เร่ืองเหนือสามญั วสิ ยัอิทธปิ ฏหิ าริย- เทวดา พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต)
เรือ่ งเหนือสามัญวสิ ยั อทิ ธปิ ฏิหาริย - เทวดา© พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต)ISBN 974-xxxxx-x-x(ที่มา: พุทธธรรม ฉบบั ปรับปรุงและขยายความ บทที่ ๑๓)พิมพคร้งั แรก - มีนาคม ๒๕๔๔ ๓,๐๐๐ เลมพิมพครงั้ ท่ี ๕ - ธนั วาคม ๒๕๕๐ ๓,๐๐๐ เลม- พระนวกะ (รุน มิ.ย. ๕๐) ๙ รูป- ครอบครวั ประสิทธิเ์ ดชสกุล ๑๓,๐๐๐ บาท- คุณกญั จนร ตั น ปยะนรี นาท และครอบครัว ๑,๘๕๐ บาท- คณุ อรุณ-คุณสุขใจ เหลอื งอรุณเลศิ และครอบครวั ๑,๘๕๐ บาท- คณุ ปท มา หรรษชัยนันท และครอบครัว ๑,๔๐๐ บาท ๑,๐๐๐ บาท- คุณสุวัฒน ต้ังฑฆี ะรักษ ๕๐๐ บาท- ทนุ พมิ พหนังสือวัดญาณเวศกวันออกแบบปก พระชยั ยศ พทุ ฺธิวโรDhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็นธรรมทาน
สารบญัอนโุ มทนา.........................................................................................(๑)เรอ่ื งเหนือสามญั วิสัย: อิทธิปฏิหารยิ - เทวดา......................... ๑ ● ทัศนะของพระพทุ ธศาสนาตอเรื่องเหนือสามญั วิสัย ............๑อิทธิปาฏิหารยิ .....................................................................๑๒ ● ขอท่ีควรเขาใจเกี่ยวกบั เรอื่ งอิทธปิ าฏหิ าริย...................... ๑๒ - ปาฏิหารยิ ม ี ๓ อยา ง .....................................................................๑๓ - อิทธปิ าฏิหารยิ ไ มใ ชแกน ของธรรมะ ...............................................๑๖ - อทิ ธิฤทธท์ิ เี่ ปนและไมเปนอริยะ.....................................................๑๙ - โทษแกปุถชุ นทเี่ กย่ี วของกบั เรอ่ื งฤทธิ์............................................๒๒ - แนวปฏิบตั ทิ ถ่ี กู ตองในการเขาไปเกี่ยวของกบั เรือ่ งฤทธ์ิ..................๒๗เทวดา................................................................................. ๓๒ ● ขอเปรียบเทียบระหวางฐานะของมนุษยกับเทวดา ........... ๓๒ - ความสมั พันธทไ่ี มค วร ระหวา งมนษุ ยก บั เทวดา .............................๓๖ - โทษจากการหวังพ่งึ เทวดา ............................................................ ๓๘ - ขอสงั เกตเพื่อการสรางความสัมพันธท่ถี ูกตอ ง................................๔๑
- ความสมั พนั ธแบบชาวพทุ ธระหวา งมนุษยกบั เทวดา........................๔๕สรุปวธิ ีปฏิบัติทถ่ี ูกตอง ตอเรื่องเหนือสามัญวสิ ัย ................ ๔๙ ● เขา ใจพฒั นาการแหงความสัมพันธ ๓ ขัน้ ....................... ๔๙ - กา วเขา สขู นั้ ของการมีชีวติ อิสระ เพือ่ เปนชาวพุทธที่แท................... ๕๒ - วิธีปฏิบัตทิ ่ีถูกตอ งตอ สง่ิ เหนือสามญั วสิ ยั .......................................๕๖บนั ทึกพิเศษทายบท (สําหรบั ผสู นใจเชงิ วชิ าการ)................... ๖๕ บันทึกที่ ๑ : อิทธิปาฏหิ ารยิ ในคมั ภรี ............................. ๖๕ บนั ทึกท่ี ๒ : การชวยและการแกลงของพระอินทร........... ๗๒ บนั ทกึ ที่ ๓ : สัจกิรยิ า ทางออกท่ีดีสาํ หรับ ผูยังหวงั อํานาจดลบันดาล ......................... ๗๕ บันทึกท่ี ๔ : พระพุทธ เปน มนุษยหรอื เทวดา .................. ๗๙เชิงอรรถ............................................................................ ๘๓ภาคผนวก ประเดน็ เสรมิ เพอื่ ยาํ้ ความเขา ใจ .......................... ๙๙ ประเดน็ ที่ ๑ สรุปหลกั การสําคญั ของพระพทุ ธศาสนาคืออะไร ........ ๑๐๑ ประเดน็ ท่ี ๒ เหตใุ ดพระพุทธเจาจึงทรงรังเกียจอิทธิปาฏิหารยิ และอาเทศนาปาฏิหารยิ ............................................. ๑๐๔
ประเด็นที่ ๓ พระสมยั กอนก็ใหของขลังวัตถุมงคล พระสมยั น้กี ใ็ ห ตา งกนั อยา งไร และสรปุ แลว คนไทยนบั ถอื พระพุทธ- ศาสนาเปนหลัก หรือไสยศาสตรเ ปน หลัก...................๑๐๗ประเดน็ ที่ ๔ สรุปการนบั ถอื อํานาจดลบนั ดาลภายนอก ตา งจาก การนับถอื พระพุทธศาสนาโดยสาระสําคญั อยา งไร......๑๒๑
เรอ่ื งเหนอื สามัญวสิ ัย: อทิ ธิปฏหิ าริย - เทวดาทัศนะของพระพทุ ธศาสนา ตอเรอ่ื งเหนือสามัญวสิ ัย ถา ถามวา ในทัศนะของพระพุทธศาสนา อิทธิปาฏิหารยิ ก ็ดี เทวดา หรือเทพเจาตางๆ ก็ดี มจี ริงหรือไม และถาตอบตามหลักฐานในคมั ภรี มีพระไตรปฎ กเปน ตน โดยถือตามตวั อกั ษร ก็ตอ งวา\"มี\" หลกั ฐานท่ีจะยนื ยันคําตอบน้ีมอี ยมู ากมายทัว่ ไปในคมั ภีร จนไมจ าํ เปนจะตอ งยกมาอางองิ อยา งไรกต็ าม ปญหาเกีย่ วกับความมีหรอื ไมมี และจรงิ หรือไมจรงิ ของสิง่ เหลา นี้ เปน สิ่งยากทจี่ ะทําใหคนท้ังหลายตกลงยอมรับคําตอบเปนอยางหน่ึงอยางเดียวกันได และหลายทา นมองเหน็ โทษของความเชือ่ ถือในสิง่ เหลาน้ีวาทําใหเกิดผลเสียหายมากมายหลายประการ จึงไดมีปราชญบางทานพยายามแปลความหมายของสิ่งเหลานี้ใหเห็นนัยท่ีลึกซึ้งลงไปอยา งนาสนใจ
๒ เร่ืองเหนือสามัญวิสยั สําหรับในที่น้ีจะไมขอยุงเก่ียวกับการตีความหรือแปลความหมายใดๆ เลย เพราะเหน็ วาไมมคี วามจาํ เปน แมจ ะถอื ตรงตามตวั อักษรวา สง่ิ เหลา น้มี แี ละเปน จริงอยา งนน้ั พระพุทธศาสนาก็มีหลักการที่ไดว างไวแ ลวอยา งเพยี งพอที่จะปดก้ันผลเสยี ซงึ่ จะพงึ เกิดขน้ึ ท้ังจากการติดของอยูกับการหาคําตอบวา มีหรือไม จรงิหรอื ไมจรงิ และทัง้ จากความเช่อื ถอื งมงายในส่งิ เหลา นั้น พูดอกีอยางหน่ึงวา มนุษยจํานวนมากมายตั้งแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบัน มีความเชื่อถือหรือไมก็หว่ันเกรงตออํานาจผีสางเทวดาสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธอ์ิ ทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ต า งๆ พระพทุ ธศาสนากลา ทา ใหส งิ่ เหลานน้ั มจี รงิ เปน จรงิ โดยประกาศอสิ รภาพใหแ กม นษุ ยท า มกลางความมีอยขู องสงิ่ เหลา นนั้ พระพทุ ธศาสนาไดว างหลกั การตา งๆ ไวท จ่ี ะทาํใหมนุษยไดรับแตผลดีในการเกี่ยวของกับเร่ืองเหนือสามัญวิสัยอยา งนอยกใ็ หมีผลเสยี นอยกวา การทจ่ี ะมวั ไปวนุ วายอยกู บั ปญ หาวา สิง่ เหลานั้นมีจรงิ หรอื ไม จุดสําคญั ในเรอื่ งนอ้ี ยทู ่วี า เขาใจหลักการทีพ่ ระพุทธศาสนาวางไวและไดน าํ มาใชป ฏิบตั กิ ันหรือไม สรุปความเบ้ืองตนในตอนนี้วา พระพุทธศาสนาไมสนใจกบั คําถามวาอทิ ธปิ าฏิหารยิ มีจริงหรือไม เทวดามีจริงหรือไม และ
อทิ ธปิ าฏิหาริย- เทวดา ๓ไมวุนวาย ไมยอมเสียเวลากับการพิสูจนความมีจริงเปนจริงของส่ิงเหลาน้ีเลย สิ่งที่พระพุทธศาสนาสนใจ ก็คือมนษุ ยค วรมที าทีและควรปฏบิ ตั ติ อส่ิงเหลา นนั้ อยา งไร พูดอีกอยา งหนง่ึ วา สําหรับพระพุทธศาสนา ปญหาวาผีสางเทวดา อาํ นาจลึกลับ อิทธิฤทธ์ิปาฏหิ ารยิ มีอยูจรงิ หรือไม ไมส ําคัญเทา กบั ปญหาวา ในกรณที ม่ี ีอยูจรงิ สิ่งเหลา นั้นมฐี านะอยางไรตอ การดาํ รงชวี ิตของมนษุ ย และอะไรคือความสัมพันธอันถูกตองระหวางมนุษยกับส่ิงเหลาน้ันอาจมีบางทานแยง วา ถาไมพ ิสูจนใหรแู นเสยี กอ นวามจี ริงหรือไมจะไปรูฐานะและวิธีปฏิบัติตอสิ่งเหลานั้นไดอยางไร กอนจะตอบควรแยงกลับเสียกอนวา เพราะมวั เชือ่ ถือและยดึ มนั่ อยูวา จะตองพิสูจนเสียกอนน้ีแหละจึงไดเกิดขอผิดพลาดในทางปฏบิ ัตเิ กย่ี วกับเรอื่ งเหลานขี้ น้ึ แลว มากมาย โดยทจ่ี นกระทงั่ บัดน้ี กย็ งั พสิ ูจนกันไมเ สรจ็ คําตอบในเร่อื งน้แี ยกออกไดเปน เหตุผล ๒ ขอใหญ ประการแรก เรื่องเหนือสามัญวิสัยเหลาน้ี ทั้งเร่ืองอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยก ็ดี เทพไทเ ทวากด็ ี จดั เขา ในประเภทสงิ่ ลึกลบั ท่ีพูดอยางรวบรัดตามความหมายแบบชาวบานวาพิสูจนไมได คอื เอามาแสดงใหเห็นจริงจนตองยอมรับโดยเด็ดขาดไมได ท้ังในทาง
๔ เร่อื งเหนือสามัญวสิ ัยบวกและในทางลบ หมายความวา ฝา ยที่เชอื่ ก็ไมอ าจพสิ จู นจ นคนทวั่ ไปเห็นจะแจงจนหมดสงสยั ตองยอมรับกันทวั่ ทงั้ หมด ฝา ยท่ไี มเช่ือก็ไมสามารถพิสูจนใหเ หน็ ชัดแจงเดด็ ขาดลงไปจนไมตองเหลือเยื่อใยไวใ นใจของคนอนื่ ๆ วายังอาจจะมี ทงั้ สองฝายอยูเพียงขนั้ความเชอ่ื คือเชอื่ วา มี หรือเชือ่ วา ไมมี หรือไมเชื่อวามี (ถงึ วา ไดเห็นจริง กไ็ มส ามารถแสดงใหค นอ่นื เหน็ จริงอยางน้นั ดว ย) ย่ิงกวาน้นั ในสภาพท่พี สิ ูจนอ ยางสามัญไมไดน้ี ส่ิงเหลานี้ยังมลี ักษณะพิเศษอีกอยางหนง่ึ คือ เปน ของผลุบๆ โผลๆ หรือลบั ๆ ลอ ๆ หมายความวา บางทมี เี คาใหต ื่นใจวาคราวน้ตี อ งจรงิ แตพ อจะจับใหม น่ัก็ไมยอมใหสมใจจริง คร้ันทําบางอยางไดสมจริง ก็ยังมีแงใหเคลอื บแคลงตอ ไป เขา แนวทีว่ า ย่ิงคนกย็ งิ่ ลบั ยง่ิ ลบั ก็ยง่ิ ลอ ใหคนคนตามที่ถูกลอก็ย่ิงหลงแลวก็หมกมุนวนเวียนอยูกับส่ิงเหลาน้ันจนชักจะเลอื่ นลอยออกไปจากโลกของมนษุ ย ในเมื่อเปนสิ่งท่ีไมอาจพิสูจน เปนส่ิงลับลอและมักทําใหหลงใหลเชนน้ี การมัววุน วายกบั การพสิ ูจนส ่งิ เหลา น้นั ยอ มกอ ใหเกิดโทษหลายอยา งทง้ั แกบุคคลและสังคม นอกจากเสยี เวลาและเสียกิจการเพราะความหมกมุนวุนวายแลว เมื่อตองมัวรอกันอยู
อิทธิปาฏิหารยิ - เทวดา ๕จนกวาจะพิสูจนไดวามีจริงหรือไมมี และก็พิสูจนกันไมเสร็จสักทีผูท ีเ่ ชื่อและไมเชอื่ กต็ อ งมาทุม เถียงหาทางหักลางกัน แตกสามคั คีทะเลาะวิวาทกันเพราะเร่ืองที่ไมชัดเจน และในระหวางนั้นแตละพวกละฝายตางก็ปฏิบัติตอส่ิงเหลานั้นไปตามความเช่ือและไมเช่อื ของตน ไมมโี อกาสท่จี ะแกไ ขการปฏบิ ตั ติ างๆ ทเี่ กิดโทษกอผลเสยี แกชีวิตและสังคม เพราะตอ งรอใหพสิ จู นเสร็จกอน จงึ จะยุติการปฏิบัตใิ หล งเปน อันเดยี วกนั ได ซงึ่ กย็ ังพิสูจนก นั ไมเ สรจ็ จนบดันี้ จึงเปนอันตองยอมรับผลเสียกันอยางนี้เร่ือยไปไมเห็นท่ีส้ินสุดถาหากไมยอมรับหรือไมยอมรอก็ตองใชวิธีบังคับขมเหงกันโดยฝายท่ีเช่ือบังคับฝายท่ีไมเชื่อใหปฏิบัติอยางตน หรือฝายท่ีไมเชื่อบังคบั ฝา ยท่ีเช่อื ไมใ หป ฏบิ ัตติ ามความเชอ่ื ของเขา ดังจะเห็นไดในลัทธินิยมทางการเมืองและระบอบการปก-ครองบางอยางที่ยึดม่ันวาตนนิยมวิธวี ิทยาศาสตร เมอื่ ผูปกครองในระบบนั้นเห็นวาความเช่ือในส่ิงเหลานี้เปนของเหลวไหลงมงายเมอื่ เขาจับหลกั ในเรอื่ งนีไ้ มถ กู และหาทางออกใหแ กประชาชนไมได แตต อ งการทาํ ใหประชาชนปฏิบัติตามลัทธนิ ยิ ม (คอื ความเช่อื )ของเขา ก็ตองใชวิธีบังคับใหประชาชนเลิกปฏิบัติตามความเช่ือ
๖ เรอื่ งเหนอื สามญั วิสัยของประชาชน หรือปลุกเรา ปอ นความเชื่อในทางตรงขามคือความเช่ือวา สิง่ เหลา น้นั ไมมจี ริงแกประชาชน หรือทาํ ทัง้ สองอยาง แตว ิธีการปดกั้นบังคับหรือปลุกเรานี้เปนการท้ิงชองวางอันกวางใหญไวเพราะมิใชเปน การแกไ ขท่ตี นเหตุ คือมิไดชําระสตั วผูยังไมขา มพนความสงสัย๑ เพียงแตเกบ็ ซอนเอาเช้ือและแรงกดดนั อัดไว ตราบใดอํานาจบังคับและแรงปลุกเรายังเขมแข็ง ก็ยังขมคุมไวได แตเมอ่ื ใดอาํ นาจบงั คบั และแรงปลกุ เรา ออนแอคลายจางลง เชื้อและแรงกดดนั นนั้ ก็มีโอกาสท่ีจะโผลอ อกงอกงามเฟอ งฟไู ดต อ ไป และเม่ือถึงเวลานั้น การปฏิบัติในเร่ืองเหลานี้ก็จะเปนไปอยางงมงายขาดหลกั ปราศจากทิศทาง ทาํ ใหเกดิ ผลเสียไดเ หมอื นอยา งเดมิอกี โดยมิไดร ับการแกไขแตอ ยางใด อีกอยางหนึ่ง ในเม่ือส่ิงเหลานี้อยูเพียงในระดับแหงความเช่ือของปุถุชน ก็ยอมผันแปรกลบั กลายได ดงั จะเหน็ ไดวา บางคนเคยไมเช่ือถือส่ิงเหนอื สามัญวิสยั เหลานเ้ี ลย (คือ เช่ือวาส่งิ เหลา นี้ไมมีไมเปน จรงิ ) และดถู กู ดหู มิน่ ความเชอ่ื ถือน้นั อยา งรุนแรง ตอมาไดประสบเหตุการณลับลอที่เปนเง่ือนตอแหงความเช่ือน้ันเขาก็กลับกลายเปนคนท่ีมีความเชื่ออยางปกจิตฝงใจตรงขามไปจาก
อทิ ธปิ าฏหิ าริย- เทวดา ๗เดิม และเพราะเหตุท่ไี มม ีหลกั สองนาํ ทางในการปฏิบตั ติ อสง่ิ เหลาน้ันก็กลายเปนผูหมกมุนหลงใหลในสิ่งเหลานั้นย่ิงไปกวาคนอ่ืนอีกมากมายที่เขาเชอ่ื อยา งนน้ั แตเ ดมิ มา ในทาํ นองเดยี วกนั บางคนท่ีเคยเชื่อถือม่ันคงอยูกอน ตอมาไดประสบเหตุการณที่สอวาส่ิงท่ีเชือ่ จะไมเ ปนไปสมจรงิ หรือไมแ นน อน ความเชอื่ นนั้ ก็กลับสน่ัคลอนไป หรือบางทอี าจกลายเปน ผไู มเช่ือไปเสยี ก็มี ในกรณีเหลาน้ี มนุษยท้ังหลายลวนแตมัววุนวายกับปญหาวา มหี รือไมม ี จรงิ หรือไมจรงิ เช่ือหรอื ไมเชื่อ เทานนั้ พากันขาดหลักการในทางปฏิบัติที่จะเตรียมปองกันผลเสียตอชีวิตและสังคมจากความเช่ือหรือไมเชื่อของพวกตน พระพุทธศาสนาเปนศาสนา แหง การปฏบิ ตั ิ มงุ สอนสง่ิ ทท่ี าํ ได ใหม นษุ ยไ ดร บั ประโยชนพอกบั ทุกระดับแหง ความพรอมหรือความแกกลา สกุ งอมของตนๆ สําหรบั เรอ่ื งเหนือสามัญวสิ ัยเหลานี้ พระพุทธศาสนาก็ไดวางหลักการในทางปฏิบัติไวอยางชัดเจนวา เม่ือสิ่งเหลาน้ันมีจริงมนุษยควรวางตัวหรือปฏิบัติตอสิ่งเหลาน้ันอยางไร และท่ีวางตัวหรอื ปฏบิ ัติอยางนน้ั ดว ยเหตผุ ลอะไร เหมอื นดังพดู วา ทา นจะเชอ่ืหรือไมเชื่อก็ตาม แตทานควรปฏิบัติตอส่ิงน้ันใหถูกตอง ผูเช่ือก็
๘ เร่อื งเหนือสามญั วิสยัตาม ไมเ ชอ่ื กต็ าม สามารถและสมควรทาํ ตามหลักปฏบิ ัติที่พระพุทธศาสนาแนะนําไวน ้ีได เพราะตามหลักปฏิบตั นิ ี้ ท้งั ผเู ช่ือและผูไมเช่ือจะประพฤติตนตอส่ิงเหลาน้ันอยางแทบไมมีอะไรแตกตางกนั เลย จะผิดแปลกกนั บา ง ก็เพียงในสงิ่ หยมุ หยิมเล็กนอ ยเทานัน้นอกจากนั้นยงั เปน วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ่ที ําใหเ กดิ ผลดแี กทุกฝา ย โดยทท่ี ้ังผูเชื่อและไมเช่ือตางๆก็มีความเอื้อเฟอเอ้ือเอ็นดูตอกัน ผูท่ีเช่ือก็ปฏิบัติไปโดยไมเกิดผลเสียแกชีวิตและสังคม ผูไมเช่ือก็สามารถปฏิบัติตอผูที่เชื่อไดถูกตองและสามารถแนะนําผูท่ีเช่ือใหปฏิบัติตอ สงิ่ ท่ีเขาเชือ่ ในทางทีจ่ ะเปนประโยชน ทง้ั สองฝายตา งมเี มตตาเคารพซง่ึ กนั และกนั หลกั การในทางปฏบิ ตั ิหรือความเปนศาสนาแหง การปฏบิ ตั ิน้ีแหละที่เปนคุณพิเศษของพระพุทธศาสนา ซ่ึงพระพุทธศาสนาไดริเริ่มข้ึนใหม อันทําใหตางจากศาสนา ปรัชญาท้ังหลายอ่ืนตลอดจนลทั ธนิ ิยมอดุ มการณท้งั หลายแมใ นสมัยปจจุบัน หลักการจําเพาะในกรณีน้ีคือสําหรับสิ่งท่ีไมอาจพิสูจนและมิใชธรรมสาํ หรับเขาถึง ใหใชการวางทาทหี รอื วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ีถ่ ูกตอง๒ เมอื่ คนทั้งหลายปฏิบัติตามหลักการท่ีพระพุทธศาสนาแนะนําไวแลว
อิทธิปาฏหิ ารยิ - เทวดา ๙อยา งน้ี ถา ยงั มคี นกลุมหนงึ่ กลมุ ใดสนใจท่จี ะคน ควา พิสูจนค วามมีจริงเปนจริงของส่ิงเหลาน้ีตอไป ก็นับวาเปนงานอดิเรกของคนเหลาน้นั ซ่ึงคนทวั่ ไปอาจวางเปนกลาง และปลอยใหเขาทาํ ไปเทาท่ีไมก อ ใหเกดิ ผลเสียใดๆ แกสงั คม เปรยี บไดกับนักคนควาวิจยั ในวิชาการสาขาตางๆ อยางอนื่ ๆ เทา ทก่ี ลาวมา เห็นไดช ัดอยแู ลววา เหตผุ ลในขอแรกมุงที่ประโยชนในทางปฏบิ ตั ิของมนษุ ยท ัง้ หลาย อยา งไรกต็ าม การที่พระพุทธศาสนาไมสนใจในปญหาเก่ียวกับความมีอยูจริงหรือไมของอิทธิฤทธป์ิ าฏิหาริยและเทพเจา ทัง้ หลาย จนถงึ ขั้นที่วา เม่อื วางทาทีและปฏิบัติตนถูกตองแลว ใครจะสนใจคนควาพิสูจนเร่ืองน้ีตอ ไป ก็ปลอยเขาไปตามเรือ่ งนน้ั ทา ทเี ชนนี้ยอมเกยี่ วเน่อื งถึงเหตุผลประการที่สองซ่ึงสัมพันธโดยตรงกับหลักการข้ันพื้นฐานของพระพทุ ธศาสนาดว ย กลา วคอื ความมีอยจู ริงหรอื ไมของสิ่งเหลาน้ี ไมก ระทบตอ หลักการสาํ คญั ของพระพุทธศาสนา หมายความวาถงึ แมวาอิทธิฤทธ์ปิ าฏิหารยิ และเทพเจา จะมจี รงิ แตการปฏบิ ตั ติ ามหลกั การและการเขา ถงึ จดุ หมายของพระพทุ ธศาสนายอมเปนไปไดโดยไมตองเก่ียวของกับส่ิงเหนือสามัญวิสัยท้ังสองประเภทนั้นแต
๑๐ เรื่องเหนือสามัญวิสัยประการใดเลย สําหรบั เรื่องอทิ ธิปาฏิหาริย พงึ อางพุทธพจนวา พระพทุ ธเจา : น่ีแนะสุนกั ขตั ต เธอเขา ใจวาอยา งไร ? เมอื่เราทาํ อิทธิปาฏิหารยิ ซึ่งเปนธรรมของมนุษยย ง่ิ ยวดก็ตาม ไมท าํ ก็ตาม ธรรมที่เราไดแสดงแลวเพื่อประโยชนท่ีมุงหมายใด จะนําออกไปเพื่อ (ประโยชนท่ีมงุ หมายน้ันคือ) ความหมดสิ้นทกุ ขโ ดยชอบไดห รอื ไม ? สุนักขัตต : พระองคผูเจริญ เมื่อพระองคทรงกระทําอิทธิปาฏหิ าริย ท่ีเปน ธรรมของมนุษยยงิ่ ยวด กต็ าม ไมก ระทาํ ก็ตาม ธรรมท่พี ระผมู ีพระภาคไดทรงแสดงเพือ่ ประโยชนท ีม่ งุ หมายใดๆ กย็ อ มจะนําออกไปเพ่อื (ประโยชนท ่ีมงุ หมายนั้น คอื ) ความหมดสนิ้ ทกุ ขโดยชอบได พระพทุ ธเจา : นแ่ี นะสนุ ักขตั ต เธอเขา ใจวาอยา งไร ? เม่อืเราบัญญัติส่ิงท่ีถือวาเปนตนกําเนิดของโลกก็ตาม ไมบัญญัติก็ตาม ธรรมทีเ่ ราไดแสดงไวแ ลว เพือ่ ประโยชนท มี่ งุ หมายใด จะนาํออกไปเพอ่ื (ประโยชนทม่ี งุ หมายนน้ั คือ) ความหมดส้นิ ทกุ ขโดยชอบ ไดห รือไม ? สนุ ักขัตต : พระองคผูเ จรญิ เมอื่ พระองคท รงบัญญตั ิส่งิ ท่ี
๑๒ เรือ่ งเหนือสามญั วิสยั อทิ ธิปาฏหิ ารยิ ขอ ทค่ี วรเขาใจเก่ียวกบั เร่ืองอิทธิปาฏหิ ารยิ อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ เปน อภญิ ญา คือความรูความสามารถพิเศษยวดย่ิงอยางหน่งึ มชี ่ือเฉพาะวา อทิ ธวิ ิธิ หรือ อิทธวิ ธิ า (การแสดงฤทธไ์ิ ดต างๆ) แตเปนโลกยี อภิญญา คอื อภญิ ญาระดบั โลกยี ซง่ึ พัวพนั เกย่ี วเนอื่ งอยใู นโลก เปน วสิ ยั ของปถุ ชุ น ยงั อยใู นอาํ นาจของกเิ ลสเชนเดียวกบั โลกียอภญิ ญาอน่ื ๆ ทงั้ หลาย คือ หูทิพย ตาทิพย การรใู จอน่ื และระลึกชาตไิ ด โลกียอภิญญาท้ัง ๕ อยางนี้ มีคนทําไดตั้งแตกอนพุทธกาล ไมเ ก่ียวกับการเกดิ ขนึ้ ของพระพุทธศาสนา คือ พระพุทธศาสนาจะเกดิ ขนึ้ หรอื ไมก็ตาม โลกียอภญิ ญาเหลานี้กเ็ กดิ มีได พดูอกี อยา งหนง่ึ วา สง่ิ เหลา นไี้ มใ ชต วั แทข องพระพทุ ธศาสนา และไมจาํ เปนสําหรับการเขาถึงพระพุทธศาสนา สิ่งที่เกิดขึ้นดวยการเกดิของพระพุทธศาสนา และเปนตวั พระพทุ ธศาสนา คอื ความรูท่ีทาํใหด บั กเิ ลสดบั ทกุ ขไ ด เรยี กชอื่ อยา งหนงึ่ วา อาสวกั ขยญาณ แปลวาญาณทที่ าํ อาสวะใหส นิ้ ไป จดั เขา เปนอภิญญาขอ สดุ ทาย คอื ขอ ท่ี ๖
อิทธิปาฏหิ ารยิ -เทวดา ๑๓เปนโลกุตรอภิญญา คืออภิญญาระดับโลกุตระ ซ่ึงทําใหมีจิตใจเปนอิสระปลอดโปรงผอ งใส พน จากอํานาจครอบงําของเรื่องโลกๆหรือสิ่งที่เปนวิสัยของโลก ทําใหปุถุชนกลายเปนอริยชนโดยสมบรู ณ โลกียอภิญญาท้ังหลายเส่ือมถอยได แตโลกุตรอภิญญาไมก ลบั กลาย ไดโ ลกตุ รอภญิ ญาอยา งเดยี ว ประเสรฐิ กวา ไดโ ลกยี -อภญิ ญาทง้ั ๕ อยางรวมกนั แตถ าโลกตุ รอภิญญา โดยไดโ ลกีย-อภิญญาดวย ก็เปนคุณสมบัติสวนพิเศษเสริมใหดีพรอมย่ิงข้ึนโลกุตรอภิญญาเทานั้นเปนสิ่งจาํ เปนสาํ หรับชีวิตท่ีดีงามของมนุษยซ่ึงทุกคนควรไดควรถึง สวนโลกียอภิญญาท้ังหลาย มิใชส่ิงจําเปนสําหรับชีวิตที่ดีงาม เปนเพียงเคร่ืองประกอบเสริมคุณสมบัติดังไดก ลาวแลว ๕ปาฏิหารยิ ม ี ๓ อยา ง อทิ ธิปาฏิหาริยน ้ี พระพุทธเจา ทรงจัดเปนปาฏิหารยิ อ ยา งหน่ึงใน ๓ อยางคือ๖ ๑. อทิ ธิปาฏหิ ารยิ ปาฏหิ าริย คือ การแสดงฤทธิ์ตางๆ
๑๔ เรอ่ื งเหนือสามญั วิสยั ๒. อาเทศนาปาฏหิ ารยิ ปาฏหิ ารยิ คอื การทายใจคนอน่ื ได ๓. อนสุ าสนีปาฏหิ ารย ปาฏิหาริย คือ คําสอนทเ่ี ปน จริงสอนใหเ ห็นจริง และนาํ ไปปฏบิ ตั ิไดผลสมจริง ความหมายตามบาลดี ังนี้ ๑. อิทธิปาฏหิ ารยิ \"บางทา นประกอบฤทธต์ิ า งๆ ไดมากมายหลายอยา ง คนเดียวเปน หลายคนก็ได หลายคนเปนคนเดยี วก็ได ทาํ ใหปรากฏกไ็ ด ทําใหหายไปกไ็ ด ทะลฝุ า กําแพง ภเู ขา ไปไดไมติดขัด เหมือนไปในท่ีวางก็ได ผุดขึ้นดําลงแมในแผนดินเหมอื นในนํ้าก็ได เดนิ บนน้าํ ไมแ ตกเหมอื นเดนิ บนดนิ กไ็ ด เหาะไปในอากาศเหมือนนกก็ได ใชมือจับตองลูบคลําพระจันทร พระอาทิตยซึ่งมีกําลังฤทธ์ิเดชมากมายถึงเพียงน้ีก็ได ใชอํานาจทางกายจนถงึ พรหมโลกก็ได\" ๒. อาเทศนาปาฏิหาริย : \"ภิกษยุ อมทายใจ ทายความรูสึกในใจ ทายความนกึ คดิ ทายความไตรต รองของสตั วอ ่นื บุคคลอื่นไดวา ใจของทานเปนอยางนี้ ใจของทานเปนไปโดยอาการน้ีจิตของทานเปน ดงั น้\"ี : อยางนีว้ า ตามเกวัฏฏสูตรในทฆี นิกาย แตใน ที.ปา.๑๑/๗๘/๑๑๒ ในอังคุตตรนิกาย และในปฏิสมั ภทิ ามคั ค
อทิ ธิปาฏิหาริย- เทวดา ๑๕ทีอ่ า งแลว ใหความหมายละเอียดออกไปอีกวา \"บางทานทายใจไดด วยสิ่งทกี่ ําหนดเปน เครอื่ งหมาย (นมิ ิต) วา ใจของทานเปนอยางนี้ใจของทานเปนไปโดยอาการอยางนี้ จิตของทานเปนดงั นี้ถึงหากเธอจะทายเปนอันมาก ก็ตรงอยางน้ัน ไมพลาดเปนอ่ืน;บางทา นไมท ายดวยส่ิงท่กี ําหนดเปนเครอื่ งหมายเลย แตพอไดฟ งเสยี งของมนษุ ย อมนุษย หรือเทวดาแลว กท็ ายใจไดว า ใจของทา นเปน อยา งน้ี...; บางทา นไมท ายดว ยนมิ ิต ไมฟง เสยี ง…แลวจงึทาย แตฟง เสยี งวิตกวจิ ารของคนที่กําลังตรึกกาํ ลงั ตรองอยู ก็ทายใจไดวา ใจของทา นเปนอยางน.้ี .; บางทานไมท ายดว ยนมิ ติ ไมฟ งเสียง…แลวจึงทาย แตใชจิตกําหนดใจของคนที่เขาสมาธิซ่ึงไมมีวติ กไมมวี ิจารแลว ยอมรชู ดั วา ทา นผนู ้ตี ั้งมโนสังขาร (ความคิดปรงุ แตง ในใจ) ไวอ ยา งไร ตอจากความคดิ นีแ้ ลว กจ็ ะคิดความคดิโนน ถงึ หากเธอจะทายมากมาย ก็ตรงอยา งน้ัน ไมพลาดเปน อนื่ \"(อาเทศนาปาฏิหารยิ น ี้ ดูคลายเจโตปรยิ ญาณหรอื ปรจิตตวชิ านนคือการหยั่งรูใจผูอนื่ แตไ มต รงกนั ทีเดยี ว เพราะยังอยใู นขั้นทายยังไมเ ปนญาณ) ๓. อนสุ าสนปี าฏหิ ารยิ : \"บางทานยอมพร่าํ สอนอยางนว้ี า
๑๖ เรือ่ งเหนือสามัญวิสยัจงตรกึ อยางนี้ อยาตรกึ อยา งนี้ จงมนสิการอยา งนี้ อยามนสิการอยา งนี้ จงละสิ่งน้ี จงเขาถงึ สิ่งนอ้ี ยเู ถดิ \" (เฉพาะในเกวฏั ฏสตู ร ในทีฆนิกาย อธิบายเพิ่มเติมโดยยกเอาการท่ีพระพุทธเจาอุบัติในโลกแลวทรงส่ังสอนธรรม ทําใหคนมีศรัทธาออกบวชบําเพ็ญศีลสํารวมอินทรีย มีสติสัมปชัญญะ สันโดษ เจริญฌาน บรรลุอภิญญาท้ัง ๖ ซ่ึงจบลงดวยอาสวักขัยเปนพระอรหันต วา การสอนไดส าํ เรจ็ ผลอยา งนนั้ ๆ ลว นเปนอนุสาสนีปาฏิหารยิ )อิทธปิ าฏิหารยิ ไมใชแ กนของธรรมะ ในสมัยพุทธกาล เคยมีบุตรคฤหบดีผูหน่ึงทูลขอใหพระพทุ ธเจา แสดงอิทธิปาฏิหาริย เขากราบทลู วา \"ขาแตพระองคผูเจริญ เมืองนาลันทาน้ีเจริญรุงเรือง มีประชาชนมาก มีผคู นกระจายอยูทั่ว ตา งเลือ่ มใสนกั ในองคพ ระผูมีพระภาค ขออัญเชิญพระผูมีพระภาคเจาไดโปรดทรงรบั สง่ั พระภิกษุไวสักรูปหน่ึงที่จะกระทําอิทธิปาฏิหาริย ซ่ึงเปนธรรมเหนือมนษุ ย โดยการกระทาํ เชนน้ี ชาวเมอื งนาลนั ทานกี้ ็จกั เลอ่ื มใสยิง่นกั ในพระผูมีพระภาคเจา สุดท่จี ะประมาณ\"
อทิ ธิปาฏิหาริย-เทวดา ๑๗ พระพุทธเจาไดตรสั ตอบบตุ รคฤหบดีผนู น้ั วา \"นี่แนะเกวฏั ฏ เรามไิ ดแสดงธรรมแกภ กิ ษทุ ง้ั หลายอยางน้ีวา มาเถดิ ภกิ ษุท้งั หลาย พวกเธอจงกระทาํ อทิ ธิปาฏิหาริย ซงึ่ เปนธรรมเหนือมนษุ ย แกคนนงุ ขาวชาวคฤหัสถท ้ังหลาย\" พระองคไ ดต รัสแสดงเหตผุ ลตอ ไปวา ในบรรดาปาฏิหารยิ ๓ อยา งนน้ั ทรงรงั เกยี จ ไมโ ปรดไมโ ปรง พระทยั ตอ อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ และอาเทศนาปาฏหิ ารยิ เพราะทรงเหน็ โทษวา คนท่ีเชอ่ื กเ็ ห็นจรงิตามไป สว นคนท่ไี มเ ชือ่ ไดฟง แลว กห็ าชอ งขัดแยง คดั คา นเอาไดวา ภกิ ษทุ ท่ี ําปาฏิหารยิ น้นั คงใชค ันธารวี ิทยา และมณิกาวทิ ยาทาํ ใหค นมวั ทุมเถยี งทะเลาะกัน และไดท รงช้ีแจงความหมายและคุณคาของอนุสาสนีปาฏิหาริยใหเห็นวาเอามาใชปฏิบัติเปนประโยชนประจักษไดภายในตนเองจนบรรลุถึงอาสวักขัยอันเปนจุดหมายของพระพุทธศาสนา นอกจากน้ันยังไดทรงยกตัวอยางภกิ ษุรูปหน่ึงมฤี ทธ์มิ าก อยากจะรคู วามจริงเก่ียวกบั จดุ ดบั ส้นิ ของโลกวัตถุธาตุ จึงเหาะเที่ยวไปในสวรรค ด้นั ดนไปแสวงหาคาํ ตอบจนถึงพระพรหม ก็หาคําเฉลยท่ีถูกตองไมได ในท่ีสุดตองเหาะกลับลงมาแลวเดินดินไปทูลถามพระองคเพื่อความรูจักโลกตาม
๑๘ เร่ืองเหนือสามัญวิสัยความเปน จรงิ แสดงถงึ ความท่ีอิทธิปาฏิหารยิ ม ีขอบเขตจํากดั อับจนและมิใชแกนธรรม๗ อีกคราวหนึ่ง เม่ือสังคารวพราหมณ กราบทูลถึงเร่ืองแทรก ซ่งึ ทีป่ ระชุมราชบรษิ ัท ไดย กข้นึ มาสนทนากนั ในราชสาํ นักวา \"สมัยกอนมีพระภิกษุจํานวนนอยกวา แตมีภิกษุแสดงอิทธิปาฏิหาริยซึ่งเปนธรรมเหนือมนุษยไดมากกวา สมัยน้ีมีพระภิกษุจํานวนมากกวา แตภิกษผุ แู สดงอทิ ธิปาฏหิ ารยิ ซง่ึ เปนธรรมเหนือมนุษยกลับมีนอยกวา \" พระพุทธเจาไดตรสั วาปาฏิหาริยมี ๓อยางคือ อิทธิปาฏิหาริย อาเทศนาปาฏิหาริยและอนุสาสนีปาฏิหาริย แลวทรงแสดงความหมายของปาฏิหาริยท้ังสามอยา งน้ัน ในทสี่ ดุ ไดต รสั ถามพราหมณว า ชอบใจปาฏิหาริยอยา งไหนปาฏิหาริยใดดีกวา ประณีตกวา พราหมณไดท ลู ตอบวา อทิ ธิ-ปาฏิหาริยแ ละอาเทศนาปาฏิหารยิ คนใดทาํ คนนั้นจึงรเู ร่ือง คนใดทํากเ็ ปนของคนน้ันเทา นั้น มองดเู หมอื นเปนมายากล อนสุ าสนีปาฏหิ ารยจ งึ จะดกี วา ประณีตกวา ๘ (คนอ่ืนพิจารณารเู ขาใจ มองเห็นความจริงดว ยและนาํ ไปปฏิบตั ไิ ด แกท กุ ขแ กปญหาได)
อทิ ธปิ าฏิหารยิ - เทวดา ๑๙ อิทธฤิ ทธ์ิ ทีเ่ ปน และไมเ ปน อรยิ ะ บาลีอีกแหงหน่ึงช้ีแจงเร่ืองอิทธิวิธี (การแสดงฤทธิ์ไดตางๆ) วา มี ๒ ประเภทคอื ๑. ฤทธ์ทิ ่มี ใิ ชอริยะ คือฤทธท์ิ ่ีประกอบดว ยอาสวะ ยังมีอปุ ธิ (มกี เิ ลสและทาํ ใหเ กดิ ทุกขได) ไดแกฤทธ์ิอยา งท่ีเขา ใจกันท่ัวๆไป ดังไดบรรยายมาขางตน คอื การทีส่ มณะหรอื พราหมณ(นกั บวช) ผใู ดผหู นงึ่ บาํ เพญ็ เพียรจนไดเจโตสมาธิ แลว แสดงฤทธ์ิไดต า งๆ เชน แปลงตวั เปนคนหลายคน ไปไหนก็แหวกทลุ ฝุ ากาํ แพงไป เหนิ ฟา ดําดนิ เดินบนน้าํ เปนตน ๒. ฤทธ์ทิ ีเ่ ปนอริยะ คือฤทธิ์ทไ่ี มประกอบดวยอาสวะ ไมมีอุปธิ (ไมมีกเิ ลส ไมท ําใหเกดิ ทกุ ข) ไดแก การทภ่ี กิ ษสุ ามารถทําใจกําหนดหมายไดต ามตอ งการ บงั คบั ความรูส ึกของตนได จะใหมองเหน็ สิ่งทน่ี าเกลยี ดเปน ไมนา เกลยี ดกไ็ ด เชน เหน็ คนหนา ตานาเกลยี ดชงั ก็วางจติ เมตตาทาํ ใจใหร กั ใครม ไี มตรไี ด เหน็ สิ่งไมนาเกลยี ดเปนนา เกลียดกไ็ ด เชน เหน็ คนรูปรา งนา รักยว่ั ยวนใหเกดิ
๒๐ เร่อื งเหนือสามญั วิสัยราคะ จะมองเปนอสุภะไปก็ได หรอื จะวางใจเปนกลางเฉยเสียปลอยวางทัง้ สิง่ ทน่ี าเกลยี ดและไมนาเกลียดก็ได๙ เชน ในกรณที ่ีจะใชความคิดพิจารณาอยางเที่ยงธรรมใหเห็นสิ่งทัง้ หลายตามความเปนจริง เปนตน เร่ืองฤทธ์ิ ๒ ประเภทน้ี ยอมยาํ้ ความที่กลาวไวข า งตน ใหเห็นวา อิทธิปาฏิหาริยจําพวกฤทธ์ิท่ีเขาใจกันท่ัวไปซึ่งทําอะไรไดผาดแผลงพิสดารเปนท่ีนาอัศจรรยน้ัน ไมไดรับความยกยองในพระพทุ ธศาสนา ไมใชห ลักการท่ีแทข องพระพุทธศาสนา ฤทธท์ิ ีส่ ูงสงดีงามตามหลักพระพุทธศาสนา คือฤทธ์ิท่ีไมมีพิษมีภัยแกใครไดแกการบังคับความรูสึกของตนเองได หรือบังคับจิตใหอยูในอาํ นาจของตนได ซึ่งผูไ ดฤ ทธอิ์ ยา งตนอาจทาํ ไมไ ด บางคร้ังจึงหันไปใชฤทธิ์นั้นเปนเครื่องมือสนองกิเลสของตน ตรงขามกับฤทธ์ิอยางท่สี อง ท่เี ปนเครอื่ งมือสรางคุณธรรม กาํ จัดกิเลส มิใหจ ิตใจถูกลอ ไปในอํานาจของราคะ โทสะ หรือโมหะ๑๐ การที่พระพุทธเจาทรงบญั ญตั สิ ิกขาบท หา มภิกษุแสดงอิทธปิ าฏิหาริยแ กชาวบา นก็เปน หลกั ฐานยนื ยนั ถงึ การทไี่ มท รงสนบั สนนุ การใชอ ทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ๑ ๑ เมอ่ื วา ตามรปู ศพั ท คาํ วา ปาฏหิ ารยิ แปลวา การกระทําท่ี
อิทธิปาฏหิ ารยิ - เทวดา ๒๑ตกี ลบั ขบั ไล หรือกาํ จดั เสยี ไดซง่ึ ปฏปิ ก ษ อิทธิ หรอื ฤทธิ์ แปลวาความสําเร็จ อาเทศนา แปลวา ระบุ อา ง สําแดง ช้บี ง จะแปลวาปรากฏชัด กพ็ อได อนุสาสนี แปลวา คาํ พรา่ํ สอน โดยถือความหมายอยา งนี้ คมั ภีรป ฏิสัมภิทามัคคไดแ ปลความหมายปาฏิหารยิ ทัง้ สามนั้นออกไปใหเ หน็ เพิ่มขน้ึ อีกแนวหน่งึ คือกลาววา คณุ ธรรมตางๆ เชน เนกขมั มะ เมตตา ฌาน อนัตตานุปส สนา ตลอดจนถึงอรหตั ตมรรค เรียกวา เปนอทิ ธิปาฏหิ ารยไดท ง้ั น้ัน โดยความหมายวา สําเร็จผลตามหนา ท่ี และกําจัดธรรมท่ีเปนปฏปิ ก ษข องมนั เชนกามฉันท พยาบาท ตลอดจนกิเลสทั้งปวงได เรียกวาเปนอาเทศนาปาฏิหาริยได โดยความหมายวา ผูที่ประกอบดวยธรรมเหลาน้ีทุกคนยอมมีจิตบริสุทธ์ิ มีความคิดไมขุนมัว เรียกวาเปนอนุสาสนปี าฏหิ ารยิ ไ ดโดยความหมายของการสงั่ สอนวา ธรรมขอนน้ั ๆ ควรปฏิบตั ิ ควรฝก อบรม ควรเพม่ิ พนู ควรต้งั สติใหเหมาะอยางไร เปน ตน ๑๒ คาํ อธบิ ายอยางน้ี แมจะไมใชความหมายอยางท่ีใชทั่วไป แตก เ็ ปน ความรูประกอบท่นี าสนใจ ดงั ไดก ลา วแลว ขา งตน วา อทิ ธปิ าฏหิ ารยิ เ ปน โลกยี อภญิ ญาอยางหนึ่ง ซ่ึงเปนสวนเสริมคุณสมบัติของผูที่ไดโลกุตรอภิญญา
๒๒ เรอื่ งเหนือสามญั วิสยัเปนหลักอยูแลวใหพรอมบริบูรณยิ่งขึ้นสําหรับการบําเพ็ญกิจเกอ้ื กลู แกช าวโลก จงึ มีพทุ ธพจนบางแหงเรียกภิกษุผปู ระกอบดวยปาฏิหาริยครบท้ัง ๓ ประการ คืออิทธิปาฏิหาริย อาเทศนาปาฏหิ าริย และอนุสาสนีปาฏิหารยิ วาเปน ผสู ําเรจ็ ส้ินเชงิ จบหรือถึงจุดหมายส้ินเชิง เปนตน และเปนผูประเสริฐสุดในหมูเทวดาและมนุษยท ง้ั หลาย๑๓ แตทงั้ น้ี ย้ําวาตองมีอนสุ าสนีปาฏหิ ารยเปนหลกั หรอื เปน ขอ ยืนตวั แนน อน และมีปาฏิหาริย ๒ ขอตน เปนเคร่ืองเสริม แมในการใชปาฏิหาริย ก็ถือหลักอยางเดียวกันคือตองใชอนุสาสนีปาฏิหาริยเปนหลักอยูเสมอ หากจะตองใชอิทธปิ าฏหิ าริยหรืออาเทศนาปาฏิหารยิ บา งในเมือ่ มีเหตุผลควร ก็ใชเพียงเพื่อเปนเครื่องประกอบเบ้ืองตน เพ่ือนําเขาสูอนุสาสนีปาฏิหาริย มีอนุสาสนีปาฏิหาริยเปนเปาหมาย และจบลงดวยอนสุ าสนีปาฏิหาริย ดังจะไดก ลาวตอ ไปโทษแกปถุ ุชนทีเ่ กีย่ วขอ งกับเรอื่ งฤทธิ์ สาํ หรับปถุ ชุ น ฤทธอิ์ าจเปน โทษไดทงั้ แกผูมฤี ทธเ์ิ อง และแกคนที่มาเก่ียวของกับผูมีฤทธ์ิ ปุถุชนผูมีฤทธ์ิอาจจะเกิดความ
อิทธิปาฏิหารยิ -เทวดา ๒๓เมาฤทธ๑์ิ ๔ ในลักษณะตางๆ เชน เกิดมานะวา เราทําไดในส่ิงทีค่ นอ่ืนทําไมได คนอื่นทําไมไดอยางเรา มีความรูสึกยกตนขมผูอื่นกลายเปนอสัตบุรุษไป หรืออาจเกิดความหลงใหลมัวเมาในลาภสกั การะท่เี กดิ จากฤทธิน์ ้นั นาํ ฤทธ์ไิ ปใชเ พอื่ กอความชวั่ ความเสยีหาย อยา งพระเทวทตั เปน ตน อยา งนอ ยการติดใจเพลินอยูในฤทธ์ินั้น ก็ทาํ ใหไมส ามารถปฏบิ ัตเิ พือ่ บรรลุคุณธรรมที่สูงข้นึ ไปไมอาจชําระกิเลสทําจิตใจใหบริสุทธ์ิได และเพราะฤทธ์ิของปุถุชนเปนของเสือ่ มได แมแตความหวงกงั วลมัวยงุ กบั การรักษาฤทธิ์ กก็ ลายเปนปลิโพธ คืออุปสรรคที่ทําใหไมสามารถใชปญญาพินิจพิจารณาตามวธิ ีของวปิ สสนาอยางไดผลดี ทานจงึ จัดเอาฤทธิ์เปนปลิโพธอยางหนึ่งของวิปสสนา (เรยี กวาอิทธปิ ลโิ พธ) ซ่ึงผูจะฝกอบรมปญญาพงึ ตัดเสยี ใหได๑ ๕ สวนปุถุชนที่มาเก่ียวของกับผูมีฤทธิ์ ก็มีทางประสบผลเสียจากฤทธ์ิไดเปนอันมาก ผลเสียขอแรกทีเดียวก็คือ คนท่ีมาเก่ียวของอาจตกไปเปนเหย่ือของผูมีฤทธ์ิหรือหลอกลวงวามีฤทธิ์ซึ่งมีอกุศลเจตนานําเอาฤทธ์ิมาเอยอางเพื่อแสวงหาลาภสักการะอยา งไรกต็ าม ในเรือ่ งนี้มีขอพงึ สงั เกตวา ตามปกตผิ มู ฤี ทธิ์ซง่ึ เปน
๒๔ เร่ืองเหนือสามญั วิสยัผูปฏิบัติชอบ จะใชฤทธ์ิในกรณีเดียวเมื่อมีเหตุผลอันสมควรเพ่ือเปนส่ือนําไปสูการแนะนําส่ังสอนสิ่งที่ถูกตองคืออนุสาสนีปาฏิหาริย ถาไมมีเหตผุ ลเกย่ี วกบั การแนะนาํ ส่งั สอนธรรมแลว ผมู ีฤทธิ์จะใชฤทธิ์ทาํ ไม นอกจากเพอื่ ผกู คนไวก บั ตนเปนสะพานทอดไปสูช ่ือเสยี งและลาภผล๑๖ ดังนั้น จึงควรยึดถือเปนหลักไวทีเดียววา การใชอิทธปิ าฏิหาริย จะตองมีอนสุ าสนีปาฏิหาริยตามมาดวย ถาผใู ดอางหรือใชอิทธิปาฏิหาริยโดยมิใชเปนเพียงบันใดที่จะนําไปสูอนุสาสนีปาฏิหาริยพึงถือไวกอนวา ผูนั้นปฏิบัติผิดในเร่ืองอิทธิปาฏิหาริย เขาอาจมีอกุศลเจตนาหลอกลวง มุงแสวงหาลาภสักการะ หรืออยางนอยก็เปนผูมัวเมาหลงใหลเขาใจผิดในเรื่องอทิ ธปิ าฏิหารยิ น ้ัน หลักการน้ีผอนลงมาใชไดแมกับพฤติการณเกี่ยวกับเรื่องของขลังสิง่ ศกั ดส์ิ ิทธิ์ ทั่วไป๑๗ โดยอาจใหย ดึ ถือกนั ไวว า ผใู ดนาํเอาของขลงั สง่ิ ศกั ด์ิสิทธ์ิ หรอื ส่งิ ลกึ ลบั ตางๆ มาใชในการเก่ียวขอ งกับประชาชน โดยมิไดนําประชาชนไปสูความรูความเขาใจในธรรม มิไดตอทายของขลังเปนตนน้ันดวยการแนะนําสั่งสอนให
อทิ ธปิ าฏิหารยิ - เทวดา ๒๕เกิดปญญาคือความรูความเขาใจถูกตองเกี่ยวกับความจริงความดีงามท่คี วรรแู ละควรประพฤตปิ ฏิบตั ิ เพื่อชว ยนาํ เขาใหคอ ยๆ กาวพน เปนอิสระออกไปไดจ ากของขลงั สิ่งศักด์ิสทิ ธเิ์ หลานั้น พึงถอื วาผูน ั้นเปน ผปู ฏิบตั ผิ ิดและนําประชาชนไปในทางท่ผี ิด อนึ่ง แมในกรณีท่ีมิไดตกไปเปนเหย่ือของผูอวดอางฤทธ์ิการไปมัววุนวายเพลิดเพลินหรือฝกใฝกับอิทธิปาฏิหาริยท้ังหลายก็เปนการไมปฏิบัติตามหลักการของพระพุทธศาสนาอยใู นตวั แลวตงั้ หลายแง แงทห่ี นง่ึ ในเม่ืออิทธปิ าฏิหาริยไมใชส าระสําคญั ของพระพุทธศาสนา ไมเกย่ี วกบั จุดหมายของพระพุทธศาสนา ไมช ว ยใหมนุษยหลุดพน จากกเิ ลส การไปฝก ใฝในเรอ่ื งเชนน้ี ยอมเปนการพราเวลาและแรงงานท่ีควรใชสาํ หรับการปฏบิ ตั ิธรรมใหหมดไปในทางท่ผี ิด แงที่สอง คนที่ไปเกี่ยวของกับผูอางฤทธ์ิหรืออํานาจส่ิงศักดิ์สิทธิ์ มักมุงเพ่ือไปขอความชวยเหลือหวังอํานาจดลบันดาลใหเกิดโชคลาภเปนตน การปฏิบัติเชนน้ียอมไมถูกตองตามหลักพระพทุ ธศาสนาทีเ่ ปน กรรมวาท กริ ยิ วาท และวิรยิ วาท สอนใหคน
๒๖ เรือ่ งเหนอื สามัญวสิ ยัหวังผลสําเร็จจากการลงมือทําดวยความเพียรพยายามตามเหตุตามผล การมัวหวังผลจากการออนวอนขอความชวยเหลือจากอํานาจดลบันดาล อาจทําใหก ลายเปนคนมีสินยั เฉอ่ื ยชา กลายเปนคนงอมืองอเทา อยา งนอ ยก็ทาํ ใหขาดความเพียรพยายาม ไมรีบเรงลงมอื ทาํ สิ่งที่ควรจะทาํ ไมเ รง เวนส่งิ ท่คี วรงดเวน ขดั กบั หลักความไมประมาท นอกจากน้นั ถา จะฝกใฝก ับอทิ ธิปาฏิหาริย กค็ วรฝกตนใหทําปาฏหิ ารยิ นน้ั ไดเอง จะดีกวา (แตก็ยังขดั กบั หลักการแงท ี่หนึ่งขางตนอยูดี) เพราะการฝก ใฝห วงั ผลจากอิทธิปาฏิหารยิ ข องผูอนื่หรอื จากอํานาจดลบันดาลท้งั หลาย เปน การพึ่งสงิ่ ภายนอก ทาํ ใหชีวิตข้ึนตอสิ่งอ่ืนมากย่ิงข้ึน แทนที่จะอาศัยอํานาจภายนอกนอยลง และเปนตวั ของตวั เองมากย่งิ ข้นึ จงึ อาจทําใหก ลายเปน คนมีชวี ิตทเ่ี ล่ือนลอย มกั เปน อยูด วยความเพอฝน เปน คนขาดประสิทธิภาพ ขาดอาํ นาจและความมัน่ ใจในตนเอง ขัดตอ หลักการพนื้ ฐานของพระพทุ ธศาสนา ที่สอนใหพ งึ่ ตนเอง สอนใหท ําตนใหเ ปน ท่ีพ่ึงไดหรือสามารถพึ่งตนได และสอนมรรคาแหงความหลุดพนเปนอิสระ ซึ่งในขั้นสุดทายใหขามพนไดแมกระทั้งศรัทธาท่ีมีเหตุผล
อทิ ธิปาฏหิ าริย-เทวดา ๒๙อนุเคราะหชวยเหลือ มีเร่อื งเลามาบางนอยเหลอื เกิน แตก รณที ่ขี อรอ งใหชวยเหลอื ดวยอทิ ธปิ าฏหิ ารยิ ไมพบในพระไตรปฎ กเลยแมแตแ หงเดียว จะมีผูข อรองพระบางรูปใหแสดงอิทธิปาฏหิ าริยบ างก็เพียงเพราะอยากดูเทานั้น๑๙ และการแสดงอิทธิปาฏิหาริยใหชาวบานดู พระพทุ ธเจาก็ไดทรงบัญญัติสกิ ขาบทหา มไวแ ลวดงั ไดกลาวขา งตน ในที่น้ีขอยํ้าขอคิดตามหลักพระพุทธศาสนาไวอีกครั้งหนึ่งวา ในชีวิตท่ีเปนจริง ในระยะยาว หรือตามปกติธรรมดาของมนุษย มนุษยก็ตอ งอยูกับมนุษย และเปนอยดู ว ยเหตผุ ลสามญัของมนษุ ยเ อง จะมวั หวงั พึง่ อํานาจภายนอกที่มองไมเหน็ ซึ่งไมข้ึนกับตนเองอยูอยางไร ทางที่ดีควรจะหันมาพยายามฝกหัดตนเองและฝกปรือกันเอง ใหมีความรูความสามารถชํานิชาํ นาญในการแกปญหาตามวิถีทางแหงเหตุผลอยางสามัญของมนุษยน้ีแหละใหส ําเร็จโดยชอบธรรม ความสามารถทท่ี าํ ไดสําเรจ็ อยางนี้ ทานก็จดั เปนฤทธ์อิ ยา งหนงึ่ และเปน ฤทธิท์ ถี่ ูกตองตามหลกั การของพระพุทธศาสนามที ้งั อามสิ ฤทธ์ิ และธรรมฤทธ๒ิ์ ๐ โดยถอื ธรรมฤทธิ์เปน หลักนํา
๓๐ เรอ่ื งเหนอื สามัญวิสยั สรุปเหตุผลขอใหญที่แสดงถึงขอบเขตจํากัดหรือจุดตดิ ตันของอิทธปิ าฏิหาริย ตลอดถงึ อาํ นาจศกั ด์สิ ิทธิ์ทงั้ หลายทงั้ ปวง ซง่ึทาํ ใหไ มสามารถเปน หลักการสาํ คญั ของพระพุทธศาสนา ไมเกี่ยวของกับจุดหมายของพุทธธรรม และไมเปนสิ่งจําเปนสําหรับการดาํ เนินพุทธมรรคา ไมอ าจเปน ทพ่ี ง่ึ อันเกษมหรือปลอดภัยได เหตุผลน้นั มี ๒ ประการคือ.- ๑. ทางปญญา อิทธปิ าฏิหารยิ เปน ตน ไมอ าจทาํ ใหเกดิปญญาหยั่งรูสัจธรรม เขาใจสภาวธรรมท้ังหลายตามความเปนจริงได ดังตัวอยางเรื่องพระภิกษุมีฤทธิ์ที่เหาะไปหาคําตอบเก่ียวกับสัจธรรมท่ัวจักรวาฬจนถึงพระพรหมผูถือตนวาเปนผูสรางผูบันดาลโลก ก็ไมสําเร็จ และเรื่องฤาษีมีฤทธ์ิเหาะไปดูท่ีสุดโลกพภิ พจนหมดอายุก็ไมพบ เปน ตวั อยา ง๒๑ ๒. ทางจิต อทิ ธปิ าฏหิ าริย เปน ตน ไมอาจกําจัดกเิ ลส หรอืดบั ความทุกขไดจรงิ จิตใจมีความขนุ มัว กลดั กลุม เรารอ น ถูกโลภะ โทสะ โมหะ ครอบงํา กไ็ มสามารถแกไ ขใหหลุดพน เปนอิสระได แมจะใชฌานสมาบัติขมระงับไว ก็ทําไดเพียงชั่วคราวกลับออกมาสูการเผชิญโลกและชีวิตตามปกติเม่ือใด กิเลสและ
อิทธปิ าฏิหารยิ - เทวดา ๓๑ความทุกขก็หวนคืนมารังควาญไดอีกเม่ือนั้น ย่ิงกวานั้นอิทธิปาฏิหาริยอาจกลายเปนเคร่ืองมือรับใชกิเลสไปก็ได ดังเรอ่ื งพระเทวทัตเปนตัวอยาง๒๒
๓๒ เร่อื งเหนือสามัญวสิ ยั เทวดาขอเปรียบเทียบระหวา งฐานะของมนษุ ยกบั เทวดา ขอควรพิจารณาเก่ียวกับเรอ่ื งเทวดา๒๓ วา โดยสวนใหญก็เหมือนกับที่กลาวแลวในเรื่องอิทธิปาฏิหาริยเพราะคนมักเขาไปเกี่ยวของกบั เทวดาเพอ่ื ผลในทางปฏบิ ัติ คือหวงั พ่ึงและขออาํ นาจดลบันดาลตางๆ เชนเดียวกับที่หวังและขอจากอิทธิฤทธ์ิ และเทวดาก็เปนผูมีฤทธ์ิ หลักการทั่วไปที่บรรยายแลวในเร่ืองอทิ ธิปาฏหิ ารยิ เฉพาะอยา งยง่ิ สว นทเี่ ก่ยี วกับคณุ และโทษ จงึ นํามาใชกับเร่ืองเทวดาไดดวย แตก็ยังมีเรื่องที่ควรทราบเพ่ิมเติมอีกบางอยางดงั น้ี วาโดยภาวะพ้ืนฐาน เทวดาทกุ ประเภทตลอดจนถงึ พรหมที่สูงสุด ลวนเปนเพื่อนรวมทุกขเกิดแกเจ็บตาย เวียนวายอยูในสังสารวัฏเชนเดียวกับมนุษยท้ังหลาย และสวนใหญก็เปนปุถุชนยังมีกิเลสคลายมนุษย แมวาจะมีเทพที่เปนอริยบุคคลบาง สวน
อิทธปิ าฏิหารยิ -เทวดา ๓๓มากก็เปนอริยะมากอนตั้งแตคร้ังยังเปนมนุษย แมวาเมื่อเปรียบเทยี บโดยเฉลย่ี ตามลาํ ดับฐานะ เทวดาจะเปนผูมคี ณุ ธรรมสูงกวาแตก อ็ ยูใ นระดบั ใกลเคียงกันจนพดู รวมๆ ไปไดว า เปนระดบั สุคติดว ยกัน ในแงค วามไดเปรยี บเสียเปรยี บ บางอยางเทวดาดีกวา แตบางอยา งมนุษยก ด็ ีกวา เชน ทานเปรยี บเทียบระหวางมนุษยช าวชมพูทวีปกับเทพช้ันดาวดึงสวา เทพช้ันดาวดึงสเหนือกวามนุษย๓ อยา งคือ มีอายุทพิ ย ผิวพรรณทพิ ย และความสขุ ทพิ ย แตมนุษยชาวชมพูทวีปก็เหนือกวาเทวดาช้ันดาวดึงส ๓ ดาน คือกลาหาญกวา มีสตดิ กี วา และมกี ารประพฤติพรหมจรรย (หมายถึงการปฏิบตั ติ ามอรยิ มรรค)๒๔ แมวาตามปกติพวกมนุษยจะถือวาเทวดาสูงกวาพวกตนและพากนั อยากไปเกดิ ในสวรรค แตส าํ หรับพวกเทวดา เขาถอื กันวา การเกิดเปน มนษุ ยเปน สุคตขิ องพวกเขา ดงั พุทธพจนย นื ยนั วา\"ภิกษทุ ั้งหลาย ความเปน มนุษยน ่ีแล นบั วาเปน การไปสุคตขิ องเทพท้งัหลาย\"๒๕ เมอ่ื เทวดาองคใดองคหน่งึ จะจุติ เพือ่ นเทพชาวสวรรคจะพากันอวยพรวา ใหไ ปสคุ ตคิ ือไปเกิดในหมูมนษุ ยท ง้ั หลาย เพราะ
๓๔ เรอื่ งเหนือสามญั วสิ ัยโลกมนุษยเปนถิ่นที่มีโอกาสเลือกประกอบกุศลธรรมทําความดีงามตางๆ และประพฤติปฏิบัติธรรมไดอยางเต็มท่ี๒๕ (ความชั่วหรืออกุศลกรรมตา งๆ กเ็ ลอื กทําไดเ ต็มท่ีเชน เดียวกัน) การเกดิ เปนเทวดาที่มีอายุยืนยาว ทานถือวาเปนการเสียหรือพลาดโอกาสอยางหน่ึงในการที่จะไดประพฤติพรหมจรรย๒๖ (ปฏิบัติตามอริยมรรค) เรียกอยางสามญั วาเปนโชคไมดี พวกชาวสวรรคม แี ตความสุข ชวนใหเกิดความประมาทมัวเมา สติไมม่ัน สวนโลกมนุษยมีสุขบางทุกขบางเคลาระคน มีประสบการณหลากหลายเปนบทเรียนไดมาก เม่ือรูจักกําหนดก็ทําใหไดเรียนรู ชว ยใหส ติเจริญวองไวทํางานไดดี๒๗ เกื้อกูลแกการฝกตนและการที่จะกาวหนา ในอารยธรรม เมื่อพิจารณาในแงระดับแหงคุณธรรมใหละเอียดลงไปอีกจะเห็นวา มนุษยภูมินั้นอยูกลางระหวางเทวภูมิหรือสวรรคกับอบายภูมิมีนรกเปนตน พวกอบายเชนนรกนั้น เปนแดนของคนบาปดอยคุณธรรม แมช าวอบายบางสว นจะจดั ไดวาเปนคนดี แตก็ตกไปอยใู นนั้น เพราะความชั่วบางอยางใหผลถวงดึงลงไป สว นสวรรคก็เปนแดนของคนดีคอนขางมีคุณธรรม แมวาชาวสวรรค
อิทธปิ าฏหิ าริย-เทวดา ๓๕บางสวนจะเปนคนชั่วแตก็ไดข้ึนไปอยูใ นแดนน้ัน เพราะมคี วามดีบางอยางท่ีประทุแรงชวยผลักดันหรือฉุดขึ้นไป สวนโลกมนุษยที่อยรู ะหวา งกลาง กเ็ ปน ประดุจชุมทางที่ผา นหมนุ เวยี นกันไปมาทง้ัของชาวสวรรคแ ละชาวอบาย เปนแหลง ที่สตั วโลกทุกพวกทกุ ชนดิมาทํามาหากรรม เปนที่คนช่ัวมาสรางตัวใหเปนคนดีเตรียมไปสวรรคหรือคนดีมาสมุ ตัวใหเปนคนช่ัวเตรยี มไปนรก ตลอดจนเปนท่ีผูรูจะมาสะสางตัวใหเปนคนอิสระ เลิกทํามาหากรรม เปล่ียนเปน ผูหวา นธรรม ลอยพน เหนอื การเดนิ ทางหมุนเวยี นตอ ไป พวกอบายมีหลายชั้น๒๘ ช้ันเดียวกันก็มีบาปธรรมใกลเคียงกัน พวกเทพก็มีหลายชั้นซอยละเอียดย่ิงกวาอบาย มีคุณธรรมพนื้ ฐานประณีตลดหล่ันกนั ไปตามลาํ ดับ ชั้นเดียวกันกม็ ีคณุธรรมใกลเคียงกัน สวนโลกมนุษยแ ดนเดยี วน้ี เปนท่ีรวมของบาปธรรมและคุณธรรมทกุ อยา งทกุ ระดับ มีคนชัว่ ซ่ึงมีบาปธรรมหยาบหนาเหมอื นดังชาวนรกชน้ั ตํา่ สดุ และมคี นดซี ง่ึ มีคณุ ธรรมประณีตเทากับพรหมผูสูงสุด ตลอดจนทานผูพนแลวจากภพภมู ทิ ง้ั หลายซง่ึ แมแ ตเ หลา เทพมารพรหมกเ็ คารพบชู า ภาวะเชน นนี้ บั ไดวาเปนลักษณะพิเศษของโลกมนุษยที่เปนวิสัยกวางสุดแหงบาปอกุศล
๓๖ เรื่องเหนอื สามัญวสิ ยัและคณุ ธรรม เพราะเปนท่ีทํามาหากรรม และเปน ทห่ี วา นธรรม เทาท่ีกลาวมาน้ี จะเห็นขอ เปรยี บเทียบระหวา งมนุษยกบัเทวดาไดวา เมื่อเทียบโดยคุณธรรมและความสามารถทั่วไปแลวทั้งมนุษยและเทวดาตางก็มิไดเทาเทียมหรือใกลเคียงกัน เปนระดับเดียวกัน แตมนุษยมีวิสัยแหงการสรางเสริมปรับปรุงมากกวา ขอแตกตางสําคัญจึงอยูท่ีโอกาส กลาวคือมนุษยมีโอกาสมากกวาในการทจ่ี ะพฒั นาคณุ ธรรมและความสามารถของตน ถามองในแงแ ขง ขนั (ทางธรรมไมสนบั สนุนใหมอง) กว็ า ตามปกติธรรมดาถาอยูกนั เฉยๆ เทวดาทวั่ ไปสูงกวา ดีกวาเกงกวามนุษยแตถามนุษยปรับปรุงตัวเมื่อไร ก็จะข้ึนไปเทียมเทาหรือแมแตสูงกวา ดีกวา เกง กวาเทวดา๒๙ความสัมพันธท ไี่ มค วร ระหวางมนุษยกบั เทวดา เม่ือทราบฐานะของเทวดาแลว พึงทราบความสัมพันธท่ีควรและไมควรระหวางเทวดากับมนุษยตอไป ในลัทธิศาสนาที่มีมาต้ังแตกอ นพุทธกาล เขาเชื่อวามีเทวดาใหญนอ ยมากมาย และมเี ทพสูงสดุ เปนผูสรา งโลกและบันดาลทุกสง่ิ ทุกอยาง ซึง่ มนษุ ยไ ม
อิทธปิ าฏิหารยิ - เทวดา ๓๗มีทางจะเจริญเลิศลา้ํ กวาเทพนั้นได มนุษยจึงสรางความสมั พนั ธกับเทพดวยวิธีออนวอนขอความชวยเหลือดวยวิธีการตางๆ เชนสวดสรรเสรญิ ยกยอง สดดุ ี บวงสรวง สังเวย บูชายญั เปน การปรนเปรอเอาอกเอาใจ หรือไมก็ใชวิธีเรียกรองความสนใจ บีบบังคับใหเห็นใจเชิงเราใหเกิดความรอนใจจนเทพทนนิ่งอยูไมไดตอ งหันมา ดูแลหาทางแกไ ขหรือสนองความตองการให ทง้ั นี้ โดยใชว ิธขี มขบี่ ีบคั้นลงโทษทรมานตนเอง ทเ่ี รียกวา ประพฤติพรตและบาํ เพญ็ ตบะตางๆ สรุปใหเห็นชดั ถึงวิธีสมั พันธก ับเทพเจาเปน ๒อยา งคอื ๑. วธิ อี อนวอนขอความชว ยเหลอื ดวยการเซน สรวง สงั เวยบชู ายญั ดงั ลูกออนวอนขอตอพอ แม บางทีเลยไปเปนดังประจบและแมติดสนิ บนตอ ผมู ีอาํ นาจเหนือ ๒. วิธีบีบบังคับใหทําตามความประสงค ดวยการบําเพ็ญพรตทําตบะ ดังลูกท่ีตีอกชกหัว กัดทึ้งตนเอง เรียกรองเชิงบีบบงั คบั ใหพ อแมหนั มาใสใจความประสงคของตน แตจะเปนวิธีใดก็ตาม ยอมรวมลงในการมุงหวังผลประโยชนแกตน ดวยการพ่ึงพาส่ิงภายนอกท้ังสิ้น เม่ือพระพุทธ
๓๘ เร่ืองเหนือสามัญวสิ ัยศาสนาเกดิ ขน้ึ แลว กไ็ ดส อนใหเ ลิกเสียทง้ั สองวิธี และการเลิกวธิ ีปฏิบัติทั้งสองน้ีแหละท่ีเปนลักษณะพิเศษของพระพุทธศาสนาในเร่ืองนี้ ในการสอนใหเลิกวิธีปฏิบัติเหลาน้ี พระพุทธศาสนาสามารถแสดงเหตผุ ล ชี้ใหเห็นคุณโทษ และวางวธิ ีปฏิบตั ิท่สี มควรใหใหมดว ยโทษจากการหวงั พึง่ เทวดา การหวังพึ่งเทวดายอ มมีผลในขอบเขตจาํ กัด หรอื มีจดุ ตดิตันอยางเดียวกับท่ีกลาวแลวในเรื่องอิทธิปาฏิหาริย คือ ในทางปญ ญา เทวดาทวั่ ๆ ไปกย็ งั มอี วิชชา ไมร ูส จั ธรรม เชนเดยี วกับมนุษย ดังเร่ืองพระภิกษุรูปที่เหาะไปถามปญหากะเทวดาจนแมแตพ ระพรหมกต็ อบไมได และเรื่องพระพุทธเจา ทรมานพวกพรหมนามวา “พกะ” ในพกสูตรเปนตน สวนในดานจิตใจ เทวดาก็เหมือนกับมนุษย คือสวนใหญเปนปุถุชน ยังมีกิเลสมีเชื้อความทกุ ขม ากบา งนอยบาง ยงั หมุนเวยี นขึ้นๆ ลงๆ อยูในสงั สารวฏั ดังเชนพระพรหมแมจะมีคุณธรรมสูง แตก็ยังประมาทเมาวาตนอยูเที่ยงแทน ิรันดร๓๐ พระอินทรเมาประมาทในทิพยสมบัติ๓๑ คนอื่น
อทิ ธิปาฏหิ าริย- เทวดา ๓๙หวังพ่งึ พระอินทร แตพ ระอินทรเ องยงั ไมหมดราคะ โทสะ โมหะยังมีความหวาดกลัวสะดงุ หวนั่ ไหว๓๒ การออนวอนหวังพ่ึงเทวดา นอกจากขัดกับความเพียรพยายามโดยหวังผลสาํ เร็จจากการกระทาํ ขัดหลกั พงึ่ ตนเองและความหลดุ พน เปน อสิ ระ ดังไดกลา วในเรอื่ งอทิ ธิปาฏิหาริยแ ลว ยงัมีผลเสียท่คี วรสังเกตอกี หลายอยางเชน - ในเมือ่ เทวดาเปนปถุ ุชน การทีม่ นษุ ยไปเฝาประจบยกยอบนบานตางๆ ไมเพียงแตมนุษยเทานั้นท่ีจะประสบผลเสียเทวดาทัง้ หลายก็จะพลอยเสยี ไปดวย เพราะจะเกดิ ความหลงใหลมัวเมาในคํายกยองสรรเสริญ ติดในลาภสักการะคือสิ่งเซนสรวงสังเวยและปรารถนาจะไดใหมากยิ่งขึ้นๆ โดยนัยน้ีทั้งเทวดาและมนุษยตางก็มัวมาฝกใฝวุนวายอยูกับการบนบานและการใหผลตามบนบานละท้ิงกิจหนาที่ของตน หรือไมก ป็ ลอยปละละเลยใหบกพรองยอหยอน เปนผูตกอยูในความประมาท แลวท้ังมนุษยและเทวดาก็พากันเส่ือมลงไปดวยกัน - เทวดาบางพวกเม่ือมัวเมาติดในลาภสักการะความยกยอ งนบั ถือแลว กจ็ ะหาทางผกู มดั หมูชนไวก บั ตน โดยหาทางทําให
๔๐ เรอื่ งเหนือสามญั วิสัยคนตองพงึ่ เขาอยูเ ร่อื ยไป เพอื่ ผลน้ี เทวดาอาจใชวธิ ีการตางๆ เชนลอดวยความสําเร็จสมปรารถนาเล็กๆ นอยๆ เพื่อใหคนหวังผลมากยิ่งขึ้นและบนบานเชนสรวงมากยงิ่ ขน้ึ หรอื แมแ ตแกลง ทาํ เหตุใหค นตอ งมาตดิ ตอ ขอผลถลาํ ตนเขาสวู งการ - เมื่อเทวดาประเภทหวังลาภมาวุนวายกันอยูมากเทวดาดีที่จะชวยเหลือคนดีโดยไมหวังผลประโยชน ก็จะพากันเบอื่ หนา ยหลบลีป้ ลีกตัวออกไป คนท่ีทาํ ดี กไ็ มม ีใครจะคอยชว ยเหลือใหก ําลงั ฝา ยเทวดาใฝล าภ ก็จะชวยตอเมอื่ ไดรบั ส่งิ บนหรอือยา งนอยคําของรองออ นวอน มนษุ ยก ็เลยรูสึกกนั มากขน้ึ เหมอื นวาทาํ ดไี มไ ดดี ทาํ ชัว่ จงึ จะไดด ี กอใหเ กิดความสับสนระสํ่าระสายในสังคมมนุษยม ากยง่ิ ขึ้น - เมื่อเทวดาดีงามปลีกตัวไปไมเก่ียวของ (ตามปกติธรรมเนียมของเทวดา ก็ไมตองการมาเก่ียวของวุนวายหรอื แทรกแซงในกิจการของมนษุ ยอ ยแู ลว)๓๓ กย็ ง่ิ เปนโอกาสสําหรับเทวดารายใฝลาภจะแสวงหาผลประโยชนไดมากยิ่งข้ึน เชน เมื่อมนุษยออนวอนเรยี กรอ งเจาะจงตอเทพบางทานทเี่ ขานับถอื เทพใฝลาภพวกน้ีก็จะลงมาสวมรอยรับสมอางหลอกมนุษย โดยมนุษยไม
อทิ ธิปาฏหิ าริย- เทวดา ๔๑อาจทราบเพราะเปนเร่ืองเหนือวิสัยของตน แลว เทวดาสวมรอยก็ทาํ เร่ืองใหพ วกมนุษยหมกมนุ มวั เมายงิ่ ขนึ้ โดยนัยนี้ จะเห็นไดวา คนท่ีไดรับความชวยเหลือจากเทวดา ไมจาํ เปน ตอ งเปนคนดี และคนดีก็ไมจ าํ เปน ตองไดร บั ความชวยเหลือจากเทวดา ที่เปนเชนน้ีเพราะท้ังมนุษยและเทวดาตางก็เปน ปุถชุ นและตางกป็ ฏิบตั ผิ ิด พากนั ทาํ ใหร ะบบตา งๆ ที่ดงี ามในโลกคลาดเคลือ่ นเสือ่ มทรามลงไปขอ สงั เกตเพอ่ื การสรา งความสัมพนั ธท่ถี กู ตอง อนึ่ง ขอกลาวถึงขอสงั เกตบางอยางเพ่ือจะไดมองเหน็ แนวทางในการปฏิบตั ิตอไปชัดเจนขึ้น ประการแรก เทวดาประกาศิตหรือกาํ หนดเหตุการณหรือบันดาลชะตากรรมแกมนุษยโดยเด็ดขาดแตฝายเดียวไมได แมตามปกตจิ ะถือกันวา เทวดามฤี ทธม์ิ อี ํานาจเหนือกวามนุษย แตดังไดกลาวแลวขางตนวา ถามนุษยปรับปรุงตัวขึ้นมาเม่ือใด ก็สามารถเทาเทียมหรือเหนือกวาเทวดาได และสิ่งที่จะกาํ หนดวาใครจะเหนือใครกอ็ ยทู ีค่ ณุ ธรรมและความเพียรพยายาม ดงั มเี ร่อื ง
๔๒ เร่อื งเหนอื สามัญวสิ ยัมาในชาดก กษัตริยส องเมอื งจะทาํ สงครามกัน ฝายหนง่ึ ไปถามพระฤาษีมีฤทธ์ิ ซ่ึงตดิ ตอ กบั พระอนิ ทรไ ด ไดร บั ทราบคําแจง ของพระอินทรวาฝายตนจะชนะ จึงประมาทปลอยเหลาทหารสนุกสนานบันเทงิ สว นกษตั ริยอกี ฝา ยหนง่ึ ทราบขาวทํานายวา ฝายตนจะแพ ยิ่งตระเตรียมการใหแ ขง็ แรงย่ิงขน้ึ ครน้ั ถงึ เวลารบจรงิ ฝา ยหลงั นก้ี ็เอาชนะกองทพั กษตั ริยฝ ายทีม่ ัวประมาทได พระอนิ ทรถ กูตอวาจึงกลาวเทวคติออกมาวา \"ความบากบ่ันพากเพียรของคนเทพทงั้ หลายกเ็ กยี ดกนั ไมได\" ๓๔ เทวดาที่อยูตามบานเรือนนั้นตามปกติมนุษยใหเกียรติและเอาใจมาก แตถ า มองแงหน่งึ แลว ก็เปนผอู าศัย ถา เจา บานมีคุณธรรมสงู เชนเปนอรยิ สาวก มคี วามม่นั ใจในคุณธรรมของตนหรือม่ันใจในธรรมตามหลักศรัทธาอยางพระโสดาบัน เทวดาก็ตองเคารพเชือ่ ฟง อยูใ นบงั คบั บญั ชา มใิ ชเปน ผมู อี ํานาจบังคับเจาบาน ดังเชน เทวดาผูอ ยู ณ ซุมประตบู า นของอนาถบณิ ฑกิ เศรษฐี(ทานเจาบานไมไดสรางท่ีอยูใหโดยเฉพาะ) เมื่อทานเศรษฐียากจนลง ไดมาส่ังสอนใหเลิกถวายทาน ทานเศรษฐีเห็นวาเปนคําแนะนาํ ไมช อบธรรม ถงึ กับไลอ อกจากบานทนั ที เทวดาหาท่อี ยูไม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132