สตู รทอ่ งจ�ำ บาลไี วยากรณ์ พร้อมหลักสัมพันธ์ สำ�นักเรยี นวดั อาวธุ วิกสิตาราม
สตู รทอ่ งจำ� บาลไี วยากรณ์ พร้อมหลักสัมพนั ธ์ สำ� นักเรียนวดั อาวธุ วิกสิตาราม บางพลดั กรุงเทพมหานคร
สูตรทอ่ งจ�ำ บาลีไวยากรณ์ พร้อมหลักสัมพันธ์ สำ� นกั เรียนวัดอาวธุ วิกสิตาราม กรุงเทพมหานคร ปี ท่ีพิมพ์ พฤษภาคม ๒๕๖๑ วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือย่อเน้ือหาบาลีไวยากรณ์ จากพระนิพนธ์ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ๒. เพ่อื ใชเ้ ป็นคมู่ อื ทม่ี ลี ำ� ดบั เน้ือหาและถอ้ ยคำ� เป็นอนั เดยี วกนั สำ� หรบั ครแู ละ นักเรยี น ๓. เพ่ือถวาย/อภนิ ันทนาการแก่นักเรยี นบาลที วั่ ไป ท่ีปรกึ ษา พระเทพปัญญามุนี เจ้าสำ� นักเรยี นวดั อาวุธวิกสิตาราม พระราชดลิ ก ประธานอ�ำนวยการศกึ ษา พระครูพันธศีลาจารย ์ รองประธานอ�ำนวยการศึกษา พระศรวี นิ ยาภรณ์ รองประธานอ�ำนวยการศกึ ษา กรรมการผู้ตรวจชำ� ระ พระราชดลิ ก ป.ธ.๙, Ph.D. พระศรวี นิ ยาภรณ์ ป.ธ.๗, Ph.D. พระมหาอภชิ ัย อภิชโย ป.ธ.๙, M.Phil. พระมหามฆวินทร์ ปรุ ิสุตฺตโม ป.ธ.๗, Ph.D. พระมหาสมาน ธมฺมวชิโร ป.ธ.๙ พระมหาประพันธ์ สิรนิ ธฺ โร ป.ธ.๙ พระมหาสราวธุ ญาณโสภโณ ป.ธ.๙ พระมหาพิสษิ ฐ สทุ ฺธสิ วํ โร ป.ธ.๙ สามเณรพรภวิทย์ อปุ ชัย ป.ธ.๙ พิมพ์ท่ี : นิติธรรมการพิมพ์ ๗๖/๒๕๑-๓ หมู่ ๑๕ ต.บางมว่ ง อ.บางใหญ่ จ.นนทบรุ ี ๑๑๑๔๐ โทร. ๐-๒๔๐๓-๔๕๖๗-๘, ๐-๒๔๔๙-๒๕๒๕, ๐๘๑-๓๐๙-๕๒๑๕ E-mail : niti2512@hotmail.com, niti2512@yahoo.co.th
คำ�น�ำ ภาษาบาลีมีแบบแผนไวยากรณ์ที่ชัดเจน ผู้เรียนจะต้องจ�ำหลักให้ได้ และเข้าใจโครงสร้างของไวยากรณ์ทัง้ หมดก่อน จึงจะเรียนแปลและแต่ง ภาษาบาลีได้ไม่ติดขัด การท่องจ�ำหลักไวยากรณ์ในส่วนอักขรวิธีและวจี วภิ าคใหข้ ้นึ ใจ จึงเป็นกจิ ที่ตอ้ งท�ำของผเู้ ร่ิมตน้ เม่ือจ�ำไดแ้ ล้วก็ยงั ตอ้ งทบทวนอยู่เนืองๆ เพ่ือไมใ่ หเ้ ลอื นหายและเกิด ความคลอ่ งแคลว่ ชำ� นาญ อย่างท่ีเรียกกนั วา่ “แมน่ ไวยากรณ์” หนังสือ “สูตรท่องจ�ำ บาลีไวยากรณ์ พรอ้ มหลักสัมพันธ์” นี้ คณาจารยข์ องสำ� นักเรยี นวดั อาวุธวกิ สิตาราม รเิ รม่ิ จัดพิมพใ์ นรปู ของการทำ� ส�ำเนาดว้ ยเคร่อื งโรเนียว ตงั้ แตป่ ี พ.ศ.๒๕๔๓ เพ่อื เป็นคมู่ ือแก่นักเรียนทุก ชัน้ ของส�ำนักเรียนท่ีมีการเรียนการสอนอยู่ขณะนั้น อีกทัง้ ยังได้ปรับแก้ เน้ือหาใหส้ มบรู ณ์ยิ่งข้นึ เร่อื ยมา และไดจ้ ดั พมิ พเ์ พ่อื ถวายพระภิกษุสามเณร นักเรยี นบาลีอกี ๓ ครงั้ การจัดพิมพ์ในครัง้ ท่ี ๔ นี้ เป็ นการยกเคร่ืองครัง้ ใหญ่ ได้รับเมตตา จากผู้ทรงวุฒิเป็ นเปรียญธรรม ๙ ประโยค ของส�ำนักเรียน ร่วมกันตรวจ ชำ� ระใหม่ทงั้ หมด และจัดรปู แบบให้น่าใชย้ ิง่ ข้นึ หวังว่าจะอำ� นวยประโยชน์ ต่อนักเรียนบาลีได้เป็ นอย่างดี สำ� นักเรียนวัดอาวุธวกิ สติ าราม www.facebook.com/Watawutvikasitarambalischool/
สารบญั สมัญญาภธิ าน 9 สระ 9 พยญั ชนะ 10 ฐานกรณข องอกั ขระ 11 เสียงอักขระ 12 โฆสะ - อโฆสะ 12 สิถิล - ธนิต 13 เสยี งของพยัญชนะ 13 พยัญชนะสงั โยค 13 สนธ ิ 15 สระสนธิ 16 พยญั ชนะสนธิ 19 นิคหติ สนธิ 21 นาม 23 นามนาม 23 คุณนาม 23 สัพพนาม 24 ลงิ ค ์ 24 วจนะ 28 วิภัตติ 28
อายตนิบาต 29 การันต์ 30 กตปิ ยศัพท ์ 41 มโนคณะศพั ท 47 สังขยาคุณนาม 50 สพั พนาม 57 อพั ยยศพั ท 65 อปุ สคั 65 นิบาต 66 ปจ จยั 71 อาขยาต 73 วภิ ตั ต ิ 73 กาล 75 บท 78 วจนะ 78 บุรษุ 78 ธาต ุ 79 สกมั มธาต–ุ อกัมมธาตุ 8๑ วาจก 8๑ ปจ จัย 8๓ ปัจจยั พิเศษ 8๓ อสฺ ธาต ุ 8๔ กิตก 8๖ กริ ยิ ากิตก ๘๖ วิภตั ตแิ ละวจนะ ๘๖
กาล ๘๖ วาจก ๘๗ ปจจยั แหงกริ ิยากติ ก ๘๘ กติ ปจ จยั ๘๙ กติ กจิ จปจ จัย ๙๐ นามกติ ก ๙๓ สาธนะ ๙๓ ปจจัยแหง นามกติ ก 9๖ วิเคราะหในกจิ จปจจยั 9๖ วิเคราะหใ์ นกติ กิจจปจจัย 9๘ สมาส 10๔ กัมมธารยสมาส 10๔ ทคิ ุสมาส 10๖ ตัปปุริสสมาส 10๗ ทวนั ทวสมาส 1๐๙ อพั ยยีภาวสมาส 11๐ พหพุ พหิ ิสมาส 11๑ สมาสทอง 11๖ สมาสทแ่ี ตกตางกัน 11๗ ตทั ธติ 1๑๘ สามัญญตัทธติ 1๑๘ โคตตตัทธติ 1๑๘ ตรัตยาทิตัทธิต 12๐ ราคาทติ ัทธิต 12๑ ชาตาทิตัทธิต 12๒
สมหุ ตทั ธิต 12๓ ฐานตทั ธิต 12๔ พหุลตัทธติ 12๕ เสฏฐตทั ธติ 12๖ ตทสั สตั ถิตทั ธติ 12๗ ปกตติ ัทธติ 13๐ ปูรณตทั ธิต 13๐ สังขยาตัทธติ 13๒ วภิ าคตัทธิต 13๒ ภาวตทั ธติ 13๒ อัพยยตทั ธิต 13๔ หลกั สมั พนั ธไ์ ทย 13๕
บาลไี วยากรณ บาลีไวยากรณ แบง เปน ๔ ภาค คอื อักขรวธิ ี วจีวิภาค วากยสมั พนั ธ ์ ฉนั ทลกั ษณะ อักขรวิธี วาดว ยอกั ษร แบงเปน ๒ คือ สมญั ญาภธิ าน การแสดงช่อื อกั ษรทเี่ ปน สระและพยญั ชนะ พรอ ม ทงั้ ฐานกรณ สนธิ การตอ อกั ษรทอ่ี ย่ใู นค�ำอ่นื ใหเ น่ืองเป็นอันเดยี วกนั วจีวิภาค แบงคำ� พูดออกเปน ๖ สวน คือ นาม อพั ยยศพั ท อาขยาต กติ ก์ สมาส ตัทธติ วากยสมั พนั ธ วาดว ยการกและประพนั ธ ผกู คำ� พดู ทแี่ บง ไวใ นวจวี ภิ าค ใหเขาเปน ประโยคอนั เดยี วกนั ฉันทลักษณะ แสดงวิธีแตงฉันท คือ คาถาท่ีเปนวรรณพฤทธิ์และ มาตราพฤทธิ์
สมัญญาภิธาน เสียงก็ดี ตัวหนังสอื กด็ ี ช่อื วาอักขระ อักขระ แปลวา ไมร จู ักสนิ้ , ไมเปนของแขง็ อกั ขระทใี่ ชใ นภาษาบาลี มี ๔๑ ตัว คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ๘ ตวั นี้ ช่ือวา สระ ก ข ค ฆ ง จฉชฌ ฏ ฑ ฒ ณ ตถทธน ป ผ พ ภ ม ย ร ล ว ส ห ฬ อํ ๓๓ ตวั นี้ ช่อื วา พยัญชนะ สระ อักขระ ๘ ตวั คือ ตัง้ แต อ ถึง โอ ช่อื วา สระ เพราะออกเสียงไดต าม สมัญญาภิธาน| ล�ำพงั ตน และทำ� พยัญชนะใหออกเสียงได 9 สระ ๘ ตวั นี้ ช่อื วา นิสสยั เพราะเปน ที่อาศัยของพยัญชนะ พยญั ชนะ ตองอาศัยสระจึงออกเสียงได สระ ๓ ตัว คอื อ อิ อุ ช่อื วา รสั สะ มเี สียงสัน้ เชน อติ, ครุ สระ ๕ ตัว คอื อา อี อู เอ โอ ช่อื วา ทฆี ะ มเี สยี งยาว เชน ภาค,ี วธ,ู เสโข เอ โอ ๒ ตัวนี้ ถา้ มพี ยัญชนะสงั โยคอยหู ลัง เปน รสั สะ เชน เสยฺโย, โสตถฺ ิ
สระทเ่ี ปน ทฆี ะลว น และสระทเี่ ปน รสั สะมพี ยญั ชนะสงั โยคหรอื นิคคหติ อยหู ลัง ช่อื วา่ ครุ มเี สียงหนัก เชน ภปู าโล, เอส,ี มนุสสฺ นิ โฺ ท, โกเสยยฺ ํ สระท่ีเปนรัสสะลวน ไมมีพยัญชนะสังโยคหรือนิคคหิตอยูหลัง ช่ือว่า ลหุ มีเสยี งเบา เชน ปต,ิ มุนิ สระจดั เปน ๓ คู คือ อ อา เรยี กวา อ วรรณะ อิ อ ี เรยี กวา อิ วรรณะ อุ อู เรยี กวา อุ วรรณะ เอ โอ ๒ ตวั นี้ เกดิ ใน ๒ ฐาน เรียกวา สงั ยตุ ตสระ พยัญชนะ อักขระ ๓๓ ตัว มี ก เปนตน มีนิคคหิตเปนที่สุด ช่ือวา พยัญชนะ แปลวา ท�ำเน้ือความใหปรากฏ พยัญชนะทัง้ ๓๓ ตัวนี้ ช่ือวา นิ สสิต เพราะตองอาศัยสระจึงออกเสียงได พยัญชนะ ๓๓ ตัวนี้ จัดเปน ๒ พวก คือ วรรค ๑ อวรรค ๑ พยัญชนะวรรค จดั เปน ๕ คอื ก ข ค ฆ ง เรียกวา ก วรรค จ ฉ ช ฌ เรยี กวา จ วรรค ฏ ฑ ฒ ณ เรยี กวา ฏ วรรค ต ถ ท ธ น เรยี กวา ต วรรค ป ผ พ ภ ม เรยี กวา ป วรรค |สมัญญาภิธาน พยัญชนะ ๒๕ ตวั นี้ เปน พวกๆ กันตามฐานกรณที่เกิด จงึ ช่อื วา วรรค พยัญชนะ ๘ ตัว คือ ย ร ล ว ส ห ฬ อํ เรียกวา อวรรค เพราะไมเ ปนพวกเปน หมูกันตามฐานกรณท เ่ี กดิ พยัญชนะ คือ ํ ตามสาสนโวหาร เรียกวา นิคคหิต, ส่วนในคัมภีร 10 ศัพทศาสตร เรยี กวา อนสุ าร
นิคคหิต แปลวา กดสระ หรือ กดกรณ (กรณ์ คือ อวยั วะทท่ี �ำเสียง) อนุสาร แปลวา ไปตามสระ เพราะตอ งตามหลงั สระ คอื อ อิ อุ เสมอ เช่น อหํ, เสตุํ, อกาสึ ฐานกรณของอกั ขระ ฐานทต่ี งั้ ทเี่ กดิ ของอกั ขระมี ๖ คอื กณั ฐะ คอ, ตาลุ เพดาน, มทุ ธา ศรี ษะ หรอื ปมุ เหงอื ก, ทันตะ ฟน , โอฏฐะ ริมฝปาก, นาสิกะ จมูก อกั ขระท่เี กดิ ในฐานเดียว อ อา, ก ข ค ฆ ง, ห ๘ ตัวนี้ เกดิ ในคอ เรียกวา กณั ฐชะ อิ อี, จ ฉ ช ฌ , ย ๘ ตัวนี้ เกิดทเี่ พดาน เรยี กวา ตาลุชะ ฏ ฑ ฒ ณ, ร ฬ ๗ ตวั นี้ เกดิ ท่ศี รี ษะหรือปุมเหงือก เรยี กวา มุทธชะ ต ถ ท ธ น, ล ส ๗ ตัวนี้ เกดิ ทีฟ่ น เรยี กวา ทันตชะ อุ อู, ป ผ พ ภ ม ๗ ตวั นี้ เกดิ ที่รมิ ฝปาก เรียกวา โอฏฐชะ นิคคหิต ( ํ ) เกดิ ในจมูก เรียกวา นาสกิ ฏั ฐานชะ (พยัญชนะท่ีสุดวรรค ๕ ตัว คอื ง ณ น ม เกิดในฐาน ๒ ฐาน) อักขระท่ีเกดิ ใน ๒ ฐาน เอ เกิดใน ๒ ฐาน คือ คอและเพดาน เรียกวา กัณฐตาลุชะ สมัญญาภิธาน| โอ เกิดใน ๒ ฐาน คอื คอและริมฝป าก เรียกวา กณั โฏฐชะ พยัญชนะทส่ี ุดวรรค ๕ ตัว เกิดใน ๒ ฐาน คอื ตามฐานของตนๆ และ 11 จมูก เรียกวา สกัฏฐานนาสกิ ฏั ฐานชะ ว เกิดใน ๒ ฐาน คอื ฟน และรมิ ฝป าก เรยี กวา ทนั โตฏฐชะ ห ท่ปี ระกอบดวยพยัญชนะ ๘ ตัว คอื ณ น ม ย ล ว ฬ เกิดแตอก
|สมัญญาภิธานเรียกว่า อุรชา, ที่ไมไดประกอบ เกิดในคอตามฐานเดิมของตน เรียกว่า กณั ฐชะ กรณ คอื ที่ทำ� เสยี งของอักขระ มี ๔ คือ ชวิ หามัชฌะ ทามกลางลิน้ ชิวโหปั คคะ ถัดปลายลนิ้ เขามา ชวิ หคั คะ ปลายลนิ้ สกฏั ฐานะ ฐานของตน ท่ามกลางลนิ ้ เปน กรณของอักขระท่เี ปน ตาลุชะ ถดั ปลายลนิ ้ เขา มา เปน กรณของอักขระทเี่ ปน มทุ ธชะ ปลายลนิ ้ เปน กรณข องอกั ขระทเ่ี ปน ทนั ตชะ ฐานของตน เปนกรณข องอักขระที่เหลือ เสยี งอกั ขระ สระเสยี งสนั้ มมี าตราเดยี ว สระเสยี งยาว มี ๒ มาตรา สระทม่ี พี ยญั ชนะ สงั โยคอยหู่ ลงั มี ๓ มาตรา พยัญชนะทกุ ตัว มีก่ึงมาตรา โฆสะ - อโฆสะ พยญั ชนะท่ีมีเสยี งกอง เรยี กวา โฆสะ ทีม่ เี สยี งไมกอ ง เรยี กวาอโฆ สะ พยัญชนะที่ ๑ ที่ ๒ ในวรรคทัง้ ๕ คือ ก ข, จ ฉ, ฏ , ต ถ, ป ผ, และ ส ๑๑ ตัวนี้ เรียกวา่ อโฆสะ พยัญชนะที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ในวรรคทัง้ ๕ คือ ค ฆ ง, ช ฌ , ฑ ฒ ณ, ท ธ น, พ ภ ม, และ ย ร ล ว ห ฬ ๒๑ ตวั นี้ เปน โฆสะ นิคคหิต ( ํ ) นักปราชญผ ูรศู ัพทศาสตรประสงคเ์ ปน โฆสะ สวน นักปราชญฝ า ยศาสนาประสงคเ ปน โฆสาโฆสวมิ ตุ ติ คอื พน จากโฆสะและ 12 อโฆสะ
เสยี งนิคคหติ นี้ อา่ นตามวธิ ภี าษาบาลี มเี สยี งเหมอื น งฺ สะกด อา่ นตาม วธิ ีสนั สกฤต มเี สียงเหมือน มฺ สะกด สิถลิ - ธนิต พยัญชนะท่ีถูกฐานของตนหยอนๆ ช่อื วา สิถิล พยญั ชนะทถ่ี กู ฐานของตนหนัก บนั ลือเสยี งดัง ช่ือวา ธนิต พยัญชนะท่ี ๑ และท่ี ๓ ในวรรคทงั้ ๕ เปน สิถลิ พยัญชนะท่ี ๒ และท่ี ๔ ในวรรคทงั้ ๕ เปน ธนิ ต ในคมั ภรี ก จั จายนเภทแสดงไวว า พยญั ชนะทส่ี ดุ วรรค ๕ ตวั กเ็ ปน สถิ ลิ แตในคัมภีรอ่นื ๆ ทานมไิ ดกลาวไว พยัญชนะอวรรค ไมจ่ ัดเป็นสิถลิ ธนิต เสยี งของพยัญชนะ พยัญชนะท่เี ปน สิถลิ อโฆสะ มเี สยี งเบากวาทกุ พยัญชนะ พยัญชนะทีเ่ ปน ธนิตอโฆสะ มเี สียงหนักกวา สถิ ิลอโฆสะ พยัญชนะท่ีเปน สถิ ลิ โฆสะ มเี สยี งดงั กวา ธนิตอโฆสะ พยญั ชนะทเ่ี ปน ธนิตโฆสะ มเี สยี งกองกวา สิถลิ โฆสะ พยญั ชนะสงั โยค ลกั ษณะที่จะประกอบพยญั ชนะสงั โยคไดน ัน้ ดังนี้ สมัญญาภิธาน| พยญั ชนะที่ ๑ ซอ นหนาพยญั ชนะท่ี ๑ และที่ ๒ ในวรรคของตน พยญั ชนะที่ ๓ ซอ นหนาพยญั ชนะที่ ๓ และที่ ๔ ในวรรคของตน 13 พยญั ชนะท่ี ๕ ซอ นหนาพยญั ชนะในวรรคของตนไดท งั้ ๕ ตวั ยกเวน แตต่ วั ง ใชเ้ ปน ตวั สะกดอยางเดยี ว ซอ้ นหน้าตวั เองไมไ่ ด้ พยญั ชนะอวรรค ๓ ตวั คอื ย ล ส ซอ้ นหน้าตวั เองได้ เชน่ เสยโฺ ย, อสโฺ ส พยัญชนะอวรรค ๔ ตัว คอื ย ร ล ว ถาอยูหลังพยญั ชนะตวั อ่ืน ออก
|สมัญญาภิธานเสยี งผสมกบั พยญั ชนะตัวหนา เชน่ คารยหฺ ,ํ ชวิ ฺหา ส เปนเสียง อุสุมะ เปนตัวสะกดของสระตัวหนา ออกเสียงคร่ึงหน่ึง พอใหร ูว าเปน ส สะกด ห ถาอยูหนาพยัญชนะอ่ืน ก็ท�ำใหสระที่อยูหนาของตนออกเสียงมีลม มากข้นึ เหมือนค�ำวา พรฺ หมฺ ถามีพยญั ชนะ ๘ ตัว คือ ณ น ม ย ล ว ฬ น�ำหนา มสี �ำเนียงผสมเขากับพยญั ชนะตัวนัน้ พยัญชนะ ๗ ตวั คือ ย ร ล ว ส ห ฬ เปน อฑั ฒสระ มเี สียงก่งึ สระ คือก่ึงมาตรา เพราะพยัญชนะเหลานี้ บางตัวก็รวมลงในสระเดียวกันด้วย พยัญชนะอ่ืน ออกเสียงพรอมกันได บางตัวเปนตัวสะกด ออกเสียงหนอย หน่ึงพอใหร ูวาเปน ตัวสะกด 14
สนธิ สนธิ คอื วิธตี อศัพทแ์ ละอกั ขระ เพ่ือยนอกั ขระใหนอยลง เปน อปุ การะ ในการแตงฉนั ท และทำ� ใหคำ� พดู สละสลวย เรียกว่า สนธิ การตอ มี ๒ คอื ตอศัพทท่ีมีวิภัตติใหเน่ืองดวยศัพทที่มีวิภัตติ เชน จตฺตาโร + อิเม ตอเปน จตตฺ าโรเม ตอบทสมาส ยนอักขระใหนอยลง เชน กต + อุปกาโร ตอเปน กโตปกาโร การตอ อักขระดวยอกั ขระนัน้ จัดเปน ๓ คือ สระสนธิ ตอสระ พยญั ชนะสนธิ ตอพยัญชนะ นิคคหิตสนธิ ตอนิคคหติ สนธิกิรโิ ยปกรณ ไดแ ก วธิ เี ปนอปุ การะแกการท�ำสนธิ มี ๘ อยาง คอื โลโป ลบ สนธิ| อาเทโส แปลง อาคโม ลงอักษรใหม 15 วิกาโร ท�ำใหผ ดิ จากของเดมิ ปกติ ปรกต,ิ คงที่ ทีโฆ ทำ� ใหยาว รสฺสํ ทำ� ใหสัน้ สญโฺ โค ซอนตวั อกั ษร
|สนธิ สระสนธิ สระสนธิ มสี นธกิ ริ โิ ยปกรณ ๗ อยา่ ง คอื โลโป อาเทโส อาคโม วกิ าโร ปกติ ทโี ฆ รสฺสํ ๑. โลปสระสนธิ มี ๒ คอื ลบสระหนา ๑ ลบสระหลัง ๑ สระท่ีสุดของศพั ทห นา เรยี กวา สระหนา สระหนาของศพั ทห ลัง เรยี กวา สระเบ้อื งปลาย หรือสระหลัง เม่ือสระทัง้ ๒ นี้ ไมมีพยัญชนะอ่ืนคัน่ ในระหวาง ลบไดตัวหน่ึง ถามี พยัญชนะคนั่ ลบไมไ ด - ลบสระหน้า มวี ธิ ดี งั นี้ สระหน้าเป็นรสั สะ สระหลงั เป็นทฆี ะหรอื มพี ยญั ชนะสงั โยค ลบสระ หน้าอยา่ งเดียว เช่น ยสสฺ + อินฺทฺริยานิ เป็น ยสฺสนิ ทฺ ฺรยิ านิ โนหิ + เอตํ เป็น โนเหตํ สเมตุ + อายสฺมา เป็น สเมตายสมฺ า สระทัง้ สองเป็นรัสสะ มรี ปู เสมอกัน (คือเป็น อ หรือ อิ หรือ อุ ทัง้ สองตวั ) ลบสระหน้าแลว้ ทฆี ะสระหลงั เช่น ตตฺร + อยํ เป็น ตตรฺ ายํ สระทงั้ สองเป็นรสั สะ มรี ปู ไมเ่ สมอกนั ลบสระหน้า ไมต่ อ้ งทฆี ะ เชน่ จตูหิ + อปาเยหิ เป็น จตูหปาเยหิ สระหน้าเป็นทฆี ะ สระหลงั เป็นรสั สะ ลบสระหน้าแลว้ ทฆี ะสระหลงั เชน่ สทฺธา + อธิ เป็น สทธฺ ีธ - ลบสระหลัง มีวธิ ดี งั นี้ สระทัง้ สอง มรี ปู ไมเ่ สมอกัน ลบสระหลัง เชน่ จตตฺ าโร + อเิ ม เป็น จตตฺ าโรเม 16 กินนฺ ุ + อิมา เป็น กินนฺ มุ า
นิคคหติ อยู่หน้า ลบสระหลงั เช่น อภนิ นทฺ ุํ + อติ ิ เป็น อภนิ นฺทุนฺติ ๒. อาเทสสระสนธิ มี ๒ คือ แปลงสระเบ้อื งหนา ๑ แปลงสระเบ้ืองหลงั ๑ สนธิ| - แปลงสระหนา มวี ธิ ีดงั นี้ ถา้ อิ เอ, อุ โอ อยู่หน้า มีสระอยู่หลงั ใหแ้ ปลง อิ เอ เป็น ย, แปลง อุ โอ เป็น ว เฉพาะ อิ ถา้ มพี ยญั ชนะซอ้ นกนั ๓ ตวั ใหล้ บพยญั ชนะทมี่ รี ปู เหมอื น กนั ได้ตวั หน่ึง เชน่ ปฏิสนฺฐารวุตฺติ + อสฺส เป็น ปฏิสนฺฐารวตุ ฺยสฺส อคคฺ ิ + อาคารํ เป็น อคฺยาคารํ เอา เอ เป็น ย เช่น เต + อสสฺ เป็น ตยฺ สฺส, เม + อยํ เป็น มยฺ ายํ เต + อหํ เป็น ตยฺ าหํ เอา โอ เป็น ว เช่น อถโข + อสสฺ เป็น อถขฺวสฺส เอา อุ เป็น ว เชน่ พหุ + อาพาโธ เป็น พหวฺ าพาโธ จกฺขุ + อาปาถํ เป็น จกฺขวฺ าปาถํ - แปลงสระหลัง มวี ิธีดงั นี้ สระอยหู่ น้า เบ้อื งหลงั เป็น เอว ศพั ท์ แปลง เอ เป็น ริ แลว้ รสั สะสระ หน้า เชน่ ยถา + เอว เปน ยถริว ตถา + เอว เปน ตถรวิ ๓. อาคมสระสนธิ มี ๒ ดังนี้ 17 โอ อยหู นา พยัญชนะอยูห ลัง ลบ โอ แลว ลง อ อาคม เช่น
|สนธิ โส + สลี วา เปน สสีลวา โส + ปญฺ วา เปน สปญฺวา เอโส + ธมโฺ ม เปน เอสธมโฺ ม พยัญชนะอยูหลงั ลง โอ อาคม เช่น ปร + สหสสฺ ํ เปน ปโรสหสสฺ ํ สรท + สตํ เปน สรโทสตํ ๔. วกิ ารสระสนธิ มี ๒ คือ วิการสระหนา ๑ วกิ ารสระหลงั ๑ - วิการสระหน้า มวี ิธดี ังนี้ ลบสระหลงั แล้ว วิการ อิ เป็น เอ, วิการ อุ เป็น โอ เชน่ มุนิ + อาลโย เป็น มุเนลโย, สุ + อตถฺ ี เป็น โสตฺถี - วิการสระ มีวธิ ดี งั นี้ ลบสระหน้าแล้ว วิการ อิ เป็น เอ, วิการ อุ เป็น โอ เช่น มาลุต + อิรติ ํ เปน มาลเุ ตริต ํ พนฺธุสสฺ + อิว เปน พนฺธสุ เฺ สว น + อเุ ปติ เปน โนเปติ อทุ กํ + อมุ กิ ชาตํ เปน อทุ โกมกิ ชาตํ (ลบนิคคหติ ดว ยโลปสระสนธ)ิ ๕. ปกติสระสนธิ คงรูปไวอ้ ยางเดิม เช่น โก + อิมํ เปน โกอมิ ํ ๖. ทฆี สระสนธิ มี ๒ คอื ทฆี ะสระหนา ๑ ทีฆะสระหลงั ๑ - ทีฆะสระหนา มวี ิธดี ังนี้ ลบสระหลงั ทีฆะสระหนา เช่น กสึ ุ + อิธ เปน กึสูธ สาธุ + อิติ เปน สาธูติ พยัญชนะอยูห ลงั ทฆี ะสระหน้า เชน่ มุนิ + จเร เปน มนุ ีจเร 18
- ทีฆะสระหลงั มวี ธิ ดี งั นี้ ลบสระหนา ทฆี ะสระหลงั เช่น สทฺธา + อธิ เปน สทธฺ ธี จ + อุภยํ เปน จภู ยํ ๗. รสั สสระสนธิ พยัญชนะ หรอื เอว ศัพท์ อยู่หลงั รัสสะสระหน้า โภวาที + นาม เปน โภวาทินาม ยถา + เอว เปน ยถรวิ พยญั ชนะสนธิ พยัญชนะสนธิ มสี นธกิ ริ ิโยปกรณ ๕ อย่าง คือ โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ สญฺโโค ๑. โลปพยัญชนะสนธิ นิคคหิตอยู่หน้าสระอยู่หลัง ลบสระหลัง ถ้ามีพยัญชนะซ้อนกัน ๒ ตัว ลบเสียตัวหน่ึง เช่น เอวํ + อสฺส เปน เอวํส ปุปฺผํ + อสฺสา เปน ปปุ ฺผํสา ๒. อาเทสพยญั ชนะสนธิ สระอยหู ลงั แปลง ติ เปน ตฺย แปลง ตยฺ เปน จฺจ เช่น อิติ + เอวํ เปน อจิ เฺ จว,ํ ปติ + อุตฺตรติ ฺวา เปน ปจจฺ ตุ ฺตรติ วฺ า แปลง ธ เปน ท เชน่ เอกํ + อิธ + อหํ เปน เอกมิทาหํ แปลง ธ เปน ห เชน่ สาธุ + ทสสฺ นํ เปน สาหทุ สสฺ นํ แปลง ท เปน ต เช่น สุคโท เปน สคุ โต แปลง ต เปน ฏ เช่น ทกุ กฺ ตํ เปน ทุกฺกฏํ สนธิ| แปลง ต เปน ธ เช่น คนตฺ พโฺ พ เปน คนฺธพฺโพ 19
แปลง ต เปน ตรฺ เชน่ อตตฺ โช เปน อตรฺ โช แปลง ค เปน ก เช่น กลุ ุปโค เปน กุลปุ โก แปลง ร เปน ล เช่น มหาสาโร เปน มหาสาโล แปลง ย เปน ช เช่น ควฺ โย เปน คฺวโช แปลง ว เปน พ เช่น กุวโต เปน กพุ ฺพโต แปลง ย เปน ก เช่น สย ํ เปน สกํ แปลง ช เปน ย เช่น นชิ ํ เปน นิยํ แปลง ต เปน ก เชน่ นิยโต เปน นิยโก แปลง ต เปน จ เช่น ภโต เปน ภจฺโจ แปลง ป เปน ผ เช่น นิปปฺ ตตฺ ิ เปน นิปฺผตตฺ ิ แปลง อภิ เปน อพภฺ เช่น อภิ + อคุ คฺ จฉฺ ต ิ เปน อพภฺ คุ ฺคจฺฉติ แปลง อธิ เปน อชฺฌ เชน่ อธิ + โอกาโส เปน อชโฺ ฌกาโส แปลง อว เปน โอ เชน่ อว + นทธฺ า เปน โอนทฺธา ๓. อาคมพยญั ชนะสนธิ พยญั ชนะอาคมมี ๘ ตวั คือ ย ว ม ท น ต ร ฬ สระอยหู ลัง ลงพยญั ชนะอาคม ๘ ตัว นี้ ดงั นี้ ยถยิทํ ย อาคม เช่น ยถา + อทิ ํ เปน วทุ ิกฺขติ ว อาคม เช่น อุ + ทิกขฺ ติ เปน ครเุ มสสฺ ติ ม อาคม เชน่ ครุ + เอสฺสติ เปน อตตฺ ทตโฺ ถ ท อาคม เชน่ อตฺต + อตฺโถ เปน |สนธิ น อาคม เชน่ อิโต + อายติ เปน อิโตนายติ ต อาคม เช่น ตสมฺ า + อิห เปน ตสฺมาตหิ ร อาคม เช่น สพภฺ ิ + เอว เปน สพภฺ ิเรว ฬ อาคม เชน่ ฉ + อายตนํ เปน ฉฬายตนํ ในคมั ภรี ส์ ทั ทนีติปกรณ์ วา ลง ห อาคมได เชน่ 20 สุ + อุชุ เปน สุหชุ ุ, สุ + อุฏติ ํ เปน สหุ ุฏติ ํ
๔. ปกตพิ ยญั ชนะสนธิ คงรปู ไวตามปกติเดมิ เช่น สาธุ คงรปู เปน สาธุ ๕. สญั โญคพยัญชนะสนธิ มี ๒ คอื ซอ นพยญั ชนะท่มี ีรูปเหมือนกนั ๑ ซอ นพยัญชนะท่มี ีรปู ไมเหมือนกัน ๑ - ซอนพยัญชนะท่มี ีรปู เหมือนกัน มวี ิธดี งั นี้ เอาพยัญชนะที่ ๑ ซอ้ นหน้าพยัญชนะที่ ๑, เอาพยัญชนะท่ี ๓ ซ้อน หน้าพยัญชนะที่ ๓, เอาพยัญชนะท่ี ๕ ซอ้ นหน้าพยญั ชนะที่ ๕ ในวรรคของ ตน ยกเว้น ง ซ้อนหน้าตัวเองไม่ได้ เชน่ อิธ + ปโมทติ เปน อธิ ปปฺ โมทติ, จาตุ + ทสี เปน จาตุทฺทสี - ซอนพยัญชนะท่มี รี ปู ไมเหมือนกนั มวี ธิ ีดังนี้ เอาพยัญชนะท่ี ๑ ซ้อนหน้าพยัญชนะที่ ๒, เอาพยัญชนะที่ ๓ ซอ้ น หน้าพยญั ชนะท่ี ๔ ในวรรคของตน เช่น จตฺตาริ + านานิ เปน จตตฺ ารฏิ านานิ เอโสวจ + ฌานผโล เปน เอโสวจชฌฺ านผโล นคิ คหิตสนธิ นิคคหติ สนธิ มสี นธกิ ริ โิ ยปกรณ ๔ อยา่ ง คอื โลโป อาเทโส อาคโม ปกติ ๑. โลปนิคคหติ สนธิ สนธิ| สระหรอื พยัญชนะอยหู ลัง ลบนิคคหิต เช่น ตาสํ + อหํ เปน ตาสาหํ 21 วิทนู ํ + อคฺค ํ เปน วิทนู คคฺ ํ อริยสจฺจานํ + ทสสฺ นํ เปน อรยิ สจจฺ านทสฺสนํ พทุ ฺธานํ + สาสนํ เปน พทุ ฺธานสาสนํ
๒. อาเทสนิคคหิตสนธิ นิคคหติ อยหู นา พยญั ชนะอยหู ลงั แปลงนิคคหติ เป็นพยญั ชนะทส่ี ดุ วรรคของพยญั ชนะตวั นัน้ ดังนี้ แปลงนิคคหติ เปน ง เช่น เอวํ + โข เปน เอวงฺโข แปลงนิคคหิต เปน เชน่ ธมมฺ ํ + จเร เปน ธมฺมญจฺ เร แปลงนิคคหติ เปน ณ เชน่ สํ + ติ ิ เปน สณฺ ติ ิ แปลงนิคคหติ เปน น เชน่ ตํ + นิพฺพุตํ เปน ตนฺนิพพฺ ตุ ํ แปลงนิคคหติ เปน ม เช่น จิรํ + ปวาส ึ เปน จิรมปฺ วาสึ ถา เอ และ ห อยหู ลัง แปลงนิคคหิตเปน เชน่ ปจฺจตตฺ ํ + เอว เปน ปจฺจตฺตญฺเว ตํ + เอว เปน ตญเฺ ว เอวํ + ห ิ เปน เอวญหฺ ิ ตํ + หิ เปน ตญฺหิ ถา ย อยูหลงั แปลงนิคคหิตกับ ย เป็น ญฺ เชน่ สํ + โยโค เป็น สญโฺ โค สระอยหู่ ลงั แปลงนิคคหิต เปน ม และ ท เชน่ ตํ + อหํ เปน ตมหํ เอตํ + อโวจ เปน เอตทโวจ ๓. อาคมนิคคหิตสนธิ สระหรอื พยญั ชนะ อยหู ลัง ลงนิคคหิต เชน่ จกขฺ ุ + อทุ ปาท ิ เปน จกฺขํุอทุ ปาทิ อว + สโิ ร เปน อวสํ ิโร |สนธิ ๔. ปกตนิ ิคคหิตสนธิ คงรูปไวต ามเดิม เชน่ ธมฺมํ + จเร เป็น ธมมฺ จํ เร 22
นาม นามศพั ท แบงเปน ๓ คอื นามนาม ๑ คุณนาม ๑ สพั พนาม ๑ นามนาม นามทีเ่ ปน ช่ือของ คน สัตว ท่ี ส่งิ ของ เปนนามนาม นามนาม แบง ออกเปน ๒ คอื สาธารณนาม ๑ อสาธารณนาม ๑ นามท่ีทัว่ ไปแก คน สัตว ที่ ส่ิงของ เหมือนค�ำวา มนุสฺโส มนุษย, ตริ จฉฺ าโน สัตวดิรัจฉาน, นครํ เมือง เปน ตน เปน สาธารณนาม นามที่ไม่ทัว่ ไปแกส่ิงอ่ืน เหมือนค�ำวา ทีฆาวุ กุมารช่ือทีฆาวุ, เอราวโณ ชางช่อื เอราวณั , สาวตถฺ ี เมอื งช่ือสาวัตถี เปนตน เปน อสาธารณนาม คณุ นาม นามที่แสดงลักษณะของนามนาม ส�ำหรับหมายใหรูวา นามนามนั้น ดหี รอื ชัว่ เปนตน เปน คุณนาม เหมือนค�ำวา ปญฺวา มีปญ ญา ปรุ ิโส บรุ ษุ ถือเอาความตามภาษาของเราวา บุรุษมีปญญา ปรุ ิโส เปน นามนาม ปญฺวา เปนคณุ นาม คณุ นาม แบงเปน ๓ ชนั้ คือ ปกติ ๑ วเิ สส ๑ อตวิ เิ สส ๑ คุณนามที่แสดงความดีหรือชั่ว เปนปกติ เหมือนค�ำวา ปณฺฑิโต เปนบณั ฑิต ปาโป เปนบาป ช่อื ปกติ คุณนามท่ีแสดงความดีหรือชัว่ มากหรือนอยกวาปกติ เหมือนค�ำวา นาม| ปณฺฑิตตโร เปน บณั ฑิตกวา ปาปตโร เปน บาปกวา ช่อื วเิ สส 23
คุณนามที่แสดงความดีหรือชั่ว มากหรือนอยท่ีสุด เหมือนค�ำวา ปณฺฑติ ตโม เปน บัณฑิตท่ีสุด ปาปตโม เปน บาปทสี่ ุด ช่อื อติวิเสส วเิ สสนัน้ ใช ตร อิย ปจ จัย ในเสฏฐตทั ธติ ตอปกตบิ าง ใชอปุ สัค คือ อติ (ยงิ่ ) น�ำหนาบาง อติวเิ สส ใช ตม อิฏ ปจจัย ในเสฏฐตัทธิต ตอ ปกติบาง ใชอปุ สคั และ นิบาต คือ อติวยิ (เกินเปรยี บ) น�ำหนาบาง สัพพนาม สัพพนาม คือ ค�ำพูดส�ำหรับใชแทนนามนามที่ออกช่ือมาแลวข้างต้น เพ่ือไมใ หซ้ำ� ซาก ซ่ึงไมเ่ พราะหู นามทัง้ ๓ ตองประกอบดวย ลิงค วจนะ วิภัตติ ลงิ ค์ ลงิ ค์ คือ คำ� พดู ทบ่ี ง่ ถงึ เพศของนามนาม แบง เปน ๓ คอื ปุงลงิ ค เพศชาย อติ ถีลิงค เพศหญงิ นปุงสกลิงค มิใชเ พศชาย มิใชเพศหญงิ นามนาม เปน ลิงคเ ดยี ว คอื จะเปน ปงุ ลิงค อิตถลี ิงค หรือ นปุงสกลงิ ค กอ็ ยา่ งเดียวบ้าง นามนาม เปน ๒ ลิงค คอื ศพั ทอ์ ันเดียว มีรูปอยางเดยี ว เปนไดท งั้ ๒ ลงิ ค หรอื มลู ศพั ทเ์ ป็นอนั เดยี ว เปลย่ี นแตส่ ระทสี่ ดุ ใหแ ปลกกนั พอเปน เคร่อื ง หมายใหตางลงิ คก นั บา้ ง |นาม คณุ นามและสัพพนาม เปนไดทงั้ ๓ ลงิ ค ลิงคน ัน้ จดั ตามสมมตขิ องภาษาบาง จดั ตามกำ� เนิดบาง 24
ที่จัดตามสมมตนิ ัน้ เหมือนหน่ึงกำ� เนิดสตรี สมมติใหเปนปงุ ลงิ ค และ ของที่ไมมีวิญญาณ สมมติใหเปนปุงลิงค และอิตถีลิงค เหมือนค�ำวา ทาโร เมีย สมมติใหเปนปุงลิงค, ปเทโส ประเทศ สมมติใหเปนปุงลิงค, ภมู ิ แผน ดิน สมมตใิ หเปนอติ ถลี งิ ค ทจี่ ดั ตามกำ� เนิดนัน้ เหมอื น ปรุ โิ ส ชาย เปน ปงุ ลงิ ค, อติ ถฺ ี หญงิ เปน อติ ถี ลิงค เปน ตน นามนามเปน ลิงคเดียว ปงุ ลิงค อิตถลี งิ ค นปงุ สกลงิ ค อมโร เทวดา อจฺฉรา นางอัปสร องคฺ ํ องค อาทิจโฺ จ พระอาทิตย อาภา รัศมี อารมฺมณํ อารมณ อนิ โฺ ท พระอินทร อิทฺธิ ฤทธิ์ อิณํ หนี้ อโี ส คนเปน ใหญ อสี า งอนไถ อรี ณิ ํ ทงุ นา อทุ ธิ ทะเล อุฬุ ดาว อุทกํ น้�ำ เอรณโฺ ฑ ตนละหงุ เอสกิ า เสาระเนียด เอฬาลุกํ ฟกเหลอื ง โอโฆ หวงน้�ำ โอชา โอชา โอกํ น้�ำ กณฺโณ หู กฏิ สะเอว กมมฺ ํ กรรม จนโฺ ท พระจนั ทร จมู เสนา จกขฺ ุ นัยนต า ตรุ ตน ไม ตารา ดาว เตลํ น้�ำมัน ปพฺพโต ภเู ขา ปภา รศั มี ปณฺณํ ใบไม ยโม พระยม ยาคุ ขาวตม ยานํ ยาน นาม| 25
นามนามศัพทเ ดยี ว มีรูปอยางเดยี ว เปน ๒ ลงิ ค ปุงลิงค นปงุ สกลงิ ค คำ� แปล อกขฺ โร อกขฺ รํ อักษร อคาโร อคารํ เรอื น อตุ ุ อตุ ุ ฤดู ทิวโส ทิวสํ วนั มโน มนํ ใจ สํวจฺฉโร สํวจฺฉรํ ป นามนามมมี ูลศพั ทเ ปนอยางเดียว เปล่ยี นแตสระท่สี ุด เปน ๒ ลงิ ค ปงุ ลิงค อติ ถีลิงค ค�ำแปล อรหา หรือ อรหํ อาชีวโก อรหนฺตี พระอรหันต อุปาสโก กุมาโร อาชวี ิกา นักบวช ขตฺตโิ ย โคโณ อุปาสกิ า อุบาสก, อบุ าสกิ า โจโร ญาตโก กุมารี หรอื กุมาริกา เด็ก ตรุโณ เถโร ขตฺติยานี หรือ ขตตฺ ิยา กษตั รยิ ทารโก เทโว คาวี โค นโร โจรี โจร ปรพิ ฺพาชโก าตกิ า ญาติ 26 ภกิ ฺขุ ตรุณี ชายหนมุ , หญงิ สาว เถรี พระเถระ, พระเถรี ทารกิ า เดก็ ชาย, เดก็ หญงิ เทวี พระเจาแผน ดนิ , |นาม พระราชเทวี นารี คน (ชาย-หญิง) ปริพพฺ าชกิ า นักบวช (ชาย-หญิง) ภิกขฺ ุนี ภกิ ษุ, ภิกษุณี
ปุงลิงค อติ ถลี งิ ค คำ� แปล ภวํ โภตี ผเู จรญิ มนสุ ฺโส มนสุ สฺ ี มนษุ ย (ชาย-หญงิ ) ยกโฺ ข ยกขฺ ินี ยักษ, ยกั ษณิ ี ยวุ า ยวุ ตี ชายหนม ุ , หญิงสาว ราชา ราชินี พระเจาแผน ดนิ , พระราชนิ ี สขา สขี เพ่ือน (ชาย-หญงิ ) หตถฺ ี หตฺถนิ ี ชางพลาย, ชางพัง คณุ นาม เปน ๓ ลงิ ค ปงุ ลงิ ค อิตถลี งิ ค นปุงสกลิงค ค�ำแปล นาม| กมมฺ กาโร กมฺมการนิ ี ท�ำการงาน คุณวา คณุ วตี กมมฺ การํ มคี ุณ 27 จณโฺ ฑ จณฑฺ า คณุ วํ ดรุ าย เชฏโ เชฏ า จณฑฺ ํ เจรญิ ท่สี ดุ ตาโณ ตาณา เชฏฺํ ตานทาน ถิโร ถิรา ตาณํ มนั่ ทกฺโข ทกขฺ า ถิรํ ขยัน ธมฺมิโก ธมฺมกิ า ทกฺขํ ตัง้ ในธรรม นาโถ นาถา ธมมฺ กิ ํ ทพี่ ่ึง ปาโป ปาปา นาถํ บาป โภคี โภคินี ปาปํ มีโภคะ มตมิ า มตมิ ตี โภคิ มคี วามคดิ ลาภี ลาภนิ ี มติมํ มีลาภ สทฺโธ สทธฺ า ลาภิ มีศรัทธา สทฺธํ
วจนะ วจนะ คอื ค�ำพดู ทีบ่ อกจ�ำนวนของนามนาม แบง เปน ๒ คอื เอกวจนะ คำ� พูดสำ� หรับออกช่อื ของส่งิ เดียว พหวุ จนะ คำ� พูดสำ� หรบั ออกช่อื ของมากกวาสิ่งเดียว คอื ตัง้ แต ๒ สิ่งข้นึ ไป วจนะทัง้ ๒ นี้ มีเคร่ืองหมายใหแปลกกันที่ทายศัพท เหมือนค�ำวา ปุริโส ชายคนเดียว เปนเอกวจนะ, ปรุ สิ า ชายหลายคน เปนพหุวจนะ วภิ ัตติ วิภัตติ แปลวา แจกหรือจ�ำแนก มี ๑๔ ตัว แบ่งเป็ น เอกวจนะ ๗ พหุวจนะ ๗ ดงั นี้ ปมา ที่ ๑ เอกวจนะ พหวุ จนะ ทุตยิ า ท่ี ๒ สิ โย ตตยิ า ที่ ๓ อํ โย จตุตฺถี ท่ี ๔ นา หิ ปญจฺ ม ี ที่ ๕ ส นํ ฉฏ ี ที่ ๖ หิ สตฺตม ี ท่ี ๗ สมฺ า นํ ส สุ สมฺ ึ |นาม ปฐมาวภิ ตั ติ แบง เปน ๒ คอื เปน ลิงคตั ถะ หรือ กตั ตา คอื เปนตัว ประธาน ๑ เปน อาลปนะ คอื คำ� ส�ำหรับรองเรียก ๑ 28
อายตนบิ าต (คำ� เชือ่ ม, ค�ำต่อ) เอกวจนะ พหวุ จนะ ปมา ท่ี ๑ อ. (อานวา “อันวา”) อ. ... ท. (ท. อา่ นว่า ทงั้ หลาย) ทุตยิ า ที่ ๒ ซ่งึ สู ซ่ึง... ท. ส.ู .. ท. ยัง สนิ้ ยงั ... ท. สิน้ ... ท. กะ เฉพาะ กะ... ท. เฉพาะ... ท. ตลอด ตลอด... ท. ตตยิ า ท่ี ๓ ดวย โดย ดว ย... ท. โดย... ท. อนั ตาม อนั ... ท. ตาม... ท. เพราะ มี เพราะ... ท. ม.ี .. ท. ดว้ ยทงั้ ขา้ ง ด้วยทงั้ ... ท. ขา้ ง... ท. จตตุ ถฺ ี ที่ ๔ แก เพ่อื แก่... ท. เพ่ือ... ท. ตอ่ แด่ ต่อ... ท. แด่... ท. ปญฺจมี ท่ี ๕ แต จาก แต. .. ท. จาก... ท. กวา่ เหตุ กว่า... ท. เหตุ... ท. ฉฏ ี ท่ี ๖ แห่ง ของ แหง่ ... ท. ของ... ท. เม่อื เม่ือ... ท. สตฺตมี ท่ี ๗ ใน ใกล ใน... ท. ใกล. .. ท. ที่ ครนั้ เม่ือ ในเพราะ เหนือ ท.่ี .. ท. ครนั้ เม่ือ... ท. บน ณ ในเพราะ... ท. เหนือ... ท. บน... ท. ณ... ท. อาลปนะ แนะ ดกู อน แนะ ... ท. ดูกอ น... ท. นาม| ข้าแต่ ข้าแต่... ท. 29
การันต์ การันต์ คือ สระทส่ี ดุ ศพั ท ใน ปุงลงิ ค มี ๕ การันต คือ อ อ ิ อี อุ อู ใน อติ ถลี ิงค มี ๕ การันต คือ อา อ ิ อี อุ อู ใน นปงุ สกลงิ ค มี ๓ การันต คอื อ อิ อุ อ การนั ต ในปงุ ลงิ ค แจกอยาง ปรุ สิ (บุรษุ ) ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. ปรุ ิโส ปรุ ิสา ท.ุ ปุริสํ ปรุ เิ ส ต. ปรุ ิเสน ปรุ เิ สหิ ปุริเสภิ จ. ปรุ ิสสสฺ ปุรสิ าย ปุรสิ ตฺถํ ปรุ สิ านํ ปญ.ฺ ปรุ สิ สฺมา ปุรสิ มฺหา ปรุ ิสา ปรุ ิเสหิ ปุรเิ สภิ ฉ. ปุรสิ สสฺ ปุรสิ านํ ส. ปรุ สิ สมฺ ึ ปุรสิ มฺหิ ปรุ ิเส ปรุ ิเสสุ อา. ปรุ ิส ปุรสิ า ศพั ทท แี่ จกเหมือน ปุริส |นาม อาจรยิ อาจารย ชน ชน กุมาร เด็ก ตรุ ค มา ขตตฺ ยิ กษตั ริย เถน ขโมย คณ หมู ทตู ทตู โจร โจร ธช ธง นร คน 30 ฉณ มหรสพ
ปาวก ไฟ รุกฺข ตน ไม ผลิก แกว ผลึก โลก โลก พก นกยาง วานร ลิง ภว ภพ สหาย เพ่อื น มนสุ สฺ มนษุ ย หตถฺ มือ ยกขฺ ยักษ อิ การนั ต ในปงุ ลิงค แจกอยาง มนุ ิ (ผรู )ู ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. มนุ ิ มนุ โย มนุ ี ท.ุ มุนึ มนุ โย มุนี ต. มนุ ินา มนุ ีหิ มนุ ีภิ จ. มุนิสสฺ มนุ ิโน มุนีนํ ปญฺ. มนุ ิสฺมา มุนิมฺหา มุนีหิ มนุ ีภิ ฉ. มนุ ิสสฺ มุนิโน มุนีนํ ส. มุนิสฺมึ มุนิมฺหิ มนุ ีสุ อา. มุนิ มุนโย มุนี ศัพทที่แจกเหมือน มนุ ิ อคฺคิ ไฟ ปติ เจา, ผวั นาม| อริ ขาศึก มณิ แกว มณี อหิ งู วธิ ิ วธิ ี 31 ถปติ ชางไม วหี ิ ขาวเปลอื ก นิธิ ขมุ ทรพั ย สมาธิ สมาธิ
อี การนั ต ในปงุ ลงิ ค แจกอยา ง เสฏี (เศรษฐ)ี ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. เสฏี เสฏ โิ น เสฏี ท.ุ เสฏ ึ เสฏนิ ํ เสฏโิ น เสฏ ี ต. เสฏ นิ า เสฏ หี ิ เสฏ ภี ิ จ. เสฏสิ ฺส เสฏ โิ น เสฏ นี ํ ปญฺ. เสฏสิ ฺมา เสฏมิ ฺหา เสฏ หี ิ เสฏภี ิ ฉ. เสฏ สิ สฺ เสฏโิ น เสฏ นี ํ ส. เสฏสิ ฺมึ เสฏมิ หฺ ิ เสฏสี ุ อา. เสฏิ เสฏ โิ น เสฏี ศัพทท ่ีแจกเหมือน เสฏี กรี ชาง ภาณี คนชางพดู ตปสี คนมีตบะ โภคี คนมีโภคะ ทณฺฑี คนมไี มเทา มนฺตี คนมคี วามคดิ เมธาวี คนมีปญญา สุขี คนมสี ุข สิขี นกยงู หตถฺ ี ชาง อุ การนั ต ในปงุ ลิงค แจกอยาง ครุ (ครู) ดังนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ครุ ครโว ครู |นาม ทุ. ครุํ ครโว ครู ต. ครุนา ครูหิ ครูภิ 32 จ. ครุสสฺ ครโุ น ครูนํ
ปญฺ. ครสุ มฺ า ครุมหฺ า ครหู ิ ครูภิ ครโว ฉ. ครสุ ฺส ครุโน ครูนํ ส. ครุสฺมึ ครมุ หฺ ิ ครูสุ อา. ครุ ครเว ศัพทท ่แี จกเหมอื น ครุ เกตุ ธง ภิกขฺ ุ ภิกษุ ชนฺตุ สตั วเกดิ รปิ ุ ขาศึก ปสุ สตั วของเลยี้ ง สตฺตุ ศตั รู พนธฺ ุ พวกพอง เสตุ สะพาน พพฺพุ เสือปลา, แมว เหตุ เหตุ อู การนั ต ในปงุ ลิงค แจกอยาง วิญญฺ ู (ผรู วู เิ ศษ) ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. วิญญฺ ู วิญฺญุโน วญิ ญฺ ู ท.ุ วญิ ฺญุํ วิญญฺ ุโน วญิ ฺญู ต. วญิ ญฺ นุ า วญิ ญฺ ูหิ วญิ ญฺ ูภิ จ. วิญญฺ สุ สฺ วญิ ญฺ ุโน วิญญฺ ูนํ ปญฺ. วญิ ญฺ ุสมฺ า วิญญฺ ุมหฺ า วิญญฺ ูหิ วิญฺญูภิ ฉ. วิญฺญุสสฺ วิญญฺ โุ น วิญญฺ ูนํ ส. วญิ ฺญุสมฺ ึ วิญญฺ มุ ฺหิ วญิ ฺญูสุ นาม| อา. วิญฺญุ วิญฺญโุ น วญิ ฺญู 33
ศพั ทท่ีแจกเหมือน วญิ ญฺ ู อภิภู พระผเู ปน ยง่ิ เวทคู ผถู ึงเวท กตญญฺ ู ผรู อู ุปการะทีค่ นอ่นื ท�ำแลว สยมฺภู พระผูเปน เอง ปารคู ผูถ งึ ฝง อทฺธคู ผเู ดินทางไกล จบการนั ต ๕ ในปงุ ลิงค อา การนั ต ในอติ ถลี งิ ค แจกอยา ง กญฺญา (นางสาวนอ ย) ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. กญญฺ า กญฺญาโย กญฺญา ท.ุ กญญฺ ํ กญญฺ าโย กญฺญา ต. กญญฺ าย กญญฺ าหิ กญฺญาภิ จ. กญญฺ าย กญญฺ านํ ปญฺ. กญฺญาย กญญฺ าหิ กญฺญาภิ ฉ. กญฺญาย กญญฺ านํ ส. กญญฺ าย กญญฺ ายํ กญฺญาสุ อา. กญฺเญ กญฺญาโย กญญฺ า ศพั ทท แี่ จกเหมอื น กญญฺ า อจฉฺ รา นางอัปสร|นาม ตารา ดาว อาภา รัศมี ถวิกา ถงุ อิกฺขณิกา หญงิ แมม ด ทารกิ า เด็กหญิง อีสา งอนไถ โทลา ชงิ ชา ธารา ธารน้�ำ 34 อุกฺกา คบเพลงิ
อกู า เลน็ นารา รศั มี เอสกิ า เสาระเนียด ปญญฺ า ปญ ญา โอชา โอชา พาหา แขน กจฺฉา รักแร ภาสา ภาษา คทา ตะบอง มาลา ระเบยี บ ฆฏิกา ลม่ิ ลาขา ครัง่ เจตนา เจตนา สาลา ศาลา ฉรุ กิ า กฤช สลิ า ศลิ า ชปา ชะบา หนกุ า คาง อิ การนั ต ในอิตถลี ิงค แจกอยา ง รตฺติ (ราตร)ี ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. รตฺติ รตตฺ โิ ย รตตฺ ี ทุ. รตตฺ ึ รตตฺ ิโย รตฺตี ต. รตฺติยา รตตฺ หี ิ รตตฺ ีภิ จ. รตฺตยิ า รตตฺ ีนํ ปญ.ฺ รตฺตยิ า รตยฺ า รตตฺ หี ิ รตฺตีภิ ฉ. รตฺติยา รตตฺ ีนํ ส. รตตฺ ยิ า รตฺตยิ ํ รตยฺ ํ รตฺตีสุ อา. รตตฺ ิ รตตฺ โิ ย รตตฺ ี ศัพทท่แี จกเหมือน รตฺติ อาณิ ลิ่ม กฏิ สะเอว นาม| อิทธฺ ิ ฤทธิ์ ขนฺติ ความอดทน อตี ิ จัญไร คณฺฑิ ระฆัง 35
อกุ ขฺ ลิ หมอขาว ฉวิ ผวิ อมู ิ คล่นื ชลฺลิ สะเก็ดไม ตนฺติ เสน ดาย รติ ความยินดี นนฺทิ ความเพลดิ เพลิน ลทฺธิ ลทั ธิ ปญหฺ ิ สนเทา วติ รัว้ มติ ความรู สตตฺ ิ หอก ยฏ ิ ไมเทา สนธฺ ิ ความตอ อี การนั ต ในอิตถีลิงค แจกอยา ง นารี (นาง) ดงั นี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. นารี นารโิ ย นารี ท.ุ นารึ นารยิ ํ นารโิ ย นารี ต. นารยิ า นารหี ิ นารภี ิ จ. นารยิ า นารนี ํ ปญฺ. นารยิ า นารหี ิ นารภี ิ ฉ. นารยิ า นารนี ํ ส. นารยิ า นารยิ ํ นารสี ุ นารี อา. นาริ นารโิ ย ศพั ทท แี่ จกเหมือน นารี กมุ ารี เด็กหญิง|นามปวี แผน ดิน ฆรณี หญิงแมเรอื น มาตลุ านี ปา , นา ถี หญิง วีชนี พัด ธานี เมือง สมิ ฺพลี ไมง ิว้ 36
อุ การนั ต ในอติ ถลี ิงค แจกอยาง รชชฺ ุ (เชือก) ดงั นี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. รชชฺ ุ รชชฺ ุโย รชฺชู ทุ. รชฺชํุ รชฺชโุ ย รชชฺ ู ต. รชฺชุยา รชฺชูหิ รชชฺ ูภิ จ. รชฺชยุ า รชฺชนู ํ ปญ.ฺ รชฺชยุ า รชฺชูหิ รชฺชูภิ ฉ. รชชฺ ยุ า รชชฺ ูนํ ส. รชฺชยุ า รชฺชยุ ํ รชฺชูสุ รชฺชู อา. รชชฺ ุ รชฺชโุ ย ศพั ททีแ่ จกเหมอื น รชฺชุ อุรุ ทราย ยาคุ ขาวตม กาสุ หลุม ลาวุ น้�ำเตา เธนุ แมโ คนม วชิ ชฺ ุ สายฟา อู การนั ต ในอิตถีลงิ ค แจกอยา ง วธู (หญิงสาว) ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. วธู วธโุ ย วธู นาม| ท.ุ วธุํ วธโุ ย วธู ต. วธยุ า วธหู ิ วธูภิ จ. วธยุ า วธูนํ ปญ.ฺ วธยุ า วธูหิ วธภู ิ ฉ. วธุยา วธนู ํ 37
ส. วธยุ า วธยุ ํ วธูสุ วธุโย อา. วธุ วธู ศพั ทท ่แี จกเหมือน วธู จมู เสนา วริ ู เถาวัลย ชมฺพู ไมหวา สรพู ตุกแก ภู แผน ดิน, คิว้ สนิ ฺธู แมน ้�ำสินธู จบการนั ต ๕ ในอติ ถีลิงค อ การนั ต ในนปุงสกลิงค แจกอยาง กุล (ตระกลู ) ดงั นี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. กุลํ กุลานิ ท. กุลํ กุลานิ ต. กุเลน กุเลหิ กเุ ลภิ กเุ ลภิ จ. กลุ สฺส กุลาย กุลตฺถํ กุลานํ ปญฺ. กลุ สมฺ า กลุ มฺหา กุลา กเุ ลหิ ฉ. กลุ สสฺ กลุ านํ ส. กลุ สฺมึ กุลมหฺ ิ กเุ ล กุเลสุ อา. กลุ กุลานิ |นาม 38
ศัพทท่แี จกเหมอื น กุล องคฺ องค ฉตตฺ ฉตั ร, รม อณิ หนี้ ชล น้�ำ อทุ ร ทอง ตล พ้ืน โอฏ รมิ ฝปาก ธน ทรัพย กฏ ไม ปณฺณ ใบไม, หนังสอื กมล ดอกบวั ผล ผลไม ฆร เรอื น พล กำ� ลัง, พล จกฺก จักร, ลอ ภตฺต ขาวสวย มชฺช น้�ำเมา รตน แกว ยนฺต ยนต วตฺถ ผา รฏ แวน แควน สกฏ เกวยี น อิ การนั ต ในนปงุ สกลิงค แจกอยา ง อกฺขิ (นัยนต า) ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. อกขฺ ิ อกฺขีนิ อกขฺ ี ท.ุ อกฺขึ อกขฺ นี ิ อกฺขี ต. อกขฺ นิ า อกขฺ ีหิ อกขฺ ภี ิ จ. อกฺขิสสฺ อกฺขโิ น อกขฺ นี ํ ปญ.ฺ อกฺขสิ มฺ า อกฺขมิ ฺหา อกขฺ หี ิ อกฺขภี ิ ฉ. อกขฺ ิสฺส อกฺขิโน อกฺขีนํ ส. อกฺขิสฺมึ อกขฺ ิมฺหิ อกขฺ ีสุ อา. อกฺขิ อกขฺ ีนิ อกขฺ ี นาม| 39
ศัพทท ่แี จกเหมอื น อกฺขิ อจจฺ ิ เปลวไฟ ทธิ นมสม อฏ ิ กระดูก สปฺป เนยใส อุ การนั ต ในนปงุ สกลงิ ค แจกอยาง วตฺถุ (พสั ด)ุ ดงั นี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. วตถฺ ุ วตถฺ ูนิ วตถฺ ู ทุ. วตถฺ ํุ วตฺถูนิ วตถฺ ู ต. วตถฺ นุ า วตฺถหู ิ วตฺถภู ิ จ. วตถฺ ุสสฺ วตถฺ ุโน วตฺถนู ํ ปญ.ฺ วตฺถสุ ฺมา วตฺถมุ ฺหา วตฺถูหิ วตฺถภู ิ ฉ. วตฺถสุ ฺส วตถฺ ุโน วตถฺ ูนํ ส. วตถฺ ุสฺมึ วตฺถุมหฺ ิ วตฺถูสุ อา. วตถฺ ุ วตฺถนู ิ วตฺถู ศพั ทท ี่แจกเหมอื น วตถฺ ุ อมฺพุ น้�ำ ชตุ ยาง อสฺสุ น้�ำตา ธนุ ธนู อายุ อายุ มธุ น้�ำผ้ึง จกฺขุ นัยนต า มสฺสุ หนวด วปุ กาย สชฺฌุ เงนิ |นาม จบการนั ต ๓ ในนปุงสกลิงค 40
กตปิ ยศพั ท์ กติปยศพั ท คอื ศัพทเล็กๆ นอยๆ ซ่ึงมีวิธีแจกเฉพาะตน มี ๑๒ ศพั ท์ คือ อตฺต พรฺ หฺม ราช ภควนฺตุ อรหนฺต ภวนตฺ สตถฺ ุ ปต ุ มาตุ มน กมฺม โค ๔ ศัพท์นี้ คอื ราช อรหนตฺ ภวนตฺ มน เป็นทวลิ ิงค์ อตฺต (ตน) เป็ น ปงุ ลงิ ค์ แจกอยา่ งนี ้ เอกวจนะ ป. อตฺตา ท.ุ อตตฺ านํ ต. อตฺตนา จ. อตตฺ โน ปญ.ฺ อตฺตนา ฉ. อตตฺ โน ส. อตตฺ นิ อา. อตตฺ พฺรหมฺ (พรหม) เปน ปงุ ลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. พฺรหมฺ า พรฺ หฺมาโน ทุ. พฺรหมฺ านํ พฺรหฺมาโน ต. พรฺ หมฺ นุ า พรฺ หเฺ มหิ พรฺ หเฺ มภิ จ. พฺรหมฺ ุโน พฺรหฺมานํ ปญฺ. พฺรหมฺ นุ า พฺรหฺเมหิ พฺรหเฺ มภิ ฉ. พรฺ หฺมุโน พฺรหฺมานํ นาม| ส. พรฺ หฺมนิ พรฺ หฺเมสุ อา. พรฺ หเฺ ม พฺรหมฺ าโน 41
ราช (พระราชา) เปน ทวลิ งิ ค ในปุงลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. ราชา ราชาโน ราชูภิ ทุ. ราชานํ ราชาโน ราชูนํ ต. รญญฺ า ราชหู ิ ราชูภิ จ. รญฺโญ ราชโิ น รญญฺ ํ ราชูนํ ปญฺ. รญฺญา ราชูหิ ฉ. รญฺโญ ราชิโน รญฺญํ ส. รญเฺ ญ ราชินิ ราชสู ุ อา. ราช ราชาโน ศัพทสมาสมี ราช ศพั ท เป็ นท่สี ดุ แจกอย่าง มหาราช ดังนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. มหาราชา มหาราชาโน ท.ุ มหาราชํ มหาราเช ต. มหาราเชน มหาราเชหิ มหาราเชภิ จ. มหาราชสสฺ มหาราชาย มหาราชานํ มหาราชตถฺ ํ ปญ.ฺ มหาราชสฺมา มหาราชมหฺ า มหาราเชหิ มหาราเชภิ มหาราชา ฉ. มหาราชสฺส มหาราชานํ |นาม ส. มหาราชสมฺ ึ มหาราชมหฺ ิ มหาราเชสุ มหาราเช 42 อา. มหาราช มหาราชาโน
ศพั ท์ทแ่ี จกเหมือน มหาราช อนรุ าช พระราชานอย นาคราช นาคผพู ระราชา อภิราช พระราชายง่ิ มคิ ราช เน้ือผูพระราชา อปุ ราช อุปราช สปุ ณฺณราช ครฑุ ผพู ระราชา จกฺกวตตฺ ิราช พระราชาจกั รพรรดิ หสํ ราช หงสผ ูพระราชา เทวราช เทวดาผูพระราชา ภควนตฺ ุ (พระผูมพี ระภาค) เปนปุงลิงค แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. ภควา ภควนฺเต ภควนฺตา ภควนฺโต ท.ุ ภควนตฺ ํ ภควา ภควนฺเต ภควนโฺ ต ต. ภควตา ภควนฺเตหิ ภควนเฺ ตภิ จ. ภควโต ภควตํ ภควนตฺ านํ ปญ.ฺ ภควตา ภควนเฺ ตหิ ภควนเฺ ตภิ ฉ. ภควโต ภควตํ ภควนตฺ านํ ส. ภควติ ภควนฺเตสุ อา. ภคว ภควนฺตา ภควนฺโต ภควนตฺ า ภควนเฺ ต ใชเปน ทววิ จนะ กลาวถึงคน ๒ คน เทา่ นัน้ ภควนโฺ ต ใชเ ปน พหุวจนะ กลาวถงึ คนมาก คอื ตงั้ แต ๓ คน ข้ึนไป ศพั ททแ่ี จกเหมอื น ภควนฺตุ อายสฺมนตฺ ุ คนมีอายุ ธิติมนตฺ ุ คนมปี ญญา คุณวนตฺ ุ จกฺขมุ นตฺ ุ คนมีคณุ ปญฺวนฺตุ คนมปี ญ ญา ชตุ ิมนฺตุ ธนวนฺตุ คนมีจกั ษุ ปุญฺวนตฺ ุ คนมบี ญุ นาม| คนมีความโพลง พนฺธมุ นฺตุ คนมีพวกพอง คนมีทรัพย สติมนตฺ ุ คนมสี ติ 43
อรหนตฺ (พระอรหนั ต) เปน ทวิลิงค ในปงุ ลงิ ค แจกเหมอื น ภควนฺตุ แปลกแต ป.เอก. อรหา อรหํ เทานัน้ ภวนฺต (ผูเจรญิ ) เปน ทวลิ ิงค ในปุงลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. ภวํ ภวนฺตา ภวนฺโต ท.ุ ภวนตฺ ํ ภวนฺเต ภวนฺโต ต. ภวตา โภตา ภวนเฺ ตหิ ภวนเฺ ตภิ จ. ภวโต โภโต ภวตํ ภวนฺตานํ ปญฺ. ภวตา โภตา ภวนเฺ ตหิ ภวนเฺ ตภิ ฉ. ภวโต โภโต ภวตํ ภวนตฺ านํ ส. ภวติ ภวนฺเต ภวนเฺ ตสุ อา. โภ ภวนฺตา ภวนโฺ ต โภนตฺ า โภนฺโต สตฺถุ (ผสู้ อน) เปน ปงุ ลงิ ค แจกอยางนี ้ ป.|นาม เอกวจนะ พหุวจนะ ทุ. สตถฺ า สตฺถาโร ต. สตถฺ ารํ สตถฺ าโร จ. สตฺถารา สตถฺ นุ า สตฺถาเรหิ สตฺถาเรภิ ปญ.ฺ สตถฺ ุ สตฺถโุ น สตถฺ ารานํ ฉ. สตถฺ ารา สตฺถาเรหิ สตถฺ าเรภิ ส. สตถฺ ุ สตฺถโุ น สตถฺ ารานํ สตฺถริ สตฺถาเรสุ 44 อา. สตถฺ า สตฺถาโร
ศัพททแี่ จกเหมือน สตฺถุ กตตฺ ุ ผูทำ� เนตุ ผูน�ำไป ขตฺตุ ผูขุด ภตฺตุ ผเู ลยี้ ง, ผัว าตุ ผรู ู วตตฺ ุ ผกู ลาว ทาตุ ผใู ห โสตุ ผฟู ง นตตฺ ุ หลาน หนฺตุ ผฆู า ปิ ตุ (พ่อ) เป็ น ปุงลงิ ค์ แจกอย่างนี ้ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. ปต า ปต โร ปตโร ท.ุ ปตรํ ปตเรหิ ปิ ตูหิ ต. ปตรา ปต ุนา ปตรานํ ปิ ตเรภิ ปต เรหิ ปิตภู ิ จ. ปต ุ ปตุโน ปิตหู ิ ปตนู ํ ปญ.ฺ ปต รา ปตรานํ ปิ ตเรภิ ปต เรสุ ปิตภู ิ ฉ. ปต ุ ปตุโน ปตโร ปตนู ํ ส. ปต ริ ปต ูสุ อา. ปต า ภาตุ พชี่ าย นองชาย, ชามาตุ ลกู เขย แจกเหมอื น ปต ุ นาม| อาลปนะนั้นนิยมใชค�ำวา ตาต และ ตาตา แทนค�ำวา ปตา ปตโร เอก. ตาต, พห.ุ ตาตา 45
มาตุ (มารดา) เปนอิตถลี งิ ค แจกอยางนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. มาตา มาตโร มาตโร ทุ. มาตรํ มาตราหิ มาตหู ิ ต. มาตรา มาตุยา มาตรานํ มาตราภิ มาตราหิ มาตภู ิ จ. มาตุ มาตุยา มาตูหิ มาตนู ํ ปญ.ฺ มาตรา มาตรานํ มาตราภิ มาตราสุ มาตภู ิ ฉ. มาตุ มาตยุ า มาตโร มาตูนํ ส. มาตริ มาตสู ุ อา. มาตา ธตี ุ (ธิดา) แจกเหมอื น มาตุ อาลปนะนัน้ นิยมใชค�ำวา อมฺม และ อมฺมา แทนค�ำวา มาตา มาตโร เอก. อมมฺ , พห.ุ อมมฺ า |นาม 46
มโนคณะศพั ท มน ใจ เตช เดช อย เหลก็ ปย น้�ำนม อุร อก ยส ยศ เจต ใจ วจ วาจา ตป ความรอน วย วยั ตม มืด สิร หัว ๑๒ ศัพทน์ ี้ เรียกว่า มโนคณะ เพราะเป็นพวกแห่งมนศัพท์ มวี ิธีแจก อย่าง อ การนั ตในปงุ ลงิ ค และนปุงสกลงิ ค ต่างกันเพยี ง ๕ วภิ ตั ติ คือ เอา นา กับ สมฺ า เปน อา เอา ส ทงั้ ๒ เปน โอ เอา สฺมึ เปน อิ แลวลง ส อาคม เปน สา โส สา โส สิ เอา อํ ทตุ ยิ าวภิ ตั ตเิ ปน โอ เฉพาะ มน ศัพท์ เป็นทวลิ งิ ค์ นอกนัน้ เป็นปงุ ลงิ ค์ ศัพทเ หลานี้ เม่ือเขาสมาสกับศพั ทอ่นื เอาสระทสี่ ุดเปน โอ ได เหมอื น ค�ำวา มโนคโณ หมูแหงมนะ, อโยมยํ วัตถุอันบุคคลท�ำแลวดวยเหล็ก, เตโชธาตุ ธาตไุ ฟ, สโิ รรโุ ห อวยั วะอันงอกแลว บนหวั (ผม) เปนตน นาม| 47
ตัวอย่างการแจก มโน คณะศัพท์ เอกวจนะ ต. มนสา อยสา อุรสา จ. มนโส อยโส อุรโส ปญ.ฺ มนสา อยสา อุรสา ฉ. มนโส อยโส อุรโส ส. มนสิ อยสิ อรุ สิ บางคราวศพั ทท เี่ ป็น อ การันต จะเปนศัพทม โนคณะหรือไมก ็ตาม เอา อ กบั นา วภิ ตั ติ เปน โส เชน สุตตฺ โส อุปายโส สพฺพโส, เอา อ กบั สฺมา วภิ ตั ติ เปน โส เชน ทีฆโส กมฺม (กรรม) เปน นปุงสกลิงค แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ ป. กมมฺ ํ กมฺมานิ กมเฺ มภิ ท.ุ กมมฺ ํ กมฺมานิ กมฺเมภิ ต. กมฺมนุ า กมฺเมหิ จ. กมมฺ ุโน กมฺมานํ ปญ.ฺ กมมฺ นุ า กมเฺ มหิ ฉ. กมมฺ ุโน กมฺมานํ ส. กมมฺ นิ กมฺเมสุ อา. กมฺม กมฺมานิ |นาม 48
โค (โค) สามญั ไมน ิยมวา ผ–ู เมีย แจกอยา งนี ้ เอกวจนะ พหวุ จนะ คาโว ป. โค คาโว โคหิ โคภิ ทุ. คาวํ คาวํุ คาเวหิ คาเวภิ คุนนฺ ํ คาวานํ ต. คาเวน โคหิ โคภิ คาเวหิ คาเวภิ จ. คาวสฺส คุนนฺ ํ คาวานํ ปญฺ. คาวสมฺ า คาวมหฺ า คาวา โคสุ คาเวสุ คาโว ฉ. คาวสฺส ส. คาวสมฺ ึ คาวมฺหิ คาเว อา. คาว ศัพททัง้ ๖ คือ ปุม ชาย, สา หมา, อทฺธา กาลยืดยาว, มฆว นาม| ช่ือพระอินทร, ยุว ชายหนมุ , สข เพ่อื น มใี ชบ างวิภตั ติเทานัน้ ดงั นี้ ปุม เปน ปุงลิงค ใชแ ต ป.เอก. ปุมา เทานัน้ สา เปนคำ� กลางๆ ไมนิยมวา ผู– เมยี ใชแต ป.เอก. สา เทานัน้ และศัพทน ี้ ปงุ ลงิ ค เปน สนุ ข, อิตถีลงิ ค เปน สนุ ขี อทธฺ า เปนปุงลงิ ค ใชแต เอก.ป.อทธฺ า ทุ.อทธฺ านํ ต.อทธฺ ุนา จ.ฉ.อทฺธุโน, ส.อทฺธาเน เทานัน้ มฆว เปนปุงลิงค ใชแ ต ป.เอก. มฆวา เทานัน้ ยุว เปน ทวิลงิ คในปงุ ลิงค ใชม ากแต ป.เอก.ยุวา ในอติ ถีลงิ ค เปน ยุวตี สข เปน ทวิลิงคใ นปุงลงิ คใชมากแต ป.เอก. สขา, อิตถลี ิงค เปน สขี 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145