Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กฎหมาย 2563 ล่าสุด (1)

กฎหมาย 2563 ล่าสุด (1)

Published by kitthanachon01, 2021-11-25 10:41:14

Description: กฎหมาย 2563 ล่าสุด (1)

Search

Read the Text Version

ห น้ า | 1 วิชากฎหมาย 2563 เรยี บเรยี งโดย ชมรมชวนกนั มาอา่ นหนงั สือ อพั เดทขอ้ มูลล่าสุดถงึ วันที่ 5 ม.ิ ย. 2563 หนังสือแจกฟรี หา้ มจาหน่าย Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 1

ห น้ า | 2 รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ตราไว้ ณ วนั ท่ี ๖ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ เป็นปีท่ี ๒ ในรชั กาลปัจจบุ นั • เป็นรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบบั ที่ 20 • พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เปน็ ผรู้ ับสนองพระราช โองการ • 16 หมวด 279 มาตรา มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจกั รอันหนง่ึ อันเดยี ว จะแบ่งแยกมไิ ด้ มาตรา 2 ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รง เปน็ ประมุข มาตรา 3 อานาจอธปิ ไตยเปน็ ของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตรยิ ผ์ ู้ทรงเป็นประมุข ทรงใชอ้ านาจนั้น ทางรัฐสภา คณะรฐั มนตรี และศาล ตามบทบญั ญตั ิแห่งรฐั ธรรมนูญ มาตรา 4 ศกั ดิศ์ รีความเป็นมนษุ ย์ สทิ ธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อม ได้รบั ความค้มุ ครอง ปวงชนชาวไทยยอ่ มไดร้ บั ความคุ้มครองตามรฐั ธรรมนูญเสมอกัน มาตรา 5 รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสงู สุดของประเทศ บทบัญญัตใิ ดของกฎหมาย กฎ หรือขอ้ บังคับ หรอื การกระทาใด ขดั หรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนญู บทบัญญัตหิ รือการกระทานน้ั เป็นอนั ใช้บังคบั มิได้ มาตรา 6 องคพ์ ระมหากษตั รยิ ท์ รงดารงอยู่ในฐานะอันเป็นท่ีเคารพสักการะ ผู้ใดจะ ละเมดิ มิได้ ผู้ใดจะกลา่ วหาหรอื ฟอ้ งร้องพระมหากษัตรยิ ใ์ นทางใด ๆ มไิ ด้ มาตรา 7 พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ พทุ ธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนปู ถัมภก มาตรา 8 พระมหากษัตริย์ทรงดารงตาแหนง่ จอมทพั ไทย มาตรา 9 พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจท่ีจะสถาปนาและถอดถอนฐานันดร ศกั ดแิ์ ละพระราชทานและเรียกคืนเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณ์ มาตรา 10 พระมหากษัตริย์ทรงเลอื กและทรงแตง่ ตงั้ ผทู้ รงคณุ วุฒิเป็นประธาน องคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอนื่ อกี ไมเ่ กนิ 18 คน >>> ประกอบเป็นคณะองคมนตรี มาตรา 11 การเลอื กและแต่งต้งั องคมนตรีหรอื การใหอ้ งคมนตรีพ้นจากตาแหนง่ ให้ เปน็ ไปตามพระราชอธั ยาศัย Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 2

ห น้ า | 3 • ให้ประธานรัฐสภาเปน็ ผูล้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้งั ประธาน องคมนตรีหรอื ใหป้ ระธานองคมนตรีพน้ จากตาแหน่ง • ให้ประธานองคมนตรีเปน็ ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้งั องคมนตรอี ื่น หรอื ให้องคมนตรีอนื่ พน้ จากตาแหน่ง มาตรา 25 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากท่ีบัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการ เฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอ่ืน บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพท่ีจะทาการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การใช้สิทธิหรือเสรีภาพเช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความ มั่นคงของรัฐความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือ เสรภี าพของบคุ คลอ่นื มาตรา 12 องคมนตรีต้องไม่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือดารง ตาแหน่งทางการเมืองอื่น ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าท่ีของพรรคการเมือง หรือข้าราชการ เว้นแต่การเป็นข้าราชการในพระองค์ในตาแหน่งองคมนตรี และต้องไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรค การเมืองใด มาตรา 16 ในเมื่อพระมหากษัตรยิ จ์ ะไม่ประทบั อยใู่ นราชอาณาจักร หรอื จะทรง บริหารพระราชภาระไม่ไดด้ ว้ ยเหตุใดกต็ าม จะทรงแต่งตั้งบคุ คลคนหนง่ึ หรอื หลายคนเป็น คณะขึน้ ให้เปน็ ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์หรอื ไมก่ ไ็ ด้ และในกรณที ี่ทรงแต่งตัง้ ผสู้ าเร็จ ราชการแทนพระองค์ให้ ประธานรัฐสภา เปน็ ผู้ลงนามรบั สนองพระบรมราชโองการ มาตรา 25 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย นอกจากท่ีบัญญัติคุ้มครองไว้เป็น การเฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมาย อ่ืน บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพท่ีจะทาการนั้นไดแ้ ละได้รับความค้มุ ครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าท่ีการใช้สิทธิหรือเสรีภาพเช่นว่าน้ันไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความ ม่ันคงของรัฐความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือ เสรีภาพของบุคคลอ่ืน มาตรา ๒๗ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความ คุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่ เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถ่ินกาเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความ เช่ือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนญู หรือเหตุอ่ืนใด จะกระทามไิ ด้ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 3

ห น้ า | 4 มาตรา 28 บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรา่ งกาย มาตรา 31 บคุ คลย่อมมีเสรีภาพบริบรู ณ์ในการถือศาสนาและย่อมมีเสรภี าพในการปฏบิ ตั ิ หรอื ประกอบพธิ กี รรมตามหลักศาสนาของตน แต่ตอ้ งไมเ่ ป็นปฏปิ ักษต์ อ่ หน้าที่ของ ปวงชนชาวไทย มาตรา 32 บุคคลยอ่ มมีสิทธใิ นความเปน็ อย่สู ว่ นตัว เกียรติยศ ชอ่ื เสียง และครอบครัว มาตรา 33 บุคคลยอ่ มมเี สรีภาพในเคหสถาน มาตรา 34 บคุ คลย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคดิ เห็น การพูด การเขียน การพิมพก์ าร โฆษณา และการส่ือความหมายโดยวิธีอื่น มาตรา 35 บคุ คลซึ่งประกอบวชิ าชีพส่ือมวลชนย่อมมเี สรภี าพในการเสนอข่าวสาร หรอื การ แสดงความคดิ เห็นตามจริยธรรมแหง่ วชิ าชีพ มาตรา 44 บุคคลยอ่ มมีเสรภี าพในการชมุ นุมโดยสงบและปราศจากอาวธุ มาตรา ๕๐ บคุ คลมหี น้าที่ ดงั ต่อไปน้ี (๑) พิทักษ์รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (๒) ป้องกันประเทศ พิทักษ์รักษาเกียรติภูมิ ผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบัติของ แผ่นดนิ รวมทัง้ ใหค้ วามรว่ มมือในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (๓) ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั (๔) เขา้ รับการศกึ ษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ (๕) รบั ราชการทหารตามทีก่ ฎหมายบัญญัติ (๖) เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน และไม่กระทาการใดท่ีอาจก่อให้เกิด ความแตกแยกหรือเกลยี ดชงั ในสังคม (๗) ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอย่างอิสระโดยคานึงถึงประโยชน์ส่วนรวมของประเทศ เปน็ สาคัญ (๘) ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ความ หลากหลายทางชีวภาพ รวมท้งั มรดกทางวัฒนธรรม (๙) เสียภาษีอากรตามทกี่ ฎหมายบัญญัติ (๑๐) ไม่ร่วมมือหรือสนบั สนนุ การทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบทุกรปู แบบ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 4

ห น้ า | 5 ...แนวข้อสอบ... ข้อใดไมใ่ ช่หนา้ ท่ีของบคุ คลตามรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2560 ก.เขา้ รบั การศึกษาภาคบงั คับ ข.ปอ้ งกันประเทศ ค.ไปใชส้ ิทธิเลือกต้ัง ง.นับถอื ศาสนา เฉลย ง.นับถอื ศาสนา มาตรา ๕๔ รัฐต้องดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้ังแต่ ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ อย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย รัฐต้องดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรค หนึ่งเพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและ สนับสนนุ ใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินและภาคเอกชนเข้ามสี ่วนร่วมในการดาเนินการด้วย รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รบั การศึกษาตามความตอ้ งการในระบบตา่ ง ๆ รวมทั้ง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทา แผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการให้เป็นไปตาม แผนการศึกษาแหง่ ชาตดิ ้วย ...แนวขอ้ สอบ... คาว่า \" เด็กเล็ก \" ตามมาตรา 54 รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 หมายถงึ ขอ้ ใด ก. อนุบาล ข.ประถมศกึ ษา ค.ตั้งแตแ่ รกเกิดจนถึงเข้าโรงเรยี น ง.เด็กทีอ่ ายไุ มเ่ กนิ 18 ปีบรบิ ูรณ์ เฉลย ก. อนุบาล การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 5

ห น้ า | 6 ประชาชนได้รับการศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการ สนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการศึกษาตามความถนดั ของตน ให้จัดต้ังกองทุน(มีชื่อว่ากองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางศึกษา)เพ่ือใช้ในการ ช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้าในการศึกษา และเพื่อเสริมสร้างและ พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แกก่ องทุนหรอื ใช้มาตรการ หรือกลไกทางภาษีรวมท้ังการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการ ลดหย่อน ภาษดี ้วย ทั้งนี้ ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ ซงึ่ กฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหาร จดั การกองทนุ เป็นอิสระและกาหนดใหม้ ีการใชจ้ า่ ยเงินกองทนุ เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กลา่ ว มาตรา 65 รัฐพึงจดั ให้มียทุ ธศาสตร์ชาติเปน็ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศ มาตรา 79 รัฐสภา ประกอบดว้ ย สภาผแู้ ทนราษฎร + วุฒิสภา มาตรา 80 ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นประธานรฐั สภา ประธานวุฒิสภา เปน็ รองประธานรฐั สภา มาตรา 83 สภาผู้แทนราษฎรประกอบดว้ ยสมาชิกจานวน 500 คน ดังน้ี (1) สมาชิกซ่งึ มาจากการเลอื กต้งั แบบแบง่ เขตเลอื กต้งั จานวน 350 คน (2) สมาชกิ ซง่ึ มาจากบญั ชีรายชอื่ ของพรรคการเมอื งจานวน 150 คน มาตรา 95 บคุ คลผูม้ ีคุณสมบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี เปน็ ผมู้ สี ิทธเิ ลือกต้งั (1) มีสญั ชาติไทย แตบ่ คุ คลผมู้ ีสญั ชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สญั ชาติไทยมาแลว้ ไม่น้อยกว่า 5 ปี (2) มีอายุไม่ตา่ กวา่ 18 ปใี นวันเลือกตงั้ (3) มชี ่ืออยู่ในทะเบยี นบ้านในเขตเลอื กตัง้ มาแลว้ เปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่า 90วนั นบั ถงึ วนั เลอื กตงั้ มาตรา 96 บคุ คลผู้มีลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้ในวนั เลือกตั้ง เปน็ บุคคลตอ้ งหา้ มมใิ หใ้ ช้สทิ ธิ เลือกตัง้ (1) เป็นภกิ ษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช (2) อยใู่ นระหว่างถกู เพกิ ถอนสิทธิเลือกต้ังไม่วา่ คดนี ้ันจะถงึ ทส่ี ุดแลว้ หรอื ไม่ (3) ตอ้ งคมุ ขังอยูโ่ ดยหมายของศาลหรือโดยคาสัง่ ท่ีชอบด้วยกฎหมาย (4) วกิ ลจรติ หรอื จิตฟัน่ เฟือนไม่สมประกอบ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 6

ห น้ า | 7 มาตรา 97 บุคคลผมู้ คี ณุ สมบตั ดิ ังต่อไปน้ี เป็นผูม้ ีสิทธสิ มัครรับเลอื กต้งั เปน็ สมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) (1) มีสญั ชาติไทยโดยการเกิด (2) มีอายไุ มต่ า่ กวา่ 25 ปนี บั ถงึ วันเลอื กตง้ั (3) เปน็ สมาชิกพรรคการเมอื งใดพรรคการเมืองหนง่ึ แต่เพียงพรรคการเมือง เดียวเป็นเวลาตดิ ตอ่ กันไมน่ อ้ ยกว่า 90 วนั นับถึงวันเลอื กตัง้ เว้นแตใ่ นกรณที ่ีมีการ เลอื กตั้งท่วั ไปเพราะเหตุยุบสภาระยะเวลา 90 วนั ให้เหลือ 30 วนั มาตรา 99 สภาผแู้ ทนราษฎร มกี าหนดวาระคราวละ 4 ปี นับแตว่ ันเลอื กตง้ั มาตรา 107 วฒุ ิสภาประกอบดว้ ยสมาชกิ จานวน 200 คน(แตใ่ น 5 ปแี รกให้มี 250 คน) ซ่ึงมาจากการเลือกกนั เอง ของบคุ คลซง่ึ มีความรู้ ความเชย่ี วชาญ ประสบการณ์ อาชพี ลักษณะ หรอื ประโยชน์รว่ มกนั หรือทางานหรือเคยทางานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลายของ สงั คม มาตรา 108 สมาชิกวุฒิสภาต้องมีคณุ สมบัติและไมม่ ีลกั ษณะตอ้ งห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) มสี ัญชาตไิ ทยโดยการเกดิ (2) มอี ายไุ มต่ ่ากว่า 40 ปีในวันสมัครรบั เลือก (3) มีความรู้ ความเชยี่ วชาญ และประสบการณ์ หรือทางานในด้านที่สมคั รไมน่ ้อยกว่า 10 ปี หรอื เปน็ ผมู้ ีลักษณะตามหลักเกณฑแ์ ละเง่ือนไขที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญตั ปิ ระกอบ รฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยการได้มาซึง่ สมาชิกวฒุ ิสภา (4) เกิด มีชอ่ื อยใู่ นทะเบียนบ้าน ทางาน หรอื มคี วามเกี่ยวพนั กบั พนื้ ทที่ ี่สมคั รตาม หลักเกณฑแ์ ละเง่ือนไขท่ีบัญญตั ิไว้ในพระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ด้วยการได้มาซึง่ สมาชกิ วุฒสิ ภา มาตรา 109 อายขุ องวฒุ ิสภามีกาหนดคราวละ 5 ปีนบั แต่วนั ประกาศผลการเลือก มาตรา 158 พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตง้ั นายกรัฐมนตรี และรฐั มนตรอี ืน่ อีกไม่เกิน 35 คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี (รวมทงั้ หมด 36 คน) • มีหนา้ ท่บี ริหารราชการแผ่นดนิ ตามหลักความรับผดิ ชอบร่วมกนั • นายกรฐั มนตรจี ะดารงตาแหน่งรวมกนั แล้วเกนิ 8 ปมี ไิ ด้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดารง ตาแหนง่ ติดตอ่ กนั หรือไม่ แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหวา่ งท่อี ยปู่ ฏบิ ตั หิ น้าท่ตี ่อไป หลงั พ้นจากตาแหนง่ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 7

ห น้ า | 8 คณะกรรมการการเลอื กต้ัง (กกต.) 7 คน 7 ปี มาตรา 222 คณะกรรมการการเลอื กตั้งประกอบด้วยกรรมการจานวน 7 คนซึ่ง พระมหากษัตรยิ ท์ รงแตง่ ตั้งตามคาแนะนาของวุฒสิ ภา มาตรา 223 กรรมการการเลือกต้ังมวี าระการดารงตาแหนง่ 7 ปี ผ้ตู รวจการแผ่นดิน 3 คน 7 ปี มาตรา 228 ผ้ตู รวจการแผ่นดินมีจานวน 3 คน ซงึ่ พระมหากษตั ริย์ทรงแต่งตง้ั ตามคาแนะนา ของวุฒสิ ภา มาตรา 229 ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ มีวาระการดารงตาแหนง่ 7 ปี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (ป.ป.ช.) 9 คน 7 ปี มาตรา 232 ป.ป.ช. ประกอบดว้ ยกรรมการจานวน 9 คน ซ่ึงพระมหากษตั รยิ ์ทรงแต่งตงั้ ตาม คาแนะนาของวฒุ สิ ภาจากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา มาตรา 233 กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติมีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปี คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน (คตง.) 7 คน 7 ปี มาตรา ๒๓๘ คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดินประกอบดว้ ยกรรมการจานวน 7 คน ซง่ึ พระมหากษัตริยท์ รงแต่งต้งั ตามคาแนะนาของวุฒสิ ภา จากผ้ซู ่ึงได้รับการสรรหาโดย คณะกรรมการสรรหา มาตรา ๒๓๙ กรรมการตรวจเงินแผน่ ดินมีวาระการดารงตาแหน่ง 7 ปี คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติ (กสม.) 7 คน 7 ปี มาตรา 246 คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติประกอบด้วยกรรมการจานวน 7 คน ซง่ึ พระมหากษัตริยท์ รงแตง่ ตั้งตามคาแนะนาของวฒุ ิสภาจากผู้ซง่ึ ไดร้ บั การสรรหามีวาระการดารง ตาแหนง่ 7 ปี Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 8

ห น้ า | 9 มาตรา 257 การปฏิรูปประเทศตามหมวดนต้ี อ้ งดาเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดงั ต่อไปน้ี (1) ประเทศชาติมคี วามสงบเรียบร้อย มีความสามคั คีปรองดอง มกี ารพัฒนาอย่าง ยัง่ ยนื ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหวา่ งการพัฒนาด้านวัตถกุ ับการพัฒนาดา้ นจิตใจ (2) สังคมมีความสงบสขุ เป็นธรรม และมโี อกาสอนั ทัดเทยี มกนั เพ่อื ขจดั ความเหลื่อม ล้า (3) ประชาชนมีความสขุ มคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี และมีสว่ นร่วมในการพฒั นาประเทศและ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มาตรา ๒๕๘ ใหด้ าเนนิ การปฏริ ปู ประเทศอย่างน้อยในดา้ นต่าง ๆ ให้เกดิ ผล ดงั ต่อไปนี้ จ. ด้านการศึกษา (๑) ให้สามารถเร่ิมดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับ การศกึ ษาตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพือ่ ให้เดก็ เลก็ ไดร้ ับการพัฒนารา่ งกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สงั คมและสติปัญญาให้สมกบั วยั โดยไมเ่ ก็บคา่ ใช้จ่าย (๒) ให้ดาเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา ๕๔ วรรคหก ให้ แลว้ เสรจ็ ภายในหน่งึ ปีนับแต่วันประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู น้ี (๓) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและ อาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับ ค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้าง ระบบคุณธรรมในการบรหิ ารงานบคุ คลของผู้ประกอบวชิ าชีพครู (๔) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ ตามความถนัดและปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกนั ทั้งในระดบั ชาติและระดบั พืน้ ที่ มาตรา ๒๖๑ ในการปฏิรูปตามมาตรา ๒๕๘ จ. ด้านการศึกษา ให้มีคณะกรรมการที่มี ความเป็นอิสระคณะหน่ึงที่คณะรัฐมนตรีแต่งต้ังดาเนินการศึกษาและจัดทาข้อเสนอแนะและ ร่างกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องในการดาเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรีดาเนินการ ต่อไป Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 9

ห น้ า | 10 คาส่ังและประกาศ คสช.ด้านการศึกษามี 23 ฉบับ (ยกเลิกแลว้ 7 ฉบับ) คาสงั่ และประกาศ คสช.ท่ยี งั ใช้อยู่ 16 ฉบับ ได้แก่ 1. คาส่ังหัวหน้า คสช.ท่ี 7/2558 เร่ือง การปฏิบัติหน้าทขี่ องคณะกรรมการ คุรุสภา คณะกรรมการส่งเสริมสวสั ดกิ ารและสวสั ดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) และคณะกรรมการบรหิ ารองคก์ ารคา้ ของ สกสค.ลงวันท่ี 16 เมษายน 2558 , * ยกเลิกคณะกรรมการคุรุสภาชดุ เดมิ และแต่งต้งั ใหม่ใหม้ จี านวน 11 คน (ยังไม่ ล่าสดุ ) * ยกเลิกคณะกรรมการ สกสค.ชดุ เดมิ และแตง่ ตง้ั ใหม่ให้มี 9 คน * ให้ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานทง้ั 2 คณะ 2.คาสัง่ หัวหนา้ คสช.ท่ี 28/2559 เร่ือง ใหจ้ ดั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 15 ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จา่ ย ลงวนั ที่ 15 มิถุนายน 2559, * ยกระดับจากการเป็นโครงการตามนโยบายของแต่ละรฐั บาลให้เปน็ หน้าทข่ี อง รฐั และมาตรการตามกฎหมาย * “การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๑๕ ป”ี หมายความว่า การศกึ ษาตง้ั แต่ระดบั กอ่ น ประถมศกึ ษา (อนุบาล)(ถ้ามี) ระดบั ประถมศึกษา จนถงึ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖ หรือระดับ ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวช. ๓)หรอื เทียบเทา่ และใหห้ มายความรวมถงึ การศกึ ษาพเิ ศษและ การศกึ ษาสงเคราะหด์ ว้ ย * ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการโดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี กาหนดอตั ราค่าใช้จ่ายในการจดั การศึกษาสาหรบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑๕ ปี เพ่ือเสนอตาม กระบวนการจดั ทางบประมาณรายจา่ ยประจาปี ค่าใชจ้ า่ ย ได้แก่ (๑) ค่าจดั การเรยี นการสอน (๒) ค่าหนังสอื เรียน (๓) คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น (๔) คา่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น (๕) ค่ากิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน (๖) ค่าใชจ้ า่ ยอื่นตามท่ีคณะรัฐมนตรีเหน็ ชอบ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 10

ห น้ า | 11 3.คาสง่ั หัวหน้า คสช.ที่ 30/2559 เร่ือง มาตรการในการปอ้ งกันและแก้ไข ปัญหาการทะเลาะววิ าทของนักเรยี นและนักศึกษา ลงวันท่ี 21 มถิ ุนายน 2559, * ใหพ้ นกั งานเจา้ หนา้ ท่ีตามหมวด ๗ แห่งพระราชบัญญตั คิ ุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มีอานาจกักตวั นกั เรยี นและนกั ศึกษาท่กี อ่ เหตุทะเลาะววิ าท ทาร้ายร่างกายผ้อู น่ื หรือ เตรยี มการเพื่อก่อเหตดุ งั กล่าวเปน็ การช่ัวคราวไม่เกินหกช่ัวโมง (ไม่เกนิ 6 ช่วั โมง) เพ่ือนาสง่ เจา้ พนักงานตารวจ ผบู้ ริหารโรงเรียนหรอื สถานศกึ ษา บิดามารดาหรือผู้ปกครอง แลว้ แตก่ รณี * อาจใหผ้ ู้ปกครองวางประกันไวเ้ ป็นจานวนเงนิ ตามสมควรแกฐ่ านานุรูป แต่ จะเรียกเงินประกันไว้ได้ไมเ่ กินระยะเวลาสองปี (ไม่เกิน 2 ปี) หากเดก็ และเยาวชนทเี่ ปน็ นักเรยี นและนกั ศกึ ษาได้กระทาความผิดดังกลา่ วซ้าอีก ใหร้ บิ เงินประกนั เป็นของกองทุน คุ้มครองเด็กตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคมุ้ ครองเดก็ * ผู้ใดกระทาการอันเป็นการยุยง ส่งเสริม ช่วยเหลือ หรือสนบั สนนุ ใหน้ กั เรียน หรือนกั ศึกษาฝา่ ฝืนระเบยี บตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ สามเดอื น หรือปรับไมเ่ กนิ สามหมืน่ บาท หรือทงั้ จาท้ังปรบั (โทษระดับกลางของ พรบ.คมุ้ ครองเดก็ 2546) * หากการกระทาดังกล่าว เป็นเหตใุ หน้ ักเรยี นหรือนกั ศกึ ษาไปกอ่ เหตุทะเลาะ ววิ าทหรือทารา้ ยรา่ งกายผู้อืน่ ผนู้ นั้ ต้องระวางโทษจาคกุ ไม่เกินหกเดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ หก หมื่นบาท หรอื ทง้ั จาทัง้ ปรับ (โทษระดับกลางของ พรบ.คุ้มครองเดก็ 2546) * หากเป็นเหตใุ ห้มีผเู้ สียชีวิตเพราะการทะเลาะววิ าทหรือทาร้ายรา่ งกายน้ัน ผู้ นัน้ ตอ้ งระวางโทษจาคุกไมเ่ กนิ หนง่ึ ปี หรือปรับไมเ่ กินหนึ่งแสนบาท หรอื ทง้ั จาทง้ั ปรับ * ให้โรงเรียนและสถานศกึ ษามีหนา้ ท่ีจดั ใหม้ กี จิ กรรมในการแนะแนวเพื่อ ตอบสนองตอ่ การแกไ้ ขปญั หานักเรยี นและนักศึกษาทะเลาะววิ าท 4.คาส่งั หัวหนา้ คสช.ที่ 39/2559 เรื่อง การจดั ระเบยี บและแกไ้ ขปญั หาธรร มาภบิ าลในสถาบนั อุดมศกึ ษา ลงวนั ท่ี 13 กรกฎาคม 2559, * หลกั การแต่งต้งั บุคคลให้ดารงตาแหน่งนายกสภาสถาบนั อดุ มศกึ ษาหรือ กรรมการสภาสถาบนั อดุ มศกึ ษา * ให้คณะกรรมการการอดุ มศึกษารายงานต่อรัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงศกึ ษาธิการ (เปล่ยี นเปน็ กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม) เม่อื ปรากฏว่าสภาสถาบันอดุ มศกึ ษาหรือสถาบันอดุ มศึกษาจัดการศกึ ษาไมเ่ ป็นไปตามมาตรฐาน การอดุ มศึกษาหรอื มาตรฐานหลกั สตู ร จนอาจก่อให้เกดิ ความเสียหายแกน่ สิ ิตนักศกึ ษา ระบบ การศึกษา สงั คม หรอื ประเทศชาติ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 11

ห น้ า | 12 5.คาส่ังหัวหน้า คสช.ท่ี 73/2559 เรื่อง การปฏบิ ัติหน้าท่ีของผูอ้ านวยการ สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา (เพ่มิ เติม) ลงวนั ท่ี 13 ธนั วาคม 2559, * ใหค้ ณะกรรมการบริหารสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพ การศกึ ษา (สมศ.) ดาเนินการสรรหาและแตง่ ต้ังผูอ้ านวยการสานักงานรบั รองมาตรฐานและ ประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) ข้ึนแทนคนเดิม 6.คาสั่งหัวหน้า คสช.ท่ี 16/2560 เรือ่ ง การบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ลงวนั ท่ี 21 มีนาคม 2560, * ปรบั เปลีย่ น ก.ค.ศ. ใหม่ให้มี 14 คน โดยรัฐมนตรีวา่ การ ศธ. เปน็ ประธาน * ให้ ก.ค.ศ. มอี านาจแตง่ ตัง้ อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั 3 คณะ ดงั น้ี (๑) อ.ก.ค.ศ. วสิ ามญั เกี่ยวกับการอทุ ธรณแ์ ละการร้องทุกข์ (๒) อ.ก.ค.ศ. วิสามญั เกยี่ วกบั วนิ ัยและการออกจากราชการ (๓) อ.ก.ค.ศ. วิสามญั เก่ยี วกับกฎหมายและระเบียบข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา * ให้ อ.ก.ค.ศ. วิสามญั แตล่ ะคณะ มจี านวนไมเ่ กนิ สิบหา้ คน โดยมปี ระธาน อนุกรรมการ ซ่งึ แตง่ ตั้งจากกรรมการใน ก.ค.ศ. เว้นแต่มีเหตุผลความจาเปน็ อาจแต่งต้ังบคุ คลอนื่ ทไี่ มเ่ ป็นกรรมการใน ก.ค.ศ. เป็นประธานอนุกรรมการก็ได้ * ใหแ้ ก้ไขคาว่า “ขน้ั เงินเดือน” ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา เป็นคาวา่ “เงนิ เดือน” ทุกแห่ง * ยกเลิกกรณกี ารใช้ “รักษาราชการแทน” ในระดับสถานศกึ ษา และให้ใช้ “รกั ษาการในตาแหน่ง” 7.คาส่งั หัวหนา้ คสช.ท่ี 17/2560 เรอ่ื ง แกไ้ ขเพ่ิมเติมคาส่งั หัวหน้า คสช.ที่ 7/2558 ลงวันท่ี 21 มีนาคม 2560, * ยกเลิกคณะกรรมการคุรุสภาชุดเดิม และแตง่ ตงั้ ใหม่ใหม้ จี านวน 12 คน (ล่าสดุ แล้ว) Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 12

ห น้ า | 13 8.คาสงั่ หัวหนา้ คสช.ท่ี 29/2560 เรื่อง การส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาโดย สถาบันอดุ มศกึ ษาทมี่ ศี กั ยภาพจากต่างประเทศ ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2560, * การพฒั นาประเทศในพื้นท่ีระเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก Eastern Economic Corridor (EEC) 3 จงั หวัดภาคตะวนั ออกได้แก่ จงั หวัดฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี และ ระยอง ซ่ึงเปน็ พ้ืนทท่ี ่มี ศี กั ยภาพทางเศรษฐกจิ สูง * ให้มคี ณะกรรมการพฒั นาการจัดการศกึ ษาโดยสถาบันอดุ มศกึ ษาทมี่ ศี ักยภาพ สูงจากต่างประเทศ เรยี กโดยยอ่ วา่ “คพอต.” โดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นประธานกรรมการ 9.คาสง่ั หัวหน้า คสช.ที่ 37/2560 เรอ่ื ง การแก้ไขปญั หาการบรหิ ารงานของ สถาบันอุดมศกึ ษา ลงวันท่ี 8 สงิ หาคม 2560, * ใหส้ ถาบนั อุดมศึกษามีอานาจแต่งต้งั บุคคลใดที่มิได้เปน็ ข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอดุ มศึกษาหรือเป็นพนักงานในสถาบันอดุ มศึกษามาดารงตาแหน่งอธกิ ารบดี รอง อธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดีหรอื หวั หน้าหนว่ ยงานที่เรียกชอ่ื อย่างอน่ื ทม่ี ีฐานะเทียบเทา่ คณะได้ 10.คาสง่ั หวั หน้า คสช.ที่ 11/2561 เร่ือง การแก้ไของค์ประกอบของ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี ตามกฎหมายว่าดว้ ยวา่ สภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ลง วนั ท่ี 25 กรกฎาคม 2561, * แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ องค์ประกอบของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ (กมว.) ใหม้ ี 17 คน โดยประธานจะเป็นผูท้ ่ีรฐั มนตรแี ตง่ ตงั้ จากบคุ คลทม่ี คี วามรู้ ความเช่ียวชาญ และ ประสบการณ์สงู เกย่ี วกับวิชาชพี ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 11.ประกาศ คสช.ที่ 2/2559 ลงวันท่ี 3 ตลุ าคม 2559 เรื่อง กาหนดรายชอ่ื สถาบนั อุดมศึกษาอ่นื ตามคาสงั่ หวั หนา้ คสช.ท่ี 39/2559 เรอื่ ง การจดั ระเบียบและแกไ้ ข ปญั หาธรรมาภบิ าลในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ลงวนั ที่ 12 กรกฎาคม 2559 , * ให้สถาบันอุดมศึกษาดงั ต่อไปนี้ เป็นสถาบันอดุ มศึกษาอ่นื ตามวรรคสองของ ขอ้ ๑๒ แหง่ คาสั่งหวั หน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๙/๒๕๕๙ เร่อื ง การจดั ระเบยี บ และแกไ้ ขปัญหาธรรมาภิบาลในสถาบนั อุดมศึกษา ลงวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม พุทธศกั ราช ๒๕๕๙ (๑) มหาวทิ ยาลัยบรู พา (๒) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 13

ห น้ า | 14 12.ประกาศ คสช.ที่ 1/2560 ลงวนั ท่ี 23 มิถนุ ายน 2560 เรื่อง กาหนด รายชื่อสถาบนั อดุ มศึกษาอ่นื ตามคาสัง่ หัวหน้า คสช.ที่ 39/2559 เรื่อง การจัดระเบยี บและ แกไ้ ขปัญหาธรรมาภบิ าลในสถาบันอุดมศกึ ษา ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 * ใหม้ หาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราชเป็นสถาบันอุดมศึกษาอน่ื ตามวรรคสอง ของขอ้ ๑๒ แห่งคาส่ังหวั หนา้ คณะรกั ษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๓๙/๒๕๕๙ เร่ือง การจัด ระเบียบและแกไ้ ขปญั หาธรรมาภิบาลในสถาบนั อดุ มศกึ ษา ลงวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ 13.ประกาศ คสช.ท่ี 1/2561 ลงวนั ที่ 5 กรกฎาคม 2561 เร่อื ง กาหนด รายชอ่ื สถาบันอดุ มศกึ ษาอ่นื ตามคาสั่งหัวหน้า คสช.ท่ี 39/2559 เรื่อง การจัดระเบยี บและ แกไ้ ขปญั หาธรรมาภบิ าลในสถาบันอดุ มศกึ ษา ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 * ใหม้ หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนาเป็นสถาบนั อุดมศกึ ษาอืน่ ตาม วรรคสองของข้อ ๑๒ แห่งคาส่ังหัวหนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ ท่ี ๓๙/๒๕๕๙ เรือ่ ง การ จดั ระเบียบและแก้ไขปญั หาธรรมาภบิ าลในสถาบนั อุดมศึกษา ลงวนั ท่ี ๑๒ กรกฎาคม พทุ ธศักราช ๒๕๕๙ 14.คาสั่งหัวหน้า คสช.ที่ 8/2559 เร่ือง การบริหารจัดการรวมสถานศึกษา อาชวี ศกึ ษาภาครัฐและภาคเอกชน ลงวนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 , * ให้โอนบรรดาอานาจหน้าที่ของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา เอกชนสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ในส่วนที่เก่ียวกับการดาเนินงานโรงเรียน ในระบบประเภทอาชีวศึกษาไปเป็นอานาจหน้าท่ีของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 15.คาสงั่ หวั หน้า คสช.ท่ี 19/2560 เรื่อง การปฏิรูปการศกึ ษาในภมู ิภาค ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ลงวันที่ 3 เมษายน 2560 * ให้มคี ณะกรรมการขับเคล่ือนการปฏริ ปู การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในภูมิภาค (คปภ.) ซ่ึงมี 9 ตาแหน่ง มีจานวนคน 10 คน (เพราะมีรัฐมนตรีช่วยฯ ศธ. 2 คน) ประกอบด้วย (๑) รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นประธานกรรมการ (๒) รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ เป็นกรรมการ (๓) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน เปน็ กรรมการ (๔) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เปน็ กรรมการ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 14

ห น้ า | 15 (๕) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เปน็ กรรมการ (๖) เลขาธกิ ารสภาการศึกษา เปน็ กรรมการ (๗) ประธานสภาหอการคา้ แห่งประเทศไทย เปน็ กรรมการ (๘) ประธานสภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย เปน็ กรรมการ (๙) ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เป็นกรรมการและเลขานุการ * คปภ. มอี านาจหน้าท่ี เชน่ 1.กาหนดทศิ ทางการดาเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในระดบั ภูมภิ าคหรอื จงั หวัด 2.วางแผนงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาค หรือจงั หวดั 3.เกลี่ยอัตรากาลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เงินงบประมาณและ ทรพั ยส์ ินของสว่ นราชการตา่ ง ๆ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร 4.แต่งต้ัง โอน หรือย้ายผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือ ผู้ปฏิบัติงานในตาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิการในระดับภูมิภาคหรือ จังหวดั * ให้มีสานักงานศึกษาธิการภาค จานวนสิบแปดภาค สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ตามบัญชีท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด เพื่อ ปฏิบตั ภิ ารกจิ ของกระทรวงศกึ ษาธิการในระดบั พืน้ ท่ี * ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้มีอานาจส่ังบรรจุศึกษาธิการภาค และสั่งบรรจุ และแต่งต้ังรองศกึ ษาธิการภาค จากขา้ ราชการในกระทรวงศกึ ษาธิการ * ในแต่ละจังหวดั ใหม้ ีคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวัด จานวนไม่เกนิ 15 คน เรียก โดยยอ่ ว่า “กศจ.” กศจ. ประกอบด้วย (๑) ผ้วู ่าราชการจังหวดั หรือรองผวู้ ่าราชการจงั หวัดที่ไดร้ ับมอบหมาย เป็นประธาน กรรมการ (๒) ศึกษาธิการภาคในพ้นื ท่ีท่รี ับผิดชอบ เป็นรองประธานกรรมการ (๓) ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ผู้แทนสานกั งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ผู้แทนสานักงาน คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริม การศึกษาเอกชน และผู้แทนสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปน็ กรรมการ (๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวนไมเ่ กินหกคน ซ่ึงรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 15

ห น้ า | 16 แต่งต้ังโดยความเห็นชอบของ คปภ. โดยอย่างน้อยต้องมีผู้แทนองค์กรภาคเอกชน ผแู้ ทนองคก์ รวิชาชพี และผแู้ ทนภาคประชาชน ด้านละหนึง่ คน (๕) ศกึ ษาธิการจงั หวดั เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร (๖) รองศกึ ษาธกิ ารจังหวดั เป็นผ้ชู ่วยเลขานุการ หมายเหตุ *(กรงุ เทพมหานคร ให้ คปภ.ทาหน้าทเี่ ปน็ กศจ.ของกรุงเทพมหานคร) * ให้ กศจ. เสนอ คปภ. เพอื่ แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการศกึ ษาธิการจังหวัด ซึ่งมีไมเ่ กิน 9 คน เรียกโดยย่อว่า “อกศจ.” เพือ่ ชว่ ยเหลอื หรอื กลั่นกรองงานให้แก่ กศจ. * อกศจ. ประกอบดว้ ย (๑) กรรมการใน กศจ. จานวนหน่งึ คน เปน็ ประธานอนุกรรมการ (๒) กรรมการใน กศจ. จานวนสองคน เปน็ อนกุ รรมการ (๓) ผู้อานวยการสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาหรือผู้อานวยการสถานศกึ ษาใน จังหวัดจานวนสองคนเปน็ อนุกรรมการ (๔) ผทู้ รงคณุ วุฒิ ซงึ่ มไิ ดเ้ ป็นกรรมการใน กศจ. จานวนไมเ่ กินสามคน เป็นอนุกรรมการ (๕) ศึกษาธิการจงั หวดั เป็นอนกุ รรมการและเลขานุการ * การบรรจแุ ละแตง่ ต้ังข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในจังหวดั หรอื กรงุ เทพมหานครตามมาตรา ๕๓ (๓) และ (๔) แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบยี บ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ใหศ้ ึกษาธกิ ารจังหวดั โดยความ เห็นชอบของ กศจ.เป็นผมู้ อี านาจสง่ั บรรจแุ ละแต่งตัง้ 16.คาสง่ั หวั หน้า คสช.ท่ี 27/2560 เรื่อง การพัฒนาการศกึ ษาของประเทศ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลงวนั ที่ 26 พฤษภาคม 2560 * การจัดการศึกษาโดยสถานศึกษาทม่ี ศี กั ยภาพสูง(จากต่างประเทศ) ใหด้ าเนนิ การได้ใน เขตพ้นื ที่ระเบยี งเศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวันออก Eastern Economic Corridor (EEC) ( 3 จังหวดั ภาคตะวันออกไดแ้ ก่ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 16

ห น้ า | 17 คาสง่ั และประกาศ คสช. เกยี่ วกบั การศึกษา ทย่ี กเลิกแลว้ 7 ฉบับ ไดแ้ ก่ 1.ประกาศ คสช.ที่ 9/2557 เรอ่ื ง ให้สถานศึกษาหยดุ ทาการ ลงวันท่ี 22 พฤษภาคม 2557, 2.ประกาศ คสช.ที่ 16/2557 เร่อื ง ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการปฏิบัติราชการแทน รฐั มนตรีเปน็ การชว่ั คราว ลงวันที่ 22 พฤษภาคม 2557, 3.คาสั่งหวั หน้า คสช.ท่ี 10/2559 เรือ่ ง การขบั เคล่อื นการปฏิรูปการศกึ ษาของ กระทรวงศกึ ษาธิการในภูมภิ าค ลงวนั ที่ 21 มีนาคม 2559, (ให้ยบุ เลิก อ.ก.ค.ศ.เขตพน้ื ที่ การศึกษา และต้งั กศจ.ขน้ึ ทาหนา้ ทแี่ ทนอ.ก.ค.ศ.เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา และตัง้ อกศจ.เพือ่ กล่ันกรองงานให้ กศจ. ) 4.คาส่งั หวั หน้า คสช.ที่ 11/2559 เรอ่ื ง การบริหาราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ในภูมภิ าค ลงวันท่ี 21 มีนาคม 2559, (ต้งั ศึกษาธกิ ารภาค 18 ภาค, ต้ังศกึ ษาธกิ ารจังหวัด ,ต้ังสานักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด) 5.คาสง่ั หวั หน้า คสช.ที่ 23/2559 เรื่อง การปฏิบัตหิ น้าทข่ี องผอู้ านวยการสานกั งาน รับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ). ลงวันท่ี 16 พฤษภาคม 2559, (ระงับการปฏิบตั หิ นา้ ที่ของ ผอ.สมศ.) 6.คาส่ังหวั หน้า คสช.ท่ี 38/2559 เรอื่ ง แก้ไขคาสงั่ หวั หนา้ คสช.ที่ 10/2559 และ คาสัง่ หวั หน้า คสช.ที่ 11/2559 ลงวันท่ี 12 กรกฎาคม 2559 7.คาส่ังหวั หน้า คสช.ท่ี 1/2560 เรอื่ ง การแก้ไขปญั หาการบริหารงานบุคคลของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ลงวันที่ 10 มกราคม 2560 (ยกเลิกเฉพาะขอ้ 8 ส่วนขอ้ อนื่ ยังไม่ ยกเลกิ ) ขอ้ 8. คือ ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธิการมีศกึ ษาธกิ ารภาค และรองศึกษาธกิ ารภาคจานวนสิบ สองคน (ยกเลิกแลว้ ) Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 17

ห น้ า | 18 ตัวอยา่ งแนวขอ้ สอบ คาส่งั และประกาศ คสช. ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การศึกษา 1.จากคาสั่งหวั หนา้ คสช.ที่ 28/2559 เร่อื ง ใหจ้ ัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี ขอ้ ใดไมใ่ ช่ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาสาหรับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ๑๕ ปี ก.คา่ จัดการเรยี นการสอน ข.ค่าเครอ่ื งแบบนักเรียน ค.คา่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน ง.ค่าใชจ้ ่ายอนื่ ตามที่ สพฐ.เหน็ ชอบ ตอบ ง.คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ตามท่ี สพฐ.เหน็ ชอบ เพราะท่ถี ูกคอื คา่ ใช้จา่ ยอื่นตามที่คณะรฐั มนตรี เห็นชอบ 2.คาสง่ั หัวหนา้ คสช.ที่ 30/2559 เรอื่ ง มาตรการในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการทะเลาะ วิวาทของนักเรียนและนักศกึ ษา ใหพ้ นักงานเจ้าหน้าทมี่ ีอานาจกักตวั นกั เรยี นและนักศกึ ษาที่ ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ทาร้ายรา่ งกายผอู้ ่ืน หรือเตรียมการเพ่อื กอ่ เหตดุ ังกล่าวเปน็ การช่ัวคราว ไว้เป็นระยะเวลาเทา่ ใด ก. 6 ชั่วโมง ข. ไม่เกิน 6 ชวั่ โมง ค. 12 ชว่ั โมง ง. ไมเ่ กิน 12 ช่ัวโมง ตอบ ข. ไม่เกิน 6 ชั่วโมง 3.คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการปฏิรูปการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารในภูมิภาค (คปภ.) เกดิ จากคาสง่ั ในขอ้ ใด ก.คาสง่ั หัวหน้า คสช.ที่ 19/2560 ข.คาสั่งหัวหน้า คสช.ท่ี 10/2559 ค.คาสัง่ หัวหน้า คสช.ที่ 11/2559 ง.คาสง่ั หัวหน้า คสช.ที่ 10/2560 ตอบ ก.คาส่ังหวั หน้า คสช.ท่ี 19/2560 4.ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ตอ้ งเกีย่ วกับคาส่งั หัวหน้า คสช.ที่ 29/2560 เร่อื ง การสง่ เสริมการจดั การศกึ ษาโดยสถาบันอดุ มศกึ ษาทมี่ ศี กั ยภาพจากตา่ งประเทศ ลงวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ก.การพฒั นาประเทศในพื้นท่รี ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก Eastern Economic Corridor (EEC) 3 จังหวดั ภาคตะวันออกได้แก่ จังหวัดฉะเชงิ เทรา ชลบุรี และ จันทบรุ ี ข.ให้มีคณะกรรมการพฒั นาการจัดการศึกษาโดยสถาบันอดุ มศกึ ษาท่มี ีศักยภาพสงู จาก ตา่ งประเทศ เรียกโดยย่อวา่ “คพอต.” ค.รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ ประธานกรรมการ คพอต. ง.กลา่ วถกู ต้องทุกขอ้ ตอบ ก. เพราะ 3 จงั หวดั ทถ่ี กู ต้อง คอื ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี และระยอง Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 18

ห น้ า | 19 พระราชบัญญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. ๒๕62 • บังคบั ใชว้ นั ท่ี 20 สิงหาคม พ.ศ.2542 มี 9 หมวด 78 มาตรา ส่ิงทีต่ ้องรู้ • นายกรัฐมนตรีเป็นผ้รู ับสนองพระบรมราชโองการ พ.ร.บ. ทกุ ฉบบั • เป็นกฎหมายแมบ่ ทวา่ ด้วยการศกึ ษาแห่งชาติ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ินี้ “การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพ่ือความเจริญงอกงามของบคุ คลและ สังคมโดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ จรรโลงความกา้ วหน้าทางวิชาการ การสร้างองคค์ วามรู้อันเกิดจากการจดั สภาพแวดลอ้ ม สงั คม การเรยี นร้แู ละปจั จัยเกือ้ หนนุ ใหบ้ ุคคลเรียนร้อู ยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิต “การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน” หมายความว่า การศึกษากอ่ นระดับอดุ มศกึ ษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่าง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตได้อย่างตอ่ เนอื่ งตลอดชีวติ “สถานศึกษา” หมายความวา่ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัย โรงเรยี น ศูนยก์ ารเรียน วทิ ยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ท่ีมีอานาจ หน้าท่หี รอื มีวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจดั การศึกษา “สถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน” หมายความว่า สถานศกึ ษาทจ่ี ดั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึง ประสงค์และมาตรฐานท่ีต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพ่ือใช้เป็นหลักในการ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 19

ห น้ า | 20 เทียบเคียงสาหรับการส่งเสริมและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกัน คณุ ภาพทางการศกึ ษา (แทรก) กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ “การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แต่ละระดับและประเภท การศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม ตรวจสอบ ระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาที่ สถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือให้เกิดการพัฒนา และสร้างความเช่ือม่ัน ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและ สาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ัน สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน การศึกษา และบรรลเุ ป้าประสงค์ของหน่วยงานตน้ สังกัดหรอื หน่วยงานท่กี ากับดแู ล ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐาน การศกึ ษาแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษาท่ีรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการประกาศ กาหนด พร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนา การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง ให้แก่หน่วยงานต้น สงั กดั หรอื หนว่ ยงานทก่ี ากบั ดูแลสถานศกึ ษาเป็นประจาทุกปี เพื่อให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหน่ึงเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษามีหน้าท่ีในการให้ คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษาเพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (จบการแทรกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ) “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา่ การประเมนิ ผลและการตดิ ตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา นน้ั เอง หรอื โดยหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ท่ีมหี น้าท่ีกากบั ดูแลสถานศึกษานั้น “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานกั งานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.)(องค์การมหาชน)หรือบุคคลหรือหน่วยงาน Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 20

ห น้ า | 21 ภายนอกท่ีสานักงานดังกล่าวรับรอง เพ่ือเป็นการประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา “ผู้สอน” หมายความว่า ครแู ละคณาจารย์ในสถานศึกษาระดบั ตา่ ง ๆ “ครู” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและ การสง่ เสริมการเรียนรู้ของผเู้ รยี นด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ ในสถานศึกษาท้ังของรัฐและเอกชน “คณาจารย์” หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจยั ใน สถานศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาของรฐั และเอกชน “ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพท่ีรับผิดชอบการบริหาร สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ ท้งั ของรัฐและเอกชน “ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บคุ ลากรวชิ าชีพทีร่ ับผิดชอบการบริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาตง้ั แตร่ ะดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษาขึ้นไป “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมท้ังผู้สนับสนุนการศึกษาซ่ึงเป็นผู้ทาหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเน่ืองกับการจัด กระบวนการเรยี นการสอน การนเิ ทศ และการบริหารการศึกษาในหนว่ ยงานการศึกษาต่าง ๆ สง่ิ ทีต่ อ้ งรู้ • ระวังนยิ ามของ “การศึกษา” ใหด้ ี....โจทยจ์ ะถามว่า ขอ้ ใดไมใ่ ชค่ วามหมายของ การศกึ ษา......การสืบสานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรค์จรรโลงความกา้ วหนา้ ทาง วชิ าการ การสร้างองค์ความรู้อนั เกิดจากการจดั สภาพแวดล้อม สงั คม เป็น ความหมายของการศกึ ษานะครบั .....แต่..การสัง่ สอน...ไม่ใชค่ วามหมายของ การศึกษาตาม พ.ร.บ.นี้นะครับ • ทอ่ งความหมายของ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน คือ การศึกษาก่อนระดบั อุดมศึกษา ...........ในปี พ.ศ. 2558 ออกตวั เลอื กหลอกมาวา่ เป็น ปวส. ครบั !!! • การศกึ ษาตลอดชวี ิต คือ ผสมสามอย่าง ได้แก่ ในระบบ +นอกระบบ+ อธั ยาศัย ความหมายของสถานศกึ ษาใหจ้ าสามตัวแรกเรียงกนั เลย คือ สถานพัฒนาเด็ก ปฐมวยั โรงเรยี น ศนู ย์การเรยี น....เพราะจะเกดิ ประโยชนส์ องต่อในมาตราที่ 18 อีก ทคี รับ.....และสังเกตวา่ พรบ.การศกึ ษาแห่งชาติ 2542 นจ้ี ะรวมมหาวิทยาลยั ไว้ดว้ ย ...แตค่ วามหมายของสถานศึกษาตาม พรบ.ระเบยี บขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 21

ห น้ า | 22 ทางการศกึ ษา 2547 จะไม่รวมถงึ มหาวิทยาลยั ....เพราะในมหาวทิ ยาลยั ไมม่ ี ขา้ ราชการครู !!!....มแี ตค่ ณาจารย์ • คาสาคญั ของ มาตรฐานการศึกษา คอื คาว่า คุณลักษณะ,เทยี บเคียง.........เจอสอง คานท้ี ีไ่ หน จะหมายถึง มาตรฐานการศึกษา สิ่งทีต่ ้องรู้ • ประกนั ภายใน โรงเรียนต้องทาโดยบคุ ลากรของสถานศกึ ษานั้นทกุ ปี และหน่วยงาน ต้นสงั กัดจะเข้ามากากับดแู ลอยา่ งนอ้ ย 1 ครงั้ ในทกุ 3 ปี • ประกนั ภายนอก จะมี สมศ. หรอื บคุ คลท่สี มศ.รับรอง หรอื หนว่ ยงานทีส่ มศ.รับรอง เขา้ มาตรวจสอบอย่างน้อย 1 ครัง้ ในทุก 5 ปี.... • ครู ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ผ้บู ริหารการศึกษา เปน็ บคุ ลากรวชิ าชีพ • คณาจารยเ์ ป็นบุคลากร......แต่ไมม่ คี าว่าวิชาชีพ !!! • ความหมายของผูบ้ รหิ าร จะมคี าว่า รับผดิ ชอบ .....นอกนั้นจะไมม่ ีคาวา่ รบั ผิดชอบ • ครูทาหน้าท่ี 2 อยา่ ง คือ 1.ดา้ นการเรยี นการสอน 2. ดา้ นส่งเสริมการเรยี นรู้ • ระวัง..!! ครู ....ไมใ่ ช่บุคลากรทางการศึกษานะครบั !!! หมวด ๑ บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลกั การ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ัง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยูร่ ่วมกับผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ตอ้ งมุ่งปลกู ฝังจิตสานึกทีถ่ กู ตอ้ งเกยี่ วกับการเมอื งการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริม สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มี ความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ัง ส่งเสริมศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และ ความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีความสามารถใน Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 22

ห น้ า | 23 การประกอบอาชีพ รู้จักพ่ึงตนเอง มีความริเร่ิมสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่าง ต่อเนอ่ื ง มาตรา ๘ การจัดการศึกษาใหย้ ดึ หลักดงั น้ี ….ทอ่ งจา (๑) เป็นการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาหรับประชาชน (๒) ใหส้ งั คมมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษา (๓) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรใู้ ห้เปน็ ไปอย่างต่อเน่อื ง สิ่งท่ตี อ้ งรู้ • มาตรา 6 คอื ความม่งุ หมายของการจดั การศึกษา ระวัง..!! ไม่ใชจ่ ุดม่งุ หมายของ การศึกษา • มาตรา 7 คอื กระบวนการเรียนร.ู้ ..........สทิ ธ์ิ หน้าท่ี ระบอบประชาธปิ ไตย • มาตรา 8 คอื หลักการจดั การศกึ ษา .......ใหท้ อ่ งจาทงั้ สามข้อย่อยใหแ้ ม่นยาให้ มากๆ ออกข้อสอบทกุ คร้งั !!! • ระวงั !!!...มาตรา 8 วรรค 3 โจทย์จะหลอกวา่ ....การพัฒนาสาระการเรยี นรู้และ กระบวนการเรยี นรูใ้ หเ้ ป็นไปอยา่ งตอ่ เน่อื ง....หรอื หลอกว่าการพัฒนาสาระและการ จดั การเรยี นรู้ใหเ้ ป็นไปอย่างตอ่ เนื่อง มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสรา้ ง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดงั น้ี (๑) มีเอกภาพดา้ นนโยบาย และมคี วามหลากหลายในการปฏิบัติ (๒) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ (๓) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา ทกุ ระดบั และประเภทการศึกษา Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 23

ห น้ า | 24 (๔) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ศกึ ษา และการพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง (๕) ระดมทรพั ยากรจากแหลง่ ตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการจดั การศึกษา (๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ส่งิ ทต่ี ้องรู้ • ดคู าที่ขดี เสน้ ใต้ จะเปน็ คาสาคญั ในการจาเป็นสูตรของมาตรา 9 โดยเฉพาะ ดังน้ี “ เอก กระจาย มาตร เสริม ระดม รว่ ม “ • มาตรา 9 วรรค 2 พดู ถึงเรอ่ื งกระจายอานาจไปท่ี เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา สถานศกึ ษา และ อปท. ทอ่ งจาให้ด.ี ...........ซง่ึ ต่างจากมาตรา 39 จะกระจายอานาจไปท่ี คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา และสถานศึกษา .......ระวงั !!! ถา้ โจทย์ถามการกระจายอานาจ ตอ้ งดวู า่ กระจายอานาจตามมาตราใด ....แนวขอ้ สอบ... ข้อใดเปน็ ความมงุ่ หมายของการจดั การศกึ ษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 ก.เพอ่ื พัฒนาคนไทยใหเ้ ป็นมนษุ ย์ท่ีสมบรู ณ์ ข.เพือ่ พฒั นาผ้เู รียนให้เป็นมนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ ค.เพ่ือพัฒนาประชาชนไทยใหเ้ ปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ ง.เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ที่สมดลุ เฉลย ก.เพอื่ พฒั นาคนไทยให้เป็นมนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 24

ห น้ า | 25 หมวด ๒ สทิ ธแิ ละหน้าท่ีทางการศกึ ษา มาตรา ๑๐ การจดั การศกึ ษา ตอ้ งจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกนั ในการ รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐต้องจัดให้อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไม่ เกบ็ คา่ ใช้จ่าย การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซ่ึงมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการ หรือทุพพลภาพหรือบุคคลซ่ึงไม่ สามารถพ่ึงตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาส ได้รบั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานเปน็ พเิ ศษ การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดต้ังแต่แรกเกิดหรือพบความพกิ าร โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ ความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่กี าหนดในกฎกระทรวง การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบท่ี เหมาะสมโดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น ส่ิงท่ีต้องรู้ • มาตรา 10 พูดเรอื่ ง สิทธแิ ละโอกาสในการรบั การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน....ท่ีเน้นใชค้ าว่า .... ไมน่ ้อยกว่าสบิ สองปี...นน่ั หมายความวา่ รัฐจะจัดการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 12 ปพี อดกี ็ได้ จะจดั 13 ปีก็ได้ หรือ 14 ปีก็ได้ ไมผ่ ดิ !!!...แตห่ า้ มตา่ กว่า 12 ป.ี ...และมีคาสาคญั คอื .... ท่ัวถงึ , มีคุณภาพ , ไมเ่ ก็บคา่ ใช้จา่ ย • ระวงั .!!!.....จาและจบั คคู่ าเหล่าน้ไี วค้ รบั ................ • คนบกพรอ่ ง ต้องจดั เป็นพเิ ศษ • คนพิการ ตอ้ งจดั ต้ังแต่แรกเกดิ หรอื พบความพกิ าร • คนท่ีมคี วามสามารถพิเศษ ต้องจดั รปู แบบท่ีเหมาะสม • คนพิการจะได้รับสิทธิอะไร ใหด้ ใู นกฎกระทรวง.......ระวัง!!!...โจทยจ์ ะหลอกเป็น ประกาศกระทรวง.....หรอื ระเบียบ สพฐ..... • มาตรา 11 กบั มาตรา 17 จะตอ้ งดูคู่กนั ......กล่าวถึงหน้าทข่ี องผ้ปู กครองทีจ่ ะตอ้ งสง่ ลูก เข้าเรียนในการศึกษาภาคบงั คบั Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 25

ห น้ า | 26 • ระวัง.!!!....... การศึกษาภาคบังคับหมายถงึ กฎหมายบงั คับให้ผปู้ กครองสง่ ลกู เขา้ เรยี น เปน็ หน้าท่ีของผูป้ กครองท่ีต้องส่งลูกเขา้ เรียน......ไมใ่ ชส่ ทิ ธิของผ้ปู กครอง..........เปน็ หน้าท่ี ไม่ใชส่ ิทธิ…ถา้ ไม่สง่ ลกู เข้าเรียน...ถูกปรับไมเ่ กนิ 1,000 บาท • ถ้าเดก็ เรียนจบ ม.3 แล้ว ตอ้ งการเรยี นต่อ ข้ึนอยกู่ บั ....ความพรอ้ มของครอบครัว..... ระวงั !!! โจทย์จะหลอกเปน็ ตามความพรอ้ มของนักเรียน มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าท่ีจัดให้บุตรหรือบุคคลซ่ึงอยู่ในความ ดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๑๗ และตามกฎหมายที่เก่ียวข้องตลอดจนให้ได้รับ การศึกษานอกเหนอื จากการศกึ ษาภาคบังคับ ตามความพรอ้ มของครอบครวั มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชมุ ชน องค์กรเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ังน้ี ให้เป็นไปตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรอื ผ้ปู กครองมสี ทิ ธไิ ดร้ บั สิทธปิ ระโยชน์ ดังต่อไปนี้ (๑) การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเล้ียงดู และการให้ การศกึ ษาแก่บุตรหรือบุคคลซงึ่ อยใู่ นความดูแล (๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซ่ึงอยู่ใน ความดแู ลทค่ี รอบครวั จัดให้ ทัง้ นี้ ตามท่กี ฎหมายกาหนด (๓) การลดหยอ่ นหรอื ยกเว้นภาษีสาหรับค่าใชจ้ ่ายการศึกษาตามท่ีกฎหมายกาหนด มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน มีสทิ ธิไดร้ บั สทิ ธิประโยชน์ตามควรแกก่ รณี ดงั ต่อไปน้ี (๑) การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซ่ึงอยู่ใน ความดูแลรับผิดชอบ (๒) เงินอุดหนนุ จากรฐั สาหรบั การจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานตามท่ีกฎหมายกาหนด (๓) การลดหย่อนหรอื ยกเวน้ ภาษสี าหรับคา่ ใช้จ่ายการศึกษาตามทกี่ ฎหมายกาหนด Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผ้บู รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 26

ห น้ า | 27 ส่ิงทีต่ อ้ งรู้ • มาตรา 13 และมาตรา 14 สรปุ รวมวา่ บดิ า มารดา ผ้ปู กครอง บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรวชิ าชีพ ........มีสิทธไิ ดร้ ับ 3 อย่าง ดังนี้ • 1.การสนับสนุนจากรัฐ............. ใหม้ ีความรู้ • 2.ไดร้ ับเงินอุดหนนุ จากรฐั สาหรบั การจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานเทา่ นัน้ ...ระวงั !!!.....โจทย์ จะหลอกเป็น ...ได้รับเงินอุดหนนุ จากรัฐสาหรับค่าใช้จา่ ยทัว่ ไปของบตุ ร……ไมใ่ ช่ท่วั ไป นะครบั • 3.การลดหยอ่ นหรอื ยกเวน้ ภาษีสาหรบั ค่าใชจ้ ่ายการศกึ ษา...ระวงั !!!..โจทย์จะหลอก เปน็ การลดหย่อนภาษีหรอื ยกเว้นภาษสี าหรบั คา่ ใช้จา่ ยทั่วไป........ไมใ่ ช่ท่ัวไปนะครบั หมวด ๓ ระบบการศึกษา มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก ระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย (๑) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาท่ีกาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นเง่ือนไขของการสาเร็จการศึกษาท่ี แน่นอน (๒) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึงเป็นเง่ือนไข สาคัญของการสาเร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับ สภาพปญั หาและความตอ้ งการของบคุ คลแตล่ ะกลมุ่ (๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความ สนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดลอ้ ม ส่ือ หรือแหลง่ ความร้อู น่ื ๆ \"สถานศกึ ษาอาจจัดการศกึ ษาในรปู แบบใดรูปแบบหนง่ึ หรือทั้งสามรูปแบบก็ได้\" ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่าง รปู แบบได้ ไมว่ า่ จะเป็นผลการเรยี นจากสถานศึกษาเดียวกนั หรือไมก่ ต็ าม รวมทั้งจากการเรียนรู้ นอกระบบ ตามอัธยาศยั การฝกึ อาชีพ หรอื จากประสบการณ์การทางาน Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผ้บู รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 27

ห น้ า | 28 สง่ิ ทต่ี ้องรู้ • มาตรา 15 การจัดการศึกษามี 3 รปู แบบ คอื ในระบบ นอกระบบ อัธยาศยั • การศกึ ษาในระบบ มคี าสาคัญ คือ เง่ือนไขการสาเรจ็ การศึกษาท่ีแน่นอน • การศึกษานอกระบบ มีคาสาคญั คือ มีความยดื หยุน่ • การศกึ ษาตามอธั ยาศัยมคี าสาคัญ คอื ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส • จาประโยคท้งั สามตอ่ ไปนไ้ี วค้ รบั ........แสดงถึงสทิ ธใิ นการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษา อปท. และเอกชน • มาตรา 15 สถานศกึ ษา อาจจดั การศกึ ษารูปแบบใดรปู แบบหนึง่ หรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ • มาตรา 41 องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น มีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดบั หนงึ่ หรือทุกระดบั • มาตรา 45 สถานศึกษาเอกชน จัดการศกึ ษาได้ทกุ ระดับและทกุ ประเภท มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาข้ันพื้นฐาน และการศึกษา ระดับอุดมศึกษา การศึกษาขั้นพ้ืนฐานประกอบด้วย การศึกษาซ่ึงจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อน ระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนด ในกฎกระทรวง การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญา และระดับ ปรญิ ญา การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ เป็นไปตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๗ ให้มีการศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีท่ีเจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานจนอายุย่างเข้าปีท่ีสิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของ การศึกษาภาคบงั คับ หลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารนับอายุใหเ้ ป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 28

ห น้ า | 29 มาตรา ๑๘ การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาข้ันพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา ดังต่อไปน้ี (๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเร่ิมของเด็กพิการและเด็กซึ่งมี ความต้องการพิเศษ หรือสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ทเี่ รียกช่อื อย่างอืน่ (๒) โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนท่ีสังกัดสถาบันพุทธ ศาสนาหรือศาสนาอนื่ (๓) ศูนย์การเรียน ได้แก่ สถานท่ีเรียนที่หน่วยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น องคก์ รเอกชน องค์กรวชิ าชพี ... ..... สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และ สถาบันสังคมอ่ืนเป็นผจู้ ดั ...แนวขอ้ สอบ... ข.ศูนยพ์ ัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ของสถาบนั ศาสนา ขอ้ ใดเป็นศนู ยก์ ารเรยี น ง.โรงพยาบาล ก.ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ค.โรงเรยี นของรัฐ เฉลย ง. โรงพยาบาล ...แนวข้อสอบ... ขอ้ ใด ผู้ทป่ี ฏิบัติงานดา้ นการสอนต้องมใี บอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครู ก.องค์กรชมุ ชน ข.องคก์ รเอกชน ค.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ง.สถาบันทางการแพทย์ เฉลย ค.ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็ก Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 29

ห น้ า | 30 ส่งิ ทตี่ ้องรู้ • มาตรา 16 การศึกษาในระบบมี 2 ระดับ คอื ขัน้ พนื้ ฐาน + อดุ มศกึ ษา.......ระวงั !! โจทยจ์ ะหลอกเป็น ประถมกบั มธั ยม หรอื ไมก่ ็หลอกเป็น สามญั กบั อาชีวศกึ ษา หรอื ไมก่ ็หลอกเป็นกอ่ นอดุ มศกึ ษากบั อดุ มศกึ ษา • มาตรา 16 ในระดบั อุดมศึกษากแ็ บ่งเป็ น 2 ระดับอีก คอื ระดับปริญญาและต่ากว่าปริญญา ระวงั โจทย์ จะหลอกเป็นระดบั ปรญิ ญาตรแี ละสงู กวา่ ปรญิ ญาตรี • มาตรา 17 ตอ้ งอา่ นคกู่ บั มาตรา 11 ครบั เป็นเรอ่ื งการศกึ ษาภาคบงั คบั เหมอื นกนั .....โดยทีก่ ารศกึ ษาภาค บงั คบั จานวน 9 ปี แตถ่ า้ การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานจะใชค้ าวา่ ....ไมน่ อ้ ยกว่า 12 ปี… • มาตรา 17 ใหจ้ าประโยคทว่ี า่ ... ใหเ้ ดก็ ซง่ึ มีอายยุ า่ งเขา้ ปีท่ี 7 เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานจนอายยุ า่ งเขา้ ปีท่ี 16 เวน้ แตส่ อบไดช้ น้ั ปี ท่ีเก้าของการศกึ ษาภาคบงั คบั …………….(ถกู ) ระวงั !!!........โจทยจ์ ะหลอกเป็น ใหเ้ ดก็ ซงึ่ มีอายยุ า่ งเขา้ ปีท่ี 7 เขา้ เรยี นในสถานศกึ ษาภาคบังคบั จนอายยุ า่ งเขา้ ปีที่ 16 เวน้ แตส่ อบไดช้ ั้น มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 3 ของการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน……(ผดิ ) • มาตรา 18 จะมี 3 วรรค คือ 1.สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 2.โรงเรยี น 3.ศนู ยก์ ารเรยี น • มาตรา 18 ควรอา่ นคกู่ บั มาตรา 40 (คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน) และมาตรา 53 (ใบอนญุ าต ประกอบวชิ าชีพ)..... โดยดวู า่ วรรคใดตอ้ งมใี บอนญุ าตหรอื มีคณะกรรมการสถานศกึ ษาบา้ ง ซง่ึ สรุปไดด้ งั นี้ • 1.สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตอ้ งมีใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี 2.โรงเรียน ตอ้ งมีใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี + คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้น พนื้ ฐาน 3.ศนู ยก์ ารเรียน ไม่ต้องมอี ะไรเลย • การคานวณว่าเดก็ จะตอ้ งเขา้ เรยี นการศกึ ษาภาคบงั คบั (ป.1)ในปี พ.ศ.ใด ใหน้ าปี พ.ศ.ท่ีเดก็ เกิดบวกดว้ ย 7 เชน่ เดก็ เกิดปี พ.ศ. 2563 ดงั นนั้ ผปู้ กครองตอ้ งสง่ เดก็ เข้าเรียน ป.1 ในปี พ.ศ. 2563 +7 = 2570 มาตรา ๑๙ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย หรือหน่วยงานท่ีเรียกชื่ออย่างอ่ืน ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามกฎหมายเก่ียวกับสถานศึกษา ระดบั อุดมศกึ ษา กฎหมายวา่ ดว้ ยการจดั ตั้งสถานศกึ ษานั้น ๆ และกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 30

ห น้ า | 31 มาตรา ๒๐ การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถาน ประกอบการ ทั้งนี้ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชวี ศึกษาและกฎหมายท่ีเกีย่ วขอ้ ง มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอ่ืนของรัฐ อาจจัด การศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชานาญของหน่วยงานนั้นได้ โดยคานึงถึง นโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกาหนด ในกฎกระทรวง หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ และถือว่าผ้เู รียนมีความสาคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมให้ ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และ บรู ณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศกึ ษาในเรอื่ งตอ่ ไปนี้ (๑) ความรู้เร่ืองเก่ียวกับตนเอง และความสัมพันธ์ของตนเองกบั สังคม ได้แก่ ครอบครวั ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้เก่ียวกับประวัตศิ าสตร์ความเป็นมาของสังคมไทยและ ระบบการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเปน็ ประมุข (๒) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ความเข้าใจและ ประสบการณ์เรื่องการจัดการ การบารุงรักษาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มอย่างสมดุลยง่ั ยืน (๓) ความรู้เก่ียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการ ประยุกตใ์ ชภ้ ูมิปัญญา (๔) ความรู้ และทักษะด้านคณิตศาสตร์ และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอย่าง ถกู ตอ้ ง (๕) ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชีพและการดารงชวี ิตอยา่ งมีความสุข Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 31

ห น้ า | 32 สงิ่ ทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 22 เป็นหวั ใจสาคญั ของการจดั การเรียนรูท้ ่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั Child Center • มาตรา 23 ทาใหเ้ กิด 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ และเนน้ ใหจ้ ดั แบบบูรณาการ • มาตรา 23 เนน้ การใชภ้ าษาไทยใหถ้ กู ตอ้ ง และสอดคลอ้ งกบั นโยบายใหเ้ ดก็ ป.1 อ่านออก เขียนได้ • มาตรา 23 เนน้ ความรู้ (K) คุณธรรม(A) กระบวนการเรยี นรู้ (P) สอดคลอ้ งกบั มาตรา 6 ความมงุ่ หมายการจดั การศกึ ษา มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ใหส้ ถานศกึ ษาและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้องดาเนนิ การ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ ความรมู้ าใช้เพื่อป้องกันและแกไ้ ขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณ์จริง ฝกึ การปฏิบัติให้ทาได้ คดิ เป็น ทาเปน็ รักการอ่านและเกิดการใฝร่ ้อู ย่างต่อเน่ือง (๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อยา่ งไดส้ ัดสว่ นสมดลุ กัน รวมท้งั ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ดี ีงามและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ไวใ้ นทกุ วชิ า (๕) ส่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ สู้ อนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สื่อการเรียน และ อานวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการเรยี นรู้ ท้ังนี้ ผสู้ อนและผู้เรยี นอาจเรียนรไู้ ปพร้อมกันจากส่ือการ เรยี นการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทตา่ ง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผปู้ กครอง และบคุ คลในชุมชนทกุ ฝ่าย เพ่ือร่วมกันพฒั นาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพ มาตรา ๒๕ รัฐต้องส่งเสริมการดาเนินงานและการจัดต้ังแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุก รูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวน พฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหลง่ การเรียนรอู้ น่ื อยา่ งพอเพยี งและมปี ระสิทธิภาพ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 32

ห น้ า | 33 มาตรา ๒๖ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของ ผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ ไปในกระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับและรปู แบบการศกึ ษา ให้สถานศึกษาใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ และให้นาผล การประเมนิ ผู้เรยี นตามวรรคหน่งึ มาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย ส่ิงทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 24 เน้นการจัดการเรียนรตู้ ามสภาพจรงิ และเนน้ ให้ผู้เรียนสามารถทาวจิ ัยด้วยตนเองได้ สอดคลอ้ งกบั รายวิชา IS ของโรงเรยี น มาตรา ๒๗ ใหค้ ณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน(กพฐ.)กาหนดหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานเพือ่ ความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมืองทด่ี ขี องชาติ การดารงชวี ติ และการ ประกอบอาชพี ตลอดจนเพื่อการศกึ ษาต่อ ใหส้ ถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานมหี น้าท่ีจัดทาสาระของหลักสูตรตามวตั ถุประสงค์ในวรรค หน่งึ ในส่วนท่ีเกี่ยวกับสภาพปญั หาในชมุ ชนและสงั คม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์เพื่อเป็นสมาชกิ ท่ีดีของครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ สงิ่ ทตี่ ้องรู้ • มาตรา 25 กลา่ วถงึ รฐั ตอ้ งจดั แหลง่ เรยี นรู้ ......ระวงั !!! ศนู ยก์ ีฬาและนนั ทนาการ ก็เป็นแหลง่ เรยี นรูด้ ว้ ย และ สถานท่ีใดจะเป็นแหลง่ เรยี นรูต้ อ้ งไดร้ บั การประกาศสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาตามมาตรา 4 พรบ. ระเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2547 ในเรอ่ื งนยิ ามของหนว่ ยงานการศกึ ษา • มาตรา 26 กลา่ วถึงการประเมนิ ผเู้ รยี น โดยเรยี งตามความสาคญั เป็นสตู ร ดงั นี้ พัฒ พฤติ สงั รว่ ม สอบ โดยใหค้ วามสาคญั ตอ่ พฒั นาการของผเู้ รยี นมากที่สดุ และใหค้ วามสาคญั กบั การสอบนอ้ ยทีส่ ดุ .......และ ตอ้ งใชว้ ธิ ีประเมินที่หลากหลาย • มาตรา 26 ไมไ่ ดก้ ลา่ วถงึ เวลาเรยี น แตเ่ วลาเรยี นจะกลา่ วถงึ ในระเบียบการวดั ผล...... • มาตรา 27 คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (กพฐ.) เป็นผู้กาหนดหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน 2551 ระวงั !!!.....กพฐ. กาหนดนะครบั โจทยจ์ ะหลอกวา่ สพฐ.กาหนด... Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 33

ห น้ า | 34 • มาตรา 27 กลา่ วถงึ การกาหนดจดุ มงุ่ หมายของการทาหลกั สตู รแกนกลาง ทอ่ งเป็นสตู รไดด้ งั นี้ ไทย ดี ชี ชพี ษา • มาตรา 27 .....ใหร้ ะวงั คาถามวา่ ใครมหี นา้ ท่จี ดั ทาสาระหลกั สูตร ตอบ สถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมท้ังหลักสูตรการศึกษาสาหรับบุคคล ตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี ต้องมีลักษณะหลากหลาย ทั้งนี้ ให้จัดตาม ความเหมาะสมของแต่ละระดับโดยมุ่งพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลให้เหมาะสม แก่วัยและ ศักยภาพ สาระของหลักสตู ร ทั้งทเี่ ป็นวชิ าการ และวชิ าชพี ตอ้ งมุง่ พฒั นาคนให้มคี วามสมดุล ทั้ง ด้านความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดีงาม และความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม สาหรับหลักสูตรการศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา นอกจากคุณลักษณะในวรรคหนงึ่ และ วรรคสองแล้วยังมคี วามมงุ่ หมายเฉพาะทจ่ี ะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชนั้ สงู และการค้นคว้า วจิ ัย เพือ่ พัฒนาองค์ความรู้และพัฒนาสังคม สง่ิ ทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 28 กลา่ ววา่ หลกั สตู รตอ้ งมลี กั ษณะหลากหลาย ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั มงุ่ พฒั นาคน ใหม้ ีความสมดลุ ....... มาตรา ๒๙ ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายใน ชุมชน เพ่ือให้ชุมชนมีการจัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จัก เลือกสรรภูมิปัญญาและวิทยาการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการ รวมท้ังหาวิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนาระหว่าง ชุมชน มาตรา ๓๐ ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละ ระดบั การศึกษา Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 34

ห น้ า | 35 สิ่งทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 29 ระวงั ..!!! โจทยจ์ ะถามวา่ ใหส้ ถานศกึ ษาสง่ เสรมิ ความเขม้ แข็งชมุ ชนโดยวธิ ีการอยา่ งไร ...ตอบ เลยนะครบั วา่ โดยจดั กระบวนการเรียนรูภ้ ายในชุมชน • มาตรา 30 ใหผ้ สู้ อนวิจยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นรู…้ …ระวงั !!! ตา่ งจากมาตรา 24 ตรงทวี่ า่ มาตรา 24 ใหผ้ เู้ รยี น วิจยั หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา สว่ นที่ ๑ การบรหิ ารและการจัดการศึกษาของรฐั มาตรา ๓๑ กระทรวงมีอานาจหน้าท่ีเก่ยี วกับการส่งเสริมและกากบั ดูแลการศกึ ษาทกุ ระดับ ทุกประเภท และการอาชีวศึกษา แต่ไม่รวมถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่อยู่ใน อานาจหน้าท่ีของกระทรวงอ่ืน ที่มีกฎหมายกาหนดไว้เป็นการเฉพาะ กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ส่งเสริมและประสานงานการ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬา ทั้งน้ี ในส่วนที่เกี่ยวกับการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษา และราชการอ่ืนตามที่มีกฎหมายกาหนดให้เป็น อานาจหน้าที่ของกระทรวงหรอื ส่วนราชการทส่ี ังกัดกระทรวง (แทรก มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ.2561) สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา ไดจ้ ดั ทามาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 และผ่านความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ในรูปของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา เพื่อให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา ใช้เป็นแนวทางในการจัด การศึกษาและจัดทามาตรฐานการศึกษาข้ันต่าที่จาเป็นของแต่ละระดับและประเภทการศึกษา เพือ่ ใหเ้ กิด “คุณลักษณะของคนไทย ๔.๐”ท่ีมีคณุ ลักษณะ ๓ ด้าน โดยเป็นคณุ ลกั ษณะขั้นต่า ทสี่ ามารถสรา้ งความมัน่ คง มงั่ คั่ง และย่งั ยืน ใหก้ ับประเทศ ดังนี้ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผู้บรหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 35

ห น้ า | 36 มาตรา ๓๒ การจัดระเบยี บบรหิ ารราชการในกระทรวงใหม้ อี งคก์ รหลกั ท่ีเปน็ คณะบุคคล ในรูปสภาหรือในรูปคณะกรรมการจานวนสามองค์กร ได้แก่ สภาการศึกษา คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นหรือให้ คาแนะนาแก่รัฐมนตรีหรือคณะรฐั มนตรี และมอี านาจหนา้ ที่อน่ื ตามทีก่ ฎหมายกาหนด “มาตรา ๓๒/๑ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีอานาจ หน้าท่ีเก่ียวกับการส่งเสริม สนับสนุน และกากับการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ การวิจัยและการ สรา้ งสรรค์นวัตกรรม เพ่ือใหก้ ารพฒั นาประเทศเท่าทันการเปล่ียนแปลงของโลกและราชการอ่ืน ตามที่มีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือส่วนราชการท่ีสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 36

ห น้ า | 37 รปู จากเว็บ http://www.onec.go.th/ ขอ้ มลู วันท่ี 16 กรกฎาคม 2562 Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 37

ห น้ า | 38 สง่ิ ทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 31 ระวงั !!!...โจทยจ์ ะถามวา่ ใครมีอานาจหนา้ ทเี่ กี่ยวกบั การสง่ เสรมิ และกากบั ดแู ลการศกึ ษาทุก ระดับและทุกประเภท ..... เม่อื เห็นคาวา่ ทกุ ระดบั และทกุ ประเภทใหต้ อบวา่ กระทรวง ......แตถ่ า้ โจทย์ ถามวา่ ใครมหี นา้ ที่สง่ เสรมิ และกากบั ดแู ลการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ใหต้ อบวา่ สพฐ. • มาตรา 32 เกิดองคก์ รหลกั ทเี่ ป็นคณะบคุ ลในรูปคณะกรรมการ 3 องคก์ ร คอื 1.สภาการศกึ ษา 2.กพฐ. 3.กอส. มาตรา ๓๓ สภาการศกึ ษา มหี นา้ ที่ (๑) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแหง่ ชาติท่บี ูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และ กีฬากับการศึกษาทกุ ระดบั (๒) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษาเพ่อื ดาเนนิ การให้เป็นไปตาม แผนตาม (๑) (๓) พจิ ารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา (๔) ดาเนินการประเมินผลการจัดการศึกษาตาม (๑) (๕) ให้ความเห็นหรอื คาแนะนาเก่ียวกับกฎหมายและกฎกระทรวงทอ่ี อกตามความใน พระราชบัญญัตินี้ การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานการศึกษา ให้เสนอต่อ คณะรัฐมนตรี ให้คณะกรรมการสภาการศึกษา ประกอบด้วย รัฐมนตรีเป็นประธาน กรรมการโดย ตาแหน่งจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ พระภิกษุซ่ึงเป็นผู้แทนคณะสงฆ์ ผู้แทนคณะกรรมการกลางอิสลามแห่ง ประเทศไทย ผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นและกรรมการผูท้ รงคุณวฒุ ิ ซึ่งมีจานวนไม่น้อยกว่าจานวน กรรมการประเภทอน่ื รวมกัน ให้สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา เป็นนิติบุคคล และให้เลขาธิการสภาเป็น กรรมการและเลขานุการ สิ่งท่ตี ้องรู้ • มาตรา 33 ระวงั !!!....โจทยจ์ ะถามวา่ ใครมหี นา้ ที่เสนอแผนการศึกษาแหง่ ชาติ....ตอบเลยนะครบั วา่ ....... สภาการศกึ ษา เนน้ ยา้ อีกทวี า่ สภาการศกึ ษา ไมใ่ ช่สภาการศกึ ษาแหง่ ชาตนิ ะครบั เพราะเราไมม่ สี ภา การศกึ ษาแหง่ ชาตคิ รบั • มาตรา 33 การเสนอแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตติ อ้ งเสนอต่อ คณะรฐั มนตรี .....ระวงั !!! โจทยจ์ ะหลอกวา่ เสนอ ตอ่ รฐั มนตรนี ะครบั Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 38

ห น้ า | 39 มาตรา ๓๕/๑ ให้มีคณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหน้าท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนาและมาตรฐานการอดุ มศึกษาที่สอดคล้องกบั ความตอ้ งการตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยคานึงถึงความเป็นอิสระและความเป็น เลิศทางวิชาการของสถานศึกษาระดับปริญญาตามกฎหมายว่าด้วยการจัดต้งั สถานศึกษาแต่ละ แห่งและกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ ง มาตรา ๓๖ ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็นนิติบุคคล และอาจ จดั เปน็ ส่วนราชการหรือเปน็ หน่วยงานในกากับของรฐั ยกเวน้ สถานศกึ ษาเฉพาะทางตามมาตรา ๒๑ ให้สถานศึกษาดังกล่าวดาเนินกิจการได้โดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการ จัดการที่เป็นของตนเอง มีความคล่องตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยู่ภายใต้การกากับดูแล ของสภาสถานศกึ ษา ตามกฎหมายวา่ ด้วยการจดั ต้ังสถานศึกษานน้ั ๆ ส่ิงทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 36 พรบ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ 2542 สง่ ผลให.้ ...มหาวทิ ยาลยั เป็ นนิติบคุ คล...... • แต่.......โรงเรยี นเป็ นนิตบิ คุ คลตามมาตรา 35 พรบ.ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ 2546 • มาตรา 37 ระวงั โจทยจ์ ะถามวา่ การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานใหย้ ดึ อะไร.....ตอบเลยครบั วา่ .....ยดึ เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา….โดยคานงึ ถึง...ระดบั ของการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน (สาคญั ทีส่ ดุ ) จานวน สถานศกึ ษา จานวนประชากร วฒั นธรรมและความเหมาะสมดา้ นอ่ืน (สาคญั นอ้ ยที่สดุ )......ระวงั !!! โจทยจ์ ะ หลอกวา่ เป็น จานวนนักเรยี น...(ผิดนะครบั !!!) • มาตรา 37 ทอ่ งประโยคนใี้ หไ้ ดค้ รบั ....รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของสภาการศกึ ษามอี านาจประกาศเขต พืน้ ท่กี ารศึกษา….ระวงั !!! โจทยจ์ ะหลอกเป็น คณะรฐั มนตรโี ดยคายนิ ยอมของสภาการศกึ ษามอี านาจ ประกาศเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา............ มาตรา ๓๗ การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ยึดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดย คานึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวนสถานศึกษา จานวนประชากร วัฒนธรรมและ ความเหมาะสมด้านอ่ืนด้วย เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามกฎหมายว่าด้วยการ อาชีวศึกษา ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของสภาการศึกษา มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา กาหนดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบ่งเป็นเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศกึ ษาและเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 39

ห น้ า | 40 ในกรณีท่ีสถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท้ังระดับประถมศึกษาและระดับ มัธยมศึกษา การกาหนดให้สถานศึกษาแห่งนั้นอยู่ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใด ให้ยึดระดับ การศึกษาของสถานศึกษาน้ันเป็นสาคัญ ทงั้ น้ี ตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของ คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ในกรณีทเ่ี ขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาไมอ่ าจบรหิ ารและจดั การได้ตามวรรคหนง่ึ กระทรวงอาจจัด ใหม้ กี ารศกึ ษาขน้ั พื้นฐานดังตอ่ ไปนี้เพ่อื เสริมการบรหิ ารและการจดั การของเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาก็ ได้ สิง่ ทต่ี ้องรู้ • มาตรา 37 โรงเรยี นใดจะอยเู่ ขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาใด ใหย้ ดึ ระดับการศกึ ษาของสถานศกึ ษานนั้ ตามท่รี ฐั มนตรี ประกาศโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ( กพฐ. )….ระวงั !!! จะแตกตา่ งจากการ ประกาศเขตพืน้ ที่ • มาตรา 37 ระวงั ...!!! โจทยจ์ ะถามวา่ ถา้ เขตพืน้ ทไ่ี มอ่ าจบรหิ ารจดั การได้ จะใหใ้ ครบรหิ ารจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ บานแทน...ตอบเลยครบั วา่ ....กระทรวง.. มาตรา ๓๘ ในแต่ละเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามีอานาจหน้าท่ีในการกากับดูแล จัดต้ัง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประสาน ส่งเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประสานและสง่ เสริมองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ให้สามารถจัดการศึกษาสอดคลอ้ งกับนโยบาย และมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอื่นท่ี จัดการศึกษาในรูปแบบท่หี ลากหลายในเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ในการดาเนนิ การตามวรรคหนึง่ ในส่วนท่ีเกย่ี วกับสถานศกึ ษาเอกชนและองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถนิ่ วา่ จะอยู่ในอานาจหนา้ ทข่ี องเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาใด ให้เป็นไปตามท่ีรฐั มนตรปี ระกาศ กาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สิ่งทตี่ ้องรู้ • มาตรา 38 ระวงั ...ขอ้ สอบเกา่ ปี 2555 !!! โจทยจ์ ะถามวา่ ใครมอี านาจในการยุบ รวม เลกิ โรงเรยี น ......ให้ ตอบทงั้ 2 นะครบั คอื คณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวดั (กศจ.) + สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา (สพท.) • มาตรา 38 เวลาจะยื่น ใหย้ ื่นตอ่ สพท. แต่ กศจ.จะเป็นผพู้ ิจารณา แตอ่ านาจในการ จดั ตงั้ ยบุ รวม เลกิ เป็น ของทงั้ กศจ.+สพท. • มาตรา 38 สง่ ผลใหเ้ กิด กพท. (ปัจจบุ นั ไมม่ แี ลว้ และอานาจหนา้ ที่ถกู โอนไปให้ กศจ. ตามคาส่งั ของ คสช.) Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผ้บู รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 40

ห น้ า | 41 • มาตรา 38 ระวงั !!! จะพจิ ารณาวา่ โรงเรยี นเอกชนและ อปท. อยใู่ นเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาใด.ใหใ้ ครเป็นผู้ พจิ ารณา ...ตอบเลยครบั วา่ ใหร้ ฐั มนตรปี ระกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน สงิ่ ทต่ี ้องรู้ • มาตรา 38 กลา่ วถึง กศจ.+สพท. จะตอ้ งทาหนา้ ท่ี • ส่งเสริม + สนับสนุน โรงเรยี นเอกชน • ประสาน + ส่งเสรมิ อปท. • สง่ เสริม + สนับสนุน บคุ คล ครอบครัว ชุมชน ....สนบั สนนุ คือการใหเ้ งิน ทรพั ยากร ....ระวงั ...!!! กศจ.+สพท. ไมต่ อ้ งสนบั สนนุ ใหเ้ งิน ทรพั ยากรแก่ อปท. มาตรา ๓๙ ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้าน วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารท่ัวไปไปยังคณะกรรมการ และ สานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา และสถานศึกษาในเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาโดยตรง หลักเกณฑ์และวิธกี ารกระจายอานาจดังกลา่ ว ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง สง่ิ ทตี่ อ้ งรู้ • มาตรา 39 กลา่ วถงึ การกระจายอานาจ 4 ดา้ น คือ ดา้ นวิชาการ ด้านงบประมาณ ดา้ นการบรหิ ารงาน บุคคล ดา้ นการบรหิ ารท่วั ไป .....จาชื่อดา้ นแตล่ ะดา้ นใหด้ ๆี นะครบั ....ระวงั โจทยจ์ ะหลอกเป็นดา้ นบรหิ าร วชิ าการ ดา้ นบรหิ ารบคุ คล ดา้ นบรหิ ารท่วั ไป....ผิดนะครบั • มาตรา 39 ผทู้ ก่ี ระจายอานาจคอื ......กระทรวงศกึ ษาธิการ.... • มาตรา 39 ระวงั !!! ใหท้ อ่ งจาเลยครบั วา่ กระทรวงกระจายอานาจ 4 ดา้ นไปยงั กศจ.+สพท.+สถานศึกษา โดยตรง…..ซงึ่ ตา่ งจาก มาตรา 9 วรรค 2 ท่กี ระจายอานาจไปยงั เขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา สถานศกึ ษา และ อปท. มาตรา ๔๐ ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สถานศึกษา ระดับอดุ มศึกษาระดับตา่ กวา่ ปริญญา และสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศกึ ษาเพื่อทา หน้าที่กากับและส่งเสริม สนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของ สถานศึกษา ผแู้ ทนพระภิกษุสงฆห์ รอื ผ้แู ทนองค์กรศาสนาอ่ืนในพนื้ ที่ และผทู้ รงคณุ วุฒิ ให้ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานกุ ารของคณะกรรมการสถานศึกษา Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 41

ห น้ า | 42 สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาอาจ มกี รรมการเพิ่มขึน้ ได้ ท้ังน้ี ตามท่ีกฎหมายกาหนด ส่ิงทต่ี ้องรู้ • มาตรา 40 สง่ ผลใหเ้ กิดคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน มีหนา้ ที่ กากับ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจการ สถานศกึ ษา...ขอ้ ควรสงั เกต หนา้ ท่ขี องคณะกรรมการชดุ นี้ จะมีคาวา่ กากับ ไมม่ คี าวา่ ควบคมุ ....เพราะคา วา่ ..ควบคมุ ..จะใชก้ บั ผบู้ งั คบั บญั ชาของเราเทา่ นนั้ เชน่ อานาจ หนา้ ท่ขี องผบู้ รหิ าร ตามมาตรา 27 พรบ. ระเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 2547 วรรรค 1 จะขนึ้ ดว้ ยคาวา่ ควบคมุ ดแู ล • มาตรา 40 ...ตอ้ งจาวา่ ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาเป็นกรรมการและเลขานกุ าร ....ระวงั !!! โจทยจ์ ะหลอกเป็น.. หวั หนา้ สถานศกึ ษา ผดิ นะครบั ... • มาตรา 40 คอื คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานจะไม่บงั คบั ใชแ้ ก่ มาตรา 18 วรรค 1 คือ สถานพฒั นา เด็กปฐมวยั และไมบ่ ังคบั ใช้แก่ มาตรา 18 วรรค 3 คอื ศนู ยก์ ารเรยี น • (((ควรกลับไปอ่านมาตรา 18 ควบคกู่ ับมาตรา 40 ให้เขา้ ใจ))) ส่วนที่ ๒ การบริหารและการจัดการศึกษาขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน มาตรา ๔๑ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ มสี ิทธิจัดการศกึ ษาในระดบั ใดระดับหนึ่งหรอื ทุก ระดับตามความพรอ้ ม ความเหมาะสมและความตอ้ งการภายในท้องถน่ิ มาตรา ๔๒ ให้กระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัด การศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีหน้าท่ีในการประสานและส่งเสริมองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินให้สามารถจัดการศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐานการศึกษา รวมท้ังการเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ สิ่งท่ีตอ้ งรู้ • มาตรา 41 ระวงั !!!...อปท.มสี ทิ ธิ์ในการจดั การศกึ ษาในระดบั ใดไดบ้ า้ ง...ตอบเลยครบั วา่ ในระดบั ใดระดบั หน่ึงหรอื ทุกระดับครับ • ควรดมู าตรา 15 มาตรา 41 มาตรา 45 ประกอบกนั ครบั • มาตรา 42 ระวงั !!! ...คาถาม... ใหใ้ ครกาหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมนิ ความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษา ของ อปท. ตอบ.....กระทรวงศกึ ษาธิการ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผูบ้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 42

ห น้ า | 43 ส่ิงท่ตี อ้ งรู้ • มาตรา 44 สง่ ผลใหส้ ถานศกึ ษาเอกชนเป็นนิติบคุ คล ......ซงึ่ โรงเรยี นเอกชนจะแตกตา่ งจากโรงเรยี นรฐั บาล คอื จะมี ผูร้ บั ใบอนุญาต รวมอยดู่ ว้ ย • ควรทบทวน มาตรา 18 ทงั้ 3 วรรค เพ่ือความแมน่ ยาอกี ครงั้ • มาตรา 45 เอกชนสามารถจดั การศกึ ษาไดท้ กุ ระดับและทุกประเภท มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของการศึกษาข้ันพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย ระบบการ ประกนั คณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คุณภาพภายนอก มาตรา ๔๙ ใหม้ สี านักงานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา มฐี านะเปน็ องค์การมหาชนทาหน้าที่พัฒนาเกณฑ์ วธิ ีการประเมนิ คุณภาพภายนอก และทาการประเมินผล การจัดการศกึ ษา ทมี่ ิใช่การจัดการอุดมศึกษาซ่ึงอยู่ในอานาจหน้าที่ของกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือกระทรวงอื่น เพ่ือให้มีการตรวจสอบคุณภาพของ สถานศึกษา โดยคานึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัดการศึกษาในแต่ละระดับ ตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญตั ิน้ี ให้มีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแห่งอย่างน้อยหนึ่งคร้ังในทุกห้าปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและ สาธารณชน มาตรา ๕๑ ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่ กาหนดให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทาข้อเสนอแนะการ ปรับปรุงแก้ไขต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขภายในระยะเวลาท่ี กาหนด หากมิได้ดาเนินการดังกล่าวให้สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษารายงานต่อคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน หรือคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพือ่ ดาเนนิ การให้มีการปรบั ปรุงแกไ้ ข มาตรา ๕๑/๑ คาวา่ “คณาจารย์” ในหมวดนี้ ใหห้ มายความว่า บคุ ลากรซง่ึ ทาหนา้ ท่ี หลักทางดา้ นการสอนและการวจิ ยั ในสถานศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาของรฐั และเอกชน แต่ไม่รวมถงึ บคุ ลากรซึ่งสังกดั กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 43

ห น้ า | 44 สิ่งทตี่ อ้ งรู้ • หมวด 6 เป็นเรอื่ งของประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา • มาตรา 47 สง่ ผลใหเ้ กดิ ระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาทงั้ ภายใน และภายนอก • มาตรา 48 สง่ ผลใหเ้ กิดระบบประกนั คณุ ภาพภายใน ซง่ึ จดั โดยหน่วยงานตน้ สงั กัด + สถานศึกษา • จาประโยคทว่ี า่ ...ให้ถอื ว่าการประกันคุณภาพภายในเป็ นสว่ นหน่ึงของกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษา • ประกนั ภายในตอ้ งจดั ทารายงานประจาปี(SAR) เสนอตอ่ 3 ที่ คือ หน่วยงานตน้ สังกดั + หน่วยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง + เปิ ดเผยตอ่ สาธารณชน หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา ๕๒ ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเป็น วิชาชีพชั้นสูง โดยการกากับและประสานให้สถาบันที่ทาหน้าที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ รวมท้ังบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการเตรียมบุคลากรใหม่ และการพัฒนาบคุ ลากรประจาการอยา่ งต่อเนอื่ ง รัฐพึงจัดสรรงบประมาณและจัดตัง้ กองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการ ศกึ ษาอยา่ งเพียงพอ มาตรา ๕๓ ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มี ฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของกระทรวง มีอานาจ หน้าท่ีกาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กากับดูแลการ ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมท้ังการพัฒนาวิชาชีพครู ผู้บริหาร สถานศกึ ษาและผบู้ ริหารการศึกษา ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ท้ังของ รัฐและเอกชนต้องมใี บอนญุ าตประกอบวิชาชพี ตามท่ีกฎหมายกาหนด มาตรา ๕๔ ให้มีองคก์ รกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ และระดับเขตพื้นที่ การศึกษาเป็นข้าราชการในสังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยยึด หลักการกระจายอานาจการบริหารงานบุคคลสู่เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา ทั้งน้ี ให้ เป็นไปตามทก่ี ฎหมายกาหนด Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผ้บู รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 44

ห น้ า | 45 หมวด ๘ ทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื การศกึ ษา มาตรา ๕๘ ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และ ทรัพย์สิน ท้ังจากรัฐ องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืน และ ตา่ งประเทศมาใชจ้ ดั การศกึ ษาดงั นี้ (๑) ให้รัฐและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ระดมทรพั ยากรเพ่ือการศึกษา โดยอาจจัดเก็บ ภาษีเพอื่ การศกึ ษาได้ตามความเหมาะสม ท้งั น้ี ใหเ้ ป็นไปตามท่ีกฎหมายกาหนด (๒) ให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดม ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเป็นผู้จัดและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพย์สินและ ทรัพยากรอื่นให้แก่สถานศึกษา และมีส่วนร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความ เหมาะสมและความจาเปน็ ท้ังน้ี ให้รัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ส่งเสริมและให้แรงจูงใจในการระดม ทรัพยากรดังกล่าว โดยการสนับสนุน การอุดหนุนและใช้มาตรการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษี ตามความเหมาะสมและความจาเป็น ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามที่กฎหมายกาหนด มาตรา ๕๙ ให้สถานศึกษาของรัฐท่ีเป็นนิติบุคคล มีอานาจในการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งท่ีเป็นที่ราชพัสดุ ตาม กฎหมายว่าด้วยท่ีราชพัสดุ และท่ีเป็นทรัพย์สินอื่น รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการของ สถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาท่ีไม่ขัดหรือแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และ ภารกิจหลักของสถานศึกษา บรรดาอสงั หารมิ ทรัพย์ท่ีสถานศึกษาของรัฐท่ีเปน็ นิตบิ คุ คลไดม้ าโดยมผี ู้อุทศิ ให้ หรอื โดย การซื้อหรือแลกเปล่ียนจากรายได้ของสถานศึกษา ไม่ถือเป็นที่ราชพัสดุ และให้เป็นกรรมสิทธ์ิ ของสถานศกึ ษา บรรดารายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล รวมท้ัง ผลประโยชน์ท่ีเกิดจากที่ราชพัสดุ เบี้ยปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับท่ีเกิด จากการผิดสัญญาการซ้ือทรัพย์สินหรือจ้างทาของท่ีดาเนินการโดยใช้เงินงบประมาณไม่เป็น Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสือผ้บู รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื หนา้ 45

ห น้ า | 46 รายได้ที่ต้องนาส่งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและกฎหมายว่าด้วยวิธีการ งบประมาณ บรรดารายได้และผลประโยชน์ของสถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล รวมทั้ง ผลประโยชน์ที่เกิดจากท่ีราชพัสดุ เบ้ียปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบ้ียปรับท่ีเกิด จากการผิดสัญญาการซื้อทรัพย์สินหรือจ้างทาของที่ดาเนินการโดยใช้เงินงบประมาณให้ สถานศึกษาสามารถจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาน้ัน ๆ ได้ตาม ระเบียบทีก่ ระทรวงการคลงั กาหนด มาตรา ๖๐ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศกึ ษาในฐานะท่ีมีความสาคัญ สงู สุดต่อการพฒั นาท่ยี ่ังยืนของประเทศโดยจดั สรรเป็นเงินงบประมาณเพื่อการศกึ ษา หมวด ๙ เทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา มาตรา ๖๓ รฐั ตอ้ งจดั สรรคล่ืนความถี่ สื่อตัวนาและโครงสร้างพืน้ ฐานอืน่ ท่ีจาเป็นต่อ การส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการส่ือสารในรูปอ่ืน เพื่อใช้ ประโยชน์สาหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การ ทะนบุ ารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรมตามความจาเป็น มาตรา ๖๖ ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ การศึกษาในโอกาสแรกท่ีทาได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอท่ีจะใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษาในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองได้อย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต *************************************************************** Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 46

ห น้ า | 47 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบัญญตั ฉิ บับนี้ คือ โดยที่รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักร ไทยกาหนดให้รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมให้เกิด ความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลูกฝัง จิตสานึกท่ีถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมุข สนับสนนุ การค้นคว้าวิจัยในศิลปวิทยาการต่าง ๆ เรง่ รัดการศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติ รวมท้ังในการจัดการศึกษาของรัฐ ให้คานึงถึงการมสี ่วนรว่ มขององคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ินและเอกชน ตามที่กฎหมายบัญญัติและให้ความคุ้มครองการจัดการศึกษา อบรมขององค์กรวิชาชีพและเอกชนภายใตก้ ารกากบั ดแู ลของรัฐ ดังน้ัน จึงสมควรมีกฎหมายวา่ ด้วยการศึกษาแห่งชาติ เพื่อเป็นกฎหมายแม่บทในการบริหารและจัดการการศึกษาอบรมให้ สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยดังกล่าว จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบัญญัตินี้ เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากรัฐบาลมี นโยบายปฏริ ูประบบราชการ โดยใหแ้ ยกภารกิจเกี่ยวกบั งานด้านศิลปะและวฒั นธรรม ไปจัดตง้ั เป็นกระทรวงวัฒนธรรม และโดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงการบริหารและการจัดการศึกษา ของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบกับสมควรให้มีคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทาหน้าท่ี พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับที่ สอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษา แห่งชาติ สนับสนุนทรัพยากร ติดตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการอาชวี ศึกษาดว้ ย จึง จาเปน็ ต้องตราพระราชบัญญตั ินี้ Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 47

ห น้ า | 48 เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีการจัด การศึกษาขั้นพ้ืนฐานประกอบด้วยการศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา ซึ่งมี ระบบการบริหารและการจัดการศึกษาของทั้งสองระดับรวมอยู่ในความรับผิดชอบของแต่ละ เขตพื้นท่ีการศึกษา ทาให้การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเกิดความไม่คล่องตัวและ เกิดปัญหาการพัฒนาการศึกษา สมควรแยกเขตพื้นท่ีการศึกษาออกเป็นเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาและเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เพ่ือให้การบริหารและการจัดการศึกษามี ประสิทธิภาพ อันจะเป็นการพัฒนาการศึกษาแก่นักเรียนในช่วงชั้นประถมศึกษาและ มธั ยมศกึ ษาใหส้ ัมฤทธผิ ลและมีคุณภาพย่งิ ข้นึ จงึ จาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบัญญัติน้ี เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. ๒๕62 เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติม กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ เพ่ือกา หนดขอบเขตในการดาเนินการของ กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่นให้สอดคล้องกับอานาจหน้าท่ีที่เปล่ียนแปลงไป เนอ่ื งจากมีการจดั ตงั้ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม จงึ จาเปน็ ตอ้ ง ตราพระราชบญั ญตั นิ ี้ Facebook : ชวนกนั มาอ่านหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 48

ห น้ า | 49 พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ แกไ้ ขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๑ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ.๒๕๕๓ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ.2562 • บังคับใชว้ นั ที่ 24 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุ และแต่งต้ังตามพระราชบัญญัติน้ีให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน งบบุคลากรท่ีจ่ายในลักษณะเงินเดือนในกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการท่องเท่ียวและ กฬี า กระทรวงวัฒนธรรม หรือกระทรวงอื่นท่ีกาหนดในพระราชกฤษฎีกา “ข้าราชการครู” หมายความว่า ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซึ่งทาหน้าท่ีหลกั ทางดา้ นการเรยี น การสอนและส่งเสริมการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนด้วยวิธกี ารตา่ งๆ ในสถานศกึ ษาของรฐั “คณาจารย์” หมายความว่า บุคลากรซ่ึงทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยใน สถานศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษาระดบั ปริญญาของรฐั “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมท้งั ผสู้ นบั สนนุ การศกึ ษาซง่ึ เป็นผู้ทาหนา้ ที่ใหบ้ ริการ หรือปฏิบัตงิ านเกี่ยวเน่ืองกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงาน การศึกษา “วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพครู วิชาชีพบริหารการศึกษา และวิชาชีพบุคลากรทาง การศึกษาอื่น “เขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา” หมายความว่า เขตพน้ื ที่การศกึ ษาตามประกาศกระทรวง “หนว่ ยงานการศกึ ษา” หมายความว่า (๑) สถานศกึ ษา (๒) สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา (๓) สานกั งานการศกึ ษานอกโรงเรียน (๔) แหลง่ การเรียนรู้ตามประกาศของสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษา Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื ผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 49

ห น้ า | 50 (๕) หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ หรือตามประกาศกระทรวง หรือหน่วยงานที่คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษากาหนด เชน่ สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค สานกั งานศึกษาธิการจังหวัด “ส่วนราชการ” หมายความวา่ หนว่ ยงานของรัฐที่มฐี านะเปน็ กรมหรือเทยี บเท่ากรม Facebook : ชวนกนั มาอา่ นหนังสือผบู้ รหิ าร youtube : ชวนกนั มาอา่ นหนังสอื หนา้ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook