หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Book) กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม สาระที่ 1 สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เลม่ น้ีเป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชาวิชาชีพครู 3 0560403 โดยมีจุดประสงค์เพ่ือรวบรวมบทความวิจัยการสอนในวิชาพระพุทธศาสนาโรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ศึกษาปัญหาในกระบวนการจัดการเรียนการสอนใน สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรมของนักเรียนระดับชั้นต่าง ๆ และนานวัตกรรมการสอน สื่อการ สอน เทคนิคและรูปแบบการสอนต่าง ๆ มาปรับใช้ในการพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้น การใช้รปู แบบกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning เพ่ือพัฒนาผเู้ รียนให้มเี กิดประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลในการเรยี นท่ดี ยี ิ่งขึน้ ผ้จู ดั ทาขอขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สนิ ธะวา คามดิษฐ์ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาที่ให้ ความอนุเคราะห์ ชี้แนะแนวทางกระบวนการดาเนินการท่ีได้มาซึ่งแบบแผนการจัดการเรียนรู้ บันทึกผลการจัด เทคนิคการกิจกรรมการเรียนรู้และแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงงานวิจัยให้มี ความสมบูรณ์ในสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม เลม่ น้ีน้ีให้สาเร็จลุลว่ งไปด้วยดี ผู้จัดทาหวังอย่าง ยิ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Book) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม สาระท่ี 1 สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ ต้องการศึกษาทุกท่าน ในด้านการนาไปศึกษา แก้ปัญหา และปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอน และงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพยงิ่ ขึน้ ไป คณะผจู้ ดั ทา
การพฒั นาผลสัม ทธทิ างการเรยี น ความสามาร การคดิ แก้ไขปัญหา และคุณลักษณะความ 1 มุง่ ม่ันในการทางาน ด้วยการจดั การเรยี นรู้แบบสมองเปน็ ฐานร่วมกับมัลติมีเดยี เรือ่ ง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ามัธยม)........................................................................................... การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรแู้ บบโยนโิ สมนสกิ ารรว่ มกบั มลั ตมิ เี ดีย สาหรบั พัฒนา 20 ผลสมั ทธทิ างการเรียน ความสามาร ในการคิดวิเคราะห์ และมงุ่ มัน่ ในการทางาน เร่ือง หน้าที่ ชาวพทุ ธและมารยาทชาวพทุ ธ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม)................................................................................................................................... การพัฒนากจิ กรรมการเรียนรู้ตามแนวคดิ ของกานเยร่วมกับมลั ตมิ ีเดยี วิชาพระพทุ ธศาสนา 38 เร่อื งการบริหารจติ และการเจริญปญั ญา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (ฝา่ ยมัธยม)………………………………………………………………………………………………… การพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรูต้ ามแนวคิดของกานเยร่วมกบั มัลติมีเดีย เร่อื ง วิ ศี าสนากับ 53 การอยรู่ ่วมกันอยา่ งสันติ ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม (ฝ่าย มธั ยม)…………………………………………………………………………………………………………………………… การพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรยี นร้แู บบโยนิโสมนสิการร่วมกบั มัลติมเี ดยี สาหรับพฒั นา 69 ผลสัม ทธทิ างการเรียน ความสามาร ในการคดิ วเิ คราะห์ และใฝเ่ รียนรู้ เรือ่ ง การป ิบตั ิตน ตามหลักศาสนาและวันสาคญั ทางศาสนา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 5 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม)………………………………………………………………………………………………… การพัฒนาผลสัม ทธิทางการเรียน ความคิดสรา้ งสรรค์ และคณุ ลกั ษณะดา้ นใฝเรยี นรู้ ด้วยการ 87 จัดการเรียนรู้แบบเปดรว่ มกบั สื่ออินโ กรา ก เร่อื ง พระพทุ ธศาสนากบั การแกป้ ัญหาและการ พฒั นา ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5 โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม)…………………. ผ้วู จิ ยั ............................................................................................................................................ 106
การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา และคณุ ลกั ษณะ ความม่งุ ม่ันในการทางาน ดว้ ยการจดั การเรยี นรูแ้ บบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมเี ดีย เรอ่ื ง พระพุทธศาสนากบั การแก้ปญั หาและการพฒั นา ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม) (กิตติวรา ศรหี าญ)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา และคุณลักษณะความ มุ่งมั่นในการทำงาน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) The development of academic achievement, problem solving ability and attributes of commitment to work by Brain-based Learning: BBL with multimedia on Buddhism with problem solving and development in Social Studies of Secondary 5, Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) กิตติวรา ศรีหาญ1 สาคร อฒั จกั ร2 เดชา จันทคัต2 Kittiwara Srihan1 Sakorn Atthachakara2 Dacha Jantakat2 บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายการวิจัย ดังนี้ (1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ มัลตมิ ีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากบั การแกป้ ัญหาและการพัฒนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ให้มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน ร่วมกับมัลติมเี ดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพฒั นา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (3) เพื่อพัฒนาความสามารถ การคิดแก้ไขปัญหา ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและ การพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ (4) เพื่อศึกษาคุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมอง เป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 ในหลักสูตรพิเศษของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย มัธยม) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ เครื่องมือที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ และเครื่องมื อที่ใช้ในการเก็บรวบรวม 1 นิสติ สาขาสงั คมศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม Student in Social Studies, Faculty of Education, Mahasarakham University. 2 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลกั สูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University. 2|Page
ข้อมูล โดยเครื่องมือที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น ฐานร่วมกับมัลติมีเดีย จำนวน 2 แผน และสื่อมัลติมีเดียจำนวน 2 เรื่อง ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบความสามารถการคิดแก้ไขปัญหาและแบบประเมิน คุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สถิติตรวจสอบคุณภาพของ เครื่องมือ และสถติ เิ พือ่ ทดสอบสมมตุ ิฐาน ผลการวจิ ัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 84.67/82.13 ซึ่งเป็นตามเกณฑ์ที่ กำหนด 80/80 2. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .05 3. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา เฉลี่ย เทา่ กบั 15.2 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 1.16 รอ้ ยละ 76 และแปรผลอยรู่ ะดับดีมาก 4. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนคุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานเฉลี่ย เทา่ กบั 25.60 คะแนน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.78 รอ้ ยละ 85.30 ซง่ึ แปรผลอยใู่ นระดบั ดี คำสำคัญ : การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน, สื่อมลั ติมเี ดีย ABSTRACT This study aimed to (1) develop organization of brain-based Learning: BBL with multimedia on Buddhism with problem solving and development in Social Studies of Secondary 5, which a required efficiency of 80/80, (2) compare the student's academic achievement before and after doing brain-based Learning: BBL with multimedia, (3) develop problem-solving abilities after doing brain-based Learning: BBL with multimedia (4) study the characteristics of commitment to working after doing brain-based Learning: BBL with multimedia. The samples is Secondary 5 students at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) comprising 30 persons. The samples were selected through simple random sampling. The instruments used for the study consisted of (1) learning manage tools which included 2 lesson plans using brain-based Learning: BBL with multimedia and multimedia 2 items, (2) data collection tools which included learning achievement test, problem Solving Ability test and work commitment 3|Page
characteristics assessment form. Statistics used for analyzing the collected data is basic, tool quality examining statistics and hypothesis testing statistics. The results of the study is as follows: 1. The efficiencies of using brain-based Learning: BBL with multimedia lesson plans for Buddhism with problem solving and development in Social Studies of Secondary 5 is 84.67/82.13, which is according to the specified criteria 80/80. 2. The students who do brain-based Learning: BBL with multimedia activities get higher achievement than doing the activities at the statistically significant level of 0.5. 3. The students who do brain-based Learning: BBL with multimedia activities get problem solving ability points that a mean score is 15.2 points, the standard deviation is 1.16, 76 percent, and the results were a very good level. 4. The students who do brain-based Learning: BBL with multimedia activities get a mean score of work commitment attributes of 25.60 points, standard deviation of 0.78, 85.30 percent, and the results is a very good level. Keyword: Brain-based Learning: BBL, Multimedia บทนำ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของพลเมืองหลาย ในปัจจุบันท่ามกลางกระแสของโลกโลกา นโยบาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาบุคคลให้มี ความรู้ความสามารถและทักษะทจ่ี ำเป็นในศตวรรษที่ ภิวัตน์มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอทั้งทางด้าน 21 ซึ่งเป็นบาทสำคัญของการศึกษา ปัจจุบัน เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง และบรรทดั ฐานทางสงั คม การศกึ ษาไดใ้ หค้ วามสำคญั กบั ผ้เู รยี นเป็นหลกั นน้ั คือ ที่เป็นไปอย่างรวดเร็วโดยมีตัวแปรสำคัญคือความ การพัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามสามารถซึง่ จำตอ้ งมีทกั ษะ เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนโลกให้สามารถ การเรียนรู้ประกอบด้วย ทักษะด้านการเรียนรู้และ ติดต่อสื่อการกันและกันได้ง่ายโดยไร้พรมแดนหรือ นวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี ทักษะ ระยะทางมาขว้างกั้นทำให้เกิดพัฒนาการก้าว ชีวิตและการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนา กระโดด และองค์ความรู้ต่าง ๆ ได้รับการพัฒนาข้ึน ทักษะการคิด เช่น การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการติดต่อสื่อสารและสาน คิดวิเคราะห์ หรือการคิดแก้ไขปัญหา เป็นต้นเพื่อให้ สัมพันธ์ระหว่างประเทศเป็นไปอย่างง่ายได้ทำให้เกิด สามารถเรียนรู้และดำเนินชีวิตท่ามกลางการ การร่วมมือกันทางเศรษฐกิจมากมายก่อให้เกิดความ เปลี่ยนแปลงจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกฝ่ายปรับตัวให้ได้ มั่งคัง่ และความเป็นอยู่ของพลเมอื งในหลายประเทศ อย่างเหมาะสมเป็นการเพิ่มขีดจำกัดในการแข่งขันใน ดีขึ้นจนกลายมาเป็นเป้าหมายหลักในการพัฒนา ประเทศ ทำให้รัฐบาลนานาประเทศได้ออกนโยบาย 4|Page
ระดับสากล เหงียน ถิทูฮ่า และสิรินาถ จงกลกลาง โลกศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นพื้นฐานในการขับเคลื่อน (2561) ได้กล่าวถึงการศึกษาทักษะการเรียนรู้ใน สังคมและพัฒนาประเทศการเรียนการสอนของกลมุ่ ศตวรรษท่ี 21 ไว้ว่า เป็นแนวคิดของเครอื ข่ายองค์กร สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ความร่วมมือเพื่อทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 นั้นถือได้ว่ามีเนื้อหาที่ครอบคลุมในหลายๆด้านท้ัง เป็นแนวคิดที่ครอบคลุมสิ่งที่จำเป็นในการเรียนรูแ้ ละ การเมืองการปกครอง ประวัติความเป็นมา หน้าท่ี มีระบบสนับสนุนในการจัดการศึกษาอย่างชัดเจนที่ พลเมือง ภมู ิศาสตร์ กฎหมาย เศรษฐกิจ กิจกรรมตา่ ง สะท้อนให้เห็นความเป็นไปได้ในการพัฒนาในการ ๆ ทางสังคม ศาสนาค่านิยมความชื่อ และมากมาย จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และมีหลายประเทศ ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับชีวิตประจำวัน ชี้ให้เห็นว่าวิชา ได้ศึกษาตามแนวคิดนี้เพื่อพัฒนาการศึกษาของ สังคมศึกษาฯ เป็นวิชาที่ส่งเสริมให้เป็นมีความ ตนเอง และเป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน รับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่ รวมถงึ ประเททศไทย เหมาะสม สามารถพัฒนาพลเมืองให้มีความสามารถ การอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน การพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศ และให้มนุษย์เข้าใจในความแตกต่างกันอย่าง ไทยนน้ั ไดอ้ อกแบบและวางหลกั สตู รการศึกษาท่เี นน้ หลากหลาย ช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท การพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ นั้นคือ หลักสูตร สภาพสังคมและแวดล้อมในโลกปัจจุบันได้โดยได้ แกนกลางปีการศึกษา 2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2553 กำหนดสาระสำคัญไว้ 5 สาระ ประกอบด้วย 1) (กระทรวงศึกษาธิการ, 2561)ที่เป็นตัวกำหนด ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 2) หน้าที่พลเมือง ทิศทางการศึกษาของประเทศ หลักสูตรแกนกลาง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม 3) การศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนซึ่งเป็นกำลัง เศรษฐศาสตร์ 4) ประวัติศาสตร์ และ 5) ภูมิศาสตร์ ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาระการเรียนรู้ศาสนา ความรู้คุณธรรมมีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย ศีลธรรมและจริยธรรมเป็นสาระที่เน้นการทำความ และพลเมืองโลกยึดมั่นในการปกครองระบบ เข้าใจประวัติ ความสำคัญ (กระทรวงศึกษาธิการ, ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมี 2561) ดังนั้นผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมี ความรู้ และทักษะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จำเป็นตอ่ ส่วนร่วมและสามารถเชื่อมโยงความรู้นำไปใช้ปฏิบัติ การศึกษา ต่อการประกอบอาชีพ และการศึกษา ในชีวิตจริงหรือการแก้ไขปัญหาทางสังคมได้ หากแต่ ตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพื้นฐาน ในการจัดการเรียนการสอนนั้นเต็มไปด้วยข้อจำกัด ความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง บางอย่างที่ไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มศักยภาพ ได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนขอผู้เรียนต่ำ ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การพัฒนาระบบ การศึกษาไทยสามารถท้าทายความเป็นพลวัตของ 5|Page
ปัญหาของการศึกษาไทยมีผลสัมฤทธ์ิ ว่าการบรรยายแบบปกติความสนใจของผู้เรียนจะ ทางการเรยี นทตี่ ่ำสะท้อนใหถ้ ึงปญั หาในกระบวนการ ลดลงเรื่อย ๆ ขณะฟังคำบรรยายทำให้การเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ของผู้สอน และสถานศึกษา รวมไปถึง ของผู้เรียนระดับต่ำ อีกทั้งทั้งยังทำให้เกิดปัญหาการ ในภาพรวมของประเทศจากผลการรายงานผลการ เรียนรู้ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหาในผู้เรียนท่ี ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน เป็นกระบวนการทางความคิดในการแก้ปัญหาที่มี (Ordinary National Educational Test : O-NET) ความซับซ้อน (พรสวรรค์ วงค์ตาธรรม, 2558)ซึ่งจะ ของสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ พบว่า ผล เห็นได้ว่าในหลายโรงเรียนยังไม่สามารถสร้างและ คะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน ส่งเสริมความสามารถการคิดแก้ไขปัญหาให้เกิดข้ึน พื้นฐาน (O-NET) ของระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปี ในตัวนักเรียนได้เท่าที่ควร ส่งผลต่อการขาด การศึกษา 2563 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ ค ุ ณ ล ั ก ษ ณ ะ ค ว า ม ม ุ ่ ง ม ั ่ น ใ น ก า ร ท ำ ง า น ท ี ่ มี วัฒนธรรม ซึ่งมีจำนวนผู้เข้าสอบ 387,137 คน มี ความสัมพันธ์กับการขาดความสามารถการคิดแก้ไข คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ 35.93 ปรากฏว่า พบว่า ปัญหา เนื่องจากคุณลักษณะความมุ่งมั่นในการ ปีการศึกษา 2563 มีคะแนนเฉลี่ย 5 กลุ่มสาระการ ทำงานจะส่งผลต่อการประสบความสำเร็จในการ เรียนรู้เพิ่มขึ้น (+1.38) และทั้ง 5 กลุ่มสาระการ ทำงานทั้งในห้องเรียน และส่งผลต่อพฤติกรรมที่ติด เรียนรู้มีคะแนนที่เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2562 ไปในการทำงานในอนาคต สอดคล้องกับนที ศิริ (สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จรรยาพงษ์ (2560)ได้กล่าวไว้ว่า คุณลักษณะความ นครสวรรค์, 2564)โดยคะแนนสอบในกลุ่มสาระการ มุ่งมั่นในการทำงานเป็นพื้นฐานการกระทำที่ผู้เรียน เรียนรู้สังคมศึกษาเพิ่มขึ้นน้อยที่สุดในทุกกลุ่มสาระ แสดงออกถึงความตั้งใจและความรับผิดชอบในการ ซึ่งผลคะแนนเฉลี่ยทั้งประเทศได้ไม่ถึงครึ่งหนึ่งของ ทำหน้าที่เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ซึ่งหาก คะแนน เช่นเดียวกับการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ผู้เรียนขาดคุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานจะ สาระการเรียนรู้ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม ชั้น ส่งผลต่อคุณภาพงานที่ต่ำ และขาดความรับชอบใน มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย การทำงานที่ได้รับผิดชอบอีกด้วย รวมไปถึงส่งผลต่อ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต่ำเช่นกัน ดังนั้นผู้สอน มหาสารคาม ชั้นเรียนออนไลน์ พบว่ามีปัญหาผูเ้ รียน จำเป็นต้องออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ี ขาดความสนใจและแรงจูงใจในการเรียนรู้เนื่องจาก เหมาะสมทผ่ี ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ ผู้สอนเน้นการจัดการเรียนรู้แบบบรรยายเป็นสำคัญ ส่งผลให้เกิดการลดประสิทธิภาพการเรียนรู้ของ จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นผู้สอนจำเป็นที่ ผเู้ รียน สอดคลอ้ งกับหรรษา นิลวเิ ชียร (2551 อา้ งองิ จะต้องแสวงหารูปแบบและออกแบบกระบวนการ จาก จอห์นสันและคณะ, 2535) กล่าวถึงการวิจัยไว้ จัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ทักษะ และแสดงคุณลักษณะเหล่านั้นออกมา โดยเฉพาะ 6|Page
อยา่ งยงิ่ ในการจดั การเรยี นรสู้ าระศาสนาฯ ทมี่ เี น้อื หา ให้เหมาะสมกับวัยและเพิ่มความสามารถของผู้เรียน จำนวนมาก มีการจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย และ ในการจดจำและมีความสนุกกับการเรียน มีการ การเน้นการท่องจำเป็นซึ่งปัญหาที่เกิดจากการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาและการโต้ตอบ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ดังนั้นแล้วผู้สอน ซึ่งกล่าวได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน จำเป็นต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เพิ่ม รว่ มกับมลั ตมิ ีเดียของครผู ู้สอนจะสามารถดงึ ดูดความ ประสิทธิภาพการเรียนของผู้เรียน โดยมีการนำ สนใจในการเรียนและทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมี จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานมาจัดกระบวนการ ประสิทธิภาพ เรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีการพัฒนาความรู้ กระบวนการ คิดแก้ไขปัญหาในการตัดสินใจและวางแผนเพื่อที่จะ จากความสำคัญดังกล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัย นำไปสู่การลงมือปฏิบัติจริงด้วยหลักการของสมอง จึงมีความสนใจที่จะนำการจัดการเรียนรู้แบบสมอง กับการเรยี นรู้ซึ่งได้รบั การกระตุ้นให้มีการทำงานและ เป็นฐาน ร่วมกับมัลติมีเดีย มาใช้ในการสอนรายวิชา เกิดการเก็บความรไู้ ว้ในความจำระยะ (ศศธิ ร เวยี งระ ศาสนา เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและ ลัย, 2556) ซึ่งผู้สอนจำต้องสร้างบรรยากาศในการ การพัฒนา โดยจะศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ เรียนรู้ส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถคิด ทางการเรียน เพราะเป็นเนื้อหามีจำนวนมาก และมี แก้ไขปัญหาตามหลักธรรมในพุทธศาสนาอัน หลักธรรมที่สามารถนำมาเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน สอดคล้องกับชีวิตปัจจุบันหรือสามารถเชื่อมโยงกับ ที่สามารถพัฒนาความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา สถานการณ์ปัจจุบัน และส่งเสริมคุณลักษณะความ และคุณลักษณะความมุ่งมุ่นในการทำงาน สำหรับ มุ่งมั่นในการทำงานอีกประการ โดยมีการการ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิต ประยุกต์สื่อมัลติมีเดียเข้ามาช่วยเป็นสื่อการเรียนรู้ท่ี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม) มีทั้งอินโฟกราฟิก ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อไหวให้การ เรียนการสอนในชั้นเรียนให้น่าสนใจ และเรียบเรียง ความมุ่งหมายของการวิจยั ให้เข้าใจบนเรียนอย่างง่าย สอดคล้องกับผลวิจัยของ 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ สิริพล แสนบุญส่ง(2561 : 12) โดยผลวิจัยออกมาว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยสื่อ สมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง มัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นหลังเรียนสูงกว่า พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้น ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อีก มัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ทั้งอนิรุทธ์ สติมั่น และคณะ(2556)กล่าวไว้ว่า การ 80/80 พัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้โดยผ่านขั้นตอน การออกแบบอย่างเป็นระบบมีแบบแผน พัฒนาส่ือ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการ จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย 7|Page
เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ เป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย จำนวน 2 แผน แผนละ 2 พัฒนา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ชัว่ โมง รวม เวลา 4 ชั่วโมง 3. เพื่อพัฒนาความสามารถการคิดแก้ไข 2. สื่อมัลติมเี ดยี จำนวน 2 เรื่อง ไดแ้ ก่ การ ปัญหา ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน แก้ปัญหาทางสังคมตามนัยพุทธรรม และแนวทาง ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ การพัฒนาสังคมตามนัยพทุ ธรรม แก้ปัญหาและการพัฒนา ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะความมุ่งมั่นใน 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ การทำงานด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน เรียนวิชาศาสนาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง พุทธศาสนากับการ แกป้ ญั หาและการพฒั นา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 แก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดย ใช้การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งในการวจิ ยั มัลติมีเดีย ซึ่งแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตาม ประชากรท่ีใช้ในการวิจัย จุดประสงคแ์ ละเนอ้ื หาวิชาศาสนาฯ เป็นแบบทดสอบ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน ปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ ใช้ เป็นแบบทดสอบกอ่ นและหลังการจดั การเรยี นรู้ 30 คน และ 5/3 จำนวน 30 คน ซึ่งเปน็ ห้องโครงการ 2. แบบทดสอบความสามารถการคิด พิเศษวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โรงเรียนสาธิต แก้ไขปัญหา เรื่อง พุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ภาคเรยี นท่ี 2 การพฒั นา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ท่ีเรียนด้วยแผนการ ปีการศึกษา 2564 รวมเปน็ จำนวน 60 คน จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดียฯ เปน็ แบบทดสอบอัตนัย จำนวน 2 ขอ้ ซง่ึ ทดสอบหลงั กลมุ่ ตัวอย่างท่ใี ช้ในการวิจัย การจดั การเรยี นรู้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 3. แบบประเมินคุณลักษณะความมุ่งมั่น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ในการทำงาน ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน แผนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ ได้มาโดยการสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple Random มัลติมีเดีย เรื่อง พุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและ Sampling) การพัฒนา เป็นแบบสังเกตคุณลักษณะความมุ่งม่ัน ในการทำงาน จำนวน 6 ข้อ โดยทำการประเมิน เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจยั หลกั การจดั การเรียนรู้ เครอื่ งมอื ท่ใี ชส้ ำหรับการจดั การเรียนรู้ 1. แผนการจดั การเรียนรู้วิชาศาสนาฯ เรื่อง 8|Page พุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบสมอง
ข้ันตอนในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.3 สังเกตพฤติกรรมการทำงานของ 1. ขอใบอนุญาตลงสังเกตการการณ์สอน นักเรียนโดยใช้แบบประเมินคุณลักษณะความมุ่งม่ัน ในการทำงานในแผนการจดั การเรียนรู้ จากภาควิชาหลักสูตรและการสอนในการติดต่อ ประสานงานกับทางโรงเรียนสาธิตมาหวิทยาลัย 3.4 ผู้วิจัยนำข้อมูลที่ได้จากการ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) เพื่อทำการเก็บรวบรวม ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน วิชา ข้อมูลการทำวิจัยในชั้นเรียนของนักเรียนชั้น ศาสนาฯ เรื่อง เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ มธั ยมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 30 คน แก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่าย 2. ลงพื้นที่เก็บรวมรวมข้อมูลที่ตอ้ งการใน มัธยม) มาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 และ 10 กุมภาพันธ์ 2565 ในคาบเรยี นท่ี 7 ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู โรงเรยี นสาธติ มาหวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพ 3. ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แผนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ ขั้นตอนในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นจน มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา ครบทั้ง 2 แผน จำนวน 2 ชั่วโมง รายละเอียดดัง และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มี ตารางดังนี้ ตาราง วนั เวลา และจำนวนชั่วโมงในการ ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ดำเนนิ การทดลอง ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ 3.1 ดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผน เรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการ จัดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย ฐาน ร่วมกับมัลติมีเดีย โดยมี 5 ขั้นตอนดังน้ี ข้ัน เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ เตรียมความรู้ ขั้นปรับความรู้ ขั้นปฏิบัติ ขั้นอธิปราย พัฒนา ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ขน้ั นำความร้ไู ปใช้ ตอนที่ 3 วิเคราะห์ความสามารถการคิด 3.2 เมื่อดำเนินการจัดการเรียนการ แก้ไขปัญหา ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น สอนเรียบร้อยผู้วิจัยได้ให้นักเรียนทำแบบทดสอบ ฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ หลังเรียน เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา แกป้ ัญหาและการพัฒนา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วย แบบทดสอบปรนยั 25 ขอ้ จำนวน 4 ตัวเลือก ใชเ้ วลา ตอนที่ 4 วิเคราะห์คุณลักษณะความ 30 นาที มุ่งมั่นในการทำงานด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมอง เป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับ การแก้ปัญหาและการพัฒนา ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 9|Page
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพ และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มี ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 ดังตาราง 1 แผนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ ตาราง 1 ประสทิ ธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้แบบสมองเปน็ ฐานรว่ มกบั มัลติมเี ดีย เร่อื ง พระพทุ ธศาสนากบั การ แกป้ ญั หาและการพฒั นา ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 คะแนน คะแนนเตม็ ���̅��� S.D. % ของคะแนนเฉลี่ย E1 84.67 E2 140 118.54 84.67 82.13 25 20.53 2.3 ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ E1/E2 = 84.67/82.13 จากตาราง 1 พบว่า ประสิทธิภาพของ และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธภิ าพ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ (E1/E2) เท่ากับ 84.67/82.13 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ี มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา กำหนดไว้คอื 80/80 และการพัฒนา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 มีประสิทธิภาพ ของกระบวนการ (E1) เท่ากับ 84.67 และ ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 82.13 ดังน้ัน เรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ พฒั นา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ดังตาราง 2 ตาราง 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพทุ ธศาสนากบั การแกป้ ญั หาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ก่อนและหลังเรียน แบบทดสอบ N ���̅��� S.D. t Sig. กอ่ นเรยี น 30 13.80 3.58 7.86* 0.00 หลังเรยี น 30 20.53 2.30 จากตาราง 2 ผลการเปรียบเทียบ เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยการ พัฒนา ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลยี่ ของก่อนเรียน จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย และหลังเรียนเท่ากับ 13.80 และ 20.53 ตามลำดับ 10 | P a g e
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของก่อนเรียนและ ตอนที่ 3 วิเคราะห์ความสามารถการคิด หลังเรียนเท่ากับ 3.58 และ 2.30 ตามลำดับ เมื่อ แก้ไขปัญหา ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น เปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ พบว่า มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรียนสูงกวา่ กอ่ น แก้ปญั หาและการพัฒนา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เรียนอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 ดงั ตาราง 3 ตาราง 3 วิเคราะห์ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรือ่ ง พระพุทธศาสนากับการแกป้ ัญหาและการพฒั นา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 รายการท่วี ัด N ���̅���(20) S.D. % การแปรผล ความสามารถการคดิ แกไ้ ขปญั หา 30 15.2 1.16 76 ดี จ า ก ต า ร า ง 3 พ บ ว ่ า น ั ก เ ร ี ย น ช้ั น เบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 1.16 ร้อยละ 76 และแปร มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ ผลอย่รู ะดบั ดมี าก สมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้น ตอนที่ 4 วิเคราะห์คุณลักษณะความ มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนความสามารถการคิด มุ่งมั่นในการทำงานด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมอง แก้ไขปัญหา เฉลี่ยเท่ากับ 15.2 คะแนน ส่วน เป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับ การแกป้ ัญหาและการพฒั นา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ดังตาราง 4 ตาราง 4 วิเคราะห์คุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดยี เรื่อง พระพุทธศาสนากบั การแก้ปญั หาและการพฒั นา ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 รายการทว่ี ัด N ���̅���(30) S.D. % การแปรผล คุณลกั ษณะความมุง่ มั่นในการ 30 25.60 0.78 85.30 ดี ทำงาน จ า ก ต า ร า ง 4 พ บ ว ่ า น ั ก เ ร ี ย น ช้ั น สมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้น 11 | P a g e
มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนคุณลักษณะความมุ่งมั่น ฐานร่วมกับมัลติมีเดียอย่างละเอียดทำให้สามารถ ในการทำงานเฉลี่ยเท่ากับ 25.60 คะแนน ส่วน ออกแบบขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.78 ร้อยละ 85.30 ซ่ึง เนื้อหาบทเรียน รวมไปถึงนำคำแนะนำจาก แปรผลอยูใ่ นระดบั ดี ผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัย อภปิ รายผล ของ ธีรารัตน์ ไกรสีขาว (2563 : 54-56) ได้วิจัยการ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการ พัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้ภาษาถิ่นในชีวิตประจำวัน เรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง ด้วยการจัดการเรียนรู้โยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับ พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ช้ัน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการวิจัยพบว่า มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ แผนการจัดกิจกรรมกรเรียนรู้ทักษะการเขียนสะกด 84.67/82.13 ซงึ่ เป็นตามเกณฑ์ท่กี ำหนด 80/80 คำสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ใช้ภาษา ถิ่นในชีวิตประจำวัน ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ การที่แผนการจัดการเรียนรู้แบบการ สมองเป็นฐานร่วมกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย มปี ระสทิ ธิภาพเทา่ กับ 86.83/93.15 ซงึ่ สูงกว่าเกณฑ์ เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการ 80/80 เนื่องจากในขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบ พัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพ สมองเป็นฐานออกแบบให้ผู้เรียนสามารถทบทวน (E1/E2) เท่ากับ 84.67/82.13 ซึ่งเป็นตามเกณฑ์ท่ี ความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ กำหนด 80/80 จึงสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบ ช่วยสอนได้ตลอดเวลา อีกทั้งในการสอนั้นมีการวาง สมองเปน็ ฐานรว่ มกบั มลั ติมีเดียทำให้ผ้เู รียนได้พัฒนา บทเรียนและแบบฝึกหักพื้นฐานง่ายไปยาก มี ความรู้ ทักษะกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะที่ จุดมุ่งหมายในการฝกึ ทักษะการเขียนที่คำนึงถงึ ความ กำหนดผ่านขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ในแผนการ แตกต่างของผู้เรียนและมีการยกตัวอย่างคำท่ี จัดการเรียนรู้ เนื่องจากได้มีส่วนร่วมในแลกเปลี่ยน นักเรียนคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน ซึ่งสอดคล้องกับ ความคิดเห็น และมีความเข้าใจในบทเรียนผ่านการ งานวิจัยของมาลินี สร้อยดอกไม้ (2560, : 75) ได้ ยกตัวอย่างและสถานการณ์ที่หลากหลาย รวมไปถึง ศึกษาเรื่องผลการใช้กระบวนการเรียนรู้ตามแนวคิด มัลติมีเดียที่ช่วยส่งเสริมประสิทธิของการเรียนที่มีสื่อ สมอเป็นฐาน( BBL) ประกอบชดุ ฝึกเขยี นเรียงความที่ ทั้งรูปภาพ กราฟิก เสียง และวิดีโอที่ค่อยกระตุ้นให้ มีต่อผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนเรียงความของนักเรียน ผู้เรียนมีความสนใจในบทเรียนมีจึงทำให้มีคะแนน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดนาห้วย(แสงกล้า ด้านกระบวนการและคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์สูงกว่า ป ร ะ ช า ส ร ร ค ์ ) อ ำ เ ภ อ ป ร า ณ บ ุ ร ี จ ั ง ห วั ด เกณฑ์ 12 | P a g e การที่ผลวิจัยปรากฏเช่นนี้ เนื่องจากมี การศึกษาขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น
ประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้น ประสิทธิภาพในการเป็นสื่อท่ีมีทั้งภาพ เสียง และอิน ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดนาห้วยที่เรียน วิชา โทรกราฟิกที่น่าสนใจ รวมถึงสามารถแลกเปลี่ยน ภาษาไทย ปีการศึกษา 2560 จำนวน 15 คน ซ่ึง เรียนรู้อย่างไร้พรมแดนที่สามารถพูดคุยแลกเปลี่ยน ได้มาโดยเลือกสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ผลปรากฏว่า ความรู้กันได้ตลอดเวลา ส่งผลให้การจัดการเรียนรู้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ เท่ากับ81.67/85.67 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกำหนด มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา 80/80 และสอดคล้องกับนิพล สังสุทธ (2559)ได้ และการพัฒนา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธ์ิ ศึกษาค้นคว้าเรื่องการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็น ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี ฐานร่วมกับบทเรียนแท็บเล็ต เรื่อง ข้อมูลและ นัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 คอมพิวเตอร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง เงินตาม การที่ผลวิจัยปรากฏเช่นนี้ เนื่องจากการ แ น ว ค ิ ด ก า ร จ ั ด ก า ร เ ร ี ย น รู้ โ ด ย ใ ช ้ ส ม อ ง เ ป ็ น ฐ า น จัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่พัฒนาขึ้นมี ฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ ประสิทธิภาพเท่ากับ 96.00/93.75 ซึ่งเป็นไปตาม แก้ปัญหาและการพฒั นา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 นนั้ ได้ เกณฑ์ 80/80 เปิดให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมซึ่งผู้เรียนตั้งใจเรียนและให้ ความร่วมมือในการเรียนการสอนในทุกขั้นตอนการ 2. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ จัดการเรียรู้ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา .05 ซึง่ สอดคล้องกบั รัตนว์ ิสาณ งามสม (2560 : 89- และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธ์ิ 91) ได้ทำการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้โดยใชส้ มอง ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี เ ป ็ น ฐ า น ( BBL) เ พ ื ่ อ พ ั ฒ น า ท ั ก ษ ะ ก า ร พู ด นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าการจัดการ ภาษาองั กฤษสำหรับนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปี เรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน ที่ 3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัด ร่วมกับมัลติมีเดียที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นนั้นช่วยเพ่ิม ราษฎร์บำรุง(ไสวราษฎร์อุปถัมภ)์ อำเภอกระทุ่มแบน ความรเู้ ขา้ ใจในบทเรยี นให้กบั ผู้เรยี น จังหวัดสมุทรสาคร ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลอง โดย ทดสอบทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนก่อน การจัดการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้แบบ และหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน สมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย ช่วยให้ผู้เรียนเป็น (BBL) จำนวน 38 คน พบว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ ส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ในชั้นเรียน ในการเรียนการ ทางการพูดภาษาอังกฤษหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ สอนนั้นมีทั้งข้อมูลประเด็นหลัก และข้อมูลจาก 21.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.03 ซึ่งสูง หลากหลายแหล่ง ร่วมกันมัลติมีเดียซึ่งช่วยเพ่ิม 13 | P a g e
กว่าก่อนเรียนซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.47 ส่วน 3. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.52 อย่างมีนัยส าคัญ การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ ทางสถิติที่ .05 ซึ่งสอดคล้องกับอังสนา ศรีสวนแตง มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา (2555 : 230) ได้ศกึ ษาเร่อื งการพัฒนาผลการเรียนรู้ และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนน เรื่องโจทยป์ ัญหาระคน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา เฉลี่ยเท่ากับ 15.2 ปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) คะแนน ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.16 ร้อยละ ร่วมกับเทคนิคKWDL กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนช้ัน 76 และแปรผลอยูร่ ะดบั ดีมาก ประถมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา จัดการเรียนรู้แบบสมองเปน็ ฐานรว่ มกบั มัลติมเี ดยี ท่ีมี จ านวน 40 คน พบว่า คะแนนหลังเรียนและก่อน การยกประเด็นข่าวที่น่าสนใจในสังคมซึ่งเป็นสิ่งใกล้ เรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ตัวของผู้เรียนมาเป็นโจทย์ปัญหาจะช่วยให้เกิดการ .05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน (X ̅=22.65, พัฒนาความสามารถการคิดแก้ไขปัญหาโดยผู้เรียน S.D.=4.83)สูงกว่าคะแนนเฉล่ียก่อนเรยี น(X =̅ 18.08, เกิดกระบวนการคิดพิจารณา ไตร่ตรองอย่างพินิจ S.D.= 5.31) และสอดคล้องกับเสาวลักษณ์ ย้ิม พิเคราะห์สิ่งต่างๆ ที่ได้มาจากประสบการณ์ในชีวิต ประเสริฐ (2559) ได้ศึกษาค้นคว้าเรื่อง การจัดการ ของตนมาประยุกต์กับเนื้อหาที่ได้เรียนในชั้นเรียนมา เรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับบทเรียนแท็บเล็ต คิดแก้ไขปัญหาที่เป็นระบบและเกิดหนทางที่จะขจัด เรื่อง ข้อมูลและคอมพิวเตอร์ นักเรียนชั้น ปัญหานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงทำให้ผู้เรียนท่ี ประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนประตูชัย ส ม อ ง เ ป็ น ฐ า น ร ่ ว ม ก ั บ ม ั ล ต ิ ม ี เ ด ี ย เ ร ื ่ อ ง สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา ช้ัน พระนครศรีอยุธยาเขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนนความสามารถการคิด 2559 จ านวน 2 ห้องเรียนรวม 80 คน โดยได้มา แก้ไขปัญหา เฉลี่ยเท่ากับ 15.2 คะแนน ส่วน จากการสุ่มแบบกลุ่ม พบว่าักเรียนที่เรียนรู้ด้วยการ เบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 1.16 รอ้ ยละ 76 และแปร จัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับบทเรียน ผลอยรู่ ะดับดมี าก แท็บเล็ต เรื่อง ข้อมูลและคอมพิวเตอร์ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี จากผลการวิจยั ที่เป็นเช่นน้นั เนือ่ งจากการ นัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดบั .05 จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เป็นการเรียนรู้เนื้อหาสาระที่มีการยกตัวอย่างหรือ สถานการณ์ที่มีอุปสรรคและข้อจำกัดที่หลากหลาย ซึ่งเป็นข่าว หรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน 14 | P a g e
ชีวิตประจำวันให้ผู้เรียนได้ลองนำสิ่งที่เรียนมา BBL มีความสามารถด้านการคิดแก้ปัญหาหลังเรียน ประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา ประกอบกับใช้สื่อ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มัลติมีเดียที่น่าดึงดูดความสนใจของผู้เรียน กล่าวได้ .05 และสอดคล้องกับเทิดพงศ์ ชัยรัตน์(2562) ที่ค้า ว่าเป็นกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละขั้นตอนเน้นผู้เรียน คว้าเรื่องการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สมอง เป็นสำคัญทำให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการ เป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการอ่านคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสนใจในบทเรียนและตื่นเต้น วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา พบว่าประสิทธิผลในการ กับกิจกรรมการเรียนรู้รวมทั้งสื่อและอุปกรณ์การ พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานที่มตี ่อ เรียนรู้ที่ทันสมัยและความหลากหลาย ส่งเสริมให้ ความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์และแก้ไข ผู้เรียนเกิดความสามารถการคิดแก้ไขปัญหา ซึ่ง ปญั หาของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 หลังเรียนสงู สอดคล้องกบั กมลฉตั ร กล่อมอิ่ม (2560 ; อ้างองิ จาก กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 รีเกต และเจฟฟรี่ เคน (Regate and Geoffrey เนื่องจากตามกระบวนการวิจัยนักเรียนมีความ Caine,1990:66-70) ที่กล่าวว่า การเรียนรู้จัดการ กระตือรือร้น สนใจ ใฝ่เรียนใฝ่รู้และตั้งใจเรียนมาก เรียนรู้แบบสมองเป็นฐานสมองเรียนรู้โดยการหา ขึ้นเพราะนักเรียนได้เรียนรู้เร่ืองราวที่น่าสนใจและ ความหมายของสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ การค้นหา ใกล้ตัวนักเรียนอีกทั้งได้ทำกิจกรรมร่วมกับสมาชิกใน ความหมายเป็นสิ่งที่มีมา ตั้งแต่เกิดสมองจำเป็นต้อง กลมุ่ มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรซู้ ึ่งกันและกัน เก็บข้อมูลในส่วนที่เหมือนกันและค้นหาความหมาย เพื่อตอบสนองกับสิ่งเร้าที่เพิ่มขึ้นมา การสอนที่มี 4. ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ ประสิทธิภาพต้องยอมรับว่าการให้ความหมายเป็น การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ เอกลักษณ์แต่ละบุคคลและความเข้าใจของ นักเรียน มัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหา อยู่บนพื้นฐานของประสบการณ์แต่ละคน ทำให้ และการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนน ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหาของนักเรียนแต่คน คุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานเฉลี่ยเท่ากับ มีความแตกต่างทั้งนี้ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่ 25.60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.78 นักเรียนได้พบเจอแตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับณัฐรา ซงึ่ แปรผลอยู่ในระดับดี พร คำญา (2559) ที่ศึกษาเรื่อง การเรียนรู้ภาษาไทย โดยใช้กลุ่มอภิปรายประกอบการจัดกิจกรรมตาม ผู้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบการ รูปแบบ BBL เพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างมี จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานรว่ มกับมัลติมีเดียจะ วิจารณญาณ การคิดแก้ปัญหาและความเชื่อมั่นใน สามารถพัฒนาความสามารถของผู้เรียนได้ตรงจุด ตนเองของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า นักเรียนช้ัน และสร้างคุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานที่ได้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เข้าร่วมกิจกรรมตามรูปแบบ จากประสบการณ์การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนซ่ึง สามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพทำให้เรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ 15 | P a g e
แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ หรือปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างง่าย หรือล้มเลิกไปกลางคัน มัลติมีเดยี เรื่อง พระพุทธศาสนากับการแก้ปญั หาและ และสอดคล้องกับนที ศิริจรรยาพงษ์(2560) ที่ศึกษา การพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนน เรื่อง พฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงานของ คุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานเฉลี่ยเท่ากับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น อำเภอนครชัย 25.60 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.78 ศรีจังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ ซึ่งแปรผลอยู่ในระดบั ดี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 พบว่า นักเรียนมี พฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงาน ซึ่งประกอบไป จากผลการวจิ ยั ทีเ่ ปน็ เชน่ นน้ั เน่อื งจากการ ด้วย ด้านการควบคุมตนเอง การได้รับแรงสนับสนุน จัดการเรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น จากโรงเรียน การได้รับแรงสนับสนุนจากผู้ปกครอง ฐานร่วมกับมัลติมีเดีย ผู้เรียนพัฒนาความสามารถ และการได้รับแรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนอยู่ใน ตนเองผ่านการปฏิบัติหรือการมีส่วนร่วมในกิจกรรม ระดับดีมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่าบทบาทของครูใน การเรียนรูใ้ นชน้ั เรยี นซง่ึ เปน็ การพฒั นาความสามารถ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานที่ให้ ในฝึกฝนและทำสิ่งต่างๆได้หลายอย่างในเวลา ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมซึ่งชาวยให้ผู้เรียนได้ เ ด ี ย ว ก ั น โ ด ย ผ ส ม ผ ส า น ท ั ้ ง ด ้ า น ค ว า ม คิ ด พัฒนาการควบคุมตนเองทำให้มีความมุ่งมั่นในการ ประสบการณ์และอารมณ์ รวมถึงข้อมูลที่มีอยู่ ทำงานอยใู่ นระดับมาก หลากหลายรูปแบบ เชน่ สามารถชมิ อาหารพร้อมกับ ได้กลิ่นของอาหาร การกระตุ้นสมองส่วนหนึ่งย่อม ข้อเสนอแนะ ส่งผล กับส่วนอื่นๆ ด้วยการเรียนรู้ทุกอย่างมี 1. ข้อเสนอแนะในการนำไปใช้ ความสำคัญ เช่นเดยี วกันกบั การจัดการเรยี นร้แู บบ 1.1 ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจัย การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ มัลติมีเดียนอกจากพัฒนาความรู้ ความสามารถการ ไปใช้เนื่องจากการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน คิดแก้ไขปัญหา รวมไปถึงพัฒนาคุณลักษะความ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ มุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพทำให้เกิด แก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 การเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับนที ศิริ สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จรรยาพงษ์ (2560 ; อ้างอิงจาก กรมวิชาการ ,2545: ความสามารถการคิดแก้ไขปัญหาและคุณลักษณะ 4) คุณลักษณะความมุ่งมั่นในการทำงานสามารถเกิด ความมุ่งมั่นในการทำงาน จึงสมควรนำไปใช้จัดการ จากการที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติมั่นให้บรรลุเป้าหมายให้ เรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนรู้ สำเรจ็ โดยใชค้ วามสามารถในการใช้พลังกาย พลังใจ ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ในการเรียนมา ในความทำสิ่งต่างๆ ให้บรรลุเป้าหมายอย่าง แก้ไขปญั หาในชีวติ ประจำวนั สร้างสรรค์และเหมาะสม ซึ่งไม่ยอมแพ้กับอุปสรรค 1.2 การจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็น ฐานร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง พระพุทธศาสนากับการ 16 | P a g e
แก้ปัญหาและการพัฒนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ร่วมกับเทคนิคการสอนอื่น หรือการศึกษาตัวแปรอื่น ครูผู้สอนต้ังปัญหาจากสถาณการณ์หรือจำลองสถาณ เพิ่มเติม การณ์ที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ นำเอาความรู้ในการเรียนมาปรับใช้ โดยสามารถ 2.2 ควรมกี ารพัฒนาการจัดการเรียนรู้ หาทางแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคในแต่ละสถาณการ์ แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับ ทคี่ รูจำลองขน้ึ ได้หลากหลายวิธี มัลติมีเดีย ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม หน่วยการเรียนรู้ หรือ 1.3 ครูควรนำสื่อเกมออนไลน์มาเป็น ระดับชนั้ เรียนอน่ื ส่วนหนึ่งในการเรียนออนไลน์เพื่อทำให้นักเรียน กระตือรือรน้ ในการเรยี นออนไลน์มากย่ิงขึ้น 2.3 ควรมีการออกแบบขั้นตอนการ จัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐานร่วมกับมัลติมีเดียให้ 2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาคน้ ควา้ ตอ่ ไป ยืดหยุ่นเพื่อสามารถนำไปใช้ได้ในการเรียนแบบปกติ 2.1 ควรทำการศึกษาการจัดการ และแบบออนไลน์ เนื่องจากความไม่แน่นอนของ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ โควดิ เรียนรู้แบบการจัดการเรียนรู้แบบสมองเป็นฐาน บรรณนกุ รม กลั ยา ตากลู . (2550). การศึกษาการจดั การเรยี นการสอนและสภาพแวดลอ้ มเพอื่ ส่งเสริมทกั ษะการ คดิ และ กระบวนการคิดแกป้ ัญหาอนาคตของนักเรยี นระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 : กรณีศึกษา โรงเรยี น วชริ าวุธวทิ ยา. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. กมลฉตั ร กล่อมอ่มิ . (2560). การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเป็นฐาน สำหรบั นกั ศกึ ษาวชิ าชีพครสู าขาพลศึกษา. สบื คน้ เมอื่ วนั ที่ 7 มกราคม 2565 จาก 1625-Article Text-197263-1-10-20170331 .pdf กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2561). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน. สบื คน้ เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2564 จาก http://academic.obec.go.th/images/document/1559878925_d_1.pdf. จริ ารัตน์ บุญส่งค์. (2559). ผลของการจัดการเรียนร้โู ดยใช้สมองเป็นฐานท่ีมตี อ่ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและ ความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2. สืบค้นเม่ือวันท่ี 7 มกราคม 2565 จาก https://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11077 ณัฐราพร คำญา.(2559).การเรยี นรภู้ าษาไทย โดยใช้กลุ่มอภปิ รายประกอบการจดั กจิ กรรมตาม รูปแบบ BBL เพอื่ สง่ เสริมการอ่านอยา่ งมวี จิ ารณญาณ การคิดแก้ปัญหาและความเชื่อมนั่ ใน ตนเองของชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. สืบค้นเมือ่ วนั ที่ 11 มนี าคม 2565 จาก https://tci-thaijo.org/index.php/jemmsu/article/download/148364/109158/ 17 | P a g e
เทิดพงศ์ ชัยรตั น.์ (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อสง่ เสริมความสามารถด้านการ อา่ นคิดวิเคราะห์และแกไ้ ขปัญหา. สบื คน้ เม่อื วนั ที่ 8 มกราคม 2565 จาก 123602-Article%20 Text781759-1-10-20191226.pdf ธีรารตั น์ ไกรสีขาว. (2563). การพัฒนาทักษะการเขยี นสะกดคำสำหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ทใ่ี ชภ้ าษา ถ่ินในชีวิตประจำวัน ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐานรว่ มกบั บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. สืบค้นเมือ่ วนั ท1่ี 7 มีนาคม 2564 จาก http://www.edu.nu.ac.th/th/news/docs/download/2020_09_17_16_28_57.pdf นพิ ล สังสทุ ธ. (2559). การพัฒนาบทเรียนมัลตมิ ีเดีย เรอ่ื ง เงิน ตามแนวคดิ การจดั การเรยี นรู้ โดยใชส้ มองเป็น ฐาน สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2. สืบคน้ เม่อื วนั ที่ 8 มกราคม 2565 จาก https://so03.tci- thaijo.org/index.php/RDIBRU/article/view/130379/97809 นที ศิริจรรยาพงษ.์ (2560). พฤติกรรมคุณลักษณะความมุ่งม่ันในการทำงานของนกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนตน้ อำเภอนครชัยศรจี ังหวัดนครปฐม สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 25 ธันวาคม 2564 จาก http://ithesisir.su.ac.th/dspace/ bitstream/123456789/1414/1/56256307.pdf บญุ ชม ศรีสะอาด และคณะ. (2564). พืน้ ฐานการวิจยั การศกึ ษา. มหาสารคาม: ตกั สิลาการพิมพ.์ ปราณี กองจนิ ดา. (2549). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะการคดิ เลข ในใจของ นักเรียนท่ีไดร้ บั การสอนตามรปู แบบซิปปาโดยใช้แบบฝกึ หดั ที่เนน้ ทกั ษะการคดิ เลขในใจกับนกั เรยี นท่ี ได้รับการสอนโดยใช้ค่มู อื ครู. พระนครศรอี ยธุ ยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. พิมพันธ์ เตชะคปุ ต.์ (2548). การเรียนการสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ ศนู ย์กลาง. กรงุ เทพฯ: เดอะมาสเตอร์ กรุ๊ป แบเนจ เมน็ ท์. มาลนิ ี สรอ้ ยดอกไม้. (2560). ผลการใช้กระบวนการเรยี นรตู้ ามแนวคดิ สมอเปน็ ฐาน( BBL)ประกอบชดุ ฝกึ เขยี น เรยี งความท่มี ตี อ่ ผลสัมฤทธิด์ า้ นการเขียนเรียงความของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนวัดนา ห้วย(แสงกลา้ ประชาสรรค)์ อำเภอปราณบรุ ี จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์. สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 7 มนี าคม 2565 จาก http://www.ska2.go.th/reis/data/research/25640226_055150_0645.pdf รัตนว์ สิ าณ งามสม. (2560). การศึกษาผลการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL) เพอื่ พฒั นาทักษะการพูด ภาษาองั กฤษ. สบื คน้ เม่ือวนั ท8่ี มนี าคม 2565 จาก http://ithesis- ir.su.ac.th/dspace/bitstream/123456789/1412/1/56254402.pdf 18 | P a g e
โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม). (2563). หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝ่ายมธั ยม) ปีการศึกษา 2563. สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 5 มกราคม 2565 จาก https://satit.msu.ac.th/th/ebook/course2563/mobile/index.html เสาวลกั ษณ์ ย้มิ ประเสริฐ. (2559). การจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกบั บทเรียนแทบ็ เลต็ นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2. สบื คน้ เม่อื วนั ที่8 มีนาคม 2565 จาก https://www.tci- thaijo.org/index.php/JIE/article/download/120263/99732 สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579. สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 24 ธนั วาคม 2564 จาก http://www.onec.go.th/index.php/book/BookView/1540. เหงยี น ถทิ ฮู ่า และสิรินาถ จงกลกลาง. (2561). การศกึ ษาทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนักเรยี น มธั ยมศึกษาตอนปลายจังหวดั กาวบ่ัง ประเทศเวียดนาม. สบื คน้ เมอ่ื วันที่ 20 ธนั วาคม 2564 จาก 246525-Research Results-874188-1-10-20210114.pdf. องั สนา ศรสี วนแตง. (2555). การพฒั นาผลการเรยี นรูเ้ รื่องโจทย์ปญั หาระคนของนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ทีจ่ ดั การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน (BBL) รว่ มกับเทคนคิ KWDL. สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 8 มนี าคม 2565 จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/30741/26552 19 | P a g e
การพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้แบบโยนโิ สมนสิการร่วมกบั มลั ติมีเดยี สาหรบั พัฒนา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ และมงุ่ มัน่ ในการทางาน เรื่อง หน้าท่ชี าวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยมัธยม) (ณัฐวดี โชติบญุ )
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย สำหรับพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และมุ่งมั่นในการทำงาน เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยมัธยม) The development of Lesson Plans by Using The Yonisomanasikarn Teaching Approach with Multimedia for Developing Learning Achievement, Analytical Thinking Abilities, and Avidity for Learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners of Grade 7, Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) ณฐั วดี โชตบิ ญุ 1, สินธะวา คามดษิ ฐ2์ Natthavadee Chotiboon1, Sinthawa Khamdit2 บทคดั ย่อ การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียสำหรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และมุ่งมั่นในการทำงาน เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนา แผนการจดั การเรียนรแู้ บบโยนโิ สมนสกิ ารร่วมกบั มลั ติมเี ดีย เร่อื ง หน้าท่ชี าวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ด้วยการ จดั การเรียนรูแ้ บบโยนิโสมนสกิ ารร่วมกับมลั ติมีเดีย เรอื่ ง หน้าทช่ี าวพทุ ธและมารยาทชาวพุทธ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4) เพื่อศึกษาด้านมุ่งมั่นในการทำงาน ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด มหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 41 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสนสิการร่วมกับ มลั ติมีเดยี เรอ่ื ง หน้าทชี่ าวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน 2 แผน ๆ ละ 2 ชวั่ โมง รวมเปน็ 4 1 นิสิตสาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 1 Student in Social Studies, Faculty of Education, Mahasarakham University 2 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ภาควชิ าหลักสตู รและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 2 Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University 21 | P a g e
ชั่วโมง ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.44 2) มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว พุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.46 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ มีค่าความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) ตั้งแต่ 0.67-1.00 ค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ -0.10-0.60 ค่าความเชื่อมั่น (rcc) เท่ากับ 0.84 4) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง หน้าที่ ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชนิดอัตนัย จำนวน 2 ข้อ มีค่าความสอดคล้องระหว่าง แบบทดสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) ตั้งแต่ -0.33 -1.00 ค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.40-0.70 ค่าความ เชื่อมั่น (α-Coefficient) เท่ากับ 0.77 และ 5) แบบประเมินพฤติกรรมด้านมุ่งมั่นในการทำงาน จำนวน 30 ข้อ มีค่า ความสอดคล้องระหว่างรายการวัดกับนิยมศัพท์เฉพาะ (IOC) ตั้งแต่ 0.67-1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รอ้ ยละ คา่ เฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และคา่ สถติ ิทดสอบ (t-test Dependent) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ที่พฒั นาขึ้นใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ (E1/E2) เทา่ กับ 82.58/83.60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ทีก่ ำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ มีคะแนนความสามารถในการคิดวิเคราะห์เฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 7.41 คิด เปน็ ร้อยละ 74.10 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.81 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ มีคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงานโดยรวมเฉล่ีย เท่ากับ 3.60 คดิ เปน็ ร้อยละ 72.00 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.92 ซงึ่ แปรผลอยู่ในระดับดี คำสำคญั : การจดั การเรยี นรู้แบบโยนโิ สมนสกิ าร, มลั ตมิ ีเดีย, ความสามารถในการคิดวิเคราะห์, มงุ่ ม่ันในการทำงาน Abstract The purposes of this research were 1) To develop lesson plans by using the Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners of Mathayomsueksa 1 with a required efficiency of 80/80. 2) To compare learning achievement between before and after studying of Mathayomsueksa 1 students who learned by using the Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners. 3) To study analytical thinking abilities of Mathayomsueksa 1 students who learned by using the Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners and 4) To study the desirable characteristics in avidity of Mathayomsueksa 1 students who learned by using the Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners. The sample was 41 students in Mathayomsueksa1/2, Mahasarakham University Demonstration School (Secondary), in semester 2 of the academic year 2021 by a Simple Random 22 | P a g e
Sampling. The research instruments were 1) The lesson plans by using the Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners with 2 lesson plans, 4 hours. The result of the expert assessment had a total mean of 4.44. 2) The multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners, had a total mean of 4.46 from the results of the expert assessment. 3) The pre-test and post-test for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners to measure learning achievement with a multiple-choice test that had 4 choices with a total 25 items had IOC from 0.67-1.00, the discrimination index B ranging from -0.10-0.60, and the reliability (rcc) of the test was 0.84. 4) The analytical thinking test for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners with a subject test that had 2 items had the IOC from -0.33 -1.00, the discrimination index B ranging from 0.40-0.70, and the reliability (α-Coefficient) of the test was 0.77 and 5) The desirable characteristics in avidity observation had the IOC from 0.67-1.00. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, and t-test Dependent. The results of this research revealed that: 1. The lesson plans by using the Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners of Mathayomsueksa 1 had efficiencies of 82.58/83.60. 2. Mathayomsueksa 1 students who learned using the activities of Yonisomanasikarn Teaching Approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners showed gains in the learning achievement score was a higher form before learning at the .05 level of significance. 3. Mathayomsueksa 1 students who learned using the activities of Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners showed gains in analytical thinking abilities at a total mean of 3.67 (good level). 4. Mathayomsueksa 1 students who learned using the activities of Yonisomanasikarn teaching approach with multimedia for learning on Buddhist Duties and Buddhist Manners showed gains in the desirable characteristics in avidity at a total mean of 3.60 (good level). Keywords: Yonisomanasikarn teaching approach, Multimedia, Analytical thinking abilities, Avidity บทนำ สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิด การมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถ เป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและ ในการคิดถือเป็นหนึ่งในจุดมุ่งหมายของหลักสูตร สังคมได้อย่างเหมาะสม (กระทรวงศึกษาธิการ, แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2551 : 4) ซึ่งทกั ษะทางความสามารถด้านความคดิ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ในสมรรถนะสำคัญของ นั้นถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญประการหนึ่งที่ทำให้คน ผู้เรียนตัวที่ 2 ที่กำหนดให้ผู้เรียนจะต้องเกิดทักษะ มีคุณภาพเพราะจะเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตได้ ทางความสามารถในการคิด ซึ่งเป็นความสามารถ ในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคดิ อย่าง 23 | P a g e
อย่างมีคุณภาพทุกด้านทั้งทางร่างกาย สังคม กลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม อารมณ์ และสติปัญญา ด้วยความสำคัญดังกล่าว สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตเป็น ระบบการศึกษาของประเทศไทยภายหลังการ พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก ซึ่งมี ปฏิรูปการศึกษาจึงได้เริ่มให้ความสำคัญของ หลักการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ การศึกษาเพื่อพัฒนาความคิด โดยได้กำหนดไว้ใน ความสามารถตามสมรรถนะและลักษณะอันพึง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ประสงค์ โดยยึดหลักการผู้เรียนเป็นสำคัญ 2542 และในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยึดประโยชน์ให้แก่ผู้เรียน โดยเชื่อว่าทุกคนมี พุทธศักราช 2551 ให้สถานศึกษาจัดกระบวนการ ความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ เรียนรู้โดยการฝึกทักษะกระบวนการคิด การ ดังนั้นกระบวนการจัดการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ จัดการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จึงมุ่งเน้นให้ แก้ปัญหาและจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จาก ผู้เรียนได้เกิดกระบวนการคิด กระบวนการลงมือ การปฏิบัติ คิดเป็น และทำเป็น ซึ่งจะทำให้การ ทำจริง กระบวนการทางสังคม กระบวนการแก้ไข พัฒนาประเทศมีความเจริญก้าวหน้าและยืนหยัด ปัญหา กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง อยู่ในกระแสโลกาภิวัตน์ได้อย่างมั่นคงและอย่าง กระบวนการเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนา เป็นสุข (ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, 2556 : 1) และเมื่อ ตนเองและเกิดการเรียนรู้อย่างธรรมชาติและเต็ม พิจารณาแล้วจะพบว่าในด้านการคิดนั้นมีการให้ ศักยภาพ การจัดการเรียนการสอนจึงควรเลือก ความสำคัญเกี่ยวกับการคิดวิเคราะห์อย่างมาก วิธีการให้สอดคล้องกับบริบทด้านหลักสูตรและ เพราะการคิดวิเคราะห์เป็นทักษะที่ส่งเสริมการ ธรรมชาติของผู้เรียน มีการวัดและประเมินผล เรียนรู้และทำให้ผู้เรียนสามารถขยายความรู้ ผู้เรียนตามสภาพจริงและประเมินเป็นระยะ เพ่ือ ประสบการณ์ และความคิดของตัวเองอย่าง ตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้ามากน้อย กว้างขวางและลึกซึ้ง (นิรมล ศตวุฒิ. 2548 : 22) เพียงใด อกี ทั้งยงั เปน็ การประเมินผู้สอนในด้านการ ดังนั้น การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาคนในยุค จัดการเรียนการสอนและเพื่อพัฒนาและปรับปรุง ปจั จุบันจงึ ควรเนน้ การพฒั นาการด้านคิดวิเคราะห์ การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น วิชา พระพุทธศาสนาอยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา วัฒนธรรม ถือว่าเป็น 1 ใน 8 สาระการเรียนใน ศีลธรรม และจริยธรรม ถูกกำหนดให้เป็นกลุ่ม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ที่สถานศึกษาต้องใช้เป็นหลักเพื่อ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ที่ช่วยให้ผู้เรียนมี สร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้และแก้ปัญหา และ ความรู้ ความเข้าใจว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร ทั้ง กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายมุ่งเน้นนำเอา ในฐานะปัจเจกบุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม พระพุทธศาสนามาเป็นเครื่องมือในการปฏิรูป การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการ การศึกษาในส่วนที่เป็นกระบวนการเรียนรู้ด้าน ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด นอกจากนี้ยังช่วยให้ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุค ประกอบกับพระพุทธศาสนาถือเป็นสถาบันหลัก สมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัย ต่าง ๆ ทำให้เกิด ของสังคมไทยเป็นรากฐานของสังคมไทย ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อด 24 | P a g e
วัฒนธรรมไทย และเป็นหลักในการดำเนินชวี ติ ของ ท่องจำมากกว่าการคิดวิเคราะห์และการปฏิบัติ คนไทยมาอย่างยาวนาน มีบทบาทสำคัญต่อการ นอกจากนี้ครูผู้สอนยังขาดสื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ ดำเนินชีวิตของคนไทยในทุกด้าน แต่เยาวชนไทย จึงส่งผลให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย และขาด ในปัจจุบันยังขาดความรู้ความเข้าใจใน แ ร ง จ ู ง ใ จ ใ น ก า ร ม ี ส ่ ว น ร ่ ว ม ท า ง ก า ร เ ร ี ย น รู้ พระพุทธศาสนา และไม่สามารถนำหลักธรรมไป สอดคล้องกับการประชุมเชิงปฏิบัติร่วมกันระหว่าง ประยุกต์ใช้เพื่อนำไปสู่การเป็นพลเมืองดีที่มี สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงาน คุณธรรม จริยธรรม อันเนื่องมาจากประเทศไทย คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และ ได้รับผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน คณะกรรมการปฏิรูปการเรียนการสอน ได้นำความเปล่ียนแปลงมาสู่ระบบเศรษฐกิจ พระพุทธศาสนาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (2561 : การเมือง และสังคม ด้วยระบบเทคโนโลยีและ 1) ซึ่งได้กล่าวถึงสภาพปัญหาในการเรียนการสอน สารสนเทศต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ข้อมูลข่าวสาร พระพุทธศาสนาพบว่าการสอนวิชาพระพุทธใน วัฒนธรรม ตลอดจนแนวความคิดต่าง ๆ จึง โรงเรียนส่วนใหญ่ยังประสบความล้มเหลว เพราะ ถ่ายทอดสู่คนไทยได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน ความ วิธีสอนมุ่งถ่ายทอดความรู้ โดยการบรรยายเนื้อหา เจริญจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วดังกล่าว ตามหนังสือแบบเรียนแล้ววัดผลจากความรู้นั้นทำ ก่อให้เกิดปัญหาทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม ให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เนื่องจากไม่ คุณธรรม จริยธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเด็ก สามารถจำความรไู้ ดท้ ัง้ หมดและยงั ขาดการคิดและ เยาวชน และประชาชนอย่างรุนแรง ทำให้สังคม ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้ใน เกิดการเรียนรู้ที่ผิดพลาดเกิดกระแสมุ่งเน้นให้ รายวิชาพระพุทธศาสนาให้ได้ผลสมบูรณ์จึงควร ความสำคัญทางด้านวัตถุมากกว่าทางด้านจิตใจ กำหนดจุดมุ่งหมายหลักคือ ให้นักเรียนเข้าใจ (กรมการศาสนา, 2550 : 56) หลักธรรมและคิดวิเคราะห์สาระสำคัญของพุทธ ศาสนาได้ เพือ่ นำไปสกู่ ารมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น จากรายงานผลการประเมินคุณภาพใน ที่ดีขึ้น เป็นผู้มีทักษะความสามารถด้านการคิดและ สถานศึกษาปีการศึกษา 2562 โรงเรียนสาธิต พรอ้ มนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระสังคมศึกษา นักการศึกษาหลายท่านสนใจที่จะหา ศาสนา และวัฒนธรรม อยู่ในระดับปานกลางซ่งึ ตำ่ วิธีการมาแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ น้ี กว่าค่าเป้าหมาย (รายงานประเมินคุณภาพใน โดยเฉพาะสมุ น อมรวิวัฒน์ (อ้างถงึ ในกรมวิชาการ, สถานศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย 2536 : 84) ได้ให้ความเห็นว่าการจัดการเรียนการ มหาสารคาม (ฝา่ ยมัธยม), 2562 : 51) ซึ่งจากการ สอนที่สำคัญควรแสวงหาวิธีสอน เพื่อพัฒนาให้ สังเกตการณ์สอนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย นกั เรยี นเกดิ การคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร ซึ่งเป็นการ มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) พบว่า สาเหตุท่ี คิดตามแนวทางของพระพุทธเจ้าเป็นวิถีทางแห่ง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาสังคมศึกษา ปัญญาเพื่อฝึกอบรมตนเองในการพัฒนาปัญญา ศาสนา และวัฒนธรรมอยู่ในระดับต่ำกว่าค่า เป็นวิธีคิดโดยแยบคาย คิดถูกวิธี คิดอย่างมี เป้าหมาย อาจมีสาเหตุมาจากการที่ครูผู้สอนเน้น ระเบียบ คิดหาเหตุผล และเสาะแสวงหาความรู้ วิธีการสอนแบบบรรยาย มุ่งให้นักเรียนเกิดการ ดังคำกล่าวของประเวศ วะสี (2539 อา้ งถึงในวชิรา 25 | P a g e
ภรณ์ อำไพ, 2554 : 3) ทีว่ ่า “สงิ่ ท่ีผูเ้ รยี นได้รบั การ พิจารณาเหตุปัจจัยที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ ถ่ายทอดจากครูอาจจะเป็นสิ่งที่ล้าหลังใช้การไม่ได้ บุคคลที่คิดไว้อย่างมีโยนิโสมนสิการ วิธีคิดจะชี้นำ แต่การเรียนเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการคิด ไปในทางสร้างสรรค์ ทำให้เกิดการแก้ปัญหา การ สิ่งที่ติดตัวผู้เรียนไปคือวิธีคิด กระบวนการคิด สร้างกำลังใจและนำความสุขสันติมาสู่ตนเองและ กระบวนการแสวงหาความรู้ความสามารถในการ ผู้เกี่ยวข้อง รวมทั้งวิธีคิดอื่น ๆ ที่แสดงถึงการใช้ กล้าคิด กล้าทำ ซึ่งคุณสมบัติเหล่านี้จะกลายเป็น ปัญญาในทางดับความทุกข์ความเดือนร้อนใจ ลักษณะนิสัย ในการนำไปสู่การพัฒนาตนเอง ตนเองได้ สังคม และประเทศชาติต่อ ๆ ไป…” การสอนตาม รูปแบบ โยนิโสมนสิการจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะการพัฒนาแผนการ ช่วยในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา จัดการเรยี นรู้แบบโยนิโสมนสิการรว่ มกบั มัลติมีเดีย ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ให้เป็นไปตาม สำหรับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประสงค์ เพราะการสอนแบบนี้เป็นวิธีการสอนท่ี ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ และมงุ่ มั่นในการ เน้นกระบวนการคิดอย่างมีระบบ ระเบียบ ตรง ทำงาน เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ตามสภาวะ และเหตุปัจจัย ทุกขั้นตอนสามารถ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย พิสูจน์หรือจำแนกแยกแยะออกมาอธิบายใหเห็น มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) โดยเชื่อว่าวิธีการนี้จะ จริงได้ ซึ่งพระธรรมปิฎก ป.อ.ปยุตโต (2542 : ช่วยทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนและ 676-724) ได้ประมวลวิธีคิดแบบโยนิโสไว้ใน ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์สงู ข้นึ และเป็นวิธี หนังสือพทุ ธธรรม 10 วิธีด้วยกัน คือ 1. วิธีคิดแบบ ที่ช่วยฝึกให้เป็นผู้เรียนได้คิดเป็น คิดดี คิดถูก สืบสาวเหตุปัจจัย 2. วิธีคิดแบบแยกแยะ 3. วิธีคิด สามารถแก้ปัญหาได้ สามารถนำประสบการณ์การ แบบสามัญลักษณ์ 4. วิธีคิดแบบอริยสัจหรือคิด เรียนรู้ไปปรับใช้กับสภาพสังคมปัจจุบันที่สับสน แบบแก้ปัญหา 5. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ วุ่นวายได้อย่างเหมาะสม และยังเหมาะกับเนื้อหา หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย 6. วิธีคิด และวัยของผู้เรียน ซึ่งกำลังเป็นวัยรุ่นที่ที่มีความ แบบเห็นคุณโทษและทางออก 7. วิธีคิดแบบรู้ กระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น ชอบคิด ค้นคว้า คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม 8. วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรม ทดลอง มีความสามารถในการแก้ปัญหาเมื่อเผชิญ หรือวิธีคิดแบบเร้ากุศล 9. วิธีคิดแบบอยู่กับ สถานการณ์ได้อย่างมีคุณธรรม โดยใช้มัลติมีเดียใน ปัจจุบัน และ 10. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท ซึ่งวิธีการ การช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ดังกล่าวมีแนวคิดที่สำคัญ คือ ผู้ที่ใช้วิธีคิดใน แบบโยนิโนมนสิการ เนื่องจากมัลติมีเดียจะช่วย แนวทางนี้จะมีคุณภาพจิตสูง คือ มีความสุขสบาย กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน และช่วยให้ผู้เรียน ใจ มีความสามารถควบคุมการสนองความต้องการ สามารถเกดิ ความรู้ความเข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึ่งเป็นไป ที่ไม่สิ้นสุดของตนเองได้ และจะมีความงอกงาม ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาในปัจจุบัน ทางปัญญา คือ ความสามารถเข้าใจสภาวะ ท่ีเนน้ การคดิ เป็น ทำเปน็ และแก้ปญั หาเปน็ ธรรมชาติตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นด้วย ความ เป็นอิสระทางความคิด คือ ไม่คิดปรุงแต่งสิ่งที่พบ ความมุ่งหมายการวิจยั เห็นไปตามอำนาจความปรารถนาของตน แต่จะ 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าท่ี 26 | P a g e
ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) 1 ใหม้ ปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 41 คน ซึ่งได้จากการ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ สมุ่ อย่างงา่ ย (Simple Random Sampling) เรียนก่อนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ 2. เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบ 1 โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาว 3. เพื่อศึกษาความสามารถในการคิด พุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิเคราะห์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส จำนวน 2 แผน ๆ ละ 2 ชว่ั โมง รวมเปน็ 4 ชัว่ โมง มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 2. มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพทุ ธ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 4. เพื่อศึกษาด้านมุ่งมั่นในการทำงาน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว ทางการเรียน เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาท พทุ ธ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 25 ขอ้ สมมติฐานของการวจิ ยั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ัน 4. แบบทดสอบวัดความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ เรือ่ ง หนา้ ทชี่ าวพทุ ธและมารยาท มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ ชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชนิดอัตนัย จำนวน แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียหลังเรียนสูง 2 ขอ้ กว่ากอ่ นเรยี น 5. แบบประเมินพฤติกรรมด้าน วิธดี ำเนินการวจิ ยั มุ่งมั่นในการทำงาน ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด และ 1. ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง 6 พฤตกิ รรมบงชี้ โดยแบง่ ระดบั การประเมินเป็น 5 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ระดบั ได้แก่ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธติ 3. วิธดี ำเนินการวจิ ัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) อำเภอ 1. ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จำนวน 2 ห้องเรียน ได้แก่ ด้วยแบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 จำนวน 38 คน หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้น และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 จำนวน 41 มัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชุด เป็นแบบทดสอบ คน รวมทั้งหมด 79 คน ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ซึ่งเป็นแบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผ่านการตรวจสอบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คุณภาพแล้ว จำนวน 25 ข้อ แล้วทำการเก็บข้อมลู ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียน ที่ได้จากการทดสอบเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลในขั้น ต่อไป 27 | P a g e
2. ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ช้ัน ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1/2โดยพจิ ารณาความสมั พันธ์ของ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและ กระบวนการและผลลพั ธ์ โดยใช้เกณฑ์ 80/80 มารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 แผน ๆ ละ 2 ชัว่ โมง ใช้เวลาจดั การเรยี นรู้ 4 ชัว่ โมง 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบความ แตกตา่ งของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียนและ 3. ทดสอบหลังเรียน (Post-test) หลังเรียน ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ท่ีเรียนด้วย ด้วยแบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ช้ัน มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว มัธยมศึกษาปีที่ 1 และบันทึกผลการสอบไว้ใช้เป็น พุทธ คะแนนสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สำหรับการวิเคราะห์ข้อมลู โดยใชส้ ถิติ 3. หาค่าเฉลี่ยของคะแนนด้าน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง หน้าที่ชาว 4. ทดสอบหลังเรียน (Post-test) พุทธและมารยาทชาวพทุ ธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ด้วยแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิด โดยใช้คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว พุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 1 ชุด เป็น 4. หาค่าเฉลี่ยของคะแนนดา้ นความ แบบทดสอบชนิดตอบอย่างอิสระ ซึ่งเป็น มุ่งมั่นในการทำงานของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ 1/2 โดยใช้คา่ เฉลยี่ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้ว จำนวน 2 ข้อ แล้วทำการเก็บข้อมูลที่ได้จากการทดสอบเพ่ือ ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู วิเคราะห์ขอ้ มลู ในขน้ั ต่อไป ผู้วิจัยได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5. ประเมินด้านความมุ่งมั่นในการ ตามความม่งุ หมายของการวิจัย ดังน้ี ทำงานด้วยแบบประเมินพฤติกรรมด้านมุ่งมั่นใน 1. วิเคราะห์ประสิทธิภาพของ การทำงาน ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด และ 6 พฤตกิ รรมบงชี้ แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู พุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามเกณฑ์ 80/80 1. หาค่าประสิทธิภาพของแผนการ ได้ผลดังตาราง 1 จดั การเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการรว่ มกบั มัลติมีเดีย 28 | P a g e
ตาราง 1 ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ และมารยาทชาวพุทธ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ผลการเรยี น คะแนนเต็ม ������̅ S.D. รอ้ ยละของ คะแนนเฉลยี่ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E1) 50 41.29 2.29 82.58 83.60 ประสิทธภิ าพของผลลัพธ์ (E2) 25 20.90 2.54 ประสทิ ธภิ าพของแผนการจัดการเรยี นรู้ (E1/E2) เท่ากับ 82.58/83.60 จากตาราง 1 พบว่า นักเรียนได้คะแนน ร่วมกับมัลติมีเดีย จึงมีประสิทธิภาพ (E1/E2) จากการแบบทดสอบย่อย กิจกรรมการเรียนรู้ และ เท่ากับ 82.58/83.60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด การสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล มีคะแนนเฉลี่ย (80/80) เท่ากับ 41.29 คิดเป็นร้อยละ 82.58 แสดงว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับ 82.58 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบเปรียบเทียบ คะแนนจากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ด้วย ทางการเรียน มคี ะแนนเฉลย่ี เทา่ กับ 20.90 ร้อยละ การจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ ของคะแนนเฉลี่ยเท่าก ับ 83.60 แสดงว่า มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว ประสิทธิภาพผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 83.60 ดังนั้น พทุ ธ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ได้ผลดังตาราง 2 แผนการแผนการจัดการเรยี นรู้แบบโยนโิ สมนสิการ ตาราง 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสกิ าร รว่ มกบั มลั ตมิ ีเดยี เรอื่ ง หน้าที่ชาวพทุ ธและมารยาทชาวพทุ ธ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 การทดสอบ จำนวน คะแนนเตม็ ������̅ S.D. t p-value นักเรยี น ก่อนเรียน 41 25 16.80 2.03 6.01 .05* หลงั เรยี น 41 25 20.90 2.54 *มีนัยสำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 จากตาราง 2 พบว่า นักเรียนช้ัน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 2.03 ผลสมั ฤทธท์ิ างการ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ เรียนหลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 20.90 ส่วน แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.54 มีค่า t เท่ากับ ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ มีผลสัมฤทธิ์ 6.01 และมีคา่ นยั สำคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 ทางการเรียนก่อนเรียนเฉลี่ยเท่ากับ 16.80 ส่วน 29 | P a g e
3. วิเคราะห์ความสามารถในการคิด และมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ผล วิเคราะห์ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส ดงั ตาราง 3 มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ ตาราง 3 วิเคราะห์ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ ดว้ ยการจัดการเรียนร้แู บบโยนิโสมนสกิ ารรว่ มกับ มลั ติมเี ดีย เรอ่ื ง หนา้ ท่ีชาวพทุ ธและมารยาทชาวพทุ ธ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 รายการท่ีวัด ������̅ S.D. รอ้ ยละ การแปลผล ดา้ นการวเิ คราะห์เนือ้ หา 3.85 0.73 77.00 ดี ด้านการวเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ 3.76 0.66 75.20 ดี ดา้ นการวเิ คราะหห์ ลกั การ 3.41 0.50 68.20 ปานกลาง โดยรวม 3.67 0.66 73.40 ดี จากตาราง 3 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3.76 แปลผลอยู่ในระดับดี และด้านที่มีค่าเฉลี่ย ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส น้อยท่ีสุดคือ ด้านการวิเคราะห์หลักการ มีค่าเฉลี่ย มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ เท่ากับ 3.41 แปลผลอยใู่ นระดบั ดี และมารยาทชาวพุทธ มีคะแนนความสามารถใน การคิดวิเคราะห์เฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.67 คิดเป็น 4. วิเคราะห์คุณลักษณะด้านมุ่งมั่นใน ร้อยละ 73.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ การทำงาน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส 0.66 แปลผลอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณารายด้าน มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านการ และมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้ผล วเิ คราะห์เนื้อหา มีคา่ เฉล่ยี เทา่ กับ 3.85 แปลผลอยู่ ดงั ตาราง 4 ในระดับดี รองลงมาคือ ด้านการวิเคราะห์ ความสมั พันธ์ มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ ตาราง 4 วิเคราะห์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส มนสิการรว่ มกบั มลั ตมิ ีเดีย เรอ่ื ง หน้าท่ชี าวพุทธและมารยาทชาวพทุ ธ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 รายการทว่ี ัด ������̅ S.D. ร้อยละ การแปลผล ดา้ นความเอาใจใส่ในการทำงาน 3.65 0.87 73.00 ดี ด้านความรบั ผิดชอบในการทำงาน 3.59 0.86 71.80 ดี ด้านความอดทนในการทำงาน 3.62 0.92 72.40 ดี ด้านการแก้ไขปญั หาและอปุ สรรคในการทำงาน 3.57 0.88 71.40 ดี 30 | P a g e
ตาราง 4 (ตอ่ ) ������̅ S.D. ร้อยละ การแปลผล รายการท่ีวดั 3.61 0.89 72.20 ดี ดา้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการทำงาน ด้านการชื่นชมผลงาน 3.58 1.05 71.60 ดี โดยรวม 3.60 0.92 72.00 ดี จาก ตาร าง 4 พบว่า นัก เร ียนชั้น พัฒนาขึ้นให้มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการ 82.58/83.60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ เรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง กล่าวคือประสิทธิภาพ (E1) มีค่าเท่ากับ 82.58 หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ มีคะแนน ประสิทธิภาพผลลัพธ์ (E2) ค่าเท่ากับ 83.60 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านมุ่งมั่นในการทำงาน หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากการทำ เฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.60 คิดเป็นร้อยละ 72.00 คะแนนแบบทดสอบย่อย กิจกรรมการเรียนรู้ และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.92 แปลผลอยู่ใน คะแนนจากพฤติกรรมการทำงานจากแผนการ ระดับดี เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มี จัดการเรยี นรแู้ บบโยนโิ สมนสิการรว่ มกบั มัลติมีเดีย ค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านเอาใจใส่ในการทำงาน มี เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ทั้ง 2 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.65 แปลผลอยู่ในระดับดี แผน คิดเป็นร้อยละ 82.58 และได้คะแนนจากการ รองลงมาคือ ด้านความอดมนในการทำงาน มี ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คิดเป็น ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.62 แปลผลอยู่ในระดับดี และ ร้อยละ 83.60 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านการแก้ไขปัญหา และอุปสรรคในการทำงานมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.57 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากแผนการจัดการ แปลผลอยู่ในระดบั ดี เรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีกระบวนการสร้างตามขั้นตอน อย่างเป็นระบบและวิธีที่เหมาะสม คือ ได้ศึกษา อภิปรายผล หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบ พุทธศักราช 2551 มีการวิเคราะห์หลักสูตรและ เนื้อหา ศึกษาแนวทางการเขียนแผนการจัดการ โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย สำหรับพัฒนา เรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ มีการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิด หลักสูตรโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม วเิ คราะห์ และมงุ่ ม่นั ในการทำงาน เรือ่ ง หน้าท่ีชาว (ฝ่ายมัธยม) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหวา่ งเรือ่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และเวลาเรียน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย สาระการเรียนรู้ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ลงมือ มัธยม) สามารถอภปิ รายผลได้ ดงั น้ี สร้างแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ ร่วมกับมัลติมีเดีย ดูเนื้อหา ความเหมาะสมกับวัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส ผู้เรียนและมีความสัมพันธ์กับจุดประสงค์การ มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธ เรียนรู้ ตามที่ได้ศึกษาแล้วนำแผนการจัดการ และมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ 31 | P a g e
เรียนรู้ทส่ี ร้างขน้ึ เสนอผเู้ ชี่ยวชาญเพ่ือพิจารณาแล้ว ค้นคว้าครั้งนี้ทำให้ทราบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ นำมาปรับปรุงแก้ไข ทั้งในด้านแผนการจัดการ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ เรียนโดยรวม เนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ และการประเมินผล ซึ่งผล 1 ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ จากการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโส มีประสิทธิภาพและสามารถนําไปพัฒนาในการ มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ เรียนการสอนได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ 4.44 แสดงว่า แผนการจัดการเรียนรู้อยู่ในเกณฑ์ ศศิวิมล อินทปัตถา (2560 : 159) ได้ศึกษาการ เหมาะสมมากที่สุด แล้วนำไปทดลองใช้เพื่อหา พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส คุณภาพของเครื่องมือก่อนที่จะนำไปทดลองจริง มนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม กับกลุ่มตัวอย่าง จึงมีประสิทธิภาพเป็นไปตาม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ เกณฑ์ที่ตั้งไว้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผลการศึกษา โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย นักเรียนได้มี พบว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส กระบวนการคิดโดยแยบคาย ลงมือปฏิบัติ เพื่อ มนสิการร่วมกับการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม พัฒนาความรู้ ทักษะและสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ ด้วยระเบียบวิธีดำเนินการเป็นระบบ ครูจัด วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีประสิทธิภาพ กิจกรรมการเรียนที่กระตุ้นผู้เรียนให้เกิดการคิด เท่ากับ 85.93/80.29 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ด้วยวิธีการแบบ ต่าง ๆ เป็นกระบวนการที่นำเอา 80/80 วิธีสอนแบบโยนิโสมนสิการมาใช้ในการปฏิบัติ เพื่อใหเ้ กดิ การคดิ วเิ คราะห์ รวมทั้งการคิดพจิ ารณา 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทเี่ รียน สภาพการณ์ปัญหาอย่างรอบคอบต่อเนื่องเป็น ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ ลำดับตามเหตุผล เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจที่ มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว เหมาะสม และการสอนแบบโยนิโสมนสิการ พุทธ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ต้องการกระตุ้นให้นักเรียนรู้จักการสังเกต รู้จักการ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่ง ตั้งคำถาม รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองเพ่ือ เป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ โดยจาก ตอบคำถามที่ตนอยากรู้ รู้จักสรุป การนำเสนอ การทดลองการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส ความสำคัญให้ครบทุกด้านทั้งความเหมือนและ มนสิการร่วมกับมัลติมีเดียกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน ความแตกต่าง และข้อดี-ข้อเสีย สามารถคิด 41 คน พบว่า ได้คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการ วิเคราะหอ์ ย่างมีเหตุและผล รู้จักวธิ ีแสวงหาความรู้ เรียนก่อนเรียนเท่ากับ 16.57 และได้คะแนนเฉล่ีย ด้วยตนเองเพื่อตอบคำถาม และทำความเข้าใจกับ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลังเรยี นเท่ากับ 20.71 ซง่ึ สิ่งสงสัยต้องการคำตอบ มีความรอบคอบ เป็นวิธีที่ จะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโส มีประโยชน์ตอ่ การเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คม มนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย นักเรียนได้คะแนน ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรือ่ ง หน้าท่ชี าวพุทธ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรยี น และมารยาทชาวพุทธ และมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับผู้เรียนโดยตรง จากผลการศึกษา ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการมัลติมีเดียเป็น รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ 32 | P a g e
เพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะ และสร้างผลผลิตที่มี มองเห็นความจริงและแง่มุมที่จะทำให้เกิด คุณภาพ ด้วยระเบียบ วิธีดำเนินการเป็นระบบ ประโยชน์ขยายออกไป และสรุปผลได้ว่าการจัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการ กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ ต้องการกระตุ้นให้นักเรียนรู้จักการสังเกต รู้จักการ มัลติมีเดียนี้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ตั้งคำถาม รู้จักวิธีแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเพ่ือ หลากหลายประกอบกับจุดเน้นนักเรียนได้เรียนรู้ ตอบคำถามที่ตนอยากรู้ รู้จักสรุปการนำเสนอ ศึกษาร่วมกัน และให้นักเรียนปฏิบัติจริง เช่น การ ความสำคัญให้ครบทุกด้าน ทั้งความเหมือนและ เล่นเกม Vonder Go ทำกิจกรรมการเรียนรู้ ล้วน ความแตกต่าง และวิเคราะห์ข้อดี-ข้อเสีย การคิด เป็นสิ่งที่เป็นปัจจุบันแสดงให้เห็นเป็นรูปธรรม ซึ่ง พิจารณาไตร่ตรองถึงต้นเหตุอย่างเป็นเหตุ เป็นผล เป็นสิ่งที่เหมาะสมกับวัยจึงทำให้นักเรียนสามารถ โดยถูกวิธี คิดถูกทาง คิดอย่างละเอียด เชื่อมโยง เรียนรู้ได้ดี รู้จักคิดวิเคราะห์ แยกแยะเหตุการณ์ เรื่องต่าง ๆ เข้าด้วยกัน มองเห็นความจริงและ ต่าง ๆ ได้ และอาศัยบรรยากาศและสถานการณ์ แง่มุมอย่างมีระเบียบระบบนำไปสู่การปฏิบัติจน ต่าง ๆ การตั้งคำถาม เป็นสิ่งเร้ากระตุ้นในการคิด ประจักษ์จริง สามารถใช้ปัญญาแก้ปัญหาได้อย่าง และตอบคำถาม การเรยี นรู้จึงมกี ารพฒั นาขึ้น ช่วย เหมาะสม โดยสุมน อมรวิวัฒน์ (2530 : 82) ให้ ส่งผลให้คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ ความหมายโยนิโสมนสิการว่า การคิดถูกทางหรือ นักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งสอดคล้อง คิดถูกวิธี โดยกระบวนการวิเคราะห์ที่เป็นระบบ กับผลการวิจัยของคมสินธุ์ ต้นสีนนท์ (2561 : เป็นกระบวนการ และพิจารณาทุกแง่มุมเพื่อเข้าใจ บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการจัดการเรียนรู้ตามหลัก ในสิ่งที่คิด สอดคล้องกับอารุณี ไทยบัณฑิตย์ โยนิโสมนสิการในรายวิชาพระพุทธศาสนาของ (2545 : 19) ได้สรุปว่า โยนิโสมนสิการ หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอวัง แนวคิดที่เกิดจากการคิดพิจารณาอย่างถูกวิธี อัน ปทุมธานี ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธานี สอดคล้องกับเรอื่ งท่ีศึกษา ไมม่ ีการลดั ขั้นตอน หรอื จังหวัดปทุมธานี ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนที่ ด่วนสรุปเกินข้อมูลที่ได้รับมา เป็นการคิดที่มี เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโส ระเบียบตามขั้นตอน คิดมีเหตุมี ผลที่สมบูรณ์ เป็น มนสิการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังเรียนสูง การคิดที่ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง รู้จัก กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 ซ่ึง พิจารณารู้จักคิดวิเคราะห์ ซึ่งจะก่อให้เกิด สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ นอกจากนี้ยัง ประโยชน์ สร้างสรรค์ในสิ่งที่ดีทั้งต่อตนเองและ สอดคล้องกับผลการวิจัยของพระพิทักษ์อริยปุตฺโต สังคม สอดคล้องกับพระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) (2561 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการสอนแบบโยนิโส ( 2543 : 7) ใ ห ้ น ิ ย า ม ว ่ า โ ย น ิ โ ส ม น ส ิ ก า ร มนสิการวิชาพระพุทธศาสนา นักเรียนมัธยมศึกษา ประกอบด้วย โยนิโสและมนสิการ โยนิโส มาจาก ตอนต้น โรงเรียนวัดแม่เฉย จังหวัดอุตรดิตถ์ ผล โยนิ แปลว่า เหตุ ต้นเค้า แหล่งกำเนิด วิถีทาง การศึกษาพบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มนสิการ แปลว่า การนำในใจ การคิดคำนึงนึกถึง วิชาพระพุทธศาสนาโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ใส่ใจ พิจารณา ดังนั้น โยนิโสมนสิการ แปลว่าการ โดยการคิดแบบโยนิโสมนการมีคะแนนหลังเรียน คิดให้ถึงต้นตอ การคิดแยบคาย คิดให้ถึงรากเหง้า สูงกว่าคะแนนกอ่ นเรียนอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ คิดอย่างละเอียดลึกซึ้ง เชื่อมโยงต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ระดับ 0.01 และสอดคล้องกับผลการวิจัยของรำ 33 | P a g e
ไพรวันวานย์ และคณะ (2564 : บทคัดย่อ) ได้ ได้ดีเมื่อมีการฝึกฝน นักเรียนได้ทำกิจกรรมการ ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เรียนรู้ มีความกระตือรือร้นสนใจ สนุกสนาน กล้า พระพุทธศาสนาตามหลักโยนิโสมนสิการ นักเรียน คิด กล้าทำ กล้าพูด กล้าแสดงออก มีครูผู้เป็น ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวชิราลง กัลยาณมิตรจึงเป็นผู้สร้างศรัทธาให้เกิดขึ้น การจัด กรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ พระนครศรอี ยธุ ยา ผลการศึกษาพบวา่ นักเรียนชนั้ มัลติมีเดีย เป็นกิจกรรมการบูรณาการการรับรู้ของ มัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลัง นักเรียน ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนพิจารณา เรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทาง เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างใคร่ครวญด้วยปัญญา มี สถิตทิ ่ีระดับ .01 ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ยึด หลักการประเมินทักษะการคิดวิเคราะห์ของบลูม 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียน ซึ่งจําแนกลักษณะการคิดวิเคราะห์เป็น 3 ด้าน คือ ด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบโยนิโสมนสกิ าร ด้านการวิเคราะห์เนื้อหา ด้านการคิดวิเคราะห์ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและ ความสัมพันธ์ และด้านการวิเคราะห์หลักการ โดย มารยาทชาวพุทธ มีคะแนนความสามารถในการ ได้ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์แบบซ้ำ ๆ คิดวิเคราะห์เฉล่ียโดยรวมเทา่ กับ 3.67 คิดเป็นร้อย บ่อย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ที่คงทน และ ละ 73.40 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.66 ซ่ึง เป็นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แปลผลอยใู่ นระดบั ดี สอดคล้องกับผลการวิจัยของศศิวิมล อินทปัตถา (2560 : 159) ได้ศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรม ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการ การเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับการใช้ เรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดียเป็น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ สำคัญ ให้นักเรียนปฏิบัติจริง สุมน อมรวิวัฒน์ 2 ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการจัด (2530 : 82) กล่าวว่าโยนิโสมนสิการ คือ การคิด กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับการ ถูกทางหรือคิดถูกวิธี โดยกระบวนการวิเคราะห์ท่ี ใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องพุทธศาสนากับการ เป็นระบบ เป็นกระบวนการ และพิจารณาทุก ดำเนินชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา แง่มุมเพื่อเข้าใจในสิ่งที่คิด นักเรียนที่เรียนได้ฝึก ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี ทักษะการคิดวิเคราะห์ มีการตั้งคำถาม ตอบ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ระหว่างหลัง คำถาม แสดงความคิดเห็น ในการจัดกิจกรรมการ เรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี เรียนรู้ครูได้ฝึกให้นักเรียนคิดเป็น ได้คิด และทำ ระดับ .05 (p < .05) และสอดคลอ้ งกบั ผลการวิจัย กิจกรรมอื่น ๆ ทำให้นักเรียนนำวิธีคิดวิเคราะห์ไป ของพระวิญญูเถาถาวงษ์ (2553 : 121) พบว่า ใชใ้ นการเรยี นรู้ นน่ั คือ นักเรียนได้ฝึกคดิ ได้กระทำ นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ซ้ำ ๆ บ่อย ๆ ในการใช้วิธีคิดจากการเรียนทำให้ โยนิโสมนสิการมีการคิดวิเคราะห์ มีวินัยในตนเอง นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและมีความ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า คล่องแคล่วในขั้นตอนของการคิดวิเคราะห์มากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีทางจิตวิทยาของ ธอร์นไดค์ 34 | P a g e (Edward Thorndike) กล่าวว่า การเรียนรู้จะเกิด
นักเรียนที่เรียนดว้ ยการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ สามารถนำไปใช้ในสถานการณก์ ารจดั กิจกรรมการ คมู่ อื ครูอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 เรียนรู้ในรูปแบบออนไลนไ์ ด้หรอื ไม่ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียน 1.2 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ มัลติมีเดีย เรื่อง หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาว ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี พุทธ มีคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้าน 1 ครูผู้สอนควรแนะนำ ทำความเข้าใจกับนักเรียน มุ่งมั่นในการทำงานเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 3.60 คิด ให้เกิดความรู้ความเข้าใจในแต่ละขั้นตอนของการ เป็นร้อยละ 72.00 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ก่อน เพื่อจะได้ปฏิบัติตนได้ 0.92 ซง่ึ แปลผลอยู่ในระดบั ดี อย่างถูกต้องในแต่ละขั้นตอนของกิจกรรมการ เรียนรู้ ทั้งนี้อาจเนื่องจากการจัดกิจกรรมการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ 1.3 ครูผู้สอนควรสร้างบรรยากาศ ม ั ล ต ิ ม ี เ ด ี ย น ี ้ ม ี ก า ร จ ั ด ก ิ จ ก ร ร ม ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ท่ี การเรยี นรใู้ หเ้ ปน็ กันเองกบั นักเรยี น เพ่อื เปิดโอกาส หลากหลายประกอบกับจุดเน้นนักเรียนได้เรียนรู้ ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทุก ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และให้นักเรียน ขั้นตอน ปฏิบัติจริง ทำให้นักเรียนไม่รู้สึกเบื่อหน่ายนำไปสู่ การมุ่งมั่นในการทำงานสอดคล้องกับผลการวิจัย 1.4 ครูผู้สอนควรกระตุ้นให้นักเรียน ของนที ศิริจรรยาพงษ์ และคณะ (2562 : กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นออกมา บทคัดย่อ) ได้ศึกษาพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการ แม้ว่าจะเป็นความคิดเห็นที่แตกต่างกันหรือไม่ ทำงานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถูกต้อง เพื่อนำไปสู่การอภิปรายและการสรุปท่ี อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงาน ถูกต้อง เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 9 ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนมีพฤติกรรมความมุ่งมั่นในการ 2 ข้อเสนอแนะในการทำวิจยั ครง้ั ต่อไป ทำงาน ซงึ่ ประกอบไปด้วย ดา้ นการ ควบคุมตนเอง 2.1 ควรมีการนาํ แผนการเรียนรู้แบบ การได้รับแรงสนับสนุนจากโรงเรียน การได้รับแรง สนับสนุน จากผู้ปกครอง และการได้รับแรง โยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย ไปใช้ในการ สนับสนนุ จากกลุม่ เพ่อื น อย่ใู นระดับมาก พัฒนาการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมในสาระอ่นื ๆ ตอ่ ไป ขอ้ เสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไป 2.2 ควรทำการศึกษารูปแบบการ จดั การเรียนรู้แบบโยนิโสมนสกิ ารรว่ มกบั มัลติมีเดีย ใช้ประโยชน์ ให้เขา้ ใจกอ่ นทำการวจิ ัย เพ่อื ให้สามารถดำเนินการ 1.1 ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามข้นั ตอนทีถ่ ูกต้องและนำไปสเู่ ปา้ หมายท่วี างไว้ แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง หน้าท่ี 2.3 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบ ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย 1 ครูผู้สอนจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมก่อนว่า การจัดการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการร่วมกับ มัลติมีเดียกับการจัดการเรียนรู้แบบอื่น ๆ เพื่อ เปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นและตัวแปรดา้ นอ่นื ๆ 35 | P a g e
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั . _______________. (2551). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. คมสินธุ์ ต้นสีนนท์. (2561). การจัดการเรียนรู้ตามหลักโยนิโสมนสิการในรายวิชาพระพุทธศาสนา ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหอวัง ปทุมธานี ตำบลสวนพริกไทย อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนสังคมศึกษา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . ชวลิต ชูกำแพง. (2553). การวิจัยหลักสูตรและการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. นครรัฐ โชติพรม. (2562). การพัฒนาทักษะการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ในรายวิชาพระพุทธศาสนา สำหรับ นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6. Valaya Alongkorn Review. 9(2) : 111-113. นที ศิริจรรยาพงษ์ และคณะ. (2562). พฤติกรรมความมุ่งมั่นในการทำงานของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9. วารสารสังคมศาสตร์บรู ณาการ. 5(1) : 132-141. บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2564). การวัดและการประเมินผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม : ตัก สลิ า การพิมพ.์ _____________________. (2564). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9. มหาสารคาม : ตักสิลาการ พมิ พ์. ปณิสรา จันทร์ปาละ. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. พัชรี นาคผง. (2562). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้ โดยใชป้ ญั หาเป็นฐานรว่ มกบั เทคนคิ STAD. วิทยานพิ นธป์ ริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรและการนิเทศ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. พระพิทักษ์ อริยปุตฺโต (บุญทอง). (2560). การสอนแบบโยนิโสมนสิการ วิชาพระพุทธศาสนา นักเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดแม่เฉย จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการสอนสงั คมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. พระมหาธีรศักดิ์ จนฺทธมฺโม (ทับสุลิ). (2562). การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม โดยสร้างศรัทธาและวิธีการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณในยุคไทยแลนด์ 4.0 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเขาสวนกวางวิทยานุกูล จังหวัด ขอนแก่น. Journal of Buddhist Education and Research. 5(2) : 266-267. 36 | P a g e
พรรณมา ดวงบุตร. (2559). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา โดย การใช้วิธีการสอนโดยสร้างศรทั ธาและโยนิโสมนสิการของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ขยายโอกาส สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชปู ถัมภ.์ ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2556). พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2554 เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรงุ เทพฯ : ราชบัณฑติ ยสถาน ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษาฯ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม). (2564). รายงานการ ประเมนิ คุณภาพในสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2562. มหาสารคาม. รำไพร วันวานย์ และคณะ. (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพระพุทธศาสนาตามหลักโยนิโส มนสิการ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาสชิราลงกรณราชวิทยาลัย อำเภอวังน้อย จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา. วารสารสิรนิ ธรปรทิ รรศน.์ 22(1) : 125-130. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2554). การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดแบบ Backward Design. มหาสารคาม : ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม วีณา ประชากูล และประสาท เนืองเฉลิม. (2563). รูปแบบการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. ขอนแก่น : คลัง นานาวิทยา. ศศิธร เวยี งวะลยั . (2556). การจดั การเรยี นรู้ (Learning Management). กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์ ศศิวิมล อินทปตั ถา. (2560). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสกิ ารร่วมกับการใช้หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอังพึง ประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ชุมนุมการเกษตรและสหกรณแ์ หง่ ประเทศไทย จำกัด. Cassarino, C.A. (2007). The Impact of Problem-based Learning of Critical Thinking and Problem Solving Skills. Dissertation Abstracts International. Lena, C.K.&Philip, A.V. (2003). The Sternberg Triarchic Abilities Test (STAT) as a measure of academic achievement and general intelligence. Personality and Individual Differences. 35(8), 1803-1807. 37 | P a g e
การพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู้ตามแนวคดิ ของกานเยร่วมกับมัลติมเี ดีย วชิ า พระพทุ ธศาสนา เร่อื ง การบรหิ ารจติ และการเจรญิ ปญั ญา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม) (ดอกแกว้ เสริฐศร)ี
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) Development of Gagne-based learning activities with multimedia Buddhism Mental management and intellectual development Mathayomsueksa 1 , Demonstration School, Mahasarakham University (Secondary) ดอกแกว้ เสรฐิ ศร1ี , สาคร อัฒจักร2, เดชา จันทคตั 2 Chonlada Khamphaeng1, Sakorn Atthachakara2, Dacha Jantakat2 บทคดั ย่อ การศกึ ษาครัง้ น้ีมีจดุ มุ่งหมายเพ่ือ 1. เพือ่ พฒั นาประสิทธภิ าพแผนการจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ มัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ให้มีประสิทธิภาพ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง เรียนตามแนวคดิ ของกานเยรว่ มกบั มัลติมีเดีย วชิ าพระพุทธศาสนา เรือ่ งการบริหารจติ และการเจรญิ ปัญญา ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) 3. เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียนด้วยการการจัดการเรียนรู้ตาม แนวคิดของกานเยร่วมกบั มัลตมิ เี ดีย วชิ าพระพุทธศาสนา เรอ่ื งการบริหารจติ และการเจรญิ ปัญญา 4. เพอ่ื ศึกษาคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียน ดว้ ยการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวคิดของกานเยร่วมกบั มลั ตมิ ีเดีย วชิ าพระพทุ ธศาสนา เร่อื งการบริหารจิตและการเจริญปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนสาธิต มหาวทิ ยาลัย(ฝ่ายมธั ยม) จำนวน 38 คนซงึ่ ได้มาจากการสมุ่ อยา่ งงา่ ย เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัยประกอบด้วย 1) แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่อง การบริหารจิตและการเจริญปัญญาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 แผน แผนละ 2 ช่วั โมง รวม 4 ชว่ั โมง ผลจากการประเมินของผ้เู ชี่ยวชาญมีค่าเฉลย่ี รวมท่ี 4.87 2) มลั ติมเี ดีย เรอื่ ง 1 นิสติ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม 1 Student in Social Studies, Faculty of Education, Mahasarakham University 2 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2 Assistant professor Dr. Curriculum and Instruction Department, Faculty of Education Mahasarakham University 39 | P a g e
การบริหารจิตและการเจริญปัญญาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมที่ 4.73 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 25 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนกแบบอิงเกณฑ์ (S-index) ตั้งแต่ 0.21 – 0.39 ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rCC) เท่ากับ 0.46 4) แบบทดสอบวัดทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ชนิดอัตนัยจำนวน 2 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก (B) ตั้งแต่ 0.41-0.44 ความเชื่อมั่นทั้งฉบับ (rCC) เท่ากับ 0.63 5) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ ผลจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมที่ 1.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมตฐิ านโดยใช้ t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัยปรากฏดังน้ี 1. แผนการจัดการเรยี นรูต้ ามแนวคิดของกานเยรว่ มกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหาร จิตและการเจริญปัญญา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม) มี ประสทิ ธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 85.74/83.88 ซึ่งเปน็ ไปตาม เกณฑ์ 80/80 ทต่ี ง้ั ไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียนด้วย แผนการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด ของกานเยรว่ มกับมลั ติมเี ดีย มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลงั เรยี นเพ่มิ ขึน้ จากก่อนเรยี นอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียนด้วย แผนการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด ของกานเยรว่ มกับมลั ติมเี ดีย มีความสามารถในการคิดวิเคราะหใ์ นระดับดี 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียนด้วย แผนการจัดการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญปัญญา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใฝ่ เรยี นรู้ อยูใ่ นระดับดี คำสำคัญ : การจดั การเรียนรตู้ ามแนวคดิ กานเย, มลั ติมเี ดยี ABSTRACT The objectives of this study were: 1 . To develop the efficiency of Gagne's conceptual learning management plan in conjunction with multimedia. Buddhism Mental management and intellectual development of students in Mathayom 1 at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary Division) to be effective 80/80 2. To compare the learning achievement before and after studying Gagne's concept with multimedia Buddhism Mental management and intellectual development of Mathayomsueksa 1 students of Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) 3. To study the analytical thinking ability of Mathayomsueksa 1 students at Mahasarakham University Demonstration School (Secondary) who studied with learning management based on the concept of Gagne joins multimedia Buddhism Mental Management and intellectual development 4 . To study desirable 40 | P a g e
characteristics in the learning of primary school students demonstration of Mahasarakham University (Secondary Division) studying by learning management based on Kane's concept together with multimedia Buddhism Mental Management and intellectual development The sample group used in this research consisted of students in year 1/1, second semester, the academic year 2021 at Demonstration University School. (Secondary) 38 people were obtained by simple random sampling. The research tools consisted of 1 ) a plan of organized learning activities based on Gagne’s concept together with multimedia on mental management and intellectual development. The results of the research appear as follows. 1 . Gagne's conceptual learning management plan with multimedia Buddhism Mental management and intellectual development of the students in Mathayomsueksa 1 , Mahasarakham University Demonstration School (Secondary), the efficiency (E1/E2) was 85.74/83.88, which met the 80/80 criteria set. 2 . Mathayomsueksa 1 students at the Demonstration School of Mahasarakham University (Secondary) who study with the Buddhist learning management plan. Mental management and intellectual development by using Gagne's conceptual learning activities together with multimedia There was a statistically significant increase in academic achievement after school at the .05 level. 3 . Mathayomsueksa 1 students at the Demonstration School of Mahasarakham University (Secondary) who study with the Buddhist learning management plan. Mental management and intellectual development by using Kanye's conceptual learning activities together with multimedia Has a good level of analytical thinking 4 . Mathayomsueksa 1 students at the Demonstration School of Mahasarakham University (Secondary) who study with the Buddhist learning management plan. Mental management and intellectual development have desirable characteristics in learning at a good level บทนำ ไทยและเป็นพลโลกที่ยึดมั่นในการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประมุขมีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่ พุทธศักราช 2560 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็น จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและ กำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้าน การศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบน ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็น พื้นฐานความเชื่อที่ว่า ทุกคนนั้นสามารถเรียนรู้และ พลเมอื ง 41 | P a g e
พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ และสิ่งแวดล้อม ต้องใช้เทคนิคและวิธีการ และ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 3) การจัดการเรียนรู้ นักเรียนอาจมองว่าเป็นเรื่องที่ไกลตัว เทคโนโลยีสื่อ ทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคญั ผู้เรียนตอ้ งอาศัยกระบวนการ การเรียนรู้ นวัตกรรม ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอน เรียนรู้ที่หลากหลายเป็นเครื่องมือที่จะนำพาตนเอง จะต้องรู้จักเลือกจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มี ไปส่เู ปา้ หมายของหลกั สูตร อาทิ กระบวนการ เรียนรู้ ประสิทธิภาพ เทคนิคและวิธีการสอน แบบใหม่ ๆ แ บ บ บ ู ร ณ า ก า ร ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ร ้ า ง ค ว า ม รู้ เพื่อให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น โดยการจัด กระบวนการคิด กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ กิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบันส่วนใหญ่ ไม่ แก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง มุ่งเน้นที่กระบวนการฝึกให้นักเรียนคิดเป็น ทำเป็น กระบวนการปฏิบตั ิลงมอื ทำจริง กระบวนการจัดการ แก้ปัญหาเป็น และพฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรียนในทุก กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของ ๆ ด้าน ขาดการให้ความสำคัญกับตัวผู้เรียน ไม่เน้น ตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสัยกระบวนการ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จึงทำให้นักเรียนไม่เข้าใจ เหล่าน้เี ปน็ แนวทางในการจดั การเรียนรู้ท่ีผู้เรียน ควร เนื้อหาที่เรียน และส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้รับการฝึกฝนพัฒนา เพราะจะสามารถช่วยให้ ของนักเรียนครูผู้สอนส่วนใหญ่มักจะใช้วิธีการสอน ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีบรรลุเป้าหมายของ แบบบรรยาย นักเรียนส่วนใหญ่มีส่วนร่วมกับ หลักสตู ร (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 20) กิจกรรมการเรียนการสอนน้อยมาก นักเรียนไทย ส่วนมากยังขาดการพัฒนาทักษะในการคิดวิเคราะห์ ปัจจุบันการเรียนรู้การสอนวิชาสังคมศึกษา และทักษะการลงมือปฏิบัติ จากการประชุมเชิง ศาสนา และวัฒนธรรมยังประสบปัญหาสำคัญอยู่ ปฏบิ ัตริ ว่ มกันระหวา่ งสำนักวิชาการและมาตรฐาน หลายประการ โดยเฉพาะในสาระการเรียนรู้ศาสนา การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน ศีลธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระ พื้นฐาน (สพฐ.) และคณะกรรมการปฏิรูปการเรียน การเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่ง การสอนพระพุทธศาสนาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในสาระดังกล่าวยังละเลย (2561 : 1) ได้กล่าวถึงสภาพปัญหาในการเรียนการ การให้ความสำคัญกับการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ สอนพระพุทธศาสนาพบว่าการสอนวิชาพระพุทธใน กระบวนการคิด การร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน โรงเรียนส่วนใหญ่ยังประสบความล้มเหลว เพราะวิธี ทั้งในร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ซึ่งการ สอนมุ่งถ่ายทอดความรู้ โดยการบรรยายเนื้อหาตาม ได้ร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งร่างกาย หนังสือแบบเรียนแล้ววัดผลจากความรู้นั้นทำ ให้ สติปัญญาอารมณ์ และสังคมนั้นมีความสำคัญต่อการ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำเนื่องจากไม่ เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอย่างมาก และมีสัมพันธ์กับทุก สามารถจำความรู้ได้ทั้งหมดและยังขาดการคิดและ กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะเนื้อหาเกี่ยวกับ ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง พระพุทธศาสนาพบว่าการ ศาสนาสากล ซึ่งเป็นเนื้อหาที่ยาก สลับซับซ้อนต้อง สอนวิชาพระพุทธในโรงเรียนส่วนใหญ่ยังประสบ ใช้การคิดวิเคราะห์ความจำ และการตัดสินใจในการ ความล้มเหลว เพราะวิธีสอนมุ่งถ่ายทอดความรู้ โดย แก้ปัญหาต่าง ๆ ที่มีผลต่อทั้งสังคม คุณภาพชีวิต 42 | P a g e
การบรรยายเนื้อหาตามหนังสือแบบเรียนแล้ววัดผล และวัฒนธรรม อยู่ในระดับ 43.42 % ซึ่งยังต่ำกว่า จากความรนู้ ั้นทำ ใหผ้ เู้ รยี นมีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน มาตรฐาน อีกทั้งโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ต่ำเนื่องจากไม่สามารถจำความรู้ได้ทั้งหมดและยัง มหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) มีจุดที่ต้องการพัฒนาคือ ขาดการคดิ และลงมอื ปฏบิ ัตดิ ้วยตนเอง ส่งเสริมให้ครูได้พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนแบบเชิงรุก (Active Learning) จัดกิจกรรมให้ จากการสำรวจสถานศึกษาและสัมภาษณ์ ผู้เรียนมีทักษะที่สำคัญเท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงใน ค ร ู แ ล ะ น ั ก เ ร ี ย น โ ร ง เ ร ี ย น ส า ธ ิ ต ม ห า ว ิ ท ย า ลั ย ศตวรรษที่ 21 (โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลั ย มหาสารคาม(ฝ่ายมัธยม) พบว่าสภาพปัญหาการ มหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม), 2562) จัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งสาระ จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นที่ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม รายวิชาพระพุทธศาสนา ครูผู้สอนจะต้องจัดเนื้อหาและกิจกรรมให้เหมาะสม พบว่าครูผู้สอนส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการสอนแบบ กับผู้เรียนโดยมุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเห็น บรรยาย โดยยึดครูเป็นศูนย์กลาง มีการจัดกิจกรรม ความสำคัญสามารถวิเคราะห์และปฏิบัติตนตาม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมกระบวนการคิดค่อนข้างน้อย หลักการบริหารจิตและการเจริญปัญญาได้อย่าง และใช้สอื่ การเรยี นรู้ท่ไี ม่หลากหลาย ครบู างส่วนขาด ถูกต้อง ครูสังคมต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการ การศึกษา ค้นคว้า วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและ เรียนการสอนโดยยึดหลักการของการจัดการเรียน กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้นักเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จะต้องใช้ มุ่งเน้นการท่องจำเนื้อหาเพื่อใช้ในการสอบ ขาด รูปแบบกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียน กระบวนการคิดโดยเฉพาะการคิดวิเคราะห์ที่สำคัญ การสอนที่หลากหลาย งการจัดการเรียนการสอน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ ดังกล่าวควรอยู่บนพื้นฐานของการกิจกรรมการ และประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ไขสถานการณ์ปัญหา เรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นส่วนร่วมในกิจกรรมการ ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมค่อนข้างน้อย ปัญหาเหล่านี้ เรียนรู้มากที่สุด ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม ส่งผลให้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของ แนวคิดของกานเยร่วมกัยมัลตมิ ีเดยี เป็นแนวทางหนึ่ง นักเรียนในรายวิชาพระพุทธศาสนามีคุณภาพต่ำกว่า ที่จะช่วยในการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา รายวิชาอื่น ปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นเป็นปัจจัยที่ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ให้เป็นไปตาม ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน จากรายงานการ ประสงค์ เพราะการสอนแบบนี้เป็นวิธีการสอนที่เน้น ประเมินคุณภาพในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 กระบวนการคิดวิเคราะห์ การรับรู้ข้อมูลที่จะทำให้ ประเมินโดยสำนักงานรับรองมาตราฐานและประเมิน ผู้เรียนสามารถจดจำเนื้อหาได้อย่างรวดเร็วและ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการ สามารถนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ใน เรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีผลเฉลี่ย ชีวิตประจำวันได้ ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม 87.33 % และผลการสอบทดสอบระดับชาติหรือผล การทดสอบ(O-NET) ในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนา 43 | P a g e
แนวคิดของกานเยประกอบไปด้วย 9 ขั้นตอน ได้แก่ สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ให้มี ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ เป็นขั้นที่ทำให้ผู้เรียนเกิด ประสิทธิภาพ 80/80 ความสนใจในบทเรียน ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์ เป็น การบอกให้ผู้เรียนทราบถึงเป้าหมายหรือผลที่จะ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ได้รับจากการเรียนบทเรียนน้ันโดยเฉพาะ ขั้นที่ 3 ก่อนและหลังเรียนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น เป็น มัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิต การทบทวนความรู้เดิม ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่ และการเจริญปัญญา ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ เป็นการเริ่มกิจกรรมของบทเรียนใหม่ ขั้นที่ 5 ให้ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่าย แนวทางการเรียนรู้ เปน็ การช่วยใหผ้ เู้ รยี นสามารถทำ มธั ยม) กิจกรรมด้วยตัวเอง ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ เป็นการ ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ขั้นที่ 7 ให้ข้อมูลป้อนกลับ 3. เพื่อศึกษาความสามารถในการคิด เป็นขั้นที่ครูให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรม วิเคราะห์ของนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียน ข้ันที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรยี นรู้ตามจดุ ประสงค์ สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ที่เรียน ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการ ด้วยการการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย เรียนรู้ เป็นการสรุป การย้ำ ทบทวนการเรียนที่ผ่าน ร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการ มา (บุญศรี เลศิ วิรยิ จติ ต์, 2553) บริหารจิตและการเจรญิ ปญั ญา ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกใช้การจัดการเรียนรู้ 4. เพื่อศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดยี เป็นรูปแบบ ด้านใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การจัดการเรียนรู้หนึ่งที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) สาระที่นำเสนอได้อย่างดี รวดเร็วและจดจำสิ่งท่ี ที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของกานเย เรียนรู้ได้นาน กระตุ้นฝึกคิดวิเคราะห์การฝึกปฏิบัติ ร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา เรื่องการ และสือ่ การเรยี นรูท้ ห่ี ลากหลายช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ บริหารจิตและการเจรญิ ปญั ญา อยากรู้อยากเห็น สร้างความสนใจให้ผู้เรียนสนใน บทเรียน ผเู้ รยี นสามรถนความรูท้ ี่ไดจ้ ากการเรียนรใู้ ช้ สมมตฐิ านของการวจิ ัย ตอ่ ยอดการเรยี นรแู้ ละปรบั ประยุกต์ใชไ้ ดใ้ นอนาคต ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการจัดการ เรยี นรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกบั มลั ติมเี ดยี วิชา ความมงุ่ หมายวจิ ยั พระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญ 1. เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพแผนการจัดการ ปัญญา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน เรียนรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย วิชา สาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) ของ พระพุทธศาสนา เรื่องการบริหารจิตและการเจริญ นักเรยี นหลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน ปัญญา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน วธิ ีการดำเนนิ วิจยั ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 44 | P a g e
ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา บริหารจิตและและเจริญปัญญาไปประยุกต์ใช้ใน ปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคามฝ่าย ชวี ิตประจำวัน มัธยม) จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564 จำนวน 2 หอ้ งเรียน ไดแ้ ก่ นักเรียน 2. มัลติมีเดีย เรื่อง การบริหารจิตและ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/1 จำนวน 38 คน และ นักเรียน เจริญปัญญา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 จำนวน 41 คน รวมทั้งส้ิน จำนวนนักเรียน 79 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม ขอ้ มลู 3 ชนดิ คือ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษา ปีที่ 1/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ (ฝ่ายมัธยม) สังกัดงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน1 ห้องเรยี น บริหารจิตและการเจริญปัญญา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 นักเรียนจำนวน 38 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย ชนดิ ปรนัย 4 ตัวเลอื ก จำนวน 25 ขอ้ ( Simple Random Sampling) เ น ื ่ อ ง จ า ก ก ลุ่ ม ตวั อยา่ งทีเ่ ลอื กในแตล่ ะหนว่ ยมีคะแนนเฉล่ียในแต่ละ 2. แบบทดสอบวัดความสามารถ กลุ่มใกลเ้ คยี งกัน คละความสามารถทัง้ เก่ง ปานกลาง ในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนเรื่อง การบริหารจิต อ่อน และลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่เลือกเป็นไป และการเจริญปัญญาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชนิด ตามความมงุ่ หมายของการวจิ ัย อตั นยั จำนวน 2 ข้อ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยั 3. แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพึง เครื่องมือที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการ ประสงค์ด้านใฝ่เรียนรู้ หลังจากการเรียนโดยการ จัดการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเยร่วมกับ เรียนรู้ 2 ชนิด คือ มัลติมีเดีย เรื่อง การบริหารจิตและการเจริญปัญญา 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั แบบโยนิโสมนสิการ เรื่อง การบริหารจิตและเจริญ ปัญญา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 2 แผน แผนละ ผู้วิจัยได้การดำเนินการทดลองและ เ ก็ บ 2 ชว่ั โมง รวม 4 ชว่ั โมง ได้แก่ รวบรวมข้อมูล ซงึ่ ดำเนินตามขน้ั ตอน ดงั น้ี - แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 เร่อื ง การ 1. การขอหนังสืออนุญาตเพื่อเก็บข้อมูล บริหารจิตและการฝึกสมาธติ ามหลักอานาปานสติ วิจัย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฝ่ายมัธยม) นำหนังสือขอ - แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ความอนุเคราะห์เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการทำวิจัย ลกั ษณะการเจริญปัญญาและการนำหลักการ เสนอต่อผู้บริหารโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม (ฝา่ ยมธั ยม) 45 | P a g e
2. ชี้แจงจุดประสงค์ในการทดลอง และการ 2. ดำเนินการสอนโดยใช้แผนการจัดการ เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการทำวิจัยกับนักเรียนกลุ่ม เรยี นรู้ เร่อื งการบริหารจิตและการเจรญิ ปัญญา ตัวอย่าง พร้อมทั้งบอกวิธีในการวัดและประเมินผล ให้นกั เรียนทราบ 3. ดำเนินการทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังเรียน (Post-test) กับกลุ่มตัวอย่าง หลังเสร็จสิ้นการ 3. ดำเนินการทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน ทดลองโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ (Pre-test) กบั ประชากร กอ่ นการทดลอง เรยี นชุดเดียวกับการทดสอบกอ่ นการทดลอง 4. ดำเนินการทดลองโดยใช้แผนการจัดการ 4. นำข้อมูลที่ได้จากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ กิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย ทางการเรยี นมาตรวจใหค้ ะแนน และนำไปทำการ ร่วมกับมัลติมีเดีย เรื่องการบริหารจิตและการเจริญ วิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ยวธิ ีทางสถติ ติ อ่ ไป ปัญญา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ที่สร้างขึ้นกับนักเรียน ผลการวิจยั กลุม่ ตัวอย่าง จำนวน 2 แผน 1. ผลแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด 5. ดำเนินการทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังเรียน ของกานเยร่วมกับมัลติมีเดีย วิชาพระพุทธศาสนา (Post-test) กับกลุ่มตัวอย่าง หลังเสร็จสิ้นการ เรอื่ งการบริหารจิตและการเจรญิ ปัญญา ของนักเรยี น ทดลอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม(ฝา่ ยมธั ยม) ให้มปี ระสิทธิภาพ 80/80 การกระทำข้อมูลและการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ฃ 1. ดำเนินการทดสอบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน (Pre-test) กบั กลุ่มตัวอยา่ ง กอ่ นการทดลอง ตาราง 1 แสดงประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิดของกานเยร่วมกบั มลั ตมิ ีเดีย ผลการเรยี น คะแนนเตม็ ���̅��� S.D. รอ้ ยละของ คะแนนเฉล่ีย ประสิทธิภาของกระบวนการ (E1) 100 85.74 8.47 85.74 ประสทิ ธิภาของกระบวนการ (E2) 25 20.97 8.40 83.88 ประสทิ ธภิ าพของแผนการจัดการเรยี นรู้ (E1/E2) เทา่ กับ 85.74/83.88 จากตาราง 1 พบว่า ประสิทธิภาพของ 85.74 คิดเป็นร้อยละ 85.74 แสดงว่ า กระบวนการ E1 85.74 จากตาราง 1 พบว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับ คะแนนจากการแบบทดสอบ แบบฝึกหัดและการ 85.74 สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 46 | P a g e
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117