Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมาย 2563 ล่าสุด (1)

กฎหมาย 2563 ล่าสุด (1)

Published by kitthanachon01, 2021-11-25 10:41:14

Description: กฎหมาย 2563 ล่าสุด (1)

Search

Read the Text Version

ห น้ า | 151 เจา้ ภาพหลกั ในการขับเคลอ่ื นแผนสู่การปฏิบัติ (implement) คือ คณะกรรมการ ขบั เคลอ่ื นการปฏิรูปการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการในภมู ิภาค (คปภ.) ในระดับแผนงานโครงการ/ในระดบั พื้นท่ีจะมีคณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัด (กศจ.) เป็นกลไกหลักในการประสานงานและขับเคลอ่ื น ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง นโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศนโยบายและจุดเน้น ของ กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อให้ส่วนราชการในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดาเนินงานในการจัดทาแผนและงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมทั้งขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการศึกษาให้มี คุณภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ โดยใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า เพ่ือมุ่งเป้าหมาย คือ ผ้เู รยี นทกุ ช่วงวัย ดังนี้ 1. ปรบั รื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารจดั การ โดยมงุ่ ปฏิรูปองค์การเพือ่ หลอมรวม ภารกจิ และบุคลากร เชน่ ด้านการประชาสัมพนั ธ์ ด้านการต่างประเทศ ดา้ นเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ ทส่ี ามารถลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพ่มิ ประสทิ ธิภาพและความ เป็นเอกภาพ รวมทง้ั การนาเทคโนโลยีดจิ ิทัลเขา้ มาช่วยท้ังการบริหารงานและการจดั การศกึ ษารองรับความเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัล 2. ปรับรื้อและเปลยี่ นแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรปู กระบวนการ วางแผนงาน/โครงการแบบรว่ มมือและบูรณาการ ท่ีสามารถตอบโจทย์ของสงั คมและ เป็นการพฒั นาทย่ี ั่งยนื รวมทั้งกระบวนการจดั ทางบประมาณทีม่ ีประสิทธิภาพและใช้ จา่ ยอยา่ งคุ้มค่า ส่งผลใหภ้ าคสว่ นตา่ ง ๆ ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เช่อื ม่ัน และร่วมสนับสนนุ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษามากยงิ่ ขน้ึ 3. ปรบั ร้ือและเปลย่ี นแปลงระบบการบรหิ ารจดั การและพัฒนากาลงั คนของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมุง่ บรหิ ารจัดการอัตรากาลังให้สอดคลอ้ งกับการปฏริ ูป องคก์ าร รวมทั้งพัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบคุ ลากรภาครัฐ ใหม้ ี ความพร้อมในการปฏิบตั งิ านรองรบั ความเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 151

ห น้ า | 152 4. ปรับรือ้ และเปล่ียนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุง่ ให้ครอบคลุม ถึงการจัดการศึกษาเพอ่ื คุณวุฒิ และการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ท่สี ามารถตอบสนองการ เปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 จดุ เนน้ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. การพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1.1 การจดั การศึกษาเพอ่ื คณุ วุฒิ • จัดการศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกประเภท โดยใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมท้งั แนวทางการ จัดการเรียนรูเ้ ชงิ รกุ และการวดั ประเมนิ ผลเพอื่ พฒั นาผเู้ รียน ท่ีสอดคล้องกบั มาตรฐาน การศึกษาแหง่ ชาติ • ส่งเสริมการพฒั นากรอบหลกั สูตรระดับทอ้ งถ่ินและหลกั สตู รสถานศึกษา ตามความ ต้องการจาเปน็ ของกลุ่มเป้าหมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบริบทของพ้ืนที่ • พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีทักษะการคดิ วิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณเ์ ฉพาะหน้าได้อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ โดยจดั การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริง หรอื จากสถานการณ์จาลองผา่ นการลงมือปฏบิ ตั ิ ตลอดจนจดั การเรียนการสอนในเชงิ แสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื เปดิ โลกทัศนม์ มุ มองรว่ มกันของผู้เรียนและครใู หม้ ากข้นึ • พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรอบรู้และทกั ษะชีวิต เพือ่ เป็นเคร่อื งมือในการดารงชีวิตและ สร้างอาชพี อาทิ การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล สขุ ภาวะและทศั นคติทด่ี ตี อ่ การดแู ลสขุ ภาพ 1.2 การเรียนรู้ตลอดชีวิต • จัดการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตสาหรับประชาชนทกุ ชว่ งวยั เนน้ สง่ เสรมิ และยกระดบั ทักษะ ภาษาองั กฤษ (English for All) • สง่ เสริมการเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสมสาหรบั ผู้ท่เี ขา้ สู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชพี ที่ เหมาะสมรองรับสงั คมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และหลกั สตู รการดแู ล ผสู้ งู วยั หลกั สตู ร BUDDY โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการพฒั นาชมุ ชน โรงเรียน และ ผู้เรยี น หลักสตู รการเรียนรู้ออนไลน์ เพอ่ื ส่งเสรมิ ประชาสมั พันธส์ ินคา้ ออนไลน์ระดบั ตาบล • ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศกึ ษาเพือ่ ทักษะอาชีพและการมงี านทา ในเขตพฒั นา พิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนทีพ่ เิ ศษ (พืน้ ท่สี ูง พ้ืนทีต่ าม Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 152

ห น้ า | 153 แนวตะเข็บชายแดน และพน้ื ทเี่ กาะแกง่ ชายฝงั่ ทะเล ทง้ั กลมุ่ ชนตา่ งเชอ้ื ชาติ ศาสนา และวฒั นธรรม กลมุ่ ชนชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว) • พฒั นาครใู หม้ ีทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ปญั ญาประดษิ ฐ์(AI) และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพอ่ื ฝึก ทกั ษะการคิดวิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบและมเี หตุผลเป็นข้นั ตอน • พฒั นาครูอาชีวศกึ ษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏบิ ตั ิ (Hands – on Experience) เพอื่ ใหม้ ีทักษะและความเช่ียวชาญทางวิชาการ โดยรว่ มมือกับ สถาบันอดุ มศกึ ษาชั้นนาของประเทศจดั หลักสูตรการพัฒนาแบบเขม้ ขน้ ระยะเวลา อยา่ งนอ้ ย 1 ปี • พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ ให้มี ความพรอ้ มในการปฏบิ ัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดจิ ิทลั อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยจดั ให้มศี ูนยพ์ ฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรระดับจังหวัดท่ัวประเทศ 2. การพัฒนาการศึกษาเพ่ือความม่นั คง • พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาในพ้ืนท่จี ังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนอ้ มนายทุ ธศาสตร์ พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” เป็นหลักในการดาเนินการ • เฝา้ ระวงั ภัยทุกรูปแบบทเี่ กิดขน้ึ กบั ผเู้ รียน ครู และสถานศกึ ษา โดยเฉพาะภยั จากยา เสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนษุ ย์ • สง่ เสริมให้ใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกบั ภาษาไทยเปน็ สือ่ จัดการเรียนการสอนในพื้นทที่ ่ีใช้ ภาษาอย่างหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานใหผ้ เู้ รียนมพี ัฒนาการดา้ นการคดิ วิเคราะห์ รวมทัง้ มีทักษะการสือ่ สารและใชภ้ าษาท่ีสามในการต่อยอดการเรยี นรไู้ ด้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ • ปลกู ฝงั ผเู้ รียนให้มหี ลกั คิดทีถ่ ูกตอ้ งด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความ พอเพียง วนิ ยั สุจริต จิตอาสา โดยใชก้ ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 153

ห น้ า | 154 3. การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน • สนับสนุนให้สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาผลิตกาลังแรงงานท่มี ีคณุ ภาพ ตามความเปน็ เลศิ ของแต่ละสถานศึกษาและตามบรบิ ทของพืน้ ที่ รวมทงั้ สอดคล้องกบั ความ ต้องการของประเทศทั้งในปจั จบุ นั และอนาคต • สนับสนนุ ให้สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาบริหารจดั การอยา่ งมีคณุ ภาพ และจัดการ เรียน การสอนดว้ ยเครื่องมอื ปฏิบัตทิ ที่ นั สมยั และสอดคล้องกบั เทคโนโลยี โดยเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีทักษะการวเิ คราะห์ขอ้ มลู (Data Analysis) และทักษะการส่อื สาร ภาษาตา่ งประเทศ 4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา • พฒั นาแพลตฟอรม์ ดจิ ิทลั เพื่อการเรยี นรู้ และใชด้ จิ ิทลั เปน็ เคร่ืองมือการเรยี นรู้ • ศกึ ษาและปรับปรุงอตั ราเงินอุดหนนุ ค่าใช้จ่ายตอ่ หวั ในการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ให้สอดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกจิ และบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู • ระดมสรรพกาลังเพ่ือส่งเสรมิ สนบั สนนุ โรงเรียนนาร่องพ้นื ทน่ี วตั กรรมการศึกษา เพื่อลด ความเหลอื่ มล้าทางการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งพระราชบัญญตั พิ นื้ ทน่ี วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 5. การจัดการศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม • เสรมิ สร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม • ส่งเสริมการพฒั นาส่งิ ประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรมทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม ให้สามารถเป็น อาชีพ และสร้างรายได้ 6. การปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ • ปฏริ ปู องคก์ ารเพ่อื ลดความทบั ซ้อน เพิ่มประสทิ ธิภาพและความเป็นเอกภาพของ หนว่ ยงานทม่ี ีภารกิจใกล้เคยี งกัน เช่น ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านตา่ งประเทศ ด้าน เทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย เป็นต้น • ปรับปรุงกฎหมายและระเบยี บท่เี ป็นอปุ สรรคและขอ้ จากัดในการดาเนินงาน โดย คานึงถึงประโยชนข์ องผเู้ รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยรวม • สนบั สนุนกจิ กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ • พฒั นาระบบฐานข้อมลู ดา้ นการศกึ ษา (Big Data) • พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการและพฒั นากาลงั คนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ให้ สอดคลอ้ งกบั การปฏริ ปู องค์การ • สนับสนุนให้สถานศกึ ษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจดั การศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพ ไดอ้ ย่างอิสระและมปี ระสิทธภิ าพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 154

ห น้ า | 155 • จัดตัง้ หนว่ ยงานวางแผนทางการเงนิ (Financial Plan) ระดบั จงั หวัด เพอื่ พัฒนา คณุ ภาพชวี ติ บคุ ลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร • สง่ เสริมโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ โดยเน้นปรบั สภาพแวดล้อมทั้งภายใน และภายนอกบรเิ วณโรงเรียนใหเ้ ออ้ื ต่อการเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจติ สาธารณะ การขับเคลอื่ นนโยบายและจุดเนน้ สูก่ ารปฏิบตั ิ ประจาปงี บประมาณ 2564 1. ใหส้ ่วนราชการ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร นานโยบายและจุดเน้น เปน็ กรอบแนวทางมาใช้ในการวางแผนและจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยคานงึ ถงึ มาตรการ 4 ข้อ ตามท่ีรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดใ้ ห้แนวทางในการบรหิ ารงบประมาณไว้ ดงั น้ี (1) งดดูงานต่างประเทศ 1 ปี ยกเวน้ กรณีทม่ี คี วามจาเป็นและเป็นประโยชน์ตอ่ กระทรวงศึกษาธกิ าร (2) ลดการจดั อบรมสัมมนาทีม่ ขี นาดใหญแ่ ละใชง้ บประมาณมาก (3) ยกเลิกการจัดงาน Event (4) ทบทวนงบประมาณที่มคี วามซา้ ซ้อน 2. ใหม้ ีคณะกรรมการตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลือ่ นนโยบายและ จดุ เน้นสกู่ ารปฏบิ ัติระดบั พ้นื ที่ โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ ารเป็น ประธาน สานักงานศึกษาธิการภาคและสานักตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผล สป. เป็นฝา่ ยเลขานกุ ารและผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารตามลาดับ โดยมีบทบาทภารกจิ ในการตรวจ ราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอตอ่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทราบตามลาดบั 3. กรณมี ีปัญหาในเชงิ พืน้ ทหี่ รอื ขอ้ ขดั ขอ้ งในการปฏิบัตงิ าน ใหศ้ กึ ษา วเิ คราะหข์ ้อมลู และดาเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพน้ื ท่กี ่อน โดยใช้ภาคีเครอื ข่ายในการแก้ไข ข้อขดั ขอ้ ง พรอ้ มทง้ั รายงานต่อคณะกรรมการติดตามฯ ขา้ งตน้ ปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ าร และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการตามลาดับ อน่งึ สาหรับภารกจิ ของส่วนราชการหลกั และหนว่ ยงานท่ีปฏบิ ตั ใิ นลกั ษณะงานในเชิง หน้าท่ี (Function) งานในเชงิ ยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชงิ พื้นที่ (Area) ซึง่ ได้ ดาเนนิ การอยูก่ อ่ นเมอื่ รัฐบาลหรอื กระทรวงศึกษาธกิ ารมนี โยบายสาคัญเพิ่มเติมใน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือจากท่ีกาหนดหากมีความสอดคลอ้ งกับหลกั การนโยบาย Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 155

ห น้ า | 156 และจุดเนน้ ขา้ งต้น ให้ถือเปน็ หน้าท่ขี องส่วนราชการหลกั และหนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ งตอ้ งเร่งรัด กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบใหก้ ารดาเนนิ การเกิดผลสาเร็จและมีประสทิ ธภิ าพอย่างเปน็ รูปธรรม ด้วยเช่นกัน ***************************************************************************************************************************** Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 156


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook