Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสูตรการอาชีวศึกษา ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีฯ

แนวปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสูตรการอาชีวศึกษา ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีฯ

Published by paveenkorn, 2017-05-04 03:35:16

Description: แนวปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสูตรการอาชีวศึกษา ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีฯ

Search

Read the Text Version

แนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักสูตรการอาชวี ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลกั สตู ร 1

แนวปฏิบตั ิ เกี่ยวกับหลกั สตู รการอาชวี ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยีหรอื สายปฏิบตั ิการ สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร2 แนวปฏบิ ตั ิเกีย่ วกบั หลักสตู ร

คํานาํ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสูตรการอาชีวศึกษา ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการฉบับน้ี ได้ดําเนินการจัดทําขึ้นโดยหน่วยศึกษานิเทศก์ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในลักษณะของคู่มือการดําเนินการเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรี เร่ิมต้ังแต่การนํามาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะมาเข้าสู่กระบวนการพัฒนาหลักสูตรระดับสาขาวิชา พร้อมด้วยตัวอย่างแบบฟอร์มที่ใช้ในข้ันตอนต่างๆเพ่ือให้สถาบันการอาชีวศึกษา ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้นําไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตร ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานหลักสูตร และกรอบมาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชีพระดบั สาขาวิชา สอดคล้องกบั มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะของแต่ละสาขาอาชีพ รวมท้ังตามความต้องการของตลาดแรงงาน ยุทธศาตร์ของภูมิภาค และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ให้สามารถผลิตกําลังคนสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม วินัยและเจตคติ อันเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถประกอบอาชีพในลักษณะนักเทคโนโลยีผู้ปฏิบัติการ รวมท้ังประกอบอาชีพอิสระได้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมทั้งในระดับชุมชน ระดับท้องถิ่นและระดบั ชาติ เอกสารฉบับนี้สําเร็จลงได้ด้วยความร่วมมืออย่างดีย่ิงจากคณะผู้บริหาร คณาจารย์ศึกษานิเทศก์ นักวิชาการศึกษา ตลอดจนผู้ทรงคุณวุฒิทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ซ่ึงได้อุทิศสติปัญญา ความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนสละเวลามาช่วยงานเพื่อพัฒนาการอาชีวศึกษาของประเทศเปน็ สําคัญ จงึ ขอขอบคณุ ผู้มสี ่วนร่วมทกุ ท่านไว้ ณ ทนี่ ี้ สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 255๕แนวปฏิบัติเกย่ี วกับหลกั สตู ร 3

สารบัญ 1ตอนท่ี 1 โลกการทาํ งานสูโ่ ลกการศกึ ษา 1 ๔ • การจดั การอาชวี ศกึ ษา • มาตรฐานอาชพี /มาตรฐานสมรรถนะสมู่ าตรฐานการศึกษาวชิ าชีพ ๖ตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสตู รการอาชวี ศกึ ษา ๖ ๗ • การพัฒนาหลักสตู ร ๘ • การกําหนดสาขาท่ีพฒั นาหลกั สตู ร ๙ • กรอบคุณวฒุ กิ ารศึกษาวชิ าชพี 1๑ 1๑ ƒ ความหมาย 1๒ ƒ ความสําคัญ 1๔ ƒ องคป์ ระกอบ 1๔ • ข้ันตอนการพัฒนาหลักสตู รการอาชีวศกึ ษา 1๕ ƒ การกําหนดโครงสร้างหลักสูตร ๑๗ ƒ การกําหนดรายวิชาตามโครงสรา้ งหลักสตู ร ƒ การกาํ หนดรหสั รายวิชาในหลกั สูตร ๑๙ ƒ การกําหนดจาํ นวนหนว่ ยกติ และจํานวนช่ัวโมงเรียนตอ่ สัปดาห์ ๑๙ตอนที่ 3 การเห็นชอบและรบั รองหลกั สูตร ๒๐ ๒๐ • ข้ันตอนการวางแผนพัฒนาและการรับรองหลกั สูตร ๒๐ • องคป์ ระกอบของเอกสารหลกั สตู ร ๒๑ • แนวปฏบิ ตั ิในการเสนอขอความเห็นชอบและรับรองหลักสูตร ๒๓ ƒ หลักสตู รใหม่ ƒ หลกั สตู รปรับปรุง • นาํ เสนอหลักสูตรตอ่ สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา4 แนวปฏิบัติเก่ยี วกบั หลกั สูตร

สารบัญ (ตอ) ๒๕ ๒๙ภาคผนวก ๔๐ ๔๖ • คุณวุฒอิ าชีวศกึ ษา (คอศ. 1 – คอศ. 6) ๔๘ ƒ คอศ. 1 ๕๐ ƒ คอศ. 2 ƒ คอศ. 3 ƒ คอศ. 4 ƒ คอศ. ๕ ƒ คอศ. 6แนวปฏบิ ตั ิเกีย่ วกับหลักสตู ร 5



ตอนท่ี ๑โลกการทํางานสโู ลกการศึกษา แนวปฏิบตั เิ กี่ยวกับหลกั สูตรการจัดการอาชวี ศกึ ษา ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเฉพาะข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงสภาพสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ การพัฒนาประเทศให้มีเจริญก้าวหน้า พร้อมท่ีจะแข่งขันกับนานาประเทศได้ การศึกษาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคีการพัฒนาให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนและสังคมให้เป็นรากฐานท่ีมั่นคงของประเทศ พัฒนาคนให้มีคุณธรรมนําความรู้ เกิดภูมิคุ้มกันต่อตนเองและสังคม รวมทั้งการพัฒนาสมรรถนะและทักษะแรงงานเพอื่ รองรบั การแขง่ ขันของประเทศ ในการดําเนินการดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดแนวนโยบายในการจัดการศกึ ษาเพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเตมิซง่ึ เนน้ การปฏริ ปู การศึกษาทัง้ ด้านการบรหิ ารและการจดั การเรียนการสอน เพื่อให้ผเู้ รียนมโี อกาสเรียนรู้ตลอดชีวิตตามความถนัด ตามความสนใจ และได้รับการบริการด้านการศึกษาจากรัฐอย่างมีคุณภาพ โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เน้นการฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่ร้อู ย่างตอ่ เนือ่ ง ใหม้ กี ารจดั การเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูด้ ้านตา่ ง ๆ อย่างได้สัดสว่ นสมดลุ กัน รวมทั้งให้มีการปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไวใ้ นทุกวิชา พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 เน้นความสําคัญของการจัดการอาชีวศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อพัฒนากําลังคนด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี รวมท้ังเพ่ือยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงข้ึนและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน รวมไปถึงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแนวปฏบิ ตั เิ กีย่ วกับหลกั สูตร 1

พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน และสามารถเข้าสู่การเปิดเสรีทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต จึงได้กําหนดนโยบายในการยกระดับทักษะฝีมือและเตรียมความพร้อมแก่กลุ่มเป้าหมายให้มีสมรรถนะท่ีได้มาตรฐานสากล สอดคล้องกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจอตุ สาหกรรมและการผลติ สินค้าและบรกิ ารทม่ี ีการแข่งขันทงั้ ด้านคุณภาพ ปริมาณและระยะเวลาในการผลิต โดยพัฒนาระบบการจัดการอาชีวศึกษาตามแรงขับจากผู้ใช้ “Demand Driven”ภายใต้ความร่วมมือกันระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการซ่ึงเป็นหน่วยที่ใช้ผลผลิตของอาชีวศึกษา เพ่ือผลิตกําลังคนตามความต้องการของตลาดแรงงาน นําความรู้ในทางทฤษฎอี ันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนาผู้รบั การศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพให้มีความรู้ความสามารถในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะจนสามารถนําไปประกอบอาชีพในลักษณะผ้ปู ฏบิ ตั หิ รอื ประกอบอาชพี โดยอสิ ระได้ เน่ืองจากจัดการอาชีวศึกษาเป็นกลไกสําคัญในการขับเคล่ือนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาพ.ศ. 2551 ต้องการให้มีการกระจายอํานาจทางวิชาการสู่สถานศกึ ษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเพ่ือให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจึงกําหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพื่อเปิดโอกาสให้สถาบันการอาชีวศึกษาในแต่ละแห่งสามารถพัฒนาหลักสูตรได้เอง โดยยึดกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ตามสาขาวิชาในการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษา ในรูปแบบอาศัยแรงขับจากผู้ใช้ หลักสูตรที่จะพัฒนาจะต้องเป็นหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ “Competency Based Curriculum” ซึ่งนําสมรรถนะของผู้ประกอบอาชีพที่ปฏิบัติงานอาชีพ มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะมาเป็นปัจจัยในการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษา เพ่ือทําให้ผู้สําเร็จการศึกษามีสมรรถนะวิชาชีพที่ตรงกับสมรรถนะอาชีพสามารถประกอบอาชีพได้ทันทีดังที่แผนภาพท่ี 1.1 การพัฒนาคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศกึ ษา 2 แนวปฏบิ ัติเกยี่ วกบั หลกั สูตร

พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ร.บ. การอาชีวศึกษา แผนการศกึ ษาชาติ กรอบมาตรฐานคณุ วุฒอิ าชวี ศกึ ษาแหง่ ชาติ กรอบมาตรฐานหลักสตู รการอาชวี ศกึ ษา กรอบคณุ วฒุ ิการศึกษาวชิ าชพี ระดบั ปริญญาตรี สาขาวชิ า... หลกั สูตรการอาชวี ศกึ ษา ระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชา …วางแผนปรบั ปรุง ข้อกาํ หนดจําเพาะ และพัฒนา ของหลกั สตู รประเมินหลกั สูตร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ อย่างตอ่ เน่อื ง (มุ่งเนน้ สมรรถนะ) การวัดผลประเมินผล ตามสภาพจรงิ การประกันคณุ ภาพ INPUT PROCESS OUTPUTหลักสูตร นักศึกษา คณาจารย์ กระบวนการจดั การเรยี นรูค้ คู่ ุณธรรม คณุ ภาพนักศึกษาและผ้สู ําเร็จการศึกษา บุคลากรทางการศกึ ษา การพัฒนาคณาจารย์ บุคลากร ความพึงพอใจของหนว่ ยงาน ชมุ ชน ความสามารถในการแข่งขันทรัพยากร งบประมาณ ฯลฯ การบรหิ ารและบริการวิชาการ ฯลฯแผนภาพท่ี 1.1 การพัฒนาคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชีวศึกษาแหง่ ชาติแนวปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั หลักสูตร 3

มาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะสูมาตรฐานการศกึ ษาวิชาชีพ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตและบริการให้เจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานาประเทศนั้น หลักพ้ืนฐานสําคัญอยู่ที่การพัฒนามาตรฐานของอาชีพน้ันๆ และการพัฒนาคนในอาชีพนั้นให้มีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานของอาชีพ โดยทั่วไปแล้วการพัฒนามาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะเป็นความรับผิดชอบโดยตรงของเจ้าของอาชีพ ส่วนการพัฒนาคนในอาชีพให้มีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะนั้นจะเป็นหน้าท่ีและความรับผิดชอบร่วมกันระหว่างเจ้าของอาชีพที่ใช้ระบบฐานการทํางานพัฒนา และหน่วยงานการศึกษาท่ีใช้ระบบฐานสถาบันพัฒนากําลังคนเข้าสู่อาชีพ ดังน้ันมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะท่ีได้มาจากโลกของการทํางาน จึงมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันกับมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพในโลกของการศึกษา โดยหน่วยงานทางการศึกษาจะต้องวิเคราะห์มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะเฉพาะส่วนท่ีเกี่ยวข้องเพื่อนําไปสู่กระบวนของการใช้กับระดับคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพในแต่ละระดับ ว่าต้องการผู้ปฏิบัติงานท่ีมีความสามารถหรือสมรรถนะในการปฏิบัติงานในเร่อื งใดบ้างท่ีจาํ เปน็ หรือเรอื่ งท่บี ังคับ และมีสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านเรอ่ื งใดบา้ งท่ีเปน็ เรอ่ื งเสริม สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้าท่ีโดยตรงในการพัฒนากําลังคนระดับระดับฝีมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชาชีพให้มีคุณภาพและมาตรฐานมีความสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี สามารถสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ รวมทั้งมีคุณธรรมจริยธรรมท่ีพึงประสงค์ การจัดการอาชีวศึกษาเพื่อให้ผู้สําเร็จการศึกษา มีสมรรถนะทางวิชาการและวิชาชีพเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะท่ีกําหนด ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษา จึงจําเป็นต้องนําสมรรถนะท่ีผู้ประกอบอาชีพปฏิบัติจริงในงานอาชีพจากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะมาเข้าสกู่ ระบวนการพฒั นาเป็นหลกั สตู รการอาชีวศึกษาตามแผนภาพท่ี 1.2 ความเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานอาชพี /มาตรฐานสมรรถนะกบั มาตรฐานการศกึ ษาวิชาชพี 4 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสตู ร

โลกของการทํางาน โลกของการศกึ ษา มาตรฐานอาชพี / มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพมาตรฐานสมรรถนะเง่อื นไขทีอ่ าชีพต้องการ สมรรถนะ แปลง สมรรถนะ เงือ่ นไขในการจัดการเรยี นรู้- สถานที่ทาํ งาน ทีก่ ําหนด - เนือ้ หาสาระทส่ี อดคล้องกบั- สภาพงาน การทาํ งาน ในการ ผลลัพธข์ องการเรยี นรู้- พื้นฐานการศกึ ษา ทต่ี อ้ งการ เรยี นรู้- อายุ ในอาชพี - การจัดการเรยี นรู้ - การประเมนิ- เพศ - ทรัพยากร เช่น อาคารสถานท่ี เคร่อื งมืออปุ กรณ์ บุคลากร- สภาพร่างกาย - ข้อกําหนดอนื่ ๆ เช่น ระยะเวลา- ลกั ษณะนิสยั ผลลพั ธ์ของ ผลลพั ธ์ของ การจัดการเรยี นรู้ แหล่งฝึกอาชีพ- ฯลฯ การทาํ งาน ถ่ายโอน การเรยี นรู้ คา่ ใชจ้ า่ ยของผู้เรียน ประสบการณใ์ นอาชพี ของ ผู้สอน(องค์ประกอบ) (ผลลัพธ)์ (ผลลัพธ์) (กระบวนการ) แผนภาพที่ 1.2 ความเชือ่ มโยงระหว่างมาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ กบั มาตรฐานการศกึ ษาวิชาชีพ ระหว่างโลกของการทํางานกับโลกของการศกึ ษาแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับหลักสูตร 5

ตอนท่ี ๒การพฒั นาหลกั สตู รการอาชีวศกึ ษา แนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกับหลักสูตร การพัฒนาหลกั สตู ร การพฒั นาหลักสูตรการอาชีวศึกษาเป็นการนํามาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะไปพัฒนาสู่มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพในรูปของกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ แล้วพัฒนาเป็นหลักสูตรการอาชีวศึกษา และจากการที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้มีการกําหนดกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการอาชีวศึกษาแห่งชาติ เพ่ือเป็นกรอบมาตรฐานในการกําหนดกรอบมาตรฐานหลักสูตรตามระดับคุณวุฒิอาชีวศึกษา ให้สถาบันการอาชีวศึกษาใช้เป็นกรอบในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้สามารถผลิตผู้สําเร็จการศึกษาท่ีมีคุณภาพและเพ่ือประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สําเร็จการศึกษา ประกอบด้วย คุณวุฒิระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง และระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ โดยคุณภาพ ของผู้สําเร็จการศึกษาทุกระดับคุณวุฒิ ต้องครอบคลุมอย่างน้อย ๓ ด้าน คือ ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ พฤติกรรมลักษณะนิสัยและทักษะทางปัญญาด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพฒั นาการเรียนร้แู ละการปฏิบัตงิ าน การทํางานรว่ มกับผอู้ ่ืน การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การประยุกต์ใช้ตัวเลข การจัดการและการพัฒนางาน และด้านสมรรถนะวิชาชีพได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยกุ ตส์ อู่ าชีพ ท้ังน้ี สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและหรือสถาบันที่จะดําเนินการพัฒนาหลักสูตร จะมกี ารวเิ คราะหข์ อ้ มูลอาชพี และความต้องการกําลงั คน ผลการสาํ รวจ ผลการวจิ ยั ขอ้ มูลความต้องการและความพรอ้ มของสถาบนั ไปพฒั นาเปน็ กรอบคุณวุฒิการศึกษาวชิ าชีพ เพ่ือสถาบันการอาชีวศึกษาจะได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรและจัดการเรยี นการสอน เพื่อให้คณุ ภาพของผู้สําเรจ็ การศึกษาในสาขาวชิ าของระดับคณุ วุฒเิ ดยี วกันมีมาตรฐานทเ่ี ทียบเคยี งกันได้ โดยมขี ัน้ ตอนในการดําเนินการตามแผนภาพที่ 2.1 ดังน้ี 6 แนวปฏบิ ัติเกยี่ วกบั หลักสตู ร

ผรู้ บั ผิดชอบ ภารกจิ /กิจกรรม เอกสารท่เี กี่ยวข้อง/เอกสารที่ได้ สาํ นักงานคณะกรรมการ การกําหนดสาขา - ข้อมลู อาชีพและความต้องการกําลังคนจากการอาชวี ศึกษา และสถาบัน ท่จี ะพฒั นาหลักสตู ร ผลการวิจัย/ผลการสาํ รวจ/BOI/ สภาอตุ สาหกรรม สภาวชิ าชีพ ฯลฯ - ข้อมูลความตอ้ งการและจาํ นวนผู้เรยี น - ความพร้อมของสถานศกึ ษา/สถาบนัคณะกรรมการท่ีแต่งตงั้ กรอบคุณวุฒิการศกึ ษาวชิ าชีพ - มาตรฐานอาชพี /มาตรฐานสมรรถนะ โดย สอศ. ระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ า..... - กรอบมาตรฐานหลักสูตร - จํานวนหนว่ ยกิตและโครงสรา้ งหลักสูตรและผู้เชย่ี วชาญในอาชพี การพัฒนา - เน้อื หาสาระสาํ คญั ของหลักสูตร หลกั สูตรการอาชีวศกึ ษา - การนํากรอบคณุ วุฒฯิ สกู่ ารปฎิบตั ิ คณะกรรมการ - กรอบมาตรฐานหลกั สตู และเงอ่ื นไข พัฒนาหลกั สตู ร - กรอบคณุ วฒุ กิ ารศึกษาวิชาชีพ ของสถานสถาบัน - จดุ ประสงคส์ าขาวิชา - โครงสรา้ งหลักสตู ร สาขาวิชา - รายวิชาแต่ละหมวดวชิ าตามโครงสรา้ งสภาสถาบนั /สอศ. การเห็นชอบและรับรองหลักสตู ร - ร่างหลักสูตร พร้อมแผน่ บันทึกข้อมลู สาํ นักงาน ก.พ. - เอกสารประกอบการขอความเห็นชอบ  แผนภาพท่ี 2.1 ข้นั ตอนการดาํ เนนิ การพัฒนาหลกั สูตรการอาชีวศกึ ษา การกําหนดสาขาทีพ่ ัฒนาหลักสตู ร การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ จําเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีการศึกษาข้อมลู ต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วข้องเพอ่ื ไม่ใหเ้ กิดความผดิ พลาดในการพัฒนาหลักสูตร และท่ีสําคัญคือผู้สําเร็จการศึกษาวิชาชีพแล้วสามารถปฏิบัติงานได้จริงและมีงานทํา การกําหนดชื่อสาขาวิชาที่จะพัฒนาหลกั สูตร สิ่งสาํ คญั คือสาขานี้ต้องเป็นอาชีพที่มีอยู่จริง สามารถยกระดับของการประกอบอาชีพได้อาชีพดังกล่าวต้องการกําลังคนที่มีความรู้ ทักษะอยู่ในระบบการจ้างงานอย่างแน่นอน การหาข้อมูลเพื่อตัดสินใจเลือกสาขาท่ีจะมาพัฒนาหลักสูตร เมื่อได้รายการช่ืออาชีพเฉพาะมาแล้วการท่ีจะคัดเลือกมาจัดทําเป็นหลักสูตรเพ่ือการศึกษาจะต้องมีหัวข้อการพิจารณาคัดเลือกว่าเหมาะสมหรือไม่เพยี งไร โดยมีข้อพจิ ารณาดังน้ีแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกบั หลกั สูตร 7

1. อาชีพท่ีจะพัฒนาน้ีต้องการผู้ท่ีสําเร็จการศึกษาจากการเรียนในระบบหรือจากการฝึกอบรม 2. ผู้พัฒนาหลักสูตรมีอํานาจหรือได้รับมอบอํานาจตามกฎหมาย ข้อบังคับในการจัดการศึกษาหรือฝึกอบรมบุคลากรเพ่ือเข้าสู่อาชีพน้ันหรือไม่ เพราะบางอาชีพจะต้องได้รับอนุญาตจากสมาคมวิชาชพี 3. ข้อมูลที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับปริมาณความต้องการหรือจ้างงานในอาชีพนี้ ทั้งในปจั จุบันและอนาคตเพียงพอหรือไม่ 4. ข้อมูลบ่งชี้แน่ชัดว่ามีผู้ท่ีต้องการสมัครเข้าศึกษาหรือฝึกอบรมเพ่ือเข้าประกอบอาชพี นีเ้ พียงพอหรือไม่ 5. คณาจารย์ มคี ุณสมบัตแิ ละมีความชาํ นาญในอาชพี นน้ั หรอื ไม่ 6. ส่ิงอํานวยความสะดวกในการจัดการศึกษาหรือฝึกอบรม ได้แก่ เครื่องมือ วัสดุอปุ กรณ์ เพียงพอหรอื จดั หามาได้ครบเมอ่ื จะเปดิ หลักสูตรหรอื ไม่กรอบคุณวฒุ ิการศกึ ษาวิชาชพี ตามประกาศกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ กรอบมาตรฐานหลักสูตรการอาชีวศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกรอบมาตรฐานในการกําหนดกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ(คอศ.) ให้สถาบันการอาชีวศึกษาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และเพ่ือประโยชน์ต่อการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สําเร็จการศึกษา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษาได้ให้มีการรวมกลุ่มสถานศึกษาเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา ถือเป็นสถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพช้ันสูงท่ีชํานาญการปฏิบัติการสอนการวิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยี ทะนุบํารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม โดยในกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ(คอศ.1) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ซึ่งเป็นข้ันของการแปลงมาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะที่ต้องการ ท่ีได้จากการวิเคราะห์หน้าที่ของอาชีพท่ีกําหนดนั้นออกเป็นรายการสมรรถนะที่ต้องการให้บรรลุในการจัดการอาชีวศึกษาในระดับเทคโนโลยี ซ่ึงมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพท่ีกล่าวน้ีเป็นการกําหนดคุณลักษณะและสมรรถนะวิชาชีพท่ีต้องการอย่างกว้างๆ อันจะเปน็ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูส้ ําเร็จการศึษา ตามสาขาวิชา ซ่งึ เปน็ คุณลกั ษณะและสมรรถนะที่ต้องการ จํานวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร เน้ือหาสาระสําคัญของหลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนการสอน ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ เพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางในการ 8 แนวปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั หลักสตู ร

พัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษาสําหรับสถาบันการอาชีวศึกษาให้สามารถดําเนินไปอย่างมีคณุ ภาพและประสิทธิภาพในรูปของหลักสตู รฐานสมรรถนะ• ความหมาย กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (คอศ. 1) หมายถึง กรอบท่ีแสดงถึงรายละเอียดของขอ้ กําหนดระดบั คุณวฒุ กิ ารศึกษาอาชวี ศกึ ษาตามสาขาวิชา โครงสร้างหลักสูตรและขอบข่ายหรือข้อกําหนดท่ีต้องใช้ในการบริหารจัดการตามลักษณะของหลักสูตรตามระดับคุณวุฒิของการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน เพื่อให้คุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษาของระดับคุณวุฒิเดียวกันมีมาตรฐานท่ีเทยี บเคียงกนั ได้ ดังแผนภาพที่ ๒.๒แนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกบั หลกั สตู ร 9

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศกึ ษาแหงชาติ กรอบมาตรฐานหลักสตู รการอาชวี ศกึ ษากรอบคุณวุฒิการศึกษาวชิ าชพี คอศ. 1ระดับปริญญาตรี สาขาวชิ า ................. วางแผนปรบั ปรุงและพฒั นา จัดทาํ /พัฒนาหลักสูตร เห็นชอบ หลักสตู ร รายงานผลการดาํ เนนิ การหลักสูตร คอศ. 2 เพ่อื พฒั นาและประกันคณุ ภาพ คอศ. 3, 4 จดั การเรยี นการสอนให้ผเู้ รยี นคอศ. 6 มีคณุ ลกั ษณะและสมรรถนะ คอศ. 5 ตามมาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพ รับรอง หลกั สตู รวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ของผู้เรยี นผสู้ ําเร็จการศกึ ษามีสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ท่ีกาํ หนดไว้ในกรอบคุณวฒุ ิการศกึ ษาวชิ าชพี แผนภาพท่ี 2.2การพฒั นาคุณภาพผู้สาํ เร็จการศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาแหง่ ชาติ10 แนวปฏิบัตเิ กย่ี วกบั หลักสตู ร

• ความสําคัญ 1. เป็นเครอ่ื งมอื ในการนาํ นโยบายการพัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 2. เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการสื่อสาร เพื่อสร้างความเข้าใจและความม่ันใจในกลุ่มผเู้ กย่ี วข้อง 3. มุง่ ใหผ้ ูส้ ําเรจ็ การศึกษามีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานอาชีพหรือตามความต้องการของผูใ้ ช้ 4. มุ่งให้คุณวุฒิของทุกสถาบันการอาชีวศึกษา เป็นท่ียอมรับและสามารถเทียบเคียงกนั ได้ 5. เปิดโอกาสให้สถาบันการอาชีวศึกษาสามารถพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งหลากหลาย เพ่อื ใหผ้ ู้สําเรจ็ การศึกษาสามารถประกอบอาชพี ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ• องคป ระกอบ กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (คอศ. 1) ควรประกอบด้วยหัวข้ออย่างน้อยดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ช่ือหลักสตู ร ๒. ช่ือปรญิ ญาและสาขาวชิ า ๓. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสตู ร ๔. โอกาสในสายงานวชิ าชพี ๕. องคก์ รวิชาชพี ท่เี กีย่ วข้อง (ถา้ มี) ๖. มาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี ๗. จาํ นวนหน่วยกิตและโครงสรา้ งหลกั สูตร ๘. เนอ้ื หาสาระสําคญั ของหลกั สตู ร ๙. แนวทางการจัดการเรยี นการสอน ๑๐. การประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ๑๑. คุณสมบัตขิ องผเู้ ข้าศกึ ษา ๑๒. ทรพั ยากรการเรยี นการสอนและการจัดการ ๑๓. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจดั การเรียนการสอน ๑๔. การนํากรอบคณุ วฒุ ิการศึกษาวชิ าชีพส่กู ารปฏบิ ตั ิ ๑๕. ภาคผนวกแนวปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั หลักสูตร 11

ขน้ั ตอนการพัฒนาหลกั สตู รการอาชวี ศึกษา จากการท่ีสภาพเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วอนั เน่ืองมาจากการแข่งขนั ในสังคมโลก ส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตท้ังในสังคมเมืองและชนบททุกภาคส่วนเร่ิมตระหนักและเห็นร่วมกันว่าปัญหาที่เกิดขึ้นสามารถบรรเทาให้เบาบางได้ด้วยการจัดการศึกษา จึงได้มีการทบทวนและปรับเปลี่ยนแนวทางการจัดการศึกษาใหม่ ในด้านหลักสูตรการอาชีวศึกษา รัฐมีนโยบายส่งเสริมให้สถาบันการอาชีวศึกษาแต่ละแห่งสามารถจัดทําหลักสูตรของตนเองได้ โดยนาํ กรอบคณุ วฒุ กิ ารศึกษาวชิ าชีพ (คอศ. 1) ของแตแ่ ละสาขาวิชา มาดําเนินการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษา ในแบบเสนอหลักสูตรการอาชีวศึกษา (คอศ. 2) โดยการพัฒนาหลักสูตรได้เปิดโอกาสให้สถานประกอบการ ชุมชนและท้องถ่ินเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและความต้องการของชุมชน ศักยภาพของพ้ืนที่และภูมิภาค เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หลักสูตรท่ีจัดทําข้ึนต้องเป็นไปตามสภาพแวดล้อมสงั คม เศรษฐกจิ และความต้องการของทอ้ งถ่นิ อนั จะทาํ ให้ผูเ้ รียนรู้จกั ตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อมรอบตัว เกิดความรัก ความผูกพันและความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตน สามารถนําความรู้และประสบการณไ์ ปใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครวั และทอ้ งถน่ิ จากการบูรณาการทรัพยากรและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการศึกษา โดยกระบวนการพัฒนาหลักสูตรการอาชีวศึกษาจะใช้เคร่อื งมือทีเ่ รยี กวา่ คุณวฒุ ิอาชีวศึกษา 1-6 (คอศ. 1-6) ตามขนั้ ตอน ดงั ต่อไปนี้ ข้ันตอนท่ี 1 สถาบันการอาชีวศึกษาแต่งตั้งคณะทํางานเพ่ือพัฒนาหลักสูตร โดยการคัดเลือกจากคณาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งบุคคลท่ีมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ตามสาขาอาชพี เพอ่ื กาํ หนดแนวทางการดาํ เนนิ งานพัฒนาหลกั สูตรร่วมกัน ขั้นตอนท่ี 2 ศึกษาและประเมินความจําเป็นรวมท้ังความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร โดยพิจารณาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน จังหวัด และภูมิภาคเพ่ือให้หลักสูตรที่พัฒนาข้ึนเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของท้องถ่ิน โดยการวิเคราะห์งานจากข้อมูลและเอกสารที่เก่ียวข้องต่าง ๆ หรือผู้เชี่ยวชาญในอาชีพ เพ่ือกําหนดสมรรถนะอันเป็นคุณลักษณะของผู้สําเร็จการศึกษาท่ีตลาดงานต้องการ ข้อมูลพื้นฐานท่ีเกี่ยวข้องกับศักยภาพของสถาบันการอาชีวศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความพร้อม ท้ังด้านอาคารสถานท่ี วัสดุครุภัณฑ์ ความรู้ความสามารถของบุคลากร ระบบความร่วมมือและความสัมพันธ์กับภาคเอกชนและชุมชน รวมตลอดจนถึงความต้องการของผู้เรียนเพ่ือพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับความต้องการ ความสนใจความถนดั ศักยภาพของผ้เู รยี น และความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ขนั้ ตอนท่ี 3 กาํ หนดจุดมงุ่ หมายและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตร เป็นการกําหนดสภาพที่ตอ้ งการใหเ้ กิดกบั ผูเ้ รียนและผ้สู าํ เร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู ร12 แนวปฏิบัตเิ กย่ี วกับหลกั สตู ร

ขน้ั ตอนท่ี 4 ศึกษากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (คอศ. 1) ตามสาขาวิชาเพ่ือการกําหนดขอบข่ายเนื้อหาของหลักสูตรให้สอดคล้องครอบคลุมกับคุณภาพของผู้สําเร็จการศึกษาตามระดับคุณวุฒิ ขน้ั ตอนท่ี 5 กําหนดเวลาเรียนและหน่วยกิตตามโครงสร้างหลักสูตรให้สอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ กรอบมาตรฐานหลักสูตรและเง่ือนไขการจัดการเรียนรู้ตามระดับของหลกั สูตร ขัน้ ตอนท่ี 6 จัดทําเอกสารหลักสูตรสถาบันการอาชีวศึกษาโดยการนํากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (คอศ. 1) มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรพร้อมจัดทําลงในแบบการเสนอหลกั สูตรการอาชวี ศกึ ษา (คอศ. 2) ขน้ั ตอนท่ี 7 ตรวจสอบคณุ ภาพหลักสตู ร โดยคณะทํางานอาจประชุมพิจารณาร่วมกันหรือให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบองค์ประกอบของหลักสูตรว่ามีความสอดคล้องกันหรือไม่ อย่างไร ทั้งในส่วนของจุดมุ่งหมาย โครงสร้าง เนื้อหาคําอธิบายรายวิชา เวลาเรียนและความชัดเจนของภาษาท่ใี ช้ ขั้นตอนท่ี 8 เสนอขอความเห็นชอบหลักสูตร เม่ีอได้ดําเนินการตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรจนเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว คณะทํางานต้องนําหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนน้ีเสนอขอความเห็นชอบตามลําดับต่อสภาสถาบัน หลังจากได้รับความเห็นชอบแล้วต้องแจ้งให้สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบ พร้อมจัดทําแบบรายงานข้อมูลเพื่อการพิจารณาหลักสูตร (คอศ. 3) และแบบเทียบหลักสูตรเพื่อคุณภาพการศึกษา (คอศ. 4) ภายใน 30 วัน นับจากวันท่ีได้รับความเห็นชอบ เพอ่ื นาํ เข้าสู่กระบวนการรบั รองคณุ วฒุ จิ ากสํานกั งาน ก.พ. ต่อไป ขั้นตอนที่ 9 นําหลักสูตรไปใช้ สถาบันการอาชีวศึกษาและผู้เก่ียวข้องต้องจัดเตรียมคณาจารย์ และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักสูตรและการนําไปใช้ตลอดจนวางแผนการนิเทศติดตามผลการใช้หลักสูตรและทําความเข้าใจกับคณาจารย์ผู้สอนร่วมกันวิเคราะห์หาข้อบกพร่องเพ่ือการปรับปรุงและหรือพัฒนาให้การนําหลักสูตรไปใช้บรรลุตามจดุ มุ่งหมายของหลักสตู ร ขน้ั ตอนที่ 10 ประเมินผลหลักสูตรและรายงานผล เม่ือสถาบันการอาชีวศึกษาได้พัฒนาหลักสูตร และหลักสูตรดังกล่าวน้ันได้ถูกนําไปใช้ในการจัดการศึกษาได้ในระยะเวลาหน่ึงปีการศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาต้องรายงานผลการดําเนินงานด้วยแบบรายงานผลการดาํ เนินการหลักสตู ร (คอศ. 6) รวมท้ังเมื่อดําเนินการจัดการศึกษาตลอดหลักสูตรแล้ว ควรได้มีการประเมินผลหลักสูตรเพ่ือให้หลักสูตรน้ันมีความเหมาะสม ทันสมัยและก่อประโยชน์สูงสุดต่อสังคมและประเทศชาตติ ่อไปแนวปฏิบตั ิเกีย่ วกบั หลกั สูตร 13

• การกาํ หนดโครงสรา งหลักสตู ร โครงสร้างหลักสูตรเป็นขั้นตอนที่ผู้พัฒนาหลักสูตรต้องตัดสินใจว่าสมรรถนะที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้สําเร็จการศึกษาตามท่ีได้วิเคราะห์ สังเคราะห์มาเป็นสมรรถนะประจําสาขาวิชาหรือมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ เพื่อมากําหนดเป็นโครงสร้างหลักสูตรในแต่ละหมวดวิชาตลอดหลักสูตรจะจัดวางไว้ในตําแหน่งใด ต้องใช้เวลาเรียนรู้และฝึกหัดมากน้อยเท่าไร ทั้งนี้ ในการกําหนดกรอบโครงสร้างหลักสูตรจะต้องเป็นไปตามกรอบมาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ แล้วพิจารณาสมรรถนะที่ต้องการคู่กันไปว่าต้องใช้เวลาหรือหน่วยกิตเท่าไร จึงจะตอบสนองสมรรถนะทก่ี าํ หนดไว้ โดยมีขนั้ ตอนดาํ เนินการ ดังน้ี 1. ศึกษากรอบมาตรฐานหลักสูตร เกี่ยวกับหัวข้อโครงสร้างหลักสูตรซึ่งในทุกหมวดวิชาจะกําหนดสมรรถนะของแต่ละหมวดไว้ เพื่อเป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอนและพฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร 2. กําหนดสมรรถนะสาขาวชิ า ซง่ึ ถือเปน็ การประกันคณุ ภาพของผู้สาํ เรจ็ การศึกษาโดยครอบคลุมอยา่ งนอ้ ย 3 ดา้ น ดงั น้ี 2.1 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี พฤติกรรมลกั ษณะนิสัยและทักษะทางปัญญา 2.2 ดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ไดแ้ ก่ ความรู้และทักษะการส่ือสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน การทํางานร่วมกับผู้อื่น การใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การประยกุ ต์ใช้ตัวเลข การจดั การและการพฒั นางาน 2.3 ด้านสมรรถนะวิชาชีพ ได้แก่ ความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้และทกั ษะในสาขาวชิ าชพี สกู่ ารปฏิบตั จิ รงิ รวมทั้งประยกุ ตส์ ู่อาชพี• การกาํ หนดรายวิชาตามโครงสรางหลกั สตู ร การกําหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรในแต่ละหมวดวิชาน้ัน จะต้องพิจารณาจัดให้สอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ สมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป รวมท้ังสมรรถนะวิชาชีพของสาขาวิชา เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรในแต่ละสาขาวิชาโดยแต่ละรายวิชาจําเป็นจะต้องกําหนดรายละเอียดของเนื้อหาสาระท่ีมีความถูกต้องเชื่อถือได้และเป็นสากล เหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบันและอนาคต มีเน้ือหาลึกซ้ึงและกว้างขวางเหมาะสมกับระดบั การศกึ ษา มีความยากง่ายเหมาะสมกับพ้ืนฐานผู้เรียน โดยเขียนเป็นภาษาไทยตามพจนานุกรมศัพท์บัญญัติในรูปประโยคท่ีสมบูรณ์ ชัดเจน กระชับความเฉพาะหัวเร่ืองท่ีจะเรียน เรียงลําดับจากยากไปหาง่าย การเขียนทับศัพท์ต้องกํากับภาษาเดิมไว้ในวงเล็บ ยกเว้น14 แนวปฏบิ ัติเก่ียวกบั หลกั สตู ร

ภาษาต่างประเทศท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายไม่ต้องกํากับด้วยภาษาเดิม การเขียนเป็นภาษาต่างประเทศให้ใชภ้ าษาองั กฤษ เนื้อหาที่เป็นทฤษฎี ให้ขึ้นต้นด้วยคําว่า “ศึกษาเกี่ยวกับ” ส่วนภาคปฏิบัติข้ึนต้นด้วยคําว่า “ปฏิบัติเกี่ยวกับ” กรณีท่ีมีทั้งทฤษฎีและปฏิบัติให้ใช้คําว่า “ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับ”ในการกําหนดรายวิชาตามกรอบโครงสร้างหลักสูตรตามองค์ประกอบรายวิชาซึ่งประกอบด้วยรหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย ช่ือวิชาภาษาอังกฤษ จํานวนหน่วยกิต เวลาเรียนต่อสัปดาห์และรายวชิ าทต่ี อ้ งเรยี นกอ่ น (ถ้าม)ี ตามรปู แบบดังน้ี คาํ อธบิ ายรายวชิ าตามหลกั สตู รปริญญาตรี4xxx-xxxx ชื่อวชิ าภาษาไทย น (ท-ป-ศ) (ชื่อวิชาภาษาองั กฤษ) รายวิชาทตี่ ้องเรยี นกอ่ น (ถ้าม)ีคําอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาเกี่ยวกบั /ศกึ ษาและปฏบิ ัติเกย่ี วกับ/ปฏบิ ัติเกย่ี วกบั ..................................................………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………..• การกําหนดรหสั รายวชิ าในหลักสตู ร รหัสและจํานวนหน่วยกิตในรายวิชาเป็นตัวแทนที่สรุปรายละเอียดต่าง ๆ ของหลักสูตรรายวิชาให้สั้นกะทัดรัดยิ่งข้ึน โดยในรหัสรายวิชาจะมีส่วนประกอบที่สําคัญ เช่นสาขาวิชา หมวดวิชาท่ีรายวิชานน้ั สังกัดอยู่ หรือแม้แต่ลําดับที่ของรายวิชาอันเป็นสัญลักษณ์แสดงตําแหน่งก่อนหลังของการกําหนดแผนการเรียนและการสอนรายวิชาในหมวดวิชาน้ัน ๆ เป็นต้นซ่ึงนอกจากจะช่วยให้การเรียกชื่อรายวิชาส้ันลง และทําความเข้าใจความหมายที่สมบูรณ์แล้วรหสั รายวิชายังจะช่วยในการพิจารณาจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องสัมพันธ์กับรายวิชาอื่น ๆอกี ด้วยแนวปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั หลักสตู ร 15

รหสั วิชาในหลกั สตู รปรญิ ญาตรี1234-5678 ช่อื วิชา หนวยกิต ท-ป-ศ4000 สาขาวชิ า/วชิ าเรียนรว ม ลําดับทวี่ ิชา 01-99 หมวดวิชาทักษะชี ิวต วิชาเรียนรวม กลุมวิชา (หมวดวชิ าทกั ษะชีวติ ) 11-19 กลุมวิชาภาษาไทย กลุม วชิ าภาษาตา งประเทศ กลมุ วชิ าวิทยาศาสตร กลมุ วชิ าคณิตศาสตร กลุมวิชาสังคมศาสตร กลมุ วิชามนษุ ยศาสตร4000 วิชาเรียนรว มหลกั สตู ร 20 กิจกรรมรว มหลกั สตู ร40004X00 วชิ าเลอื กเสรี 90 รายวิชาเลอื กเสรี (พืน้ ฐานประยกุ ต)4XXX วิชาเรียนรวม (ประเภทวิชา) 00 วชิ าปรบั พ้นื ฐานวิชาชพี ประเภทวิชา หมวดวิชาทักษะ ิวชาชีพ สาขาวชิ า .... 01 วิชาชีพพื้นฐาน (รว มประเภทวิชา) 0X วิชาชพี พื้นฐาน (รวมกลุม/คณะวชิ า) 00 วิชาปรับพน้ื ฐานวิชาชพี สาขาวิชา 10 วชิ าชพี พ้นื ฐาน 20 วชิ าชีพเฉพาะ/บงั คบั 21-49 วิชาชีพเลอื ก 51-79 รายวชิ าทวภิ าค/ี วิชาทีจ่ ัดการเรียน ในสถานประกอบการ 80 ฝกประสบการณท ักษะวิชาชพี   85 โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 90 รายวิชาเลอื กเสรี - หลกั สตู รพัฒนาโดยสถานศกึ ษาหรือสถาบันการอาชวี ศึกษา ประเภทวชิ า 5 ประเภทวิชาเกษตรกรรม 0 หมวดวชิ าพน้ื ฐานประยกุ ต/เรยี นรว ม 6 ประเภทวชิ าประมง 1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 7 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรมทองเที่ยว 2 ประเภทวชิ าบริหารธรุ กิจ 8 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ 3 ประเภทวชิ าศิลปกรรม 9 ประเภทวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศฯ 4 ประเภทวิชาคหกรรม หลักสูตร 4 หลักสตู รปริญญาตรี16 แนวปฏิบตั เิ กี่ยวกบั หลักสูตร

• การกําหนดจาํ นวนหนวยกติ และจํานวนชั่วโมงเรยี นตอ สปั ดาห การกําหนดจํานวนหน่วยกิตและจํานวนช่ัวโมงเรียนต่อสัปดาห์ของแต่ละรายวิชา ให้พจิ ารณาตามกรอบมาตรฐานหลักสูตรการอาชีวศึกษาในแต่ละระดับคุณวุฒิ โดยกําหนดหลักและวธิ กี าร ดังนี้1. การระบหุ น่วยกิตใหร้ ะบคุ วามหมายของ น (ท-ป-ศ)น หมายถึง จาํ นวนหน่วยกติท หมายถงึ จาํ นวนชวั่ โมงทฤษฎตี ่อสปั ดาห์ป หมายถึง จํานวนช่ัวโมงปฏบิ ัตติ อ่ สัปดาห์ศ หมายถงึ จาํ นวนชั่วโมงศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเองตอ่ สัปดาห์ 2. การจดั ช่ัวโมงเรยี น ในการจัดชั่วโมงเรียนน้ัน ให้พิจารณาถึงลักษณะการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนที่สามารถเกิดข้นึ ได้ทัง้ ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ดังน้ันจึงควรจัดช่ัวโมงให้ได้ศึกษาค้นคว้าท้ังในเวลาและนอกเวลาเรียน โดยจําแนกการจัดเวลาเรียนรู้ประจํารายวชิ า รปู แบบและวธิ ีการคํานวณชัว่ โมงศกึ ษาค้นคว้านอกเวลาต่อสัปดาห์ ดงั นี้ ๒.๑ ชว่ั โมงเรียนทฤษฎี ๒.๒ ชวั่ โมงเรียนปฏบิ ัติ ๒.๓ ชั่วโมงศกึ ษาค้นควา้ นอกเวลา จาํ นวนหนว่ ยกติ จํานวนชัว่ โมงเรียนทฤษฎีตอ่ สปั ดาห์ จาํ นวนช่วั โมงเรยี นปฏบิ ตั ติ ่อสัปดาห์ จํานวนช่ัวโมงเรียนศกึ ษาคน้ ควา้ นอกเวลาตอ่ สัปดาห์น (ท-ป-ศ)วิธีคาํ นวณ ชั่วโมงศึกษาค้นควา้ นอกเวลา = ชั่วโมงเรียนทฤษฎี x 2 + ชั่วโมงเรยี นปฏิบัติ ๒.๕แนวปฏิบตั ิเก่ยี วกบั หลักสูตร 17

หมายเหตุ หากผลการคาํ นวณท่ไี ด้มจี ุดทศนิยม ใหป้ ัดเศษดงั น้ี - นอ้ ยกว่า ๐.๕ ใหต้ ัดทิง้ - ตงั้ แต่ ๐.๕ ข้ึนไปให้ปัดเปน็ ๑ ท้ังน้ี ในการกําหนดช่ัวโมงศึกษาค้นคว้านอกเวลาดังกล่าวข้างต้น บางรายวิชาอาจไม่มีการศึกษาค้นคว้านอกเวลา เช่น วิชาที่เก่ียวข้องกับการฝึกประสบการณ์อาชีพ วิชาโครงการเปน็ ตน้ โดยใหใ้ ช้ตวั เลข ๐ แทนชว่ั โมงศึกษาค้นควา้ นอกเวลา 3. โครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ กําหนดให้หน่วยกิต 1 หน่วยกิต ต้องใช้เวลาทําโครงการไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ และไม่ต้องระบุจํานวนชั่วโมงศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เน่ืองจากลักษณะการปฎิบัติรวมอยู่ในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองแล้ว สําหรับหัวข้อโครงการท่ีเสนอจะต้องเก่ียวข้องและสัมพันธ์กับสาขาวิชาท่ีศึกษา โดยต้องมีสถานประกอบการหรือธุรกิจท่ีอ้างอิงและคาดว่าจะนําไปใช้ในงานหากโครงการสําเร็จ หรือเป็นโครงการท่ีมุ่งเน้นการสร้างผลงานทางด้านวิชาชีพ ท้ังนตี้ ้องมรี ายงานนาํ เสนอตามรูปแบบและระยะเวลาทหี่ ลักสูตรกําหนดอยา่ งเคร่งครดั 4. การฝึกประสบการทกั ษะวิชาชีพและรายวชิ าทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาระบบทวิภาคี กําหนดให้ 1 หน่วยกิต ต้องใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติและไม่ต้องระบุจํานวนช่ัวโมงศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เนื่องจากลักษณะการปฎิบัติรวมอยู่ในการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองอย่แู ลว้18 แนวปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั หลกั สตู ร

ตอนท่ี ๓การเห็นชอบและรับรองหลกั สตู ร แนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกับหลักสูตรขนั้ ตอนการวางแผนพฒั นาและรบั รองหลกั สตู ร การขอรับรองหลักสูตรเป็นกระบวนการขั้นสุดท้ายในการพัฒนาหลักสูตรของสถาบันคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร หรือคณะวชิ าหรอื ภาควิชาทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนาจะต้องมีความเข้าใจในกระบวนการของเส้นทางการพัฒนาหลักสูตรอย่างชัดเจน ท้ังนี้เพื่อให้สามารถวางแผนดาํ เนนิ การพฒั นาหลกั สตู รและกาํ หนดระยะเวลาได้อย่างถูกต้องตามข้อกําหนด ดังน้ันผู้เกี่ยวข้องจําเป็นต้องศึกษาวิธีการ ขั้นตอน รวมทั้งเอกสารข้อมูล กฎระเบียบหรือข้อกําหนดท่ีเก่ียวกับการพัฒนาใหช้ ดั เจนเพอื่ ให้สามารถวางแผนดําเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจกําหนดข้ันตอนตง้ั แตก่ ารวางแผนพฒั นาจนถงึ การขอรับรองหลักสตู รได้ ดังนี้  สถาบัน / คณะวิชา / ภาควชิ า    ▪ วิเคราะหป์ ระเมินความพรอ้ มในการขอเปิดสอน เสนอสภาสถาบนั ผ่านคณะกรรมการ  ▪ จดั ทาํ คําขอเปดิ สอนเสนอต่อสภาสถาบนั วชิ าการ ▪ ศึกษากรอบมาตรฐานหลกั สูตรการอาชีวศึกษา ▪ ศึกษากรอบคณุ วฒิการศกึ ษาวิชาชีพ (คอศ. 1) ▪ จดั ทําแบบเสนอหลกั สตู รการอาชีวศึกษา (คอศ. 2) เสนอคณะกรรมการ ▪ เสนอสภาสถาบันการอาชีวศกึ ษาเห็นช อบหลักสูตร วิชาการ ▪ เสนอสาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ▪ พร้อมแนบแบบ คอศ. 3 และ คอศ. 4 ▪ เข้าส่กู ระบวนการรบั รองหลักสูตรและรบั รองคณุ วฒุ ิแนวปฏิบัตเิ ก่ียวกบั หลกั สตู ร 19

องคป ระกอบของเอกสารหลักสูตร เอกสารหลักสูตรที่จะนําไปใช้ในการจัดการศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษา ต้องเป็นหลักสตู รทไี่ ดร้ บั การเห็นชอบจากสภาสถาบันการอาชีวศึกษาแล้ว เอกสารหลักสูตรท่ีใช้ในการจัดการศึกษาในสถาบนั และเพอ่ื การเผยแพร่ องค์ประกอบท่จี าํ เปน็ อยา่ งนอ้ ย ประกอบด้วย 1. ปก คาํ นํา 2. สารบญั 3. การเหน็ ชอบหลกั สูตร 4. ปรัชญาและวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร 5. หลักการของหลกั สูตร 6. จุดหมายของหลักสูตร 7. จุดประสงค์สาขาวชิ า 8. เกณฑ์การใชห้ ลักสูตร 9. การกําหนดรหสั วิชา การคดิ หนว่ ยกิตและชั่วโมงเรยี น 10. ช่อื หลกั สตู ร ช่ือประกาศนียบัตร/ปรญิ ญาบตั ร 11. มาตรฐานการศกึ ษาวิชาชพี 12. โครงสร้างหลกั สูตร 13. คําอธบิ ายรายวชิ า 14. ภาคผนวก (ถา้ มี) แนวปฏบิ ตั ใิ นการเสนอขอความเหน็ ชอบและรบั รองหลักสตู ร• หลกั สตู รใหม 1. หลกั สูตรท่ีจะเปิดสอนควรสอดคลอ้ งกับนโยบายรัฐบาล แผนพฒั นาประเทศ และความตอ้ งการกาํ ลงั คนของตลาดแรงงานสงั คมและชมุ ชน 2. หลักสูตรที่จะเปิดสอนควรได้ผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากคณะกรรมการวิชาการของสถาบนั หรือคณะกรรมการท่ีได้รบั แตง่ ตง้ั ให้ท่ีมหี น้าท่ใี นการพจิ ารณา 3. หลกั สูตรท่ีขอเปดิ สอนตอ้ งมีโครงสร้างและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลักสูตรและกรอบคุณวฒุ ิการศกึ ษาวชิ าชพี 4. ศักยภาพและความพร้อมในการเปิดดําเนินการสอนตามหลักสูตร ทั้งด้านผู้สอนทรพั ยากรสนับสนนุ การเรยี นการสอนและปจั จยั เกอ้ื หนุนอื่นๆ20 แนวปฏบิ ัติเก่ยี วกับหลักสตู ร

5. หลกั สูตรได้รบั ความเหน็ ชอบจากสภาสถาบนั การอาชวี ศึกษา 6. หลักสูตรท่ีได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันการอาชีวศึกษาแล้ว ต้องเสนอให้คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาทราบภายใน 30 วัน นบั แตว่ นั ทไี่ ดร้ บั ความเห็นชอบ 7. เอกสารทีเ่ สนอสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบด้วย 7.1 หัวข้อและรายละเอียดการจัดทําเอกสารหลักสูตรตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากําหนด 7.2 หนังสือนําเสนอข้อมูลหลักสูตร โดยผู้อํานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาเป็นผ้ลู งนามรับรองความถูกตอ้ งของขอ้ มูลทงั้ หมด 7.3 สําเนามตสิ ภาสถาบนั การอาชวี ศึกษาทีเ่ หน็ ชอบหลกั สูตร 7.4 เอกสารหลักสูตรฉบับสมบรู ณจ์ ํานวน 50 เล่ม พรอ้ มแผ่นบันทึกข้อมลู 7.5 หากมีเอกสารใช้ประกอบหลักสูตรหรือท่ีอ้างถึง ให้จัดทําเป็นเอกสารภาคผนวกแนบท้ายหลักสตู ร 8. ในกรณีที่เอกสารหลักสูตรมีความถูกต้อง ครบถ้วนและสมบูรณ์ตามท่ีกําหนดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะดําเนินการนําเสนอเพ่ือการรับรองหลักสูตร ภายใน120 วัน• หลกั สตู รปรบั ปรงุ กรณที ่ี 1 หลักสูตรท่ีมกี ารปรับปรุงในสาระสาํ คัญของหลกั สูตร หลักสูตรท่ีมีการปรับปรุงในสาระสําคัญของหลักสูตร เช่น วัตถุประสงค์ของหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ชื่อหลักสูตร ช่ือปริญญา เนื้อหาสาระสําคัญ ในหมวดวิชาชีพและระบบการศกึ ษาใหด้ ําเนินการ ดังน้ี 1. หลักสูตรควรผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากคณะกรรมการวิชาการ หรือคณะกรรมการที่มีหน้าที่พิจารณาแตเ่ รียกชอ่ื เปน็ อย่างอ่ืน 2. หลักสูตรตอ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากสภาสถาบันการอาชีวศึกษา 3. หลกั สตู รต้องมีโครงสรา้ ง มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลกั สตู รและกรอบคณุ วฒุ ิการศกึ ษาวิชาชพี 4. หลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว ต้องเสนอคณะกรรมการการอาชีวศึกษาภายใน 30 วัน นบั ตั้งแตว่ ันทีไ่ ด้รบั ความเหน็ ชอบ 5. เอกสารทเี่ สนอสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ประกอบด้วย 5.1 หัวข้อและรายละเอียดการจัดทําเอกสารหลักสูตรตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด และให้จัดทําตารางเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างหลักสตู รเดมิ และหลกั สูตรฉบบั ปรงั ปรงุแนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั หลกั สตู ร 21

5.2 หนังสือนําเสนอข้อมูลหลักสูตร โดยผู้อํานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาเปน็ ผลู้ งนามรับรองความถกู ต้องของข้อมลู ท้งั หมด 5.3 สาํ เนามติสภาสถาบนั การอาชวี ศึกษา ทเ่ี ห็นชอบหลักสตู รฉบับปรบั ปรงุ 5.4 เอกสารหลกั สตู รฉบบั ปรับปรุง จาํ นวน 50 เลม่ พร้อมแผ่นบันทึกขอ้ มลู 5.5 หากมีเอกสารประกอบหลักสูตรหรือท่ีอ้างถึง ให้จัดทําเป็นเอกสารภาคผนวกแนบทา้ ยหลกั สตู ร 6. ในกรณีที่เอกสารหลักสูตรมีความถูกต้อง ครบถ้วนและสมบูรณ์ตามท่ีกําหนดสํานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาจะดาํ เนินการนาํ เสนอภายใน 120 วัน กรณที ี่ 2 หลกั สตู รทม่ี ีการปรบั ปรุงเลก็ นอ้ ยในระดบั รายวิชา หลักสูตรที่มีการปรับปรุงเล็กน้อยในระดับรายวิชา เช่น การเปลี่ยนชื่อรายวิชา การเปลี่ยนรหัสวิชา การเพิ่มรายวิชาเลือกและการปรับคําอธิบายรายวิชา โดยไม่กระทบโครงสร้างหลักสตู รและเน้ือหาสาระในหมวดวชิ าชพี ให้ดาํ เนินการดงั น้ี 1. หลักสูตรควรผ่านการพิจารณากลั่นกรองจากคณะกรรมการวิชาการ หรือคณะกรรมการทม่ี ีหนา้ ท่ีพิจารณาแตเ่ รียกชอื่ เปน็ อยา่ งอ่นื 2. หลักสูตรท่ีปรับปรุง ก่อนนําเสนอสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ต้องได้รบั ความเหน็ ชอบจากสภาสถาบนั การอาชีวศึกษา 3. เอกสารที่เสนอต้องมีหัวข้อและรายละเอียดสาระของหลักสูตรในส่วนที่ ต้องการปรับปรงุ แกไ้ ขตามท่สี าํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนด 4. ให้สถาบันการอาชีวศึกษาจัดทําเอกสารการปรับปรุงแก้ไข หลักสูตร และแจ้งให้สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษารับทราบหรือรบั รองเป็นรายภาคการศึกษา 5. ในกรณีท่หี ลกั สตู รใดมกี ารปรับปรุงแกไ้ ขหลายคร้งั ให้รวบรวมและสรุปจดั ทําเป็นเอกสารฉบับเดียว 6. ให้สง่ เอกสารตามขอ้ 5 จํานวน 50 ฉบับ พรอ้ มแผ่นบันทึกขอ้ มูล อนึ่ง การรับรองหลักสูตรใหม่หรือหลักสูตรปรับปรุง จะเป็นไปภายใต้ เง่ือนไขที่ว่าสถาบันการอาชีวศึกษาได้จัดทําหลักสูตรสอดคล้องตามกรอบมาตรฐานหลักสูตร กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (คอศ.1) นโยบายและหรือหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดเท่าน้ัน หากมิได้เป็นไปตามเงื่อนไขดังกล่าว สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไม่อาจส่งหลักสูตรดังกล่าวไปให้สํานักงาน ก.พ. พิจารณารับรองคุณวุฒิผู้สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร เพ่ือประโยชน์ในการบรรจุและแต่งต้ังข้าราชการพลเรือน การกําหนดเงินเดือนท่ีควรได้รับ รวมทั้งการศึกษาต่อในระดับที่สงู ขึน้22 แนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับหลกั สูตร

การนําเสนอหลกั สูตรตอสํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หลกั สูตรท่ีไดร้ ับความเหน็ ชอบต่อสภาสถาบนั แล้วต้องแจ้งใหส้ าํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับความเห็นชอบพร้อมแนบแบบรายงานข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาหลักสูตร (คอศ.3) และแบบเทียบหลักสูตรเพ่ือคุณภาพการศึกษา (คอศ.4) พร้อมมติสภาสถาบัน ซ่ึงหนังสือการนําเสนอหลักสูตรอย่างน้อยประกอบด้วย 1. ข้อมูลทวั่ ไป 1.1 ช่ือสถาบัน ให้ระบุชื่อสถาบัน คณะวิชา ภาควิชาท่ีเปิดสอนหลักสูตรอย่างชัดเจน 1.2 ชื่อหลักสูตร ให้ระบุช่ือเต็มและชื่อย่อของหลักสูตรท่ีเปิดสอน ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 1.3 ช่ือปริญญาและสาขาวิชา ให้ระบุชื่อเต็มและชื่อย่อของปริญญาบัตรสาขาวิชา ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยให้สอดคล้องกันและเป็นไปตามหลักเกณฑ์การกาํ หนดชือ่ ปรญิ ญาบตั ร 1.4 รูปแบบของหลักสูตร 1) รปู แบบ ใหร้ ะบรุ ปู แบบของหลักสตู รท่ีเปิดสอนว่าเป็นหลักสูตรรูปแบบใดตามกรอบมาตรฐานหลักสตู รและกรอบคณุ วฒุ ิการศกึ ษาวชิ าชีพ 2) การรบั เข้าศกึ ษา ใหร้ ะบกุ ารรบั ผเู้ รียนเขา้ ศึกษาตามหลกั สูตร 3) ความร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน ให้ระบุว่าเป็นหลักสูตรเฉพาะของสถานศึกษาทจ่ี ดั การเรยี นการสอนโดยตรง หรือเป็นหลักสูตรความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ โดยตอ้ งระบุช่ือหน่วยงานทีท่ ําความรว่ มมอื ดว้ ย 4) การให้ปริญญาบัตรแก่ผู้สําเร็จการศึกษา ให้ระบุว่าให้ปริญญาบัตรหรืออนื่ ๆ ซึ่งสถาบันไดใ้ ห้เพิม่ เตมิ 5) สถานภาพของหลักสูตร ให้ระบุว่าเป็นหลักสูตรใหม่หรือหลักสูตรปรบั ปรงุ พร้อมรายละเอียดการเปิดสอนในภาคการศึกษาและในปีการศกึ ษาใด 6) การพิจารณาเห็นชอบหลักสูตร ให้ระบุหลักสูตรท่ีจะเปิดสอนว่าได้ผ่านการพิจารณาเห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบันในการประชุมเมื่อคร้ังที่ … วันท่ี … เดือน …...พ.ศ. ... พร้อมแนบเอกสารท่เี กีย่ วข้องแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั หลกั สูตร 23

2. ขอ้ มลู เฉพาะของหลักสตู ร 2.1 ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ให้ระบุปรัชญาและวัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร โดยต้องสอดคล้องกับปรัชญาการอาชีวศึกษา ปรัชญาของสถาบัน และมาตรฐานวชิ าชีพ 2.2 ระบบการจัดการศึกษา ให้ระบุระบบการจัดการศึกษาท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอน การคิดหน่วยกิต รวมท้ังการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน (ถ้ามี) ตามกรอบมาตรฐานหลักสตู รและกรอบคณุ วฒุ กิ ารศึกษาวชิ าชพี 2.3 การดําเนินการหลักสูตร ให้ระบุวัน เวลาดําเนินการจัดการเรียนการสอนคณุ สมบัตขิ องผู้เขา้ ศกึ ษา จาํ นวนนักศกึ ษา และรปู แบบการจดั การศกึ ษา 2.4 จํานวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาศึกษา ให้ระบุจํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู ร และระยะเวลาการสาํ เรจ็ การศึกษา 2.5 โครงสร้างหลักสูตร ให้ระบุจํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร และจํานวนหน่วยกติ ในแต่ละหมวดวชิ า ซงึ่ สอดคลอ้ งกบั กรอบมาตรฐานหลกั สูตรและกรอบคุณวุฒิการศึกษาวชิ าชีพ 2.6 จํานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ ให้ระบุจํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตรพรอ้ มท้ังตาํ แหน่งทางวิชาการ คุณวฒุ ิ สาขาวชิ าและสถาบนั ทส่ี าํ เรจ็ การศกึ ษาอยา่ งชดั เจน 2.7 เกณฑ์การวัดผลประเมินผล ให้ระบุเกณฑ์การวัดผลประเมินผลและอื่นๆที่เกีย่ วขอ้ งในหลักสูตร 2.8 เกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับเกณฑ์การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรที่เป็นไปตามกรอบมาตรฐานหลักสูตร 2.9 การประกันคุณภาพ ให้ระบุระบบและวิธีการประกันคุณภาพหลักสูตรใน 4 ประเด็นเป็นอย่างน้อย คือ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ การบริหารหลักสูตร ทรัพยากรประกอบการเรยี น และความต้องการกําลังคนของตลาดแรงงาน 2.10 การพัฒนาหลักสูตร ให้ระบุการพัฒนาหลักสูตรโดยแสดงการปรับปรุงดัชนีบ่งช้ีด้านมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา และการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรเป็นระยะๆอยา่ งนอ้ ยในทกุ 5 ปกี ารศกึ ษา 2.11 ให้ระบุเหตุผลและความจําเป็นในกรณีท่ีไม่สามารถปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานหลักสูตร เพื่อเสนอคณะกรรมการการอาชีวศึกษาพิจารณาเป็นกรณีๆ ในแต่ละหลักสูตร 2.12 ให้ผู้อํานวยการสถาบันการอาชีวศึกษาลงนามรับรองความถูกต้องของข้อมูลท่นี ําเสนอในข้อ 2.1 - 2.1024 แนวปฏิบัตเิ กีย่ วกับหลกั สตู ร

ภาคผนวกแนวปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกับหลกั สตู ร 25



กรอบคุณวุฒกิ ารศกึ ษาวชิ าชพี ระดับ สาขาวชิ า .คอศ. ๑๑. ชอ่ื หลกั สูตร ใหร ะบุชอ่ื หลกั สตู รทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ๒. ชอื่ ปรญิ ญาและสาขาวชิ า  ใหระบุชื่อเต็มและอักษรยอของปริญญาท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใหสอดคลองกัน และวงเล็บชื่อสาขาวิชาตอทายช่ือปริญญา ท้ังน้ี การเรียกช่ือปริญญาในสาขาวิชาและการใชอกั ษรยอ สาํ หรับสาขาวชิ านน้ั ใหเ ปนไปตามทกี่ ําหนดในพระราชกฤษฎีกา ๓. ปรชั ญาและวตั ถุประสงคข องหลกั สตู ร ใหระบุปรัชญาของหลักสูตรเกี่ยวกับเปาหมายของการจัดการศึกษา วิธีการจัดการศกึ ษาและวัตถุประสงคข องหลักสตู รเกยี่ วกบั คณุ ลักษณะของผูส าํ เร็จการศึกษาโดยภาพรวม๔. โอกาสในสายงานวิชาชพี ใหระบุชองทางในการประกอบอาชีพหรือชองทางในการศึกษาตอของผูสําเร็จการศึกษา๕. องคก รวชิ าชีพทเี่ กีย่ วของ (ถา มี) ใหระบเุ ฉพาะองคกรวิชาชพี ท่ีรบั รองหลกั สูตรตามกฎหมายเทาน้ัน๖. มาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพ ใหแ สดงถึงคุณภาพของผสู าํ เร็จการศกึ ษาในแตละระดับคุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชา ซ่ึงตองเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาํ หนด โดยตองครอบคลมุ อยา งนอ ย ๓ ดา น คือ ๖.๑ คุณลักษณะที่พึงประสงค ไดแก คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพพฤติกรรมลกั ษณะนิสยั และทักษะทางปญ ญาแนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกับหลักสตู ร 25

๖.๒ สมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ไดแก ความรูและทักษะการส่ือสารการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรูและการปฏิบัติงาน การทํางานรวมกับผูอ่ืนการใชก ระบวนการทางวิทยาศาสตร การประยกุ ตใชต วั เลข การจัดการและการพฒั นางาน ๖.๓ สมรรถนะวิชาชีพ ไดแก ความสามารถในการประยุกตใชความรูและทกั ษะในสาขาวิชาชีพสกู ารปฏบิ ัตจิ ริง รวมทั้งประยุกตสอู าชพี๗. จํานวนหนวยกิตและโครงสรา งหลกั สตู ร ตอ งสอดคลองกบั กรอบมาตรฐานหลักสตู รอาชวี ศึกษา ๘. เนอ้ื หาสาระสําคัญของหลักสตู ร ใหกําหนดปริมาณเน้ือหาสาระสําคัญขั้นตํ่า โดยตองจัดใหมีสัดสวนน้ําหนักและความสําคญั ตามลักษณะและความเหมาะสมของแตล ะสาขาวชิ า๙. แนวทางการจัดการเรียนการสอน ๙.๑ ใหแสดงกลยุทธท่ีเก่ียวของกับกระบวนการเรียนการสอนในสาขาวิชาเพื่อใหผ ูเขาศึกษามคี ณุ ลักษณะตามทก่ี ําหนดในมาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชีพ ๙.๒ ใหระบุแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรูดานตางๆ อยางครบถวนเพ่อื ใหม ่ันใจวา ผูส าํ เรจ็ การศึกษาบรรลผุ ลตามมาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี๑๐. การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ สถาบันตองกําหนดใหมีระบบการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เพ่ือเปนการยืนยันวาผูส ําเรจ็ การศึกษาทกุ คนมผี ลการเรยี นรตู ามท่กี าํ หนดไวใ นมาตรฐานวชิ าชพี ตามสาขาวิชา๑๑. คณุ สมบตั ขิ องผเู ขา ศกึ ษา ใหกําหนดคุณสมบัติของผูเขาศึกษาใหชัดเจน ทั้งในสวนของคุณวุฒิหรือประสบการณ รวมทั้งเง่ือนไขตางๆ (ถามี)  ๑๒. ทรัพยากรการเรยี นการสอนและการจดั การ  ใหระบุทรัพยากรที่สนับสนุนการเรียนการสอนและการจัดการท่ีมีประสิทธิภาพทั้งในสวนของเครื่องมือ อุปกรณ หองปฏิบัติการ โรงฝกงานหรือภาคสนาม รวมท้ังคุณสมบัติผูสอนและสัดสวน ตลอดจนแนวทางการพฒั นาคณาจารย26 แนวปฏิบตั เิ กย่ี วกับหลกั สตู ร

๑๓. การประกันคุณภาพหลักสตู รและการจัดการเรียนการสอน ใหระบุตัวบงช้ีที่เกี่ยวของและเกณฑการประเมินในการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจดั การเรยี นการสอน๑๔. การนาํ กรอบคุณวุฒกิ ารศึกษาวชิ าชพี สูก ารปฏบิ ัติ ใหระบุกระบวนการนํากรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพสูการพัฒนาหลักสูตรใหมหรอื หลกั สตู รปรับปรงุ ดงั นี้ ๑๔.๑ พิจารณาความพรอมและศักยภาพของสถาบันในการจัดการศึกษาตามหลกั สูตร ๑๔.๒ แตง ต้งั คณะกรรมการพฒั นาหลักสูตร ซ่ึงประกอบดวยกรรมการอยางนอย๕ คน โดยมีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรอยางนอย ๓ คน ผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาซ่ึงเปนบุคคลภายนอกอยางนอย ๒ คน เพ่ือดําเนินการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ โดยเบื้องตนตองจัดใหมีการแสดงหัวขอและรายละเอียดความพรอมของการดําเนินการหลักสูตร อยางนอยตามท่ีกําหนดไวในแบบเสนอหลักสตู รการอาชวี ศึกษา (คอศ. ๒) ๑๔.๓ พัฒนาหลักสูตร โดยสถาบันอาจเพิ่มเติมมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพตามขอ ๖ ทั้งในดานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และดานสมรรถนะวิชาชีพ เพือ่ เปน การเพิ่มคุณลกั ษณะเดน ของผสู าํ เรจ็ การศึกษา ๑๔.๔ เสนอหลักสูตรตอสภาสถาบันเพื่อใหความเห็นชอบ แลวนําเสนอสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทราบภายใน ๓๐ วัน นับแตวันท่ีไดรับความเห็นชอบโดยแนบแบบรายงานขอมูลเพ่ือการพิจารณาหลักสูตร (คอศ. ๓) และแบบเทียบหลักสูตรเพือ่ คุณภาพการศึกษา (คอศ. ๔) พรอมสาํ เนามติสภาสถาบัน ในกรณีที่เอกสารหลักสูตรมีความถูกตอง ครบถวนและสมบูรณตามท่ีกําหนดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะดําเนินการ เพ่ือนําเขาสูกระบวนการรับรองหลักสูตรภายใน ๑๒๐ วนั ๑๔.๕ จัดเตรียมทรัพยากรในการจัดการศึกษาหลักสูตรปริญญาตรีสาย-เทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการใหเหมาะสม สอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตร เพ่ือใหผูสําเร็จการศึกษามีสมรรถนะตรงตามมาตรฐานวิชาชีพที่กําหนด ไดแก การจัดบุคลากร เชนผูบ รหิ าร อาจารยประจําหลักสูตร อาจารยประจํา อาจารยพิเศษ อาจารยท่ีปรึกษาโครงการพิเศษ ครูฝกและบุคลากรอ่ืนท่ีเกี่ยวของ การกําหนดระบบการจัดการศึกษา กําหนดการเปดแนวปฏิบัติเก่ยี วกบั หลักสตู ร 27

ภาคการศึกษา การจัดสื่อและอุปกรณการศึกษา การประเมินผลการศึกษา การจัดหองสมุดและแหลงเรยี นรู อาคารสถานทแี่ ละทรัพยากรอน่ื ท่ีมคี วามจําเปน ๑๔.๖ อาจารยผูรับผิดชอบในแตละรายวิชาดําเนินการจัดการเรียนการสอนตามกลยุทธท่ีเกี่ยวของกับกระบวนการเรียนการสอนในสาขาวิชาและประเมินผลการเรียนรูตามท่ีกาํ หนดไวในหลกั สตู ร ๑๔.๗ เมือ่ ส้ินสดุ การจัดการเรยี นการสอนแตละภาคการศึกษา ใหอาจารยในแตละรายวิชาจัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชาและการประเมินผลการเรียนในรายวิชาท่ีรับผิดชอบ รวมทั้งปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะที่เก่ียวของ และเมื่อส้ินปการศึกษาใหสถาบันจัดทําแบบรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร (คอศ. ๖) เสนอมายังสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา๑๕. ภาคผนวก (ถามี)28 แนวปฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั หลักสตู ร

แบบเสนอหลกั สูตรการอาชวี ศึกษา ระดบั .คอศ. ๒ สาขาวชิ า .๑. สวนหนา ของหลกั สูตร ๑.๑ ปกหลักสูตร ใหประกอบดว ยปกหนาและปกใน ระบุช่ือเต็มของหลักสูตรพรอมสาขาวิชา และระบุวาเปน หลักสตู รใหมห รือหลักสูตรปรบั ปรงุ และป พ.ศ. (ดงั ตวั อยาง) ๑.๒ คํานํา ใหระบุเหตุผลความจําเปนในการพัฒนาหรือปรับปรุงแกไขหลักสูตรทส่ี อดคลอ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ และนโยบายที่เก่ียวของในการผลิตกําลังคน ตลอดจนกระบวนการดําเนินงานโดยสังเขป ผูมีสวนรวมในการพฒั นาหรอื ปรับปรงุ แกไข และหนวยงานทีร่ ับผิดชอบ ๑.๓ สารบัญ ใหระบุรายการหวั ขอ องคป ระกอบของหลกั สตู ร พรอ มเลขหนา๒. สว นหลกั สูตร ใหร ะบรุ ายละเอียดของหลักสูตรตามหัวขอทก่ี าํ หนด (ดงั รายการที่แนบ)๓. สว นทายของหลักสูตร ใหประกอบดว ยภาคผนวก ปกรองหลงั และปกหลัง๔. เอกสารทตี่ อ งนาํ เสนอสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ประกอบดว ย ๔.๑ แบบเสนอหลกั สตู รการอาชีวศกึ ษา จาํ นวน ๕๐ เลม พรอมแผน บันทึก ขอมลู ๔.๒ สาํ เนามตสิ ภาสถาบนั ที่เห็นชอบหลักสูตร ๔.๓ แบบรายงานขอมูลเพื่อการพิจารณาหลักสูตร (คอศ. ๓) และแบบเทียบหลักสูตรเพอ่ื คณุ ภาพการศกึ ษา (คอศ. ๔) ทีก่ รอกขอ มลู ครบถว น ทั้งนี้ หลักสูตรที่ไดรับความเห็นชอบจากแลว ตองนําเสนอสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาทราบภายใน ๓๐ วัน นับตั้งแตวันท่ีไดรับความเห็นชอบ เพ่ือเขาสูกระบวนการรับรองหลักสูตร หากไมไดดําเนินการตามระยะเวลาที่กําหนดอาจจะไมไดรับการพิจารณาหรอื รบั รองหลกั สตู รนนั้ ๆแนวปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั หลักสูตร 29

(ปกหนา)หลกั สูตร . พุทธศกั ราช .สาขาวิชา .(หลกั สตู รใหม/ หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. .....) สถาบันการอาชีวศึกษา........ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ30 แนวปฏบิ ัติเกีย่ วกบั หลกั สตู ร

(ปกใน)หลกั สูตร . พุทธศกั ราช . สาขาวชิ า .(หลกั สตู รใหม/หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. .....) สถาบนั การอาชวี ศึกษา............สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการแนวปฏิบตั เิ กี่ยวกบั หลักสูตร 31

คาํ นาํ . . . . . . . . . . . . (ช่อื หนว ยงาน)32 แนวปฏบิ ัติเก่ยี วกับหลักสูตร

สารบัญ หนา ….…… ๑. ชือ่ หลกั สตู ร ….…… ๒. ช่ือปรญิ ญา ….…… ๓. หนวยงานท่ีรับผดิ ชอบ ….…… ๔. ปรัชญาและหรอื วตั ถปุ ระสงคของหลักสตู ร ….…… ๕. กําหนดการเปด สอน ….…… ๖. คุณสมบตั ิของผูเขาศกึ ษา ….…… ๗. การคัดเลอื กผเู ขา ศึกษา ….…… ๘. ระบบการศกึ ษา ….…… ๙. ระยะเวลาการศึกษา ….……๑๐. การลงทะเบยี นเรียน ….……๑๑. การวดั ผลและการสาํ เร็จการศกึ ษา ….……๑๒. อาจารยผูส อน ….……๑๓. ครฝู กในสถานประกอบการ ….……๑๔. จํานวนนักศึกษา ….……๑๕. สถานทีแ่ ละอปุ กรณการสอน ….……๑๖. หองสมุด ….……๑๗. งบประมาณ ….……๑๘. หลักสตู ร ….……๑๙. การประกันคณุ ภาพของหลกั สูตร ….……๒๐. การพฒั นาหลกั สตู ร ….……๒๑. ภาคผนวกแนวปฏิบตั เิ ก่ยี วกบั หลักสูตร 33

หลักสูตร . พุทธศกั ราช . สาขาวิชา .๑. ชอ่ื หลักสตู ร . ชอ่ื ภาษาไทย หลกั สตู ร ..................  .. ช่อื ภาษาองั กฤษ .๒. ชื่อปริญญา  ชอ่ื เต็ม : . ชื่อภาษาไทย ชื่อยอ : . ชอ่ื เตม็ : . ชื่อภาษาอังกฤษ ช่ือยอ : .๓. หนวยงานท่รี ับผดิ ชอบ . สถาบันการอาชีวศกึ ษา สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา๔. ปรัชญาและวตั ถปุ ระสงคของหลักสูตร ใหระบุปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรอยางชัดเจน เชน เพื่อผลิตผูสําเร็จการศกึ ษา ประเภทและคุณลักษณะใด และหรอื เปน วตั ถุประสงคพ เิ ศษอันใดของสาขาวชิ านน้ั๕. กําหนดการเปดสอน ใหร ะบปุ การศกึ ษาที่จะเปด ดําเนนิ การเรยี นการสอนตามหลักสูตร34 แนวปฏิบตั เิ กย่ี วกบั หลกั สตู ร

๖. คณุ สมบตั ิของผเู ขาศกึ ษา ใหร ะบคุ ณุ สมบัติของผูเขาศึกษา เชน คณุ วฒุ ิ แตม ระดบั คะแนนเฉล่ีย ประสบการณและคุณสมบัตอิ ่ืนๆ ตามความเหมาะสมแลว แตกรณี๗. การคดั เลือกผูเขาศึกษา ใหระบวุ ธิ กี ารและขน้ั ตอนการคัดเลอื กผเู ขา ศกึ ษาโดยสังเขป๘. ระบบการศกึ ษา ใหร ะบุระบบการจดั การอาชีวศกึ ษา การคดิ หนวยกติ รายวชิ าทฤษฎี รายวชิ าปฏิบตั ิการศึกษาคน ควานอกเวลา การฝกในโรงฝก งานหรอื ภาคสนาม การฝก ประสบการณทกั ษะวชิ าชพี และการศกึ ษาระบบทวภิ าคีในสถานประกอบการ๙. ระยะเวลาการศกึ ษา ใหระบุระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร และระยะเวลาที่ใหศึกษาไดอยางนอยและอยางมากของหลักสตู รนั้น๑๐. การลงทะเบียนเรยี น ใหระบุจํานวนหนวยกิตอยางนอยและอยางมากที่ใหลงทะเบียนไดในแตละภาคการศึกษา๑๑. การวดั ผลและการสําเรจ็ การศึกษา ใหระบเุ กณฑการวัดผลและเกณฑก ารสาํ เร็จการศึกษาตามหลักสตู รอยา งละเอยี ด๑๒. อาจารยผ ูส อน ใหแ ยกเปน อาจารยประจําหลักสูตร อาจารยป ระจําและอาจารยพเิ ศษ โดยใหระบุตาํ แหนง ทางวิชาการ รายช่ือ คุณวฒุ ิ สาขาวิชา สถาบนั และปการศึกษาท่ีสําเร็จ ดงั ตัวอยา ง ผลงาน ภาระงานสอน (ชัว่ โมงตอ สปั ดาห) ท่ีมีอยแู ลว และทจี่ ะเปดสอนใหม ตาํ แหนง ทางวิชาการ ๒๕ .... ๒๕ .... ภาค ๑ ภาค ๒ ภาค ๑ ภาค ๒ คณุ สาขาท่ี ชือ่ -สกุล ทาง การคน ควา วิจยั วฒุ ิ วชิ าเอก วชิ าการ การแตงตํารา (ถาม)ี เดิม ใหม เดมิ ใหม เดิม ใหม เดิม ใหมแนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั หลักสูตร 35

๑๓. ครฝู กในสถานประกอบการ ใหระบุรายชื่อ คุณสมบัติและประสบการณของครูฝกในสถานประกอบการ โดยพิจารณาจากคณุ สมบัติตามมาตรา ๕๕ แหงพระราชบัญญตั กิ ารอาชีวศกึ ษา ดงั ตัวอยา งท่ี ชอื่ -สกลุ คุณสมบตั ิ ประสบการณ (ป)๑๔. จํานวนนักศกึ ษา ใหแสดงจํานวนนักศึกษาท่ีจะรับเขาศึกษาในหลักสูตร และจํานวนผูสําเร็จการศึกษาท่ีคาดวาจะจบในแตละปการศึกษา เปนระยะเวลา ๕ ปการศึกษา โดยเริ่มต้ังแตปการศกึ ษาที่เปดสอนหลกั สตู รนน้ั ดงั ตัวอยา ง นกั ศึกษา ปก ารศกึ ษา ๒๕... ๒๕... ๒๕... ๒๕... ๒๕...ชัน้ ปที่ ๑ชนั้ ปที่ ๒รวมท้ังหมดจํานวนผูส ําเร็จการศกึ ษา๑๕. สถานทแ่ี ละอุปกรณการสอน ใหแจงสถานที่ศึกษาในสถานศึกษาหรือสถาบัน และสถานประกอบการที่เขารวมจัดการศึกษาระบบทวิภาคี รวมท้ังอุปกรณการสอนในสาขาท่ีขอเปดสอน ทั้งที่มีอยูแลวและท่ีตองการเพม่ิ ในอนาคต๑๖. หองสมุด ใหแจงจํานวนหนังสือ ตําราเรียน วารสารและเอกสารอ่ืนๆ ที่สัมพันธกับสาขาวิชาทีเ่ ปด สอน36 แนวปฏบิ ัติเกยี่ วกบั หลักสตู ร

๑๗. งบประมาณ ใหร ะบงุ บประมาณ โดยแยกรายละเอยี ดตามหวั ขอการเสนอตั้งงบประมาณ๑๘. หลกั สตู ร ใหร ะบุรายละเอยี ดตางๆ ดงั นี้ ๑๘.๑ จุดประสงคสาขาวิชา ใหระบุจุดประสงคของการจัดการศึกษาที่ตองการใหเ กดิ ข้นึ กบั ผูสําเรจ็ การศกึ ษาตามสาขาวชิ า ๑๘.๒ มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ใหระบุรายละเอียดของรายการสมรรถนะและคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค ของผสู ําเรจ็ การศกึ ษาตามสาขาวชิ า ๑๘.๓ จํานวนหนวยกติ รวม ใหระบหุ นว ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ๑๘.๔ โครงสรางหลักสูตร ใหแ สดงโครงสรา งของหลักสูตร โดยแบง เปน หมวดวิชาใหสอดคลองกบั ที่กาํ หนดไวในกรอบมาตรฐานหลกั สูตรและกรอบคุณวุฒกิ ารศึกษาวิชาชพี ๑๘.๕ รายวชิ า ประกอบดว ย รหสั วิชา ชอ่ื วิชา เวลาเรยี นและหนว ยกติ ดังน้ี รหสั วิชา ใหใชตัวเลข 8 ตัว ในลักษณะ XXXX–XXXX ตามคํา ช้แี จงการกําหนดรหสั วชิ าแตล ะระดบั ชื่อวชิ า ใหเขียนชื่อวิชาเปนภาษาไทยในบรรทัดแรก และ วงเล็บช่ือวิชาเปนภาษาอังกฤษในบรรทัดตอไป หากมี รายวชิ าทีต่ องเรยี นกอน ใหร ะบรุ หัสวชิ าและช่อื วิชานนั้ ดว ย เวลา-หนวยกิต ใหระบุจํานวนหนวยกิต จํานวนชั่วโมงเรียนภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และจํานวนชั่วโมงศึกษาคนควาดวยตนเอง น (ท-ป-ศ) โดยคิดคาหนวยกิตตามทีก่ าํ หนด สําหรับรายละเอียดของคําอธิบายรายวิชา จะตองเขียนใหสอดคลองสัมพันธกัน ครอบคลุมเนื้อหาสาระสําคัญและ สิ่งท่ีตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท้ังดานความรู ทักษะ เจตคติและกิจนิสัยท่ีพึงประสงค นอกจากน้ีหากมีเงื่อนไขรายวิชา เชน ตองเรียนรายวิชาบังคับกอน หรือตองเรียนรายวิชาบังคับรวม ก็ใหระบุเงื่อนไขเหลาน้ีไวในรายละเอียดของรายวิชานั้นๆ ดวย ดงั ตวั อยางแนวปฏิบัติเกย่ี วกบั หลักสตู ร 37

XXXX-XXXX ชื่อวิชาภาษาไทย น (ท-ป-ศ) (ช่ือวชิ าภาษาอังกฤษ) รายวชิ าทต่ี อ งเรยี นกอ น (ถาม)ีคาํ อธิบายรายวิชา ศกึ ษาเกย่ี วกบั /ศึกษาและปฏบิ ัติ/ปฏิบัตเิ กีย่ วกบั ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. และ .................................................................................................................................................................................................. ๑๘.๖ ขอกําหนดเกี่ยวกับโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (ถามี) ใหระบุขอมูลโดยสรุปเก่ียวกับขอกําหนดในการทําโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพของหลักสูตร ไดแกการเตรียมการ การใหค ําแนะนาํ และความชวยเหลอื ทางดา นวชิ าการ กระบวนการประเมนิ ผลตลอดจนชวงระยะเวลาทก่ี ําหนดใหทาํ โครงการ ๑๘.๗ แผนการศึกษา ใหแสดงรายวิชาที่จัดสอนตามหลักสูตรในแตละภาคการศึกษาจนครบตามโครงสรางของแตละหลักสูตร โดยพิจารณาใหสอดคลองกับสมรรถนะในมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพที่จะเกิดข้ึนกับผูเรียนตามกรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตร ปการศึกษา ๒๕ ..… ปการศึกษา ๒๕ ..…ภาคเรยี นที่ … ภาคเรยี นที่ … ภาคเรยี นที่ … ภาคเรยี นท่ี … ๑๘.๘ องคประกอบที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ใหสรุปโดยยอเกี่ยวกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ชวงเวลาและลักษณะวิธีการจัด ตามลักษณะความรวมมือกบั สถานประกอบการ รัฐวิสาหกจิ หรือหนวยงานของรัฐ38 แนวปฏิบัติเก่ยี วกบั หลักสตู ร

๑๙. การประกนั คุณภาพของหลกั สูตร ใหทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรใหชัดเจนใน ๔ประเด็น คอื ๑๙.๑ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพตามสาขาวิชา ๑๙.๒ การบริหารหลักสูตร เปนการบริหารจัดการของสาขาวิชาโดยความเห็นชอบของสํานักวิชาการ ที่มุงพัฒนาและบริหารหลักสูตรใหมีความทันสมัย ยืดหยุนและสอดคลองกับความตองการของผูเรียน ทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูและนําความรูไปพัฒนาตนเองใหประสบความสําเรจ็ ได ๑๙.๓ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน มีอุปกรณการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย มีความพรอมทางดานบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานท่ี หองสมุดและส่ิงอํานวยความสะดวกอื่นๆ ๑๙.๔ ความตองการกําลังคนของตลาดแรงงาน ใหทุกหลักสูตรระบุผลสาํ รวจความตองการกาํ ลังคนของตลาดแรงงาน๒๐. การพฒั นาหลักสูตร ใหทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย แสดงการปรับปรุงดัชนีดานมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาเปนระยะๆ อยางนอยทุกๆ ๕ ป และมีการประเมินเพ่ือพฒั นาหลักสตู รอยางตอ เนือ่ งทุก ๕ ป๒๑. ภาคผนวก ใหป ระกอบดว ยเอกสารดงั น้ี - คาํ สง่ั แตงตง้ั คณะกรรมการพฒั นาหรอื ปรบั ปรุงหลักสตู ร - ขอตกลง/โครงการความรวมมือระหวางสถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษากับสถานประกอบการ รัฐวสิ าหกิจหรอื หนวยงานของรัฐที่จัดการศกึ ษารวมกัน - อนื่ ๆ ทเี่ กีย่ วขอ งแนวปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั หลกั สูตร 39

แบบรายงานขอ มลู เพอื่ การพจิ ารณาอนุมัติหลักสูตร ระดบั .คอศ. ๓ สาขาวิชา .๑. ช่สื ถาบนั . คณะวชิ า ภาควิชา๒. ชอ่ื หลักสูตร . (ภาษาไทย) . (ภาษาองั กฤษ .๓. ชือ่ ปริญญา . ชื่อเต็ม . (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ . อกั ษรยอ (ภาษาไทย) . . (ภาษาองั กฤษ .เปน ไปตามพระราชกฤษฎกี า ชอื่ พ.ศ. .เปนไปตามขอกาํ หนดของสภาสถาบัน เรื่อง พ.ศ.อนื่ ๆ (ระบุ)๔. รปู แบบของหลักสตู ร ๔.๑ รูปแบบ หลกั สตู รปริญญาตรี (ตอ เนื่อง) อน่ื ๆ (ระบ)ุ40 แนวปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั หลกั สตู ร

๔.๒ ภาษาที่ใชหลกั สูตร หลกั สูตรจัดการศึกษาเปน ภาษาไทย หลกั สตู รจัดการศึกษาเปนภาษาตางประเทศ (ระบุภาษา) . หลกั สตู รจดั การศกึ ษาเปน ภาษาไทยและภาษาตางประเทศ (ระบภุ าษา) .๔.๓ การรับเขา ศึกษา รบั เฉพาะผูเขา ศึกษาไทย รับเฉพาะผูเขาศึกษาตางชาติ รับท้งั ผเู ขา ศกึ ษาไทยและตางชาติ๔.๔ ความรว มมือกบั สถาบนั อน่ื เปนหลกั สูตรของสถาบนั โดยเฉพาะ เปน หลกั สตู รทไี่ ดรบั ความรวมมือสนับสนนุ กบั สถาบนั อ่ืน ช่อื สถาบัน . รปู แบบของความรว มมอื .๔.๕ ความรวมมอื กบั สถานประกอบการ รัฐวสิ าหกจิ หรอื หนว ยงานของรฐั ชือ่ หนวยงาน . รูปแบบของความรวมมือ .๔.๖ การใหปรญิ ญา . ใหปริญญาเพียงสาขาเดียว อ่นื ๆ (ระบ)ุ๕. สถานภาพของหลกั สตู ร พ.ศ. . หลกั สูตรใหม กําหนดเปดสอน เดือน พ.ศ. . หลกั สตู รปรับปรงุ กาํ หนดเปด สอน เดอื น . ปรบั ปรุงจากหลกั สตู ร ชือ่ . เรมิ่ ใชมาต้งั แตปการศกึ ษา . ปรบั ปรุงครั้งสดุ ทา ยเมอ่ื ปก ารศึกษาแนวปฏิบัตเิ กีย่ วกบั หลกั สตู ร 41

๖. การพจิ ารณาเหน็ ชอบหลักสตู ร ไดพ ิจารณากลน่ั กรองโดยคณะกรรมการ . . เมอ่ื วันท่ี เดือน พ.ศ. . . ไดรับเหน็ ชอบหลกั สตู รจากสภาสถาบันฯ ในการประชุมคร้งั ท่ี เมอ่ื วันที่ เดอื น พ.ศ.๗. ปรชั ญาและวัตถปุ ระสงคข องหลกั สูตร สมั พนั ธส อดคลอ งกับแผนการศึกษาแหง ชาติ สอดคลองกบั ปรชั ญาการอาชีวศกึ ษา สอดคลอ งกับมาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานสมรรถนะ เนน การผลิตผสู าํ เรจ็ การศึกษาท่มี คี ุณลักษณะ (ระบ)ุ อ่ืนๆ (ระบุ)๘. ระบบการจดั การศึกษา ๘.๑ ระบบ ระบบทวภิ าคภาคการศึกษาละ สปั ดาห ระบบอน่ื ๆ (ระบุรายละเอียด) . ๘.๒ การเทียบเคยี งหนว ยกติ ในระบบทวิภาค (ระบุรายละเอยี ดกรณีทไี่ มใ ชร ะบบทวภิ าค) . ๘.๓ การจดั การศึกษาภาคฤดูรอน มีภาคฤดรู อน จาํ นวน ภาค ภาคละ สปั ดาห ไมม ภี าคฤดูรอ น๙. การดาํ เนนิ การหลักสูตร . ๙.๑ วัน – เวลาดําเนินการ วัน – เวลาราชการปกติ. นอกวัน – เวลาราชการ (ระบุ)42 แนวปฏิบัติเก่ียวกบั หลกั สูตร