Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมกฎหมาย

รวมกฎหมาย

Published by kitthanachon01, 2021-11-12 01:56:20

Description: รวมกฎหมาย

Search

Read the Text Version

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 1. พระราชบญั ญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ ขเพ่ิมเตมิ (เปนกฎหมายแมบทวาดว ยการศึกษาแหง ชาต)ิ >> พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 (ฉบับที่ 1) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมอ่ื วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2542 มผี ลบงั คับใช เม่อื วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ คือ นายชวน หลกี ภัย (นายกรฐั มนตรี) เหตุผลในการประกาศใช : เกดิ จาก รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย 2540 มาตรา 81 >> พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 (ฉบบั ที่ 2) ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมือ่ วนั ท่ี 19 ธนั วาคม พ.ศ. 2545 มผี ลบังคับใช เมื่อวันที่ 20 ธนั วาคม พ.ศ. 2545 ผรู ับสนองพระบรมราชโองการ คอื พ.ต.ท.ทกั ษณิ ชนิ วัตร (นายกรัฐมนตร)ี เหตผุ ลในการประกาศใช : ใหม ีคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา >> พ.ร.บ.การศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.2542 (ฉบับที่ 3) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 มีผลบงั คบั ใช เม่ือวนั ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ผูรับสนองพระบรมราชโองการ คือ นายอภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชีวะ (นายกรฐั มนตร)ี เหตผุ ลในการประกาศใช : แยกเขตพ้นื ท่ีการศึกษาออกเปน ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา >> พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2562 (ฉบบั ที่ 4) (ปจ จุบนั ) ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมื่อวนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 มผี ลบังคับใช 2 พฤษภาคม 2562 ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา เหตผุ ลในการประกาศใช : เนื่องจากมกี ารจัดตง้ั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและ นวัตกรรม และยบุ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี พรบ.การศกึ ษาแหงชาติ ถอื เปน กฎหมายแมบ ททางการศกึ ษา เกดิ จาก มาตรา 81 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 1

อยากเปน “ครอู าชีวะ” ความหมายของคำศัพทท สี่ ำคัญ “การศึกษา” หมายความวา กระบวนการเรียนรู เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคล และสังคม โดยถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรค จรรโลง ความกาวหนาทางวชิ าการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สงั คม การเรยี นรูและปจจยั เกื้อหนนุ ใหบ คุ คลเรยี นรูอยางตอ เนอ่ื งตลอดชวี ติ “การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน” หมายความวา การศึกษากอ นระดบั อุดมศึกษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวาง การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนา คณุ ภาพชีวิตไดอ ยา งตอเนือ่ งตลอดชวี ิต “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศกึ ษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ทมี่ อี ำนาจหนาที่หรอื มวี ัตถุประสงคใ นการจดั การศกึ ษา “สถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน” หมายความวา สถานศึกษาทจ่ี ัดการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน “มาตรฐานการศึกษา” หมายความวา ขอกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพท่ี พึงประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการ เทียบเคียงสำหรับการสงเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกัน คณุ ภาพทางการศึกษา “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความวา การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษา นนั้ เอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัดทมี่ หี นา ทีก่ ำกบั ดแู ลสถานศึกษานั้น “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความวา การประเมินผลและการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) (องคการมหาชน) หรือบุคคลหรือหนวยงาน ภายนอกทส่ี ำนกั งานดังกลาวรับรอง เพอื่ เปนการประกนั คุณภาพและใหม ีการพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา “ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาระดบั ตางๆ “ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและ สง เสรมิ การเรยี นรขู องผเู รียนดวยวธิ กี ารตางๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน “คณาจารย” หมายความวา บคุ ลากรซงึ่ ทำหนา ทหี่ ลกั ทางดานการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน แตไมรวมถึงบุคลากรซึ่งสังกัด กระทรวงอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร วิจัยและนวตั กรรม “ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร สถานศกึ ษาแตละแหง ทงั้ ของรฐั และเอกชน 2

อยากเปน “ครูอาชีวะ” “ผูบรหิ ารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพท่รี บั ผดิ ชอบการบริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาตง้ั แตระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาขน้ึ ไป “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้งผูสนับสนุนการศึกษา ซึ่งเปนผูทำหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด กระบวนการเรยี นการสอน การนิเทศ และการบรหิ ารการศึกษาในหนวยงานการศกึ ษาตา ง ๆ ** (บุคลากรทางการศกึ ษา ไมร วมถึง “คร”ู “ครกู ็คอื คร”ู ) ** “กระทรวง” หมายความวา กระทรวงศกึ ษาธิการ “รัฐมนตร”ี หมายความวา รฐั มนตรีผรู กั ษาการตามพระราชบัญญตั นิ ี้ ผรู กั ษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ คือ รฐั มนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการ (มาตรา 5) มี 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล หมวด 1 บทท่วั ไป ความมงุ หมายและหลกั การ หมวด 2 สิทธิและหนา ทที่ างการศึกษา หมวด 3 ระบบการศกึ ษา มงุ สทิ ธิ บบ หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา แนว หาร ฐาน หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา ครู ทรัพ เทคโน หมวด 6 หมวด 7 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพทางการศกึ ษา หมวด 8 ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษา หมวด 9 ทรัพยากรและการลงทุนเพ่อื การศกึ ษา เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา หมวด 1 บทท่ัวไป ความมุง หมายและหลกั การ ความมงุ หมายของการจัดการศกึ ษา (มาตรา 6) การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู รวมกบั ผอู ื่นไดอ ยา งมคี วามสุข (เกง ดี มีสขุ ) ความมุงหวังแหงกระบวนการเรยี นรู (มาตรา 7) ในกระบวนการเรียนรูตองมุงปลูกฝงจิตสำนึกที่ถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจ ักรกั ษาและสงเสริมสทิ ธิ หนาที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีความ 3

อยากเปน “ครอู าชีวะ” ภาคภูมิใจในความเปนไทย รูจักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้ง สงเสริมศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมของชาติ การกีฬา ภมู ิปญญาทองถน่ิ ภูมิปญ ญาไทย และ ความรูอันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความสามารถ ในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสรางสรรค ใฝรู และเรียนรูดวยตนเอง อยางตอ เน่อื ง หลกั ในการจัดการศึกษา (มาตรา 8) ใหยึดหลกั ดงั น้ี ตลอด 1. เปน การศกึ ษาตลอดชวี ติ สำหรับประชาชน รวม 2. ใหส ังคมมีสวนรว มในการจัดการศกึ ษา พัฒนา, ตอ 3. การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรใู หเปน ไปอยางตอ เนอื่ ง ระบบโครงสรา งและกระบวนการจดั การศกึ ษา (มาตรา 9) ใหย ดึ หลกั ดังนี้ 1. มเี อกภาพดานนโยบาย และมคี วามหลากหลายในการปฏิบตั ิ 2. มีการกระจายอำนาจไปสูเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองคกรปกครองสวน ทอ งถิ่น 3. มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ และประเภทการศึกษา 4. มีหลักการสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพและพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการ ศึกษาอยา งตอเน่ือง 5. ระดมทรพั ยากรจากแหลงตา งๆ มาใชใ นการจดั การศกึ ษา 6. การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครอง สวนทองถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ สถาบันสังคมอื่น เอก จาย ฐาน ครู ทรัพ รวม หมวด 2 สิทธิและหนา ทีท่ างการศกึ ษา บคุ คลมสี ทิ ธแิ ละโอกาสเสมอกนั ในการรับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (มาตรา 10) การจัดการศึกษา ตองจัดใหบุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา ข้นั พน้ื ฐาน ไมนอยกวา 12 ป ที่รัฐตอ งจดั ใหอยา งท่วั ถึงและมคี ณุ ภาพโดยไมเ กบ็ คาใชจาย คนทม่ี คี วามบกพรอง ตอ งจดั ใหมีสทิ ธิและโอกาสไดร ับการศกึ ษาข้นั พื้นฐานเปน พเิ ศษ คนพกิ าร (9 ประเภท) จดั ตั้งแตแ รกเกดิ หรือพบความพิการโดยไมเ สยี คาใชจ าย คนที่มีความสามารถพิเศษ จัดดวยรูปแบบที่เหมาะสม โดยคำนึงถึงความสามารถ ของบุคคลนัน้ 4

อยากเปน “ครูอาชีวะ” หนาที่ของบิดา มารดา หรือผูปกครองในการจัดใหบุตรหรือบุคคลในความดูแล ไดรบั การศกึ ษา (มาตรา 11) จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูในความดูแลไดรับการศึกษาภาคบังคับ ตลอดจนใหไดรับ การศกึ ษานอกเหนือจากการศกึ ษาภาคบังคับ ตามความพรอมของครอบครัว บทลงโทษ ตาม พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาภาคบังคบั 2545 ** ผูปกครองไมสงเด็กเขาเรียนในสถานศึกษา, ไมอำนวยความสะดวกใหแกพนักงาน เจา หนาท่ี ปรับไมเกนิ 1,000 บาท ** ผูใดกระทำดวยประการใด ๆ อันเปนเหตุใหเด็กมิไดเรียน, แจงขอมูลอันเปนเท็จ ปรับไมเกนิ 10,000 บาท ไมส ง ไมน วย >> 1,000 เปนเหตุ ไมแจง >> 10,000 สิทธิประโยชนของบิดา มารดา หรือผูปกครอง เพื่อการสงเสริมกระบวนการ จัดการศึกษา (มาตรา 13) ดังตอไปน้ี 1. การสนับสนุนจากรัฐ ใหมีความรูความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให การศกึ ษาแกบตุ รหรือบคุ คลซ่งึ อยูในความดูแล 2. เงินอุดหนุนจากรัฐสำหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูใน ความดแู ลทค่ี รอบครัวจัดให ท้ังน้ี ตามที่กฎหมายกำหนด 3. การลดหยอ นหรือยกเวน ภาษสี ำหรบั คา ใชจา ยการศึกษาตามกฎหมายกำหนด หมวด 3 ระบบการศึกษา รปู แบบการจัดการศกึ ษา (มาตรา 15) การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอธั ยาศยั 1. การศึกษาในระบบ (Formal Education) เปนการศึกษาที่กำหนดจุดมุงหมาย วิธกี ารศกึ ษา หลักสตู ร ระยะเวลาของการศกึ ษา การวัดและประเมินผล ซึง่ เปนเงอ่ื นไขของการ สำเร็จการศกึ ษาท่ีแนนอน 2. การศกึ ษานอกระบบ (Non-formal Education) เปนการศึกษาท่ีมคี วามยืดหยุน ในการกำหนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและ ประเมินผล ซึ่งเปนเง่อื นไขสำคัญของการสำเรจ็ การศึกษา โดยเนอ้ื หาและหลักสูตรจะตองมคี วาม เหมาะสมสอดคลอ งกบั สภาพปญหาและความตอ งการของบคุ คลแตละกลุม 5

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 3. การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) เปนการศึกษาที่ใหผูเรียน ไดเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม สภาพแวดลอ ม ส่อื หรอื แหลง ความรูอ่ืน ๆ ** สถานศกึ ษาอาจจัดการศกึ ษาในรปู แบบใดรปู แบบหน่งึ หรือท้ัง 3 รูปแบบก็ได ** การศกึ ษาในระบบ (มาตรา 16) มี 2 ระดับ คือ 1. การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน การศกึ ษาซึง่ จัดไมน อยกวา 12 ป กอนระดบั อดุ มศกึ ษา 2. การศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา แบงออกเปน 2 ระดบั คือ 1). ระดบั ตำ่ กวาปริญญา (ปวส., อนปุ รญิ ญา) 2). ระดบั ปรญิ ญา (ตรี โท เอก) การศึกษาภาคบังคบั (มาตรา 17) ใหม ีการศกึ ษาภาคบังคับ จำนวน 9 ป (ป.1 - ม.3) ใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปที่ 7 เขาเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุยางเขาปที่ 16 เวนแตส อบไดช ้ันปท ี่ 9 ของการศกึ ษาภาคบงั คบั การจดั การอาชีวศึกษา การฝก อบรมวิชาชีพ (มาตรา 20) การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษา ของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมอื ระหวางสถานศึกษากบั สถานประกอบการ ทัง้ น้ี ใหเปนไปตามกฎหมายวา ดวยการอาชวี ศกึ ษาและกฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ ง หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา หลกั การของแนวการจัดการศกึ ษา (มาตรา 22) การจดั การศึกษา ตอ งยดึ หลกั วา ผูเรยี นทกุ คนมีความสามารถเรียนรแู ละพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถ พฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ แนวทางของการจัดการศึกษา (มาตรา 23) การจดั การศึกษา ท้ัง 3 รูปแบบ (ในระบบ นอกระบบ ตามอธั ยาศัย) ตองเนน KPA จัดแบบบรู ณาการ ความรู/มีปญญา (K) คุณธรรม/จรยิ ธรรม (A) และกระบวนการเรยี นรู (P) การจดั กระบวนการเรยี นรู (มาตรา 24) การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของ ดำเนินการ ดงั ตอไปนี้ 1. จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคำนงึ ถงึ ความแตกตางระหวางบุคคล 2. ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกต ความรมู าใชเพอื่ ปองกันและแกไขปญหา 6

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 3. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทำได คิดเปน ทำเปน รกั การอา นและเกดิ การใฝร ูอยางตอ เน่ือง 4. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมท้ังปลกู ฝง คุณธรรม คานยิ มท่ดี ีงามและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคไวใ นทุกวิชา 5. สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียนและ อำนวยความสะดวก เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัย เปนสวนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู ทั้งน้ี ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากสื่อการ เรยี นการสอนและแหลงวทิ ยาการประเภทตา ง ๆ 6. จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผปู กครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพ่อื รว มกนั พัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ การพฒั นากระบวนการเรยี นการสอน (มาตรา 30) ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสงเสริม ใหผเู รยี นสามารถวจิ ัยเพอื่ พัฒนาการเรียนรทู ีเ่ หมาะสมกับผเู รียนในแตละระดบั การศกึ ษา หมวด 5 การบรหิ ารและการจัดการศึกษา การสงเสริมและกำกับดูแลการศึกษา (มาตรา 31) กระทรวง มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับการสงเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท และการอาชีวศึกษา แตไมรวมถึงการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่อยูในอำนาจหนาที่ ของกระทรวงอ่นื การจดั ระเบียบบริหารราชการในกระทรวง (มาตรา 32) การจัดระเบียบบรหิ ารราชการในกระทรวงใหมีองคก รหลักท่เี ปน คณะบุคคลในรูปสภาหรือ ในรูปคณะกรรมการ จำนวน 3 องคก ร (มีฐานะเปน นิติบุคคล) ไดแก 1. สภาการศกึ ษา 41 คน 2. คณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน (กพฐ.) ไมเ กนิ 27 คน 3. คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (กอศ.) ไมเ กิน 32 คน เพื่อพิจารณาใหความเห็นหรือใหคำแนะนำแกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรี และมีอำนาจ หนา ทีอ่ นื่ ตามทกี่ ฎหมายกำหนด สภาการศึกษา (มาตรา 33) มีหนาท่ี 1. พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแหงชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และ กฬี ากบั การศกึ ษาทุกระดบั 2. พจิ ารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษาเพ่ือดำเนินการใหเ ปนไปตาม 1. 3. พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนบั สนนุ ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา 4. ดำเนนิ การประเมินผลการจัดการศกึ ษาตาม 1. 7

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 5. ใหความเห็นหรือคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความ ในพระราชบญั ญตั ิน้ี ** การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแหงชาติ และ มาตรฐานการศึกษา ใหเสนอตอ คณะรฐั มนตรี หนาที่ของคณะกรรมการตาง ๆ (มาตรา 34) คณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหนา ที่ พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐาน และหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ ที่สอดคลองกับความตองการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ และ แผนการศึกษาแหงชาติ การสงเสริมประสานงานการจัดการ อาชวี ศึกษาของรัฐและเอกชน การสนับสนุนทรพั ยากร การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การจดั การอาชีวศกึ ษา โดยคำนงึ ถึงคณุ ภาพและความเปน เลิศทางวชิ าชพี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ : ฉบบั ที่ 12 : 5 ป : 2560 – 2564 แผนการศกึ ษาแหงชาติ 20 ป : 2560 – 2579 แผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป : 2561 - 2580 การกระจายอำนาจการบริหารและการจดั การศึกษา (มาตรา 39) ใหกระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดานวิชาการ งบประมาณ บรหิ ารงานบคุ คล และการบริหารทว่ั ไป หลกั เกณฑและวิธีการกระจายอำนาจดังกลาว ใหเ ปนไปตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 40) ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ำกวาระดับ ปรญิ ญา และสถานศึกษาของอาชีวศกึ ษา ของแตละสถานศกึ ษา เพ่ือทำหนาทีก่ ำกบั และสง เสริม สนบั สนนุ กิจการของสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ประกอบดว ย 1. ผูแทนผูปกครอง >> กรรมการ 2. ผแู ทนครู ครอง ครู ชน ถิน่ เกา >> กรรมการ 3. ผูแทนองคก รชมุ ชน พระ สถาน >> กรรมการ 4. ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถน่ิ >> กรรมการ 5. ผูแ ทนศษิ ยเ กาของสถานศกึ ษา >> กรรมการ 6. ผแู ทนพระภิกษุสงฆและหรอื ผแู ทนองคก รศาสนาอ่นื >> กรรมการ 7. ผแู ทนสถานประกอบการดานธุรกิจ การพาณิชย การเกษตร หรอื อตุ สาหกรรม ผแู ทนหอการคา จังหวัดและผูแ ทนองคก รดานอาชวี ศึกษาในพืน้ ท่ี >> กรรมการ ** 8. ผทู รงคุณวุฒิ >> ประธานกรรมการ ** 9. ผูบริหารสถานศึกษา >> กรรมการและเลขานุการ 8

อยากเปน “ครอู าชีวะ” ** คุณสมบัตขิ องคณะกรรมการสถานศกึ ษา 1. มอี ายุไมต่ำกวา 25 ปบริบูรณ 2. ไมเปน บคุ คลลมละลาย 3. ไมเ ปน คนไรความสามารถหรอื คนเสมอื นไรความสามารถ 4. ไมเ คยไดร ับโทษจำคกุ เวน แตค วามผิดลหโุ ทษ 5. ไมเ คยเปน คสู ัญญาหรือมสี ว นไดเสียในสัญญาท่ที ำกับวทิ ยาลยั หรอื สถาบัน การอาชวี ศึกษาทีว่ ทิ ยาลัยนั้นสงั กดั >> ผบู รหิ ารสถานศึกษา เสนอรายชื่อประธานกรรมการและกรรมการ ตอเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพือ่ พิจารณาแตงต้งั คำสง่ั หัวหนา รกั ษาความสงบแหงชาติ ท่ี 28/2559 เร่อื งการจดั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 15 ป โดยไมเก็บคาใชจ าย 1) คาจดั การเรยี นการสอน 2) คา หนังสอื (ภาคเรียนละ 1,000 บาท) 3) คาอปุ กรณก ารเรียน (ภาคเรียนละ 230 บาท) 4) คา เคร่ืองแบบนักเรียน (ปการศกึ ษาละ 900 บาท) 5) คากจิ กรรมพฒั นาผเู รียน (ภาคเรียนละ 475) 6) คาใชจายอนื่ ตามท่ีคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ (เพิม่ ใหม) ** ภาคี 4 ฝาย (เรยี นฟรี 15 ป) 1. ผูแทนครู 2. ผแู ทนผปู กครอง 3. ผแู ทนชมุ ชน 4. ผแู ทนนกั เรยี น ครอง ครู ชน เรยี น ** คาใชจ า ยเรียนฟรี ปวช. 1. คาเลาเรียน/คา หนังสอื 1,000 บาท/ภาคเรยี น 2. คากจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู รยี น 475 บาท/ภาคเรียน 3. คาเครื่องแตง กาย 900 บาท/ป 4. คาอปุ กรณก ารเรยี น 230 บาท/ภาคเรียน 9

อยากเปน “ครูอาชีวะ” หมวด 6 มาตรฐานและการประกนั คุณภาพทางการศึกษา ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา (มาตรา 47) ใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ทกุ ระดับ ประกอบดว ย ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน และระบบการประกนั คณุ ภาพภายนอก หนา ทใี่ นการจัดใหม รี ะบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา (มาตรา 48) ใหห นวยงานตนสงั กัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง ดำเนินการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด (สอศ.) หนวยงานท่ีเกี่ยวของ (สมศ.) และเปดเผยตอ สาธารณชน เพื่อนำไปสูก ารพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา และเพอื่ รองรบั การประกนั คุณภาพภายนอก ** รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม ของทกุ ป (www.vesar.org) หนวยงานตนสงั กดั ตรวจสอบทบทวนอยางนอย 1 ครงั้ ในทกุ 3 ป สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (มาตรา 49) ใหมสี ำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพทางการศึกษา (สมศ.) มีฐานะเปน องคการมหาชน สำนักงานดังกลาว ทำหนาที่พัฒนาเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทำการประเมินผลการจัดการศึกษา เพื่อใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคำนงึ ถึงความมงุ หมายและหลกั การ และแนวการจัดการศกึ ษาในแตละระดับตามท่ีกำหนดไว ในพระราชบญั ญัติน้ี ** ใหมีการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาทุกแหง อยางนอย 1 ครั้งในทุก 5 ป นับตั้งแตการประเมินครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนวยงานที่เกี่ยวของและ สาธารณชน ผลการประเมนิ ภายนอกของสถานศึกษาที่ไมไดตามมาตรฐานที่กำหนด (มาตรา 51) ใหสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) จัดทำ ขอเสนอแนะการปรับปรุงแกไขตอหนวยงานตนสังกัด เพื่อใหสถานศึกษาปรับปรุงแกไขภายใน ระยะเวลาที่กำหนด หากมิไดดำเนินการดังกลาว ใหสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศกึ ษา (สมศ.) รายงานตอคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (กอศ.) เพ่อื ดำเนินการ ใหมกี ารปรับปรุงแกไ ข 10

อยากเปน “ครอู าชีวะ” หมวด 7 ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางกรศึกษา การสนบั สนุนของรัฐเก่ียวกับบคุ ลากรทางการศึกษา (มาตรา 52) ใหกระทรวงสงเสริมใหมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย และ บุคลากรทางการศึกษา ใหมคี ณุ ภาพและมาตรฐานทเ่ี หมาะสมกบั การเปนวิชาชพี ชน้ั สูง องคกรวชิ าชพี ครู ผบู รหิ ารสถานศกึ ษาและผูบริหารการศกึ ษา (มาตรา 53) ใหมีองคก รวชิ าชพี ครู ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาและผบู รหิ ารการศกึ ษา (ครุ สุ ภา) มีฐานะเปน องคก รอิสระภายใตการบรหิ ารของสภาวชิ าชีพ ในกำกับของกระทรวง มีอำนาจหนาที่กำหนด มาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กำกับดูแลการปฏิบัติตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษาและ ผูบริหารการศกึ ษา **เกดิ ...พ.ร.บ.สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 2546** ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐ และเอกชน ตอ งมใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ ยกเวน ผูจัดการศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการศึกษาในศูนยการเรียน วิทยากร พิเศษ และผูบรหิ ารการศกึ ษาระดับเหนือเขตพื้นที่การศกึ ษา องคกรกลางบริหารงานบคุ คลของขา ราชการครู (มาตรา 54) ใหม ีองคกรกลางบริหารงานของขา ราชการครู (คณะกรรมการขา ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา : ก.ค.ศ.) **เกิด พ.ร.บ.ระเบยี บขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา** หมวด 8 ทรพั ยากรและการลงทุนเพ่ือการศกึ ษา การระดมทรัพยากร และการลงทุนในการจัดการศึกษา (มาตรา 58) ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณ การเงิน และทรัพยสิน จากทุก ภาคสวนมาใชในการจัดการศึกษา อำนาจหนาท่ีของสถานศึกษาของรัฐ (มาตรา 59) ใหสถานศึกษาของรัฐที่เปนนิติบุคคล มีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา ใช และจัดหาผลประโยชนจ ากทรัพยส นิ ของสถานศึกษา 11

อยากเปน “ครอู าชีวะ” หมวด 9 เทคโนโลยีเพ่อื การศกึ ษา การจดั สรรการใชเ ทคโนโลยกี ารสื่อสารเพ่อื การศกึ ษา (มาตรา 63) รัฐตอ งจดั สรรคล่นื ความถี่ สือ่ ตัวนำ และโครงสรางพืน้ ฐาน การสงเสรมิ และสนับสนุนใหมกี ารผลติ และพฒั นาสือ่ การเรยี นการสอน (มาตรา 64) รฐั ตอ งสง เสรมิ และสนบั สนนุ ใหมีการผลิตและพฒั นาแบบเรยี น ตำรา หนังสอื ทางวิชาการ สื่อสิง่ พิมพอ ่ืน วัสดอุ ปุ กรณ และเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา การพฒั นาบุคลากรทางดานผผู ลติ และผูใ ชเทคโนโลยเี พ่อื การศกึ ษา (มาตรา 65) ใหมกี ารพฒั นาบุคลากรทง้ั ดา นผผู ลิต และผูใชเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา 12

อยากเปน “ครอู าชีวะ” 2. พระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 และทีแ่ กไ ขเพ่มิ เตมิ ประกาศ 6 กรกฎาคม 2546 มีผลบังคับใช 7 กรกฎาคม 2546 เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัตินี้คือ โดยที่เปนการจำเปนตองกำหนดขอบเขต อำนาจหนาที่ของสวนราชการตางๆ ของกระทรวงศึกษาธิการใหชัดเจน เพื่อมิใหการปฏิบัติงาน ซึ่งซอนทับกันระหวางสวนราชการของกระทรวง และจำเปนที่จะตองจัดระบบบริหารราชการ ในระดับตางๆ ของกระทรวงใหมีเอกภาพสามารถดำเนินการใหเปนไปตามกฎหมายวาดวย การศึกษาแหงชาติ และนโยบายท่ีรัฐมนตรกี ำหนดได มี 5 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 82 มาตรา (ปจจบุ ัน 78 มาตรา) หมวด 1 การจดั ระเบียบบรหิ ารราชการในสวนกลาง หมวด 2 การจัดระเบยี บบรหิ ารราชการเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา หมวด 3 การจัดระเบียบบรหิ ารราชการในสถานของรฐั ทีจ่ ดั การศกึ ษาระดับปรญิ ญา ที่เปน นติ ิบุคคล หมวด 4 การปฏบิ ตั ริ าชการแทน กลาง เขต ญา บตั ิ ษา หมวด 5 การรกั ษาราชการแทน บทเฉพาะกาล มาตรา 6 ใหจดั ระเบียบราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดังน้ี 1. ระเบยี บบรหิ ารราชการในสว นกลาง 2. ระเบียบบรหิ ารราชการเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา กลาง เขต ญา 3. ระเบียบบริหารราชการสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เปน นิติบุคคล แตไมรวมถึงการจัดการศึกษาที่อยูในอำนาจหนาที่ของกระทรวงอื่นที่มีกฎหมาย กำหนดไวเ ปน การเฉพาะ มาตรา 8 รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปน ผรู กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา 9 ใหจ ัดระเบยี บบรหิ ารราชการในสว นกลาง ดงั น้ี 1. สำนักงานปลัดกระทรวง 2. สวนราชการที่มีหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ 1

อยากเปน “ครอู าชีวะ” มาตรา 10 การแบงสวนราชการในสวนกลางของกระทรวงศึกษาธิการใหเปนไปตาม พระราชบัญญัตินี้ โดยใหมีหัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ดงั น้ี รัฐ 1. สำนักงานรฐั มนตรี >> ไมม ฐี านะเปนกรม 5 สวนราชการ ปลัด 2. สำนกั งานปลดั กระทรวง 4 กรม สภา 3. สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา มีฐานะเปนนิติบุคคล ฐาน 4. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และเปนกรม อา 5. สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มาตรา 11 การแบงสวนราชการภายในสวนราชการตามมาตรา 10 ใหออกเปน กฎกระทรวง และใหระบุอำนาจหนาที่ของแตละสวนราชการไวในกฎกระทรวงวาดวยการแบง สวนราชการดงั กลา ว มาตรา 12 กระทรวงศึกษาธิการ มีรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนผูบังคับ บญั ชาขาราชการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ มีอำนาจหนาที่ กำหนดนโยบาย เปาหมาย และ ผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงศึกษาธิการ ใหสอดคลองกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว ตอรัฐสภา หรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยจะใหมีรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารเปน ผูชวยสงั่ และปฏิบัติราชการก็ได 2

อยากเปน “ครอู าชีวะ” มาตรา 14 สภาการศกึ ษา มี 41 คน โดยมี รฐั มนตรีวา การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปนประธาน เลขาธิการสภาการศึกษาทำหนา ท่ีเปน กรรมการและเลขานกุ าร สภาการศึกษา มีหนาท่ี 1. พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแหงชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และ กีฬากับการศึกษาทกุ ระดบั 2. พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศกึ ษาเพ่อื ดำเนินการใหเปน ไปตาม 1. 3. พจิ ารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนนุ ทรพั ยากรเพอื่ การศกึ ษา 4. ดำเนินการประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาตาม 1. 5. ใหความเห็นหรือคำแนะนำเกี่ยวกับกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความใน พระราชบัญญัตนิ ี้ ** การเสนอนโยบาย แผนการศึกษาแหงชาติ และ มาตรฐานการศึกษา ใหเสนอตอ คณะรัฐมนตรี มาตรา 17 ใหม ีคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (กอศ. ไมเกนิ 32 คน) มหี นาท่ี พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐาน และหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดบั ที่สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและแผนการศึกษาแหงชาติ การสงเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน การสนับสนุน ทรัพยากร การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการอาชวี ศึกษา มาตรา 20 ใหก ระทรวงศกึ ษาธิการมผี ตู รวจราชการของกระทรวง เพ่ือทำหนา ท่ี ตรวจราชการ ศึกษา วิเคราะห วิจัย ติดตาม และประเมินผลระดับนโยบาย นิเทศ ใหคำปรึกษาและแนะนำเพือ่ การปรบั ปรุงพฒั นา การปฏิบัติราชการแทน หมายถึง การที่ผูบังคับบัญชามอบอำนาจใหผูใตบังคับบัญชา ปฏิบตั ริ าชการแทนเปนเรอื่ งๆ โดยผมู อบอำนาจยังสามารถปฏิบัตหิ นา ทไ่ี ด มาตรา 44 ใหปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน และเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระจายอำนาจการบริหาร และการจัดการศึกษาทั้งดานวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหาร ทั่วไป 3

อยากเปน “ครอู าชีวะ” การมอบอำนาจ ตำแหนง ผูรบั มอบ หมายเหตุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. รฐั มนตรีชวยวา การ รมว.ศธ. กระทรวงศกึ ษาธิการ ไมสามารถ 2. ปลัดกระทรวง มอบอำนาจ 3. เลขาธิการ ให ผอ.สพท./ 4. หัวหนา สวนราชการซึง่ ดำรงตำแหนง ผอ.รร. ได เทียบเทา อธกิ ารบดี 5. ผูวา ราชการจงั หวัด ผอู ำนวยการสถานศึกษา หรือผู ขาราชการในสถานศึกษาหรือใน ดำรงตำแหนง เทยี บเทา หนวยงานท่ีเรียกชอ่ื อยางอ่ืนไดต าม ระเบยี บทีค่ ณะกรรมการเขตพน้ื ที่ การศึกษากำหนด มาตรา 46 การมอบอำนาจใหทำเปนหนงั สอื การมอบอำนาจ เมือ่ มกี ารมอบอำนาจโดยชอบแลว ผรู บั มอบอำนาจมีหนาทต่ี องรับมอบ และจะมอบตอไมได >> เวนแตมอบใหผูวาราชการจังหวัด (ตามกฎหมายวาดวยระเบียบ บริหารราชการแผน ดนิ ) การรักษาราชการแทน หมายถึง กรณที ไี่ มมผี ูดำรงตำแหนง หรือมแี ตไมสามารถปฏิบัติ ราชการได ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจ ไดมีการแตงตั้งใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งตามที่กฎหมาย กำหนดเขา ไปรกั ษาราชการแทนในตำแหนงน้นั มาตรา 54 ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงผูอำนวยการสถานศึกษา หรือมีแตไมอาจ ปฏิบัติราชการได ใหรองผูอำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถามีรองผูอำนวยการ สถานศึกษาหลายคน ใหผมู ีอำนาจาตามมาตรา 53 (เลขาธกิ าร สอศ. โดยอนุมัติ อ.ก.ค.ศ. กอศ.) แตงตั้งรองผูอำนวยการสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งรักษาราชการแทน ถาไมมีผูดำรงตำแหนง รองผูอำนวยการสถานศึกษา หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใหผูมีอำนาจตามมาตรา 53 (เลขาธิการ สอศ. โดยอนุมัติ อ.ก.ค.ศ. กอศ.) แตงตั้งขาราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งเปน ผรู ักษาราชการแทน 4

อยากเปน “ครูอาชีวะ” ** คำสั่ง คสช. ที่ 16/2560 เรื่อง การบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษา ขอ 5 ยกเลิกการรักษาราชการแทน ใหผูมีอำนาจตามมาตรา 53 (เลขาธิการ สอศ. โดยอนุมัติ อ.ก.ค.ศ. สอศ.) สั่งใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไปรักษาการ ในตำแหนงนัน้ ได เดมิ ใชค ำวา “รกั ษาราชการแทน” ใหม ใชคำวา “รกั ษาการในตำแหนง ” การรักษาราชการแทน ใชในกรณี ผูดำรงตำแหนงไมมี หรือ ไมอยูสถานที่ทำงาน ผูรกั ษาราชการ มอี ำนาจเชนเดยี วกับผทู ่ีตนเองแทน 5

อยากเปน “ครอู าชีวะ” 3. พระราชบัญญตั ิสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 (เกิดจาก พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 53) ประกาศในราชกิจนานเุ บกษา 11 มถิ ุนายน 2546 มผี ลบงั คับใชเมอ่ื 12 มถิ ุนายน 2546 4 หมวด 90 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล หมวด 1 สภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา หมวด 2 คณะกรรมการสงเสรมิ สวัสดกิ ารและสวสั ดิภาพครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา หมวด 3 การกำกบั ดูแล สภา สง เสรมิ หมวด 4 บทกำหนดโทษ กำกับ โทษ บทเฉพาะกาล เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัตินี้คือ ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหาร การศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาเปนผูมีบทบาทสำคัญตอการจัดการศึกษาของชาติ จึงตอง เปน ผมู คี วามรู ความสามารถและทักษะอยางสูงในการประกอบอาชีพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและ ประพฤติปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งมีคณุ ภาพและมาตรฐานเหมาะสมกับการ เปนวิชาชีพชน้ั สูง จึงจำเปน ตองตรากฎหมายเพือ่ 1) พฒั นาวิชาชีพครู และสง เสรมิ มาตรฐานวชิ าชพี ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 2) เพอื่ ปรบั สภาในกระทรวงศึกษาธิการเปนองคก รวชิ าชพี ครู 2.1) สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกชอ่ื วา “ครุ สุ ภา” มีอำนาจหนาท่ี กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กำกับดูแลการปฏิบัติ ตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี และการพฒั นาวชิ าชีพ 2.2) สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดกิ ารและสวสั ดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา (สกสค.) มอี ำนาจหนา ที่ในการสงเสรมิ สวัสดกิ าร สวสั ดภิ าพ ความม่นั คงของ ผูประกอบวิชาชีพและผูปฏิบัติงานดานการศึกษา รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการจัด การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ 2.3) เพื่อสืบทอดประวัติศาสตรและเจตนารมณของการจัดตั้งคุรุสภาใหเปนสภา วิชาชีพครตู อ ไป วชิ าชีพ หมายความวา วิชาชพี ทางการศึกษาทท่ี ำหนาท่หี ลกั ทางดา นการเรียนการสอน และการสง เสรมิ การเรียนรูของผูเรยี นดวยวธิ กี ารตาง ๆ 1

อยากเปน “ครูอาชีวะ” ผูป ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา หมายความวา 1. ครู 2. ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 3. ผบู รกิ ารการศึกษา 4. บุคลากรทางการศึกษาอื่น (ศน.) ซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญตั ิน้ี ครู หมายความวา บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางดานการเรียนการสอนและ สงเสริมการเรยี นรขู องผเู รียนดว ยวธิ กี ารตาง ๆ ในสถานศกึ ษาปฐมวัย ขั้นพ้นื ฐานและอดุ มศึกษา ที่ตำ่ กวา ปริญญา ทง้ั ของรฐั และเอกชน ผูบริหารสถานศึกษา หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหนงผูบริหาร สถานศึกษาภายในเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาอื่นที่จัดการศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศกึ ษาตำ่ กวาปริญญาทัง้ ของรัฐและเอกชน ผูบริหารการศึกษา หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตำแหนงผูบริหาร นอกสถานศึกษาในระดับเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา บุคลากรทางการศึกษาอื่น หมายความวา บุคคลซึ่งทำหนาที่สนับสนุนการศึกษา ใหบริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการ บริหารการศกึ ษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ ซึง่ หนว ยงานการศึกษากำหนดตำแหนงใหตองมี คุณวุฒิทางการศกึ ษา หนวยงานการศึกษา หมายความวา สถานศึกษาหรือหนวยงานอื่นที่มีหนาท่ีกำกับดูแล สนับสนุน สงเสริมใหบริการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาต่ำกวาปริญญา ท้งั ของรฐั และเอกชน สถานศึกษา หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชนที่มีอำนาจหนาที่หรอื มีวัตถุประสงคในการจัดการศกึ ษา วัย เรยี น วิท บนั ลยั ใบอนุญาต หมายความวา ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซ่ึงออกใหผูปฏิบตั ิงานในตำแหนง ครู ผูบรหิ ารสถานศึกษา ผูบ รหิ ารการศึกษาและบคุ ลากรทางการศึกษาอนื่ ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา 6 รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รักษาการตามพระราชบญั ญัติน้ี 2

อยากเปน “ครูอาชีวะ” หมวด 1 สภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา มาตรา 7 ใหมีสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกวา คุรุสภา มีวัตถุประสงค และอำนาจหนาที่ตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้มีฐานะเปนนิติบุคคล ในกำกับของ กระทรวงศกึ ษาธิการ มาตรา 8 คุรุสภามีวตั ถปุ ระสงคด งั ตอไปน้ี 1) กำหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กำกับดูแลการ ปฏบิ ัติตามมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทงั้ การพฒั นาวิชาชพี 2) กำหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ 3) ประสาน สง เสรมิ การศึกษาและการวิจัยเกีย่ วกบั การประกอบวิชาชพี ฐาน บาย จัย มาตรา 9 คุรสุ ภามอี ำนาจหนาท่ีดงั ตอ ไปน้ี 1) กำหนดมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี 2) ควบคมุ ความประพฤตแิ ละการดำเนินงานของผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ใหเ ปน ไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวชิ าชพี 3) ออกใบอนุญาตใหแกผ ูขอประกอบวชิ าชพี 4) พักใชใ บอนุญาตหรอื เพกิ ถอนใบอนุญาต 5) สนับสนนุ สง เสรมิ และพฒั นาวชิ าชีพตามมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของ วิชาชีพ 6) สง เสรมิ สนบั สนนุ ยกยอ ง และผดุงเกยี รตผิ ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา 7) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบันตาง ๆ ตาม มาตรฐานวชิ าชีพ 8) รบั รองความรูแ ละประสบการณ รวมทงั้ ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ 9) สงเสริมการศึกษาและการวจิ ยั เก่ยี วกบั การประกอบวิชาชพี 10) เปน ตวั แทนผูประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาของประเทศไทย 11) ออกขอบงั คับคุรุสภา 12) ใหคำปรึกษาหรือเสนอแนะตอคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายหรือปญหาการ พฒั นาวิชาชีพ 13) ใหค ำแนะนำหรอื เสนอความเหน็ ตอ รฐั มนตรีเก่ยี วกับการประกอบวิชาชีพหรือ การออกกฎกระทรวง ระเบีบบ และประกาศตา ง ๆ 14) กำหนดใหมีคณะกรรมการเพื่อกระทำการใด ๆ อันอยูในอำนาจหนาที่ของ คุรุสภา 3

อยากเปน “ครอู าชีวะ” 15) ดำเนนิ การใหเ ปน ไปตามวัตถุประสงคของคุรสุ ภา มาตรา 10 คุรุสภาอาจมีรายได ดังน้ี 1) คาธรรมเนยี มตามพระราชบัญญัตนิ ้ี 2) เงนิ อุดหนุนจากงบประมาณแผน ดิน เนยี ม หนนุ โยชน ทิศ ดอก 3) ผลประโยชนจากการจัดการทรพั ยสนิ และการดำเนินกิจการของคุรุสภา 4) เงนิ และทรพั ยส ินซง่ึ มีผอู ุทศิ ใหแ กคุรสุ ภา 5) ดอกผลของเงนิ และทรัพยส ินตาม 1-4 รายไดข องครุ ุสภาไมเปนรายไดท่ตี องนำสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวาดวยเงินคงคลัง และกฎหมายวา ดวยวิธีการงบประมาณรวมทงั้ ไมอยูในขายการบังคับตามกฎหมายภาษีอากร ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง กำหนดอัตราคา ธรรมเนียมการประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา 1. คาขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตเปน ผูป ระกอบวชิ าชีพ ฉบับละ 500 บาท 2. คาตอใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ฉบบั ละ 200 บาท 3. คาหนงั สือรับรองการข้ึนทะเบยี นเปน ผูประกอบวิชาชพี ฉบบั ละ 300 บาท 4. คาหนงั สืออนุมัติหรอื วุฒบิ ตั รแสดงความรคู วามชำนาญ ฉบับละ 400 บาท ฉบับละ ในการประกอบวชิ าชีพ 200 บาท 5. คาใบแทนใบอนุญาต แทน : 2 ขึ้น : 5 ตอ : 2 รอง : 3 มตั ิ : 4 สรุปการขอขน้ึ ทะเบยี นรับใบอนุญาตและการออกใบอนญุ าต ยื่นคำขอตอ ** ผูขอขึน้ ทะเบียนรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ เลขาธกิ ารคุรุสภา ตามแบบท่กี ำหนด (คร/ู ผูบริหารสถานศึกษา/ผูบ รหิ ารการศกึ ษา/ศกึ ษานิเทศก) ** ชาวตางประเทศทีไ่ มมสี ญั ชาตไิ ทย ขอขึ้นทะเบียนรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู ** ผไู ดร ับอนุมตั ใิ หข้ึนทะเบียนและรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี แลว ประสงคจะขอหนังสอื รับรองการข้นึ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าต การกำหนดอายแุ ละการตอใบอนุญาต การตอ ใบอนญุ าต ** ยนื่ คำขอกอ นหมดอายภุ ายใน 180 วนั 4

อยากเปน “ครูอาชีวะ” ** ยนื่ คำขอตอ เลขาธกิ ารคุรุสภา ** หากยื่นหมดอายุ ใหชี้แจงเหตุผลพรอมหลักฐานและชำระคาปรับดำเนินการลาชา เปนเงินเดือนละ 200 บาท แตไมเกิน 2,000 บาท โดยระยะเวลาที่ลาชานับไดไมถึง 1 เดอื น ใหนับเปน 1 เดือน ใบอนุญาตสิน้ สุด ** ใบอนุญาตหมดอายุ (5 ป) ** ถูกสั่งเพกิ ถอน (พน 5 ป ใหย นื่ คำขอตอ เลขาธกิ ารครุ สุ ภา) ** ถกู สง่ั พกั ใชใบอนญุ าต (ไมเ กิน 5 ป) มาตรา 12 ใหค ณะกรรมการคณะหนง่ึ เรียกวา คณะกรรมการครุ ุสภา จำนวน 12 คน ประกอบดวย 1. รัฐมนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปนประธานกรรมการ 2. กรรมการโดยตำแหนง ประกอบดวย 10 คน - รฐั มนตรชี วยวาการกระทรวงศึกษาธิการ (2 คน) - ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ - เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ชวย2 ปลดั สภา - เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ฐาน อุ อา - เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ขา สง หวั - เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา - เลขาธิการคณะกรรมการขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา - เลขาธิการคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษาเอกชน - หวั หนาสำนักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คลสวนทอ งถิ่น 3. เลขาธกิ ารคุรุสภา เปนกรรมการและเลขานุการ ** คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) คอื รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน ประธานกรรมการ ** ในกรณีเห็นสมควร รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ อาจใหคณะกรรมการคุรุสภา และคณะกรรมการ สกสค. สรรหาและแตงตั้ง เลขาธิการคุรุสภา/ เลขาธิการ สกสค./ ผอ. องคการคา ของสำนกั งานคณะกรรมการ สกสค. ใหเลขาธกิ ารคุรสุ ภา เปน กรรมการและเลขานุการ ผลู งนามในใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชพี ผูล งนามในบตั รประจำตวั สมาชกิ ครุ ุสภา เลขาธิการครุ ุสภา 5

อยากเปน “ครูอาชีวะ” มาตรา 20 ใหค ณะกรรมการคุรสุ ภามีอำนาจหนาที่ ดงั ตอ ไปน้ี 1) บริหารและดำเนนิ การตามวัตถุประสงคแ ละอำนาจหนาทขี่ องคุรสุ ภา 2) ใหคำปรกึ ษาและแนะนำแกค ณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี 3) พจิ ารณาวนิ ิจฉัยอุทธรณค ำสง่ั ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา 54 4) เรงรัดใหพนักงานเจาหนาที่สวนราชการ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ปฏิบตั ติ ามอำนาจหนา ทท่ี ี่กฎหมายกำหนด 5) แตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อกระทำการใด ๆ อันอยูในอำนาจหนาที่ของ คณะกรรมการครุ ุสภา 6) ควบคุมดูแลการดำเนินงานและการบริหารงานทั่วไป ตลอดจนออกระเบียบ ขอ บงั คบั ประกาศหรือขอ กำหนดเกี่ยวกับสำนักงานเลขาธิการคุรุสภา 7) กำหนดนโยบายการบริหารงาน และใหค วามเห็นชอบแผนการดำเนนิ งานของ สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา 8) ปฏบิ ัติการอน่ื ใดตามทก่ี ฎหมายกำหนดไวใหเปน อำนาจหนาทขี่ องคณะกรรมการคุรุสภา 9) พิจารณาหรอื ดำเนนิ การในเร่ืองอ่นื ตามทีร่ ฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา 21 ใหมีคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ จำนวน 17 คน ประกอบดวย 1) ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ ครุ สุ ภา 2) กรรมการโดยตำแหนง 5 คน ประกอบดว ย - เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ฐาน อา เอก - เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นอก ขา - เลขาธกิ ารคณะกรรมการสง เสรมิ การศกึ ษาเอกชน - เลขาธกิ ารสำนกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย - เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3) กรรมการผูทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน ซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาสรรหาจาก ผูทรงคุณวุฒิที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณสูงดานการศึกษา การบริหาร และ กฎหมาย 4) กรรมการจากคณาจารยในคณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร หรือการศึกษา ทั้งของรัฐ และเอกชน ที่มีการสอนระดับปริญญาในสาขาวิชาครุศาสตร ศึกษาศาสตร หรือการศึกษา ซึ่ง เลือกกนั เอง จำนวน 2 คน 5) กรรมการจากผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา จำนวน 4 คน ซึ่งคณะกรรมการคุรุ สภาแตงตั้ง มาจากผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ดำรงวิทยฐานะไมต่ำกวาเชี่ยวชาญ วชิ าชพี ละ 1 คน * ตำแหนงครู * ตำแหนงผบู รหิ ารสถานศกึ ษา 6

อยากเปน “ครูอาชีวะ” * ตำแหนงผบู ริหารการศึกษา * ตำแหนง ศึกษานิเทศก 6) เลขาธิการครุ สุ ภา เปน กรรมการและเลขานุการ มาตรา 24 วาระการดำรงตำแหนงของกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ ตาม 1) 3) 4) และ 5) ใหอยูในตำแหนงคราวละ 4 ป และอาจไดรับการแตงตั้งอีก แตจะดำรงตำแหนง เกนิ 2 วาระตดิ ตอ กันไมไ ด มาตรา 25 คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพมอี ำนาจและหนา ที่ ดังตอ ไปนี้ 1) พิจารณาการออกใบอนุญาตใหแกผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และการ พักใชห รือเพิกถอนใบอนญุ าต 2) กำกับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา 3) สงเสริม พัฒนา และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากำหนดมาตรฐานและ จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี 4) สงเสริม ยกยอง และพัฒนาวิชาชีพไปสูความเปนเลิศในสาขาตาง ๆ ตามที่ กำหนดในขอ บังคับของครุ ุสภา 5) แตงตั้งทีป่ รกึ ษา คณะอนกุ รรมการ หรอื มอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ เพ่ือกระทำการใด ๆ อันอยใู นอำนาจและหนา ท่ีของคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี 6) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดไวใหเปนอำนาจและหนาที่ของ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ 7) พิจารณาหรือดำเนินการในเรื่องอื่นตามที่รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการคุรุสภา มอบหมาย ** ใหคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพเสนอรายงานการดำเนินงานประจำปตอ คณะกรรมการคุรสุ ภา ตามระเบียบท่ีคณะกรรมการครุ สุ ภากำหนด ** มาตรา 39 เลขาธิการคุรสุ ภามีหนาท่ีบริหารกจิ การของสำนักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา 1) ดแู ลรักษาทะเบยี นผไู ดร ับใบอนญุ าต 2) ควบคุมดแู ลทรัพยสินของครุ สุ ภา 3) เสนอรายงานประจำปตอคณะกรรมการคุรุสภา 4) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกิจการและการดำเนินงานใหมี ประสทิ ธิภาพ มาตรา 43 ใหวิชาชีพ 1. ครู 2. ผูบริหารสถานศึกษา เปน วิชาชีพควบคุมตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ 3. ผบู รหิ ารการศึกษา 7

อยากเปน “ครอู าชีวะ” การกำหนดวิชาชีพควบคุมอื่น เชน ศึกษานิเทศก (ศน.) ใหเปนไปตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง หามมิใหผูใดประกอบวิชาชีพควบคุม โดยไมไดรับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ เวน แตกรณอี ยา งใดอยา งหนง่ึ ดังตอไปน้ี 1) ผูที่เขามาใหความรูแกผูเรียนในสถานศึกษาเปนครั้งคราวในฐานะวิทยากร พเิ ศษทางการศกึ ษา 2) ผูท่ีไมไดประกอบวิชาชีพหลักทางดานการเรียนการสอนแตบางครั้งทำหนาท่ี สอนดว ย 3) นักเรียน นักศึกษา หรือผูรับการฝกอบรมหรือผูไดรับใบอนุญาตปฏิบัติ การสอน ซึ่งทำการฝกหัดหรืออบรมในความควบคุมของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเปน ผูใหการศึกษาหรือฝกอบรม ทั้งนี้ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภา กำหนด 4) ผทู จี่ ดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั 5) ผูที่ทำหนาท่ีสอนในศูนยการเรียนตามกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ หรอื สถานทเ่ี รียนทห่ี นว ยงานจดั การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศยั บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคก รปกครองสว นทองถิน่ องคกรเอกชน องคกรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถาน ประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอื่นเปน ผจู ดั 6) คณาจารย ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ระดบั ปรญิ ญาทงั้ ของรัฐและเอกชน 7) ผูบรหิ ารการศกึ ษาระดบั เหนือเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 8) บุคคลอน่ื ตามท่คี ณะกรรมการครุ สุ ภากำหนด (ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเกนิ 1 ป หรือปรับไมเกนิ 20,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรบั ) มาตรา 44 ผขู อรบั ใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพควบคุม ตอ งมีคุณสมบัติและไมมี ลักษณะตองหา ม ดงั ตอไปนี้ (ขอ บังคบั ครุ สุ ภาวา ดวยใบประกอบวชิ าชพี ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562) (ก) คณุ สมบตั ิ 1) มอี ายุไมตำ่ กวา 20 ปบริบูรณ 2) ผมู ีคณุ วฒุ ทิ ี่สำเรจ็ การศกึ ษาในประเทศไทย ขอ ใดขอหนง่ึ ดงั น้ี 2.1) วุฒไิ มต ำ่ กวาปริญญาทางการศึกษาหรือเทยี บเทา ทค่ี ุรุสภารับรอง 2.2) วุฒไิ มต ่ำกวาปริญญาตรอี ื่นทีค่ รุ ุสภารับรอง 2.3) วฒุ ไิ มตำ่ กวา ปริญญาตรอี ่นื และผานการรับรองความรูตามมาตรฐาน ความรวู ชิ าชพี ของคุรสุ ภา 8

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 3) ผูมีคุณวฒุ ิท่สี ำเร็จการศกึ ษาจากตางประเทศ ขอใดขอหนึ่ง ดังน้ี 3.1) วฒุ ปิ รญิ ญาทางการศึกษาหรอื เทยี บเทา 3.2) วฒุ ิปรญิ ญาอืน่ และมใี บประกอบวชิ าชีพครจู ากตางประเทศ 3.3) วุฒิปริญญาตรีอื่นและมีคุณวุฒิประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูที่ใชเวลา ศึกษาไมน อ ยกวา หนง่ึ ป 3.4) วฒุ ิปรญิ ญาตรอี น่ื และผานการรับรองความรูตามมาตรฐานความรูวชิ าชีพของ ครุ สุ ภา 4) ผานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเปนเวลา ไมนอยกวา 1 ป และผานเกณฑการประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ วิธีการ และ เง่อื นไขท่ีคณะกรรมการคุรุสภากำหนด (ข) ลักษณะตอ งหา ม เสอ่ื ม 1) เปนผูมีความประพฤติเส่ือมเสยี หรือบกพรอ งในศลี ธรรมอนั ดี ไร 2) เปนคนไรค วามสามารถหรือเสมือนไรค วามสามารถ คุก แหง วิชาชพี 3) เคยตองโทษจำคุกในคดีท่ีคุรุสภาเหน็ วา อาจนำมาซ่ึงความเส่ือมเสยี เกียรติศักด์ิ มาตรา 45 การขอรับใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาต ผูขอตออายุใบอนุญาต หรือผูขอรับใบแทนใบอนุญาต ซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพพิจารณาวินิจฉัยไมออกใบอนุญาต ไมตออายุใบอนุญาต หรือไมออกใบแทนใบอนุญาตให อาจอุทธรณคำสั่งดังกลาวตอคณะกรรมการคุรุสภา ภายใน 30 วนั นับแตวันทีไ่ ดร บั แจง มาตรา 46 หามมิใหผูใดแสดงดวยวิธีใด ๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตนมีสิทธิหรือพรอมจะ ประกอบวิชาชีพ โดยไมไดรับอนุญาตจากคุรุสภา และหามมิใหสถานศึกษารับผูไมไดรับ ใบอนญุ าตเขา ประกอบวชิ าชีพควบคมุ ในสถานศกึ ษา เวน แตจะไดร บั อนญุ าตจากคุรสุ ภา (ตองระวางโทษจำคกุ ไมเกิน 3 ป หรือปรบั ไมเกนิ 60,000 บาท หรอื ทง้ั จำทง้ั ปรับ) มาตรา 49 ใหมขี อ บงั คับวาดวยมาตรฐานวชิ าชีพ ประกอบดวย 1) มาตรฐานความรูและประสบการณว ชิ าชีพ (6+2) 2) มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (3 ดา น 4+8+4) 3) มาตรฐานการปฏิบตั ิตน (5) ชพี งาน ตน 9

อยากเปน “ครอู าชีวะ” มาตรา 50 มาตรฐานการปฏิบัติตน ใหกำหนดเปนขอบังคับวาดวยจรรยาบรรณของ วชิ าชีพ ประกอบดวย 1) จรรยาบรรณตอตนเอง 2) จรรยาบรรณตอ วิชาชีพ ตน ชพี รบั รว ม คม 3) จรรยาบรรณตอผูรบั บรกิ าร 4) จรรยาบรรณตอ ผูรวมประกอบวิชาชพี 5) จรรยาบรรณตอ สงั คม มาตรา 51 บุคคลซึ่งไดรับความเสียหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ของผูไ ดรบั ใบอนญุ าต มสี ทิ ธิกลาวหาผไู ดรบั ใบอนญุ าตผูนั้น โดยทำเรอื่ งย่นื ตอ คุรุสภา กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพหรือบุคคลอื่น มีสิทธิกลาวโทษผูประกอบ วชิ าชพี วา ผิดจรรยาบรรณของวชิ าชีพ โดยแจง เรื่องตอคุรุสภา สิทธิการกลาวหา หรือสิทธิการกลาวโทษดังกลาวสิ้นสุดลงเมื่อพน 1 ปนับแตวันที่ ผูไดรับความเสียหายหรือผูกลาวโทษรูเรื่องการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวชิ าชีพดังกลาวและ รตู วั ผปู ระพฤตผิ ดิ การถอนเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษที่ไดยื่นไวแลวนั้นไมเปนเหตุใหระงับการ ดำเนนิ การตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ มาตรา 52 เมื่อคุรุสภาไดรับเรื่องการกลาวหาหรือการกลาวโทษ ใหเลขาธิการคุรุสภา เสนอเรื่องดงั กลา วตอ คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี โดยไมช กั ชา มาตรา 53 ใหประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีหนังสือแจงขอกลาวหาหรือขอ กลาวโทษ พรอมทั้งสงสำเนาเรื่องที่กลาวหาหรือกลาวโทษใหผูไดรับใบอนุญาต ซึ่งถูกกลาวหา หรอื กลา วโทษลวงหนา ไมนอ ยกวา 15 วันกอนเร่ิมพจิ ารณา ผูถูกกลาวหาหรือถูกกลาวโทษมีสิทธิทำคำชี้แจงหรือนำพยานหลักฐานใด ๆ สงให คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพหรืออนุกรรมการ ภายใน 15 วันนับแตวันที่ไดรับแจงจาก ประธานกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี หรือภายในเวลาทีค่ ณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพกำหนด มาตรา 54 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มีอำนาจวนิ จิ ฉยั ชขี้ าดอยา งใดอยา งหน่ึง 1) ยกขอ กลา วหา >> กรณีไมผ ิด 2) ตกั เตอื น 3) ภาคทัณฑ ยก ตกั ภาค พกั เพิก 4) พักใชใ บอนญุ าต มกี ำหนดเวลาตามท่ีเหน็ สมควร แตไมเ กิน 5 ป 5) การเพกิ ถอนใบอนุญาต มาตรา 55 ผูไดรับใบอนุญาตซึ่งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ วินิจฉัยชี้ขาด ตามมาตรา 54 2) 3) 4) หรือ 5) อาจอุทธรณตอคณะกรรมการคุรุสภา ภายใน 30 วัน นบั แตวันทไี่ ดร บั แจง คำวินิจฉัย 10

อยากเปน “ครอู าชีวะ” คำวินิจฉยั ช้ขี าดของคณะกรรมการคุรุสภาใหท ำเปนคำสงั่ คุรุสภา พรอมดว ยเหตุผลของ การวนิ ิจฉยั ช้ขี าด มาตรา 56 หามมิใหผูไดรับใบอนุญาตซึ่งอยูในระหวางถูกสั่งพักใชใบอนุญาตผูใด ประกอบวิชาชีพควบคุมหรือแสดงดวยวิธีใด ๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตนมีสิทธิหรือพรอมจะ ประกอบวิชาชีพควบคมุ นับแตว นั ท่ีทราบคำส่ังพักใชใ บอนุญาตนน้ั (ตองระวางโทษจำคกุ ไมเกิน 3 ป หรือปรบั ไมเ กนิ 60,000 บาท หรอื ทงั้ จำทง้ั ปรบั ) มาตรา 57 ผูไดรับใบอนุญาตซึ่งถูกสั่งเพิกถอนจะยื่นขออีกไมไดจนกวาจะพน 5 ป นบั แตวันทีถ่ ูกสง่ั เพิกถอน มาตรา 58 สมาชิกคุรุสภา มี 2 ประเภท ดังน้ี 1) สมาชกิ สามัญ >> ผมู ใี บอนุญาตตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ 2) สมาชกิ กิตติมศักดิ์ >> ผทู รงคณุ วฒุ ซิ ่ึงคณะกรรมการครุ สุ ภาแตง ตง้ั มาตรา 62 ใหมีคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา (สกสค.) ทำหนา ที่ บรหิ ารงานสำนักงานคณะกรรมการสงเสรมิ สวัสดิการและ สวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยมีวตั ถุประสงค ดังตอไปน้ี 1) สงเสริมสวัสดิการ สวัสดิภาพ สิทธิประโยชนเกื้อกูลอื่นและความมั่นคง ของผปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาและผูปฏบิ ตั ิงานดานการศึกษา 2) สงเสริมความสามัคคีและผดงุ เกียรติของผูประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาและ ผปู ฏิบัตงิ านดานการศกึ ษา 3) สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของกระทรวงในเรื่องสื่อการเรียนการ สอนวสั ดอุ ปุ กรณการศึกษาและเรื่องอ่นื ทีเ่ ก่ยี วกับการจัดการศึกษา 4) สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการดำเนินงาน ดา นสวัสดกิ ารสวสั ดภิ าพและผดงุ เกยี รติของผูป ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา มาตรา 63 คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา มอี ำนาจหนา ที่ ดงั ตอ ไปน้ี 1) ดำเนินงานดานสวสั ดิการ สวัสดภิ าพ สิทธิประโยชนเ กื้อกลู อื่น และความ มั่นคงของผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา และผปู ฏิบัตงิ านดา นการศึกษา 2) สงเสริม สนับสนุน ยกยองและผดุงเกียรติของผูประกอบวิชาชีพทางการ ศึกษาและผปู ฏิบตั งิ านดานการศกึ ษา 3) สงเสริมใหผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา และผูปฏิบัติงานดานการศึกษา ไดร ับสวัสดกิ ารตาง ๆ ตามสมควร 11

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 4) ใหความเห็น คำปรึกษา และคำแนะนำในเรื่องการสงเสริมสวัสดิการ สวัสดภิ าพ สทิ ธิ ประโยชนแ ละความม่ันคงของผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา และผูปฏบิ ัติงาน ดา นการศกึ ษาแกห นว ยงานที่เก่ยี วขอ ง 5) ดำเนินงานและบริหารจัดการองคการจัดหาผลประโยชนของสำนักงาน คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดภิ าพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 6) ออกขอบังคับและหลักเกณฑในการดำเนินกิจการตามอำนาจหนาที่ของ คณะกรรมการสง เสรมิ สวัสดิการและสวดั ภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 7) แตงตั้งคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายใหกรรมการ สง เสรมิ สวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเพอื่ กระทำการใดๆ แทน 8) สรรหาและแตงตั้งเลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 9) ดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคในการบริหารงานสำนักงาน คณะกรรมการสง เสรมิ สวสั ดิการและสวัสดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 64 ใหคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา (สกสค.) มีจำนวน 9 คน ประกอบดว ย 1. รัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษา >> ประธานกรรมการ 2. ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 3. เลขาธิการสภาการศึกษา ปลัด สภา ฐาน อุ อา ขา คุ 4. เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 5. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการ 6. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 7. เลขาธิการคณะกรรมการขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 8. เลขาธิการคุรุสภา 9. เลขาธิการคณะกรรมการ สกสค. >> กรรมการและเลขานุการ มาตรา 67 สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวสั ดิภาพครแู ละบุคลากร ทางการศกึ ษา มีฐานะเปน นติ ิบุคคล ในกำกับของกระทรวงศกึ ษาธิการ มาตรา 68 สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวสั ดภิ าพครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา มรี ายไดดงั ตอ ไปนี้ 1) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผนดิน 2) เงนิ คาบำรุงและคาธรรมเนียมตา งๆ หนนุ เนยี ม โยชน ทิศ ผล ดอก 3) เงินผลประโยชนตางๆ จากการลงทุนและการจดั หาผลประโยชน 4) เงินอุดหนุนจากภาคเอกชนหรือองคกรอื่นรวมทั้งจากตางประเทศหรือองคกร ระหวางประเทศและเงนิ หรือทรพั ยส ินท่มี ีผอู ุทศิ ให 12

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 5) ผลประโยชนจากการจัดการทรัพยสินและการดำเนินกิจการของสำนักงาน คณะกรรมการสงเสริมสวสั ดกิ ารและสวสั ดภิ าพครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 6) ดอกผลของเงินและทรพั ยสินตาม 2) 3) 4) และ 5) รายไดของสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาไมเปน รายไดทต่ี องนำสงกระทรวงการคลงั มาตรา 75 รัฐมนตรมี ีอำนาจหนา ท่ี กำกบั ดแู ลการดำเนินงานของคุรสุ ภาและสกสค. มาตรา 77 ใหสำนักงานตรวจเงินแผนดิน ตรวจสอบการปฏิบัติงานดานการเงินและ บัญชขี องคุรุสภาเปนประจำทกุ ป แลวรายงานใหรัฐสภาทราบ บทกำหนดโทษ มาตรา 78 ผูใดฝาฝนขอกำหนดเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพควบคุม ตามมาตรา 43 (ประกอบวชิ าชพี ควบคมุ โดยไมไดรับใบอนญุ าต) ตอ งระวางโทษจำคกุ ไมเกิน 1 ป หรือปรับ ไมเกนิ 20,000 บาท หรือทงั้ จำท้งั ปรบั (12) มาตรา 79 ผูใดฝาฝนโดยแสดงดวยวิธีใดๆ ใหผูอื่นเขาใจวาตนมีสิทธิหรือพรอมจะ ประกอบวิชาชีพ โดยไมไดรับใบอนุญาตจากคุรุสภา ตามมาตรา 46 หรือฝาฝนคำสั่งพักใช ใบอนญุ าต ตามมาตรา 56 (รบั ผูไ มมีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพเขาประกอบวิชาชีพควบคุม ในสถานศกึ ษา) (อยใู นระหวา งพกั ใชใบอนญุ าตแลวประกอบวิชาชีพควบคมุ ) ตองระวางโทษ จำคุกไมเกนิ 3 ป หรือปรับไมเกนิ 60,000 บาท หรอื ท้งั จำท้งั ปรบั (36) 13

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 4. พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 และท่แี กไ ขเพิ่มเตมิ ฉบับท่ี 1 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา 23 ธนั วาคม 2547 มผี ลบังคับใช 24 ธนั วาคม 2547 ผรู บั สนองพระบรมราชการโองการ นายวิษณุ เครืองาม ฉบบั ท่ี 2 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 20 กุมภาพันธ 2551 มผี ลบังคบั ใช 21 กุมภาพันธ 2551 ผรู ับสนองพระบรมราชการโองการ พลเอกสรุ ยุทธ จุลานนท ฉบับท่ี 3 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา 22 กรกฎาคม 2553 มผี ลบังคับใช 23 กรกฎาคม 2553 ผรู บั สนองพระบรมราชการโองการ นายอภสิ ทิ ธ์ิ เวชชาชวี ะ ฉบับท่ี 4 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา 5 เมษายน 2562 มผี ลบังคับใช 6 เมษายน 2562 ผรู ับสนองพระบรมราชการโองการ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา เหตุผล : เพื่อเปนการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบของ ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ประกอบดว ย 9 หมวด 140 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล หมวด 1 คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา หมวด 2 บททั่วไป หมวด 3 การกำหนดตำแหนง วทิ ยฐานะ และการใหไดรบั เงินเดอื น เงนิ วิทยฐานะ และเงนิ ประจำตำแหนง หมวด 4 การบรรจแุ ละแตง ตัง้ หมวด 5 การเสริมสรางประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิราชการ หมวด 6 วินยั และการรักษาวินยั หมวด 7 การดำเนินการทางวนิ ัย กรรม ทัว่ ตำ หมวด 8 การออกจากราชการ แตง ประสิทธิ รัก หมวด 9 การอุทธรณและการรองทุกข ดำ ออก อุท บทเฉพาะกาล 1

อยากเปน “ครูอาชีวะ” มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี “ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา บุคคลซึ่งไดรับการบรรจุ และแตงตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ ใหการรับราชการไดรับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผนดิน งบบุคลากรท่ีจายในลักษณะเงินเดอื นในกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวงวฒั นธรรม หรือกระทรวงอื่นทก่ี ำหนดในพระราชกฤษฎกี า “ขาราชการครู” หมายความวา ผูที่ประกอบวชิ าชีพซึ่งทำหนาทหี่ ลักทางดานการเรียน การสอนและสงเสรมิ การเรยี นรขู องผเู รยี นดวยวิธีการตา ง ๆ ในสถานศึกษาของรัฐ “คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทำหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัย ในสถานศึกษาระดบั อดุ มศึกษาระดับปรญิ ญาของรฐั “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้งผูสนับสนุนการศึกษา ซึ่งเปนผูทำหนาที่ใหบริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษาและปฏิบัติงานอื่นในหนวยงาน การศกึ ษา “วิชาชีพ” หมายความวา วิชาชีพครู วิชาชีพบริหารการศึกษา วิชาชีพบุคลากร ทางการศกึ ษาอ่นื “หนวยงานการศกึ ษา” หมายความวา 1) สถานศึกษา 2) สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา สถาน เขต นอก 3) สำนกั งานการศึกษานอกโรงเรยี น แหลง หนวย 4) แหลงเรียนรูต ามประกาศของสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา 5) หนวยงานตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ หรือตามประกาศกระทรวงหรือหนวยงานที่คณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษากำหนด “สถานศึกษา” หมายความวา 1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 2) โรงเรียน 3) ศูนยการศกึ ษาพเิ ศษ 4) ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและตามอธั ยาศยั วยั เรียน เศษ อัธ 5) ศูนยการเรยี น ศูนย ลัย ชน บัน 6) วทิ ยาลัย 7) วทิ ยาลยั ชุมชน 8) สถาบนั หรือสถานศกึ ษาทีเ่ รยี กชื่ออยางอ่นื ของรฐั 2

อยากเปน “ครอู าชีวะ” มาตรา 7 ใหมีคณะกรรมการบริหารงานบุคคลขาราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” เรียกโดย ยอ วา “ก.ค.ศ.” (คำสัง่ คสช. 16/2560 มจี ำนวน 14 คน ) ประกอบดวย 1. รฐั มนตรวี า การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร >> ประธานกรรมการ 2. กรรมการโดยตำแหนง ** รฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงศึกษาธิการ (2 คน) ** ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ** เลขาธิการ ก.พ. ชว ย2 ปลดั ก.พ. ** เลขาธิการสภาการศึกษา สภา ฐาน อุ ** เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน อา ครุ ุ ** เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศึกษา ** เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ** เลขาธกิ ารครุ ุสภา 3. กรรมการผูทรงคณุ วุฒิ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการแตงตั้งจากบุคคลที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณส งู 1) ดานทรัพยากรบุคคล 2) ดานการศึกษา 3) ดา นกฎหมาย 4. เลขาธกิ าร ก.ค.ศ. >> กรรมการและเลขานุการ ใหเลขาธิการ ก.ค.ศ. แตงตั้งขาราชการใน ก.ค.ศ. จำนวนไมเกิน 2 คน เปนผชู ว ยเลขานกุ าร ไมไดเปนกรรมการ ** ยกเลกิ คำวา “ขน้ั เงนิ เดอื น” เปน คำวา “เงินเดือน” ** ให ก.ค.ศ. เปน ผูดำเนินการสอบแขงขนั “คร”ู ** ใหผมู ีอำนาจ ตามมาตรา 53 สงั่ ใหข า ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไปรักษาการในตำแหนง แทนคำวา รกั ษาราชการแทน มาตรา 19 ให ก.ค.ศ. มีอำนาจและหนาท่ี ดังตอไปน้ี 1) เสนอแนะและใหคำปรึกษาแกคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบายการผลิตและการ บริหารงานบคุ คลของขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตามพระราชบญั ญัติน้ี 2) กำหนดนโยบายวางแผนและกำหนดกฎเกณฑอัตรากำลังของขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษารวมทั้งใหความเห็นชอบจำนวนและอัตราตำแหนงของหนวยงาน การศกึ ษา 3) เสนอแนะและใหคำปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีในกรณที ีค่ าครองชีพเปล่ียนแปลงไปมาก หรือการจัดสวัสดิการหรือประโยชนเกื้อกูลสำหรับขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3

อยากเปน “ครูอาชีวะ” พิจารณาปรับปรุงเงินเดือน เงินวิทยฐานะสำหรับขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหเ หมาะสม 4) ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการบริหารงาน บุคคลของขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 5) พจิ ารณาวินจิ ฉัยตคี วามปญ หาท่เี กิดขึ้นเนื่องจากการใชบงั คับพระราชบัญญัตินี้ 6) พัฒนาหลกั เกณฑ วิธีการ และมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล 7) กำหนดวิธกี ารและเงือ่ นไขการจางเพ่ือบรรจแุ ละแตงตงั้ บคุ คลเพื่อปฏิบตั ิรวมท้ังกำหนด อัตราเงนิ เดอื นหรือคา ตอบแทน 8) สงเสริม สนับสนุนการพัฒนา การเสริมสรางขวัญกำลังใจ และการยกยองเชิดชู เกียรติขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 9) สงเสริม สนับสนุนใหมีการจัดสวัสดิการและสิทธิประโยชนเกือ้ กูลอื่นแกขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา 10) พิจารณาแตงตั้ง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นท่ีการศึกษาและคณะอนุกรรมการอื่นเพื่อปฏิบัติ หนา ท่ีตามท่ี ก.ค.ศ. มอบหมาย 11) สงเสริม สนับสนุน ประสานงาน ใหคำปรึกษา แนะนำและชี้แจงดานการ บริหารงานบุคคลแกหนวยงานทางการศกึ ษา 12) กำหนดมาตรฐาน พิจารณา และใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณแ ละการรองทกุ ข 13) กำกับ ดูแล ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการบริหารงานบุคคลของขาราชการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 14) ในกรณีที่ปรากฏวาสวนราชการ หนวยงานการศกึ ษา อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ที่การศึกษา คณะอนุกรรมการหรือผูมีหนาที่ปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตนิ ี้ ไมปฏิบัติตามพระราชบญั ญัติน้ีหรือ ปฏิบัติการโดยไมถูกตองและไมเหมาะสมหรือปฏบิ ัติการโดยขัดหรือแยงกับกฎหมาย กฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ขอบังคับ หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดให ก.ค.ศ. มีอำนาจ ยับยั้งการปฏิบัติการดังกลาวไวเปนการชั่วคราว เมื่อ ก.ค.ศ. มีมติเปนประการใดแลว ใหสวน ราชการหนวยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาและคณะอนุกรรมการหรือผูมีหนาที่ ปฏิบัตติ ามพระราชบัญญัตินปี้ ฏบิ ตั ไิ ปตามนั้น 15) พิจารณารับรองคุณวุฒิของผูไดรับปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิ อยา งอ่นื เพือ่ ประโยชน 16) กำหนดอัตราคา ธรรมเนยี มในเรอ่ื งการปฏบิ ัตกิ ารตาง ๆ ตามทีก่ ำหนดในพระราชบญั ญตั นิ ี้ 17) พิจารณาจดั ระบบทะเบียนประวตั แิ ละแกไขทะเบียนประวตั เิ กี่ยวกับวัน เดือน ป เกิด และควบคุมการเกษยี ณอายุของขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 18) ปฏิบัตหิ นาท่ีอนื่ ตามทีบ่ ัญญตั ิไวใ นพระราชบญั ญตั ินี้ หรอื ตามกฎหมายอ่ืน 4

อยากเปน “ครูอาชีวะ” มาตรา 20 ใหมีเลขาธิการคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เรยี กโดยยอวา “เลขาธิการ ก.ค.ศ.” ซง่ึ มฐี านะเปนอธิบดี เปนผบู งั คบั บัญชาขาราชการครแู ละ บรหิ ารราชการของ ก.ค.ศ. มาตรา 30 ผูซึ่งจะเขารับราชการเปนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได ตองมีคณุ สมบตั ทิ ั่วไป ดังตอ ไปนี้ 1) มีสญั ชาติไทย 2) มอี ายไุ มต ่ำกวา 18 ปบรบิ รู ณ 3) เปนผูเลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขตามรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย 4) ไมเปนผูดำรงตำแหนงทางการเมือง สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น (** เปน สมาชิกพรรคการเมอื งได **) 5) ไมเปนคนไรค วามสามารถ หรือจิตฟนเฟอนไมส มประกอบหรือเปนโรคตามที่กำหนด ในกฎ ก.ค.ศ. กฎ ก.ค.ศ. วา ดวยโรค พ.ศ. 2549 โรคตามมาตรา 30 (5) คือ 1) โรคเร้ือนในระยะตดิ ตอ หรอื ในระยะทีป่ รากฎอาการเปนท่ีรงั เกียรติแกสงั คม 2) วณั โรคในระยะตดิ ตอ 3) โรคเทา ชางในระยะท่ปี รากฎอาการทเ่ี ปนท่รี งั เกียจแกสังคม 4) โรคติดยาเสพติดใหโ ทษ 5) โรคพิษสุราเรื้อรัง เรื้อน วณั ชา ง ติด พิษ 6) ไมเปนผูอยูในระหวางถูกสั่งพักราชการ ถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนตาม พระราชบัญญตั ินี้หรอื ตามกฎหมายอืน่ หรอื ถกู ส่ังพักหรือเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพตาม หลักเกณฑท ่ีกำหนดในกฎหมายองคก รวิชาชพี นน้ั ๆ 7) ไมเปนผูบกพรองในศีลธรรมอันดี สำหรับการเปนผูประกอบวิชาชีพครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา 8) ไมเปน กรรมการบรหิ ารพรรคการเมอื งหรอื เจาหนาท่ีในพรรคการเมือง (** เปนสมาชกิ พรรคการเมอื งได **) 9) ไมเ ปนบคุ คลลมละลาย (** มีหน้สี ินลน พน ตัวได **) 10) ไมเปนผูเคยตองโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับ ความผิดที่ไดกระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ 11) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกจากรัฐวิสาหกิจ องคการ มหาชน หรือหนว ยงานอื่นของรฐั หรอื องคก ารระหวา งประเทศ 5

อยากเปน “ครูอาชีวะ” 12) ไมเปนผูเคยถูกลงโทษใหออก ปลดออก หรือไลออกเพราะกระทำผิดวินัยตาม พระราชบญั ญตั นิ ้หี รอื ตามกฎหมายอืน่ 13) ไมเปนผูเคยกระทำการทุจริตการสอบเขารับราชการหรือปฏิบัติงานในหนวยงาน ของรัฐ (** ทุจริตการสอบปลายภาคได **) มาตรา 31 เงินวทิ ยฐานะและเงินประจำตำแหนง ไมถ ือเปน เงนิ เดอื น มาตรา 38 ตำแหนง ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มี 3 ประเภท ดงั นี้ (ก) ตำแหนง ซ่งึ มีหนา ทีเ่ ปน ผสู อนในหนว ยงานการศึกษา ไดแก ตำแหนงดงั ตอ ไปนี้ 1) ครผู ชู วย >> เร่มิ บรรจุ จะมใี นหนว ยงานการศึกษาใดกไ็ ด 2) ครู ใหมีในหนว ยงานการศึกษาทีส่ อนระดบั ปริญญา 3) อาจารย 4) ผูช วยศาสตราจารย 5) รองศาสตราจารย 6) ศาสตราจารย (ข) ตำแหนงผูบ รหิ ารสถานศกึ ษาและผูบริหารการศึกษา ไดแก ตำแหนงดงั ตอ ไปน้ี 1) รองผอู ำนวยการสถานศึกษา ใหม ใี นสถานศกึ ษาและหนวยงาน 2) ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา การศึกษาตามประกาศกระทรวง 3) รองผอู ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา ใหมีในสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 4) ตำแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ค) ตำแหนงบคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่น มดี งั ตอไปน้ี 1) ศึกษานิเทศก 2) ตำแหนง ท่เี รียกชื่ออยา งอน่ื ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด สรปุ ตำแหนงขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 1. ตำแหนงทีส่ อนในหนวยงานการศึกษา >> ครผู ูชว ย/ครู/อาจารย/ผูชว ย ศาสตราจารย/รองศาสตราจารย/ ศาสตราจารย 2. ตำแหนง ผูบริหารสถานศกึ ษา >> รอง ผอ./ผอ./รอง ผอ.เขต/ผอ.เขต 3. ตำแหนงบคุ ลากรทางการศกึ ษาอื่น >> ศน. มาตรา 39 ใหตำแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะ ดังตอไปนี้ ก. ตำแหนง ครู มี 4 วทิ ยฐานะ ดังตอไปนี้ 1) ครูชำนาญการ (คศ.2) 2) ครชู ำนาญการพิเศษ (คศ.3) 3) ครูเชย่ี วชาญ (คศ.4) 4) ครเู ชยี่ วชาญพเิ ศษ (คศ.5) 6

อยากเปน “ครูอาชีวะ” ข. ตำแหนง ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา มีวิทยฐานะดังตอไปนี้ 1) รองผอู ำนวยการชำนาญการ 2) รองผูอ ำนวยการชำนาญการพเิ ศษ 3) รองผูอ ำนวยการเชีย่ วชาญ 4) ผูอำนวยการชำนาญการ 5) ผูอำนวยการชำนาญการพิเศษ 6) ผูอ ำนวยการเชี่ยวชาญ 6) ผูอำนวยการเชย่ี วชาญพเิ ศษ ค. ตำแหนง ผูบ รหิ ารการศึกษา มีวิทยฐานะดังตอไปน้ี 1) รองผูอ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ 2) รองผูอำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาเชีย่ วชาญ 3) ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาเชี่ยวชาญ 4) ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาเชยี่ วชาญพิเศษ ง. ตำแหนงศกึ ษานิเทศก มีวทิ ยฐานะ ดังตอ ไปนี้ 1) ศกึ ษานิเทศกช ำนาญการ 2) ศึกษานเิ ทศกชำนาญการพเิ ศษ 3) ศึกษานเิ ทศกเชย่ี วชาญ 4) ศึกษานิเทศกเช่ยี วชาญพิเศษ วทิ ยฐานะ เงินวทิ ยฐานะ คา ตอบแทน หมายเหตุ ชำนาญการ (คศ.2) 3,500 วทิ ยฐานะ เงินเดอื นเกนิ ขั้น คศ.4 ชำนาญการพิเศษ (คศ.3) 5,600 เชย่ี วชาญ (คศ.4) 9,900 5,600 เพ่ิม 15,600 เช่ียวชาญพิเศษ (คศ.5) 13,000 9,900 13,000 มาตรา 40 ใหตำแหนงคณาจารยดังตอ ไปน้ี เปน ตำแหนง ทางวิชาการ 1) อาจารย 2) ผูชวยศาสตราจารย 3) รองศาสตราจารย 4) ศาสตราจารย มาตรา 53 ผมู อี ำนาจสง่ั บรรจแุ ตง ต้งั ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 1) การบรรจุและแตงตั้งตำแหนงซึ่งมีวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ เมื่อไดรับอนุมัติ จาก ก.ค.ศ. แลว ใหผูบังคับบัญชาสูงสุดของสวนราชการ (เลขาฯ กอศ.) ที่ผูนั้นสังกัดอยู เปนผูมีอำนาจสั่งบรรจุ และใหรัฐมนตรีเจาสังกัดนำเสนอนายกรัฐมนตรีเพ่ือนำความกราบบังคม ทลู เพื่อทรงพระโปรดเกลาฯ แตง ตง้ั (เลขาฯ กอศ. >> บรรจุ พระมหากษัตริย >> แตง ตง้ั ) 7

อยากเปน “ครอู าชีวะ” 4) การบรรจุและแตงตั้งใหดำรงตำแหนงครูผูชวย ตำแหนงครูและตำแหนงบุคลากร ทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค (2) ในสถานศึกษา ใหเลขาธิการคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา โดยอนมุ ตั ิ อ.ก.ค.ศ. สอศ. เปนผมู อี ำนาจการบรรจแุ ละแตง ต้ัง มาตรา 56 ผูใดไดรับการบรรจุและแตงตั้งในตำแหนงครูผูชวย ใหผูนั้นเตรียมความ พรอ มและพฒั นาอยางเขม เปนเวลา 2 ป กอนแตงตงั้ ใหต ำรงตำแหนง ครู ** การเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยางเขมสำหรับตำแหนงครผู ูชวยเปน ไปตามหลกั เกณฑ และวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กำหนด ดงั น้ี ** หลกั เกณฑ 1. ผูใดไดรบั การบรรจแุ ละแตงตัง้ ใหด ำรงตำแหนงครผู ูชว ย ใหผ ูน นั้ เตรยี มความพรอม และพัฒนาอยา งเขม ในตำแหนง ครผู ูช ว ย เปนเวลา 2 ป นับตง้ั แตว นั เขาปฏิบตั ิราชการ กอนแตงตงั้ ใหด ำรงตำแหนง ครู (คศ.1) 2. กอนการมอบหมายหนาท่ีใหปฏบิ ตั ิ ใหผ อู ำนวยการสถานศึกษา แจงให ครูผูชวย ทราบถึง ภาระงาน มาตรฐานคณุ ภาพงาน มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ เกณฑ การประเมิน 3. การเตรยี มความพรอมและพฒั นาอยางเขม ใหคณะกรรมการเตรยี มความพรอมและ พฒั นาอยางเขม ดำเนินการดังน้ี 1) ประเมนิ การเตรียมความพรอมและพัฒนาอยา งเขม เสนอตอ ผูมีอำนาจตาม มาตรา 53 พิจารณาตอไป 4. การนบั ระยะเวลาการเตรียมความพรอ มและพัฒนาอยา งเขม 2 ป ใหนบั วนั เขาปฏิบัติ ราชการวันแรกเปน วันเร่มิ ตน และนบั ระยะเวลาส้นิ สุดตามปปฏทิ ิน กรณีครผู ูชวยผใู ดไดลาคลอดบตุ ร ลาปว ย ซึ่งจำเปนตองรกั ษาตวั เปน เวลานาน เพราะ ประสบอันตรายในขณะปฏบิ ตั ริ าชการตามหนา ทห่ี รือขณะเดินทางไปหรือกลบั จากปฏิบัตริ าชการ ตามหนาท่หี รอื ลาเขารบั การตรวจเลอื กหรือเขา รับการเตรียมพล เปนระยะเวลาเกินกวา 90 วนั ไมใหนับระยะเวลาการลาทเ่ี กนิ 90 วนั ดงั กลาวเปน การเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยา งเขม วิธกี าร 1. ใหผ ูมีอำนาจตามมาตรา 53 แตงตง้ั คณะกรรมการเตรยี มความพรอ มอยางเขม จำนวน 3 คน โดยมอี งคป ระกอบตามลำดบั ดังน้ี 1.1 ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา ประธานกรรมการ 1.2 ผูด ำรงตำแหนง ครใู นสถานศกึ ษา กรรมการ 1.3 ผทู รงคุณวุฒอิ นื่ จากภายนอกสถานศึกษา กรรมการ ใหคณะกรรมการเตรียมความพรอมและพัฒนาอยางเขม มีหนาที่พัฒนาและประเมินผล การปฏิบัติงานควบคูกันเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่องทุก 6 เดือน รวม 4 ครั้งในเวลา 2 ป ตามแบบประเมนิ ท่ี ก.ค.ศ. กำหนด 8

อยากเปน “ครูอาชีวะ” ผูที่ผานการประเมินการเตรียมความพรอมและพัฒนาอยางเขมตองมีผลการประเมิน จากกรรมการทุกคนเฉลี่ยในแตละครงั้ ดงั นี้ คร้ังท่ี 1 - 2 ตอ งมคี ะแนนในแตล ะดา น ไมตำ่ กวารอยละ 60 คร้ังท่ี 3 - 4 ตองมีคะแนนในแตละดาน ไมต ำ่ กวา รอ ยละ 70 มาตรา 59 การยายขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา การยาย หมายถึง การแตงตั้งขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหนงครู ใหด ำรงตำแหนง เดิมในสถานศึกษาอืน่ การยายขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 1) การยา ยกรณีปกติ >> การยา ยตามคำรอ งขอยา ย 2) การยายกรณีพเิ ศษ >> การยายตามคำรอ งขอยา ย เนื่องจาก >> ติดตามคสู มรส >> เจบ็ ปว ยรา ยแรง >> ถูกคุกคามตอ ชวี ติ >> เพื่อดูแลบดิ า มารดา คสู มรส หรือบตุ ร ซึ่งเจ็บปว ยรายแรงหรือทุพพลภาพ 3) การยายกรณีเพื่อความเหมาะสมและประโยชนของทางราชการ >> การยายเพ่ือ แกปญหาการบริหารจัดการในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา หรือเพื่อเกลี่ย อัตรากำลงั ของสถานศกึ ษา คณุ สมบตั ผิ ูข อยา ยกรณปี กติ ** ไดป ฏิบัตงิ านในตำแหนงครู ในสถานศึกษาปจจุบันติดตอกันมาแลวไมนอยกวา 24 เดือน นบั ถงึ วันที่ย่นื คำขอ ** ในกรณขี องครผู ชู วย จะตองปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษาปจ จบุ นั ไมนอยกวา 4 ป (ครูผูชวย 2 ป + ครู 2 ป) และไมอยรู ะหวา งลาศกึ ษาตอเต็มเวลา ** สวนการยายสับเปลี่ยนกับตำแหนงที่มีคนครองในวันที่ยื่นคำรองขอยายตองมีอายุ ราชการเหลือไมนอยกวา 24 เดือน นับถึงวันที่ 30 กันยายน ของปที่ครบเกษียณอายุ ราชการ มาตรา 72 ใหผูบังคับบัญชามีหนาทปี่ ระเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา มาตรา 77 การเลื่อนเงินเดือนของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหผูบังคับบัญชาแตงตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณา ใหยึดหลักคุณธรรม มีความเที่ยงธรรม เปดเผย โปรงใสและพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานเปนหลัก และมีความประพฤติในการรักษา วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี >> ผูอำนวยการสถานศึกษาแตงตั้งคณะกรรมการไมนอยกวา 3 คน พิจารณา ผลการปฏบิ ัตงิ าน ใหเ ลือ่ นเงนิ เดือนปล ะ 2 คร้ัง 9

อยากเปน “ครูอาชีวะ” - รอบครง่ึ ปแ รก 1 ต.ค. – 31 มี.ค. ใหเ ลอื่ นเงินเดือนวนั ท่ี 1 เม.ย. ของปท จ่ี ะเลอ่ื น - รอบคร่งึ ปหลงั 1 เม.ย. – 30 ก.ย. ใหเ ลือ่ นเงินเดอื นวนั ที่ 1 ต.ค. ของปท ี่จะเลือ่ น การเลื่อนขั้นเงินเดือนในอัตรารอยละที่เทากันจะกระทำมิได การเลื่อนเงินเดือนของ ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาแตละคนในแตล ะครงั้ ใหเล่อื นไดในอัตราไมเกินรอยละ 6 ของฐานในการคำนวณ การคำนวณจำนวนเงินสำหรับการเลื่อนเงินเดือนถามีเศษไมถึงสิบบาท ใหป ด เปน สิบบาท วนิ ยั ขาราชการครู คอื ขอ บัญญัตทิ ก่ี ำหนดเปน ขอ หามและขอปฏิบตั ิ มาตรา 82 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองรักษาวินัยที่บัญญัติไว เปนขอหามและขอปฏิบัติในหมวดนี้โดยเครงครัดอยูเสมอ (ความผิดที่เกิดกอนบรรจุแตงตั้งครู ไมอ าจนำมาลงโทษทางวนิ ยั ได) มาตรา 83 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองสนับสนุนการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยโดยมพี ระมหากษัตริยท รงเปน ประมขุ ตามรฐั ธรรมนญู แหงราชการอาณาจักรไทย ดวยความบริสุทธิ์ใจและมีหนาที่วางรากฐานใหเกิดระบอบการปกครองเชนวานั้น (ยุยงใหคนอ่ืน ไมไปใชสิทธิ์ใชเ สยี ง มีโทษ ภาคทณั ฑ) มาตรา 84 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตองปฏิบัติหนาที่ราชการดวยความ ซื่อสัตยสุจริตเสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส รักษาประโยชนของทางราชการและตองปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพ อยา งเครงครดั หามมิใหอาศัยหรือยอมใหผูอื่นอาศัยอำนาจและหนาที่ราชการของตน ไมวาจะโดย ทางตรงหรือทางออ ม หาประโยชนใหแ กต นเองหรอื ผูอ่นื การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับ ประโยชนท ีม่ ิควรไดเ ปน การทุจริตตอ หนา ท่ีราชการ เปนความผดิ วนิ ยั รายแรง (ไลอ อก) มาตรา 85 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองปฏิบัติหนาที่ราชการใหเปนไป ตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหนว ยงานการศึกษา มตคิ ณะรฐั มนตรี หรอื นโยบายของรัฐบาล โดยถือประโยชนสูงสุดของผูเรียน และไมใหเกิดความเสียหายแกทาง ราชการ การปฏิบัติหนาที่ราชการโดยจงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทาง ราชการ และหนวยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเลอ หรือขาดการเอาใจใสระมัดระวังรักษาประโยชนของทางราชการ อันเปนเหตุใหเกิดความ เสยี หายแกราชการอยา งรา ยแรงเปน ความผิดวนิ ยั รายแรง (ประมาท คือ ขาดความรอบคอบ ขาดความระมัดระวัง : เปนครูคุมสอบไมด ีใหน ักเรยี นลอกขอสอบกนั ) (เลนิ เลอ คอื ไมร อบคอบในสิง่ ที่ควรกระทำ : เจาหนา ทีก่ ารเงนิ ลมื นำเงนิ เก็บใสต ูนริ ภยั ) 10

อยากเปน “ครูอาชีวะ” มาตรา 86 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองปฏิบัติตามคำสั่งของ ผูบังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหนาที่ราชการโดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไมขัดขืนหรือหลีกเล่ียง แตถาเห็นวา การปฏบิ ตั ิตามคำส่งั นนั้ จะทำใหเสียหายแกร าชการ หรือ จะเปนการไมรักษาประโยชนของทางราชการจะเสนอความเห็นเปนหนังสือภายใน 7 วัน เพื่อใหผูบังคับบัญชาทบทวนคำส่ังนัน้ ก็ได และเมื่อเสนอความเห็นแลว ถาผูบังคับบญั ชายืนยนั เปนหนงั สือใหปฏิบัตติ ามคำสง่ั เดิม ผอู ยใู ตบ งั คบั บัญชาจะตองปฏบิ ตั ิตาม การขัดคำสั่งหรือหลีกเลี่ยงไมปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหนาที่ราชการ โดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเปนเหตุใหเสียหายแกราชการ อยางรา ยแรง เปน ความผดิ วินยั อยางรา ยแรง (คำส่งั ผูบงั คบั บัญชา เปน ลายลักษณอักษร หรอื วาจา หรือ Line ก็ได เชน ผอ.สั่งใหมาทำงานเรงดวนในวันหยุดแตไมมา โทษภาคทัณฑ ผอ.สั่งใหปฏิบัติหนาที่เวรรักษาการณ แตไมอยูเกิดเหตุเพลิงไหม หรือโจรมาขโมยสิ่งของ โทษไลออก) มาตรา 87 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตองตรงตอเวลา อุทิศเวลาของตน ใหแกทางราชการและผูเ รยี น จะละท้งิ หรือทอดทง้ิ หนา ทรี่ าชการโดยไมมีเหตผุ ลอันสมควรมไิ ด การละท้ิงหนาที่หรือทอดทิ้งหนาที่ราชการติดตอ กันเปน เวลาเกนิ กวา 15 วัน โดยไมมี เหตผุ ลอนั สมควรหรอื โดยมพี ฤตกิ ารณอนั แสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบยี บของทางราชการ เปน ความผดิ วนิ ยั อยา งรา ยแรง (ละทิง้ หมายถงึ ไมอ ยปู ฏิบัติงานตามหนาที่หรือไมม าปฏบิ ตั ิหนา ทเ่ี ลย) >> กลบั กอ นเวลา ไมรา ยแรง >> มาสายบอยคร้ังไมมเี หตผุ ลพอ >> มาลงชือ่ ปฏบิ ัติหนาที่แตไ มอ ยูโ รงเรียน >> ลาศึกษาตอตา งประเทศแลวไมกลับมาเลย ไลออก (เขาขา ยความผิดปรากฏชดั แจง ) >> ละท้งิ หนา ทเ่ี กนิ กวา 15 วัน (ทอดท้ิง หมายถงึ ตัวอยูแ ตไมทำงาน ไมเ อาใจใส ไมเ อาธรุ ะ ไมน ำพา) มาตรา 88 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองประพฤติเปนแบบอยางที่ดี แกผูเรียน ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบรอย รักษาความสามัคคี ชวยเหลือเกื้อกูล ตอผูเรียนและระหวางขาราชการดวยกันหรือผูรวมปฏิบัติราชการ ตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรมแกผ ูเรยี นและประชาชนผมู าติดตอราชการ 11

อยากเปน “ครอู าชีวะ” การกลน่ั แกลง ดูหม่นิ เหยยี ดหยาม กดขีห่ รือขม เหงผูเรยี น หรอื ประชาชนผมู าติดตอ ราชการอยา งรา ยแรง เปนความผดิ วนิ ัยอยางรายแรง ** เหยียดหยาม คือ กริ ยิ าอาการดูถกู หรือรังเกยี จ ** กดข่ี คือ ขมใหอยูใ นอำนาจของตน ใชอำนาจบังคับเอา แสดงอำนาจเอา ** ขม เหง คือ ใชอ ำนาจรังแก ** ดหู มิน่ คอื ดถู กู วา ไมดี ไมเ กงจริง สบประมาท (ดูหม่นิ เหยียดหยาม นกั เรยี นวา โงเ ปน ควาย โทษปลดออก กลนั่ แกลง ไมน ำเรอื่ งเบิกเงนิ งวดกอสรางไปสง ทำใหผรู ับเหมาไดรับเงินลาชา โทษปลดออก) มาตรา 89 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองไมกลั่นแกลง กลาวหา หรือ รองเรยี นผูอื่น โดยปราศจากความจรงิ (ตดั เงนิ เดอื น) การกระทำดังกลาวถาเปนเหตุใหผูอื่นไดรับความเสียหายอยางรายแรง เปนความผิด วินยั อยา งรา ยแรง (ปลดออก) มาตรา 90 ขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตอ งไมกระทำการหรือยอมใหผูอ่ืน กระทำการหาประโยชนอันอาจทำใหเสื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ ในตำแหนง หนา ทรี่ าชการของตน การกระทำตามวรรคหนึ่ง ถาเปนการกระทำโดยมีความมุงหมายจะใหเปนการซื้อขาย หรือใหไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหรือวิทยฐานะใดโดยไมชอบดวยกฎหมาย หรือเปนการ กระทำอันมลี กั ษณะเปนการให หรอื ไดม าซ่งึ ทรัพยส ินหรือสทิ ธิประโยชนอื่น เพื่อใหตนเองหรือ ผูอื่นไดรับการบรรจุและแตงตั้งโดยมิชอบ หรือเสื่อมเสียความเที่ยงธรรม เปนความผิดวินัย อยางรา ยแรง (ไลอ อก) มาตรา 91 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองไมคัดลอกหรือลอกเลียน ผลงานทางวิชาการของผูอน่ื โดยมิชอบ หรอื นำเอาผลงานทางวิชาการของผูอนื่ หรอื จาง วาน ใชผูอื่นทำผลงานทางวิชาการเพื่อไปใชในการเสนอขอปรับปรุงการกำหนดตำแหนง การเลื่อน ตำแหนง การเลื่อนวิทยฐานะหรือการใหไดรับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น การฝาฝนหลักการ ดังกลา วน้ี เปนความผดิ วินยั อยา งรายแรง (ไลออก) ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีรวมดำเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงาน ของผูอื่นโดยมิชอบ หรือรับจัดทำผลงานทางวิชาการไมวาจะมีคาตอบแทนหรือไม เพื่อใหผูอื่น นำผลงานนัน้ ไปใชประโยชนในการดำเนินการดงั กลาว เปน ความผดิ วินยั อยางรา ยแรง (ไลอ อก) มาตรา 92 ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาตอ งไมเปนกรรมการผูจัดการ หรือ ผูจัดการ หรือดำรงตำแหนงอน่ื ใดทมี่ ีลักษณะงานคลา ยคลงึ กันนั้นในหา งหุนสวนหรอื บริษทั (เปน กรรมการอำนวยการ/ผอู ำนวยการ/ผูจดั การบรษิ ัท/ผูจัดการหา งหนุ สวน โทษ ภาคทณั ฑ) 12

อยากเปน “ครอู าชีวะ” มาตรา 93 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองวางตนเปนกลางทางการเมือง ในการปฏิบัติหนาที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับประชาชนโดยไมอาศัยอำนาจและ หนาที่ราชการของตนแสดงการฝกใฝ สงเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุมบุคคล หรือพรรค การเมอื งใด (ยินยอมใหสถานทีร่ าชการเปน การหาเสยี งเฉพาะกลุม โทษ ภาคทัณฑ) ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองไมเขาไปเกี่ยวของกับการดำเนินการใด ๆ อันมีลักษณะเปนการทุจริตโดยการซื้อสิทธิหรือขายเสียงในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา สมาชิก สภาทองถิ่น หรือการเลือกตั้งอื่นที่มีลักษณะเปนการสงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย รวมทง้ั จะตองไมใหก ารสงเสริม สนับสนนุ หรือชกั จงู ใหผูอื่นกระทำการในลกั ษณะเดียวกัน การ ดำเนินการที่ฝาฝนหลักการดังกลาวนี้ เปนความผิดวินัยอยางรายแรง (เขาไปเปนตัวการ แจกเงินหาเสยี ง วางแผน เพ่อื ซอื้ สทิ ธิ ขายเสียง โทษ ไลออก) มาตรา 94 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตองรักษาชื่อเสียงของตนเองและ รักษาเกียรติศักดิ์ของตำแหนงหนาที่ราชการของตนมิใหเสื่อมเสียโดยไมกระทำการใด ๆ อันได ชอื่ วาเปน ผูป ระพฤติชั่ว การกระทำความผิดอาญาจนไดรับโทษจำคุก หรือโทษทห่ี นกั กวาจำคุก โดยคำพพิ ากษา ถึงที่สุดใหจำคุกหรือใหรับโทษที่หนักกวาจำคุก เวนแตเปนโทษสำหรับความผิดที่ไดกระทำ โดยประมาท หรือความผิดลหุโทษหรือกระทำการอื่นใดอันไดชื่อวาเปนผูประพฤติชั่ว อยางรา ยแรง เปนความผดิ วินัยอยางรา ยแรง ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีเสพยาเสพติดหรือสนับสนุนใหผ ูอ ื่นเสพยาเสพติด เลนการพนันเปนอาจิณหรือกระทำการลวงละเมิดทางเพศตอผูเรียนหรือนักศึกษา ไมวาจะอยู ในความดแู ลรับผิดชอบของตนหรอื ไม เปน ความผดิ วนิ ยั อยา งรายแรง ** การพจิ ารณาประพฤติชัว่ มอี งคป ระกอบ 3 ประการ 1. เกยี รตขิ องราชการ 2. ความรูสกึ ของสังคม 3. เจตนาท่กี ระทำ - จำคกุ อาญา ส้ินสุดความเปนครู โทษ ไลออก - สัมพนั ธช สู าวคูสมรสคนอืน่ โทษ ไลอ อก - ด่ืมสุราขณะปฏิบตั ิหนา ที่ โทษ ปลดออก - เมาสรุ าเสียราชการ โทษ ปลดออก - เปดเผยขอ สอบเรยี กรับเงินจากผูเ รียน โทษ ไลออก มาตรา 95 ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่เสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบงั คับบัญชามวี ินยั ปองกัน มิใหผูอยูใตบังคับบัญชากระทำผิดวินัยและดำเนินการทางวินัยแกผูอยูใตบังคับบัญชา ซ่งึ มกี รณีอนั มมี ูลท่ีควรกลา วหาวา กระทำผดิ วนิ ัย 13

อยากเปน “ครอู าชีวะ” การเสริมสรางและพัฒนาใหผูอยูใตบังคับบัญชามีวินัยใหกระทำโดยการปฏิบัติตน เปน แบบอยางทด่ี ี การฝก อบรม การสรา งขวญั และกำลงั ใจ การจูงใจ หรือการอืน่ ใดในอันที่จะ เสรมิ สรา งและพัฒนาเจตคติ จติ สำนกึ และพฤติกรรมของผอู ยูใ ตบ งั คับบัญชาใหเปนไปในทางที่มี วินยั การปองกันมิใหผูอยูใตบังคับบัญชากระทำผิดวินัยใหกระทำโดยการเอาใจใส สังเกตการณและขจัดเหตุที่อาจกอใหเกิดการกระทำความผิดวินัยในเรื่องอันอยูในวิสัยที่จะ ดำเนนิ การปอ งกันตามควรแกกรณไี ด เม่ือปรากฏกรณีมีมูลทีค่ วรกลาวหาวาขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาผูใดกระทำ ผิดวนิ ัยไดมีพยานหลักฐานในเบอื้ งตน อยูแ ลว ใหผบู งั คบั บญั ชาดำเนนิ การทางวินัยทันที เม่ือมีการกลาวหาโดยปรากฏตัวผูกลาวหาหรือกรณีเปนที่สงสัยวาขาราชการครูและ บคุ ลากรทางการศึกษาผูใดกระทำผิดวินัยโดยยังไมม ีพยานหลกั ฐานใหผูบังคับบัญชารีบดำเนินการ สบื สวนหรือพจิ ารณาในเบ้อื งตน วากรณมี ีมูลที่ควรกลาวหาวาผูนัน้ กระทำผดิ วินัยหรือไม ถาเห็นวา กรณีไมมมี ลู ท่คี วรกลา วหาวากระทำผิดวินยั จึงจะยุตเิ รื่องได ถา เหน็ วากรณีมีมูลที่ควรกลาวหา วา กระทำผิดวินยั ก็ใหด ำเนินการทางวินัยทนั ที ** สืบสวน คอื ขั้นของการหาขอมูล ** สอบสวน คอื กระบวนการทางวนิ ยั มาตรา 96 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติ ตามขอปฏิบัติทางวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวดนี้ ผูนั้นเปนผูกระทำผิดวินัยจักตองไดรับโทษ ทางวินัย เวนแตม ีเหตอุ นั ควรงดโทษตามที่บญั ญตั ิไวใ นหมวด 7 โทษทางวินยั มี 5 สถาน คือ 1) ภาคทัณฑ 2) ตัดเงนิ เดือน ภาค ปลด 3) ลดเงินเดือน ตดั ไมรายแรง ไล รา ยแรง 4) ปลดออก ลด 5) ไลอ อก ผูใดถูกลงโทษปลดออก ใหผูนั้นมีสิทธิไดรับบำเหน็จบำนาญเสมือนวาเปนผูลาออก จากราชการ ** ใหออก ไมใชโทษทางวินัย ** วากลาวตักเตือนหรือการทำทัณฑบนไมถือเปนโทษทางวินัย ใชในกรณีที่เปน ความผิดเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษ เชน เปนความผิดเล็กนอยและเปนความผิดครั้งแรก การวา กลาวตักเตือนนน้ั ผบู ังคบั บัญชาอาจเรียกมาวากลา วตักเตอื นมิใหกระทำความผิดเชนนั้นอีก หรือใหพึงระมัดระวังโดยไมตองทำเปนหนังสือ แตอาจมีการบันทึกหมายเหตุประจำวันของ หนว ยงานหรอื ของผบู ังคบั บญั ชา 14

อยากเปน “ครอู าชีวะ” สำหรับการทำทัณฑบ นน้นั กฎหมายกำหนดใหท ำเปนหนังสือ การลงโทษทางวนิ ัย ตองทำเปนคำสง่ั ** โทษภาคทัณฑ ใชลงโทษในกรณีที่เปนความผิดเล็กนอยหรือมีเหตุอันควรลดหยอน ซ่ึงยงั ไมถ งึ กบั ตองถกู ลงโทษตดั เงินเดือน สำหรบั โทษภาคทัณฑไมตอ งหามการเลื่อนเงินเดอื น ** โทษตัดเงินเดือนและลดเงินเดือน ใชลงโทษในความผิดที่ไมถึงกับเปนความผิด รา ยแรงและไมใชก รณีทเี่ ปน ความผดิ เลก็ นอ ย ** โทษปลดออกและไลออก ใชลงโทษในกรณีท่ีเปนความผิดรายแรงเทานั้น โดยให พิจารณาโทษตามพฤติการณแ หง การกระทำหรอื ความรายแรงแหงกรณี ถามเี หตอุ นั ควรลดหยอน จะนำมาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได โดยตองวางโทษกอนวากรณีกระทำผิดน้ัน เปนความผิดกรณีใด สมควรลงโทษสถานใด แตมีเหตุอันควรลดหยอนอยางไร เชน ไมเคย กระทำความผิดมากอน กระทำโดยรูเทา ไมถ ึงการณ แกไขบรรเทาความเสียหาย คุณความดี ฯลฯ จงึ ลดหยอนโทษเปน โทษสถานใด อยางไรก็ดี หากเปน ความผิดวินัยรายแรง มาตรา 99 หา มลดโทษตำ่ กวาปลดออกสำหรับเปน ความผิดฐานทุจริตตอหนา ท่ีหรือละ ท้งิ หนาทรี่ าชการตดิ ตอ กนั ในคราวเดียวกนั เกินกวา 15 วัน โดยไมม ีเหตผุ ลอันสมควรและไม กลับมาปฏิบัติราชการอีกเลย คณะรัฐมนตรีมีมติไววา ควรลงโทษไลออก ทั้ง 2 กรณี ความผดิ ฐานทุจริตน้นั แมจะนำเงินทีท่ จุ รติ ไปแลวมาคืนกไ็ มเ ปน เหตุใหล ดหยอนโทษ มาตรา 97 การลงโทษขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใหท ำเปนคำสั่ง วิธกี ารออกคำส่ังเกี่ยวกบั การลงโทษใหเ ปน ไปตามระเบยี บของ ก.ค.ศ. ผูสั่งลงโทษตองสั่งลงโทษใหเหมาะสมกับความผิดและมิใหเปนไปโดยพยาบาท โดยอคติ หรือโดยโทสจริต หรอื ลงโทษผูที่ไมม คี วามผิด ในคำสั่งลงโทษใหแสดงวาผูถูกลงโทษกระทำผิดวินัยในกรณีใด ตามมาตราใด และมี เหตผุ ลอยา งใดในการกำหนดสถานโทษเชน นน้ั การดำเนนิ การทางวินัย 1. การตงั้ เรอ่ื งกลา วหา 2. การสบื สวนหรือการสอบสวน 3. การพิจารณาความผดิ และกำหนดโทษ 4. การลงโทษหรอื งดโทษ 5. การดำเนินการในระหวางดำเนนิ การทางวินยั เชน ใหพกั ราชการ หรอื ใหอ อก จากราชการไวกอน มาตรา 98 การแตงต้งั คณะกรรมการสอบสวน กรณีขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (ครูผูชว ย คร)ู กระทำผดิ วินัยผสู งั่ แตงตั้ง กรรมการสอบสวนความผิด ดังน้ี ความผดิ วนิ ยั ไมรา ยแรง ใหผูบ ังคับบัญชา (ผอ.) 15

อยากเปน “ครูอาชีวะ” ความผิดวินัยรายแรง ใหผูมีอำนาจตามมาตรา 53 (เลขาธิการคณะกรรมการ การอาชวี ศึกษา โดยอนมุ ตั ิ อ.ก.ค.ศ. กอศ.) ในกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจงตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ. จะดำเนินการทางวินัย โดยไมส อบสวนกไ็ ด มาตรา 99 เมื่อไดดำเนินการสอบสวนผูถูกกลาวหาตามมาตรา 98 แลว ถาฟงไดวา ผถู กู กลาวหามไิ ดก ระทำผดิ วนิ ยั ใหส ่งั ยุตเิ รื่อง มาตรา 100 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใด กระทำผิดวินัยไมรายแรง ใหผูบังคับบัญชา สั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงินเดือน ลดเงินดือน ตามควรแกกรณีเหมาะสม กับความผิด ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนำมาประกอบการพจิ ารณาลดโทษก็ได แตสำหรับการ ลงโทษภาคทัณฑใหใชเฉพาะกรณีกระทำผิดวินัยเล็กนอย หรือมีเหตุอันควรลดหยอน ซึ่งยัง ไมถ ึงกบั จะตอ งถูกลงโทษตัดเงนิ เดอื น ในกรณีกระทำความผิดเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษ ทำทัณฑบนเปนหนังสือ หรอื วากลา วตักเตอื นก็ได 16

อยากเปน “ครูอาชีวะ” กฎ ก.ค.ศ. วาดวยอำนาจการลงโทษภาคทัณฑ ตัดเงนิ เดอื น หรอื ลดเงนิ เดอื น พ.ศ. 2561 ตำแหนง โทษวนิ ยั ไมร า ยแรง ผอู ำนวยการสถานศึกษา ซึง่ เปน ภาคทณั ฑ ตดั เงนิ เดือน ลดเงินเดือน ผบู ังคับบญั ชาของผูกระทำผิดวินัย  ตัดเงินเดือนไดครั้งหน่ึง ไมร า ยแรง ในอัตรารอยละ 2 หรือ รอ ยละ 4 ของเงินเดือนที่ - นายกรฐั มนตรี ผูนั้นไดรับในวันที่มีคำส่ัง - รัฐมนตรเี จาสังกดั ลงโทษเปนเวลา 1 เดือน - ปลัดกระทรวง 2 เดือน หรอื 3 เดือน - เลขาธิการ  ตัดเงินเดือนไดครัง้ หน่งึ ลดเงนิ เดือน - อธบิ ดี ในอตั รารอยละ 2 หรอื ไดค รั้งหนึ่ง - ศึกษาธิการภาค รอยละ 4 ของเงนิ เดือนที่ ในอัตรารอยละ - ศึกษาธิการจังหวัด ผูน้นั ไดรบั ในวันท่มี ีคำสง่ั 2 หรอื รอยละ 4 - ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ที่ ลงโทษเปนเวลา 1 เดือน ของเงนิ เดอื น การศึกษา ซง่ึ เปนผบู งั คับบัญชา 2 เดือน หรือ 3 เดอื น ท่ผี ูน้นั ไดร บั ของขาราชการครูและบุคลากร ในวนั ท่มี ีคำสั่ง ทางการศกึ ษาผกู ระทำผดิ วินยั ไม ลงโทษ รา ยแรง การสั่งลงโทษตดั เงินเดือนหรือลดเงินเดอื น ถาจำนวนเงนิ เดอื นทีจ่ ะตอ งตดั หรอื ลด มีเศษไมถ ึงสบิ บาทในปด เศษท้ิง 17

อยากเปน “ครูอาชีวะ” กฎ ก.ค.ศ. วา ดว ยกรณคี วามผดิ ทีป่ รากฏชดั แจง พ.ศ. 2549 1. ความผดิ ชัดแจง กรณไี มรา ยแรง มี 2 กรณี (ไมต อ งตั้งกรรมการสอบสวนก็ได) 1) ศาลพิพากษาถึงท่สี ดุ กระทำความผดิ ยกเวน ความผดิ โดยลหโุ ทษ 2) การกระทำผดิ วินัยไมรา ยแรง แลวทำหนังสือสารภาพตอผบู งั คับบัญชา 2. ความผดิ ทป่ี รากฏชดั แจงท่ีรายแรง (ไมตอ งต้งั กรรมการสอบสวนกไ็ ด) 1) ศาลพิพากษาถงึ ทีส่ ดุ ใหจำคกุ หรือหนกั กวาจำคุก 2) การละทง้ิ หนา ท่ีราชการ ตดิ ตอ กนั ในคราวเดียวกนั เกินกวา 15 วัน โดยไมมี เหตผุ ลอนั สมควรและไมก ลับมาปฏบิ ัติราชการอกี เลย 3) การกระทำผดิ วนิ ัยรายแรง และทำหนังสอื สารภาพตอ ผูบงั คับบญั ชา กรณีความผิดท่ีปรากฎชดั แจง ไมต องสอบสวนหรอื งดการสอบสวน ** ความผดิ ทางวนิ ัย 1. ไมม ีอายุความ 2. ยอมความหรอื ชดใชดวยเงินไมได 3. ถาเปนความผิดทางวินัยไมรายแรง หัวหนาสถานศึกษาสั่งลงโทษโดยไมตอง ต้งั กรรมการสอบสวนได 4. ในระหวางถูกสอบสวนทางวินัยมีสิทธิลาออกจากราชการ ผูบังคับบัญชา จะอางการสอบสวนมายับยั้งการลาออกไมได แตก ารสอบสวนไมย ตุ ติ อ งดำเนนิ การตอ ไป 5. แมจะถอนคำรองกลา วหา ไมมผี ลใหวนิ ัยยตุ ิ 6. วินยั ไมร ะงับ เพราะเหตุเกษียณอายุราชการ 7. การสารภาพไมเ ปนเหตลุ ดหยอนโทษ มาตรา 103 ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผใู ด มีกรณีถกู กลา วหาวากระทำ ผิดวินัยอยางรายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวน ผูมีอำนาจอาจสั่งพักราชการหรือใหออกจาก ราชการไวก อน เพอ่ื รอฟงผลการสอบสวนพิจารณาได มาตรา 107 ขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาออกจากราชการเมอื่ 1) ตาย 2) พนจากราชการตามกฎหมายวา ดวยบำเหนจ็ บำนาญขา ราชการ 3) ลาออกจากราชการและไดรับอนญุ าตใหล าออก 4) ถกู ส่ังใหออกตามมาตราดงั ตอไปนี้ มาตรา 49 ขาดคณุ สมบัติ มาตรา 56 ไมผานการเตรยี มความพรอ มและพฒั นาอยางเขม มาตรา 103 ถูกกลา วหาวา กระทำผิดวินัยรายแรง - พักราชการ มาตรา 110 เจ็บปว ยนาน ยบุ เลกิ ตำแหนง ปฏิบตั งิ านไมม ปี ระสิทธิภาพ 18

อยากเปน “ครอู าชีวะ” มาตรา 111 หยอ นความสามารถ มาตรา 112 มีมลทนิ มัวหมอง มาตรา 113 จำคกุ ความผิดประมาท – ลหโุ ทษ มาตรา 114 รบั ราชการทหารและกลบั มาภายใน 180 วันนับตงั้ แต วนั พนราชการทหาร มาตรา 118 มกี รณีสมควรใหอ อกจากราชการกอนโอนมาจากทองถน่ิ 5) ถกู สงั่ ลงโทษปลดออกหรือไลอ อก 6) ถกู เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ เวน แตไดร บั แตงต้งั ใหด ำรงตำแหนงอื่น ทไี่ มต อ งมใี บอนญุ าตประกอบวิชาชพี ตามมาตรา 109 วันออกจากราชการตาม 4) 5) และ 6) ใหเ ปน ไปตามที่ระเบียบ ก.ค.ศ. วางไว การตอเวลาราชการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ตองออกจาก ราชการตาม 2) รับราชการตอไป จะกระทำมิได มาตรา 108 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดประสงคจะลาออก จากราชการใหยื่นหนังสือขอลาออกตอ ผูบังคับบัญชา เพื่อใหผูมีอำนาจตามมาตรา 53 (เลขาฯ กอศ. โดยอนมุ ตั ิ อ.ก.ค.ศ. สอศ.) เปน ผพู ิจารณาอนุญาต ในกรณีที่ผูมีอำนาจตามมาตรา 53 พิจารณาเห็นวาจำเปนเพื่อประโยชนแกทาง ราชการ จะยับยั้งการอนุญาตใหลาออกไวเปนเวลาไมเกินกวา 90 วันนับตั้งแตวันขอลาออก ก็ได แตตองแจงการยับยั้งการอนุญาตใหลาออกพรอมทั้งเหตุผลใหผูขอลาออกทราบ และเมื่อ ครบกำหนดเวลาทย่ี ับยัง้ แลว ใหการลาออกมผี ลตง้ั แตวนั ถัดจากวันครบกำหนดเวลาที่ยับย้งั ถาผูมีอำนาจตามมาตรา 53 ไมไดอนุญาตใหลาออกตามวรรคหนึ่งและไมได ยบั ยง้ั การอนุญาตใหล าออกตามวรรคสอง ใหก ารลาออกนนั้ มีผลต้งั แตวนั ขอลาออก ในกรณีที่ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดประสงคจะลาออกจาก ราชการเพื่อดำรงตำแหนงทางการเมือง หรือเพื่อสมัครรับเลือกตั้งเปนสมาชิกรัฐสภา สมาชิก สภาทองถิ่น ผูบริหารทองถิ่นหรือการเลอื กต้ังอื่นที่มลี ักษณะเปนการสงเสรมิ การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย ใหย่นื หนังสือขอลาออกตอ ผบู งั คบั บัญชา และใหก ารลาออกมีผลนบั ตั้งแตวันท่ี ผนู ัน้ ขอลาออก หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาตใหล าออกและการ ยบั ยัง้ การอนุญาตใหล าออกจากราชการใหเปน ไปตามระเบียบท่ี ก.ค.ศ. กำหนด มาตรา 121 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดถูกสั่งลงโทษ ภาคทัณฑ ตัดเงินเดือนหรือลดเงนิ เดอื น ใหม สี ิทธอิ ทุ ธรณตอ อ.ก.ค.ศ. สอศ. ภายใน 30 วันนับแตว นั ท่ี ไดรบั แจง คำส่ัง 19

อยากเปน “ครูอาชีวะ” มาตรา 122 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใดถูกสั่งลงโทษ ปลดออก ไลออกหรือถูกสั่งใหออกจากราชการ ใหมีสิทธิอุทธรณหรือรองทุกข แลวแตกรณีตอ ก.ค.ศ. ภายใน 30 วนั นับแตว นั ทไี่ ดร บั แจง คำสัง่ และให ก.ค.ศ. พิจารณาใหแ ลวเสร็จภายใน 90 วัน ปลดออก อทุ ธรณ ก.ค.ศ. ไลออก รองทุกข ใหอ อก มาตรา 123 ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใด เห็นวาตนไมไดรับความ เปนธรรม หรือมีความคับของใจเนื่องจากการกระทำของผูบังคับบัญชา หรือการแตงตั้ง คณะกรรมการสอบสวนทางวินัย ใหผูนั้นมีสิทธิรองทุกขตอ อ.ก.ค.ศ. สอศ. หรือ ก.ค.ศ. แลวแตกรณี ในกรณีที่ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผูใด เห็นวา อ.ก.ค.ศ. สอศ. มมี ตไิ มถูกตอ งหรอื ไมเ ปน ธรรม ใหผ ูนัน้ มีสิทธิร์ องทกุ ขตอ ก.ค.ศ. มตขิ อง ก.ค.ศ. ตามวรรคสอง ใหเปนท่สี ิน้ สุด มาตรา 125 เมื่อ อ.ก.ค.ศ. สอศ. หรือ ก.ค.ศ. แลวแตกรณี ไดวินิจฉัย อุทธรณหรือรองทุกขตามมาตรา 121 หรือมาตรา 122 แลว ขาราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาผใู ดเหน็ วาตนไมไ ดรับความเปนธรรม หรอื กรณที ่มี ไิ ดบัญญัตใิ หม ีสิทธิอุทธรณหรือ รอ งทกุ ขตามหมวดนี้ ผูนัน้ ยอ มมีสทิ ธิทีจ่ ะฟอ งตอ ศาลปกครองไดภายใน 90 วนั 20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook