Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือแพทย์ประจำบ้าน 2561

คู่มือแพทย์ประจำบ้าน 2561

Published by charee26, 2018-11-09 03:17:57

Description: คู่มือแพทย์ประจำบ้าน 2561

Search

Read the Text Version

๑ คํานาํ การฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ เริ่มต้นตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๗ ซ่ึงมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง จวบจนถึงปัจจุบันมีการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้าน ๑๐ สาขาและแพทยป์ ระจาํ บ้านตอ่ ยอด ๘ สาขา การจดั ทาํ ค่มู อื แพทย์ประจําบ้านนี้ เพ่ือทําให้แพทย์ประจําบ้าน และแพทย์ประจําบ้านสาขาต่อยอดได้ทราบประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ กฎระเบียบ สวัสดิการและกาํ หนดการต่างๆ ของกิจกรรมแพทย์ประจําบ้าน เพื่อเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชกรมแพทย์ทหารอากาศ ได้อย่างเรียบร้อย และสามารถใช้ส่ิงอํานวยความสะดวกต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเพอ่ื การพฒั นาตนเอง และโรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช กรมแพทยท์ หารอากาศ ตอ่ ไป คณะอนุกรรมการการศึกษาแพทยห์ ลงั ปริญญา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พ.ศ.๒๕๖๑

สารบัญ ๒คาํ นํา หนา้สารบญัประวัตโิ รงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ ๑ขอ้ มูลที่ควรทราบเกี่ยวกบั โรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช กรมแพทยท์ หารอากาศ ๒หนว่ ยงานของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ ๓วัตถปุ ระสงค์ของการฝกึ อบรมแพทยป์ ระจาํ บ้าน ๖หนา้ ทแ่ี พทย์ประจําบ้าน ๗การฝึกอบรมและการปฏบิ ตั งิ านของแพทยป์ ระจําบา้ น ๑๐เวชระเบียน ๑๑สวัสดิการของแพทยป์ ระจําบ้าน ๑๑ ๑๓ภาคผนวก ๑๔ ก. การจดั หนว่ ยของ กรมแพทย์ทหารอากาศ และ รพ.ภมู พิ ลอดลุ ยเดช พอ. รายชอื่ คณะอนุกรรมการการศกึ ษาแพทย์หลังปริญญา รพ.ภูมิพลอดลุ ยเดช พอ. ๑๗ ข. คาํ ประกาศสทิ ธิของผปู้ ว่ ย ๑๙ ค. กําหนดการปฐมนิเทศแพทยป์ ระจาํ บา้ นชัน้ ปที ี่ ๑ ๒๒ ง. หวั ข้อ Basic science สําหรับแพทยป์ ระจําบา้ นชัน้ ปีที่ ๑ ๒๓ จ. แนวทางสาํ หรบั การปฏิบัตหิ น้าท่ีแพทยป์ ระจําห้องอุบัติเหตุและฉกุ เฉนิ ๒๙ แพทย์ประจําบ้านกับบทบาททางนิติเวช ๓๐ นโยบายดา้ นความเสย่ี ง ๓๔ ฉ. การปอ้ งกันการติดเชือ้ จากการทํางานในบคุ ลากรทางการแพทย์ ๓๘ ช. คําแนะนําในการปรึกษางานวิจัย ๔๑ ซ. ระเบยี บปฏบิ ัติเกยี่ วกบั แฟ้มประวตั ผิ ู้ปว่ ย ๔๕ ฌ. แบบฟอรม์ ใบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน ๕๑ ญ. แนวทางการลงโทษแพทย์ประจาํ บ้าน รพ.ภูมิพลอดลุ ยเดช พอ. ๕๘ ฎ. ระเบยี บหอพักแพทย์ รพ.ภมู ิพลอดลุ ยเดช พอ. ๕๙ ฏ. คูม่ อื การใช้ห้องสมุด ๖๓ ฐ. ระเบยี บการใช้บริการศนู ยว์ ทิ ยบรกิ าร ๖๖ ฑ. หมายเลขโทรศัพท์ที่ควรทราบ ๗๐ ๗๑

๓ ประวตั โิ รงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช เป็นหน่วยบริการทางการแพทย์ที่มีประวัติความเป็นมายาวนานต้ังแต่แรกเร่ิมก่อตั้งเป็น “หมวดพยาบาล” สังกัดหน่วยบินทหารบก ให้บริการทางการแพทย์ของกองกําลังทางอากาศ มีการย้ายตาํ แหน่งที่ตั้งไปหลายแห่ง เนื่องด้วยภัยจากสงครามมหาเอเชียบูรพา “หมวดพยาบาล” สังกดั หนว่ ยบินทหารบก พ.ศ.๒๔๕๗ ณ ตําบลดอนเมอื ง (ที่ตง้ั ปัจจุบัน) จนกระทั่ง พ.ศ.๒๔๘๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ได้พระราชทานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จํานวน ๓๐,๐๐๐ บาท เพ่ือซ้ือที่ดินสําหรับก่อสร้างเป็นโรงพยาบาลทหารอากาศ ณ ที่ตั้งในปัจจุบันและนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างล้นพ้นที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงพระราชทานพระนามาภิไธยให้เป็นช่ือของโรงพยาบาลว่า “ภูมิพลอดุลยเดช” โดยเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ.๒๔๙๒ นับเป็นจุดเร่ิมต้นของการพัฒนาด้านการรักษาพยาบาล ระบบงานอาคารสถานท่ี และศกั ยภาพของบุคลากร

๔โฉนดทดี นิ พระราชทานจากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั อานนั ทมหดิ ลเพือกอ่ สร้างสถานทีตรวจรักษาพยาบาลและการแพทย์ของกองทพั อากาศ

๕ ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๒ เป็นปีที่โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ดําเนินการครบ ๓๐ ปี นับเป็นม่ิงมหามงคลอีกครั้งที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระบรมสาทิสลักษณ์ ประดิษฐาน ณ อาคารหลังใหม่ของโรงพยาบาล และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามอาคารนี้ เพอ่ื ความเปน็ สิรมิ งคลวา่ \"คมุ้ เกล้าฯ\" ด้วยความสํานึกในหน้าท่ีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ นอกจากโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชจะปฏิบัติภารกิจสนับสนุนด้านยุทธการของกองทัพอากาศแล้ว ยังได้พัฒนาคุณภาพการรักษาพยาบาลอย่างต่อเน่ืองจนได้รับการรับรองจากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๕ เป็นลําดับเร่อื ยมาจนถงึ ปจั จุบนั

๖ขอ้ มูลทีค่ วรทราบเก่ียวกบั โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ ต้ังอยู่บนถนนพหลโยธิน เขตสายไหมเป็นหน่วยข้ึนตรงกรมแพทย์ทหารอากาศ เดิมเรียกชื่อว่า “โรงพยาบาลทหารอากาศ” เร่ิมดําเนินการจาก การแพทย์ทางอากาศ ให้การบริการด้านการแพทย์ที่อุบัติข้ึนเพ่ือดูแลรักษาพยาบาลเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในอากาศและผู้เกี่ยวข้อง ตั้งแต่เร่ิมมีเครื่องบินและการบินเกิดข้ึนเป็นกําลังทางอากาศครั้งแรกของ ประเทศไทย ในปี พ.ศ.๒๔๘๔ พลอากาศโทหลวงเทวฤทธิ์ พนั ลึก ผู้บัญชาการทหารอากาศ ในขณะน้ัน ได้ขอพระราชทานพระปรมาภิไธยช่ือโรงพยาบาลทหารอากาศนี้ว่า “โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช” เป็น สิริสวัสด์ิพิพัฒนมงคลต่อการดําเนินกิจการ โดยได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ปรากฏหลักฐานในหนังสือกองทัพอากาศ ทอ.๒๐๒๑/๙๒ลง ๗ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๒ และ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้เปิดทําการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันท่ี ๒๗ มีนาคม ๒๔๙๒มี นาวาอากาศโททพิ ย์ นาถสภุ า เปน็ ผอู้ าํ นวยการโรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดชคนแรก ในวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดําเนินทรงเปิดอาคาร“คุ้มเกล้าฯ” ซ่ึงเป็นอาคารขนาดใหญ่มีพื้นที่ใช้งานกว่า ๖๐,๐๐๐ ตารางเมตร เป็นอาคารรับผู้ป่วยที่มีส่วนสนับสนุนที่สมบูรณ์ที่สุดอยู่ภายในตัวอาคาร มีส่วนที่ใช้งานในการให้การรักษาผู้ป่วยทั้งหมด ๑๒ ชั้น แต่ละชั้นมีเนื้อท่ี ๖ ไร่คร่งึ สามารถรับคนไข้ได้ทงั้ อาคารประมาณ ๘๕๐ เตียง โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้ดําเนินงานในการตรวจรักษาพยาบาลข้าราชการ ทหารกองประจําการ นักเรียนทหาร ลูกจ้าง ครอบครัว และประชาชนทั่วไป อย่างมีมาตรฐานมาด้วยดีและในปี ๒๕๕๕ เพ่ือให้สามารถบริการผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชจงึ ไดเ้ ปดิ บรกิ ารในอาคาร “คมุ้ เกศ” เพ่ิมเติมอกี อาคารหนึง่ ตลอดระยะเวลา ๖๘ ปีที่ผ่านมา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้มีการพัฒนาคุณภาพหน่วยงานสถานท่ี บุคลากร สิ่งแวดล้อม และเพิ่มขีดความสามารถในการรักษาพยาบาลในทุกสาขามาเป็นลําดับ จนเป็นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิระดับสูงในปัจจุบัน โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช เป็นหน่วยขึ้นตรงกับกรมแพทย์ทหารอากาศ (พอ.) การจัดส่วนราชการของกรมแพทย์ทหารอากาศ และ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช รายละเอียดตาม ผนวก กวิสยั ทัศน์ (Vision): โรงพยาบาลตตยิ ภมู ิระดับสงู ชั้นนาํ และสถาบันฝกึ อบรมทมี่ ีคุณภาพระดบั แนวหนา้ ในปี ๒๕๖๓คา่ นิยม (Values): BHUMIBOL:B = Beloved King หมายถึง ความจงรักภกั ดีต่อองค์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวH = Humanity หมายถงึ การคาํ นึงถงึ ความเป็นมนษุ ย์ มีจิตใจเมตตากรุณาU = Unity หมายถึง ความสามคั ครี ว่ มแรงร่วมใจM = Motivation หมายถึง การสร้างแรงจงู ใจซ่ึงกันและกัน / กระตอื รือร้นI = Innovation หมายถึง การสรา้ งนวตั กรรมใหม่ๆ อยู่เสมอB = Believe หมายถึง ความเช่ือและศรทั ธาในการกระทาํ ดีO = Order หมายถึง การมรี ะเบียบวนิ ยัL = Learning organization หมายถงึ การเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรู้พันธกจิ (Mission): เป็นโรงพยาบาลหลักของกองทพั อากาศทีม่ คี ณุ ภาพ ให้บริการรักษาพยาบาล ส่งเสริม ฟื้นฟูและปอ้ งกนั โรคอย่างมีประสทิ ธิผลตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยมีผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง ให้การศึกษาอบรมนิสิตแพทย์ แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ ทกุ ระดบั อย่างมีมาตรฐาน และสรา้ งงานวิจัยทมี่ ีมาตรฐาน

๗หน่วยงานของโรงพยาบาลภูมพิ ลอดลุ ยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ๑. อาคารคุ้มเกล้าฯหนว่ ยงานสว่ นใหญ่จะอยใู่ นอาคาร “คุ้มเกลา้ ฯ” ซงึ่ มหี นว่ ยงานสาํ คัญดงั น้ีชน้ั ใต้ดนิ เปน็ ท่ตี ง้ั ของส่วนสนับสนุน ประกอบดว้ ยเคร่ืองปรับอากาศ เครอ่ื งกําเนิดไฟฟ้าระบบควบคุมไฟฟ้า เครือ่ งทาํ นํา้ รอ้ นเครอ่ื งควบคุมระบบโทรศัพท์ หนว่ ยจ่ายกลางหน่วยวศิ วกรการแพทย์ ลานจอดรถสาํ หรับนายทหารชั้นอาวุโสชั้นท่ี ๑ เปน็ ท่ีตั้งของสว่ นอบุ ัตเิ หตฉุ กุ เฉิน และหอ้ งผ่าตดั ประกอบดว้ ยห้องอบุ ตั เิ หตุและฉุกเฉนิ ห้องสงั เกตอาการศนู ย์ประสาน เวชระเบียน ๑หอ้ งจา่ ยยา ห้องคลอดหอ้ งผา่ ตดั ห้องสวนหัวใจหออภิบาลศลั ยกรรมทัว่ ไป หออภิบาลศลั ยกรรมระบบประสาทหออภิบาลศัลยกรรมอุบตั เิ หตุ หออภบิ าลผู้ป่วยไฟไหมน้ ้ําร้อนลวกหออภิบาลศลั ยกรรมโรคหัวใจช้ันที่ ๒ เป็นทตี่ ง้ั ของห้องตรวจผูป้ ่วยนอก (OPD) ของกองตา่ งๆ และหนว่ ยเก่ยี วข้องไดแ้ ก่หอ้ งตรวจสูตินรีกรรม ห้องตรวจออร์โธปิดกิ ส์ห้องตรวจกมุ ารเวชกรรม หอ้ งตรวจศลั ยกรรมห้องตรวจจักษุกรรม ห้องตรวจโสต ศอ นาสกิ กรรมห้องเจาะเลอื ด หอ้ งตรวจพยาธิวทิ ยากองรงั สีกรรม หอ้ งตรวจทางรังสวี ินิจฉัยแผนกเวชระเบียนและสถติ ิ หน่วยสังคมสงเคราะห์กองเภสัชกรรม หอ้ งจา่ ยยาใหญ่ช้นั ท่ี ๓ เปน็ ที่ตงั้ ของหนว่ ยรักษาพยาบาลพเิ ศษ ไดแ้ ก่ห้องตรวจผู้ป่วย VIP หนว่ ยตรวจประสาทวิทยาห้องตรวจการไดย้ ิน หน่วยโสตสมั ผสั และการแก้ไขคาํ พูดหออภบิ าลอายรุ กรรม หออภบิ าลโรคหวั ใจหออภบิ าลทารกแรกเกิด หนว่ ยตรวจพิเศษกุมารเวชกรรมหน่วยไตนอกจากนัน้ ยงั เปน็ ทีต่ ั้งของห้องประชุมและหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งกบั การศึกษา ได้แก่ห้องประชุมพลอากาศเอก ประพนั ธ์ ธูปะเตมีย์หอ้ งประชุมบุรพรตั น์ ห้องประชมุ เย็นสดุ ใจห้องประชมุ สุขบํารุง ห้องประชมุ ถาวรเวชและเปน็ ที่ตั้งของกองอาํ นวยการของโรงพยาบาลและหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง ได้แก่ห้องผูอ้ ํานวยการ หอ้ งรองผู้อํานวยการห้องนายทหารบรหิ ารงาน หอ้ งประชุมกองอํานวยการแผนกธรุ การ แผนกกําลงั พลงบประมาณ แผนกการเงินหมวดดูแลเงินรายได้ หน่วยควบคุมภายในแผนกเวชระเบยี น ศนู ยค์ อมพวิ เตอร์

๘มูลนิธคิ มุ้ เกลา้ ฯ หนว่ ยสุขศึกษาห้องโทรศัพท์กลาง หอ้ งประชาสมั พนั ธ์สนง.สิง่ แวดล้อม หอ้ งศนู ยว์ จิ ยั พัฒนาส่ิงประดษิ ฐค์ ิดค้นทางการแพทย์หน่วยควบคมุ โรคติดเช้ือ หนว่ ยช่วยการหายใจช้ันท่ี ๔ เป็นลานจอดรถ ทีต่ ั้งของกองบญั ชาการ (บก.) ของกองต่างๆ และหอ้ งประชมุ ดงั นี้กองอายรุ กรรม กองศัลยกรรมกองสูตินรีกรรม กองกมุ ารเวชกรรมกองออร์โธปิดิกส์ กองจักษุกรรมกองโสต ศอ นาสกิ กรรม กองตรวจโรคผู้ปว่ ยนอกห้องประชมุ ตัณฑ์ไพโรจน์ หอ้ งประชุมปาณกิ บตุ รชั้นท่ี ๕ เป็นหอผ้ปู ว่ ยออร์โธปิดกิ ส์ และ ศัลยกรรมอุบตั ิเหตุ ประกอบดว้ ยหอผู้ป่วยออร์โธปดิ กิ ส์ ๕/๑ หอผู้ปว่ ยศัลยกรรมอบุ ัตเิ หตุ ๕/๒หอผู้ปว่ ยออรโ์ ธปิดิกส์ ๕/๓ หอผ้ปู ่วยออร์โธปิดิกส์ ๕/๔ช้นั ท่ี ๖ เป็นหอผู้ปว่ ยศัลยกรรมหอผู้ปว่ ยศลั ยกรรมประสาท ๖/๑ หอผู้ปว่ ยศัลยกรรมยูโร ๖/๒หอผู้ปว่ ยศัลยกรรมท่วั ไป ๖/๓ หอผู้ป่วยศลั ยกรรมทว่ั ไป ๖/๔ชั้นที่ ๗ เป็นหอผปู้ ว่ ยสูตนิ รีเวชกรรม จักษกุ รรมและทารกแรกเกดิ ประกอบดว้ ยหอผู้ป่วยสตู กิ รรม ๗/๑ หอเดก็ ทารกแรกเกิด(ปกติ) ๗/๒หอผปู้ ว่ ยจกั ษกุ รรม ๗/๓ หอผูป้ ่วยนรีเวช ๗/๔ชัน้ ที่ ๘ เป็นหอผู้ปว่ ยอายุรกรรม ประกอบด้วยหอผู้ป่วยอายุรกรรมก่งึ วกิ ฤติ ๘/๑หอผปู้ ่วยอายุรกรรมและหลอดเลือดสมอง (Stroke) ๘/๓หอผปู้ ่วยอายุรกรรมทว่ั ไป ๘/๒ หอผู้ปว่ ยอายุรกรรมทว่ั ไป ๘/๔หออภิบาลผู้ปว่ ยระบบทางเดินหายใจ (RCU) ๘/๕ชนั้ ที่ ๙ เปน็ หอผปู้ ว่ ยอายรุ กรรม โสต ศอ นาสิกกรรม และกุมารเวชกรรม ประกอบดว้ ยหอผู้ป่วยอายุรกรรม(ICCW) ๙/๑ หอผปู้ ว่ ยโสต ศอ นาสกิ กรรม ๙/๒หอผู้ปว่ ยกมุ ารเวชกรรม ๙/๓ หอผ้ปู ่วยกุมารเวชกรรม ๙/๔ชนั้ ที่ ๑๐ เป็นหอผปู้ ว่ ยอายุรกรรม ประกอบดว้ ยหอผปู้ ว่ ยอายรุ กรรม ๑๐/๑หอผปู้ ่วยอายรุ กรรม ๑๐/๒ช้นั ที่ ๑๑ เป็นหอผู้ป่วยพิเศษ ประกอบด้วยหอผ้ปู ่วยพิเศษ ๑๑/๑ หอผูป้ ว่ ยพิเศษ ๑๑/๒ช้ันที่ ๑๒ เปน็ หอผปู้ ่วยพเิ ศษ ประกอบด้วยหอผูป้ ่วยพิเศษ ๑๒/๑ หอผปู้ ว่ ยพิเศษ ๑๒/๒นอกจากน้ียังมีหนว่ ยงานของโรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช ท่อี ยู่นอกอาคารค้มุ เกล้าฯ ได้แก่๒. อาคารคุ้มเกศ ห้องตรวจโรคผิวหนงัชน้ั ใตด้ นิ คลังพัสดุ หอ้ งจ่ายยาผ้ปู ่วยนอก ห้องจา่ ยยาขา้ ราชการ คลังยาใหญ่ชั้นท่ี ๑ ห้องตรวจอายุรกรรม หอ้ งตรวจ MRIชัน้ ที่ ๒ ห้องตรวจเวชศาสตร์ฟื้นฟู

๙ชั้นท่ี ๓ ห้องตรวจทนั ตกรรม ศนู ยโ์ รคไตชนั้ ท่ี ๔ หน่วยเวชศาสตรม์ ารดาและทารก และเวชศาสตร์การเจริญพันธ์ุ ห้องตรวจโรคขา้ ราชการ ศูนยโ์ รคหวั ใจ ห้องตรวจพเิ ศษ(ระบบทางเดินอาหาร)และศูนยส์ ่องกล้องระบบทางเดนิ อาหารชัน้ ที่ ๕ หอ้ งประชุมใหญ่ อ.คุ้มเกศ ห้องประชุมกองอาํ นวยการ ๒ และ ห้องเรยี นระบบ Computer๓. อาคารสลากกนิ แบง่ รฐั บาล (อาคาร ๘ ชนั้ ) ประกอบด้วยชน้ั ท่ี ๑ ห้องตรวจสุขภาพ ห้องตรวจประกันสุขภาพถ้วนหนา้ และประกนั สังคม ธนาคารทหารไทย ห้องตรวจเวชศาสตร์นิวเคลยี ร์ชั้นท่ี ๒ สาํ นกั งานประกันสขุ ภาพ และประกนั สงั คม ศูนย์เยี่ยมบา้ น๔. อาคารศูนย์ปอ้ งกนั และพัฒนาการรกั ษาโรคหัวใจ(หลังเก่า) เปน็ ท่ีต้ังของ ห้องตรวจผู้ปว่ ยวัณโรคไปรษณยี ์ บรเิ วณหน้าหออภิบาลศลั ยกรรม (ใต้ทางลาดชน้ั ๒ อ.คุ้มเกล้าฯ)๕. อาคารศนู ยม์ ะเร็งชน้ั ท่ี ๑ รงั สรี กั ษา ห้องตรวจนิติเวช ศูนย์โรคภูมิแพ้ชั้นที่ ๒ เคมบี ําบัดชั้นที่ ๓ กองบรกิ ารโลหติชน้ั ที่ ๔ กองการพยาบาล และศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลชน้ั ท่ี ๕ ศูนยว์ ิทยบรกิ ารและห้องสมุดอาคาร ๑๔ช้ัน ๑ จุลินทรยี -์ เพาะเชอื้ ชวี เคมี โลหิตวิทยา อิมมนู เก็บศพชนั้ ๒ ธุรการอาคารหอพกั แพทย์ ประกอบด้วยช้ันท่ี ๑ เป็นท่ีตั้งของ สํานักงานกองแพทยศาสตร์ศึกษา ห้องประชุม ห้องเรียนและห้องหุ่นจําลองเพ่ือการศกึ ษาชน้ั ที่ ๒-๗ เป็นท่พี ักของนสิ ิตแพทย์ แพทย์ประจาํ บ้านและหอ้ งพักแพทย์เวรอาํ นวยการศูนยส์ ุขภาพ เพ่ือใหบ้ ุคลากรไดใ้ ช้ออกกาํ ลังกาย อยู่ด้านหลงั โรงพยาบาล ประกอบดว้ ย สระวา่ ยนาํ้ สนามเทนนสิ ลู่วงิ่ เพอ่ื สุขภาพ สนามฟตุ บอล สนามบาสเกตบอล สนามเซปักตระกร้อหมายเหตุหมายเลขโทรศัพทข์ องหนว่ ยงานต่างๆในรพ.ภมู พิ ลอดุลยเดช พอ. รายละเอียดดัง ผนวก ฑ

๑๐ การฝกึ อบรมแพทย์ประจาํ บ้านโรงพยาบาลภมู ิพลอดุลยเดช พอ. ในด้านการศึกษา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้เปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้าน ตามหลักสูตรของแพทยสภา มาต้ังแต่ปีการศึกษา ๒๕๑๗ ในปัจจุบันมีการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้าน ๙ สาขาและแพทย์ประจําบ้านตอ่ ยอด ๘ สาขา นอกจากน้ี โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ยังเป็นสถาบันผลิตบัณฑิตแพทย์ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ในการสอนนิสิตแพทย์ตามโครงการการศึกษาแพทย์แนวใหม่ ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๑ และเปล่ยี นเปน็ โครงการผลติ แพทย์เพิม่ เพือ่ ชาวชนบท โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง และโครงการผลิตแพทย์เพิม่ แหง่ ประเทศไทยตามลาํ ดับ โดยมนี ิสติ แพทยม์ ารับการฝึกอบรมหอผู้ปว่ ย ในช่วงปที ี่ ๔ ถึงปีท่ี ๖ มีนิสิตแพทย์จบการศึกษาจากโครงการดงั กลา่ วแล้วกว่า ๒๕ รุ่น รวม ๕๔๒ คนวตั ถปุ ระสงค์ของการฝกึ อบรมแพทยป์ ระจําบา้ นโรงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช พอ. เพือ่ ใหแ้ พทย์ทจ่ี บการฝกึ อบรมเป็นแพทยเ์ ฉพาะทาง มคี ุณสมบตั ิ ความรู้ และความสามารถขน้ั ตน้ ดงั น้ี ๑. มคี วามร้คู วามสามารถ และเช่ยี วชาญเปน็ พิเศษในสาขาวชิ าชีพท่จี บการฝกึ อบรม ๒. มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีต่อผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน เพ่ือนร่วมวิชาชีพและชุมชน(ซ่ึงสอดคล้องกับคาํ ประกาศสิทธขิ องผปู้ ว่ ยตาม ผนวก ค ๓. ปฏบิ ัตติ ามขอ้ บงั คับของแพทยสภาวา่ ดว้ ยการรกั ษาจรยิ ธรรมแห่งวิชาชพี เวชกรรม ๔. มคี วามรใู้ นการวิจัยเปน็ อยา่ งดี ๕. มีความคดิ ตามหลักวิทยาศาสตร์ และความคิดสรา้ งสรรค์ ท่ีจะพัฒนาการสาธารณสุขและชุมชน ๖. มคี วามสนใจใฝ่รู้ และขวนขวายหาความรู้ ความชาํ นาญเพ่ิมเติมอยเู่ ปน็ นจิ ๗. มีความรู้ความสามารถในการ ๗.๑ นาํ เสนอประวตั ิผู้ป่วย บรรยายและอภิปรายปัญหาอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๗.๒ ใหค้ วามรู้ คาํ แนะนาํ แกผ่ ู้ป่วย ญาตผิ ้ปู ่วย และชุมชนโดยท่วั ไป ๗.๓ ถา่ ยทอดความรู้ ความสามารถให้แก่แพทย์ และ บุคลากรทางการแพทย์ ๘. มีความรู้ ความสามารถ ในด้านการบริการ ในการวางแผน และบริหาร เพ่ือให้การรักษาพยาบาลเป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถร่วมและประสานงานกับบุคลากรต่าง ๆ เพื่อพัฒนาการศึกษาทางการแพทย์ การสาธารณสุข การป้องกัน การส่งเสริมและการฟ้ืนฟูสุขภาพ และกิจกรรม ทางวิชาการอื่น ๆ การฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้าน ๙ สาขา มีผู้จบการศึกษาแล้วทั้งส้ิน ๙๑๑ คน และแพทย์ประจําบ้านต่อยอดอีก ๘ สาขา มีผู้จบการศึกษาแล้วทั้งส้ิน ๕๘ คน แพทย์ประจําบ้าน และแพทย์ประจําบ้านสาขาต่อยอด สําเร็จเป็นผเู้ ช่ียวชาญรวมท้ังสน้ิ ๙๕๕ คน ตัง้ แต่เร่ิมเปิดการอบรม - ปีการศึกษา ๒๕๕๙ (หมายเหตุ: ปีการศึกษา ๒๕๖๐รอสอบประมาณเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๑) ข้อมูลจากการสํารวจ ณ วันท่ี ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รายละเอียดดงั น้ีแพทย์ประจาํ บ้าน๑. สาขาศัลยศาสตร์ทว่ั ไป เริม่ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๑๙๒. สาขาออร์โธปิดิกส์ เรม่ิ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๒๗๓. สาขาอายรุ ศาสตร์ เรม่ิ เปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๒๘๔. สาขาสูตศิ าสตร์-นรเี วชวิทยา เร่ิมเปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๒๘๕. สาขากุมารเวชศาสตร์ เร่ิมเปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๓๑๖. โสต ศอ นาสิกวทิ ยา เริม่ เปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๓๒

๑๑๗. สาขาประสาทศัลยศาสตร์ เรม่ิ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๓๔๘. สาขาเวชศาสตรฉ์ ุกเฉนิ เรมิ่ เปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๔๖๙. สาขาเวชศาสตร์ครอบครัว เรมิ่ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๔๓แพทย์ประจําบ้านต่อยอด เรม่ิ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๔๑๑. สาขาอายุรศาสตรโ์ รคไต เร่ิมเปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๔๑๒. สาขาอายรุ ศาสตรโ์ รคระบบทางเดนิ อาหาร เร่ิมเปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๔๓๓. สาขาอายรุ ศาสตร์โรคหัวใจ เร่มิ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๔๒๔. สาขามะเร็งนรีเวชวทิ ยา เร่ิมเปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๔๕๕. สาขากุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดและปรกิ ําเนิด เรมิ่ เปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๔๖๖. สาขาเวชบาํ บดั วกิ ฤต เรม่ิ เปดิ การอบรม พ.ศ.๒๕๕๐๗. สาขาศัลยศาสตร์อบุ ตั เิ หตุ เรม่ิ เปิดการอบรม พ.ศ.๒๕๕๔๘. สาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์หน้าที่แพทย์ประจาํ บ้านโรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช ๑. ปฏิบัติงานรับผิดชอบผปู้ ่วย ซงึ่ อยใู่ นความรับผิดชอบของกองน้ัน ๆ ทงั้ ผปู้ ว่ ยในและผู้ป่วยนอก ๒. ปฏบิ ตั ิงานในหอ้ งอบุ ตั ิเหตุฉุกเฉนิ และปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ๓. ตอ้ งเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ขน้ั พน้ื ฐานประยกุ ต์ (Correlated Basic Medical Science) ใหค้ รบตามทีร่ าชวิทยาลยั กาํ หนด ๔. ชว่ ยสอนนิสิตแพทย์ ๕. ร่วมกจิ กรรมทางวชิ าการ ของ รพ.ท่จี ดั ข้ึน เชน่ CPC , Interdepartment conference การประชุมวชิ าการของ รพ. ทกุ วันพฤหัส, การประชุมวิชาการใหญป่ ระจาํ ปี ๖. เขา้ ร่วมงาน วนั ไหว้ครู วันมอบประกาศนยี บัตร และอื่น ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมายการฝกึ อบรมและการปฏิบตั ิงานของแพทย์ประจําบ้าน การฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้าน หลักสูตรของการฝึกอบรมแพทย์ประจําบ้านแต่ละกองฯ จะถูกกําหนดโดยราชวิทยาลัยแต่ละสาขาโดยทางกองฯจะชี้แจงรายละเอียดของหลักสูตรของตนเอง ส่วนกิจกรรมและการอบรมที่จัดโดยคณะอนุกรรมการการศึกษาแพทยห์ ลังปริญญามีกจิ กรรมดงั ต่อไปน้ี ๑. การปฐมนิเทศ สําหรับแพทย์ประจําบ้านชั้นปีท่ี ๑ ซ่ึงเข้าฝึกอบรมในโรงพยาบาลภูมิพอดุลยเดชคณะอนุกรรมการการศึกษาแพทย์หลังปริญญามีการจัดอบรม เพ่ือเป็นการปูพ้ืนฐานของความรู้ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงาน และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์นอกสถานที่ เพ่ือให้แพทย์ประจําบ้านได้ทําความรู้จักกัน (กําหนดการของการปฐมนิเทศรายละเอียดดงั แสดงใน ผนวก ค) ๒. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการช่วยฟ้ืนคืนชีพช้ันสูง สําหรับแพทย์ประจําบ้านชั้นปีที่ ๑ โดยอาจารย์แพทยส์ หสาขา ซ่ึงจะจดั ในชว่ งต้นปีการศกึ ษาของทกุ ปี ๓. การอบรม Basic Science สาํ หรับแพทย์ประจาํ บ้านชน้ั ปีที่ ๑ ซง่ึ จดั ใหม้ ใี นวันพุธบ่ายของทุกสัปดาห์ซึ่งเป็นหัวขอ้ เกีย่ วกบั basic science และความรู้ท่วั ไปในการดแู ลรักษาผู้ปว่ ย (รายละเอียดดังแสดงใน ผนวก ง) ๔. การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารภาษาอังกฤษ จัดให้มีการอบรมภาษาอังกฤษ ซ่ึงตารางการอบรมจะต่อเนื่องหลังจบการอบรม Basic knowledge การอบรมภาษาอังกฤษจะทําให้แพทย์ประจําบ้านได้ฝึกทักษะทาง

๑๒ภาษาอังกฤษในการติดต่อส่ือสารกับชาวต่างชาติ อีกทั้งเพื่อเป็นการรองรับในการที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN economic community, AEC) ใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ สําหรบั การอบรม Basic science และการอบรมเชิงปฏิบัติการภาษาอังกฤษ แพทย์ประจําบ้านจะต้องมีเวลาในการเข้าเรียนไมต่ ่ํากวา่ รอ้ ยละ ๘๐ จึงจะมสี ิทธสิ อบ และคะแนนสอบไม่ตํ่ากว่า ๖๐% หากสอบคร้ังแรกไม่ผา่ นเกณฑ์ จะทาํ การสอบซ่อม และหากไม่ผ่านเป็นคร้ังท่ีสอง คณะอนุกรรมการการศึกษาแพทย์หลังปริญญาจะพิจารณาในที่ประชุมว่า จะให้ทํารายงานในหัวข้อที่สอบไม่ผ่าน หรือ สอบซ่อมในปีต่อๆไปตามความเหมาะสมทั้งนี้การผ่านการสอบ Basic science จะถูกนําไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์ การผ่านเลื่อนช้ันของแต่ละกองด้วย ๕. ปจั ฉมิ นเิ ทศ สาํ หรับแพทย์ประจาํ บ้านชั้นปที ่ี ๓ เมื่อจบการอบรมหลักสูตรแพทย์ประจําบ้าน ๓ ปีแล้วคณะอนุกรรมการการศึกษาแพทย์หลังปริญญาจะจัดให้มีการปัจฉิมนิเทศนอกสถานที่ ประมาณเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี เปิดโอกาสให้แพทย์ประจําบ้านได้มีการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) เพ่ือนําไปปรบั ปรุงการเรียนการสอนต่อไป (สําหรับหลักสูตรแพทย์ประจําบ้านในสาขาที่เรียนมากกว่า ๓ ปี ก็จะให้ไปปัจฉิมนเิ ทศพร้อมกันเมื่อข้นึ ช้นั ปีท่ี ๓ น้ี)การปฏบิ ตั งิ านของแพทย์ประจาํ บ้าน ๑. การปฏบิ ตั ิงานของแพทย์ประจาํ บ้านจะมีการหมุนเวียนตามหออภิบาลผู้ป่วยซึ่งผู้ดูแลแพทย์ประจําบ้านของ แต่ละกองฯกําหนดตามหลักสูตรของแต่ละราชวิทยาลัยตลอดจนจบการฝึกอบรม โดยคณะอนุกรรมการการศกึ ษาแพทยห์ ลังปริญญา ไม่อนุญาตใหม้ กี ารยา้ ยหรือเปลย่ี นสาขาในระหว่างการฝกึ อบรม ๒. การอยู่เวรนอกเวลาราชการ มีการจัดตารางเวรแพทย์ประจําบ้านช้ันปีท่ี ๑, ๒ และ ๓ (บางกองฯจะมีแพทยป์ ระจําบา้ นชน้ั ปีที่ ๔ และ ๕ ด้วย) เพอ่ื ใหก้ ารดูแลผปู้ ่วยเป็นลําดับขั้น โดยจะมีอาจารย์แพทย์ใหค้ าํ ปรึกษา ๓. การอยู่เวรของแพทย์ประจําบ้านช้ันปีที่ ๑ ที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โดยหัวหน้าแพทย์ประจําบ้านชั้นปีท่ี ๑ จะทําการติดต่อประสานกับแพทย์ห้องฉุกเฉินในการจัดตารางหมุนเวียนแพทย์ การอยู่เวรท่ีห้องอุบัติเหตุและฉกุ เฉนิ มีแนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน รายละเอียดตาม ผนวก จ ๔. แพทย์ประจาํ บา้ นควรปอ้ งกันตนเองเพ่ือมิให้เกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน โดยเฉพาะที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน อุบัติเหตุจากการทํางานท่ีพบบ่อย ได้แก่ การถูกเข็มตํา หรือ สารคัดหล่ังของผู้ป่วยกระเด็นเข้าสู่ร่างกายเปน็ ตน้ การป้องกนั การติดเชอ้ื ในบุคลากรทางการแพทย์ รายละเอียดตาม ผนวก ฉ ๕. การแตง่ กายของแพทย์ประจาํ บา้ น ควรแต่งกายสุภาพเรียบร้อย รองเท้ารัดส้น (ห้ามมิให้ใส่รองเท้าแตะ)ผ้หู ญงิ น่งุ กระโปรงสีสภุ าพ และ ผชู้ ายใส่กางเกงสีสุภาพการทํางานวิจัย ราชวิทยาลัยแพทย์บางสาขา กําหนดให้แพทย์ประจําบ้านทํางานวิจัยอย่างน้อย ๑ เรื่องในระหว่างการฝึกอบรม เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการสอบเพื่อวุฒิบัตรแพทย์ประจําบ้าน ซ่ึงมีคณะกรรมการวิจัยของแต่ละกองให้คาํ แนะนําในการทํางานวจิ ัย นอกจากนยี้ ังสามารถดรู ายละเอียด คาํ แนะนําในการปรึกษางานวิจัย การส่งโครงร่างการวิจัย เพื่อขอรับการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรม และ แบบข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณาจากคณะกรรมการจรยิ ธรรม (เอกสารตาม ผนวก ช) ทางโรงพยาบาลภมู ิพลอดลุ ยเดชเปดิ โอกาสใหแ้ พทย์ประจาํ บ้านส่งผลงานวิจัยเขา้ ประกวดในการประชุมวิชาการประจําปีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (ก่อนท่ีจะจบการศึกษาของแพทย์ประจําบ้าน) ซึ่งจะอยู่ในช่วงปลายเดอื น มนี าคม ของทุกปี

๑๓เวชระเบยี น การบันทึกข้อมูลทางการแพทย์มีความสําคัญต่อการดูแลรักษาผู้ป่วย และการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน ทางแผนกเวชระเบียนและสถิติได้จัดทําระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับแฟ้มประวัติผู้ป่วยเพื่อความถูกต้องสมบรู ณ์ของเวชระเบยี น (รายละเอียดตาม ผนวก ซ)การประเมนิ ผลแพทยป์ ระจาํ บา้ น โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช หลงั จากท่แี พทย์ประจาํ บา้ นได้เขา้ รบั การฝึกอบรมตัง้ แต่เดือนมถิ นุ ายน จะได้รับการประเมนิ การปฏบิ ตั ิหน้าทโี่ ดยกองทแี่ พทย์ประจาํ บ้านน้นั ได้ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อยู่เป็นรายเดือน ดว้ ยแบบฟอร์มการประเมินผลการทํางานรายบคุ คลของแพทยป์ ระจําบ้าน โดยอาจารยผ์ ู้ดูแล ซง่ึ มกี ารประเมนิ คุณลักษณะ ใน ๓ ดา้ น คอื ๑. ความรู้ (Knowledge) ๒. เจตนคติ (Attitude) ๓. การปฏิบตั งิ าน (Practice)ความรู้ (Knowledge) - มคี วามรู้ทางวชิ าการพนื้ ฐาน (Basic Science) ความรทู้ างคลินกิ (Clinical Science) อยา่ งพอเพียง ที่จะดแู ลรักษาผู้ป่วยและเหมาะสมตามชัน้ ปขี องตน - มคี วามกระตือรือรน้ และความสามารถทจี่ ะศกึ ษาหาความร้ดู ว้ ยตนเอง จากแหล่งต่าง ๆ และสามารถคัดกรองข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมตามหลกั Evidence Base Medicine - มีการนําความรู้ไปใชถ้ า่ ยทอดแก่แพทย์รุ่นน้อง นกั ศกึ ษาแพทย์ และบุคลากรอนื่ ๆ ได้ สามารถอภปิ รายในการประชุมวชิ าการหรอื ดูแลผ้ปู ่วยได้เป็นอย่างดีเจตนคติ (Attitude) - ความรับผิดชอบในหน้าท่ีของตน การดแู ลผู้ป่วยนอก ผ้ปู ่วยใน การอยูเ่ วร การสอนนิสติ แพทย์ - ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิงานในหอผู้ป่วย การออกตรวจผูป้ ่วยนอก การเข้าประชมุ วิชาการ และการรบั สง่ เวร - ความมงุ่ มนั่ ทจ่ี ะปฏบิ ัติงานอยา่ งเตม็ กําลงั ความสามารถ - ความตงั้ ใจทจี่ ะดแู ลสอนนักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจาํ บ้านรุ่นนอ้ ง - มีมนษุ ยสัมพันธ์ และมารยาทท่ดี ตี ่ออาจารย์ เพอื่ นแพทย์ บคุ ลากรอ่นื ผู้ปว่ ยและญาติ สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้เปน็ อย่างดี เม่ือเกิดสถานการณ์ไม่พึงประสงค์การปฏิบัตงิ าน (Practice) - ความสามารถในการปฏบิ ัติงาน ได้แก่ การซกั ประวัติ การตรวจร่างกาย การวนิ จิ ฉยั การสง่ ตรวจและแปลผลตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ความสามารถในการดแู ลผปู้ ่วยในภาวะวิกฤติ สามารถจาํ แนกผปู้ ว่ ยฉุกเฉนิที่ตอ้ งการการดูแลอยา่ งเร่งด่วนได้ ความสามารถในการดแู ลรกั ษาผู้ปว่ ยนีต้ ้องเป็นไปตามขอ้ กาํ หนดตามชน้ั ปีของแต่ละราชวทิ ยาลัย - มีความสามารถในการทําหัตถการและการผ่าตัด ตามที่กําหนดไว้ในแตล่ ะชน้ั ปี - มคี วามสามารถในการอภิปรายใหเ้ หน็ ในผู้ป่วยแตล่ ะราย ในการประชุมวชิ าการ สามารถสื่อสารได้กับแพทย์ผอู้ ืน่ สหสาขาวิชาชพี ผ้ปู ว่ ยและญาติได้อย่างเหมาะสม - มกี ารใช้ทรพั ยากรต่าง ๆอย่างมปี ระสิทธิภาพ เพื่อประโยชนส์ ูงสุด - มคี วามสามารถในการทํางานเอกสาร ทัง้ การเขียนรายงานผูป้ ่วย การสรปุ รายงาน การเขียนConsult อย่างเหมาะสมและสมบูรณ์ การแก้ไขปัญหาทางธุรการไดอ้ ย่างเหมาะสม

๑๔เกณฑ์การประเมินการปฏบิ ตั ิงานของแพทยป์ ระจาํ บ้าน การประเมินการปฏบิ ตั งิ านของแพทย์ประจาํ บา้ น จะเปน็ ไปตามข้อกําหนดของแต่ละราชวทิ ยาลัย โดยมกี ารแบ่งระดบั คะแนนของการประเมนิ ในแต่ละดา้ นเปน็ ๔ ระดบั (แบบฟอร์มการประเมนิ รายละเอียดตามผนวก ฌ) คือ ระดับ 1 = ควรปรับปรงุ ระดบั 2 = พอใช้ ระดบั 3 = ดี ระดับ 4 = ดีมาก - แพทยป์ ระจําบา้ นที่จะผา่ นการประเมนิ ต้องได้รบั การประเมิน ต้ังแต่ระดบั ๒ ขึ้นไปทุกด้าน - แพทย์ประจาํ บา้ นทุกรายจะไดร้ ับการประเมนิ ทุกเดือน และสง่ ผลการประเมินใหค้ ณะกรรมการแพทย์หลังปริญญาทกุ ๓ เดือน - แพทยป์ ระจาํ บา้ นทจี่ ะตอ้ งปรบั ปรุงในแต่ละด้านตอ้ งไดร้ ับการแจง้ จากคณะกรรมการการศึกษาของแต่ละกอง เพื่อใหป้ รับปรงุ ตนเองแนวทางการลงโทษแพทย์ประจําบา้ น แพทย์ประจําบ้านต้องปฏิบัติตนตามหน้าท่ี และ ความรับผิดชอบ ถูกต้องตามจริยธรรมทางการแพทย์หากมคี วามบกพร่องในการปฏิบัติหน้าท่ี จะมีขั้นตอนการพิจารณาการลงโทษตามระดับความรุนแรง โดยอ้างอิงจากคําสั่งโรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศ กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ (เฉพาะ) ที่๒๓/๕๐ ประกาศ ณ วันท่ี ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ (รายละเอียดตาม ผนวก ญ)สวัสดิการของแพทย์ประจาํ บ้านโรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช แพทย์ประจาํ บา้ นโรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช มสี วสั ดกิ ารตา่ งๆดังนี้ ๑. เสื้อกาวน์ คณะอนุกรรมการการศึกษาแพทย์หลังปริญญาจัดหาเสื้อกาวน์ให้ทุกปี โดยแพทย์ประจําบา้ นช้ันปีที่ ๑ คนละ ๔ ตวั และแพทย์ประจําบา้ นช้นั ปที ี่ ๒-๕ คนละ ๒ ตวั ตลอดระยะเวลาการฝึกอบรม ๒. สิทธิการตรวจสุขภาพและการรักษาพยาบาล สิทธิการตรวจสุขภาพ เม่ือท่านมาเป็นแพทย์ประจําบ้านโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ท่านจะได้รับการตรวจร่างกายประจําปี และ ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ประจาํ ปี ปีละ ๑ ครั้ง นอกจากน้ที างคณะกรรมการพฒั นาบคุ ลากรของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช จัดให้มีการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายปีละ ๒ คร้งั ซง่ึ แพทยป์ ระจําบ้านควรเข้ารว่ มการทดสอบด้วย สิทธิการรักษาพยาบาล สําหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล เมื่อท่านเป็นแพทย์ประจําบ้านโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชน้ัน มีขั้นตอนในการตรวจสอบสิทธิและการทําการเปิดสิทธิในวันกิจกรรมเตรียมความพรอ้ มแพทย์ประจาํ บ้าน ๒.๑ แพทย์ประจําบ้านที่มีสิทธิต้นสังกัดเบิกได้ ทําการตรวจสอบสิทธิ์โดยนําบัตรประชาชนมาตรวจสอบสิทธ์ิ ๒.๒ แพทยป์ ระจําบา้ นท่ไี ม่มีตน้ สงั กดั หรอื สมัครอสิ ระจะใชส้ ิทธิประกันสังคมโดยเตรียมเอกสารในการขอขึ้นสิทธปิ ระกนั สังคม และสามารถใช้สทิ ธิประกันสังคมได้เม่ือส่งเงินสมทบครบ ๖ เดือน ๒.๓ ในกรณีที่ยังไม่สามารถเปิดสิทธิการรักษาพยาบาลได้ หรืออยู่ในระหว่างดําเนินการแพทย์ประจาํ บ้านจะใชส้ ทิ ธิประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ โดยใชใ้ นกรณีฉุกเฉินเท่าน้ัน กรณีฉุกเฉินจากอุบัติเหตุการจราจรใช้สทิ ธิประกันสขุ ภาพถ้วนหน้าไม่ได้

๑๕๓. หอพกั แพทย์ และศูนยส์ ขุ ภาพ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้จัดหาหอพักให้แพทย์ประจําบ้านที่มาปฏิบัติงานในโรงพยาบาลอย่างครบถ้วน ซึ่งอยู่ด้านข้างของโรงพยาบาล และมีศูนย์สุขภาพ เพื่อให้บุคลากรได้ใช้ออกกําลังกายอยู่ด้านหลังโรงพยาบาล ประกอบดว้ ย สระว่ายนา้ํ สนามเทนนสิ ลวู่ ิง่ เพือ่ สขุ ภาพ สนามฟตุ บอล สนามบาสเกตบอล และสนามเซปกั ตระกรอ้ (รายละเอียดระเบยี บหอพักแพทย์ตาม ผนวก ฎ) ๔. หอ้ งสมุด ห้องสมุดของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชตั้งอยู่ท่ีช้ัน ๕ อาคารศูนย์มะเร็ง ชั้น ๕ มีบริการหนงั สอื ตํารา นวนยิ าย นิตยสาร หนงั สือพิมพ์รายวัน และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการกับบุคลากรทางการแพทยท์ กุ ท่าน ปจั จบุ ันแพทย์ประจําบ้านสามารถใช้คอมพิวเตอร์ประจําหออภิบาลผู้ป่วย และห้องตรวจผู้ป่วยในเขา้ ถงึ หอ้ งสมดุ อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-library) ได้จากอินทราเน็ตของโรงพยาบาล โดยใช้รหัสส่วนบุคคลในการเข้าสู่ระบบ นอกจากนี้ยังสามารถนําเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทโฟนมาทําการลง Application เพื่อเข้าถึงฐานข้อมลู ไดอ้ กี ด้วย (ค่มู อื การใชห้ ้องสมุดตาม ผนวก ฏ) ๕. ศนู ย์วิทยบรกิ าร การให้บรกิ ารของศูนยว์ ทิ ยบริการ โรงพยาบาลภูมพิ ลอดลุ ยเดช ๕.๑ ใหบ้ ริการสิง่ อํานวยความสะดวกสือ่ การเรยี นการสอนแกแ่ พทย์ พยาบาล นิสติ แพทย์และ บุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาล รวมทัง้ หน่วยท่ีขอความรว่ มมือ ๕.๒ ผลติ และพัฒนาเทคโนโลยสี อื่ การศึกษา ๕.๓ อาํ นวยความสะดวกภายในห้องประชุมต่างๆ (การใช้บรกิ ารของศูนยว์ ทิ ยบรกิ ารมรี ะเบียบ รายละเอยี ดตาม ผนวก ฐ)

๑๖ภาคผนวก

๑๗ ผนวก กการจัดหน่วยของกรมแพทย์ทหารอากาศ กองทัพอากาศ (ทอ.) กรมแพทย์ทหารอากาศ สถาบันเวชศาสตร์การบนิ (พอ.) (สวบ.ทอ.)กองวิทยาการ กองบริการกองเวชศาสตรป์ ้องกนั กองเวชบรภิ ัณฑ์ รพ.ภมู ิพลอดุลยเดช วทิ ยาลยั พยาบาลทหารอากาศศนู ยป์ ฏบิ ัตกิ ารแพทย์ ทหารอากาศ รพ.จันทรเุ บกษา รพ.ทหารอากาศ (สีกัน)รายนามผู้บงั คบั บญั ชา กรมแพทยท์ หารอากาศเจา้ กรมแพทยท์ หารอากาศ พลอากาศโท นริ ันดร พิเดชรองเจ้ากรมแพทยท์ หารอากาศ พลอากาศตรี ภูมิพิชญ์ชากรณ์ จรรยาวิจกั ษณ์เสนาธกิ ารกรมแพทย์ทหารอากาศ พลอากาศตรี เกรียงไกร โสธรชยัรองเสนาธกิ ารกรมแพทยท์ หารอากาศ นาวาอากาศเอก ไกรเลศิ เธียรนุกุล

๑๘การจดั หน่วยของโรงพยาบาลภมู ิพลอดลุ ยเดช กรมแพทยท์ หารอากาศ รพ.ภูมพิ ลอดุลยเดช พอ. กองอํานวยการ กองตรวจโรคผ้ปู ่ วยนอก (กอก.) (กตน.) กองอายรุ กรรม กองศลั ยกรรม (กอย.) (กศก.) กองสตู นิ รีกรรม กองกมุ ารเวชกรรม (กสก.) (กกม.) กองออร์โธปิดกิ ส์ กองรังสีกรรม (กอป.) (กรส.)กองโสต ศอ นาสิกกรรม กองวิสญั ญีและห้องผ่าตดั (กสศ.) (กวห.) กองจกั ษุกรรม กองเวชศาสตร์ฟื นฟู (กจษ.) (กวฟ.) กองทนั ตกรรม กองเภสชั กรรม (กทก.) (กภก.)กองการพยาบาล กองพยาธิกรรม (กพย.) (กพก.)กองแพทยศาสตร์ศกึ ษา กองบริการโลหติ (กพศ.) (กบล.) กองบริการ (กรก.)

๑๙รายนามผบู้ ังคบั บญั ชา โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศผู้อํานวยการโรงพยาบาล พลอากาศตรีอภชิ าต พลอยสังวาลย์รองผ้อู ํานวยการโรงพยาบาล (๑)รองผูอ้ ํานวยการโรงพยาบาล (๒) นาวาอากาศเอกทวพี งษ์ ปาจรีย์นายทหารบรหิ ารงานโรงพยาบาลผูอ้ าํ นวยการกองตรวจโรคผู้ป่วยนอก นาวาอากาศเอกเพชร เกษตรสุวรรณผู้อาํ นวยการกองอายุรกรรมผู้อํานวยการกองศลั ยกรรม นาวาอากาศเอกชวลติ ดังโกสินทร์ผู้อาํ นวยการกองสูตินรกี รรมผอู้ าํ นวยการกองกมุ ารเวชกรรม นาวาอากาศเอกอาภัสร์ เพชรผดุผอู้ าํ นวยการกองออรโ์ ธปดิ ิกส์ผู้อํานวยการกองจักษุกรรม นาวาอากาศเอกธนาสนธ์ ธรรมกลุผู้อาํ นวยการกองโสต ศอ นาสิกกรรมผ้อู ํานวยการกองรังสกี รรม นาวาอากาศเอกนพดนยั ชยั สมบรู ณ์ผู้อํานวยการกองพยาธิกรรมผอู้ าํ นวยการกองทันตกรรม นาวาอากาศเอกสนิ าท พรหมมาศผู้อํานวยการกองการพยาบาลหัวหนา้ กองบริการโลหิต นาวาอากาศเอกนภ ตู้จนิ ดาหัวหนา้ กองวิสญั ญีและหอ้ งผ่าตัดหวั หน้ากองเวชศาสตร์ฟ้ืนฟู นาวาอากาศเอกวิชู ตง้ั สขุ นริ ันดรหัวหนา้ กองเภสชั กรรมหวั หนา้ กองแพทยศาสตรศ์ กึ ษา นาวาอากาศเอกทววี งศ์ หาญดํารงค์หวั หน้ากองบรกิ ารหัวหนา้ ศนู ย์ป้องกนั และพัฒนาการรักษาโรคหวั ใจ นาวาอากาศเอกจงรักษ์ พรหมใจรกั ษ์หัวหน้าหน่วยควบคมุ โรคตดิ เชอ้ืหวั หนา้ ผู้ดแู ลอาคารพเิ ศษ นาวาอากาศเอกสยม บุนนาคหัวหน้าศนู ย์คอมพวิ เตอร์หวั หนา้ หนว่ ยช่วยการหายใจ นาวาอากาศเอกธาํ รงค์ประวตั ิ เชดิ เกียรติกลุหัวหน้าแผนกเวชระเบยี นและสถิติ นาวาอากาศเอกหญงิ บญุ ธดิ า โชติชนาภิบาล นาวาอากาศเอกหญงิ อสิ รยิ า พินพรหมราช นาวาอากาศเอกเขษม ธเนศวร นาวาอากาศเอกหญิง นนั ทนา กวียานันท์ นาวาอากาศเอกอิศรพงษ์ ยรรยง นาวาอากาศเอกหญงิ มารนิ า ฐติ ะฐาน นาวาอากาศเอกหญงิ จุฑารตั น์ เมฆมัลลิกา นาวาอากาศเอกหญงิ กมลชนก รักขติ ตธรรม นาวาอากาศเอกหญิง ประจงจิตร์ แช่มสอาด นาวาอากาศเอกธนาสนธิ์ ธรรมกุล นาวาอากาศเอกชนิ วตั ร์ สุทธวิ นา เรืออากาศโทวุฒิพนั ธ์ นภาพงษ์ เรืออากาศเอกจรสั ปติ ะวิวฒั นานนท์ นาวาอากาศโทหญิง ธรี ะนุช เพชรรุ่ง

๒๐รายชือ่ คณะอนกุ รรมการการศึกษาแพทยห์ ลงั ปริญญา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.๑. น.อ.อาภสั ร์ เพชรผดุ ทป่ี รึกษา๒. น.อ.ชนิ วัตร์ สุทธวิ นา ท่ีปรึกษา๓. น.อ.นพดนัย ชยั สมบูรณ์ ที่ปรึกษา๔. น.อ.ทววี งศ์ หาญดาํ รง ท่ีปรกึ ษา๕. น.อ.หญิง จุฑารัตน์ เมฆมัลลิกา ทปี่ รกึ ษา๖. น.อ.พทิ ักษ์ ออ่ นศริ ิ ท่ีปรกึ ษา๗. น.อ.ปณต ย้ิมเจริญ ทีป่ รกึ ษา๘. น.อ.หญิง กานต์สดุ า พเิ ชฐสนิ ธ์ุ ท่ีปรึกษา๙. น.อ.หญิง สญั สณีย์ พงษ์ภกั ดี ประธานอนกุ รรมการ๑๐.น.ท.หญิง สธนา เสรมิ ศรี อนุกรรมการ๑๑.น.ท.หญิง อรพชิ ญ์ ขยันกิจ อนุกรรมการ๑๒.น.ท.หญงิ ณัฐพรทิรา ผลากรกลุ อนกุ รรมการ๑๓.น.ท.หญงิ สุภา ศิริสวสั ดิ์ อนุกรรมการและเลขานกุ าร๑๔.น.ต.หญงิ นาฏยา เก้ือกลู รฐั อนุกรรมการ๑๕.น.ต.หญงิ ศริ พิ ร ผ่องจติ สิริ อนกุ รรมการ๑๖.น.ต.หญงิ นพนิต พัฒนาชยั วิทย์ อนกุ รรมการ๑๗.น.ต.หญิง วยิ ะดา เหลอื งดา่ นสกลุ อนกุ รรมการ๑๘.น.ต.ภทั ร อํานาจตระกูล อนุกรรมการ๑๙.ร.อ.จรสั ปติ วิวฒั นานนท์ อนกุ รรมการ๒๐.ร.อ.สมัชญ์ ตั้งชสู กุล อนุกรรมการ๒๑.ร.อ.ชัยฤทธิ์ โลหะกิจเสถียร อนกุ รรมการ๒๒.ร.อ.อรรถสทิ ธ์ิ ดลุ อาํ นวย อนุกรรมการ๒๓.ร.อ.เกรยี งไกร เวยี งนาค อนุกรรมการ๒๔.ร.อ.หญิง ศภุ ชั ญา เสนากัสป์ อนกุ รรมการ๒๕.ร.อ.หญิง อาจารี ตันตวิ รรธณ์ อนกุ รรมการ๒๖.ร.อ.หญงิ ฉตั รแกว้ ชุม่ เพง็ พันธุ์ อนุกรรมการ๒๗.ร.ท.หญิง แก้วตา วงศภ์ ักดี อนกุ รรมการ๒๘.ร.ท.หญงิ นิจชา รุทธพิชัยรกั ษ์ อนกุ รรมการ๒๙.ร.ท.หญิง บุญยวีร์ อรณุ พพิ ัฒนาชยั อนุกรรมการ๓๐.น.ส.สายสมร มชี สู าร อนกุ รรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร๓๑.นางอัคศราภรณ์ พลายระหาญ อนุกรรมการ

๒๑ หน้าท่ีของคณะอนุกรรมการการศกึ ษาแพทยห์ ลังปริญญา รพ.ภูมพิ ลอดุลยเดช พอ. ๑. ดําเนินการประสานกับแพทยสภา และกองฯต่างๆ ในการคัดเลือกแพทย์ประจําบ้านทุกประเภทและแพทย์ฝึกหดั ใน รพ.ฯ ๒. จัดใหม้ กี ารปฐมนิเทศแพทย์ประจําบา้ นก่อนเขา้ รบั การฝึกอบรม ๓. ดําเนนิ การจดั ทําเรอ่ื งจ้างแพทย์ประจําบ้านต่อยอด แพทย์ประจําบ้านทุนอิสระท่ีรับการฝึกอบรมในรพ.ฯ ๔. ดําเนินการต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (Basic Sciences) ของแพทย์ประจําบ้านชั้นปีท่ี ๑ ตามที่กําหนดไว้ในหลักสูตรแพทย์ประจาํ บ้านของราชวิทยาลัยต่าง ๆ ๕. รวบรวมการประเมินผลการปฏิบัติงานของแพทย์ประจําบ้านจากกองต่าง ๆ และเก็บข้อมูลเพ่ือพจิ ารณาในการประชุมทกุ ๓ เดอื น ๖. ดแู ลและใหก้ ารสนับสนนุ ในดา้ นสวัสดิการและกิจกรรมของแพทย์ประจําบ้าน ๗. จัดกจิ กรรมเพ่ือสรา้ งความสามัคครี ะหว่างอาจารยแ์ พทย์ แพทย์ประจําบ้านทุกประเภท และนสิ ิตแพทย์ ๘. ดําเนนิ การจดั พธิ มี อบประกาศนยี บตั รแก่แพทยป์ ระจาํ บ้าน เมือ่ ครบวาระฝกึ อบรมประจําปี ๙. ประสานงานกับกองต่างๆ ท่ีแพทย์ประจําบ้านสังกัดเพื่อร่วมหาแนวทางแก้ไขในกรณีที่แพทย์ประจําบ้านกระทาํ ผิด และ/หรือ ปฏิบัติตนไม่เหมาะสมในระหว่างการฝึกอบรม ๑๐. จัดกิจกรรมเพ่ือให้แพทย์ที่ต้องการศึกษาต่อเป็นแพทย์ประจําบ้านทุกประเภท ในโรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช มโี อกาสไดท้ ราบข้อมูลและศึกษาดูงานประกอบการตดั สินใจ

๒๒ ผนวก ข คาํ ประกาศสิทธิของผปู้ ว่ ย ๑. ผูป้ ว่ ยทุกคนมีสิทธพิ ืน้ ฐานทจี่ ะได้รบั บริการด้านสุขภาพ ตามทบี่ ัญญัตไิ วใ้ นรัฐธรรมนูญ ๒. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติเน่ืองจากความแตกตา่ งด้านฐานะ เชือ้ ชาติ สญั ชาติ ศาสนา สังคม ลัทธกิ ารเมือง เพศ อายุ และลักษณะของความเจ็บป่วย ๓. ผู้ป่วยท่ีขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลอย่างเพียงพอ และเข้าใจชัดเจนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพือ่ ใหผ้ ูป้ ว่ ยสามารถเลอื กตดั สนิ ใจในการยินยอมหรือไม่ยินยอมให้ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นสขุ ภาพปฏบิ ัตติ อ่ ตน เว้นแต่เปน็ การช่วยเหลือรบี ด่วนหรอื จาํ เป็น ๔. ผปู้ ว่ ยทอี่ ยูใ่ นภาวะเสี่ยงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิท่ีจะได้รับการช่วยเหลือรีบด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสขุ ภาพโดยทันทตี ามความจําเปน็ แกก่ รณี โดยไมค่ าํ นึงว่าผ้ปู ว่ ยจะรอ้ งขอความชว่ ยเหลอื หรือไม่ ๕. ผู้ปว่ ยมีสทิ ธิทจ่ี ะได้รบั ทราบช่ือ สกลุ และประเภทของผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านสุขภาพท่เี ปน็ ผู้ให้บริการแกต่ น ๖. ผปู้ ว่ ยมีสทิ ธทิ ี่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่น ท่ีมิได้เป็นผู้ให้บริการแก่ตน และมสี ิทธใิ นการขอเปลีย่ นผใู้ หบ้ รกิ าร และสถานบรกิ ารได้ ๗. ผูป้ ว่ ยมสี ทิ ธทิ ีจ่ ะไดร้ บั การปกปดิ ข้อมูลเก่ยี วกบั ตนเองจากผู้ประกอบวชิ าชีพด้านสุขภาพโดยเคร่งครัดเวน้ แต่จะไดร้ บั ความยินยอมจากผปู้ ว่ ยหรอื การปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ ามกฎหมาย ๘. ผู้ปว่ ยมีสทิ ธิทจ่ี ะไดร้ บั ทราบข้อมลู อย่างครบถว้ น ในการตัดสนิ ใจเข้าร่วมหรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการทําวิจยั ของผ้ปู ระกอบการวิชาชีพดา้ นสขุ ภาพ ๙. ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏในเวชระเบียนเมือ่ รอ้ งขอ ทัง้ นี้ขอ้ มูลดงั กล่าวต้องไมเ่ ป็นการละเมดิ สิทธิส่วนตวั ของบุคคลอ่ืน ๑๐. บิดา มารดา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม อาจใช้สิทธิแทนผู้ป่วยท่ีเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบแปดปีบรบิ ูรณ์ ผบู้ กพร่องทางกายหรอื จิตซงึ่ ไม่สามารถใชส้ ทิ ธดิ ้วยตัวเองได้

ผนวก ค ๒๓ กาํ หนดการปฐมนิเทศแพทย์ประจาํ บา้ น ชัน้ ปีท่ี ๑ ห้อง บุรพรตั น์ รพ.ภมู ิพลอดุลยเดช พอ. ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ บรุ พรตั น์ วันท่ี 13-26 มิ.ย.2561 *อบรมสัมมนาใน รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.(๑๓ – ๒6 มิ.ย.๖๑)วัน เดือน ปี เวลา หวั ข้อบรรยาย/กจิ กรรม วิทยากรวันพุธ 0800-1200 - ลงทะเบียน - คณอก.การศึกษาแพทย์13 มิ.ย.61 - เอกสารสัญญาจ้าง(อสิ ระ) หลังปริญญาฯ - ขอรหัส BHIS - กพ.รพ.ฯ - บัตรผปู้ ว่ ยนอก - ผู้รบั ผดิ ชอบลกู จา้ ง - ตรวจสอบสิทธกิ ารรักษา - เวชระเบยี นรพ.ฯ - บัตร รปภ. - ศนู ย์วทิ ย รพ.ฯ - เปดิ บัญชีธนาคาร - คณอก.หอพักแพทย์ - ถ่ายรปู - จนท.กองต่างๆ - หอพักแพทย์ - บตั รผา่ นช่องทางกองทัพอากาศ - วัดไซด์เสอ้ื กาวน์ (อาหารวา่ งระหวา่ งกิจกรรม) 1200-1300 รบั ประทานอาหารกลางวัน 1300-1600 - เอกสารสัญญาจา้ ง(อสิ ระ) - คณอก.การศึกษาแพทย์ - ขอรหัส BHIS หลงั ปรญิ ญาฯ - บัตรผู้ป่วยนอก - กพ.รพ.ฯ - ตรวจสอบสิทธิการรกั ษา - ผรู้ ับผดิ ชอบลูกจา้ ง - บัตร รปภ. - เวชระเบยี นรพ.ฯ - เปดิ บญั ชีธนาคาร - ศนู ยว์ ทิ ย รพ.ฯ - ถ่ายรปู - คณอก.หอพกั แพทย์ - หอพักแพทย์ - จนท.กองตา่ งๆ - บตั รผ่านชอ่ งทางกองทพั อากาศ - วดั ไซดเ์ สือ้ กาวน์ (อาหารวา่ งระหวา่ งกิจกรรม) *ชีแ้ จงปฐมนเิ ทศ ตจว.

กาํ หนดการปฐมนเิ ทศแพทย์ประจาํ บา้ น ช้ันปีท่ี ๑ ๒๔ รพ.ภมู พิ ลอดุลยเดช พอ. ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ห้อง พล.อ.อ.ประพันธ์ฯ วันท่ี 13-26 มิ.ย.2561 พล.อ.อ.ประพันธฯ์ พล.อ.อ.ประพนั ธ์ฯ *อบรมสัมมนาใน รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.(๑๓ – ๒6 มิ.ย.๖๑) พล.อ.อ.ประพันธฯ์ พล.อ.อ.ประพันธ์ฯวนั เดอื น ปี เวลา หวั ข้อบรรยาย/กจิ กรรม วทิ ยากร พล.อ.อ.ประพันธฯ์วันพฤหสั บดี 0800-0815 ลงทะเบียน14 มิ.ย.61 0830-0845 - พิธเี ปิดการปฐมนิเทศ ผอ.รพ.ฯ และกล่าวต้อนรับ0845-0930 - ชมวดี ที ัศน์ แนะนาํ รพ.ฯ น.ต.หญิง อรฉตั รฯ - แนะนาํ ผูบ้ ริหาร รพ.ฯ - แนะนํา ผอ.กองตา่ งๆ - แบบธรรมเนยี มกองทัพอากาศ0930-1030 - Professionalism พล.อ.ท.อนตุ ตรฯ1030-1200 - การใช้ฐานขอ้ มลู ทางการแพทย์ น.ต.หญิง อรฉตั รฯ - ระเบยี บหอพกั แพทยป์ ระจําบ้าน น.ท.สรุ ินท์นาทฯ - สวัสดิการ - รา้ นอาหาร - สถานทอ่ี อกกาํ ลงั กาย - สถานทจ่ี อดรถ - การสง่ ผา้ ซักรีด (อาหารว่างระหวา่ งกิจกรรม)1200-1300 รับประทานอาหารกลางวัน1300-1600 - แพทย์กับการใช้ social media อ.มาโนชฯ (อาหารวา่ งระหวา่ งบรรยาย)

กาํ หนดการปฐมนิเทศแพทย์ประจาํ บ้าน ช้นั ปที ่ี ๑ ๒๕ รพ.ภมู ิพลอดุลยเดช พอ. ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ห้อง บุรพรตั น์ วันท่ี 13-26 มิ.ย.2561 บุรพรตั น์ บรุ พรตั น์ *อบรมสัมมนาใน รพ.ภูมพิ ลอดุลยเดช พอ.(๑๓ – ๒6 มิ.ย.๖๑) บรุ พรัตน์วนั เดือน ปี เวลา หวั ข้อบรรยาย/กจิ กรรม วทิ ยากร บุรพรัตน์วันศุกร์ 0800-1200 Palliative Care รศ.นพ.กิตตพิ ลฯ บรุ พรัตน์ บุรพรัตน์15 มิ.ย.61 (อาหารวา่ งระหว่างบรรยาย) บรุ พรตั น์ 1200-1300 รับประทานอาหารกลางวนั บรุ พรัตน์ 1300-1400 บุรพรัตน์ 1400-1600 แนะนาํ กองรงั สีกรรม น.อ.สยมฯ วันจันทร์ 0800-1200 - Infection control น.อ.ธนาสนธิ์ฯ18 มิ.ย.61 - เขม็ ตาํ น.ท.หญิง สทิ ธพิ รฯ - Hand hygiene น.ต.หญงิ ปยิ ะฉตั รฯ (อาหารว่างระหว่างบรรยาย) น.ต.หญงิ สณุ ียฯ์ - Communication skill and น.ท.ชิษณุฯ couseling Breaking the bad คุณบัณฑิตฯ news - การบอกขา่ วร้าย/Health promotion (อาหารว่างระหว่างบรรยาย) 1200-1300 รับประทานอาหารกลางวัน 1300-1400 Altered mental of patients and น.ต.หญิง เกษศริ ินทรฯ์ 1400-1600 doctorsวันอังคาร 0800-100019 มิ.ย.61 (อาหารวา่ งระหว่างบรรยาย) Pre-operative evaluation ร.อ.หญิง บุญยวีร์ฯ น.ท.วิทยาฯ ความรู้เก่ยี วกับการใช้ยา น.ท.หญิง ธวชนิ ฯี - Med Error น.ท.หญิง อุษณีย์ฯ - Rational drug use (อาหารวา่ งระหวา่ งบรรยาย) 1000-1200 Nutrition Care น.ท.หญงิ สมโชดกฯ 1200-1300 น.ต.ชาญชัยฯ 1300-1430 รบั ประทานอาหารกลางวนั 1430-1600 - Death certificate ร.อ.อรรถสิทธฯิ์ (อาหารวา่ งระหวา่ งบรรยาย) - Autopsy request ร.ท.หญิง นิจชาฯ

กาํ หนดการปฐมนเิ ทศแพทย์ประจาํ บ้าน ชนั้ ปีท่ี ๑ ๒๖ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. ปีการศึกษา ๒๕๖๑ หอ้ ง บรุ พรัตน์ วนั ที่ 13-26 มิ.ย.2561 บุรพรัตน์ บุรพรัตน์ *อบรมสัมมนาใน รพ.ภมู ิพลอดุลยเดช พอ.(๑๓ – ๒6 มิ.ย.๖๑) กลมุ่ ท่ี 1วัน เดือน ปี เวลา หัวข้อบรรยาย/กิจกรรม วทิ ยากร บรุ พรัตน์ กลมุ่ ที่ 2วนั พธุ 0800-1000 Research is fun ร.อ.หญิง วลารีฯ เย็นสุดใจ20 มิ.ย.61 (อาหารว่างระหว่างบรรยาย) กลมุ่ ที่ 2 บรุ พรตั น์ 1000-1200 Medical ethics ร.อ.อรรถสิทธฯ์ิ กลุ่มท่ี 1 1200-1300 เย็นสุดใจ 1300-1600 รบั ประทานอาหารกลางวันวันพฤหัสบดี 0800-120021 มิ.ย.61 การร้องเรยี นและการเจรจาไกล่เกลีย่ พล.อ.ต.วนั ชยั ฯ 1200-1300 (อาหารวา่ งระหว่างบรรยาย) น.อ.อาภสั ร์ฯ 1300-1600 น.อ.สยมฯ กล่มุ ท่ี 1 Central line น.อ.หญงิ สญั สณีย์ฯ - กกม. น.ท.หญิง สภุ าฯ - กสก. น.ต.หญิง เกษศริ ินทร์ฯ - กอย. น.ต.จรสั ฯ - กสศ. ร.อ.ปวรศิ ฯ กล่มุ ที่ 2 เวชระเบยี น น.ท.หญิง ธีระนุชฯ - กอป. น.ต.หญงิ ศริ ิพรฯ - กศก. น.ต.หญงิ ทพิ วรรณฯ - กตน. ร.อ.หญงิ อารียฯ์ (อาหารว่างระหวา่ งบรรยาย) ร.ท.หญงิ ประภาไพฯ รับประทานอาหารกลางวัน กลุม่ ที่ ๒ Central line น.อ.หญงิ สัญสณยี ฯ์ - กอป. น.ท.หญงิ สภุ าฯ - กศก. น.ต.หญงิ เกษศิรนิ ทร์ฯ - กตน. น.ต.จรัสฯ ร.อ.ปวริศฯ กลมุ่ ที่ ๑ เวชระเบยี น น.ท.หญงิ ธีระนชุ ฯ - กกม. น.ต.หญิง ศิรพิ รฯ - กสก. น.ต.หญิง ทพิ วรรณฯ - กอย. ร.อ.หญิง อารียฯ์ - กสศ. ร.ท.หญงิ ประภาไพฯ (อาหารว่างระหวา่ งบรรยาย)

กาํ หนดการปฐมนเิ ทศแพทย์ประจาํ บ้าน ชน้ั ปีท่ี ๑ ๒๗ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ห้อง ช้ัน 5 อ.คมุ้ เกศ วนั ท่ี 13-26 มิ.ย.2561 กลมุ่ ที่ 1 เธยี รเตอร์ *อบรมสัมมนาใน รพ.ภมู ิพลอดุลยเดช พอ.(๑๓ – ๒6 มิ.ย.๖๑) กล่มุ ท่ี 2 หอ้ งปฏบิ ตั ิการวัน เดอื น ปี เวลา หัวข้อบรรยาย/กจิ กรรม วิทยากร คอมฯวันศกุ ร์ 0800-1200 กลุม่ ท่ี 1 Airway พล.อ.ต.วิบูลยฯ์ ชัน้ 5 อ.ค้มุ เกศ กล่มุ ที่ ๒2๒ มิ.ย.61 - กกม. น.อ.หญิง สัญสณยี ์ฯ เธียรเตอร์ กลมุ่ ที่ ๑ - กสก. น.ท.หญงิ สุภาฯ หอ้ งปฏบิ ัตกิ าร คอมฯ - กอย. น.ต.หญิง เกษศริ ินทร์ฯ บุรพรัตน์ - กสศ. น.ต.จรัสฯ บรุ พรตั น์ กล่มุ ที่ 2 คอมพิวเตอร์ น.อ.ปณตฯ บุรพรัตน์ - กอป. น.ท.หญิง อุบลมาศฯ บุรพรัตน์ - กศก. ร.ท.หญงิ ผอ่ งศรฯี - กตน. (อาหารว่างระหวา่ งบรรยาย) 1200-1300 รับประทานอาหารกลางวนั 1300-1600 กลมุ่ ที่ ๒ Airway พล.อ.ต.วิบูลยฯ์ - กอป. น.อ.หญิง สญั สณียฯ์ - กศก. น.ท.หญิง สุภาฯ - กตน. น.ต.หญงิ เกษศริ ินทร์ฯ (อาหารว่างระหว่างบรรยาย) น.ต.จรสั ฯ กลมุ่ ที่ ๑ คอมพวิ เตอร์ น.อ.ปณตฯ น.ท.หญิง อุบลมาศฯ - กกม. ร.ท.หญงิ ผ่องศรฯี - กสก. - กอย. - กสศ.วนั จนั ทร์ 0830-1130 Medical law ศ.แสวงฯ25 มิ.ย.61 (อาหารวา่ งระหวา่ งบรรยาย) 1200-1300 รับประทานอาหารกลางวัน 1300-1600 นิรภัยภาคพน้ื ร.อ.ฐกรฯ 0830-0900 0900-1200 (อาหารวา่ งระหว่างบรรยาย) นายชนะฯ 1200-1300 นายพิศาลฯ 1300-1600 นายณฐั พลฯวันอังคาร แนะนําห้องอบุ ัตเิ หตุ ร.อ.หญิง ฉัตรแกว้ ฯ26 มิ.ย.61 การพฒั นาบุคลกิ ภาพเพื่อการทาํ งาน ผศ.พญ.วินิทราฯ ร่วมกนั (อาหารวา่ งระหวา่ งบรรยาย) รบั ประทานอาหารกลางวนั แนะนาํ การปฏบิ ัตงิ านจากกองต่างๆ

๒๘๒๗ มิ.ย.๖๑ กําหนดการปฐมนเิ ทศและดูงานนอกสถานทีแ่ พทย์ประจําบา้ นชนั้ ปีที่ ๑๐๖๐๐ โรงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑๐๙๓๐ วนั ที่ ๒๗-๒๙ มิถนุ ายน ๒๕๖๑๐๙๓๐–๑๐๓๐๑๐๓๐–๑๑๓๐ ณ บน.๑และโรงแรม .......................................................จว.นครราชสีมา๑๑๓๐-๑๒๐๐ ---------------------------------------------------------------------๑๔๐๐-๑๔๑๐๑๔๑๐-๑๕๐๐ ออกเดินทางจาก รพ.ภมู ิพลอดลุ ยเดช พอ. เดินทางถงึ กองบัญชาการกองบนิ ๑๑๕๐๐–๑๗๐๐ รับฟงั การบรรยายสรปุ ดงู านกองบนิ ๑๑๘๐๐-๒๐๐๐ รับประทานอาหารกลางวัน ลงทะเบียนและพิธเี ปดิ๒๘ มิ.ย.๖๑ งานประกันคุณภาพการศกึ ษา๐๗๐๐–๐๘๐๐ โดย น.ท.หญงิ ณัฐพรทิราฯ๐๘๐๐–๑๒๐๐ (อาหารว่างระหวา่ งบรรยาย) How do you teach & How do you learn๑๒๐๐-๑๓๐๐ โดยน.อ.หญงิ สัญสณียฯ์ และ ร.อ.อรรถสทิ ธฯ์ิ๑๓๐๐–๑๗๐๐ อภปิ รายกลมุ่ How to be a good doctor โดย น.อ.หญงิ สญั สณีย์ฯ,ร.อ.อรรถสทิ ธฯิ์ และ รับประทานอาหารเยน็๑๗๐๐-๑๘๐๐ รบั ประทานอาหารเช้า๑๘๐๐–๒๐๐๐ สัมมนากลุ่มสมั พันธแ์ พทย์ประจําบา้ น แบ่ง ๕ กลุ่ม๒๐๐๐-๒๒๐๐ โดยน.ท.หญิง สุภาฯ, น.ต.หญงิ ศริ ิพรฯ, น.ต.หญิง อรฉัตรฯ, ร.ท.หญิง นจิ ชาฯ,๒๙ มิ.ย.๖๑ ร.ท.หญิงกนกวรรณ๐๗๐๐–๐๘๐๐ (อาหารว่างระหว่างกจิ กรรม)๐๘๐๐-๐๙๐๐ รับประทานอาหารกลางวัน๐๙๐๐–๑๒๐๐ สัมมนากล่มุ สัมพนั ธแ์ พทย์ประจาํ บา้ นแบง่ ๕ กลุ่ม โดยน.ท.หญงิ สภุ าฯ, น.ต.หญงิ ศริ ิพรฯ, น.ต.หญงิ อรฉตั รฯ, ร.ท.หญิง นจิ ชาฯ, ร.ท.หญิงกนกวรรณ (อาหารวา่ งระหว่างกิจกรรม) เสวนา ถอดบทเรยี นจากการสมั มนากลุม่ สัมพันธ์ โดยน.อ.หญงิ สัญสณยี ์ฯ, น.ต.หญิง ศิรพิ รฯ,ร.ท.หญงิ นจิ ชาฯ รบั ประทานอาหารเย็นและกิจกรรม GET TOGETHER การแสดงกลมุ่ ย่อยของแพทยป์ ระจาํ บา้ น รบั ประทานอาหารเช้า คัดเลอื กหัวหน้าร่นุ และกรรมการหอพักแพทย์ เสวนา เรือ่ ง การเรยี นและการทํางานรว่ มกนั โดย น.อ.หญิงสญั สณีย์ฯ และ ร.อ.อรรถสิทธิฯ์

๒๙๑๒๐๐-๑๓๐๐ (อาหารว่างระหวา่ งบรรยาย)๑๓๐๐-๑๕๐๐ รบั ประทานอาหารกลางวนั สรปุ ผลการสมั มนาและพิธีปิด๑๕๐๐-๑๗๐๐ โดยน.อ.หญงิ สญั สณีย์ฯ (อาหารว่างระหว่างบรรยาย) เดินทางกลับถงึ รพ.ภมู ิพลอดุลยเดช พอ. โดยสวัสดิภาพ*** หมายเหตุ *** กําหนดการอาจมีการเปล่ียนแปลง ผนวก จ แนวทางสาํ หรับการปฏบิ ตั หิ น้าทแ่ี พทยป์ ระจาํ ห้องอุบัตเิ หตุและฉุกเฉินหนา้ ที่ - ให้บริการตรวจวนิ จิ ฉยั รกั ษาพยาบาลท่ีเหมาะสมแก่ผ้ปู ่วยอบุ ัติเหตแุ ละฉุกเฉินตลอด ๒๔ ช่ัวโมง - เตรียมแผนรบั อุบัติภยั กลุ่มชน และรับผ้บู าดเจ็บและเจ็บป่วยจากชีวะและเคมีห้องอุบตั เิ หตฉุ ุกเฉนิ ประกอบด้วย ๒ สว่ น คอื - หอ้ งอุบัติเหตุและฉุกเฉนิ : Active area , Observe area, Resuscitation room,หอ้ งตรวจภายใน (PV),โซนรับใหม่ A ,โซนสงั เกตอาการ ( C2) , โวนสงั เกตอาการชาย (C1) , โซนสังเกตอาการหญิง(D), หอ้ งสังเกตอาการขา้ ราชการและครอบครัว ทอ.(E),หอ้ งอุบัตเิ หตุ, ห้องสงั เกตอาการพิเศษเดีย่ ว ๑ เตยี งหอ้ งสังเกตอาการพเิ ศษรวม ๒ เตียง , ห้องผา่ ตัดเล็ก,หอ้ งลา้ งพิษ , จดุ คดั กรองผ้ปู ่วย , หอผูป้ ว่ ยอายรุ กรรมชั้น ๑๑๓ เตยี ง เป็น Ward Admit - ห้องสังเกตอาการรวม ห้องสังเกตอาการพิเศษเดีย่ ว ๑ เตียง ห้องสงั เกตอาการพเิ ศษรวม ๒ เตยี งหอ้ งแยกผู้ปว่ ยติดเช้ือ ๖ เตยี ง และห้องแยกผ้ปู ว่ ยติดเชื้อห้องตรวจเด็ก Air born ๒ เตียง หน่วยกู้ชีพคมุ้ เกลา้ระบบการจัดแพทยป์ ฏบิ ตั งิ าน - มกี ารจดั แพทยเ์ วร วันละ ๓ ผลัด โดยในเวลาราชการผลดั ละ ๘ ชัว่ โมง นอกเวลาราชการผลดั ละ๘ ช่วั โมง - แพทย์แตล่ ะคนควรมีชั่วโมงทํางานไม่เกินสปั ดาหล์ ะ ๔๐ ช่ัวโมง ประกอบดว้ ยอาจารยแ์ พทยแ์ ละแพทย์ประจําบ้านสาขาเวชศาสตร์ฉกุ เฉนิ - จัดแพทยป์ ระจําบ้านชน้ั ปที ี่ ๑ ทกุ คน ตรวจผูป้ ่วยทกุ วัน เวลา ๑๖๐๐-๒๔๐๐กฎ ๓ ข้อในการรักษาผปู้ ่วยในหอ้ งอุบตั ิเหตุและฉกุ เฉิน ๑. ผ้ปู ว่ ยทมี่ ารับบรกิ ารทห่ี ้องฉุกเฉินทุกราย ใหถ้ ือวา่ เปน็ ผู้ป่วยฉุกเฉนิ ตามระดับคัดกรอง BSI ๒. ผู้ป่วยมาดว้ ยอาการสําคัญอะไร ให้นึกถึงโรคท่ีรา้ ยแรงที่สดุ เท่าทจ่ี ะเป็นไปได้ จนกวา่ จะไดร้ บั การตรวจวนิ ิจฉัยแนน่ อนแล้ว ๓. หากอาการสําคัญทีน่ ําผปู้ ่วยมารบั บริการทีห่ ้องฉุกเฉิน ยงั ไม่ได้รบั การบําบัดเทา่ ท่คี วรยังไมค่ วรให้ผู้ป่วยกลบั บ้าน

๓๐แนวทางการปฏิบัติงานทคี่ วรทราบการตรวจผู้ปว่ ยท่ีมาใหม่ และการสั่งการรกั ษา ๑. ผู้ป่วยทกุ ราย พยาบาลจะผา่ นการคดั กรอง ใช้ใบคดั กรองแทน OPD Card ก่อน แบ่งผูป้ ่วยเป็น ๕ ระดบั การคัดแยกผู้ป่วยท่ีห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช (ปรบั จากEmergency Severity Index : ESI) เลอื กใหบ้ ริการผูป้ ่วยท่มี ีอาการรนุ แรงมากท่ีสดุ ก่อนเสมอ โดยมเี ปา้ หมายจัดลาํ ดบั ความรุนแรงและความจําเป็นในการพบแพทย์ - ผู้ป่วยฉุกเฉนิ วิกฤติ (คุกคามชวี ติ ) ใชส้ แี ดง (เข้ม) ดูแลทันที (ESI 1) - ผู้ปว่ ยฉุกเฉนิ วกิ ฤติ (ทัว่ ไป) ใช้สแี ดง (อ่อน) ดแู ลทนั ทีท่ีทําได้ (ESI 2) - ผูป้ ่วยฉุกเฉินเร่งดว่ น ใช้สีเหลอื ง ดแู ลหลังสีแดง (ESI 3) - ผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ ไมร่ ุนแรง ใชส้ เี ขยี ว ดแู ลหลงั สเี หลอื ง (ESI 4) - ผู้ป่วยท่ัวไป ใชส้ ขี าว ให้การรักษาท่ีอน่ื / หลังสีเขยี ว (ESI 5) ๒. เมอ่ื ตรวจผู้ปว่ ยทกุ ราย ต้องบันทึก เวลา วันท่ี เดอื น ปที ่ีตรวจ และลงลายมอื ชอ่ื พร้อมรหสั เสมอ ๓. ระยะแรกที่ซกั ประวัติ อาจต้องให้ญาตอิ ย่ดู ้วย ๑ คน โดยเฉพาะผูป้ ว่ ยที่ไม่รู้สึกตวั เพอื่ ให้ไดป้ ระวตั ทิ ล่ี ะเอียด และพร้อมทจ่ี ะรบั ใบสงั่ ยา โดยสง่ ให้พยาบาลที่รบั ผิดชอบแต่ละบรเิ วณ ตรวจสอบกอ่ น ๔. ผปู้ ว่ ยทีไ่ ม่รูช้ ่ือ หรอื HN. หรือไมร่ สู้ กึ ตัว และไม่มญี าติ ตอ้ งใชผ้ กู ปา้ ยข้อมือ เรียงตามหมายเลข โดยพยาบาล Incharge เม่อื ทราบชื่อผู้ปว่ ยแลว้ จงึ เอาปา้ ยทีข่ ้อมือออก ๕. การตรวจรกั ษาผปู้ ่วยประเภทตา่ งๆ ที่อาจเป็นท่ีอุจาด พงึ ระวังกวดขนั ให้มีม่านก้นั เป็นสดั ส่วน ๖. หลังจากการตรวจผู้ป่วยเสรจ็ ทกุ ครั้ง ขอให้ยกไม้กนั้ เตยี งขึน้ ดว้ ย โดยเฉพาะผูป้ ่วยเดก็ ผู้ป่วยทีช่ ่วยตวั เองไม่ไดแ้ ละผปู้ ว่ ยจติ ประสาท ๗. แพทย์ตรวจผู้ป่วยทุกราย ควรแนะนาํ ตัวเอง และเรยี กชื่อผ้ปู ่วยท่ีจะตรวจ เพ่อื ปอ้ งกันความผดิ พลาด ๘. บันทึกประวตั ิ และการตรวจร่างกายท่สี ําคญั ทัง้ Positive และ Negative Findings รวมทง้ัการบนั ทกึ บาดแผล ขนาดและตาํ แหน่งทีล่ ะเอียด หาก Vital signs ทบ่ี นั ทึกไวไ้ ม่เขา้ กับสงิ่ ตรวจพบ ขอให้แพทยผ์ ู้ตรวจวัด Vital signs ใหม่ดว้ ยตนเอง เพอื่ ป้องกนั การผิดพลาด (รวมถึง LAB ด้วย) ๙. ใบส่ังยา ใบตรวจ investigation แพทยต์ ้องเป็นผู้เขียนเอง และสง่ ให้พยาบาลตรวจสอบ ความถกู ต้องครบถว้ น ก่อนส่งให้ผู้ป่วยหรือญาตผิ ปู้ ่วยเพ่อื ไปจ่ายเงนิ เนอ่ื งจากยาบางชนิดเปน็ ยา Stock ทาง จนท.ER ตอ้ งลงคอมพิวเตอร์ก่อน ถ้าไม่ลงกจ็ ะไม่ได้ยา ๑๐. ในการสง่ั ยาเสพติด และยาควบคุม เชน่ Morphine ต้องเขียนใบส่งั ยาแยกออกจากยาอน่ื และเขียนใบย.ส. ,บ.จ.๘ (ใบยาเสพติด) แนบไปกับใบสงั่ ยาดว้ ย ๑๑. การวางแผนการรกั ษา, การสง่ั การรกั ษา, หรือจะติดต่อกับญาติ และการปฏบิ ตั ใิ ด ๆ เกยี่ วกับผู้ป่วย ควรให้พยาบาล INCHARGE หรือ พยาบาล OBSERVE ทราบทุกคร้ัง ๑๒. ควรมกี ารติดตามดผู ู้ปว่ ยทุกคนในห้องอุบัติเหตเุ ปน็ ระยะๆ เพือ่ ดวู า่ มกี ารเปลีย่ นแปลงอะไรหรอื ไม่ และได้รบั การรักษาตามทสี่ งั่ หรือไม่ ๑๓. หากเป็น Case พลทหารโดยเฉพาะท่ีอย่รู ะหวา่ งการฝึก ใหพ้ ึงระหวา่ งภาวะ Heat illness

๓๑การปรกึ ษาแพทย์เฉพาะทาง (Consultation) ๑. ผู้ป่วยรายใดท่ตี รวจแลว้ ไม่แนใ่ จในแงก่ ารวินิจฉัย และการรกั ษา ขอให้มกี ารปรกึ ษาตามลําดบั ชั้น กรุณาอยา่ ลังเลท่จี ะปรึกษา ๒. หากจะมกี าร CONSULT ให้แน่ใจว่าได้ตรวจละเอยี ด และ CONSULT ตรงแผนกสมเหตุผลดีแล้ว รวมท้งั มผี ลการตรวจทางห้องปฏิบัติการท่เี พียงพอ นอกจากในกรณี ฉกุ เฉนิ จริงๆ ๓. ผู้ป่วยที่สงสัยต้ังครรภ์นอกมดลูก และมีอาการตกเลือดในช่องท้อง ให้ตามสูตินรีแพทย์มาตรวจที่หอ้ งอุบัตเิ หตุ ๔. ผู้ป่วยถูกล่วงเกินทางเพศหรือถูกข่มขืน แพทย์ER ควรบันทึกร่องรอยการบาดเจ็บภายนอกให้เรียบร้อยก่อน หลังจากนั้นจึงปรึกษาแพทย์เฉพาะทางเพื่อตรวจหาร่องรอยการถูกข่มขืน โดยในผู้ป่วยหญิงให้ปรึกษาสูตินรีเวช และผปู้ ่วยชายใหป้ รึกษา ศลั ยกรรม ๕. ผปู้ ว่ ยอบุ ัตเิ หตุท่ีมี Hand injury หรือ Spine injury ในวันเลขคู่ให้ปรึกษา ศัลยกรรมวันเลขค่ี ใหป้ รกึ ษาออร์โธปดิ ิกส์ ๖. ผูป้ ่วยคดี ผูป้ ่วยอบุ ัติเหตุ ผู้ป่วยถูกทํารา้ ยร่างกาย ก่อนกลับบ้าน ควรสง่ ตรวจนิติเวช หรอืนัดผู้ป่วยมาพบนติ เิ วชทุกคร้ัง เพ่ือดาํ เนนิ การด้านคดี ๗. ผู้ป่วยหนกั มากทค่ี ดิ ว่าอาจเกิดมีปญั หาระหว่างการส่งเขา้ ตึก ทั้งผูป้ ่วยทางอายรุ กรรม ,ศัลยกรรม และโดยเฉพาะผู้ปว่ ยทางกมุ ารเวชกรรม ให้ตามแพทยเ์ วรมาดผู ู้ป่วยที่หอ้ งอุบัติเหตุ ๘. ผู้ปว่ ยทมี่ แี นวโนม้ ทีจ่ ะต้องรบั ไวโ้ รงพยาบาล เม่ือถา่ ยภาพรังสสี ว่ นอนื่ ขอให้สง่ ถา่ ยภาพรงั สที รวงอกด้วย ผปู้ ่วยทร่ี บั ไวใ้ นหอผู้ป่วยอายุรกรรมทกุ ราย ขอใหม้ ภี าพรงั สที รวงอกด้วยผปู้ ่วยสังเกตอาการ ๑. ผปู้ ่วยสังเกตอาการคือผู้ปว่ ยทรี่ บั ไว้สังเกตอาการในห้องอบุ ตั ิเหตุและฉกุ เฉิน และผู้ปว่ ยที่รอ admit แตไ่ มม่ เี ตียง ๒. ผู้ปว่ ยสังเกตอาการจะแบง่ ตามแพทยท์ ด่ี ูแล ผปู้ ่วยของER ติดปา้ ยสีมว่ ง ผูป้ ว่ ยอายุรกรรมป้ายสีเหลือง ผู้ป่วยศัลยกรรมป้ายสีแดง ผู้ป่วยรอ Consult ผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ป้ายสีส้ม ผู้ป่วยสูตินรีป้าย สีฟ้าผูป้ ่วยจักษุกรรมปา้ ยสีเขยี ว ผูป้ ว่ ยENT ป้ายสีนํา้ ตาล ๓. ผู้ป่วยเด็กอายุน้อยกว่า ๑๕ ปี ที่เห็นสมควรต้องปรึกษาสามารถปรึกษาได้เลยท่ีปรึกษาแพทย์กองกมุ ารฯ และถา้ อาการไมด่ ีกลบั บา้ นไมไ่ ด้ ห้องฉุกเฉนิ จะไมร่ ับไวส้ งั เกตอาการ จะต้อ admit ๔. ในช่วงส่งเวรควรส่งเวรผู้ป่วยสังเกตอาการทุกคนท่ีมี อาการหนัก รวมทั้งส่งเวรผู้ป่วยสังเกตอาการที่อยูใ่ นความดแู ลของแพทย์ER (ป้ายสีมว่ ง) ท่ีอย่ใู นห้องอุบตั ิเหตแุ ละฉุกเฉินการให้ผปู้ ่วยกลับบ้าน (Discharge) การrefer และการนดั ผู้ปว่ ย ๑. ก่อนให้ผู้ปว่ ยกลับบา้ น ตอ้ งให้คําอธบิ ายด้วยตนเองกบั ผปู้ ่วย ถ้าเปน็ ผ้ปู ่วยเดก็ หรือผู้สูงอายุ ขอให้อธิบายกับญาติ โดยให้ข้อมูลและคําแนะนําท่ีเหมาะสม รวมท้ังใบแนะนํา พร้อมคําอธิบาย ถ้าจําเป็น และควรตรวจสอบยาท่ีผ้ปู ่วยซอ้ื มา และยํ้าวิธใี ช้ให้แนใ่ จดว้ ย พร้อมลงบันทึกใน OPD Card ๒. หากตรวจพบผู้ปว่ ยรายใด ไดร้ ับการวนิ จิ ฉยั หรอื รกั ษาท่ีคลาดเคล่อื น ควรตดิ ตามผปู้ ว่ ยโดยติดต่อทางโทรศพั ท์ ถา้ มีแจง้ ไวใ้ น OPD. Card หรอื ติดตอ่ ทางไปรษณยี บตั ร ๓. การนดั ผปู้ ่วยกลับมาดูอาการ แพทย์อาจนดั ใหม้ าดูอาการเอง โดยนดั ให้ตรงวนั ที่ตนข้ึนปฏิบัติงาน หรือถ้านัดตรวจคลินิกเฉพาะโรค ขอให้แพทย์นัดทาง IT เพ่ือจะได้ลงชื่อผู้ป่วยไว้ในรายการนัด เพื่อความสะดวกของผู้ป่วย และให้แน่ใจว่าก่อนส่งผู้ป่วยแพทย์เฉพาะโรค ผู้ป่วยได้ผ่านการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ ารเพียงพอแล้ว เชน่ ก่อนพบแพทยโ์ รคหวั ใจ ผู้ป่วยควรมีภาพถ่ายรงั สขี อง

๓๒ทรวงอก และรบั การตรวจคล่ืนไฟฟ้าของหวั ใจแลว้ ควรพมิ พ์ใบนัดใหผ้ ู้ป่วย และตรวจสอบวันที่นดัให้ถูกต้องว่ามีแพทยอ์ อกตรวจวนั น้นั และไม่ตรงกับวันหยดุ ๔. ถ้านัดผูป้ ว่ ยเพ่ือฟังผล investigation ควรพิมพ์ระบไุ วใ้ นใบนัด เพอ่ื เจ้าหน้าทจี่ ะไดท้ ราบและตามผลให้ผปู้ ว่ ย ๕. การ refer ผู้ป่วย ควรมนั่ ใจวา่ ผูป้ ว่ ยจะได้รับการรกั ษาต่อจากทท่ี ส่ี ง่ ตวั ไป ถา้ ไมม่ นั่ ใจควรเขยี นใบ refer ให้พยาบาล INC ประสาน Call Center หรอื โทรติดตอ่ ใหถ้ า้ จําเป็น ควรเขียนใบ refer ให้ทุกคร้ังห้ามวธิ ถี า่ ยสาํ เนา OPD card และควรใหผ้ ูป้ ว่ ยไปยมื ฟิลมเ์ อก็ ซเรยท์ ่ีหอ้ งเอ็กซเรย์ ๖. ในผู้ปว่ ยกลบั บ้านหรือ refer ไมค่ วรให้ผปู้ ่วยนํา OPD card ไปดว้ ยการอนุมตั ิอนาถาหรือคา้ งชําระ ๑. ในการสง่ investigation เซน็ ชอื่ รหัสแพทย์กํากบั ไวด้ ้วย ๒. ในการสง่ ตรวจ CT scan พร้อมทง้ั เซ็นช่ือ รหสั แพทย์ผู้ขอ ๓. ในการอนมุ ตั ิคา่ ยา ในเวลาราชการให้ส่งสงั คมสงเคราะห์ นอกเวลาราชการ แพทย์ Inchargeมีสิทธิ์อนมุ ตั ดิ ้วยวงเงนิ ไมเ่ กิน ๓๐๐ บาทการเขยี นใบรบั รองแพทย์ ใบชนั สตู รบาดแผล และใบประกัน เมื่อให้ผู้ป่วยกลับบ้าน ควรสอบถามผู้ป่วยทุกครั้งว่าต้องการใบรับรองแพทย์หรือไม่ โดยเฉพาะผู้ป่วยประกนั สงั คม ในการเขียนใบประกันของบริษัทประกัน จะต้องให้ผู้ป่วยไปจ่ายค่าเขียนใบประกันก่อนท่ีห้องธุรการโรงพยาบาล ชนั้ ๓ เจ้าหน้าท่ีจะสง่ มาใหเ้ ขียนภายหลัง ไมส่ ามารถรอรบั ได้ในวนั ตรวจ ใบรายงานการรักษาของการท่าอากาศยาน ใบรบั รองแพทย์ของนกั เรยี นจ่าอากาศนกั เรียนนายเรอื อากาศ ใบรบั รองแพทย์ผปู้ ว่ ยประกันสังคม แพทยผ์ ู้ทําการรกั ษาสามารถเขยี นให้ได้ทนั ที ใบชันสูตรบาดแผลของตํารวจในผู้ป่วยคดี ถ้าแพทย์ไม่ได้ทําการปรึกษานิติเวช แพทย์ผู้ทําการรักษาจะต้องเป็นผูเ้ ขยี นเองอุบตั ิเหตุหมแู่ ละเหตุการณไ์ มป่ กติ ๑. ศึกษาแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดอุบัติเหตุกลุ่มชนและวินาศภัยให้เข้าใจ และพร้อมที่จะปฏิบัติเมื่อเกิดสถานการณด์ ังกลา่ ว ๒. เมือ่ มีอุบตั ิเหตหุ มู่จํานวนมากไม่สามารถดแู ลได้ทนั ใหแ้ พทย์อาวุโส ประกาศสถานการณ์ โดยแจ้งแก่พยาบาลใหเ้ ปดิ กล่องอบุ ตั ิเหตุหมู่ และแจง้ ประชาสัมพนั ธ์ใหป้ ระกาศสถานการณ์ ๓. เม่ือเกิดเหตุร้าย หรือมีผู้ที่ใช้ความรุนแรงที่อาจเกิดเป็นอันตราย ให้กดสัญญาณกร่ิงฉุกเฉินยาว ๓ครง้ั จะมีไฟแสดงสัญญาณจะดงั ไปที่ สห.ใต้ดิน , หน้า ER และ รปภ. ๔. ถ้ามีผู้ป่วยที่เป็นบุคคลสําคัญ, พระราชวงศ์, ข้าราชการผู้ใหญ่ในกองทัพ หรือผู้ป่วยที่ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชน ใหแ้ จ้งแพทยอ์ าวโุ ส Staff (เวร ER) โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม ๕. ในการให้ข่าวแก่ส่ือมวลชน ควรให้พอสมควรโดยคํานึงถึงสิทธิผู้ป่วยเป็นหลัก และไม่อนุญาตให้สื่อมวลชนเข้ามาถา่ ยภาพหรอื วีดิโอผู้ปว่ ยในห้องฉุกเฉนิ โดยพละการและไมไ่ ดท้ ําการขออนญุ าตจากผปู้ ว่ ยกอ่ น

๓๓ข้อควรทราบอนื่ ๆ ๑. การบันทึกผู้ป่วยท่ีน่าสนใจเพื่อเป็นข้อมูลใช้ศึกษา ทางห้องอุบัติเหตุมีสมุดบันทึกผู้ป่วยที่น่าสนใจ หากแพทย์พบว่า ผู้ป่วยรายใดน่าบันทึกไว้ เพ่ือศึกษาหรือเป็นตัวอย่าง กรุณาลงบันทึกให้ด้วย มีแฟม้ ทบทวนผูป้ ว่ ย Pitfall ต่างๆ ใหศ้ ึกษา ๒. การใช้หนังสอื ในต้หู นงั สอื ยอ่ ยของหอ้ งอุบัติเหตุ ห้องอุบัติเหตุได้จัดหนังสือและ Clinical guidelineไวส้ ําหรับอ้างอิง หรอื คน้ ควา้ โดยเก็บรักษาไวใ้ นหอ้ งอบุ ัติเหตุ ขอใหช้ ว่ ยกันเก็บรักษาใหอ้ ยู่ภายในตู้ที่จัดไว้ด้วยเพื่อความสะดวกเมื่อจําเป็นต้องใช้ หากมีความจําเป็นต้องนําออกไปเพ่ือค้นคว้าระยะส้ัน ก็ขอให้แจ้งให้ทราบทกุ ครง้ั ๓. การติดต่อประสานภายในห้องอุบัติเหตุ ห้องอุบัติเหตุได้จัดให้มีสมุดติดต่อภายใน เพ่ือส่งข่าว หรือรับทราบข้อขัดข้อง ข้อเสนอแนะ ฯลฯ ภายในห้องอุบัติเหตุ ทุกเช้าเมื่อข้ึนปฏิบัติหน้าท่ีกรุณาพลิกดูด้วยว่ามีขา่ วสารใดทส่ี าํ คัญ หรือมีประโยชน์บ้าง เพื่อให้การสง่ ข่าวและติดตอ่ ประสานภายในห้องอุบัติเหตุเป็นไปโดยฉับไว และมีประสทิ ธภิ าพ แพทย์ – พยาบาลทุกท่าน เม่ือขนึ้ เวรกรณุ าพลิกดูข่าวสารในสมดุ ตดิ ต่อภายในทุกคร้งั ๔. ควรระมัดระวงั เรือ่ งการหยอกล้อกนั ระหว่างทํางาน , การใช้โทรศัพท์เคล่ือนท่ี การรับประทานขนมในทที่ ํางาน * เมื่อมปี ัญหาในการปฏิบตั ิงาน ไมว่ า่ เรือ่ งใด กรณุ าแจง้ แพทยอ์ าวโุ สใหร้ ับทราบ หรอื เขยี นแจง้ ในสมุดติดต่อภายในหน้าทแี่ พทยป์ ระจําบ้านปฏบิ ตั งิ านเปน็ แพทย์เวร ER โรงพยาบาลได้มีการจัดเวรแพทย์ประจําบ้านชั้นปีที่ ๑ ออกตรวจเป็นแพทย์เวร ER ในช่วงเวรบ่าย(๑๖๐๐-๒๔๐๐) แพทย์ทุกคนจะอยเู่ วรคนละ ๑-๒ เวรตอ่ เดอื น ในการออกตรวจผู้ป่วยมขี อ้ ปฏบิ ัติดงั น้ี ๑. แพทยเ์ วรER มหี นา้ ท่ี ตรวจผปู้ ่วยใหมท่ ี่มารักษาท่ีห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉนิ และดแู ลผู้ป่วยท่ีนอนสงั เกตอาการอยใู่ นห้องอุบัติเหตุและฉกุ เฉิน ๒. การอย่เู วร วันราชการ วันเสาร์ อาทติ ย์ และวนั หยดุ ราชการ เวลา ๑๖.๐๐-๒๔.๐๐ น. ตรวจผู้ป่วยท่ีห้องอุบัตเิ หตุและฉกุ เฉนิ โดยขึ้นเวรตรงเวลา ๑๖.๐๐ น. ๓. ในการปฏิบัติงานแต่ละเวร ให้พักรับประทานอาหารได้ตามความเหมาะสม การเลือกพักช่วงเวลาใดใหต้ กลงกบั แพทยเ์ วรStaff ER ของแต่ละเวร ๔. ไม่อนญุ าตให้อยูค่ วบเวรกบั เวรอนื่ ๕. ในกรณีที่ลืมอยู่เวร ถ้าถูกรายงานจะถูกปรับโดยการให้อยู่เวรเพ่ิมในเวรของเดือนต่อไป และงดการจา่ ยเงนิ ค่าเวรทไ่ี มไ่ ด้มาปฏบิ ตั งิ าน ๖. การแลกเวรกับผู้อ่ืนควรแจ้งล่วงหน้ากับพยาบาล In charge ของห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉินและแจ้งประชาสมั พนั ธ์เพอื่ จะไดต้ ามแพทยเ์ วรได้ถกู ตอ้ ง ๗. ไม่อนุญาตให้รับประทานอาหารหรือของว่างในห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ไม่ควรนําหนังสือมาอ่านในระหวา่ งปฏิบัตงิ าน ๘. การแต่งกายควรแต่งกายสุภาพ เหมาะสมกับฐานะแพทย์ ไม่ควรใส่กางเกงยีนส์ เส้ือยืดรองเทา้ แตะ

๓๔แพทยป์ ระจําบ้านกับบทบาททางนิตเิ วชผ้ปู ่วยทเ่ี ก่ียวกับงานนติ เิ วช ผ้ปู ว่ ยท่ีเกี่ยวขอ้ งกับงานทางนิตเิ วช หรอื ผปู้ ่วยคดี หมายถงึ ผู้ปว่ ยซึง่ ความเจ็บปว่ ยของเขานน้ั อาจถูกอา้ งอิงเปน็ พยาน หลกั ฐานทางคดใี นช้นั สอบสวนหรอื ช้นั ศาลได้ ส่วนใหญ่จะเปน็ ผ้ปู ว่ ยท่ีที่มาด้วยอาการบาดเจบ็ ต่างๆซงึ่ จะพบในการปฏบิ ัติงานทห่ี ้องฉุกเฉินเป็นสว่ นใหญ่ รวมทั้งผูป้ ่วยศลั ยกรรมกระดูกและข้อ สตู นิ รเี วช รวมไปถึงจักษุกรรมและหคู อจมูกในบางครง้ั ยกตัวอย่างเช่น ๑. ผปู้ ่วยที่ได้รบั บาดเจบ็ จากอุบตั เิ หตุ โดยเฉพาะอบุ ตั ิเหตุจราจร ๒. ผู้ป่วยทีบ่ าดเจ็บจากการถูกทาํ ร้ายรา่ งกายจากการกระทาํ ของบุคคลอ่ืน หรือถกู สัตว์ทําร้าย ๓. ผู้ป่วยทไ่ี ด้รบั บาดเจ็บจากการทํางาน ๔. ผู้ป่วยท่ไี ด้รบั บาดเจบ็ จากการกระทําของตนเอง ๕. ผู้เสียหายในคดีความผดิ ทางเพศ ๖. เดก็ ท่ีถูกทารุณกรรมวิธีการปฏบิ ัตใิ นกรณีผู้ป่วยคดี ๑. กรณหี ้องฉุกเฉิน ซกั ประวตั ิและตรวจรา่ งกายผู้ป่วยโดยเฉพาะในเร่ืองของ “บาดแผล” ทําการบันทึกชนิด ขนาดและตําแหน่งของบาดแผลลงในใบบันทึกบาดแผลในเวชระเบียนของผู้ป่วย รวมทั้งรายละเอียดการบาดเจ็บส่วนอ่ืน แนะนําเร่ืองการแจ้งความ ใบชันสูตรบาดแผลและนัดผู้ป่วยเพื่อมาพบแพทย์นิติเวชท่ีห้องตรวจผู้ป่วยนอกนิตเิ วชคลนิ กิ ในวันทําการถัดจากวันดงั กลา่ ว เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐น.อาคารศนู ยม์ ะเร็ง ชน้ั ๑ ๒. กรณีบนหอผู้ปว่ ยใน หากผู้ป่วยที่อยู่ในความดูแลเป็นผู้ป่วยคดีหรือมีแนวโน้มว่าอาจมีปัญหาทางกฎหมายได้ในอนาคต ให้แพทย์ประจําบ้านส่งใบขอคําปรึกษา (consultation request) แพทย์นิติเวชทันทีหลังจาก admitโดยเฉพาะในกรณผี ู้ปว่ ยท่เี กีย่ วข้องกบั อุบตั เิ หตุจราจรซึ่งทางแพทยน์ ิติเวชจะเป็นผู้ออกใบรับรองแพทย์ที่เก่ียวกับการเบิกพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถและจะไปเยี่ยมผู้ป่วยที่หอผู้ป่วยเพื่อซักประวัติและบันทึกบาดแผลรวมถึงการบาดเจ็บโดยละเอียดอีกครั้ง รวมถึงอาจมีนัดให้มาตรวจติดตามอาการห้องตรวจผู้ป่วยนอกนิติเวชคลินกิคาํ แนะนาํ ในการดําเนนิ การในทางคดี ๑. การแจ้งความ แนะนําให้ผู้ปว่ ยดาํ เนินการแจ้งความกบั รอ้ ยเวรของสถานีตํารวจซง่ึ รับผิดชอบทอ้ งทเ่ี กิดเหตุ ในกรณีท่ีไม่สามารถไปด้วยตนเองได้เน่ืองจากการบาดเจ็บต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล ผู้ท่ีสามารถไปแจ้งความแทนได้คือ บิดามารดา บุตร สามีภรรยา หรือผู้แทนโดยชอบธรรม โดยต้องนําหลักฐานท่ีเกี่ยวข้องไปย่ืนด้วย เช่นทะเบียนบ้าน สูติบัตร ทะเบียนสมรส หรือใบมอบอํานาจ หลังจากแจ้งความแล้วท่านควรขอเบอร์ติดต่อร้อยเวรเจ้าของคดีไว้ด้วยเพ่ือความสะดวกในการติดตามคดีหากผู้ป่วยต้องการให้มีการดําเนินคดีทางอาญาหรือต้องการเรยี กร้องค่าสินไหมทดแทนทางแพง่ โดยแพทยแ์ ละเจา้ หนา้ ที่โรงพยาบาลไมม่ หี นา้ ทีแ่ จง้ ความ ๒. ใบนาํ สง่ ผู้บาดเจบ็ ฯ เมื่อแจ้งความแล้ว ผู้แจ้งความอาจจะได้รับ “ใบนําส่งผู้บาดเจ็บฯ” จากพนักงานสอบสวน ให้เก็บเอกสารน้ไี ว้ เพอื่ มอบใหเ้ จ้าหนา้ ที่ห้องนติ เิ วชในวันท่แี พทย์นติ ิเวชนัดมาตรวจทีห่ ้องตรวจผ้ปู ่วยนอกนิตเิ วชคลินกิ

๓๕ ๓. ใบชันสตู รบาดแผล การทีพ่ นกั งานสอบสวนจะแจ้งขอ้ หาในสาํ นวนคดไี ดน้ ้นั หลกั ฐานที่สําคัญได้แก่ “ใบชนั สูตรบาดแผล” ซ่ึงแพทย์นิติเวชจะเป็นผู้ออกให้ เมื่อได้รับการร้องขอจากพนักงานสอบสวนผ่านทาง “ใบนําส่งผู้บาดเจ็บ”โดยจะระบุว่าผู้ป่วยมีบาดแผลชนิดใดบ้าง ต้องใช้เวลารักษานานเท่าไหร่ ดังน้ันแพทย์นิติเวชจึงต้องรอให้ผู้ป่วยได้ออกจากโรงพยาบาลก่อน แล้วจึงนดั ผู้ปว่ ยมาพบทหี่ อ้ งตรวจนิตเิ วชอกี คร้งั เพื่อตดิ ตามอาการ ๔. การรับใบชันสูตรบาดแผล ใบชนั สตู รบาดแผลเป็นเอกสารทางคดี จึงต้องให้พนักงานสอบสวนเป็นผู้มารับกับทางห้องนิติเวชเท่าน้ันไม่สามารมอบให้ผู้ป่วยหรือญาติได้ หากต้องการตรวจสอบเอกสารนี้ ผู้ป่วยควรติดต่อกับพนักงานสอบสวนโดยตรง ๕. ใบรบั รองแพทย์ ใบรับรองแพทย์โดยทั่วไปแล้วไม่มีประโยชน์ในทางคดี เนื่องจากมีรายละเอียดน้อย ปกติจะใช้เพื่อหยุดงาน หรือเบกิ คา่ รกั ษาจาก พ.ร.บ.คมุ้ ครองผูป้ ระสบภัยจากรถ เป็นต้น แต่ไม่สามารถใชใ้ นการฟ้องคดีอาญาได้ศพผ้เู สียชีวิตทเ่ี ก่ยี วข้องกับทางนิตเิ วช ตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา หมวด ๒ การชันสูตรพลิกศพ มาตรา ๑๔๘ ไดก้ ล่าว ไว้ว่า “เม่อื ปรากฏแน่ชัดหรอื มีเหตุอนั ควรสงสัยวา่ บุคคลใดตายโดยผดิ ธรรมชาติ หรอื ตายในระหวา่ งอยู่ ในความควบคุมของเจา้ พนักงาน ใหม้ ีการชันสตู รพลิกศพ

๓๖การตายโดยผดิ ธรรมชาตินนั คือ(๑) ฆา่ ตวั ตาย(๒) ถูกผู้อน่ื ทําใหต้ าย(๓) ถูกสตั วท์ าํ ร้ายตาย(๔) ตายโดยอุบตั ิเหตุ(๕) ตายโดยยงั มิปรากฏเหตุ ดงั นนั้ เมอื่ มผี ู้ปว่ ยเสยี ชวี ิตภายในโรงพยาบาลทัง้ ท่ีห้องฉุกเฉินและบนหอผูป้ ว่ ยแล้วเขา้ กบั เกณฑ์ พฤติการณ์การตายดงั กล่าวท้ังห้าขอ้ น้ี ต้องแจง้ แกแ่ พทย์นิตเิ วชเพอ่ื ทาํ การชันสูตรพลกิ ศพและอาจจะ ต้องทาํ การผ่าตรวจศพต่อไป ยกตัวอยา่ งเชน่ กรณีผู้ป่วยไม่มสี ญั ญาณชพี เม่อื เข้ามาท่ีห้องฉกุ เฉิน ได้ทาํ การกดหน้าอก CPR แต่ สุดท้ายเสียชวี ิต วนิ ิจฉยั เป็น DOA หรือ death on arrival เขา้ ได้กบั กลุม่ ผปู้ ่วยท่ตี ายโดยยงั มปิ รากฎเหตุ หรือ กรณผี ปู้ ่วยจมน้าํ หรอื อบุ ัติเหตุจราจร แตต่ อ่ มาพบวา่ มี MI แล้วเสียชวี ิตทหี่ อผู้ป่วยอายรุ กรรม กย็ ังตอ้ งมี การชันสูตรพลกิ ศพโดยแพทย์นิติเวชเนอ่ื งจากมาด้วยเร่อื งของอุบัตเิ หตุ ทง้ั นีร้ วมถึงผปู้ ่วยที่ถูกแทง ยงิ หรอื ขับรถชนแลว้ ตอ่ มาเสยี ชวี ติ ท่ีสาเหตุการตายจากอบุ ตั เิ หตชุ ดั เจน เปน็ ตน้ แนวทางการปฏิบตั เิ กย่ี วกับศพท่ีต้องทาํ การชันสตู รพลกิ ศพเม่ือมีการเสียชีวิต ให้แพทย์ประจําบ้านแจ้งและให้คําแนะนําแก่ญาติเรื่องการชันสูตรพลิกศพโดยแพทย์นิติเวชเนอื่ งจากเปน็ กระบวนการทางกฎหมาย ตอ้ งทาํ ในทกุ กรณีท่ไี ดก้ ล่าวไป โดยไมต่ ้องไดร้ บั ความยนิ ยอมจากญาติแพทย์ประจําบ้านไม่ต้องออกหนังสือรับรองการตาย เน่ืองจากแพทย์นิติเวชจะทําการชันสูตรพลิกศพและอาจตอ้ งผา่ ตรวจศพและเปน็ ผูอ้ อกหนงั สอื รับรองการตายส่งศพและแนะนาํ ญาติให้มาติดตอ่ ที่อาคาร ๑๔ แพทยน์ ติ ิเวชจะทาํ การชันสตู รพลิกศพตามข้นั ตอนตอ่ ไปการสง่ ตรวจทางพยาธกิ ายวิภาคกรณีการขอผา่ ตรวจศพ (Anatomic Pathology – Autopsy Case) นอกจากกรณีศพผู้เสียชีวิตทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั งานทางนติ เิ วช กรณศี พผปู้ ว่ ยท่ีเขา้ รบั การรักษาและเสยี ชวี ิตภายในโรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดชทแี่ พทยผ์ ูร้ ักษามีข้อสงสยั เกยี่ วกับการรักษาหรือสาเหตกุ ารตายของผู้เสียชีวติหนว่ ยพยาธิกายวิภาคไดใ้ ห้บริการตรวจศพทางวิชาการเหล่านี้ รวมถงึ ศพทารกที่แพทยต์ ้องการขอตรวจและรบัปรึกษาจากแพทย์นิติเวชเมอ่ื มีการร้องขออีกดว้ ย กรณีแพทย์ผรู้ ักษาต้องการขอตรวจศพดงั กล่าว สามารถดาํ เนินการตามข้อปฏบิ ัติดงั น้ี ๑. การขออนญุ าตตรวจศพ ๑.๑ แพทยท์ ใ่ี ห้การดแู ลรกั ษาผูป้ ่วย ต้องขออนุญาตจากญาตผิ ูป้ ่วยท่มี สี ิทธใิ์ หท้ าํ การผ่าศพได้ ซ่ึงต้อง เป็นญาติทีใ่ กลช้ ดิ เรยี งลําดบั ความสําคญั ดงั น้ี - คสู่ มรสทถี่ กู ตอ้ งตามกฎหมาย - บุตร ธิดาทบี่ รรลุนติ ิภาวะ - บดิ า มารดา (เปน็ อันดบั ๑ กรณผี ู้ตายยงั ไมบ่ รรลนุ ติ ิภาวะ) - พน่ี อ้ งร่วมบิดามารดาเดียวกนั ทบี่ รรลนุ ติ ิภาวะ - พน่ี ้องรว่ มบดิ าหรือมารดาเดียวกันที่บรรลนุ ิติภาวะ - ปู่ ยา่ ตา ยาย - ลุง ปา้ นา้ อา - ญาติผรู้ ับผิดชอบดูแล หรือเปน็ ผปู้ กครอง ดแู ลกนั มาตลอด ๑.๒ ผอู้ าํ นวยการโรงพยาบาลไม่สามารถเซน็ อนุญาตให้ผา่ ศพได้

๓๗ ๑.๓ แพทยผ์ ู้ทาํ การขอตรวจศพ ต้องอธิบายใหญ้ าตเิ ขา้ ใจข้ันตอนและวธิ กี ารผ่าศพอย่างชัดเจน โดย สามารถศึกษารายละเอียดไดใ้ นค่มู ือส่ิงสง่ ตรวจทางพยาธิกายวภิ าคปี ๒๕๕๖ (ห้องปฏบิ ตั ิการช้ินเนอ้ื และเซลล์วทิ ยา) ๑.๔ ไม่รบั ตรวจศพผปู้ ว่ ยตดิ เชื้อ HIV หรอื เปน็ พาหะไวรัสตับอักเสบและเช้อื วัณโรค ๑.๕ในกรณศี พผปู้ ่วยทีต่ ิดเช้อื หรือมีโรคตดิ ต่อรา้ ยแรง เชน่ วณั โรค Meningococcemia แพทยต์ ้องระบุในใบขออนุญาตผา่ ศพใหช้ ดั เจน เพื่อเตรยี มการป้องกนั และควบคุมการแพร่กระจายของเช้ือ ๒. ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการขอตรวจศพ ๒.๑ แพทย์ผูข้ ออนญุ าตตรวจศพต้องติดต่อกบั พยาธแิ พทย์ผ้มู ีหน้าทผี่ า่ ตรวจศพในวนั นัน้ โดยทั้งในและนอกวนั -เวลาราชการ ใหแ้ พทยผ์ ขู้ ออนุญาตติดต่อประสานงานกับเจา้ หน้าท่ีห้องนติ เิ วชที่อยู่เวรประจาํ วันนัน้ เพ่ือดาํ เนนิ การแจง้ ใหพ้ ยาธิแพทย์ทราบ ๒.๒ ผ้เู ขยี นใบขออนุญาตผ่าศพ (PA-FO-036) ต้องเป็นแพทยผ์ ดู้ แู ลผปู้ ว่ ยและสามารถใหข้ ้อมลู เพิม่ เติมได้เท่านนั้ เมื่อญาตอิ นุญาตให้ทําการผ่าตรวจศพแลว้ ให้แพทย์ผขู้ ออนญุ าตกรอกข้อมูลที่สําคัญเก่ียวกับผู้ปว่ ย ซึ่งประกอบด้วยการตรวจร่างกายแรกรบั การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การรกั ษาท่ีไดร้ ับ การดําเนนิ โรค การวินจิ ฉยั โรค ตลอดจนประเด็นท่ตี ้องการให้ตรวจเป็นพิเศษในขณะทําการผ่าศพ ขอ้ มลู ทางคลินิคที่ครบถ้วนจะชว่ ยให้การผา่ ตรวจศพเปน็ ไปได้ดว้ ยความรวดเร็ว ถูกต้องและตรงตามความต้องการของแพทย์ผู้ขออนญุ าตตรวจศพ ๒.๓ ให้ญาติลงนามยินยอมการผ่าตรวจศพในช่องผู้อนุญาต โดยการขออนญุ าตจะต้องไมเ่ ป็นการบงั คับญาตใิ ห้ยนิ ยอม ๒.๔ แพทยผ์ ขู้ ออนุญาตลงช่ือ พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ทสี่ ามารถตดิ ต่อได้อยา่ งชดั เจนเพ่ือการติดต่อจากพยาธิแพทย์ หากตอ้ งการข้อมลู เพมิ่ เติม ๒.๕ กรณีแพทย์ประจาํ บ้านเป็นผูข้ ออนุญาตผ่าตรวจศพ ต้องให้อาจารย์แพทย์เจ้าของไข้เซน็ ชือ่ กํากับด้วย ๒.๖ เวลาผา่ ศพ – ในเวลาราชการ , ไมผ่ ่าในวนั เสาร์-อาทิตย์และวนั หยุดราชการ นโยบายด้านความเส่ียง (Risk Policy)นโยบายเร่ืองการบริหารความเสยี่ ง (Risk Management Policy) รพ.ภูมพิ ลอดุลยเดช พอ. ๑. ทกุ หนว่ ยงานของโรงพยาบาลจะตอ้ งมีระบบการบริหารความเส่ยี งโดยการคน้ หา การวิเคราะห์การจดั การความเส่ียง วางมาตรการป้องกนั และติดตามประเมนิ ผลระบบเพื่อปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเน่ือง ๒. คณะกรรมการบริหารความเสย่ี ง มีหนา้ ทจ่ี ัดระบบการบริหารความเสยี่ ง รบั ผดิ ชอบดูแลภาพรวมบรู ณาการระบบการบรหิ ารความเสีย่ งกับระบบสาํ คญั อื่นๆ อยา่ งครอบคลุม ประสานเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างหนว่ ยงาน รวมท้งั สือ่ สารประชาสมั พนั ธ์ใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งรับทราบเพอ่ื ความปลอดภยั ของผใู้ หแ้ ละผูร้ บั บริการ และสร้างวัฒนธรรมความปลอดภยั ในองค์กร ๓. กําหนดให้ทุกหน่วยงานมีผู้ประสานงานด้านความเส่ยี ง (RM Ward Nurse) หรอื คณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี งของแต่ละกองหรอื หน่วยงาน เพื่อดูแลปัญหาและประสานงานดา้ นความเส่ยี ง และประชาสมั พนั ธ์ใหบ้ ุคลากรในกองหรือหนว่ ยงานรับทราบ ๔. การจัดแบง่ ระดบั ความรนุ แรงของอบุ ัติการณ์ความเส่ยี งทางคลินิก (Clinical Risk) ๔.๑ ระดบั A หมายถงึ เหตกุ ารณซ์ ึง่ มโี อกาสจะก่อใหเ้ กิดความเสีย่ ง ๔.๒ ระดบั B หมายถึง เหตุการณค์ วามเส่ยี งที่เกิดขึน้ แตย่ ังไม่ถงึ ตวั ผ้ปู ว่ ย

๓๘ ๔.๓ ระดับ C หมายถงึ เหตุการณ์ความเส่ียงที่เกิดข้นึ แต่ไม่เกิดอันตรายตอ่ ผู้ป่วย ๔.๔ ระดับ D หมายถึง เหตุการณ์ความเสีย่ งที่เกดิ ขึ้นและส่งผลตอ่ ผปู้ ว่ ยเพียงเลก็ น้อยหรือทาํให้ต้องมีการเฝ้าระวังเพ่มิ มากขึ้นเพ่ือให้ม่นั ใจวา่ จะไม่มีอันตรายต่อผู้ปว่ ย ๔.๕ ระดับ E หมายถงึ เหตกุ ารณค์ วามเสี่ยงที่เกดิ ขนึ้ แล้ว ส่งผลใหผ้ ปู้ ว่ ยเกิดอันตรายชั่วคราวหรือทพุ พลภาพช่วั คราว ซึ่งตอ้ งใหก้ ารดแู ลรักษา ๔.๖ ระดบั F หมายถึง เหตกุ ารณ์ความเสย่ี งที่เกดิ ขึน้ แล้ว สง่ ผลใหผ้ ้ปู ว่ ยเกดิ อันตรายช่วั คราวหรอื ทพุ พลภาพช่ัวคราว ทาใหต้ ้องนอน รพ.หรอื อยู่ รพ.นานขึ้น ๔.๗ ระดบั G หมายถึง เหตกุ ารณ์ความเส่ียงท่ีเกดิ ขึ้นแล้ว ส่งผลใหต้ อ่ ผปู้ ่วยเกิดอนั ตราย หรอืทพุ พลภาพถาวร ๔.๘ ระดับ H หมายถงึ เหตกุ ารณ์ความเสย่ี งที่เกดิ ขน้ึ แลว้ สง่ ผลใหต้ อ้ งทาํ การชว่ ยชีวิต ๔.๙ ระดับ I หมายถึง เหตุการณค์ วามเส่ยี งทีเ่ กดิ ข้นึ แล้ว และเปน็ สาเหตขุ องการเสียชวี ติ ของผู้ปว่ ย รวมทัง้ Sentinel event ทุกเหตุการณ์ ไดแ้ ก่ เหตกุ ารณท์ ่ีมีแนวโน้มจะถกู ฟ้องร้องหรอื เผยแพรต่ ่อสอ่ื มวลชน, เหตุการณ์ไม่คาดหวังในผปู้ ว่ ย/ญาตทิ ีเ่ ปน็ บุคคลสําคัญ, การพยายามฆา่ ตัวตายใน รพ.การจาํ หนา่ ยเด็กผิดครอบครัว (Discharge to wrong family), การลกั พาทารกใน รพ. (Infant abduction), การขม่ ขืนผู้ปว่ ย (Rape), การผ่าตดั ผิดข้างหรือผิดคน, การใหเ้ ลอื ดหรือ สว่ นประกอบของเลอื ดผิด ๕. การจัดแบ่งระดับความรุนแรงความเสี่ยงทว่ั ไป (Non clinical risk) ๕.๑ ระดบั A หมายถงึ เหตกุ ารณซ์ ึง่ มโี อกาสจะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หาย ๕.๒ ระดับ B หมายถึง เหตกุ ารณค์ วามเสย่ี งท่ีเกดิ ขน้ึ แต่ยังไม่มีความเสียหาย ๕.๓ ระดับ C หมายถึง เหตกุ ารณ์ความเสี่ยงที่เกดิ ขึ้นแล้ว มคี วามเสียหายนอ้ ยมาก มูลค่าทรพั ย์สนิ <๒,๐๐๐ บาท ๕.๔ ระดบั D หมายถงึ เหตกุ ารณค์ วามเสย่ี งท่ีเกิดข้ึนแลว้ มคี วามเสยี หายนอ้ ยเช่น ชอื่ เสียงภาพพจนเ์ สียหาย เกิดความไม่ไว้วางใจจากผูป้ ่วยและความไม่สะดวกขณะรบั บริการทรัพยส์ ินเสียหายเลก็ นอ้ ยมูลคา่ ๒,๐๐๐-๕,๐๐๐ บาท ๕.๕ ระดับ E หมายถงึ เหตุการณ์ความเส่ียงที่เกิดข้นึ แลว้ มคี วามเสยี หายปานกลาง เช่นเกิดความไม่ไว้วางใจจากองค์กรภายนอก เชน่ บริษัทประกนั /หนว่ ยงานของรัฐ ทรัพยส์ นิ เสียหายมากกว่า ๕,๐๐๐-๑๕,๐๐๐ บาท ๕.๖ ระดบั F หมายถึง เหตกุ ารณ์ความเส่ียงที่เกดิ ขนึ้ แลว้ มีความเสยี หายมาก เชน่ เกดิ ความไม่ไว้วางใจจากองค์กรภายนอก เชน่ บรษิ ัทประกนั /หนว่ ยงานของรัฐ ทรัพยส์ นิ เสยี หายมากกว่า ๑๕,๐๐๐ -๓๐,๐๐๐ บาท ๕.๗ ระดับ G หมายถงึ เหตกุ ารณ์ความเส่ยี งที่เกดิ ข้นึ แล้ว มคี วามเสยี หายมากท่ีสดุ ทรพั ยส์ ินเสียหาย มีมูลคา่ มากกว่า ๓๐,๐๐๐-๕๐,๐๐๐ บาท ช่ือเสียงภาพพจนข์ อง รพ.เสียหาย ปรากฏในสอื่ สาธารณะ ๕.๘ ระดับ H หมายถึง เหตกุ ารณ์ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแลว้ มีความเสยี หายมากทสี่ ุด และทาํ ให้รพ.ต้องหยุดชะงกั การใหบ้ รกิ ารไมเ่ กนิ ๒๔ ช.ม.ทรพั ยส์ ินเสียหาย มมี ลู คา่ มากกว่า ๕๐,๐๐๐ บาท แต่ไมเ่ กิน๑๐๐,๐๐๐ บาท ถกู ฟ้องร้องต่อองค์กรวิชาชพี /หนว่ ยเหนือ ๕.๙ ระดับ I หมายถึง เหตุการณ์ความเส่ยี งทเ่ี กดิ ขึน้ แลว้ มคี วามเสียหายมากที่สุด และทําให้รพ.ต้องหยดุ ให้บริการไม่เกิน ๒๔ ช.ม. ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย มมี ลู คา่ มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ บาท ช่ือเสยี งภาพพจน์เสยี หายปรากฏในสือ่ สารสาธารณะหลากหลาย/ถูกฟอ้ งรอ้ งเป็นคดีความแพ่งหรืออาญา ๖. การรายงานเหตุการณ์กรณจี ัดเปน็ ความเสยี่ งทางการศึกษา (Educational Risk)

๓๙ ๗. บุคลากรของโรงพยาบาลทุกคนมีหน้าที่รายงานอบุ ัติการณ์ท่ีเปน็ ความเสย่ี งโดยใช้แบบรายงานความเสี่ยง (Incident Report) ดําเนินการดว้ ยหลักการรักษาความลบั ไมเ่ ปดิ เผยข้อมลู แก่ผู้ไมเ่ ก่ยี วข้องและไม่นามาใช้ในการพจิ ารณาลงโทษ ๘. กรณเี รื่องรอ้ งเรียนหรืออบุ ัติการณ์ท่เี กดิ ขน้ึ เปน็ เหตุการณ์ท่ีมีความรนุ แรงระดับ G-H-I ให้รายงานเหตุการณน์ ้ันต่อหัวหนา้ หอผู้ปว่ ย/หวั หนา้ หนว่ ยงาน ผู้ตรวจการ ผู้อาํ นวยการกองและคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทันทภี ายใน ๒๔ ชม. และให้แต่ละหนว่ ยงานวิเคราะห์รากเหงา้ ของสาเหตุ (Root Cause Analysis )เพ่ือออกแบบระบบหรือวางมาตรการปอ้ งกนั ที่มปี ระสิทธิภาพ ๙. ใหท้ กุ หนว่ ยงาน/ทีมนําทางคลนิ ิก ค้นหาและจดั ทําบัญชีความเส่ยี ง (Risk Profile) เพื่อเป็นแนวทางในการวางมาตรการปอ้ งกนั ความเสยี่ ง สือ่ สารประชาสัมพันธ์ใหบ้ ุคลากรรับทราบและตดิ ตามประเมินผลทบทวนอย่างสม่าํ เสมอ และพัฒนาระบบการป้องกนั ความเส่ียงท่สี าํ คัญและเกดิ บ่อย

๔๐

๔๑ ผนวก ฉ การป้องกันการตดิ เช้อื จากการทาํ งานในบคุ ลากรทางการแพทย์ ตั้งแต่มีการระบาดของเช้ือเอชไอวีท่ัวโลก วงการแพทย์ก็ให้ความสําคัญกับโรคติดต่อที่ติดได้ทางเลือด(Blood born infection) มากขนึ้ นอกเหนือจากเชอื้ เอชไอวีแล้ว ยังมีโรคอีกหลายอย่างที่สามารถติดต่อได้ เช่นไวรัสชนิดอ่ืน ปรสิต แบคทีเรีย หรือเช้ือรา การติดต่อของโรคสามารถผ่านทางการสัมผัสผิวหนังท่ีมีแผล รอยถลอก ถกู เข็มตําหรือของมีคมบาด หรือผา่ นทางเย่ือบตุ า จมูก ปาก ไวรัสเป็นเชื้อท่ีพบการติดต่อทางเลือดได้มากท่ีสุด ไวรัสท่ีมีความสําคัญและมีผลต่อสุขภาพอย่างมากไดแ้ ก่ ไวรัสเอชไอวี ไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซี เน่ืองจากสามารถทําให้เกิดโรคได้ทั้งแบบเฉียบพลันและเร้อื รงั รวมทง้ั สามารถแพร่กระจายสผู่ ู้อ่นื ได้วธิ ีการแพรก่ ระจายของเชอื้ ที่ตดิ ต่อทางเลอื ดหรือสารคดั หล่งั ๑. การสัมผสั ผ่านทางผิวหนัง (Percutaneous exposure) เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจากของมีคมเช่นเข็มตํา มีดผา่ ตัดบาด หลอดแก้วที่บรรจเุ ลือดแตกบาดมอื หรือบาดเจ็บจากกระดกู หรอื ฟนั ของผปู้ ว่ ย ๒. การสัมผัสเยอื่ บุ (mucous membrane exposure) ได้แก่ การที่เลือดหรือสารคัดหลั่งสัมผัสถูกเยื่อบุ เช่น รมิ ฝีปาก เยื่อบตุ า เย่อื บุจมูก เป็นต้น ๓. การสัมผัสผิวหนังที่ไม่ปกติ (non-intact skin exposure) ได้แก่ การที่เลือดหรือสารคัดหลั่งสัมผัสถกู แผลเปดิ แผลถลอก ผวิ หนังลอก หรอื ผวิ หนงั อักเสบเลือดและสารคดั หลง่ั ทแี่ พรก่ ระจายเช้ือไวรัสตับอักเสบบี ไวรสั ตับอกั เสบซี และเอชไอวไี ด้ ๑. เลอื ด (Blood) นํ้าเหลือง (serum) และพลาสมา (plasma) ๒. สารคัดหล่ังจากมดลกู ชอ่ งคลอด นา้ํ อสจุ ิ ๓. สารน้าํ จากบรเิ วณท่ีปราศจากเชื้อ เชน่ ชอ่ งเยื่อหุ้มปอด (pleural fluid) ชอ่ งเยื่อหุ้มหัวใจ(pericardial fluid) ในชอ่ งท้อง (peritoneal fluid) สารนํา้ ในขอ้ (synovial fluid) น้ําครํ่า (amniotic fluid)และสารน้ําในช่องสมองและไขสันหลัง (cerebrospinal fluid)สารคัดหลัง่ ต่อไปนีม้ ีปรมิ าณเชอื้ น้อย ไมส่ ามารถแพรก่ ระจายสูผ่ อู้ ืน่ ถ้าไม่มีเลือดปน๑. อจุ จาระ ๕. นาํ้ ตา๒. สารคดั หล่งั จากจมูก ๖. ปัสสาวะ๓. เสมหะหรอื สารคัดหล่ังจากหลอดลม ๗. อาเจยี น๔. เหงือ่ ๘. นํา้ นมชนดิ ของการสัมผสั จากการศึกษาในต่างประเทศ พบว่าการสัมผัสโดยทางผิวหนังจากการถูกเข็มตําเป็นอุบัติเหตุท่ีพบบ่อยท่ีสุดคือร้อยละ๘๐ ของการสัมผัสท้ังหมด เช่นเดียวกับข้อมูลของโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช พบว่าการสัมผัสโดยถกู เขม็ ตาํ พบบอ่ ยทส่ี ุด รองลงมาคอื การถกู เลือดหรือสารคัดหลั่งกระเด็นถกู บริเวณเย่ือบุ โดยกรณีเข็มตําส่วนใหญ่เกดิ จากการพลาดโดนในระหว่างการเจาะเลือดหรอื ฉีดยาแก่ผ้ปู ว่ ย

๔๒การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ในบุคลากรทสี่ มั ผัสเช้อื เมื่อบุคลากรสัมผสั เลอื ด และ/หรอื สารน้ํา/สารคัดหล่ังของผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงจะเกิดการแพร่เชื้อได้ ให้รีบทําความสะอาดบริเวณท่ีสัมผัสทันที การทําความสะอาดให้ใช้น้ําสะอาดและสบู่ หรือน้ํายาทําลายเชื้อท่ีไม่ระคายเคืองตอ่ ผิวหนัง ไมค่ วรบบี เค้นแผลอยา่ งรุนแรง เพราะอาจทําให้เชอ้ื ซึมลงสู่เนอ้ื เยื่อชัน้ ลกึ ได้งา่ ยขึ้น ในกรณีเลือดหรอื สารคัดหล่ังกระเด็นเข้าตา ให้ล้างด้วยนํ้าสะอาดหรือน้ําเกลือนอร์มัล หรือนํ้ายาล้างตาลา้ งตามากๆ ถ้าเลือดหรือสารคัดหล่ังกระเด็นเข้าปาก ให้บ้วนน้ําลายท้ิงทันที จากนั้นให้บ้วนปาก กล้ัวปากและคอดว้ ยน้ําสะอาดตดิ ตอ่ กนั ๒-๓ครั้ง ไมค่ วรใช้สบหู่ รอื น้ํายาทําลายเชอื้ ในปากการตดิ เช้ือเอชไอวีจากการปฏบิ ัตงิ าน โดยทั่วไปความเสีย่ งของการติดเชื้อเอชไอวีจากการสัมผัสเลือดของผู้ป่วยผ่านทางผิวหนังแต่ละครั้ง อยู่ที่ประมาณร้อยละ ๐.๓๒ ความเส่ียงจากการสัมผัสเลือดผ่านทางเยื่อบุประมาณร้อยละ ๐.๐๙ ส่วนความเสี่ยงจากการสัมผัสเลือดผ่านทางผิวหนังท่ีไม่ปกติมีรายงานว่าติดได้ แต่ไม่สามารถประมาณความเสี่ยงได้เนื่องจากพบนอ้ ย อย่างไรกต็ าม เชอ่ื วา่ ความเสี่ยงนา่ จะน้อยกว่าการสมั ผสั ทางเย่อื บุปัจจยั ที่มผี ลต่อการติดเช้ือเอชไอวีจากการปฏิบัติงาน ๑. ปริมาณเลือดหรือสารคัดหลั่งที่สัมผัส กรณีท่ีสัมผัสปริมาณมาก เช่น เข็มที่เจาะเลือดคนไข้ มีเลือดคาอยู่ในเข็มเป็นปริมาณมาก มีดท่ีบาดมีเลือดคนไข้ติดอยู่ เลือดปริมาณมากกระเด็นใส่ ก็มีโอกาสที่จะติดเชือ้ เพม่ิ ขน้ึ ๒. ลกั ษณะของการสัมผัส ถ้าเป็นแผลลึกมีเลือดออก แผลจากเข็มกลวงย่ิงมีขนาดเข็มใหญ่ก็ย่ิงมีโอกาสตดิ เชื้อเพมิ่ ขึ้น ถา้ ใส่ถุงมอื ปริมาณเลอื ดที่ผา่ นถุงมอื จะน้อยกวา่ ไม่ใส่ ๓. ปริมาณเชอื้ ของผปู้ ว่ ย ถ้าผปู้ ว่ ยอยูใ่ นระยะทา้ ยของการติดเชอื้ จะมปี ริมาณเชื้อในเลือดมากกว่าผู้ป่วยทไ่ี มม่ อี าการหรือผ้ปู ว่ ยทีอ่ ย่ใู นระหวา่ งการรักษาดว้ ยยาตา้ นไวรัส ๔. การปอ้ งกนั หลงั สมั ผสั หากไดร้ บั ยาตา้ นไวรสั หลงั สมั ผัสอยา่ งทนั ท่วงที ก็จะลดโอกาสการตดิ เช้อื ลงได้การใหย้ าปอ้ งกนั การติดเชอ้ื เอชไอวี มีข้อมลู ท่บี ่งช้วี ่าการใหย้ าตา้ นไวรัสเอชไอวีหลังสัมผัสโรคสามารถท่ีจะลดอัตราการติดเชื้อได้ ดังนั้นหากบุคลากรสัมผัสโรคและมีความเส่ียงที่จะติดเชื้อจึงต้องได้รับยาต้านไวรัส โดยระยะเวลาของการได้รับยาควรจะเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ จากการทดลองในสัตว์ทดลองพบว่าการให้ยาต้านไวรัสยิ่งเร็วย่ิงลดอัตราการติดเชื้อในขณะทีก่ ารให้ยาต้านไวรัสนานเกินกว่า ๗๒ ชวั่ โมงหลงั สัมผสั โรคจะมอี ตั ราการติดเชอ้ื เพิม่ ข้ึนข้นั ตอนการใหย้ าต้านไวรสั ๑. ประเมนิ วา่ มขี อ้ บ่งชใ้ี นการใหย้ าหรอื ไม่ ๒. ให้คาํ ปรกึ ษาแก่บคุ ลากรท่ีสมั ผัสโรคถงึ ความจาํ เปน็ ในการใหย้ าและผลขา้ งเคยี งที่อาจเกิดจากยา ๓. ให้ยาตา้ นไวรัสตามความเหมาะสมกบั ลกั ษณะการสมั ผัสโรค ๔. สง่ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ๕. การใหค้ ําแนะนําและการติดตามผล เมอ่ื ประเมนิ ว่ามคี วามเสีย่ งตอ่ การติดเช้ือ บคุ ลากรควรไดร้ ับยาและรบั การตรวจ Anti-HIV อย่างรวดเร็วหากพบว่า Anti-HIV เป็นบวกก่อนได้รับยา ก็ไม่ควรให้ยาต้านไวรัส ถ้าได้ไปแล้วให้หยุดยา เพราะหากได้รับยาสูตรไมเ่ หมาะสมอาจทําใหเ้ ชื้อทีม่ ีอยู่แล้วเกิดการดอ้ื ยาได้

๔๓ การให้ยาต้านไวรัสมีทั้งให้ยา ๒ ชนิดและ ๓ ชนิดโดยประเมินจากความรุนแรงของการสัมผัสโรคหากเป็นการสัมผัสท่ีความรุนแรงมาก เช่น โดนเข็มกลวงขนาดใหญ่ตํา หรือถูกเข็มตําลึก หรือมีเลือดติดอยู่เป็นปริมาณมาก หรอื ผ้ปู ว่ ยอยู่ในระยะทา้ ย มปี รมิ าณเช้ือในเลือดมาก ก็ควรพิจารณาให้ยา ๓ ชนิด โดยหากเลือกให้ยา ๒ ชนิดก็ใหย้ ากลุ่ม NNRTI ๒ ตัวเรียกว่าสูตรยาพ้ืนฐาน (basic regimen) หรือหากให้ยา ๓ ตัวเรียกว่าสูตรยาขยาย (expanded regimen) โดยตัวท่ี ๓ อาจเลือกให้เป็นยากลุ่ม NRTI หรือกลุ่ม PI หรือกลุ่มอื่นแล้วแต่ความเหมาะสม ทั้งนี้โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ได้มีแนวทางในการให้ยาในกรณีดังกล่าวโดยมีการปรับเปล่ียนตามข้อมูลใหม่ท่ีมีเพ่ิมข้ึน ส่วนระยะเวลาของการให้ยาในปัจจุบันให้เป็นเวลา ๔ สัปดาห์ตามข้อมูลการศกึ ษาในสตั ว์ทดลอง การเจาะเลือดตรวจ Anti-HIV ให้ทาํ ทันทีหลังสมั ผัสโรค หลังจากน้นั อีก ๓ เดือนและ ๖ เดือน รวม ๓คร้ัง โดยสรุป การให้การรักษาบุคลากรที่สัมผัสโรคต้องดําเนินการโดยเร็ว ต้องประเมินเหตุการณ์ที่เกิดเพ่ือเป็นแนวทางในการเลือกสตู รยา รวมทง้ั ตอ้ งให้คาํ แนะนําและให้กาํ ลังใจ ตลอดจนการติดตามผลเลือดอย่างครบถว้ นการติดเช้อื ไวรัสตับอกั เสบบีจากการปฏิบตั ิงาน ผูป้ ่วยที่มีเช้ือไวรัสตับอักเสบบีในเลือด โดยตรวจพบ HBsAg ในเลือด ไม่ว่าจะมีอาการหรือไม่สามารถท่ีจะแพร่เชือ้ ไปยังบคุ ลากรทางการแพทย์ได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงถ้ามี HBeAg ในเลอื ดดว้ ยแสดงถึงไวรัสตับอักเสบบีติดต่อได้โดยทางเลือดและสารคัดหลัง่ ตา่ งๆ สารคัดหลั่งทม่ี ีปริมาณเชือ้ สงู ได้แก่ สารนํ้าในช่องเย่ือหุ้มปอด สารน้ําในช่องเย่อื บชุ ่องทอ้ ง สารน้าํ ในข้อ นา้ํ คราํ่ และสารนํ้าในช่องสมองและไขสันหลัง ส่วนสารคัดหล่ังจากมดลูก/ช่องคลอด น้ําอสุจิและน้ําลายมีปริมาณเช้ือระดับปานกลาง ส่วนสิ่งขับถ่ายจากร่างกายเช่นอุจจาระ ปัสสาวะ มีปรมิ าณเชอ้ื นอ้ ย ยกเว้นมีเลือดปน โดยท่วั ไปความเสีย่ งตอ่ การตดิ เช้ือไวรัสตับอกั เสบบจี ากการถกู เขม็ ตาํ กรณีท่ไี มท่ ราบว่ามี HBeAg หรือไม่โดยเฉลีย่ เทา่ กับร้อยละ๖-๓๐ ซ่ึงนับว่าสูงกว่าการตดิ เชอ้ื ไวรัสชนดิ อน่ืปจั จยั ท่ีมผี ลต่อการตดิ เช้ือไวรัสตับอักเสบบจี ากการปฏบิ ัติงาน การประเมินความเสยี่ งต่อการตดิ เชื้อจากการปฏบิ ัตงิ านคลา้ ยกับกับการติดเชื้อเอชไอวี โดยขึ้นกับปัจจัยหลกั ๓ ประการ คอื ปรมิ าณของเช้อื ทม่ี ี ปริมาณของเลอื ดหรอื สารนํ้าท่ีสัมผสั และทางทส่ี มั ผัส บุคลากรที่เคยได้รับวัคซีนแล้วหรือเคยติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบีมาก่อนในอดีต อาจจะมีภูมิต้านทานหรอื ไม่กไ็ ด้ ดังน้ันควรถามประวัตกิ ารไดร้ บั วัคซนี ว่าครบหรือไม่ เคยตรวจภูมิต้านทานหรือไม่ว่าข้ึนหรือเปล่า ผู้ที่เคยได้รับวัคซีนครบ ๓ เข็มและมีภูมิต้านทานแล้วและผู้ท่ีเคยติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบีมาก่อน ไม่จําเป็นต้องให้การป้องกันการติดเชื้อ ส่วนในกรณีท่ีไม่ทราบว่าผู้ป่วยติดเช้ือไวรัสตับอักเสบบีหรือไม่ให้ประเมินความเสี่ยง ถ้าผปู้ ่วยมีความเส่ยี งตอ่ การติดเชือ้ ใหก้ ารรกั ษาเหมือนกรณีผู้ปว่ ยตดิ เชอื้การให้ยาปอ้ งกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ประกอบด้วยการให้อิมมูโนโกลบูลินและวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี ในกรณีผู้ป่วยมีเชื้อ และบคุ ลากรไมม่ ภี ูมิต้านทาน การรกั ษาคือการให้อิมมูโนโกลบูลิน ๑ คร้ังร่วมกับวัคซีน ๑ ชุด (คือ วัคซีน ๓ เข็ม ฉีดทนั ที ๑ เข็ม จากนั้นใหซ้ ้ําท่ี ๑ เดอื นและ ๖ เดือน) การให้อมิ มูโนโกลบูลินและวัคซีนให้ฉีดเร็วท่ีสุดภายในไม่เกิน๒๔ ชว่ั โมง โดยฉดี เขา้ กล้ามเนื้อบรเิ วณหัวไหล่ (deltoid) สามารถใหอ้ ิมมโู นโกลบูลินพร้อมกับวัคซีนได้โดยให้ฉีดคนละตําแหน่ง กรณีที่บุคลากรเคยฉีดวัคซีนแต่ไม่ครบ ให้ปฏิบัติเหมือนกับกรณี ไม่มีภูมิต้านทาน ส่วนขั้นตอนการให้ยาและการใหค้ าํ แนะนาํ เหมือนกบั กรณสี ัมผัสโรคผปู้ ่วยเอชไอวี การติดตามผลยงั ไม่มแี นวทางทช่ี ดั เจน แต่โดยทั่วไปแนะนําให้เจาะเลือดตรวจติดตามผลท่ี ๓ เดือนและ๖ เดือน โดยระหวา่ งนีค้ วรละเว้นการบริจาคเลือด อวัยวะ เนอ้ื เย่ือ และอสุจิ

๔๔การตดิ เชื้อไวรสั ตับอักเสบซีจากการปฏิบัติงาน การตรวจพบ Anti-HCV ในเลือดบ่งช้ีว่ามีการติดเชื้อตับอักเสบซีในบุคคลน้ัน แต่มีข้อจํากัด คือ ไม่สามารถบอกได้ว่าเปน็ การติดเชื้อเฉียบพลัน เรื้อรัง หรือเป็นการติดเช้ือมาก่อนในอดีต และไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณเชื้อในเลอื ด (HCV RNA) และไมไ่ ด้บอกถึงการแบ่งตัวอย่างรวดเร็วของไวรัส บอกได้เพียงว่ามีโอกาสท่ีจะติดต่อจากผู้ป่วยไปสูผ่ อู้ น่ื ได้ โดยความเสี่ยงตอ่ การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีจากการถูกเข็มตําหรือของมีคมบาด มีค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ ๑.๘ (พิสัย ๐-๑๐) ซึง่ ตา่ํ กว่าการติดเช้ือตบั อักเสบบีมากปัจจยั ท่ีมผี ลต่อการติดเช้ือไวรัสตบั อกั เสบซจี ากการปฏบิ ัติงาน โดยทั่วไปความเส่ยี งตอ่ การตดิ เชื้อไวรสั ตบั อกั เสบซีมนี อ้ ยกว่าไวรสั ตับอักเสบบีดังทีก่ ล่าวแล้ว เชื่อว่าเป็นเพราะปริมาณเชื้อในเลือดมนี ้อยกว่ามาก ปจั จัยทีเ่ ก่ียวข้องนอกเหนอื จากความรุนแรงและปริมาณของเลือด/สารคัดหลั่งที่สัมผัสแล้ว จึงเป็นเร่ืองของความชุกของโรค การติดเชื้อตับอักเสบซีส่วนใหญ่ผ่านทางการใช้เข็มฉีดยารว่ มกันและการให้เลือดในอดตี จึงพบความชกุ มากในผปู้ ่วยกลุ่มนี้การใหย้ าป้องกันการติดเช้ือไวรสั ตับอักเสบซี มีข้อมูลการให้ Interferon ชนิดเดียวหรือให้ร่วมกับยา ribavirin พบว่ามีประสิทธิภาพในการลดจํานวนไวรสั ลงไดม้ าก แตย่ งั ไม่มีข้อมูลเพียงพอทจ่ี ะใชเ้ ป็นมาตรฐานในการให้ กรณีหลังการสัมผัสโรค ปัจจุบันจึงยงั ไมม่ กี ารป้องกันการติดเช้ือไวรัสตับอักเสบซีท่ีมีประสิทธิผล ส่วนใหญ่จะใช้วิธีให้คําแนะนํา ให้สังเกตอาการและตรวจตดิ ตามทางห้องปฏบิ ตั กิ ารเป็นระยะเพื่อดวู า่ รา่ งกายสามารถกาํ จัดเช้ือได้เองหรือไม่ หากพบว่าเป็นการติดเชือ้ แบบเร้ือรังกต็ ้องให้คาํ แนะนาํ และตดิ ตามอยา่ งตอ่ เนื่องเพอ่ื วางแผนปอ้ งกันภาวะแทรกซอ้ นระยะยาว เนื่องจากการให้การรักษาการติดเช้ือไวรัสท้ัง๓ ชนิดต้องให้การรักษาอย่างเร่งด่วน ดังน้ันจึงจําเป็นต้องทราบผลเลือดของท้ังผู้ป่วยและบุคลากรในทันที เมื่อเกิดกรณีการสัมผัสโรค เมื่อเกิดเหตุขึ้นจึงต้องแจ้งให้หอ้ งปฏิบัติการทราบเสมอว่าตอ้ งการผลดว่ นเป็นกรณีพเิ ศษเพิ่มอาจารย์ทรี่ ับปรึกษา หากกรณีต้องได้รับยาต้านไวรัสอาจารยท์ ปี่ รึกษา อ.จุฑารัตน์ เมฆมลั ลกิ า (กองกมุ ารเวชกรรม) อ.ธนาสนธิ์ ธรรมกุล (กองอายรุ กรรม)

๔๕ ผนวก ชคาํ แนะนาํ ในการปรกึ ษางานวิจยั ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาส่งิ ประดษิ ฐ์คดิ คน้ ทางการแพทย์ โรงพยาบาลภมู ิพลอดลุ ยเดช กรมแพทยท์ หารอากาศ๑. สถานที่ ศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาสิง่ ประดิษฐ์คิดคน้ ทางการแพทย์ ชนั้ ๓ อาคารค้มุ เกล้าฯ(ห้องศูนยว์ ทิ ยบรกิ ารเก่า)๒. การปรกึ ษา๒.๑ ผู้วิจัยที่เร่ิมวางแผนการวิจัย ควรมีคําถามวิจัยอยู่แล้ว และควรทบทวนวรรณกรรมที่เกยี่ วกับคําถามวิจยั มาพอควร เพื่อใหก้ ารปรกึ ษาไดป้ ระโยชน์สงู สุดต่อผวู้ ิจัยเอง๒.๒ หากผู้วิจัยต้องการรับการปรึกษา ให้ประสานที่ศูนย์วิจัยฯโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดชโทร ๒๗๒๕๕ พร้อมส่งเอกสารการวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง (ถ้ามี) ไปยังศูนย์ฯ วันจันทร์ - วันศุกร์ เพ่ือติดต่อนัดวันให้คาํ ปรกึ ษากับเจ้าหน้าท่ีศูนยฯ์๓. อาจารย์ที่ปรึกษาศูนย์วิจัยและพัฒนาส่ิงประดิษฐ์คิดค้นทางการแพทย์ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.รบั ปรกึ ษาด้านระเบยี บวธิ ีวิจัย๑. น.อ.สินาท พรหมมาศ กองสตู ินรีกรรม๒. น.อ.หญิง ศศวรรณ ชนิ รัตนพิสิทธ์ กองกมุ ารเวชกรรม๓. น.ต.หญงิ วราลี อภนิ เิ วศ กองตรวจโรคผู้ป่วยนอกถามรายละเอียดเกย่ี วกับการดําเนินโครงรา่ งวิจัย การขอทุน และ ขอแบบฟอร์มการขอทําวิจัยและขอจรยิ ธรรม ที่น.ท.หญิง นราภรณ์ พกุ นอ้ ยและ น.ส. เบญจพร ขันศิริ (เจา้ หน้าท่ศี นู ยว์ จิ ยั ) โทร ๒๗๒๕๕ หรอื ๐๘๐-๒๖๙-๙๕๐๕

๔๖ คําแนะนาํ สาํ หรบั การส่งโครงรา่ งการวจิ ัย เพ่ือขอรับการพจิ ารณาจากคณะกรรมการจริยธรรม โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช กรมแพทย์ทหารอากาศโครงรา่ งการวจิ ยั ทค่ี วรขอรับการพิจารณา ผู้วจิ ยั ซงึ่ เป็นขา้ ราชการ แพทย์ประจาํ บา้ นของโรงพยาบาลภมู พิ ลอดลุ ยเดช และจะดําเนินการวจิ ัยในมนษุ ยใ์ นโรงพยาบาลภมู ิพลอดุลยเดช ควรสง่ โครงรา่ งการวิจัยเพ่อื ขอรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรม ไดแ้ ก่ ๑. การวิจัยใดๆท่ีอาจมีอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพและจิตใจของผูป้ ่วยหรืออาสาสมคั ร ๒. การวจิ ัยเชิงทดลองในยา วสั ดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีในมนุษย์ไม่ว่าจะเปน็ ชนดิ ใหม่หรอื เคยใช้มาแล้ว ๓. การวจิ ยั เชิงทดลองในห้องปฏิบัติการท่ีอาจมีปัญหาจริยธรรม ๔. การวจิ ยั โดยการสังเกตเชิงพรรณนาหรือเชิงวเิ คราะห์ที่อาจมีปญั หาจรยิ ธรรมประโยชนท์ จ่ี ะได้รบั ๑. โรงพยาบาลภมู พิ ลอดุลยเดช รับทราบและรว่ มรับผิดชอบเกีย่ วกบั สิทธมิ นษุ ยชนของโครงการวจิ ยั ๒. เป็นเอกสารประกอบในการขอใบรบั รองในการทจ่ี ะนาํ ยาเข้าประเทศสาํ หรับใชใ้ นโครงการวจิ ัย ๓. เปน็ หลกั ฐานในการขอทําวิจยั รว่ มกับสถาบันอน่ื ๔. เปน็ หลักฐานประกอบในการขอทนุ วจิ ัยจากกองทุนวิจัยทางการแพทย์ มลู นธิ คิ ้มุ เกล้าฯและมูลนิธิ ๕๐ ปี โรงพยาบาลภมู ิพลอดุลยเดช ๕. เป็นหลกั ฐานประกอบการเผยแพรง่ านวิจัยในวารสาร ๖. เป็นการพัฒนาคณุ ภาพงานวจิ ยั ของโรงพยาบาลภูมพิ ลอดลุ ยเดชข้ันตอนการพจิ ารณา ๑. คดั ลอกหรือพิมพ์แบบรายงานขอ้ มลู โครงรา่ งการวิจัย ดว้ ยพิมพด์ ีดหรอื คอมพวิ เตอร์ ๒. สง่ โครงร่างการวิจัย พร้อมคําอธิบายโครงการวจิ ยั ท่ีอาสาสมคั รควรทราบ และหนังสอื ใหค้ วามยนิ ยอมเข้ารว่ มโครงการวิจยั เพื่อเสนอตอ่ คณะกรรมการจริยธรรมรวม ๒ ชดุ ๓. คณะกรรมการศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาส่งิ ประดิษฐค์ ิดค้นทางการแพทยร์ ่วมพิจารณาโครงร่างการวจิ ัยก่อน โดยเน้นที่ระเบียบวธิ ีวจิ ัย ๔. คณะกรรมการศูนยว์ จิ ัยฯ อาจแนะนํา เปลี่ยนแปลง หรือขอเอกสารเพ่ิมเตมิ ๕. ผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการศูนย์วจิ ัยฯ ๕.๑ ผา่ น ๕.๒ ต้องแกไ้ ขหรือปรบั ปรงุ เลก็ นอ้ ย ๕.๓ ตอ้ งแก้ไขหรือปรับปรงุ มาก หัวข้อท่ีต้องแก้ไขหรือปรับปรุง ให้ผู้วิจัยติดต่อกรรมการผู้ตรวจโครงร่างการวิจัยโดยผ่านทางศูนย์วิจัยและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางการแพทย์ และส่งฉบับท่ีแก้ไขตามเวลาท่ีกําหนดเพื่อการพิจารณาต่อไปคณะกรรมการศูนย์วิจัยและพัฒนาส่ิงประดิษฐ์คิดค้นทางการแพทย์ จะส่งผลการพิจารณาไปยังคณะกรรมการจริยธรรม ๖. คณะกรรมการจริยธรรมจะมีการประชมุ พิจารณาโครงร่างการวิจยั ทุก ๓ เดอื น โดยเนน้ ท่ีข้อพจิ ารณาด้านจรยิ ธรรม ความปลอดภยั และสิทธติ ่างๆ ของผเู้ ขา้ ร่วมการวิจัย ๗. ผลการพจิ ารณาของกรรมการจรยิ ธรรม คือ ๗.๑ อนมุ ตั ิ ๗.๒ อนุมตั โิ ดยมเี ง่ือนไขให้ปรับปรงุ ๗.๓ ไม่อนุมตั ิ

๔๗หวั ข้อใดท่ีต้องแกไ้ ข ใหส้ ง่ ฉบบั ท่แี ก้ไขตามเวลาที่กาํ หนดเพ่อื พิจารณาตอ่ ไป ๘. คณะกรรมการจริยธรรมจะออกหนังสืออนมุ ตั ดิ า้ นจริยธรรมของโครงการวิจัยภายในเวลา ๑-๑๕ เดอื น ถ้าไม่มีเง่ือนไขให้ปรบั ปรุง ๙. โครงร่างการวิจัยท่ีได้รับการอนุมัติ ถ้าได้ดําเนินการวิจัย ให้แจ้งความก้าวหน้าของงานวิจัยท่ีเกี่ยวกับข้อเสียและผลข้างเคียงท่ีเกิดข้ึนกับผู้ป่วย / อาสาสมัครทุกคร่ึงปี ถ้าเกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงต้องรายงานต่อคณะกรรมการจรยิ ธรรมทันที ๑๐. ผู้วิจยั ตอ้ งรบั ผดิ ชอบในผลเสยี ทีอ่ าจเกิดขน้ึ จากการวจิ ัย ๑๑. ในระหวา่ งการดําเนินงานวจิ ยั ถ้ามขี ้อมลู ทางวชิ าการจากแหล่งอ่ืน ๆ ถึง อันตรายของยา หรือเทคโนโลยีที่กําลังวิจัย ต่อผู้ป่วยหรืออาสาสมัคร ให้ผู้วิจัยรายงานต่อคณะกรรมการจริยธรรมทันที ๑๒. ส่งรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ จํานวน ๒ ชุด ให้คณะกรรมการจริยธรรม ภายใน ๖ เดือน หลังเสร็จส้นิ การวิจยั โดยส่งทศี่ ูนยว์ ิจัยและพัฒนาส่ิงประดษิ ฐค์ ิดค้นทางการแพทย์ ช้ัน๓ อาคารคมุ้ เกล้าฯ

๔๘ แบบฟอรม์ การขอรหัสโครงการวจิ ยั(สาํ หรับงานวิจัยทต่ี ้องใช้ยาของ รพ.ฯ และการตรวจวินิจฉัยหรือทาํ หตั ถการตา่ ง ซ่ึงต้องทําการจา่ ยคนื ให้กบั รพ.ฯ)1.ชอ่ื โครงการวจิ ัย (ภาษาไทย)....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2.ชื่อยอ่ โครงการ(ข้อความส้ันๆ เข้าใจง่าย ความหมายตรงกับงานวิจัย) ตัวอย่างเช่น โครงการผ่าตดั ข้อเข่าเทยี มเปน็ ต้น .......................................................................................................................................................3.ระยะเวลาการทําวจิ ยั (บอกวนั เริ่มตน้ และสิ้นสุดโครงการดว้ ย)............................................................................................................................................................4.ชอ่ื ผู้ทาํ วิจัยและผ้รู ่วมทาํ วิจัย4.1 ช่ือ-สกุล (ผู้ทําวจิ ัย) ................................................................................ กอง ............................เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถือ) ......................................................................4.2 ช่ือ-สกลุ (ผู้ร่วมทําวิจยั ) ........................................................................ กอง .............................เบอร์โทรศัพท์ (มือถือ) ......................................................................4.3 ช่ือ-สกลุ (ผรู้ ่วมทําวิจัย) ........................................................................ กอง .............................เบอรโ์ ทรศัพท์ (มือถือ) ......................................................................5.ประเภทผปู้ ่วยในโครงการวิจยั ผปู้ ว่ ยนอก ผ้ปู ่วยใน จาํ นวน........................คน6.รายการที่ต้องการขอสนับสนุนจากมูลนธิ คิ ุ้มเกลา้ ฯสาํ หรับผปู้ ว่ ยทีเ่ ข้าร่วมโครงการวจิ ัย เชน่ ยาการตรวจตา่ งๆ รายการยา....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................รายการตรวจต่างๆ กอง/หนว่ ยเกี่ยวข้อง รหสั กจิ กรรมตัวอย่าง .CXR ………………………………… …………………....กรส....................... …………..…090.2……………………………………………………………………… ……………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… …………………………………….……… ………………………………..…………………………………………………………… ……………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………….…………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………….……… …………………………………… ลงชอ่ื .............................................................. () (ผทู้ าํ วิจัย) วันท่ี .................../........................../....................

๔๙ขอ้ แนะนําสาํ หรบั ผู้ทาํ วจิ ัยที่ตอ้ งใช้เงินทุนข้อมูลสาํ หรับผู้ทาํ วจิ ัย1.รายละเอียดเกยี่ วกับผู้ป่วย 1.1 ผ้ทู ําวิจัยต้องตดิ ตอ่ รายละเอียดในการทําวิจยั กับแผนกเวชระเบยี น กองพยาธิกรรม ศูนย์คอมพวิ เตอร์และหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องด้วยตนเอง ก่อนส่งมายังศนู ย์วิจัยฯ เพอื่ ยนื่ เอกสารขอออกรหสั โครงการต่อไป 1.2 ผู้ทาํ วิจัยตอ้ งแจ้งใหผ้ ปู้ ่วยทราบวา่ อะไรบ้างท่ีไมต่ ้องเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการตรวจครงั้ นี้ (ไม่เสียค่าใชจ้ า่ ยเฉพาะคา่ ใชจ้ า่ ยที่เนื่องจากการทําวิจัย) นอกน้นั จะคดิ ค่าใช้จา่ ยผปู้ ่วยตามสทิ ธหิ์ ลกั ของผู้ป่วย 1.3 กรณีผู้ปว่ ยทเ่ี ข้ารว่ มโครงการวจิ ัยเป็นผู้ปว่ ยนอก ผู้ป่วยต้องออกสิทธริ อง(สิทธิรองคือ สทิ ธิสําหรบัโครงการวจิ ัย) ที่แผนกเวชระเบียน ชั้น 2 อาคารคุ้มเกล้าฯ 1.4 กรณผี ู้ปว่ ยทีเ่ ข้ารว่ มโครงการวจิ ยั เป็นผู้ป่วยใน ผูป้ ่วยตอ้ งออกสิทธริ อง (สิทธริ องคือสิทธิสําหรับโครงการวิจยั ) ทีห่ อ้ งเปลี่ยนสิทธิ์ ชัน้ 2 อ.คมุ้ เกลา้ ฯ 1.5 กรณผี ้ปู ่วยทเี่ ขา้ รว่ มโครงการวิจัยเป็นผู้ปว่ ย สิทธิ ปกส.และUC ท่ไี ม่ใชข่ องโรงพยาบาลภมู ิพลอดุลยเดช ต้องมีใบส่งตัวจากต้นสังกัดทุกครัง้ (เชน่ เดียวกับการตรวจรักษาตามปกติ)2.ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิสําหรบั ผ้วู จิ ยั 2.1 ส่งโครงร่างวิจยั และกรอกแบบฟอรม์ การขอรหัสโครงการวจิ ยั ที่กรอกแลว้ เพ่ือขอทนุ วิจัยทีก่ รอกแลว้ เพ่ือขอทนุ วจิ ัย ตามเวลาที่กําหนด(สง่ ทีศ่ นู ยว์ ิจัยฯช้นั 3อาคารคุ้มเกล้า โทร ๒๗๒๕๕ 2.2 ศูนย์วจิ ัยฯจะส่งแบบฟอร์มการขอรหัสโครงการวิจัยทก่ี รอกแล้วเขา้ ที่ประชุมการเงินการคลงั ของรพ.ฯเพ่ือพจิ ารณาอนมุ ัติ (ใช้ระยะเวลา 1 เดือน) 2.3 เม่อื อนมุ ตั ิแล้ว แผนกเวชระเบียนจะออกรหัสโครงการวจิ ัย ตามช่อื ย่อโครงการวจิ ยั ในขอ้ 2 ของแบบฟอรม์ การขอรหสั โครงการวิจัยและส่งคนื ศูนยว์ ิจยั ฯเพื่อใหศ้ นู ย์วจิ ยั แจง้ ให้ผวู้ ิจยั ทราบตอ่ ไป 2.4 ผ้ทู าํ วจิ ัยตอ้ งชแ้ี จงรายละเอยี ดเกย่ี วกบั ค่าใชจ้ ่ายตามขอ้ 1.1 ให้ผู้ป่วยทราบก่อนทาํ การวิจัย 2.5 เม่อื เกบ็ ข้อมลู จากผปู้ ่วยครบตามจาํ นวนที่ต้องการ ผทู้ าํ วิจัยต้องสง่ รายละเอยี ดคา่ ใชจ้ ่ายของผู้ป่วยทัง้ หมด กบั เจา้ หน้าที่ศูนย์วจิ ัยฯรพ.ฯ (น.ท.หญงิ นราภรณ์ พกุ น้อยและ น.ส.เบญจพร ขันศริ ิ โทร 27255) ทนั ทีเพอื่ จะได้ดําเนินการเบกิ เงินทุนวจิ ัยตอ่ ไป

๕๐ แบบขอ้ เสนอโครงการวจิ ัยเพอ่ื ขอรับการพิจารณาจาก คณะกรรมการจรยิ ธรรม รพ.ภมู พิ ลอดลุ ยเดช พอ.๑. ชื่อโครงการวิจัย๒. ทําการวิจยั ในสาขาวิชาการ๓. ประวัติผู้ทาํ การวิจยั๔. บทนาํ ๔.๑ ความเปน็ มาและความสําคัญของปัญหา ๔.๒ การทบทวนวรรณกรรม๕. คําถามของการวิจัย๖. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย๗. ขอบเขตของการวิจัย๘. สมมตุ ฐิ าน (ถ้ามี)๙. กรอบแนวความคดิ ในการวจิ ยั (ถ้ามี)๑๐. คําสาํ คัญ๑๑. การใหน้ ยิ ามตวั แปรในเชิงปฏิบัติ๑๒. รูปแบบการวจิ ยั๑๓. ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ๑๓.๑ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ๑๓.๒ ส่ิงแทรกแซงหรอื วธิ กี าร ๑๓.๓ การสังเกตและการวัด๑๔. การรวบรวมข้อมูล๑๕. การวิเคราะห์ข้อมลู และสถติ ิ๑๖. ปญั หาจริยธรรม๑๗. ข้อจํากัดของการวิจัย๑๘. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รบั จากการวิจัย๑๙. อุปสรรคท่ีอาจเกิดขึน้๒๐. การบริหารงานวจิ ัยและตารางเวลาปฏบิ ัติงาน๒๑. งบประมาณ๒๒. สรปุ โครงการวิจยั๒๓. เอกสารอ้างองิ๒๔. คําอนุมัตขิ องผู้บังคบั บัญชา๒๕. ภาคผนวก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook