) ไม่ดี (1) อาคารชลประทานนั้นๆ เกิดน้ำไหลซึมลอดใต้ตัวอาคารและพื้น (Piping) และเกิด (2) อาคารชลประทานนั้นๆ เกิดการเลือ่ นตัว (Sliding) (3) อาคารชลประทานนั้นๆ เกดิ การพลักควำ่ (Overturning) (4) อาคารชลประทานนั้นๆ เกิดการทรุดตัว เพราะการรับน้ำหนักกดของดินใต้ฐาน ฝ่ายบำรุงรักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 22 4.3 การแบ่งองคป์ ระกอบของอาคารหัวงานชลประทาน ในการตรวจสภาพอาคารหัวงานชลประทาน ผู้ตรวจสภาพจำเปน็ ต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ลักษณะ ประเภท และองค์ประกอบของอาคารหัวงานชลประทานนั้นๆ เพื่อให้การตรวจสภาพเป็นไปอย่างถูกต้อง มีระบบและเป็นมาตรฐานเดียวกัน การแบ่งองค์ระกอบของอาคารหัวงานชลประทานนั้นๆ จะพิจารณาจากแบบ ก่อสร้างเป็นหลัก เปรียบเทียบกับอาคารหัวงานชลประทานที่ก่อสร้างแล้วเสร็จ ในบางครั้งอาจจะพิจารณาร่วมกับ แบบภายหลังก่อสร้างแล้วเสร็จ (As Built Drawing) ในแต่ละภูมิภาคหรือแต่ละพื้นที่อาจจะมีรูปแบบของอาคาร หัวงานชลประทานที่แตกต่างกันออกไป แต่ก็ถือว่าแตกต่างกันโดยไม่มาก จากการออกสำรวจพื้นที่ตรวจสอบสภาพ อาคารหวั งานชลประทานที่กำหนดขอบเขตของงานไว้ ไดแ้ ก่ ฝาย และประตรู ะบายน้ำ จะสามารถแบ่งองค์ประกอบ ของอาคารชลประทาน หัวงานดงั กลา่ ว ไดด้ งั น้ี 4.3.1 ฝาย (Weir) องค์ประกอบของฝาย ประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ คอื (1) สว่ น Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) (2) ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) (3) ส่วนควบคมุ น้ำ (Control Section) (4) สว่ นทา้ ยนำ้ (Downstream Concrete Section) (5) ส่วน Protection ท้ายนำ้ (Downstream Protection Section) รายละเอียดในแต่ละองค์ประกอบดังนี้ (1) ส่วน Protection เหนือนำ้ (Upstream Protection Section) มีหน้าที่ในการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ วัสดุที่ใช้ในการทำส่วนของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวดตาข่ายเหล็กถักเคลือบสังกะสี (Mattresses) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น วัสดุที่ใช้ใน การทำส่วนของพื้น ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจุหินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น ประกอบไปดว้ ยสว่ นของพนื้ และลาดดา้ นข้าง ดงั แสดงในภาพที่ 13 และ 14 ภาพท่ี 13 รูปตดั ตามยาวสว่ น Protection เหนือน้ำของฝายทดน้ำ ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 23 ภาพที่ 14 ตวั อยา่ งสว่ น Protection เหนอื น้ำ ของฝายทดน้ำ (2) ส่วนเหนอื นำ้ (Upstream Concrete Section) มหี น้าทย่ี ดื เส้นทางทางเดินของน้ำ หรือเพ่มิ ความม่ันคง รวมไปถงึ ลดแรงดันใต้ตัวฝาย ซึ่งในหลักการคำนวณดังกล่าวจะพิจารณาถึงความหนาของพื้นประกอบไปด้วยพื้นและลาดด้านข้าง ดังแสดงใน ภาพที่ 15 และ 16 ภาพที่ 15 รูปตัดตามยาวส่วนเหนอื น้ำ (Upstream Concrete Section) ของฝายทดนำ้ ภาพท่ี 16 ตวั อย่างสว่ นเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) ของฝายทดนำ้ (3) สว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) เปน็ สว่ นที่ใช้ในการควบคุมนำ้ เพอ่ื กักเก็บน้ำ ทดน้ำ ระบายน้ำ/ทราย ดงั แสดงใน ภาพที่ 17 และ 18 ฝ่ายบำรุงรกั ษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอุทกวทิ ยา
การศกึ ษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 24 ภาพท่ี 17 รูปตัดตามยาวสว่ นควบคุมน้ำ (Control Section) ของฝาย ภาพท่ี 18 ตวั อย่างสว่ นควบคุมนำ้ (Control Section) ของฝายทดน้ำ ประกอบดว้ ย (3.1) ฝายควบคุมน้ำ (Weir) และบนั ไดปลา (Fish Ladder) เป็นอาคารที่สร้างขึ้นขวางทางน้ำ เพื่อชะลอน้ำ ยกระดับน้ำหรือผันน้ำ บันไดปลาเปน็ อาคารที่สร้างขึ้นเพ่ือเปน็ ทางใหป้ ลาผ่านในทางน้ำท่ีมีอาคารปิดก้ัน เชน่ เขือ่ นทดน้ำ หรอื ฝาย ส่วนใหญ่ ปัจจบุ นั ไมค่ อ่ ยพบ ดงั แสดงในภาพท่ี 19 และ 20 ภาพที่ 19 ตวั อย่างฝายคอนกรีตของฝายทดนำ้ ฝ่ายบำรุงรกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 25 ภาพท่ี 20 บันไดปลาของฝายทดน้ำ (3.2) กำแพงคอนกรตี (Concrete Wall) เปน็ กำแพงคอนกรีตท่ีอยกู่ ับกบั ตัวฝายควบคุมนำ้ ดงั แสดงในภาพที่ 21 ภาพท่ี 21 ตวั อยา่ งกำแพงคอนกรตี ของฝายทดน้ำ (3.3) ประตู/ช่องระบายทราย (Sand Sluice/Bottom Drain) เป็นช่องเปิดพร้อมบานบังคับน้ำในอาคารประเภทฝาย ประกอบไปด้วย บานประตู ช่องใส่บานประตู อุปกรณ์เครื่องกลและอุปกรณ์ไฟฟ้า ใช้สำหรบั ระบายตะกอนทรายท่ีทบั ถมอยู่หนา้ ฝายออกไปทางด้านท้ายน้ำ โดยให้นำ้ ไหลผ่านด้วยความเร็วสูงพร้อมกับพดั พาตะกอนออกไป ประตูระบายทราย สว่ นใหญจ่ ะก่อสร้างบรเิ วณด้านข้างของฝาย หรือทำทางนำ้ แยกจากตวั ฝาย ระดับธรณขี องบานจะอย่ทู ี่ระดับท้อง ลำน้ำ และจะมีสะพานใช้ในการเดนิ ไปเปดิ -ปิดประตู ดงั แสดงในภาพที่ 22 ภาพที่ 22 ตวั อย่างประตูระบายทรายของฝายทดนำ้ ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอทุ กวิทยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 26 (3.4) แทง่ สลายพลังงานน้ำปลายรางเท (Chute Blocks) เป็นแท่งคอนกรีตที่ติดกับพื้นตรงปลายสุดของฝายหรือรางเทในอาคาร สลายพลังงานนำ้ ดังแสดงในภาพท่ี 23 และ 24 ภาพที่ 23 แสดงตำแหน่งของ Chute Blocks ของฝายทดน้ำ ภาพท่ี 24 ตัวอย่าง Chute Blocks ของฝายทดนำ้ (3.5) สะพาน (Bridge/Access Bridge) เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับในการเดินเข้าไปเปิด-ปิดประตูระบายน้ำ ประตู/ ช่องระบายทราย หรอื ใชส้ ำหรับขา้ มไปยงั อีกฝง่ั ของฝาย ดงั แสดงในภาพท่ี 25 ภาพท่ี 25 ตัวอย่างสะพานสำหรบั ใช้ในการเปิด-ปิดประตรู ะบายทรายของฝายทดน้ำ ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน สว่ นปรับปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบริหารจัดการน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 27 (3.6) ทอ่ นกั้นน้ำและรอ่ งบาน (Stoplogs) หมายถึง ท่อนไม้ แท่งคอนกรีต หรือเหล็ก รวมถึงร่องบานสำหรับใส่ท่อน กั้นน้ำ ในกรณีของฝายนั้น ปกติจะก่อสร้างบนสันฝาย วัตถุประสงค์เพื่อยกระดับในการเก็บกักน้ำ/ทดน้ำเป็นการ ชว่ั คราว ดงั แสดงในภาพที่ 26 ภาพท่ี 26 ท่อนก้นั น้ำและร่องบานของฝายทดน้ำ (4) ส่วนท้ายนำ้ (Downstream Concrete Section) เป็นอาคารชลศาสตร์ที่ได้รับการออกแบบขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่สลายพลังงานจลน์ (Kinetic Energy) จากการไหลของน้ำด้วยความเร็วสูง จะทำการออกแบบให้อาคารสลายพลังงาน อยู่ด้านท้ายน้ำ ของอาคารดังกล่าวเสมอ อาคารสลายพลังงานที่ดีจะต้องสามารถทำให้การไหลของน้ำที่เร็วนั้น ช้าลง หรือทำให้ พลังงานเนื่องจากความเร็วลดลง โดยไม่ทำให้อาคารหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคารหรือคลองส่งน้ำเสียหาย ประกอบไปดว้ ยส่วนของพ้ืน ลาดด้านข้าง และองค์ประกอบอื่นๆ ดังแสดงในภาพที่ 27 และ 28 ภาพท่ี 27 รูปตดั ตามยาวสว่ นทา้ ยน้ำ (Downstream Concrete Section) ของฝายทดน้ำ ภาพท่ี 28 สว่ นท้ายน้ำ (Downstream Concrete Section) ของฝายทดนำ้ ฝา่ ยบำรุงรกั ษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจดั การน้ำและอุทกวทิ ยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหวั งานอาคารชลประทานทางด้านวิศวกรรม 28 (4.1) ฟันตะเข้ (Floor Blocks) หมายถึง แท่งคอนกรีตที่หล่อติดกับพื้นอาคาร เพอ่ื สลายพลงั งานที่เกดิ จากการกระโจนตวั ของน้ำ ดงั แสดงในภาพท่ี 29 และ 30 (4.2) แผงปะทะด้านทา้ ยน้ำ (End Sill) หมายถงึ แทง่ หรอื แผงคอนกรีตที่ติดกับ พน้ื ตรงปลายสุดด้านท้ายน้ำของอาคารชลประทาน ทำหนา้ ท่ีปะทะน้ำเพื่อสลายพลังงาน เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า End Baffle ดงั แสดงในภาพที่ 29 และ 30 ภาพท่ี 29 แสดงตำแหน่งของ Floor Blocks และ End Sill ของฝายทดน้ำ ภาพท่ี 30 ตวั อยา่ งของ Floor Blocks และ End Sill ของฝายทดนำ้ (5) ส่วน Protection ทา้ ยนำ้ (Downstream Protection Section) มีหน้าที่ในการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ วัสดุที่ใช้ในการทำส่วนของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวดตาข่ายเหล็กถักเคลือบสังกะสี (Mattresses) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น วัสดุที่ใช้ใน การทำส่วนของพื้น ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจุหินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินท้ิง หินเรียง หินเรียงยาแนว เปน็ ต้น ประกอบไปด้วยสว่ นของพืน้ และลาดดา้ นข้าง ดงั แสดงในภาพท่ี 31 และ 32 ภาพท่ี 31 สว่ น Protection ทา้ ยน้ำ (Downstream Protection Section) ของฝายทดน้ำ ฝ่ายบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพื่อประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 29 ภาพท่ี 32 ตวั อยา่ งส่วน Protection ทา้ ยน้ำ (Downstream Protection Section) ของฝายทดน้ำ รายละเอียดขององคป์ ระกอบฝายทดน้ำ ดังแสดงในภาพที่ 33 ฝา่ ยบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนักบริหารจดั การน้ำและอุทกวิทยา
การศกึ ษาเพอ่ื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวิศวกรรม 30 ภาพท่ี 33 แสดงองคป์ ระกอบของฝายทดน้ำ ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน สว่ นปรบั ปรุงบำรุงรักษา สำนักบริหารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
การศึกษาเพอื่ ประเมนิ ผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 31 4.3.2 เขอ่ื นระบายนำ้ /ทดนำ้ (Barrage/Diversion Dam) และประตรู ะบายน้ำ (Head Regulator) องค์ประกอบของเขื่อนระบายน้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ ประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบ คือ (1) สว่ น Protection เหนอื น้ำ (Upstream Protection Section) (2) ส่วนเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) (3) ส่วนควบคมุ นำ้ (Control Section) (4) ส่วนทา้ ยนำ้ (Downstream Concrete Section) (5) สว่ น Protection ท้ายน้ำ (Downstream Protection Section) รายละเอียดในแต่ละองค์ประกอบดังน้ี (1) สว่ น Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) มีหน้าที่ในการป้องกันการกัดเซาะของน้ำ วัสดุที่ใช้ในการทำสว่ นของกำแพงข้าง ได้แก่ กล่องลวด ตาขา่ ยเหล็กถักเคลือบสังกะสี (Mattresses) หนิ ทิง้ หนิ เรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น วสั ดุที่ใชใ้ นการทำส่วนของพื้น ได้แก่ กล่องลวดถักบรรจุหินและกรวดขนาดใหญ่ (Gabions) หินทิ้ง หินเรียง หินเรียงยาแนว เป็นต้น ประกอบไป ดว้ ยสว่ นของพน้ื และลาดด้านข้าง ดงั แสดงในภาพท่ี 34 และ 35 ภาพที่ 34 รูปตัดตามยาวสว่ น Protection เหนือน้ำ (Upstream Protection Section) ของประตูระบายน้ำ ภาพท่ี 35 ตวั อย่างส่วน Protection เหนือนำ้ ของประตรู ะบายน้ำ ฝา่ ยบำรงุ รักษาหวั งาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 32 (2) สว่ นเหนือน้ำ (Upstream Concrete Section) มีหน้าที่ยืดเส้นทางทางเดินของน้ำ หรือเพิ่มความมั่นคง รวมไปถึงลดแรงดันใต้ตัวเขื่อนระบาย น้ำ/ทดน้ำ และประตูระบายน้ำ ซึ่งในหลักการคำนวณดังกล่าวจะพิจารณาถึงความหนาของพื้นประกอบไปด้วย พน้ื และลาดดา้ นข้าง ดังแสดงในภาพท่ี 36 และ 37 ภาพที่ 36 รูปตัดตามยาวสว่ นเหนอื น้ำ (Upstream Concrete Section) ของประตูระบายนำ้ ภาพที่ 37 ตวั อย่างส่วนเหนือนำ้ (Upstream Concrete Section) ของประตรู ะบายน้ำ (3) ส่วนควบคมุ น้ำ (Control Section) เปน็ สว่ นท่ีใช้ในการควบคุมน้ำ เพ่ือยกระดบั น้ำเขา้ คลองส่งน้ำหรือเพื่อควบคุมระดับน้ำให้อยู่ใน ระดบั ทตี่ ้องการ ดงั แสดงในภาพท่ี 38 และ 39 ภาพท่ี 38 รูปตดั ตามยาวส่วนควบคุมน้ำ (Control Section) ของประตูระบายน้ำ ฝา่ ยบำรุงรักษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บรหิ ารจัดการนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 33 ภาพที่ 39 ตัวอยา่ งส่วนควบคุมนำ้ (Control Section) ของประตูระบายนำ้ (3.1) พ้ืนและตอม่อ พ้นื เปน็ องค์ประกอบทเ่ี ปน็ คอนกรีตเสรมิ เหลก็ ส่วนของตอม่อ เป็นแท่งหรือกำแพงท่ีทำดว้ ยหิน ก่อหรือคอนกรีตเสริมเหล็กสร้างอย่ใู นทางนำ้ โดยมจี ุดประสงค์เพื่อแบง่ ทางน้ำออกเปน็ ช่องๆ และ/หรอื รับ น้ำหนักในแนวด่ิงของอาคารต่างๆ ดังแสดงในภาพท่ี 40 ภาพท่ี 40 ตวั อย่างพ้นื และตอม่อ (3.2) กำแพงคอนกรตี (Concrete Wall) เปน็ กำแพงคอนกรีตด้านข้างที่อยูก่ ับตล่ิง ดงั แสดงในภาพท่ี 41 ภาพท่ี 41 ตัวอย่างกำแพงข้าง (Retaining Wall) ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหวั งาน ส่วนปรบั ปรุงบำรุงรกั ษา สำนกั บริหารจัดการนำ้ และอทุ กวทิ ยา
การศึกษาเพอ่ื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางด้านวศิ วกรรม 34 (3.3) ประตูระบายน้ำ (เฉพาะตัวบาน) เปน็ บานเหลก็ เพื่อใชเ้ ปิด-ปิดช่องทางน้ำ ลกั ษณะบานอาจจะเป็นบานตรงหรือโค้ง ประเภทบาน ระบายน้ำ แบ่งตามรูปแบบบาน ได้ 2 แบบ ไดแ้ ก่ บานระบายตรง (Slide Gate/ Roller Gate) และบานระบาย โคง้ (Radial Gate) - บานระบายตรง (Slide Gate/ Roller Gate) ส่วนใหญ่จะติดตั้งบริเวณช่วงต้นหรือช่วงปลายของคลองส่งน้ำที่จะเชือ่ มต่อกับแม่น้ำหรือทะเล โดยจะใช้เครื่องกว้านเป็นตัวยกบานระบายตรงขึ้น- ลงเพื่อปิด – เปิดให้น้ำไหลผ่านตัวอาคารไปในปริมาณท่ี ต้องการ บานระบายตรงจะมีขนาดความกว้างของตวั บานตั้งแต่ 3.00 เมตร 4.00 เมตร 5.00 เมตร 6.00 เมตร ความสูงของตัวบานมีขนาดตั้งแต่ 3.00 เมตร 3.50 เมตร 4.00 เมตร 4.50 เมตร 5.00 เมตร 5.50 เมตร และ 6.00 เมตร การทำงานของบานระบายตรงนั้นเมื่อหมุนเครื่องกว้านเพื่อให้บานระบายตรงเลื่อนขึ้น- ลง ลูกล้อท่ี ติดอยู่ที่ข้างบานทั้งสองด้านก็จะหมุนสัมผัสไปกับตัวเหล็กช่องลงบาน ช่วยลดแรงเสียดทานระหว่างหน้าสัมผัส ของตัวบานกบั เหลก็ ช่องลงบาน ดังแสดงในภาพท่ี 42 ภาพท่ี 42 ตัวอยา่ งบานระบายนำ้ แบบตรง - บานระบายโคง้ (Radial Gate) บานระบายโค้งส่วนใหญ่มักจะติดตั้งอยู่ตามเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำ โดยจะทำหน้าที่เป็นบาน ระบายน้ำล้นออกจากตัวเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำ (Service Spill Way) หรืออาจทำหน้าที่เป็นบานทดน้ำเพื่อ ยกระดับน้ำให้สูงขึ้น แล้วผันน้ำออกทางคลองส่งน้ำด้านซ้ายและดา้ นขวาของตัวเขื่อนอาคารบังคับนำ้ แต่ละแหง่ จะออกแบบใหม้ ีจำนวนบานระบายโค้งมากน้อยแตกต่างกันไปตามความกวา้ งของแม่น้ำ เชน่ ทเ่ี ขอื่ นเจ้าพระยามี 16 บาน เขื่อนป่าสักชลสทิ ธม์ ี 7 บาน เปน็ ต้น บานระบายโคง้ จะมีความกว้างของตัวบานตง้ั แต่ 3.00 เมตร 4.00 เมตร 6.00 เมตร และ 12.50 เมตร สว่ นความสูงจะมีขนาดตั้งแต่ 3.00 เมตร ถึง 8.00 เมตร การปิด –เปิดบาน ระบายโค้งจะใช้เครอ่ื งกว้านแบบเฟอื งทดกำลงั ใช้ลวดสลงิ ยกบาน ดังแสดงในภาพท่ี 43 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนกั บรหิ ารจดั การนำ้ และอทุ กวิทยา
การศึกษาเพื่อประเมินผลการบำรงุ รักษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 35 ภาพท่ี 43 ตัวอยา่ งบานระบายแบบโค้ง (3.4) อปุ กรณ์เคร่ืองกล/อปุ กรณ์ไฟฟ้า เปน็ อุปกรณบ์ ังคับนำ้ ท่ใี ช้ในการยกบานระบายใหเ้ คลอ่ื นที่ข้ึนเพื่อปล่อยน้ำให้ไหลผ่านตวั อาคารไป ในปริมาณที่ต้องการ หรือปล่อยให้บานระบายเคลือ่ นท่ลี งเพื่อปดิ ไม่ใหน้ ้ำไหลผา่ นตัวอาคาร ดงั แสดงในภาพท่ี 44 ภาพท่ี 44 ตัวอย่างอปุ กรณ์เครื่องกล/ไฟฟ้า (3.5) แท่งสลายพลังงานน้ำปลายรางเท (Chute Blocks) เปน็ แท่งคอนกรีตที่ตดิ กบั พ้ืนตรงปลายสุดของอาคารหรือรางเทในอาคารสลายพลงั งานน้ำ ดงั แสดงในภาพที่ 45 ภาพที่ 45 ตำแหน่งของแทง่ สลายพลงั งานน้ำปลายรางเท (Chute Blocks) ของประตูระบายน้ำ (3.6) ฟันตะเข้ (Floor Blocks) แท่งคอนกรีตที่หล่อติดกับพื้นอาคาร เพื่อสลายพลังงานที่เกิดจากการกระโจนตัวของน้ำ ดัง แสดงในภาพที่ 46 และ 47 ฝา่ ยบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรบั ปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบริหารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพือ่ ประเมินผลการบำรงุ รกั ษาหัวงานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 36 ภาพท่ี 46 ตำแหนง่ ของฟนั ตะเข้ (Floor Blocks) ของประตูระบายนำ้ ภาพที่ 47 แสดงลกั ษณะฟันตะเข้ (Floor Blocks) ของประตรู ะบายน้ำ (3.7) สะพานรถยนต์ (Bridge) เป็นทางสญั จรและบำรงุ รกั ษา ดังแสดงในภาพท่ี 48 ภาพท่ี 48 ตวั อยา่ งสะพานรถยนตข์ องเข่ือนระบายน้ำ (3.8) สะพานโครงยก (Operating Platform) พื้นโครงยกสำหรบั ตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ควบคุมการเปิด-ปิดบาน ดังแสดงในภาพที่ 49 ฝ่ายบำรุงรักษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รักษา สำนกั บริหารจดั การน้ำและอทุ กวทิ ยา
การศกึ ษาเพ่อื ประเมนิ ผลการบำรงุ รกั ษาหวั งานอาคารชลประทานทางดา้ นวศิ วกรรม 37 ภาพที่ 49 ตวั อย่างสะพานโครงยกของประตรู ะบายน้ำ (3.9) บานก้ันนำ้ และรอ่ งบาน (Bulkhead Gate, Stoplogs) บานกั้นน้ำ หรือท่อนกันน้ำ เป็นท่อนไม้ แท่งคอนกรีต หรือเหล็ก สำหรับใส่ในร่องบาน เพื่อปิด กั้นน้ำชั่วคราว เมื่อต้องการตรวจสอบหรือซ่อมแซมบานบังคับน้ำ ในกรณีที่ท่อนกั้นน้ำถูกใช้เพื่อควบคุมการไหล ของนำ้ ผา่ นอาคาร จะเรียกวา่ Regulation Planks ดงั แสดงในภาพที่ 50 และ 51 ภาพท่ี 50 ตวั อย่างร่องบานสำหรบั ใส่ Bulkhead Gate/Stoplogs ของประตูระบายนำ้ ภาพท่ี 51 ตัวอย่างบานกน้ั น้ำ (Bulkhead Gate) ของประตรู ะบายน้ำ (3.10) ประตูเรือสญั จร (Navigation Lock) อาคารที่สรา้ งขนึ้ เพอ่ื ให้เรอื ผา่ นไปมาในบริเวณทางนำ้ ท่มี รี ะดบั ต่างกนั ดังแสดงในภาพท่ี 52 ฝ่ายบำรงุ รกั ษาหัวงาน ส่วนปรับปรุงบำรงุ รกั ษา สำนักบรหิ ารจัดการนำ้ และอุทกวิทยา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176