Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก

หนังสือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก

Description: การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก

Search

Read the Text Version

การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมรดกโลก รายงานว่าด้วยการคาดการณ์และการบรหิ ารจดั การ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศทีม่ ีต่อมรดกโลก และ ยุทธศาสตร์เพ่อื ชว่ ยเหลือรัฐภาคใี นการดำ� เนนิ การ ตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การท่ีเหมาะสม

ภาพปก: หมิ ะและน้ำ� แข็งบนเขาคีรีมนั จาโรในปี ค.ศ. ๑๙๙๓ และ ค.ศ. ๒๐๐๒ © NASA/Goddard Space Flight Center Scientific Visualization Studio http://visibleearth.nasa.gov/ บรรณาธกิ าร: Augustin Colette, ทป่ี รกึ ษาด้านการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ, ศนู ย์มรดกโลก ยเู นสโก ค�ำปรึกษาและผูป้ ระสานงาน: Kishore Rao, รองผู้อ�ำนวยการ, ศนู ย์มรดกโลก ยเู นสโก ดว้ ยการมสี ่วนร่วมของ: May Cassar (ศูนย์มรดกยงั่ ยนื , University College London, สหราชอาณาจกั ร) Christopher Young (มรดกแหง่ องั กฤษ, สหราชอาณาจักร) Tony Weighell (คณะกรรมการอนุรกั ษ์ธรรมชาตริ ว่ ม, สหราชอาณาจักร) ICCROM ICOMOS David Sheppard (องคก์ ารระหวา่ งประเทศเพือ่ การอนุรกั ษธ์ รรมชาติ –IUCN) Bastian Bomhard (IUCN) Pedro Rosabal (IUCN) ศนู ยม์ รดกโลก ส่ิงตีพมิ พ์นอี้ ยู่บนพน้ื ฐานของเอกสาร WHC-06/30.COM/7.1 ที่นำ� เสนอต่อทป่ี ระชมุ คณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ครัง้ ที่ ๓๐ ณ วลิ นีอสุ ประเทศลิทวั เนีย เม่อื ๘ – ๑๖ กรกฎาคม ค.ศ. ๒๐๐๖ ตพี ิมพ์ในเดอื นพฤษภาคม ค.ศ. ๒๐๐๗ โดยศนู ยม์ รดกโลก ยเู นสโก ผู้เขียนรับผิดชอบต่อแนวทางเลือกและการน�ำเสนอข้อเท็จจริงท่ีบรรจุในสิ่งตีพิมพ์ฉบับน้ีและต่อความคิดเห็นที่ปรากฏในเอกสารฉบับน้ี ซ่ึงไมจ่ �ำเปน็ ต้องถอื ว่าเปน็ ของยูเนสโกและไม่ผกู พันตอ่ องคก์ ร การเรียกช่ือทางภูมิศาสตร์และการน�ำเสนอใดๆ ในเอกสารฉบับน้ีไม่ได้สะท้อนความคิดเห็นของยูเนสโกท่ีเกี่ยวข้องกับสถานภาพตามกฎหมาย ของประเทศใด ขอบเขต หรอื พืน้ ท่ี หรอื อำ� นาจหนา้ ท่ี รวมถงึ การจำ� กดั เสน้ แนวเขตแดนใดๆ แปลและตพี ิมพ์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) โดย ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ในฐานะหนว่ ยประสานงานกลางอนุสัญญาคมุ้ ครองมรดกโลก โทร. ๐๒ ๒๖๕ ๖๕๘๕ โทรสาร. ๐๒ ๒๖๕ ๖๕๘๖ email: [email protected] การจัดพมิ พเ์ อกสารฉบับนีซ้ ้ำ� สามารถกระทำ� ได้ โดยลงแหล่งท่มี าให้เหมาะสม และส�ำเนาจะตอ้ งถูกจดั สง่ ไปยังยูเนสโกตามท่ีอยู่ด้านล่าง: World Heritage Centre สงวนลขิ สทิ ธใิ์ นประเทศไทย ตาม พ.ร.บ. ลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. ๒๕๓๗ UNESCO โดย ส�ำนกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ 7, place de Fontenoy 75352 Paris 07 SP France และส่ิงแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๗ Tel : 33 (0)1 45 68 24 96 Fax : 33 (0)1 45 68 55 70 Website: http://whc.unesco.org

อารมั ภบท อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก (ค.ศ. ๑๙๗๒) เปน็ เครอื่ งมอื หลกั ทใี่ ชเ้ พอ่ื การบง่ ชแ้ี ละปกปอ้ งมรดกทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมทโี่ ดดเดน่ ของโลก เพอื่ เปน็ ประโยชนข์ องประชาชนในรนุ่ ปจั จบุ นั และอนาคต และเพอื่ เสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในการอนรุ กั ษม์ รดกของโลกดงั กลา่ ว ในปจั จุบัน การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศได้กลายเป็นภยั คกุ คามที่รุนแรงอกี ประการหนง่ึ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการอนุรักษม์ รดกนไี้ ว้ คณะกรรมการมรดกโลกได้ตระหนักถึงภัยคุกคามชนิดใหม่น้ีและมีการตอบสนองต่อเรื่องดังกล่าว โดยในที่ประชุมครั้งท่ี ๒๙ ได้ริเริ่มการ ประเมนิ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลกและกำ� หนดการตอบสนองเพอ่ื การบรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสม ในเวลาถดั มา ได้มีการจัดประชุมผู้เช่ียวชาญในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๒๐๐๖ เพื่อเตรียมรายงานและยุทธศาสตร์เพื่อช่วยรัฐภาคีสมาชิกในการรับมือกับภัย คุกคามชนดิ น้ี และเอกสารน้ีไดร้ ับการรับรองในท่ปี ระชมุ คณะกรรมการมรดกโลก คร้งั ที่ ๓๐ ในเดอื นกรกฎาคม ค.ศ. ๒๐๐๖ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี า่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศนำ� มาซงึ่ ภยั คกุ คามตอ่ คณุ คา่ ทโี่ ดดเดน่ เปน็ สากลของแหลง่ มรดกโลกกอ่ ใหเ้ กดิ ผลสบื เนอ่ื งตอ่ อนสุ ญั ญาแหง่ ปี ค.ศ. ๑๙๗๒ บทเรยี นทไี่ ดจ้ ากการดำ� เนนิ งานในแหลง่ มรดกโลกบางแหง่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเกยี่ วโยงกนั ระหวา่ งการออกแบบ และการดำ� เนนิ งานตามมาตรการการปรบั ตวั ทเ่ี หมาะสม ควรมกี ารสง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ในการทำ� วจิ ยั ทกุ ระดบั ระหวา่ งองคก์ รทที่ ำ� งานเกยี่ วขอ้ ง กบั สภาพภมู อิ ากาศทเ่ี ปลย่ี นแปลง โดยเฉพาะในดา้ นมรดกทางวฒั นธรรมซงึ่ ตอ้ งการการมสี ว่ นรว่ มจากวงการวทิ ยาศาสตรใ์ หม้ ากยงิ่ ขนึ้ เครอื ขา่ ย ระดบั โลกของแหลง่ มรดกโลก จึงมคี วามเหมาะสมอยา่ งยิ่งยวดในการสรา้ งให้เกิดความตระหนกั และการสนบั สนุนจากภาคสาธารณะโดยการ ส่ือสารประชาสมั พนั ธ์ในหัวข้อดังกล่าว เนอ่ื งจากแหลง่ มรดกโลกเป็นสถานท่ีท่ีผ้คู นรู้จักเปน็ อย่างดี การปกป้องและการบริหารจัดการแหล่งมรดกโลกอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพเป็นความรับผิดชอบร่วมกันภายใต้อนุสัญญาฯ ดังนั้น จึงมี ความจ�ำเป็นท่ีจะต้องเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ในเร่ืองภัยคุกคามที่มาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และมาตรการใน การรบั มอื กบั ภยั ดงั กลา่ ว สง่ิ ตพี มิ พฉ์ บบั นใี้ นชดุ เอกสารมรดกโลก ประกอบดว้ ยรายงานวา่ ดว้ ย ‘การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี อ่ มรดกโลก’ และ ‘ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ ชว่ ยเหลอื รฐั ภาคใี นการดำ� เนนิ การตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การ ท่ีเหมาะสม’ ซึ่งเปน็ สว่ นหนึ่งของความพยายามในการแกไ้ ขปญั หา ศูนย์มรดกโลก ยูเนสโก มีค�ำมั่นที่จะท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย โดยรวมถึง รัฐภาคีของอนุสัญญาแห่งปี ค.ศ. ๑๙๗๒ อนุสัญญาและองค์กรระหว่างประเทศอ่ืนๆ ภาคประชาสังคม และวงการวิทยาศาสตร์ เพ่ือรับมือกับปัญหาท่ีเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ที่มตี อ่ มรดกโลกทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติอนั ทรงคณุ คา่ และบอบบาง ฟรานเชสโก บนั ดารนิ ผู้อ�ำนวยการศูนย์มรดกโลก ยูเนสโก (ค.ศ. ๒๐๐๐-๒๐๑๐) 5

ค�ำนำ� ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อพืน้ ทต่ี า่ งๆ ทั่วโลก โดยเฉพาะพืน้ ทอ่ี นรุ กั ษ์ “มรดกโลก” ซ่ึงในเวทีการประชุมคณะกรรมการมรดกโลก และคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญเร่ืองผลกระทบจาก การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศกบั แหล่งมรดกโลก ได้หยบิ ยกเรอ่ื งดังกลา่ วขนึ้ มาหารือ และศนู ยม์ รดกโลก ยเู นสโก ได้มีการจดั ท�ำเอกสารเผยแพร่รปู แบบตา่ งๆ เพือ่ สง่ เสริมใหร้ ัฐภาคีสมาชิกแหง่ อนสุ ญั ญาวา่ ด้วยการคมุ้ ครองมรดกโลก ทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติ ไดต้ ระหนกั ถงึ ผลกระทบ และเตรยี มการในการตงั้ รบั และปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง สภาพภมู ิอากาศ รวมทัง้ ได้ท�ำเอกสาร “การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมรดกโลก” และเสนอให้คณะกรรมการ มรดกโลกรับรอง ในการประชมุ สมัยสามญั คร้งั ท่ี ๓๐ ณ วลิ นีอุส ประเทศลิทวั เนยี เมอื่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ซ่งึ ตอ่ มาได้นำ� มาตีพมิ พ์ใน World Heritage reports 22 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ สำ� นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ในฐานะหน่วยประสานงานกลางอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ตระหนัก ถึงผลกระทบที่อาจเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ว่าอาจน�ำมาซึ่งภัยคุกคามต่อคุณค่าความโดดเด่น ระดบั สากลของแหลง่ มรดกทางวัฒนธรรมและทางธรรมชาติ ท่ไี ดร้ บั การขน้ึ ทะเบียนเป็นแหลง่ มรดกโลก ส�ำนักงานฯ จึงไดจ้ ัดท�ำเอกสาร “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและมรดกโลก” ฉบับภาษาไทยขึ้น โดยได้จดั สง่ เอกสารฉบับนี้ ใหศ้ ูนยม์ รดกโลก ยูเนสโก ตรวจสอบเรียบรอ้ ยแล้ว ตามเงื่อนไขของการจัดพมิ พซ์ ้ำ� ทง้ั น้ี หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ เอกสาร เผยแพร่ฉบับบน้ีจะเป็นประโยชน์กับทุกภาคส่วน ในการรับทราบท้ังในเร่ืองการคาดการณ์และการบริหารจัดการ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อมรดกโลก และยุทธศาสตร์เพื่อช่วยเหลือรัฐภาคีในการด�ำเนิน การตอบสนองด้านการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสม สำ� นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

ขอ้ กำ� หนดการเตรยี มการและการรเิ รมิ่ กระบวนการแหง่ กรอบอนุสญั ญาสหประชาชาติ วา่ ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก ขอ้ ความจากส�ำนักเลขาธกิ ารอนุสัญญา UNFCCC กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change—UNFCCC) และพิธีสารเกียวโตประกอบด้วยข้อบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรับมือกับข้อกังวลต่างๆ ของอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก ซ่ึงรวมถึงมีแนวทางสร้างความมั่นใจในด้านการปรับตัวต่อผลกระทบด้านลบของการ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศทีจ่ ะมตี ่อแหลง่ มรดกโลก วัตถุประสงค์สูงสุดของ UNFCCC คือการรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศให้คงที่ อยู่ในระดับท่ี ปลอดภัยจากการแทรกแซงของมนุษย์ท่ีเป็นอันตรายต่อระบบภูมิอากาศ ในระยะเวลาเพียงพอที่จะให้ระบบนิเวศปรับตัว โดย ไม่คุกคามต่อการผลิตอาหารของมนุษย์ และให้การพัฒนาการทางเศรษฐกิจด�ำเนินต่อไปได้ในลักษณะท่ียั่งยืน วัตถุประสงค์ ของกรอบอนุสัญญาฯ ได้รับการสนับสนุนโดยมาตราต่างๆ ที่จัดได้เป็น ๒ กลุ่มใหญ่ๆ คือกลุ่มมาตราท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรม เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และลดปัญหาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกลุ่มมาตราท่ีเก่ียวข้องกับกิจกรรมที่ ดำ� เนินการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ชมุ ชนและระบบนิเวศใหด้ ำ� รงอยไู่ ดภ้ ายใตภ้ าวะภูมอิ ากาศท่ีกำ� ลงั เปลี่ยนแปลงไป อนุสัญญานี้มีขึ้นเพ่ือให้ประเทศต่างๆ ร่วมกันด�ำเนินงานเตรียมพร้อมในการปรับตัวต่อผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ เพ่ือพัฒนาและจัดเตรียมแผนบูรณาการให้เหมาะสมส�ำหรับการบริหารจัดการพื้นท่ีชายฝั่ง ทรัพยากรน้�ำ และ การเกษตร อีกท้ังเพ่ือปกป้องและฟื้นฟูพื้นที่โดยเฉพาะในแอฟริกาที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง การกลายสภาพเป็น ทะเลทราย และอุทกภยั กรอบอนุสัญญาน้ีก�ำหนดเงื่อนไขว่า ประเทศที่พัฒนาแล้วควรช่วยเหลือประเทศก�ำลังพัฒนาที่มีความเปราะบางต่อผลด้านลบ ของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยช่วยเหลือค่าใช้จ่ายในการปรับตัวต่อผลด้านลบเหล่านั้น และกรอบอนุสัญญาฯ ยังได้รวมถึงกับความต้องการที่เฉพาะตัวของประเทศที่พัฒนาน้อยท่ีสุด (Least Developed Countries—LDCs) ในการ ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศอีกดว้ ย พิธีสารเกียวโตมีแนวทางการด�ำเนินงานรูปแบบใหม่ คือ ‘กลไกท่ียืดหยุ่น (flexibility mechanisms)’ เพื่อลดค่าใช้จ่าย โดยรวมในการบรรลุเปา้ หมายการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจก กลไกนี้มขี น้ึ เพ่อื ให้รัฐภาคีสามารถดำ� เนนิ การลดการปล่อยก๊าซ และการกำ� จัดคาร์บอนออกจากชนั้ บรรยากาศโดยใช้คา่ ใชจ้ ่ายอยา่ งคุ้มคา่ ที่สุด เพ่ือที่จะริเริ่มให้มีการด�ำเนินการตามข้อบทของ UNFCCC และพิธีสารเกียวโต รัฐภาคีได้ใช้เวลาหลายปีในการตกลงในการ ตดั สินใจจ�ำนวนมากในการด�ำเนินงานรบั มือกบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ และไดป้ ระสบผลอย่างมากมาย รัฐภาคีของ UNFCCC จะจัดท�ำ และน�ำส่งรายงานแห่งชาติที่ประกอบด้วยบัญชีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากแหล่งและ การก�ำจัดออกโดยแหล่งดูดซับโดยใช้แนวทางท่ีตกลงร่วมกัน รับรองแผนการท�ำงานในระดับประเทศเพ่ือบรรเทาปัญหา การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ พัฒนายุทธศาสตร์ปรับตัวต่อผลกระทบ ส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยีและการบริหาร ทรัพยากรอย่างย่ังยืน เพิ่มพูนแหล่งดูดซับและกักเก็บก๊าซเรือนกระจก (เช่น ป่าไม้) มากไปกว่านั้น ประเทศต่างๆ จะนำ� ประเด็นการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เข้าเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมที่เก่ียวข้อง และได้นำ� ไปผสานเขา้ กบั วทิ ยาศาสตร์ วชิ าการ และการศกึ ษา รวมถงึ การกระตุน้ ใหเ้ กิดความตระหนกั รู้ของสาธารณะ 7

สง่ิ สำ� คญั ทตี่ อ้ งกลา่ วถงึ คอื รายงานแหง่ ชาตไิ ดเ้ ปดิ โอกาสใหแ้ ตล่ ะรฐั ภาคสี อื่ สารขอ้ มลู ของตน และความพยายามในระดบั ภมู ภิ าค ที่เก่ียวข้องในการอนุวัติอนุสัญญาตามแนวทางที่ได้ตกลงกันไว้ โดยท่ีประชุมรัฐภาคีใช้ข้อมูลน้ีในการประเมินและทบทวนการ ดำ� เนนิ การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพตามอนสุ ญั ญา และประเมนิ ผลโดยรวมของกจิ กรรมทก่ี ระทำ� โดยรฐั ภาคี รายงานเหลา่ นมี้ ศี กั ยภาพและ สามารถใชเ้ พอ่ื สง่ เสรมิ ความพยายามในระดบั ประเทศ ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั โลก ทมี่ งุ่ ยกระดบั การแกไ้ ขปญั หาการเปลย่ี นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ รายงานน้ยี งั ใหข้ ้อควรพิจารณาเรือ่ งการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศส�ำหรับการวางแผนการพัฒนา การขจดั ความยากจน และการพัฒนาท่ีย่ังยืน เพื่อที่จะตอบสนองต่อความจ�ำเป็นในการประเมินผลกระทบ ความเปราะบางและการปรับตัว ส�ำนักเลขาธิการอนุสัญญา UNFCCC ได้สร้างบทย่อว่าด้วยวิธีและเคร่ืองมือส�ำหรับประเมินทางเลือกการปรับตัวและสร้างเว็บเพจเพื่ออ�ำนวยความสะดวก การเข้าถึงข้อมูลว่าด้วยวิธีการในการประเมินทางเลือกการปรับตัว อีกทั้งได้จัดการประชุมผู้เชี่ยวชาญและการประชุมเชิง ปฏิบัติการซ่ึงผู้ที่เข้าร่วมมาจากองค์กรระหว่างรัฐบาล องค์กรของสหประชาชาติและชุมชนผู้ใช้งานข้อมูล เพ่ือร่วมกันแสวง โอกาสในการมีความร่วมมอื ระหวา่ งกนั ในประเดน็ ดา้ นการถา่ ยทอดเทคโนโลยี สำ� นกั เลขาธิการอนุสัญญา UNFCCC ได้จัดเตรียมรายงานทัง้ ที่มคี วามเกี่ยวข้องโดยตรง และโดยอ้อมต่อการปรับตัว ซึ่งรวมถึงเอกสารทางวิชาการว่าด้วยเทคโนโลยีเพื่อการปรับตัวของชายฝั่งและสภาพแวดล้อมท่ี เอือ้ อำ� นวย ซึง่ อ้างอิงโดยเจาะจงไปยงั เทคโนโลยเี พอ่ื การปรับตวั ในปี ค.ศ. ๒๐๐๖ ส�ำนักเลขาธิการได้ผลิตเอกสารทางวิชาการว่าด้วยการใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมส�ำหรับการ ปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เอกสารนี้ประกอบด้วยภาพรวมขององค์ความรู้และความเข้าใจในปัจจุบันของการ ปรับตวั ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรอบการด�ำเนินงานเพื่อการประเมนิ เทคโนโลยเี พือ่ การปรบั ตัวต่อการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ กระบวนการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตัวอย่างของเทคโนโลยีท่ีส�ำคัญต่อการปรับตัวของ ๕ ภาคส่วน (พื้นท่ีชายฝั่ง ทรัพยากรน�้ำ เกษตรกรรม สาธารณสุข และ โครงสร้างพ้ืนฐาน) พร้อมด้วยกรณีศึกษา ๓ เรื่องของแต่ละภาคส่วน และการประมวลผลการค้นพบที่มีผลสืบเน่ืองถึงนโยบาย ด้านภูมิอากาศ โดยเอกสารได้ให้เหตุผลว่า เทคโนโลยีท่ีมีอยู่ในปัจจุบันจ�ำนวนมากสามารถปรับใช้ต่อภัยอันตรายที่เก่ียวข้องกับ สภาพอากาศตามธรรมชาติ และเทคโนโลยเี หลา่ น้ีมีบทบาทส�ำคัญในการลดความเปราะบางต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ อีกทัง้ ยงั มเี ทคโนโลยี ในรูปอปุ กรณ์เครื่องมือและในรูปของขอ้ มลู (Hard and soft technology) ทจี่ ะใช้เพือ่ พฒั นาขอ้ มูลและ ยกระดบั ความตระหนกั รู้ เพือ่ การวางแผนและออกแบบมาตรการด้านการปรบั ตวั เพือ่ ด�ำเนินการตามมาตรการด้านการปรับตัว และเพอ่ื ตรวจตดิ ตามและประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งาน เอกสารยงั ไดแ้ สดงถงึ ตวั อยา่ งของเทคโนโลยที ถี่ กู ใชเ้ พอ่ื ใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย เพม่ิ เตมิ จากทกี่ ล่าวขา้ งตน้ สำ� นักเลขาธกิ ารไดก้ ่อตง้ั ระบบข้อมลู ด้านเทคโนโลยี (Technology information system—TT: CLEAR) ซงึ่ ได้รวมองค์ประกอบทีเ่ กย่ี วข้องกับการปรบั ตวั รายชือ่ ศูนยด์ า้ นการปรับตวั ท่มี ีอยู่ในปจั จุบัน โครงการคน้ ควา้ เกย่ี วกบั เทคโนโลยีดา้ นการปรบั ตัว (แหล่งท่มี าหลกั คือจากรายงานแหง่ ชาตขิ องรฐั ภาคใี นภาคผนวกท่ี ๑ และนอกภาคผนวกท่ี ๑) และ ฐานข้อมูลเทคโนโลยดี า้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ส�ำนักเลขาธิการได้อ�ำนวยความสะดวกให้แก่รัฐภาคีในการด�ำเนินกิจกรรมสร้างเสริมขีดความสามารถเพื่อการประเมินความ เปราะบางและการปรบั ตวั และการดำ� เนนิ มาตรการดา้ นการปรบั ตวั ในประเทศกำ� ลงั พฒั นาและประเทศทม่ี เี ศรษฐกจิ เปลย่ี นผา่ น อีกท้ังยังมีความพยายามอ่ืนๆ อีกท่ีอยู่ระหว่างการด�ำเนินการ คือการพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลบนเว็บไซต์ (web-based information clearing house) ท่ีจะสนับสนุนการท�ำกิจกรรมเครือข่ายและหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างรัฐภาคี องค์กร ระหว่างรัฐบาล และองค์กรเอกชน และยังมีการส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการในกิจกรรมที่เกี่ยวกับ 8 การศกึ ษา การฝึกอบรม และการสร้างความตระหนักรู้ของสาธารณะ

ด้วยความตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการได้มาซ่ึงเงินทุนท่ีพอเพียงต่อการปรับตัว ที่ประชุมรัฐภาคีสมัยที่ ๗ ได้จัดต้ัง กองทุนใหม่ ๓ กองทุน คือ กองทุนพิเศษว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Special Climate Change Fund) เป็นกองทุนภายใต้ UNFCCC เพ่ือสนับสนุนกิจกรรม อาทิ การลงมือด�ำเนินกิจกรรมด้านการปรับตัวในที่ที่มีข้อมูลอยู่อย่าง เพียงพอ กองทุนส�ำหรับประเทศที่มีการพัฒนาน้อยท่ีสุด (Least Developed Countries (LDCs) Fund) ซ่ึงจะสนับสนุนการด�ำเนินงาน อาทิ การเตรียมและการด�ำเนินงานตามแผนการด�ำเนินกิจกรรมด้านการปรับตัวแห่งชาติ (national adaptation programmes of action—NAPAs) ซึง่ จะใชส้ ือ่ สารล�ำดับความสำ� คัญของกจิ กรรมเพ่ือจดั การกบั ความจ�ำเปน็ และความกังวลเร่งดว่ นและเฉพาะหน้าของประเทศ LDCs ทีเ่ ก่ียวข้องกับการปรับตวั ต่อผลกระทบด้านลบของการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่วนกองทุนทส่ี ามคอื กองทุนเพื่อการปรับตัว (Adaptation Fund) ซงึ่ ก่อตงั้ ภายใตพ้ ิธีสารเกียวโต มีเพียงกองทุนเพือ่ การปรบั ตัวน้ที ยี่ งั อยู่ระหว่างการรอให้เกิดการดำ� เนินการ กระบวนการของอนุสัญญายังได้น�ำแผนการด�ำเนินงานไนโรบี (Nairobi Work Programme—NWP) มาใช้มี วัตถุประสงค์เพ่ือช่วยเหลือรัฐภาคีโดยเฉพาะประเทศก�ำลังพัฒนาโดยรวมถึง LDCs และ SIDS ในการท�ำความเข้าใจและ ประเมินผลกระทบ ความเปราะบาง และการปรับตัว และเพ่ือให้มีการตัดสินใจบนพื้นฐานของการได้รับข้อมูล เพ่ือการท�ำ กิจกรรมด้านการปรับตัวที่เป็นไปได้จริง โดยเป็นที่คาดหวังว่า ผลลัพธ์ของแผนการด�ำเนินงาน NWP จะรวมถึง ขีดความสามารถที่เพิ่มขึ้นในทุกระดับในการเลือกและด�ำเนินกิจกรรมด้านการปรับตัวที่มีความส�ำคัญสูง ข้อมูลและค�ำแนะน�ำ ที่ดียิ่งขึ้นเพ่ือเสนอต่อ COP ความร่วมมือท่ีเพ่ิมพูนข้ึนระหว่างรัฐภาคี องค์กรท่ีเกี่ยวข้อง ภาคธุรกิจ ประชาสังคม และผู้มี อ�ำนาจตัดสินใจ การเผยแพร่ข้อมูลที่ดีขึ้น และการบูรณาการ การปรับตัวในการพัฒนาที่ยั่งยืน ประเด็นที่ NWP ให้ ความสนใจครอบคลุมถึง ข้อมูลและการสังเกตการณ์ วิธีการและเคร่ืองมือ แบบจ�ำลองทางภูมิอากาศและการลดขนาด (Downscaling) ความเสี่ยงและเหตุการณ์รุนแรงท่ีเกี่ยวข้องกับภูมิอากาศ ข้อมูลด้านสังคม-เศรษฐกิจ การวางแผนและ แนวปฏิบตั ิด้านการปรบั ตัว เทคโนโลยเี พ่อื การวจิ ยั ดา้ นการปรบั ตัว และความหลากหลายทางเศรษฐกิจ เมื่อพิจารณาข้อเท็จจริงท่ีว่ารัฐภาคีสมาชิกของอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกล้วนเป็นรัฐภาคีของ UNFCCC จึงมีความ เป็นไปไดท้ ีค่ ณะกรรมการมรดกโลกจะร่วมมือกับส�ำนกั เลขาธกิ ารอนุสญั ญา UNFCCC ด�ำเนนิ งานผ่านกจิ กรรม เช่น การนำ� เสนอ ขอ้ มลู ในการประชมุ ดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มใน NWP การสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญไดแ้ ลกเปลยี่ น มุมมองโดยใช้แนวทางภายใต้กระบวนการของ UNFCCC และสนับสนุนให้หน่วยประสานงานกลางแห่งชาติของแต่ละประเทศ ท�ำงานร่วมกันในประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คณะกรรมการมรดกโลกอาจใชป้ ระโยชนจ์ ากขอ้ มลู และผลติ ภณั ฑท์ พี่ ฒั นาโดยองคก์ รอนื่ ๆ ผา่ นกระบวนการภายใตก้ ารเปลย่ี นแปลง สภาพภูมิอากาศ ซ่ึงมีองค์กรระหว่างประเทศจ�ำนวนมากท่ีได้ท�ำงานในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศ ความเปราะบาง และการปรับตวั ถงึ แมว้ า่ จะไมใ่ ชท่ งั้ หมดท่จี ะมุง่ เนน้ ความสนใจไปยงั ขอ้ ตดั สินใจของที่ประชมุ รฐั ภาคี 9

ถอ้ ยแถลงโดย Ahmed Djoghlaf, เลขาธกิ าร อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพ กลา่ วในการประชมุ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นมรดกโลกและ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ณ ยเู นสโก ปารสี ระหวา่ งวนั ที่ ๑๖ – ๑๗ มนี าคม ค.ศ. ๒๐๐๖ ทา่ นสภุ าพสตรแี ละสุภาพบรุ ุษ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เชน่ การเพม่ิ ขนึ้ ของอณุ หภูมิ (ภาวะโลกรอ้ น) การสงู ขึ้นของระดบั น�ำ้ ทะเล การเปล่ียนแปลง การตกของฝน และการเพ่ิมข้ึนของสภาพอากาศท่ีรุนแรง เหล่าน้ีมีอิทธิพลอย่างมากต่อความหลากหลายทางชีวภาพของโลก การคน้ พบเม่อื ไม่นานมานโี้ ดยวงการวทิ ยาศาสตร์ ได้ให้ข้อเสนอแนะวา่ ภาวะโลกร้อนกอ่ ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงส�ำคญั ตอ่ การก ระจายเชิงพ้ืนท่ีของชนิดพันธุ์ ซึ่งสอดคล้องกับการพยากรณ์ที่ออกมาก่อนหน้าน้ีโดยแบบจ�ำลองทางการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ฤดูใบไม้ผลิจะมาถึงเร็วข้ึนในเขตอบอุ่น ทุกภูมิภาคจะประสบความทุกข์ยากจากผลกระทบของภาวะโลกร้อน โดยเฉพาะระบบนิเวศบอเรียลและขั้วโลก (boreal and polar ecosystems) เหตุการณ์การระบาดของแมลงศัตรูพืช โดยเฉพาะในระบบนิเวศป่าไม้มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิโดยรอบ มีการสูญพันธุ์ที่เกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ น้ี อย่างนอ้ ย ๑ ชนิดพันธุ์ คือ คางคกสที อง (golden toad) ซง่ึ ถือวา่ เป็นผลโดยตรงจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศซ่งึ เกิด ในปจั จบุ นั แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกมีผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงที่ส�ำคัญต่อพิสัยของชนิดพันธุ์ (species ranges) และ เกิดการจัดระบบใหม่อย่างชัดเจนของสังคมทางชีววิทยา ภูมิทัศน์ และชีวนิเวศในช่วงพันปีท่ีผ่านมา แต่การเปล่ียนแปลง เหล่าน้ีเกิดขึ้นในภูมิประเทศที่ไม่ได้แตกออกเป็นผืนเล็กๆ ดังเช่นทุกวันน้ี รวมท้ังมีแรงกดดันจากกิจกรรมของมนุษย์เพียง เล็กน้อยหรือไม่มีเลย ส่ิงนี้หมายความว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันที่ผนวกกับแรงกระท�ำจากน้�ำมือมนุษย์ ก�ำลังสร้างความตึงเครียดให้กับความหลากหลายทางชีวภาพ สูงเกินกว่าระดับท่ีได้เคยเกิดข้ึน ในอีกด้านหน่ึง ส่ิงน้ียังแสดงว่า ในขณะท่ีมีการหากิจกรรมท่ีมุ่งลดผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การให้ความสนใจต่อความหลากหลายทาง ชวี ภาพเป็นสง่ิ ซึ่งขาดไม่ได้ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพเป็นความกังวลหลักของอนุสัญญาว่าด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity—CBD) ในที่ประชุมสมัยท่ี ๕ ในปี ค.ศ. ๒๐๐๐ ท่ี ประชุมรัฐภาคีได้ให้ความสนใจต่อผลกระทบในด้านการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศบนบกและในทะเล ท่ีเกิดขึ้นอย่างจริงจัง รวมถึงผลกระทบต่อวิถีความเป็นอยู่ของประชาชน และได้ร้องขอให้องค์กรย่อยท่ีให้ค�ำปรึกษาในเร่ือง วิทยาศาสตร์ วิชาการ และเทคโนโลยี (Subsidiary Body on Scientific, Technical and Technological Advice— SBSTTA) ของอนสุ ัญญา ก่อตงั้ คณะผู้เช่ยี วชาญด้านเทคนิคเฉพาะกิจ ระหวา่ งปี ค.ศ. ๒๐๐๑ - ๒๐๐๓ เพือ่ ทำ� การประเมินเชิงลกึ ต่อความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างความหลากหลายทางชีวภาพและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และประเมินผล สืบเนื่องในการอนุวัติอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและพิธีสารเกียวโต หนึ่งในการค้นพบ ส�ำคัญที่ปรากฏในรายงานคือ ยังคงมีโอกาสอย่างมีนัยส�ำคัญท่ีจะบรรเทาปัญหาและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ รายงานดังกล่าวยังได้ระบุชุดเคร่ืองมือ ซึ่งรวมถึง แนวทางทางระบบนิเวศของอนุสัญญาท่ีจะช่วยผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจในการประเมินผลกระทบที่เป็นไปได้และเลือกแนวทางต่างๆ บนพ้ืนฐานของการไดร้ ับข้อมลู ในการออกแบบและด�ำเนินโครงการดา้ นการบรรเทาผลกระทบและการปรบั ตัว 10

ในการประชุมสมัยที่ ๗ ในปี ค.ศ. ๒๐๐๔ ท่ีประชุมรัฐภาคีได้ร้องขอเพิ่มเติมไปยังองค์กรย่อย SBSTTA ให้พัฒนา ข้อเสนอแนะเพ่ือส่งเสริมการประสานความร่วมมือระหว่างกิจกรรมต่างๆ ท่ีมี เพื่อรับมือกับการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในระดับประเทศ ภูมิภาค และระหว่างประเทศ รวมถึงกิจกรรมการต่อต้านการกลายสภาพเป็นทะเลทราย และความเส่ือมโทรมของท่ีดิน และกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างย่ังยืน คณะผู้เชี่ยวชาญด้านความหลากหลายทางชีวภาพและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้รับ การต่อต้ังข้ึนมาเพิ่มอีก ๑ คณะ เพ่ือท�ำการประเมินในรายละเอียดในการผสานข้อพิจารณาเรื่องความหลากหลายทาง ชีวภาพ ในการด�ำเนินกิจกรรมการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ องค์กรย่อย SBSTTA ยินดีรับรายงาน ดังกล่าวในท่ีประชุมสมัยท่ี ๑๑ เมื่อปีท่ีผ่านมา และร้องขอให้คณะผู้เช่ียวชาญลงรายละเอียดของเน้ือหาเพิ่มเติม หนึ่งในการค้นพบที่ส�ำคัญในรายงานคือ ระบบนิเวศตามธรรมชาติและระบบที่มีการจัดการ มีความสามารถในการปรับตัว ต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศด้วยตัวเองไม่เพียงพอท่ีจะชะลออัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ดังนน้ั การปรบั ตวั ท่ีมแี นวทางชัดเจนเพื่อเพ่มิ ภูมติ า้ นทานใหก้ บั ระบบนเิ วศจงึ สมควรได้รับการส่งเสริม โดยรวมแล้ว ผลการค้นพบในรายงานท้ังสองฉบับนี้ ได้ให้ข้อแนะน�ำและแนวทางในการท�ำให้ความหลากหลายทาง ชีวภาพ เป็นกระแสหลักในกิจกรรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ท้ังในระดับชีวกายภาพและในระดับเคร่ืองมือและ แนวทางปฏิบัติ ข้อมูลน้ีสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการพ้ืนที่อนุรักษ์โดยท่ัวไป และใช้กับแหล่งมรดกโลก อย่างเฉพาะเจาะจง เพ่ือที่จะบรรเทาและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส�ำนักเลขาธิการของอนุสัญญา ว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพมีหน้าท่ีเต็มท่ี ในการแสวงหาความร่วมมือกับคณะกรรมการมรดกโลกในเร่ืองนี้ โดยค�ำนึงตระหนักเสมอว่าปัญหาท่ีท้าทายคือการลดอัตราการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของโลกให้ต�่ำลง อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๐ เพอื่ เปน็ สว่ นรว่ มในการบรรเทาปญั หาความยากจนและเพอ่ื ประโยชนข์ องทกุ ชวี ติ บนโลกนี้ 11

บทสรปุ สำ� หรบั ผบู้ รหิ าร ในช่วงสองถึงสามทศวรรษท่ีผ่านมา นักวิทยาศาสตร์ได้รวบรวมหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่าภูมิอากาศของโลกเปล่ียนแปลงไป อย่างไร และกิจกรรมของมนุษย์มีบทบาทส�ำคัญอย่างไรต่อการเปลี่ยนแปลงนี้ ค�ำเตือนน้ีได้ชักน�ำองค์กรระหว่างประเทศ ทั้งใน ระดับภูมิภาคและระดับชาติ ให้พัฒนาแผนการด�ำเนินงานท่ีทุ่มเทเพ่ือการประเมินและบริหารจัดการผลกระทบจากการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (เช่น การประเมินท่ีจัดท�ำไปเมื่อไม่นานมาน้ีโดยอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ) ภายใตบ้ รบิ ทดังกลา่ วและขอ้ ตดั สินใจ 29 COM 7B.a ของคณะกรรมการมรดกโลกในปี ค.ศ. ๒๐๐๕ รายงานฉบับนซ้ี ึง่ จัดเตรียม ภายหลังจากการประชุมคณะผู้เชี่ยวชาญในเดือนมีนาคม ค.ศ. ๒๐๐๖ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือทบทวนผลกระทบท่ีส�ำคัญของการ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทจ่ี ะมตี อ่ ทรพั ยส์ นิ ของมรดกโลกและเสนอแนะมาตรการทเี่ หมาะสมทจี่ ะรบั มอื ตอ่ ผลกระทบเหลา่ นน้ั จากบันทึกในช่วงศตวรรษท่ี ๒๐ อุณหภูมิของโลกเพิ่มข้ึนในอัตราที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนและเป็นอัตราที่สูงท่ีสุดในสหัสวรรษท่ี ผ่านมา และตามรายงานของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on climate Change—IPCC) การเพิ่มข้ึนโดยส่วนใหญ่เกิดมาจากการกระท�ำของมนุษย์ การเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิ เฉล่ียผิวหน้าช้ันบรรยากาศของโลก (global average atmospheric surface temperature) มีความเกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์เรือนกระจกซึ่งเป็นผลจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกท่ีเพ่ิมขึ้น การเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิของโลกเป็นเพียงผล ต่อเนื่องประการหน่ึงของผลการกระท�ำของมนุษย์ที่มีต่อดุลยภาพของภูมิอากาศโลก ด้วยจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ การตกของฝน ความแห้งแล้ง การเกิดพายุ อุณหภูมิและการกลายเป็นกรดของมหาสมุทร การเพิ่มข้ึนของระดับน้�ำทะเล และ อื่นๆ เกิดข้ึนด้วย การพยากรณ์โดยใช้แบบจำ� ลองเชิงตัวเลข (numerical models) แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มนี้อาจเกิดข้ึน จริงในอนาคต การเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ีมีผลกระทบต่อแหล่งมรดกโลก และหากแนวโน้มได้รับการยืนยัน ผลกระทบเหล่าน้ีจะ เป็นภัยคกุ คามยงิ่ กวา่ เดิม ในสถานการณ์เช่นน้ี การอนุรักษ์แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติอาจเสี่ยงต่ออันตราย การที่มหาสมุทรมีอุณหภูมิและค่าความ เป็นกรดที่สูงข้ึนจะเป็นภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพในทะเล แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติทางทะเลหลายแหล่ง ประกอบด้วยแนวปะการังเขตร้อนท่ีมีการเปิดรับต่อปรากฏการณ์การฟอกขาวเพิ่มมากขึ้น อาจน�ำไปสู่การสูญพันธุ์ของแนว ปะการัง การเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิในชั้นบรรยากาศยังน�ำไปสู่การละลายของธารน้�ำแข็งท่ัวโลก (ท้ังในเขตภูเขาและขั้วโลก) ท้ายที่สุด ความหลากหลายทางชีวภาพบนบกอาจได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงพิสัยของชนิดพันธุ์ การเปล่ียนแปลง เวลาของวงจรทางชีววิทยา การปรับเปลยี่ นความถแี่ ละความรุนแรงของไฟปา่ การอพยพของศตั รพู ืชชนิดพนั ธ์ทุ ่ีรกุ ราน ฯลฯ แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมก็เปิดรับต่อภัยคุกคามเช่นกัน อาคารโบราณได้รับการออกแบบไว้ส�ำหรับภูมิอากาศท้องถ่ินที่ เฉพาะตัว การอพยพของศัตรูพืชอาจมีผลด้านลบต่อการอนุรักษ์มรดกท่ีสร้างไว้ การเพ่ิมขึ้นของระดับน้�ำทะเลอาจคุกคาม แหล่งมรดกที่อยู่บริเวณชายฝั่งจ�ำนวนมาก และสภาวะส�ำหรับการอนุรักษ์หลักฐานทางโบราณคดีอาจถูกท�ำให้เส่ือมโทรมไป เม่ืออุณหภูมิของดินเพ่ิมสูงขึ้น แต่นอกเหนือจากภัยคุกคามทางกายภาพเหล่านี้แล้ว การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศยังมี ผลกระทบในมิติสังคมและวัฒนธรรมด้วย โดยชุมชนได้เปล่ียนวิถีการใช้ชีวิต การท�ำงาน การบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพฤติกรรม ทางสังคม ทเ่ี กดิ ภายในอาคาร ในแหล่งมรดกและในภมู ปิ ระเทศ และชมุ ชนอาจอพยพและละทง้ิ มรดกทีไ่ ด้สร้างไว้ ข้อเท็จจริงท่ีว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศน�ำมาซึ่งภัยคุกคามต่อคุณค่าท่ีโดดเด่นเป็นสากล (outstanding universal values—OUV) ของแหล่งมรดกโลกบางแหล่ง ก่อให้เกิดผลสืบเน่ืองจ�ำนวนหน่ึงต่ออนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก ในบริบทน้ี ความเก่ียวข้องของกระบวนการภายใต้อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก เช่น การเสนอชื่อ การท�ำรายงานตามระยะเวลา 12 (periodic reporting) และการตรวจติดตาม (reactive monitoring) สมควรได้รบั การทบทวนและปรับเปลยี่ นให้เหมาะสม

ขณะน้ีเป็นเวลาที่ควรออกมาตรการท่ีเหมาะสมเพื่อการติดตามผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ ปรับตัวต่อผลด้านลบท่ีตามมา ในกรณีท่ีเลวร้ายท่ีสุด คุณค่าท่ีโดดเด่นเป็นสากลของแหล่งมรดกโลกบางแหล่งอาจ ได้รับผลกระทบในแบบท่ีไม่อาจย้อนคืนมาได้ (แม้ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นเพียงหน่ึงในหลายปัจจัยท่ีมี อิทธิพลต่อแหล่งมรดกโลก) และคณะกรรมการมรดกโลกจ�ำเป็นต้องพิจารณาผลสืบเน่ืองที่อาจตามมาภายใต้ อนุสญั ญาคุม้ ครองมรดกโลก ในระยะสั้น ควรมีการลงมือด�ำเนินการหลายอย่าง เพื่อป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อแหล่งมรดกโลก ก�ำหนดมาตรการด้านการปรับตัวท่ีเหมาะสม และยกระดับการแบ่งปันองค์ความรู้ระหว่างผู้มี ส่วนเก่ียวข้องข้อริเร่ิมเหล่านี้ควรได้รับความร่วมมืออย่างใกล้ชิดจากองค์กรที่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และ/หรือประเด็นมรดกและการอนุรักษ์ เช่น อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลาย ทางชีวภาพ แผนการด�ำเนินงานว่าด้วยมนุษย์และชีวมณฑลของยูเนสโก (UNESCO Man and the Biosphere programme) อนุสัญญาแรมซาร์ว่าด้วยพ้ืนที่ชุ่มน้�ำ (Ramsar Convention on Wetlands) และอนุสัญญาของ ยูเนสโกท่ดี ูแลมรดกทางวฒั นธรรม แผนการบริหารจัดการของทุกแหล่งมรดกโลกท่ีอาจถูกคุกคามโดยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศควรได้รับการปรับ ให้ทันสมัย เพื่อเป็นหลักประกันว่าคุณค่าที่โดดเด่นเป็นสากลเหล่าน้ันจะได้รับการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน ผลกระทบของ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อทรัพย์สินมรดกโลกต้องได้รับการประเมินโดยใช้กระบวนการตรวจติดตามและการ ประเมินความเปราะบางท่ีเหมาะสม ควรมีการเสาะหามาตรการที่มีศักยภาพเพ่ือบรรเทาผลกระทบในระดับแหล่ง มรดกและภายในเครือข่ายมรดกโลกแม้ว่าการบรรเทาปัญหาในระดับโลกและระดับรัฐภาคีเป็นหน้าท่ีของอนุสัญญา UNFCCC และพิธีสารเกียวโต ความส�ำคัญของภัยคุกคามจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแสดงให้เห็นถึงความ จ�ำเป็นในการด�ำเนินมาตรการการเตรียมพร้อมรับมือกับความเส่ียงที่ต้องถูกปรับให้เข้ากับบริบทอย่างเหมาะสม (appropriately tailored risk-preparedness measures) ในการด�ำเนินมาตรการเพ่ือการเยียวยาปัญหา บทเรียนจากแหล่งมรดกจ�ำนวนมากท่ัวโลกแสดงให้เห็นถึงความเก่ียวข้องเช่ือมโยงของการออกแบบและการด�ำเนิน มาตรการการปรับตัวที่เหมาะสม ในอดีตที่ผ่านมา ประสิทธิผลในการด�ำเนินงานเกิดขึ้นในแหล่งมรดกโลกจ�ำนวนมาก เช่น การยกระดับภูมิต้านทานของแหล่งมรดกโดยการลดการคุกคามอื่นๆ ที่ไม่เก่ียวข้องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การระบายน้�ำออกจากทะเลสาบธารน้�ำแข็งเพ่ือหลีกเลี่ยงการเกิดการระเบิดออกของน้�ำในทะเลสาบ (outburst flood) การปรับปรุงคันก้ันน�้ำเพ่ือป้องกันน�้ำท่วมชายฝั่งและสนับสนุนวิธีการดั้งเดิมในการปกป้องแหล่งมรดกจากการรุกล้�ำของทราย (sand encroachment) ในประเด็นการแบ่งปันองค์ความรู้ การวิจัยในทุกระดับควรได้รับการส่งเสริมโดยร่วมมือกับ IPCC และองค์กรอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัยทางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะส�ำหรับมรดกทางวัฒนธรรมท่ีระดับความมีส่วนร่วม ของวงการวทิ ยาศาสตรย์ งั คงมไี มส่ งู นกั เมอื่ เทยี บกบั มรดกทางธรรมชาติ การเปน็ เครอื ขา่ ยระดบั โลกของแหลง่ มรดกโลกเปน็ โอกาส ทด่ี ใี นการสรา้ งแรงสนับสนุนจากภาคสาธารณะและการเมอื ง โดยผา่ นการเผยแพรข่ ้อมูลและการส่อื สารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 13



สารบญั อารัมภบท หนา้ ๓ Francesco Bandarin ข้อความจากสำ� นกั เลขาธกิ ารอนสุ ญั ญา UNFCCC หน้า ๕ หนา้ ๘ ถ้อยแถลง โดย Ahmed Djoghlaf, เลขาธิการอนสุ ัญญา CBD หน้า ๑๐ บทสรปุ ส�ำหรบั ผบู้ ริหาร หน้า ๑๕ หน้า ๑๖ ข้อมูลภูมหิ ลัง หนา้ ๑๖ บทน�ำ หนา้ ๑๙ ภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ หน้า ๒๐ หน้า ๒๗ การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ มรดกโลก หน้า ๒๘ หน้า ๓๙ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลกทางธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรม ผลสบื เนือ่ งท่มี ตี ่ออนสุ ัญญาคุ้มครองมรดกโลก หน้า ๔๐ หน้า ๔๐ อะไรคือสิ่งทด่ี �ำเนินการได้ในเรอ่ื งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและมรดกโลก หน้า ๔๑ หนา้ ๔๑ ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ ชว่ ยเหลอื รฐั ภาคใี นการดำ� เนนิ การตอบสนอง หนา้ ๔๒ ดา้ นการบรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสม หนา้ ๔๓ บทนำ� : วตั ถุประสงคแ์ ละส่ิงทีต่ อ้ งดำ� เนินการ หน้า ๔๕ การปฏิบตั กิ ารเชิงป้องกนั หน้า ๔๖ หนา้ ๕๐ การปฏิบตั ิการเชิงแกไ้ ข: การบรหิ ารจัดการ การปรบั ตวั และการบรหิ ารจัดการความเสย่ี ง หนา้ ๕๐ การรว่ มมอื กนั การท�ำงานร่วมกัน และการแบง่ ปันแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดีเลิศและองค์ความรู้ ประเด็นทางกฎหมาย บทสรปุ และกา้ วตอ่ ไป ภาคผนวก การประชมุ ผเู้ ชยี่ วชาญของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกวา่ ดว้ ยผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก ขอ้ ตดั สินใจ 29 COM 7B.a ของคณะกรรมการมรดกโลก สมัยท่ี ๒๙ (ค.ศ. ๒๐๐๕) ข้อตดั สินใจ 30 COM 7.1 ของคณะกรรมการมรดกโลก สมัยท่ี ๓๐ (ค.ศ. ๒๐๐๖)



ขอ้ มูลภูมิหลงั ๑ อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อนญานา, สเปน © Renato Valterza

๑ ข้อมลู ภูมหิ ลัง ภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ © IPCC, 2001* บทนำ� ในปัจจุบัน วงการวิทยาศาสตร์ได้ยอมรับอย่างแพร่หลายใน การรบกวนระบบภูมอิ ากาศท่ีเกดิ จากมนุษย์ ข้อเท็จจริงที่ว่าการด�ำเนินกิจกรรมของมนุษย์มีผลกระทบต่อ โลกเป็นดาวเคราะห์ดวงหนึ่งท่ีมีประวัติการเปล่ียนแปลงของ ดลุ ยภาพอันบอบบางของภูมิอากาศของโลก การเปลยี่ นแปลง ภมู อิ ากาศอยบู่ อ่ ยครงั้ ในระหวา่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๒๐ อณุ หภมู ิ สภาพภูมิอากาศที่เกิดขึ้นได้รับการนิยามโดยอนุสัญญา ของโลกโดยเฉล่ียเพ่ิมขึน้ ๐.๖ องศาเซลเซียส โดยการเพ่มิ ขนึ้ นี้ สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (United เกดิ ขน้ึ มากทสี่ ดุ ในชว่ งหนง่ึ พนั ปหี ลงั IPCC ระบวุ า่ ‘มหี ลกั ฐานใหม่ Nations Framework Convention on Climate Change— และแนช่ ดั กวา่ เดมิ วา่ การรอ้ นขนึ้ เกอื บทง้ั หมดทส่ี งั เกตไดใ้ นชว่ ง UNFCCC) ในมาตราที่ ๑ วา่ ‘การเปลย่ี นแปลงของภมู อิ ากาศทเี่ ปน็ ๕๐ ปที ผี่ า่ นมา เปน็ ผลจากกจิ กรรมของมนษุ ย’์ กจิ กรรมตา่ งๆ ของ ผลทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจากกิจกรรมของมนุษย์ท่ีไป มนษุ ยไ์ ดน้ ำ� ไปสกู่ ารเพม่ิ ขนึ้ ของความเขม้ ขน้ ของกา๊ ซเรอื นกระจก เปลยี่ นแปลงองคป์ ระกอบของบรรยากาศของโลก และเปน็ สง่ิ ที่ ในบรรยากาศและการเปลย่ี นแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ กอ่ ใหเ้ กดิ เหนอื จากการแปรปรวนของสภาพภมู อิ ากาศตามธรรมชาตจิ ากท่ี การเพมิ่ ขน้ึ ของอณุ หภมู เิ ฉลย่ี ในชน้ั บรรยากาศของโลก อตั ราการ ไดเ้ ปรยี บเทยี บในชว่ งระยะเวลาทผ่ี า่ นมา’ UNFCCC จงึ แยกแยะ เพม่ิ ขนึ้ ของกา๊ ซเรอื นกระจกในระดบั ปจั จบุ นั เปน็ อตั ราทไี่ มเ่ คยเกดิ ความแตกตา่ งระหวา่ ง ‘การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ’ ทเ่ี กดิ ขึ้นมากอ่ นในช่วงอย่างนอ้ ย ๒๐,๐๐๐ ปีท่ีผ่านมา จากกิจกรรมของมนุษย์ที่ไปเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของ บรรยากาศ และ ‘การแปรปรวนของภูมิอากาศ’ ที่เกิดจาก อุณหภูมิท่ีผิวโลกเพิ่มข้ึนประมาณ ๐.๖ องศาเซลเซียส จากข้อมูลการวัด ธรรมชาติ การคาดการณ์และการบรหิ ารจัดการผลกระทบของ อุณหภูมิโดยตรงท่ีมีการบันทึกไว้ท้ังหมด (ค.ศ. ๑๘๖๐ – ๒๐๐๐ ในภาพบน) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีจะมีต่อมรดกโลกจึงเป็น การเพิ่มข้ึนที่ไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อน อ้างอิงจากข้อมูลอุณหภูมิตัวแทนต่างๆ (วงปี ความทา้ ทายโดยแท้ เมอ่ื พจิ ารณาความสำ� คญั ของเรอื่ งนี้ ขณะนี้ ต้นไม้ ปะการัง แกนน�้ำแข็ง และการบันทึกทางประวัติศาสตร์ท่ีได้รับการท�ำให้ ถือเปน็ เวลาท่จี ะตอ้ งเผชิญหน้ากบั ปญั หานี้ เป็นมาตรฐานกับข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาแล้ว) ส�ำหรับซีกโลกเหนือในช่วง คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ สหัสวรรษท่ีผา่ นมา (ภาพล่าง) ภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate *IPCC, 2001: Climate Change 2001: Synthesis Report. A Contribution Change—IPCC) ระบใุ นรายงานการประเมนิ ฉบบั ทสี่ าม (Third of Working Groups I, II, and III to the Third Assessment Report of the Assessment Report) วา่ ‘ระบบภมู อิ ากาศของโลกไดเ้ ปลยี่ นแปลง Intergovernmental Panel on Climate Change [Watson, R.T. and the Core ไปทงั้ ในระดบั โลกและระดบั ภมู ภิ าคอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั จากยคุ กอ่ น Writing Team (eds.)]. Cambridge University Press, Cambridge, United ปฏิวัติอุตสาหกรรม โดยการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้บางส่วนเป็น Kingdom, and New York, NY, USA, 398 pp. ผลมาจากกิจกรรมของมนุษย์’ เพื่อจ�ำกัดความกว้างขวางของ การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ การบรรเทาปญั หา (การลด แต่การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเป็นเพียงหนึ่งในหลายๆ ตัวบ่งช้ี การปล่อยและการเพ่ิมแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก) จึงมี สำ� หรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทกี่ ำ� ลงั เกดิ ขนึ้ ซงึ่ กำ� ลงั ความจ�ำเป็น และในรายงานฉบับเดียวกันยังกล่าวอีกด้วยว่า ถูกจับตาและคาดการณ์ว่าจะมีการเพ่ิมขึ้นของผลกระทบต่อ ‘การปรบั ตวั เปน็ ยทุ ธศาสตรท์ ส่ี ำ� คญั ในทกุ ระดบั เพอ่ื ทจี่ ะชว่ ยกนั มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม รวมถงึ ชนิดพันธุ์ ระบบนิเวศ และพืน้ ท่ี บรรเทาปญั หาการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ’ อนรุ กั ษท์ วั่ โลก โดยในปจั จบุ นั สามารถสมั ผสั การเปลย่ี นแปลงรปู ดงั คำ� กลา่ วของ Dr Martin Parry (ประธานรว่ มของคณะทำ� งานที่ แบบของภมู อิ ากาศในระดบั ทอ้ งถน่ิ ไดผ้ า่ นการสงั เกตการณ์ เชน่ ๒ ของ IPCC) ที่ว่า ผู้ก�ำหนดนโยบายจ�ำเป็นต้องพิจารณา ในสหราชอาณาจักร อุณหภูมทิ กี่ �ำลังสงู ขนึ้ ก่อใหเ้ กิดฝนตกมาก ด�ำเนินการอย่างทันที เนื่องจาก ประการท่ีหน่ึง เราไม่ควรรอ ข้ึนในตอนเหนือท่ีมีความชุ่มช้ืน และฝนตกน้อยลงในตอนใต้ที่ จนกระทงั่ เกดิ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตามทคี่ าดหมาย แห้งกว่า ผลที่ตามมาโดยอ้อมคือ ค่าใช้จ่ายเพื่อมหันตภัยทาง ได้เกิดขึ้นก่อนแล้วค่อยลงมือด�ำเนินการ ซ่ึงอาจจะสายเกินไป ธรรมชาตทิ เี่ กยี่ วกบั สภาพอากาศทเี่ พม่ิ ขน้ึ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ตงั้ แต่ ประการทสี่ อง การตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสม ปี ค.ศ. ๑๙๕๓ ตามขอ้ มลู จากบรษิ ัทประกันภัยทัว่ โลก ไดถ้ กู รวมอยใู่ น ‘นโยบายทที่ ำ� แลว้ ไมเ่ กดิ ผลเสยี ใดๆ (no-regret policy)’ แลว้ ตามที่ความพยายามเพอื่ ลดความเปราะบางและ เพม่ิ ภมู ติ า้ นทานของแหลง่ มรดกตอ่ แรงกดดนั และภยั คกุ คามใน รปู แบบทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ภมู อิ ากาศ จะชว่ ยลดความเปราะบางตอ่ แรงกดดนั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศดว้ ยเชน่ กนั ท้ายท่ีสุด IPCC ยืนยันข้อเท็จจริงที่ว่า ‘ผลกระทบของการ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศถกู คาดการณว์ า่ จะมอี ทิ ธพิ ลแตกตา่ ง กันทั้งภายในและระหว่างประเทศ ปัญหาในการรับมือกับการ เปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศจงึ น�ำมาซึง่ ประเด็นสำ� คัญในเรอ่ื ง 18 ของความเทา่ เทยี ม (equity)’

© IPCC, 2001 * ขอ้ มลู ภมู หิ ลงั ๑ การสูญเสียทางเศรษฐกิจจากเหตุภัยพิบัติรุนแรงทางสภาพอากาศสูงข้ึน การคาดการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ๑๐ เท่าท่ัวโลก จากช่วงทศวรรษที่ ๑๘๕๐ ถึง ๑๙๙๐ ซ่ึงเร็วกว่าที่ เปน็ การยากทจ่ี ะคาดการณใ์ หแ้ มน่ ยำ� ถงึ ขอบเขตการเพมิ่ ขน้ึ ของ สมควรเกิดจากภาวะเงินเฟ้อโดยทั่วไป สัดส่วนผู้เอาประกันของการ อุณหภูมิในอนาคต เนื่องจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ใน สูญเสียเหล่าน้ีเพ่ิมขึ้นจากแทบไม่มีเป็นร้อยละ ๒๓ ในคริสต์ทศวรรษท่ี กระบวนการนี้ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และปัจจัยทางสังคม- ๑๙๙๐ การสูญเสียในภาพรวมของเหตุการณ์ขนาดเล็กที่ไม่เกี่ยวข้องกับ เศรษฐกจิ ซงึ่ จะมผี ลกระทบตอ่ ความรนุ แรงของการเพิ่มขนึ้ ของ ภัยพิบัติทางสภาพอากาศท่ีรุนแรง (ไม่ได้แสดงในที่น้ี) เป็นไปในลักษณะ อุณหภูมใิ นอนาคตกย็ งั มีความไม่แนน่ อน และแม้ว่าการปลอ่ ย เดียวกัน ส่วนหน่ึงของแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นในการสูญเสียจากเหตุภัยพิบัติ คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ะลดลงอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ในชว่ งปขี า้ งหนา้ กจ็ ะ สภาพอากาศรุนแรงในช่วง ๕๐ ปีที่ผ่านมา มีความเชื่อมโยงกับปัจจัย ยงั คงมกี ารเพมิ่ ขน้ึ ของอณุ หภมู แิ ละระดบั นำ�้ ทะเล ซงึ่ จะสง่ ผลให้ ทางสังคม-เศรษฐกิจ (เช่น การเพ่ิมขึ้นของประชากร ความมั่งคั่งมากขึ้น เกดิ การเปลย่ี นแปลงขนาดใหญต่ อ่ รปู แบบทางภมู อิ ากาศดงั ทกี่ ลา่ ว การกลายเป็นเมืองในพื้นที่ท่ีเปราะบาง) อีกส่วนมีความเชื่อมโยงกับ ขา้ งตน้ (การตกของฝน ความเสย่ี งตอ่ ภยั แลง้ ความรนุ แรงของฝน ปัจจัยทางภูมิอากาศในระดับภูมิภาค (เช่น การเปลี่ยนแปลงการตก อทุ กภยั วาตภยั พายหุ มนุ เขตรอ้ น และอน่ื ๆ) ผลกระทบเหลา่ นจ้ี ะ ของฝน และเหตุอทุ กภยั ) ยง่ิ ทวีความรนุ แรงแมแ้ ตใ่ นกรณีทที่ ุกอยา่ งดำ� เนินไปอย่างปกติ *IPCC, 2001: Climate Change 2001: Synthesis Report. A Contribution ตัวบง่ ช้สี �ำคญั ซงึ่ ถูกใช้ในงานเขยี นทางวิทยาศาสตรเ์ พ่ืออธิบาย of Working Groups I, II, and III to the Third Assessment Report of the การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ประกอบดว้ ย องคป์ ระกอบของ Intergovernmental Panel on Climate Change [Watson, R.T. and the Core กา๊ ซเรอื นกระจก (greenhouse gas composition) (โดยเฉพาะ Writing Team (eds.)]. Cambridge University Press, Cambridge, United คาร์บอนไดออกไซด)์ อุณหภมู ิพน้ื ผิว (surface temperature) Kingdom, and New York, NY, USA, 398 pp. การตกของฝน หมิ ะ ลกู เหบ็ (precipitation) หมิ ะปกคลมุ (snow cover) น�้ำแข็งในทะเลและแม่น�้ำ ธารน�้ำแข็ง ระดับน�้ำทะเล การเปลย่ี นแปลงรปู แบบภมู อิ ากาศและการรบกวนดลุ ยภาพ ตวั แปรทางภมู อิ ากาศ (climate variability) เหตกุ ารณท์ างสภาพ ทางธรณีฟสิ กิ ส์ อากาศทร่ี นุ แรง (extreme weather events) โดยรายงานการ สืบเน่ืองจากผลท่ีตามมาจากการเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิในชั้น ประเมินของ IPCC ประกอบดว้ ยการอ้างอิงทีน่ า่ เช่อื ถือในเรือ่ ง บรรยากาศ (‘ภาวะโลกรอ้ น’) ยงั มกี ารคาดการณก์ ารเปลย่ี นแปลง ขอบเขตของการแปรผันของตัวบ่งช้ีเหล่านี้ที่เป็นผลมาจาก เพ่มิ เติมของลักษณะกายภาพทางภมู ิศาสตร์ ดงั น้ี การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ จากขอ้ มลู ขององคก์ ารสง่ิ แวดลอ้ ม • การเปลย่ี นแปลงการตกของฝน แห่งสหภาพยโุ รป (European Environment Agency) พบว่า • การเพิ่มความถ่ีของสภาวะอุ่น (warm episodes) ใน มีการเพ่ิมข้ึนของระดับความเชื่อม่ันทางวิทยาศาสตร์ใน ปรากฏการณ์เอลนีโญ-ความผันแปรของระบบอากาศในซีก ขดี ความสามารถของแบบจำ� ลองทางภมู อิ ากาศในการพยากรณ์ โลกใต้ (El Niño-Southern Oscillation—ENSO) สภาพภูมอิ ากาศในอนาคต การเปล่ยี นแปลงหลกั ที่อาจเกดิ ขน้ึ • การเปลยี่ นแปลงความถ่ี ความรนุ แรง และฤดกู าลทเ่ี กดิ ภยั พบิ ตั ิ อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเท่าท่ีมี ท่รี นุ แรง เชน่ ภัยแลง้ ไฟไหม้ ฝนตกหนัก อุทกภัย วาตภยั องคค์ วามร้ทู างวทิ ยาศาสตรใ์ นปัจจุบัน ประกอบด้วย พายุหมนุ เขตร้อน • อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ของโลกจะเพม่ิ ขนึ้ ของ ๑.๔ ถงึ ๕.๘ องศาเซลเซยี ส • การเพม่ิ ขน้ึ ของระดบั นำ้� ทะเล (เกดิ จากการลดลงของธารนำ้� แขง็ ภายในปี ค.ศ. ๒๑๐๐ (glacier retreat) การละลายของน้�ำแข็ง และการขยายตัว • วฏั จกั รนำ้� จะรนุ แรงมากยงิ่ ขน้ึ โดยมเี หตกุ ารณฝ์ นตกทร่ี นุ แรง ของ น้�ำทะเลเน่ืองจากอุณหภูมิที่สูงข้ึน) ซึ่งมีผลสืบเน่ืองที่ ยิ่งขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน ภัยแล้งจะถี่มากยิ่งข้ึนในเขต รุนแรงต่อพ้ืนท่ีชายฝั่งที่อยู่ในระดับต�่ำ (low-lying coastal ทะเลทรายและกงึ่ ทะเลทราย areas) และหมเู่ กาะ • ระดบั นำ้� ทะเลทว่ั โลกจะสงู ขน้ึ ๐.๐๙ ถงึ ๐.๘๘ เมตร ภายในปี • การเพมิ่ ขนึ้ ของระดบั คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นบรรยากาศและ ค.ศ. ๒๑๐๐ ที่ละลายอยู่ในมหาสมุทรท�ำให้เกิดภาวะความเป็นกรดของ • คล่นื ซดั ฝัง่ จะเกิดถ่ยี ิง่ ขน้ึ ในระดับทอ้ งถน่ิ น้ำ� ทะเลทเี่ พิ่มขนึ้ (marine acidification) ยงั คงมคี วามไมช่ ดั เจนถงึ ผลลพั ธร์ นุ แรงบางประเภททอี่ าจเกดิ ขนึ้ ใน อนาคต เชน่ การละลายของแผน่ นำ้� แขง็ กรนี แลนด์ (Greenland ice sheet) ในระยะยาว การพงั ทลายของแผ่นนำ�้ แขง็ ในทวีป แอนตาร์กตกิ าฝ่ังตะวนั ตก (West Antarctic ice sheet) และ การเปล่ียนแปลงกระแสน�้ำอุ่น Gulf Stream ในมหาสมุทร แอตแลนตกิ เหนอื 19

20

การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การ ๒ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู อิ ากาศท่ีมตี อ่ มรดกโลก แนวปะการังใหญเ่ กรตแบรร์ เิ ออร์รฟี , ออสเตรเลยี © GBRMPA Image collection

๒ การคาดการณ์และการบริหารจัดการผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศทีม่ ตี ่อมรดกโลก 22 ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ ผลต่อสัดส่วนและองค์ประกอบโครงสรา้ งของสงั คม: มรดกโลกทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม • การเปลยี่ นแปลงของ การมอี ย/ู่ การหายไป และความชกุ ชมุ สมั พทั ธ/์ สทุ ธิ (ความสมำ่� เสมอ/ความมากชนดิ ) (evenness/richness) ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อมรดกโลก • การเกดิ ขนึ้ ของสงั คมสงิ่ มชี วี ติ ทช่ี นดิ พนั ธอ์ุ ยรู่ ว่ มกนั ในรปู แบบใหม่ ทางธรรมชาติ ทไี่ ม่มใี นปัจจุบนั (non-analogue communities) ภาพรวมโดยย่อของผลกระทบที่สำ� คญั ผลต่อการท�ำงาน การให้บรกิ าร และสถานะของระบบนเิ วศ: การเปลยี่ นแปลงของตวั ชว้ี ดั ทางภมู อิ ากาศทรี่ ะบขุ า้ งตน้ โดยสว่ นใหญ่ • การเปลย่ี นแปลงของชพี ลกั ษณ์ (phenology) (ระยะตา่ งๆ ของ อาจมีผลในเชงิ ลบต่อคุณสมบตั ขิ องมรดกโลกทางธรรมชาติ สง่ิ มชี ีวติ เช่น การออกดอก) • การละลายของนำ�้ แขง็ ขว้ั โลก ธารนำ�้ แขง็ ชนั้ ดนิ เยอื กแขง็ คงตวั • การเปล่ียนแปลงวงจรการหมุนเวียนสารอาหารและปริมาณ (permafrost) ก้อนนำ�้ แขง็ ในทะเล ก้อนนำ้� แขง็ หมิ ะปกคลุม ทรัพยากรธรรมชาติ (เช่น น�ำ้ ) (snow cover) โดยเฉพาะในบริเวณขั้วโลกและภเู ขา • การเปลยี่ นแปลงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผลู้ า่ -เหยอ่ื ตวั เบยี น-ผใู้ ห้ • การเพม่ิ ขนึ้ ของอณุ หภมู แิ ละความเขม้ ขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ อาศยั (host) พชื -สตั วช์ ว่ ยผสมเกสร พชื -ตวั ชว่ ยกระจายพนั ธ์ุ ในบรรยากาศ ซงึ่ จะมผี ลกระทบทงั้ ทางตรงและทางออ้ มตอ่ ชนดิ • การเปลย่ี นแปลงการใหบ้ รกิ ารทางระบบนเิ วศ เชน่ การควบคมุ พันธุ์พชื และสัตว์ และจะมีผลต่อระบบนเิ วศต่อไป ศัตรพู ืช การชว่ ยผสมเกสร และการรักษาสถยี รภาพของดิน • การฟอกขาวของแนวปะการัง • การเปลยี่ นแปลงทางระบบนเิ วศทต่ี ามมาจากการเปลยี่ นแปลง • การยืดยาวออกของฤดูกาลท่ีพืชเจริญเติบโตได้ ส่งผลให้ การท�ำงานและการรบกวนระบบนิเวศ การกระจายตวั ของพชื และสตั วข์ ยบั ใกลข้ ว้ั โลกหรอื ขยบั ไปใน ผลในเรือ่ งการถูกรบกวน: ระดบั ทสี่ งู ขนึ้ จากระดบั นำ�้ ทะเลปานกลาง และเมอ่ื ประกอบกบั • การเปลยี่ นแปลงจำ� นวนครงั้ ความถี่ และฤดกู าลของการเกดิ เหตุ การเพมิ่ ขนึ้ ของอณุ หภมู แิ ละความเขม้ ขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์ ทางธรรมชาตทิ รี่ นุ แรง เช่น ไฟไหม้ น�ำ้ ทว่ ม ภาวะแล้ง ในบรรยากาศ พชื ตา่ งถนิ่ ทร่ี กุ รานจะยง่ิ มผี ลกระทบเหนอื ชนดิ พนั ธ์ุ • การเปล่ยี นแปลงการใช้ประโยชนท์ ี่ดินของมนษุ ย์ (ผนวกกับ พืน้ ถนิ่ (ดเู พมิ่ เตมิ ทบ่ี ทถดั ไปวา่ ดว้ ยเรอ่ื งระบบนเิ วศบนบก) การเปลย่ี นแปลงของโลก) • การเปลยี่ นแปลงของสดั สว่ นและองคป์ ระกอบภายในสงั คมทางชวี วทิ ยา ประเภทของระบบนเิ วศบนบกทไ่ี ดร้ บั ผลและอยใู่ นภาวะเสย่ี งประกอบดว้ ย: เนอ่ื งมาจากการเปลยี่ นแปลงพสิ ยั ของชนดิ พนั ธ์ุ(speciesrange)และ - พน้ื ทคี่ มุ้ ครองขนาดเลก็ และ/หรอื พน้ื ทคี่ มุ้ ครองทถ่ี กู แยกเดย่ี ว การสูญพันธุ์เน่อื งจากการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมิอากาศ - พ้ืนทคี่ มุ้ ครองในสภาพแวดล้อมทอ่ี ยู่ในพื้นท่สี ูง การเปลย่ี นแปลงในเชงิ กายภาพและชวี ภาพขา้ งตน้ นน้ั สง่ ผลตอ่ - พน้ื ท่ีคุ้มครองในสภาพแวดลอ้ มทีอ่ ยใู่ นพนื้ ท่ีต�ำ่ การท�ำงานของระบบนเิ วศ เชน่ วงจรการหมนุ เวยี นสารอาหาร - พน้ื ทค่ี มุ้ ครองทมี่ ชี นดิ พนั ธท์ุ หี่ ายากหรอื อยภู่ ายใตภ้ าวะคกุ คาม ผลผลติ และการใหบ้ รกิ ารทางระบบนเิ วศ ซงึ่ จะมผี ลกระทบตอ่ ความ และมีถนิ่ อาศัยทีจ่ �ำเพาะ เปน็ อยขู่ องมนษุ ยอ์ ยา่ งมนี ยั สำ� คญั ตวั อยา่ งเชน่ การเปลย่ี นแปลง - พน้ื ทคี่ มุ้ ครองทมี่ ชี นดิ พนั ธท์ุ จ่ี ำ� เพาะตอ่ แนวละตจิ ดู และระดบั ปรมิ าณนำ้� สะอาดทสี่ ามารถนำ� มาใชใ้ นกจิ กรรมตา่ งๆ ได้ ดงั นน้ั ความสงู จากระดับนำ�้ ทะเลในพน้ื ท่ีน้นั ๆ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ -สงั คม เชน่ เกษตรกรรม การประมง และ - พ้ืนท่คี ้มุ ครองท่ีมกี ารเปลีย่ นแปลงการใช้ประโยชน์ทดี่ ินอยา่ ง อตุ สาหกรรมทอ่ งเทยี่ ว ยอ่ มไดร้ บั ผลกระทบตามไปดว้ ย สดุ ทา้ ยแลว้ ฉบั พลันในพนื้ ทร่ี อบเขตพื้นท่คี ้มุ ครอง การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศจะมีปฏิสัมพันธ์กับปัจจัย - พน้ื ทค่ี มุ้ ครองทไี่ มม่ เี สน้ ทางเชอื่ มตอ่ เพอ่ื การอพยพทใี่ ชไ้ ดจ้ รงิ ขบั เคลอ่ื นทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงอน่ื ๆ เชน่ การเปลยี่ นแปลง - พนื้ ที่คมุ้ ครองที่มีชนิดพันธ์หุ ายากหรืออยภู่ ายใต้ภาวะคุกคาม การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ การเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ -สงั คม ซง่ึ จะทวี และตั้งอยูใ่ กล้ชายฝ่งั ทะเล ความรุนแรงของผลกระทบทจี่ ะมตี ่อมนุษย์และสงิ่ แวดลอ้ ม - พื้นที่คมุ้ ครองท่ปี ระกอบด้วยพน้ื ท่ีช่มุ นำ้� ผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพบนบก ตวั อยา่ งของผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะมผี ลในวงกวา้ งตอ่ ชวี นเิ วศ ใน ความหลากหลายทางชวี ภาพบนบก แสดงไวใ้ นกลอ่ งขอ้ ความที่ ๑ ประเดน็ ความหลากหลายทางชวี ภาพบนบก ผลกระทบทส่ี ำ� คญั มดี งั น้ี และกลอ่ งขอ้ ความที่ ๒ ในหนา้ ๒๑ สำ� หรบั แหลง่ มรดกโลกอทุ ยาน ผลต่อการกระจายของชนิดพนั ธ:์ุ แหง่ ชาติดอนญานา (Doñana National Park) ประเทศสเปน • ชนดิ พนั ธแ์ุ ตล่ ะชนดิ มกี ารตอบสนองในทศิ ทางแนวเหนอื ใตแ้ ละ และเขตพชื เคป (Cape Floral Region) ประเทศแอฟรกิ าใต้ ความสงู เหนอื ระดบั น้ำ� ทะเล • ชนดิ พนั ธแ์ุ ตล่ ะชนดิ มกี ารตอบสนองตอ่ สภาวะการเพมิ่ ขนึ้ ของ กล่องข้อความท่ี ๑ ความอบอุน่ /ความเย็น และความแห้งแลง้ /ความชน้ื ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ี • ความแปรปรวนทางภมู ศิ าสตรใ์ นระดบั การตอบสนองของแตล่ ะ อาจมีต่ออุทยานแห่งชาตดิ อนญานา (สเปน)๑ ชนิดพนั ธท์ุ ตี่ อบสนองตอ่ สภาวะทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป • พสิ ยั ของชนดิ พนั ธเ์ุ ปลย่ี นแปลงไป/สญู หายไป เนอื่ งจากขอบเขตพนื้ ที่ อุทยานแห่งชาติดอนญานาและแหล่งมรดกโลกทางตอนใต้ ทสี่ ง่ิ มชี วี ติ จะดำ� รงชพี ไดเ้ กดิ การการขยาย หดตวั และถกู กำ� จดั ไป ของประเทศสเปน เปน็ พนื้ ทเี่ พอื่ การอนรุ กั ษท์ ม่ี ขี นาดใหญแ่ ละ • เปลย่ี นแปลงพสิ ยั ของชนดิ พนั ธท์ุ ส่ี มั พนั ธก์ บั เขตอนรุ กั ษ์ (reserve เบ็ดเสรจ็ ทส่ี ุดใน Iberia ครอบคลมุ พน้ื ที่ ๕๐,๐๐๐ เฮกแตร์ boundaries) การสญู หาย/เพม่ิ ขน้ึ ของชนดิ พนั ธใ์ุ นเขตอนรุ กั ษ์ • การสญู หายของชนดิ พนั ธใ์ุ นระดบั ทอ้ งถน่ิ ภมู ภิ าค และระดบั โลก ๑. Hulme and Sheard, 1999. Climate Change Scenarios for the Iberian ทเ่ี นอ่ื งมาจากปัจจัยแวดลอ้ มท่ีเปลี่ยนแปลงไป Peninsula. Climatic Research Unit, Norwich. • การอพยพของชนิดพนั ธต์ุ า่ งถิ่นที่รกุ ราน และ/หรือของจุลชพี Online: www.cru.uea.ac.uk/~mikeh/research/wwf.iberia.pdf. ก่อโรคและปรสิต

การคาดการณ์และการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศทมี่ ตี ่อมรดกโลก ๒ การแหง้ ลงของพน้ื ทช่ี มุ่ นำ้� ในอทุ ยานทเ่ี ปน็ ผลมาจากการใชน้ ำ�้ ทเี่ พมิ่ จากการศึกษาแบบจ�ำลองทางชีวภูมิอากาศ ท�ำให้ได้มา 23 ขนึ้ สง่ ผลใหเ้ กดิ การหายไปของชนดิ พนั ธพ์ุ ชื ประมาณ ๑๐๐ ชนดิ ซ่ึงการประเมินความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างไรก็ดี ในชว่ ง ๘๐ ปที ผ่ี า่ นมา และมกี ารคาดการณว์ า่ พนื้ ทชี่ มุ่ นำ�้ ในภมู ภิ าคนี้ ยังคงมีองค์ความรู้ท่ีส�ำคัญที่ยังคงขาดหายไป ซึ่งต้องศึกษา จะมกี ารแหง้ ลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ประกอบกบั การเพมิ่ ขน้ึ ของอณุ หภมู ิ โดยการทดลองและสงั เกตการณ์ ระหวา่ ง ๑.๔ – ๓.๘ องศาเซลเซยี ส และการลดลงของปรมิ าณฝน การมงุ่ วจิ ยั เฉพาะทาง การพฒั นาระบบตดิ ตามตรวจสอบ และ หมิ ะ และลกู เหบ็ ระหวา่ งรอ้ ยละ ๕ – ๑๐ ภายในชว่ งปี ค.ศ. ๒๐๕๐ การมสี ว่ นรว่ มของภาคสาธารณะ อาจเปน็ กลยทุ ธในดำ� เนนิ การ อทุ ยานดงั กลา่ ว เปน็ แหลง่ อาศยั ของนกทอ้ งถน่ิ และนกอพยพ ท่ีส�ำคญั การวางแผนการอนรุ ักษค์ วรสอดแทรกการประเมนิ อยา่ งนอ้ ย ๓๖๕ ชนดิ โดยเปน็ ถนิ่ อาศยั ในฤดหู นาวทเี่ หมาะสม ความเสย่ี งทางภมู อิ ากาศ และมกี ารประสานความรว่ มมอื ระดบั สำ� หรับนกอพยพจ�ำพวกห่านเทาปากชมพู (greylag goose) ภมู ภิ าค เพอ่ื การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และประเมนิ ความเสย่ี งเกย่ี วกบั และนกเปด็ นำ�้ ซง่ึ จะหยดุ พกั ทอี่ ทุ ยานระหวา่ งการบนิ อพยพตาม การสญู เสยี ความหลายหลายทางชวี ภาพ นอกจากนนั้ การจดั ทำ� ให้ เสน้ ทางจากยโุ รปตะวนั ตกไปยงั แอฟรกิ าตะวนั ตก อกี ทงั้ ยงั เปน็ มลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศทหี่ ลากหลายและการเชอื่ มโยงพนื้ ทอี่ นรุ กั ษ์ แหล่งวางไข่ส�ำหรบั นกจากแอฟรกิ าและแถบเมดิเตอเรเนียน เขา้ ดว้ ยกนั โดยการสรา้ งระเบยี งการอพยพ เปน็ สว่ นสำ� คญั ทจ่ี ะชว่ ย เชน่ นกปากชอ้ น (spoonbill) นอกจากนี้ พน้ื ทอี่ ทุ ยานยงั เปน็ แหลง่ ก�ำจัดหรือลดปัจจัยจ�ำกัดอื่นๆ ของระบบนิเวศ และเป็น อาหารสำ� หรบั นกฟลามงิ โก (greater flamingo) เกอื บ 20,000 ตวั การเสริมสร้างการเตรียมความพร้อมของระบบนิเวศ จงึ กลา่ วไดว้ า่ อทุ ยานแหง่ ชาตดิ อนญานาเปน็ พน้ื ทท่ี มี่ คี วามสำ� คญั ในการรองรับความเสยี่ ง โดยเฉพาะความเสย่ี งจากอัคคีภยั มากท่ีสุดส�ำหรับนกอพยพในช่วงฤดูหนาวของประเทศสเปน ภยั แลง้ ในระหวา่ งฤดหู นาวทเี่ กดิ ในชว่ งทศวรรษที่๑๙๙๐ไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศภูเขา ผลกระทบทร่ี นุ แรงในพนื้ ทน่ี ้ี เหตกุ ารณใ์ นลกั ษณะดงั กลา่ วมแี นวโนม้ การเพิ่มข้ึนของอุณหภูมิในบรรยากาศเป็นสาเหตุท�ำให้เกิด ทจี่ ะเกดิ อยา่ งรนุ แรงขน้ึ ในอนาคตตราบทภี่ มู อิ ากาศทางตอนใตข้ อง การละลายของธารนำ�้ แข็งทัว่ โลก จากการสังเกต พบการลดลง สเปนยงั คงมลี กั ษณะแหง้ อทุ ยานนต้ี ง้ั อยใู่ นพน้ื ทที่ ม่ี คี วามสงู เทยี บเทา่ ของธารนำ�้ แขง็ บนภเู ขาอยา่ งแพรห่ ลายและธารนำ�้ แขง็ จำ� นวนมาก ระดบั นำ้� ทะเลจนถงึ ทคี่ วามสงู ๔๐ เมตรจากระดบั นำ้� ทะเล โดยนำ�้ กำ� ลงั ละลาย และในจำ� นวนนนั้ มหี ลายแหลง่ ทไี่ ดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี น ทะเลในภมู ภิ าคน้ี ไดส้ งู ขนึ้ ประมาณ ๒๐ เซนตเิ มตรในชว่ งศตวรรษ เปน็ แหลง่ มรดกโลก การละลายของธารนำ้� แขง็ สง่ ผลอยา่ งชดั เจน ทีผ่ ่านมา การสงู ขึน้ ของระดบั นำ้� ทะเลในอนาคต จะส่งผลให้ ตอ่ คณุ คา่ แหง่ ความสวยงามของแหลง่ มรดกโลก แตม่ ากไปกวา่ นน้ั พน้ื ทชี่ มุ่ นำ�้ ทย่ี งั เหลอื จะจมอยภู่ ายใตน้ ำ้� เคม็ ซงึ่ จะเปน็ ภยั คกุ คาม การเปลยี่ นแปลงนย้ี งั สง่ ผลตอ่ ระบบนเิ วศโดยรอบอกี ดว้ ย กลา่ วคอื : ตอ่ การอยรู่ อดของถนิ่ อาศยั ของนกอพยพทสี่ ำ� คญั แหง่ นี้ กรณเี หลา่ นี้ • การละลายของธารนำ�้ แขง็ นำ� มาซง่ึ การกอ่ ตวั ของทะเลสาบ (Glacier ชใี้ หเ้ หน็ วา่ ระดบั นำ้� ทะเลจะสงู ขน้ึ อยใู่ นชว่ ง ๒๐ – ๑๑๐ เซนตเิ มตร lakes) ตลงิ่ ของทะเลสาบเหลา่ นเี้ กดิ จากกองตะกอนธารนำ�้ แขง็ ภายในช่วงปลายของคริสตศ์ ตวรรษหน้า (moraines) ทอี่ าจพงั ทลายลงหากระดบั นำ้� ในทะเลสาบขน้ึ สงู และ อาจน�ำไปสู่การท่วมทะลักของน�้ำไปยังหุบเขาอย่างฉับพลัน กล่องขอ้ ความท่ี ๒ การทว่ มในลกั ษณะนจ้ี ะมผี ลเสยี อยา่ งรา้ ยแรงตอ่ ประชากรและ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ทอ่ี าจมี ความหลากหลายทางชีวภาพของส่ิงมีชีวิตในพื้นที่ท้ังหมด ตอ่ เขตพืชเคป (แอฟริกาใต)้ ๒ อย่างไรก็ตาม ภัยพิบัติชนิดฉับพลันนี้อาจป้องกันได้โดยการ ระบายนำ้� ออกจากทะเลสาบเพอื่ ปอ้ งกนั การเกดิ นำ้� ทะลกั ทว่ ม แหลง่ มรดกโลกเขตพชื เคป ประกอบดว้ ยพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ ๘ แหง่ ฉบั พลนั (Outburst flood) ครอบคลมุ พน้ื ที่ ๕๕๓,๐๐๐ เฮกแตร์ และมลี กั ษณะเฉพาะคอื มี • การละลายทเ่ี กดิ ขนึ้ ประจำ� ปขี องธารนำ�้ แขง็ บนภเู ขาเปน็ ปจั จยั ความหลากหลายของพชื ทโ่ี ดดเดน่ อกี ทง้ั มพี ชื อยอู่ ยา่ งหนาแนน่ ขบั เคลอื่ นวฏั จกั รของนำ้� ของทงั้ ภมู ภิ าค แตเ่ มอ่ื ปรมิ าณนำ้� แขง็ และมลี กั ษณะเปน็ พชื เฉพาะถน่ิ จากการทดลองสงั เกตและคาดการณ์ ลดลง สง่ ผลใหเ้ กดิ นำ�้ ทว่ มในระยะแรกและในระยะเวลาตอ่ มา พบว่า การเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศจะเป็นภัยคุกคาม ปรมิ าณนำ�้ จะหมดไป นำ� ไปสภู่ าวะอดอยากและโรคระบาด ท่ีสำ� คญั ของความหลากหลายของชนิดพันธพุ์ ชื ในอีก ๕๐ ถงึ ภยั คกุ คามของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ ระบบนเิ วศ ๑๐๐ ปขี า้ งหนา้ อกี ทงั้ อาจมกี ารเปลย่ี นแปลงของความชน้ื ในดนิ บนบก ก็เกิดต่อระบบนิเวศบนภูเขาเช่นกัน มีการสังเกตพบ และลักษณะการตกของฝนในฤดหู นาวซ่ึงจะสง่ ผลใหร้ ูปแบบ การเปล่ียนแปลงแนวเส้นทีต่ ้นไมจ้ ะเจริญเตบิ โตได้ (tree-line) การกระจายของชนดิ พนั ธเ์ุ ปลย่ี นไป การเปลยี่ นแปลงเหลา่ นจ้ี ะ บนระบบนิเวศภูเขา กลไกการเปล่ยี นแปลงน้เี ปน็ ปัจจยั คุกคาม กระทบตอ่ ชนดิ พนั ธข์ุ องสงิ่ มชี วี ติ ในพน้ื ทซี่ งึ่ เปน็ ชนดิ ทหี่ ายาก ทส่ี ำ� คัญต่อสง่ิ มีชีวติ บนภูเขาหลายชนิด และมขี อ้ จำ� กดั ในเรอื่ งการกระจายพนั ธ์ุ และจะกระทบตอ่ ชนดิ พนั ธ์ุ ตวั อยา่ งทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพ ของสงิ่ มชี วี ติ ในพน้ื ทชี่ มุ่ นำ้� ทมี่ คี วามออ่ นไหวตอ่ สภาพอากาศ โดย ภมู อิ ากาศตอ่ ภเู ขาธารนำ้� แขง็ ปรากฏตามกลอ่ งขอ้ ความท่ี ๓ และ ชนดิ พนั ธเ์ุ หลา่ นี้ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของเขตพชื นี้ การเปลยี่ นแปลง กลอ่ งขอ้ ความท่ี ๔ หนา้ ท่ี ๒๒ สำ� หรบั แหลง่ มรดกโลกอทุ ยานแหง่ ชาติ สภาพภมู อิ ากาศอาจกอ่ ใหเ้ กดิ การลม้ ตายของสง่ิ มชี วี ติ เนอ่ื งจากภยั สคารมถะ (Sagarmatha National Park) ประเทศเนปาลและอทุ ยาน แลง้ การทำ� ลายรปู แบบการพง่ึ พาอาศยั ของสงิ่ มชี วี ติ ทมี่ ลี กั ษณะ แห่งชาตวิ าสการาน (Huascarán National Park) ประเทศเปรู เฉพาะ และการกระตุ้นกระบวนการก่อกวนระบบนเิ วศ เชน่ การเกดิ ไฟปา่ สง่ิ เหลา่ นส้ี ง่ ผลดา้ นลบตอ่ คณุ คา่ ของแหลง่ มรดกโลก ๒. Bomhard & Midgley, 2005. Securing Protected Areas in the Face of ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทกี่ ำ� ลงั ปรากฏ Global Change: Lessons Learned from the South African Cape เดน่ ชดั มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ คอื ผลตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพของ Floristic Region. A Report by the Ecosystems, Protected Areas, and เขตพชื และยงั คาดว่าจะมี ผลกระทบด้านอ่ืนๆ เกิดขนึ้ ตอ่ ไป People Project. IUCN, Bangkok and SANBI, Cape Town. Online: www.iucn.org/themes/wcpa/pubs/theme.htm#climate.

๒ การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่ีมีตอ่ มรดกโลก 24 กล่องข้อความที่ ๓ กล่องข้อความที่ ๕ ผลกระทบทส่ี ำ� คญั ของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ท่ีมตี ่ออทุ ยานแห่งชาติสคารมถะ (เนปาล)๓ ทอ่ี าจมตี อ่ แนวปะการงั ใหญเ่ กรตแบรร์ เิ ออรร์ ฟี (Great Barrier Reef—GBR) (ออสเตรเลยี )๕ ในสคารมถะ ประเทศเนปาล อุณหภูมิท่ีสูงขึ้น ๑ องศา เซลเซยี สตง้ั แตค่ รสิ ตท์ ศวรรษที่ ๑๙๗๐ นำ� ไปสกู่ ารลดลงของ เกรตแบรร์ เิ ออรร์ ฟี เปน็ ระบบนเิ วศปะการงั ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ ในโลก น้�ำแข็งและหิมะปกคลุมถึงร้อยละ ๓๐ เมื่อเทียบกับช่วง (เป็นแนวยาว ๒,๑๐๐ กโิ ลเมตร ครอบคลุมพนื้ ที่ ๓๔๔,๔๐๐ เดียวกัน และปรากฏทะเลสาบข้ึนมาทดแทนธารน้�ำแข็งสูง ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดว้ ยแนวปะการงั ประมาณ ๒,๙๐๐ แนว) ๔,๐๐๐ เมตรบนเขาเอเวอร์เรส มีการเกิดน้�ำทะลักท่วม และยังเป็นระบบนิเวศท่ีมีความหลากหลายมากท่ีสุดในโลก ฉับพลันจากน�้ำในทะเลสาบถ่ีย่ิงขึ้น เกิดเป็นความเสี่ยงต่อ (ประกอบดว้ ยปลาประมาณ ๑,๕๐๐ ชนดิ ปะการงั อกี ๔๐๐ ชนดิ ประชาชนและมผี ลเชอื่ มโยงไปถงึ ปรมิ าณนำ้� สำ� หรบั เอเชยี ใต้ และหอยชนดิ ตา่ งๆ กวา่ หนง่ึ พนั ชนดิ ) และมคี ณุ สมบตั ใิ นการเปน็ และการไหลของแมน่ ำ้� สายสำ� คญั เชน่ แมน่ ำ�้ คงคา แมน่ ำ้� สนิ ธุ แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตคิ รบถว้ นทง้ั ๔ หลกั เกณฑ์ โดยมี และแม่น้ำ� พรหมบตุ ร สำ� นกั งานอทุ ยานทางทะเลเกรทแบรร์ เิ ออรร์ ฟี (GBR Marine Park Authority) เปน็ หนว่ ยงานรฐั บาลออสเตรเลยี ทมี่ หี นา้ ทดี่ แู ล กลอ่ งข้อความท่ี ๔ แหลง่ มรดกโลกแหง่ นมี้ กี ารจดั สรรเปน็ หลายบรเิ วณเพอื่ ควบคมุ ผลกระทบทีส่ ำ� คัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ระดบั การอนญุ าตใหท้ ำ� กจิ กรรมทแี่ ตกตา่ งกนั ความยงั่ ยนื ของแหลง่ ภมู อิ ากาศ ทมี่ ตี อ่ อทุ ยานแหง่ ชาตวิ าสการาน (เปร)ู ๔ มรดกโลกแหง่ นมี้ คี วามเปราะบางตอ่ การเปลยี่ นแปลงปจั จยั ทาง ภมู อิ ากาศตา่ งๆ เชน่ การสงู ขน้ึ ของระดบั นำ�้ ทะเล การเพมิ่ ขน้ึ ของ มกี ารศกึ ษาและเฝา้ ระวงั ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพ อณุ หภมู นิ ำ้� ทะเล ความถแี่ ละความรนุ แรงของการเกดิ พายุ ปรมิ าณ ภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ อทุ ยานแหง่ ชาตวิ าสการาน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ นำ�้ จากฝน หมิ ะ ลกู เหบ็ ความแหง้ แลง้ การชะลา้ งนำ�้ จากแผน่ ดนิ การเรง่ การละลายของธารนำ�้ แขง็ มผี ลทำ� ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลง การไหลเวยี นของมหาสมทุ รทเี่ ปลยี่ นไป และภาวะความเปน็ กรดใน ดา้ นคณุ ภาพและปรมิ าณของนำ�้ ทไี่ หลมาจากภเู ขา อกี ทง้ั ยงั มผี ล มหาสมทุ ร สงิ่ ทน่ี า่ กงั วลคอื ผลทเ่ี กดิ อยา่ งฉบั พลนั และคอ่ ยเปน็ ทำ� ใหม้ คี วามเสย่ี งสงู ขน้ึ ในการเกดิ ดนิ ถลม่ และนำ�้ ทว่ มฉบั พลนั คอ่ ยไปของการฟอกขาวของปะการงั ซงึ่ เกดิ ขนึ้ เมอื่ แนวปะการงั และการอพยพยา้ ยถน่ิ ของสงิ่ มชี วี ติ บางชนดิ ไปยงั พน้ื ทท่ี สี่ งู ขน้ึ เผชญิ กบั อณุ หภมู ขิ องนำ้� ทส่ี งู ขน้ึ จากระดบั ปกติ ประการสำ� คญั ท่ี การเกดิ นำ�้ ทว่ มฉบั พลนั ในพน้ื ทอ่ี ทุ ยานแหง่ ชาตวิ าสการานเปน็ ภยั ตอ้ งตระหนกั คอื ปรากฏการณฟ์ อกขาวของปะการงั เปน็ ภยั คกุ คาม คุกคามต่อแหล่งโบราณคดีชาวิน (Chavin) ซึ่งเป็นแหล่ง หลกั ของแนวปะการงั ทกุ แหง่ และเปน็ ภยั คกุ คามทไี่ มส่ ามารถ มรดกโลกทางวฒั นธรรมทอี่ ยใู่ กลเ้ คยี ง ทงั้ นี้ ยงั คงไมม่ กี ารยนื ยนั ถงึ จัดการไดภ้ ายในระยะสัน้ หรอื ระยะกลาง๖ ผลกระทบอื่นๆ ท่อี าจเกดิ ขึ้น เช่น การหายไปของส่งิ มีชวี ิต ในปี ค.ศ. ๑๙๙๘ และ ๒๐๐๒ เกดิ ปรากฏการณป์ ะการงั ฟอกขาวครง้ั ทอ้ งถน่ิ บางชนดิ แรงกดดนั ทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ตอ่ ทรพั ยากรภายในอทุ ยาน ใหญใ่ นภมู ภิ าคนี้ในปีค.ศ.๒๐๐๒พบวา่ มปี ะการงั ไดร้ บั ผลกระทบถงึ และการเปลย่ี นแปลงรปู แบบการเกดิ ฝน อยา่ งไรกด็ ี มปี ระชากร รอ้ ยละ ๖๐ ถงึ รอ้ ยละ ๙๕ โดยปะการงั ในแนวปะการงั สว่ นใหญม่ ี จำ� นวนสองลา้ นคนทพี่ ง่ึ พาทรพั ยากรนำ�้ จากอทุ ยานแหง่ ชาติ การฟน้ื ตวั ในระดบั ดี มแี นวปะการงั เพยี งสว่ นนอ้ ย (ตำ่� กวา่ รอ้ ยละ ๕) แหง่ นี้ และความตอ้ งการนำ�้ กม็ เี พม่ิ ขน้ึ แนวทางแกไ้ ขปญั หาท่ี มอี ตั ราการตายสงู คอื มกี ารสญู เสยี ปะการงั ไปรอ้ ยละ๕๐ถงึ ๘๐ของ เป็นไปได้ เช่น การเสริมความแข็งแกร่งให้แก่อุทยาน ปะการงั ทงั้ หมดในแนวปะการงั ในเรอื่ งแนวทางการตอบสนอง ไดม้ ี การสรา้ งความรว่ มมอื ระหวา่ งภาคสาธารณะและภาคเอกชนผา่ น การพฒั นาแผนการดำ� เนนิ งานตอบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพ คณะทำ� งานวาสการาน และดำ� เนนิ โครงการทจี่ ำ� เพาะทเี่ กย่ี วขอ้ ง ภมู อิ ากาศ(ค.ศ.๒๐๐๔-๒๐๐๘)เพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจและตอบสนองตอ่ กบั การศกึ ษาและวจิ ยั ดา้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภยั คกุ คามของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และเพอื่ เตรยี มการ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศทางทะเล จดั ทำ� แผนงานประจำ� ปี เพอ่ื ตอบสนองตอ่ การฟอกขาวของปะการงั อุณหภูมิของมหาสมุทรที่สูงขึ้นเป็นภัยคุกคามต่อสิ่งมีชีวิต และแผนปฏบิ ตั กิ ารการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ โดยแผนการ ทางทะเลหลายชนดิ เชน่ แนวปะการงั ทมี่ กั ดำ� รงชวี ติ อยใู่ นชว่ งใกล้ ตอบสนองตอ่ การฟอกขาวของปะการงั มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ตรวจสอบ กบั ขดี จำ� กดั ดา้ นอณุ หภมู สิ งู สดุ ทจ่ี ะอยไู่ ด้ แนวปะการงั หลายแนว และตรวจวดั การฟอกขาวและผลกระทบในระยะสนั้ และระยะยาว ไดร้ บั การยอมรบั ใหเ้ ปน็ แหลง่ มรดกโลก สว่ นหนง่ึ กเ็ พราะระบบนเิ วศ อนื่ ๆ (โดยใชภ้ าพถา่ ยดาวเทยี ม การสำ� รวจทางอากาศและใตน้ ำ�้ ในบริเวณแหล่งอาศัยท่ีสลับซับซ้อน มีความเก่ียวข้อง การสงั เกตการณท์ างสงั คม) แผนดงั กลา่ วไดร้ บั การยอมรบั ในระดบั เช่ือมโยงกับชนิดพันธุ์ปลาและพืชน�้ำมากมายหลากหลายชนิด นานาชาติ (และถกู นำ� ไปปรบั ใชส้ ำ� หรบั พน้ื ทฟ่ี ลอรดิ าคยี แ์ ละ ในลกั ษณะพงึ่ พาอาศยั ซงึ่ กนั และกนั และตา่ งฝา่ ยตา่ งไดป้ ระโยชน์ อนิ โดนเี ซยี ) แผนปฏบิ ตั กิ ารการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (ดูตวั อยา่ งในกลอ่ งขอ้ ความท่ี ๕) มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื สรา้ งความยงั่ ยนื ใหแ้ กร่ ะบบนเิ วศ อตุ สาหกรรม และชมุ ชน โดยการระบแุ ละดำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นการบรหิ ารจดั การ ๓. การนำ� เสนอของ Martin Parry (ประธานรว่ มของคณะทำ� งานชดุ ที่ ๒ ของ IPCC) ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การประยกุ ตใ์ ชน้ โยบายและการสง่ เสรมิ แนวทางความ ในที่ประชุมผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพอากาศและมรดกโลก รว่ มมอื มากไปกวา่ นน้ั ไดม้ กี ารพฒั นาหนุ้ สว่ นความรว่ มมอื เชน่ (ส�ำนักงานใหญย่ ูเนสโก, ปารีส, ๑๖ – ๑๗ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๐๖) ‘กลมุ่ เฝา้ ระวงั การฟอกขาว (Bleach Watch)’ และหนุ้ สว่ น ความ รว่ มมอื กบั องคก์ รเอกชน(IUCN,TNC,WWF)ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ รวมถงึ : ๔. การนำ� เสนอของ Pablo Dourojeani (สถาบันภูเขา) ในทปี่ ระชมุ ผูเ้ ชยี่ วชาญ ความสอดคลอ้ งกนั ของนโยบาย,การไดร้ บั การยอมรบั ในระดบั นานาชาต,ิ ว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพอากาศและมรดกโลก (ส�ำนักงานใหญ่ยูเนสโก, ความรว่ มมอื และการลงทนุ ดา้ นงานวจิ ยั ,หนุ้ สว่ นความรว่ มมอื ระหวา่ งผมู้ ี ปารสี , ๑๖ – ๑๗ มนี าคม ค.ศ. ๒๐๐๖) สว่ นไดส้ ว่ นเสยี ,กลมุ่ หนุ้ สว่ นความรว่ มมอื กบั ชมุ ชน,และฐานองคค์ วามรู้ ๕. การนำ� เสนอของ Greg Terrill (ผชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร, สำ� นกั มรดก กรมสงิ่ แวดลอ้ มและมรดก ของออสเตรเลยี ) ในท่ีประชมุ ผ้เู ชีย่ วชาญวา่ ด้วยการเปล่ยี นแปลงสภาพอากาศ และมรดกโลก (ส�ำนกั งานใหญ่ยูเนสโก, ปารสี , ๑๖ – ๑๗ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๐๖) ๖. Australian Institute of Marine Science Annual Report 2001-2, p 18

การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศทม่ี ีตอ่ มรดกโลก ๒ กจิ กรรมการบรหิ ารจดั การของ GBR ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ แนว • น้�ำท่วมอาจท�ำความเสียหายต่อวัสดุก่อสร้างที่ไม่ได้รับ ปฏบิ ตั ทิ ด่ี เี ลศิ ในระดบั โลก๗ และกระทงั่ ปจั จบุ นั GBR มอี ตั รา การออกแบบให้ทนทานต่อการจมใต้น้�ำเป็นระยะเวลานาน การฟอกขาวในระดบั ทต่ี ำ่� แบบสมั พทั ธ์ แตเ่ หตกุ ารณใ์ นอนาคตยอ่ ม เมอื่ นำ�้ แหง้ ลงแลว้ กอ็ าจเกดิ การเจรญิ ของสง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ ทอี่ าจ เปน็ สงิ่ ทหี่ ลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ปญั หาหลกั คอื การยกระดบั ความสามารถในการ สรา้ งความเสยี หาย เชน่ เชอ้ื รา (ดตู วั อยา่ งจากแหลง่ มรดกโลกเมอื ง ฟน้ื ตวั คนื สรู่ ะดบั ปกติ ซง่ี ตอ้ งอาศยั ความพยายามในหลายปจั จยั การ ประวตั ศิ าสตรล์ อนดอน ในกลอ่ งขอ้ ความท่ี ๗) กระแสนำ�้ ทไี่ หล ปรบั ตวั ในหลายดา้ น รวมถงึ ความพยายามทตี่ อ่ เนอ่ี งและเพมิ่ เตมิ ขนึ้ อย่างฉับพลนั ยังอาจก่อใหเ้ กิดการพังทลายของส่ิงกอ่ สร้าง จากระดบั ปจั จบุ นั ในการยกระดบั ความสามารถในการฟน้ื ตวั ของ • การเพมิ่ ขน้ึ ของพายแุ ละลมกระโชกอาจสรา้ งความเสยี หายเชงิ อทุ ยานทางทะเลGBRสำ� นกั งานอทุ ยานทางทะเลGBRไดข้ ยายพน้ื ที่ โครงสร้าง หา้ มทำ� กจิ กรรม (no-take area) จากรอ้ ยละ ๕ เปน็ รอ้ ยละ ๓๓ ในปี • มรดกทเ่ี คล่ีอนท่ไี ดอ้ าจตกอยู่ใต้ภาวะเสี่ยงจากระดับอุณหภูมิ ค.ศ. ๒๐๐๔ นอกจากนนั้ รฐั บาลออสเตรเลยี ยงั ทำ� งานรว่ มกบั รฐั บาล ความช้นื และรงั สี UV ที่เพิ่มขนึ้ แหง่ รฐั ควนี สแลนดอ์ ยา่ งใกลช้ ดิ ในเรอ่ื งแผนการอนรุ กั ษค์ ณุ ภาพนำ�้ • การกลายเปน็ ทะเลทราย การผกุ รอ่ นและการพงั ทลายเนอ่ื งจาก บรเิ วณแนวปะการงั โดยมจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื หยดุ ยงั้ และกกั นำ�้ ทม่ี ี ความเคม็ เปน็ ภยั คกุ คามตอ่ มรดกทางวฒั นธรรมในเขตทะเลทราย คณุ ภาพตำ�่ ทจ่ี ะเขา้ มาบรเิ วณอทุ ยานทางทะเลภายในปี ค.ศ. ๒๐๑๓ เชน่ มสั ยดิ ชนิ เกตติ (Chinguetti Mosque) ในประเทศมอรติ าเนยี (ดกู ลอ่ งขอ้ ความที่ ๘ ในหนา้ ๒๔) ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก ทางวัฒนธรรม กล่องขอ้ ความที่ ๖ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศกอ่ ใหเ้ กดิ ผลสบื เนอื่ งตอ่ ระบบทาง ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทอ่ี าจมี ธรรมชาตแิ ละทางสงั คม (เกษตรกรรม สขุ ภาพประชากร การปา่ ไม้ ตอ่ แหลง่ ทางวฒั นธรรมในเขตยคู อน (แคนาดา)๘ และโครงสรา้ งพน้ื ฐาน) และรวมไปถงึ มรดกทางธรรมชาตแิ ละทาง วัฒนธรรม การประเมินผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพ บรเิ วณทต่ี ง้ั ถน่ิ ฐานของนกั ลา่ ปลาวาฬในชว่ งครสิ ตศ์ ตวรรษที่ ๑๙ ณ ภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลกทางวฒั นธรรมจำ� เปน็ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความซบั ซอ้ น เกาะเฮอรเ์ ชล (Herschel Island) ในเขตยคู อน (แคนาดา) ไดร้ บั การ ของปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในและระหวา่ งแงม่ มุ ทางดา้ นธรรมชาติ วฒั นธรรม บรรจใุ นบญั ชรี ายชอ่ื เบอื้ งตน้ แหลง่ มรดกโลกของแคนาดา เนอ่ื งดว้ ย และสังคม คุณคา่ ทางวัฒนธรรมทโี่ ดดเดน่ (แหลง่ Ivvavik / Vuntut / ผลกระทบทางกายภาพโดยตรงของการเปล่ยี นแปลงสภาพ Herschel) อยา่ งไรกต็ าม การเสอ่ื มลงของชนั้ ดนิ เยอื กแขง็ คงตวั ภูมอิ ากาศท่ีมตี อ่ มรดกโลกทางวฒั นธรรม นำ� ไปสกู่ ารทรดุ ตวั ของพนื้ ดนิ ซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ปา้ ยหลมุ ศพหรอื ผลกระทบโดยตรงตา่ งๆของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศอาจมี หบี ศพทฝี่ งั อยใู่ นสสุ านบรเิ วณหบุ ผาพอลลนี (Pauline Cove) หบี ศพ บทบาท ตอ่ สิ่งเหลา่ น:้ี จำ� นวนหนงึ่ พงั ทลายลงมาพรอ้ มดนิ ทท่ี รดุ ตวั อยใู่ นสภาพแตกหกั • หลกั ฐานทางโบราณคดที ถี่ กู เกบ็ รกั ษาใตพ้ นื้ ดนิ เนอ่ื งจากเปน็ จดุ คณุ คา่ ของแหลง่ มรดกน้ี จงึ ถกู คกุ คามกอ่ นทจ่ี ะไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี น ดลุ ยภาพระหวา่ งกระบวนการทางความชนื้ เคมี และชวี ภาพ วฏั จกั ร ในบัญชีรายชือ่ แหลง่ มรดกโลกเสยี อกี การเปลยี่ นแปลงทงั้ ระยะสน้ั และระยะยาวจะลดระดบั การอยรู่ อด ของวัสดุท่ีง่ายต่อความเสียหาย (ดูตัวอย่างส�ำหรับแหล่งทาง กล่องขอ้ ความที่ ๗ วฒั นธรรมในเขตยคู อน (Yukon Territory) ประเทศแคนาดา ตาม ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทอี่ าจมตี อ่ กล่องขอ้ ความท่ี ๖) แหลง่ มรดกโลกแหง่ ลอนดอน สหราชอาณาจกั ร • อาคารทางประวตั ศิ าสตรท์ ม่ี คี วามสมั พนั ธก์ บั พน้ื ดนิ ทใ่ี นระดบั ที่ (พระราชวงั เวสตม์ นิ สเตอร์วหิ ารเวสตม์ นิ สเตอรแ์ ละโบสถ์ มากกวา่ อาคารในปจั จบุ นั อาคารทางประวตั ศิ าสตรจ์ ะมรี พู รนุ ท่ี เซนตม์ ารก์ าเรต็ หอคอยแหง่ ลอนดอนเมอื งนาวกี รนี ชิ ) มากกวา่ และซมึ ซบั นำ�้ จากพนื้ ดนิ เขา้ สโู่ ครงสรา้ งของอาคารและ ปลอ่ ยออกสสู่ งิ่ แวดลอ้ มผา่ นการระเหยออกจากผวิ อาคาร พนื้ ผวิ แผนการดำ� เนนิ งานวา่ ดว้ ยผลกระทบดา้ นภมู อิ ากาศของสหราช ก�ำแพงและพ้ืนเป็นจุดที่เกิดการแลกเปล่ียนของปฏิกิริยานี้ อาณาจกั รไดค้ าดการณว์ า่ ระดบั นำ้� ทะเลบรเิ วณปากแมน่ ำ้� เทมส์ การเพม่ิ ขนึ้ ของความชนื้ ในดนิ อาจมผี ลใหม้ กี ารจบั ตวั ของเกลอื ทมี่ า จะสงู ขน้ึ จากคา่ เฉลยี่ ของชว่ งปี ค.ศ. ๑๙๖๑ ถงึ ๑๙๙๐ ประมาณ จากนำ�้ ใตด้ นิ เพม่ิ มากขน้ึ เมอ่ื แหง้ ผลกระทบจากผลกึ เกลอื จะทำ� ให้ ๐.๒๖ - ๐.๘๖ เมตร ภายในครสิ ตท์ ศวรรษที่ ๒๐๘๐ ระดบั นำ�้ ท่ี เกดิ ความเสยี หายตอ่ ส่วนตกแต่งชั้นนอกได้ ปากแมน่ ำ�้ เทมสม์ กี ารขน้ึ ลงตามระดบั นำ้� ทะเล ซงึ่ ในบางครงั้ จะถกู • ทอ่ นไมซ้ งุ และวสั ดอุ นิ ทรยี ท์ ใี่ ชใ้ นการกอ่ สรา้ งอน่ื ๆ อาจถกู ทำ� ให้ หนนุ โดยสภาวะอากาศในทะเลเหนอื พน้ื ทรี่ บั นำ�้ บรเิ วณแมน่ ำ�้ เสยี หายจากการตดิ เชอื้ เพมิ่ ขน้ึ จากภยั คกุ คามทไี่ มเ่ คยมมี ากอ่ น เชน่ เทมสถ์ กู คาดการณว์ า่ จะตกอยภู่ ายใตค้ วามกดดนั เพม่ิ มากขนึ้ อาจมกี ารอพยพของศตั รพู ชื ตามแนวความสงู จากระดบั นำ�้ ทะเลและ เน่ืองจากกระแสน�้ำจะสูงข้ึนในช่วงอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ละตจิ ูด เครอ่ื งกนั้ แมน่ ำ้� เทมส์(ThamesBarriers)ถกู ออกแบบมาเพอ่ื ปกปอ้ ง ชวี ติ ทดี่ นิ และทรพั ยส์ นิ จากระดบั กระแสนำ้� สงู สดุ และคลนื่ พายซุ ดั ฝง่ั (Strom surge) เครอ่ื งปอ้ งกนั นถ้ี กู คาดหวงั วา่ จะถกู ใช้ ๒-๓ ครงั้ ตอ่ ปี แต่ในปจั จุบนั เคร่ืองป้องกนั นถ้ี ูกใช้ ๖-๗ คร้งั ใน ๑ ปี ๗. Global Coral Reef Monitoring Network ‘Status of coral reefs of the ๘. การนำ� เสนอของ Douglas Olynyk (รฐั บาลเขตยคู อน และ ICOMOS แคนาดา) 25 world 2004’; WWF ‘Climate change and World Heritage sites’, ในทปี่ ระชุมผเู้ ช่ยี วชาญว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพอากาศและมรดกโลก Australia, 2006; D. Rothwell, ‘Global Climate Change and the GBR’, (ส�ำนักงานใหญย่ เู นสโก, ปารีส, ๑๖ – ๑๗ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๐๖) report for EDO, CANA, Greenpeace, Australia, 2004

๒ การคาดการณ์และการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี ่อมรดกโลก 26 หากมรี ะดบั นำ�้ ทสี่ งู กวา่ ระดบั เครอื่ งปอ้ งกนั น้ี จะมคี า่ ใชจ้ า่ ยทางออ้ ม ผลกระทบเชงิ วฒั นธรรมของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ตอ่ เศรษฐกจิ ของสหราชอาณาจกั รถงึ ๓ หมน่ื ลา้ นปอนด์ และนำ้� ท่ี ทม่ี ีต่อมรดกโลกทางวฒั นธรรม๑๐ ทว่ มจะกลนื พนื้ ทแ่ี หลง่ มรดกโลกทอี่ ยใู่ กลแ้ มน่ ำ�้ เทมสเ์ ปน็ อยา่ งนอ้ ย การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศมผี ลกระทบทง้ั ทางกายภาพสงั คมและ คอื พระราชวงั เวสตม์ นิ สเตอรแ์ ละหอคอยแหง่ ลอนดอน เครอ่ื งกนั้ ทางวฒั นธรรมตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม โดยจะนำ� มาซง่ึ การเปลยี่ นแปลง แมน่ ำ�้ เทมสจ์ ะใชป้ อ้ งกนั ไดถ้ งึ ปี ค.ศ. ๒๐๒๕ กอ่ นทเ่ี หตกุ ารณน์ ำ�้ วถิ ขี องประชาชนทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ความสมั พนั ธน์ ปี้ รากฏอยู่ ทว่ มทกุ รอบ ๑,๐๐๐ ปจี ะกลบั มา ผจู้ ดั การแหลง่ มรดกโลกจำ� เปน็ ท่ี ในวถิ ที ปี่ ระชาชนใชใ้ นการดำ� รงชวี ติ ประกอบหนา้ ทกี่ ารงาน การบชู า จะตอ้ งมกี ระบวนการวางแผนทก่ี วา้ งขวางยง่ิ ขนึ้ ในการทำ� เครอื่ งกน้ั สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ และการทำ� กจิ กรรมทางสงั คม รวมถงึ ปรากฏอยใู่ นอาคาร แมน่ ำ�้ เทมสแ์ นวใหม่ คลอบคลมุ ถงึ การวางแผนจดั การนำ้� ทว่ มใน แหลง่ บรเิ วณ และภมู ทิ ศั นท์ มี่ คี ณุ คา่ ทสี่ บื ทอดตอ่ กนั มา ผลกระทบที่ พนื้ ทล่ี อนดอน และการวางแผนการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ และการ รว่ มกนั ระหวา่ งการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการเปลยี่ นแปลง พฒั นา แผนการบรหิ ารจดั การแหลง่ มรดกโลกควรรวมประเดน็ การ เชงิ สงั คม-เศรษฐกจิ จะมผี ลกระทบตอ่ การอนรุ กั ษม์ รดกทางวฒั นธรรม ปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในขอ้ กำ� หนดสำ� หรบั ทม่ี ากกว่าการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศเพยี งอยา่ งเดยี ว ซงึ่ การบริหารจัดการในช่วง ๒๕-๓๐ ปีข้างหน้า และในการ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ยง่ิ ขน้ึ และการดำ� เนนิ การนสี้ ามารถ ทบทวนวตั ถปุ ระสงค์การบริหารจัดการรอบ ๕ ปี กระทำ� ไดภ้ ายใตบ้ รบิ ทของมรดกโลก เนอ่ื งจากแหลง่ มรดกโลก จะเป็นตัวอยา่ งทดี่ เี ลิศสำ� หรบั กรณีตัวอย่างต่างๆ กลอ่ งข้อความที่ ๘ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งผลกระทบทางกายภาพและทางสงั คม ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ แหลง่ มรดกโลกจำ� นวนมากยงั คงเปน็ แหลง่ ทยี่ งั คงมชี วี ติ ยงั ตอ้ งพง่ึ พงิ ท่อี าจมีตอ่ มัสยดิ ชนิ เกตติ (มอริตาเนีย) ชมุ ชนในการรกั ษาหรอื ทำ� ใหย้ งั่ ยนื การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลทตี่ ามมาตอ่ ทงั้ การดำ� รงอยขู่ องมนษุ ยแ์ ละสง่ิ ทม่ี นษุ ย์ แหลง่ มรดกโลกนตี้ งั้ อยบู่ รเิ วณขอบทะเลทรายซาฮารา่ เปน็ สถานที่ สรา้ งขน้ึ ในกรณขี องแหลง่ มรดกโลกทางวฒั นธรรม ผลทตี่ ามมานี้ เกบ็ รกั ษาชดุ คมั ภรี ข์ องศาสนาอสิ ลามทส่ี ำ� คญั และเปน็ มสั ยดิ ในยคุ ปรากฏของมาในอยา่ งนอ้ ย ๒ ลกั ษณะหลกั คอื ๑) ผลกระทบทาง ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี ๑๓ ทปี่ ระกอบดว้ ยหออะซานสงู ใหญร่ ปู สเี่ หลย่ี ม กายภาพต่อแหล่งมรดก สิ่งปลูกสร้าง หรือโครงสร้าง และ จตรุ สั อยเู่ หนอื ตวั เมอื ง เมอื งชนิ เกตตเิ ปน็ จดุ หมายทางการคา้ ๒) ผลกระทบตอ่ โครงสรา้ งทางสงั คมและถนิ่ อาศยั ซงึ่ จะนำ� ไปสู่ สำ� หรบั ผเู้ ดนิ ทางทขี่ นสง่ ทองคำ� และงาชา้ งมาจากดนิ แดนทาง การเปลยี่ นแปลงของชมุ ชน หรอื การเคลอื่ นยา้ ยของสงั คมทท่ี ำ� หนา้ ที่ ตะวนั ออก ความมงั่ คงั่ ของชมุ ชนหมายความถงึ การทช่ี มุ ชนจะมเี งนิ ดแู ลแหลง่ มรดกโลกในปจั จบุ นั ผลทต่ี ามมาของผลกระทบประการ สำ� หรบั ปกปอ้ งสงิ่ กอ่ สรา้ งจากสภาพอากาศภายใตส้ ง่ิ แวดลอ้ มทไ่ี ม่ หลงั นยี้ งั ไมไ่ ดร้ บั ความเขา้ ใจทแี่ นช่ ดั แมว้ า่ ลกั ษณะโดยทวั่ ไปของ เปน็ มิตรอย่างรา้ ยแรง ผลกระทบนจ้ี ะแตกตา่ งกันไปข้ึนอย่กู ับ การผสมผสานระหวา่ งการลดลงของการคา้ และการสญู เสยี รายได้ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งผลกระทบทางกายภาพและทางวฒั นธรรม ทวคี วามรนุ แรงของภยั คกุ คามจากทะเลทรายทก่ี ำ� ลงั คกุ คาม ลกั ษณะของมรดกทางวฒั นธรรมมคี วามสมั พนั ธท์ ใ่ี กลช้ ดิ ตอ่ สภาพ สง่ิ กอ่ สรา้ งภายในเมอื ง โดยเฉพาะมสั ยดิ สงิ่ กอ่ สรา้ งตา่ งๆ ภายใน ภมู อิ ากาศ ภมู ทิ ศั นใ์ นเขตชนบทถกู พฒั นาโดยใหต้ อบสนองตอ่ ชนดิ เมอื งชนิ เกตตติ กอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของนำ�้ ทว่ มตามฤดกู าลเปน็ พนั ธพ์ุ ชื ทสี่ ามารถงอกงามในพนื้ ทท่ี ม่ี ภี มู อิ ากาศทตี่ า่ งกนั ในขณะท่ี ประจำ� และตามมาดว้ ยการพงั ทลายอนั เนอ่ื งมาจากการไหลผา่ น ภมู ทิ ศั นใ์ นเขตเมอื งและมรดกทเี่ ปน็ สง่ิ ปลกู สรา้ งถกู ออกแบบให้ ของน้�ำ สอดคลอ้ งกบั สภาพอากาศในทอ้ งถน่ิ ความมเี สถยี รภาพของมรดก ผลกระทบทางสงั คมของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี อ่ ทางวฒั นธรรมจงึ เชอ่ื มโยงอยา่ งใกลช้ ดิ ตอ่ ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งทต่ี ง้ั มรดกโลกทางวัฒนธรรม๙ และบรรยากาศโดยรอบ แหลง่ มรดกโลกทยี่ งั คงมกี ารใชง้ านโดย การเปลย่ี นแปลงของมรดกทางวฒั นธรรมเนอ่ื งจากการเปลยี่ นแปลง ชุมชนท้องถิ่น อาจได้รับแรงกดดันให้มีการเปลี่ยนแปลงเพ่ือ สภาพภมู อิ ากาศไมส่ ามารถมองโดยแยกจากการเปลย่ี นแปลงเชงิ สงั คม การปรบั ตวั ทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั การอนญุ าตใหม้ กี ารใชง้ านหรอื การใช้ สถติ ปิ ระชากร พฤตกิ รรมมนษุ ย์ ผลกระทบของคณุ คา่ ทางสงั คมท่ี ประโยชน์ในพื้นต่อไป หรือในแหล่งอ่ืนท่ีไม่ใช่กรณีนี้ ก็อาจมี ขดั แยง้ กนั และการวางแผนการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งคอ่ ยๆ ผลกระทบทางกายภาพในทางตรงเชน่ กัน พฒั นาภายใตป้ ระเดน็ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ตามนยิ ามของ มรดกโลก มรดกทางวฒั นธรรมถกู นยิ ามโดยกวา้ งๆ เพอื่ ครอบคลมุ สรปุ การเปลีย่ นแปลงตัวชวี้ ัดทางการเปลย่ี นแปลงสภาพ แหลง่ บรเิ วณเดยี่ ว อาคาร หรอื โครงสรา้ ง รวมถงึ ภมู ทิ ศั นใ์ นเมอื งหรอื ภมู อิ ากาศและผลกระทบทเ่ี กย่ี วขอ้ งทม่ี ตี อ่ มรดกทางวฒั นธรรม ชนบททอ่ี าจรวมการมพี ลวตั ตา่ งๆ ทอ่ี าจไมใ่ ชเ่ พยี งจะตกอยภู่ ายใต้ อิทธิพลของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ แต่ยังมีส่วนต่อ ในบรบิ ทของความเกยี่ วขอ้ งทซ่ี บั ซอ้ นทไี่ ดก้ ลา่ วในยอ่ หนา้ ขา้ งตน้ จงึ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศอกี ด้วย มคี วามจำ� เปน็ ทตี่ อ้ งนยิ ามตวั ชว้ี ดั เพอื่ ประเมนิ ผลกระทบโดยรวมของ สภาพภมู อิ ากาศตอ่ แหลง่ มรดกโลกทางวฒั นธรรม การเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศอาจเบาบางและสามารถเกดิ ขนึ้ ในระยะเวลาท่ี ยาวนาน แตต่ วั แปรทางการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศบางชนดิ เชน่ ความหนาวเยน็ อณุ หภมู ิ หรอื ภาวะชอ็ คจากความชน้ื สามารถ เปลย่ี นแปลงไดร้ นุ แรงภายใตร้ ะยะเวลาอนั สนั้ ในการระบคุ วามเสยี่ ง และผลกระทบทรี่ นุ แรงทสี่ ดุ จากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ี ตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม วงการวทิ ยาศาสตรไ์ ดใ้ ชต้ วั แปรทางสภาพ ภมู ิอากาศซงึ่ แสดงตามตารางในหน้าถัดไป (ตารางที่ ๑) ๙. ประเด็นทกี่ ลา่ วในย่อหน้าน้ี อา้ งองิ ถึงทรพั ยส์ ินมรดกทางวฒั นธรรม แมว้ ่าใน ๑๐. ประเดน็ ทก่ี ลา่ วในยอ่ หนา้ น้ี อา้ งองิ ถงึ ทรัพย์สนิ มรดกทางวฒั นธรรม แม้วา่ ใน บางส่วนอาจน�ำไปใชไ้ ด้กบั ทรัพย์สนิ มรดกทางธรรมชาติ บางส่วนอาจน�ำไปใช้ไดก้ ับทรพั ย์สินมรดกทางธรรมชาติ

การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศที่มีตอ่ มรดกโลก ๒ ตารางที่ ๑ ความเสย่ี งและผลกระทบท่สี ำ� คญั ของเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่มี ีต่อมรดกทางวัฒนธรรม 27 ตวั ช้วี ดั ทางภมู อิ ากาศ สคภวาามพเภสูมีย่ อิงจากากาศการเปล่ยี นแปลง ผลกระทบทางกายภาพ สงั คมและทางวฒั นธรรมตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม การเปลย่ี นแปลง - อุทกภยั (ทะเล แม่น�ำ้ ) - การเปลย่ี นแปลงคา่ ความเปน็ กรดดา่ งของหลกั ฐานทางโบราณคดที ฝ่ี งั อยใู่ ตด้ นิ ความชน้ื ในบรรยากาศ - ฝนตกหนัก - การสญู เสยี ความครบถว้ นสมบรู ณ์ การกระเทาะเนอ่ื งจากการเปลย่ี นแปลงความชน้ื - การเปลยี่ นแปลงระดับน�ำ้ ใต้ดนิ ของตะกอนทีท่ ับถม การเพม่ิ ขนึ้ ของอณุ หภมู ิ - การเปลี่ยนแปลงทางเคมขี องดิน - การสญู หายของขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รกั ษาภายใตส้ ภาวะนำ�้ ขงั (waterlogged) / ภาวะไร้ - การเปล่ียนแปลงน�้ำผวิ ดิน ออกซิเจน (anaerobic) / ภาวะไร้ออกซิเจนอสิ ระ (anoxic) การสูงข้ึนของ - การเปลี่ยนแปลงวัฏจกั รความชืน้ - ปรากฏการณท์ แ่ี หลง่ นำ้� มสี ารอาหารมากเกนิ ไป (Eutrophication) เรง่ การยอ่ ยสลาย ระดบั นำ้� ทะเล - การเพ่ิมข้ึนของระยะเวลาทีช่ ้ืนแฉะ สารอินทรีย์โดยจุลชีพ ลม - คลอไรดข์ องเกลือสมุทร - การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพตอ่ วสั ดกุ อ่ สรา้ งและพน้ื ผวิ ทมี่ รี พู รนุ เนอ่ื งจากความชน้ื การกลายเปน็ ทะเลทราย แฉะทเี่ พมิ่ ข้ึน การเสรมิ แรงระหว่าง - ความเสยี หายเนอ่ื งจากระบบระบายนำ�้ ทผ่ี ดิ พลาดหรอื ไมเ่หมาะสมระบบระบายนำ�้ ฝนใน สภาพภมู อิ ากาศและ อดตี ไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะรองรบั ฝนตกหนกั และมกั จะยากทจี่ ะเขา้ ถงึ บำ� รงุ รกั ษาและปรบั ปรงุ มลพิษ - การตกผลกึ และการละลายนำ้� ของเกลอื เนอ่ื งมาจากความเปยี กหรอื ความแหง้ สง่ ผลตอ่ สภาพภูมอิ ากาศและ โครงสรา้ งโบราณวตั ถุภาพเขยี นฝาผนงั ภาพปนู เปยี กและพน้ื ผวิ ทไี่ ดร้ บั การตกแตง่ อนื่ ๆ ผลกระทบทางชวี วทิ ยา - การพังทลายของวัสดุอนิ ทรีย์และอนินทรีย์จากเหตอุ ทุ กภัย - การโจมตที างชวี ภาพตอ่ วสั ดอุ นิ ทรยี ์โดยแมลงราเมอื กเชอ้ื ราชนดิ พนั ธท์ุ ร่ี กุ รานเชน่ ปลวก - ความขาดเสถยี รภาพของชน้ั ใตผ้ วิ ดนิ การพองตวั และยบุ ตวั ของพน้ื ดนิ - การเปลยี่ นแปลงความชน้ื สมั พทั ธ์(Relativehumiditycycles/shock)เปน็ ผลใหเ้ กดิ รอยแยก การกระเทาะ การหลดุ ลอก และการแตกเปน็ ละอองฝนุ่ ของวสั ดแุ ละพน้ื ผวิ - การกดั กร่อนวสั ดุท่เี ป็นโลหะ - ผลรว่ มระหวา่ งปจั จยั อน่ื ๆ เชน่ การเพม่ิ ขนึ้ ของความชน้ื รว่ มกบั การใชป้ ยุ๋ และยาฆา่ แมลง - เหตกุ ารณป์ ระจำ� วนั ประจำ� ฤดกู าล - การเสอ่ื มโทรมของสว่ นนอกของอาคารเนอื่ งจากปจั จยั ลบดา้ นอณุ หภมู ิ เหตุการณร์ ุนแรง (คลื่นอากาศร้อน - ความเสยี หายเนอ่ื งมาจากการละลายและการเกดิ นำ�้ แขง็ (Freeze-thaw/frostdamage) หิมะสะสม) - ความเสยี หายภายในกอ้ นอฐิ หนิ เซรามกิ ทเ่ี ปยี กและถงึ จดุ เยอื กแขง็ ภายในตวั - การเปลย่ี นแปลงการแข็งตัว วัสดุกอ่ นจะแหง้ ลง - การละลายของนำ้� และพายนุ ำ�้ แขง็ - ความเสอื่ มเนอื่ งจากกระบวนการทางชีวเคมี และการเพิ่มข้นึ ของนำ�้ คา้ งแขง็ - การเปลย่ี นแปลง “ความเหมาะสมตอ่ วตั ถปุ ระสงค์ (fitness for purpose)” ส�ำหรับบางโครงสร้าง เช่น การให้ความร้อนท่ีสูงเกินไปส�ำหรับภายใน ตวั อาคารอาจน�ำไปสูก่ ารเปลย่ี นแปลงทีไ่ มเ่ หมาะสมตอ่ โครงสร้างในอดตี - การปรบั ปรงุ ทไ่ี ม่เหมาะสมเพ่อื ให้โครงสรา้ งยงั คงใช้ได้ในปัจจุบัน - น้�ำท่วมชายฝง่ั - การกัดเซาะ/การสญู เสียชายฝัง่ - การรุกล�ำ้ ของน้ำ� ทะเล - การเข้ามาอย่างไม่สม่�ำเสมอของปริมาณน�้ำที่มากอย่างไม่เป็นปกติในแหล่ง มรดกทางวฒั นธรรม ซึ่งอาจรบกวนความเสถยี รระหวา่ งส่งิ ประดษิ ฐ์และดิน - การจมอย่ใู ต้น้�ำอยา่ งถาวรของบรเิ วณทีอ่ ยู่ต�่ำ - การอพยพของประชากร - การแตกกระจายของชมุ ชน - การสูญหายของพธิ ีกรรมและความสัมพนั ธท์ างสงั คม - ฝนท่ถี ูกลมพัด - ความชน้ื แทรกซมึ ในวัสดมุ รดกทางวัฒนธรรมท่มี รี ูพรุน - ความเคม็ ทน่ี �ำพามาโดยลม - การรบั นำ�้ หนกั เชงิ สถติ ยแ์ ละพลวตั ของโครงสรา้ งทางประวตั ศิ าสตรห์ รอื โบราณคดี - ทรายท่ถี ูกลมพัดมา - ความเสียหายหรอื พังทลายของโครงสรา้ ง - ลมลมกระโชกและการเปลย่ี นทศิ ทางลม - ความเสอ่ื มของพนื้ ผวิ เน่ืองจากการพงั ทลาย - ความแห้งแล้ง - การพงั ทลาย - คลน่ื อากาศร้อน - การผุกร่อนเนือ่ งจากความเค็ม - การลดลงของระดบั น�ำ้ ใต้ดิน - ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชากร - การถกู ทอดทง้ิ และพงั ทลาย - การสูญเสยี ความทรงจำ� ทางวฒั นธรรม - ฝนทมี่ คี วามเปน็ กรดด่าง - การรน่ ของหนิ เนื่องจากการสลายตวั ของคารบ์ อเนต - การเปลยี่ นแปลงการสะสมของสาร - การเปลีย่ นเป็นสดี �ำของวสั ดุ มลพษิ - การผุกรอ่ นของโลหะ - อทิ ธพิ ลของการครอบครองอาณานคิ มทางชวี วทิ ยา (bio-colonialisation) - การขยายพนั ธขุ์ องสิ่งมชี ีวิตชนดิ - การพงั ทลายของโครงสร้างและพน้ื ผิวท่ีท�ำด้วยไม้ รุกราน - การลดจ�ำนวนลงของชนิดพันธ์ุพ้ืนถ่นิ ท่นี ำ� มาใชใ้ นการซ่อมแซมและ - การกระจายของแมลงชนดิ พนั ธท์ุ มี่ อี ยู่ บำ� รงุ รักษาอาคาร เดมิ และชนดิ พนั ธท์ุ ม่ี าใหม่ (เชน่ ปลวก) - การเปลย่ี นแปลงคณุ คา่ ของมรดกทางธรรมชาตใิ นแหลง่ มรดกทางวฒั นธรรม - การเติบโตท่ีเพิ่มขึ้นของรา - การเปลี่ยนแปลงภมู ิทัศนท์ ีป่ รากฏออกมา - การเปลีย่ นแปลงของกลุ่มไลเคนส์ - การเปลีย่ นรูปแบบของชมุ ชน บนตวั อาคาร - การเปลย่ี นแปลงการดำ� รงชีวิตของชุมชนพนื้ เมือง - การลดลงของวสั ดจุ ากพืช - การเปล่ียนแปลงโครงสร้างครอบครัว เนื่องจากแหล่งรายได้ในการด�ำรง ชีวติ หายไปและอยไู่ กลมากขึ้น

๒ การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศทม่ี ตี อ่ มรดกโลก 28 การสำ� รวจผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ ภยั คกุ คามจากสภาพภมู อิ ากาศทถี่ กู หยบิ ยกมาสำ� หรบั มรดกโลก ทรพั ย์สินมรดกโลกทัว่ โลก ทางวัฒนธรรม เชน่ : • เฮอริเคน พายุ (๑๑ แหลง่ ) ศนู ยม์ รดกโลกไดจ้ ดั ทำ� แบบสำ� รวจสง่ ไปยงั รฐั ภาคอี นสุ ญั ญาคมุ้ ครอง • การสงู ขน้ึ ของระดับนำ้� ทะเล (๙ แหลง่ ) มรดกโลกในปี ค.ศ. ๒๐๐๕ เพือ่ ประเมินระดับและรูปแบบของ • การกัดเซาะ (ทั้งเกิดจากลมและน�้ำ) (๘ แหลง่ ) ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี อ่ ทรพั ยส์ นิ มรดก • อุทกภยั (๗ แหล่ง) โลก และการด�ำเนนิ การเพื่อรบั มือกับผลกระทบเหล่าน้นั • การเพม่ิ ขึ้นของฝน (๔ แหลง่ ) คำ� ตอบจากแบบสำ� รวจทงั้ สน้ิ ๑๑๐ ชดุ จากรฐั ภาคจี ำ� นวน ๘๓ แหง่ • ภยั แลง้ (๓ แหล่ง) รอ้ ยละ ๗๒ ยอมรบั วา่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศมผี ลกระทบ • การกลายเป็นทะเลทราย (๒ แหลง่ ) ตอ่ มรดกทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมของตน มจี ำ� นวน ๔๖ ประเทศ • การเพิม่ ขึ้นของอณุ หภูมิ (๑ แหลง่ ) ทร่ี ะบวุ า่ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ กจิ กรรมบางประเภทเพอ่ื รบั มอื กบั ประเด็ นดงั กล่าวแมว้ ่ากจิ กรรมโดยส่วนใหญม่ ขี อ้ จำ� กดั ตอ่ การติดตาม ประเภทแหลง่ ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีจ�ำนวน ๓๙ ประเทศทร่ี ายงานวา่ มีการทำ� การวจิ ยั เพอ่ื ประเด็นดงั กล่าว 46 ธรรมชาติ ๔๙ ประเทศระบวุ า่ มกี ารขบั เคลอื่ นการสนบั สนนุ ทางการเมอื ง แมว้ า่ ธรรมชาติ / วฒั นธรรม จะเปน็ เพียงกิจกรรมเพ่อื กระตุ้นความตระหนักเท่าน้นั 71 วฒั นธรรม ๗๑ ประเทศประกาศเจตนารมยว์ า่ มคี วามสนใจในการเขา้ มสี ว่ นรว่ ม ในแผนการดำ� เนนิ งานหรอื ขอ้ รเิ รมิ่ ทม่ี งุ่ แกป้ ญั หาเรอื่ งผลกระทบของ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี อ่ แหลง่ มรดกโลก ในจำ� นวนน้ี 8 มี ๕๐ ประเทศทย่ี น่ื ขอ้ เสนอเปน็ แหลง่ พนื้ ทน่ี ำ� รอ่ ง และมจี ำ� นวน ๑๑ ประเทศที่เสนอโอกาสในการร่วมทนุ ประเภทของชวี นเิ วศส�ำหรับแหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาติ แหลง่ มรดกโลกจำ� นวน ๑๒๕ แหลง่ ถกู ระบชุ ดั เจนวา่ ถกู คมุ คามโดย การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 14 16 แหลง่ ชายฝัง่ และทางทะเล ในแหลง่ มรดกโลกจำ� นวนนี้ มี ๗๙ แหลง่ ทขี่ น้ึ ทะเบยี นเปน็ มรดกทาง ธารนำ้� แขง็ และภูเขา ธรรมชาตหิ รอื แบบผสมผสาน (ทง้ั วฒั นธรรมและธรรมชาต)ิ โดยมี แหล่งอนุรกั ษ์ความหลากหลาย การกระจายตามลักษณะชวี นิเวศ ดงั น:ี้ ทางชีวภาพบนบก •แหลง่ ชายฝง่ั ทะเล๑๖แหลง่ (ในจำ� นวนนี้เปน็ แนวปะการงั ๗แหลง่ ) อน่ื ๆ • แหล่งธารน�ำ้ แข็ง ๑๔ แหล่ง และแหล่งภูเขา ๗ แหลง่ 28 21 • แหล่งความหลากหลายทางชวี ภาพบนบก ๒๘ แหล่ง • ชวี นิเวศแบบผสมและแหลง่ ประเภทอืน่ ๆ ๑๔ แหลง่ อทิ ธพิ ลของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ ทรพั ยส์ นิ มรดก ภยั คุกคามของการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ทางธรรมชาติทสี่ งั เกตได้ เชน่ : ทมี่ ีรายงานวา่ มผี ลต่อทรัพยส์ นิ มรดกโลกทางธรรมชาติ • การถอยรน่ และการละลายของธารนำ�้ แขง็ (๑๙ แหลง่ ) • การสูงขึน้ ของระดบั น้ำ� ทะเล (๑๘ แหลง่ ) 4 3 การถอยร่นและละลายของธารนำ�้ แข็ง • การสญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ (๑๗ แหล่ง) 6 19 การสูงขนึ้ ของระดบั น�้ำทะเล • การอพยพของชนดิ พนั ธแ์ุ ละการเปลย่ี นแปลงแนวเสน้ ทต่ี น้ ไม้ 9 การสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ จะเจริญเติบโตได้ (๑๒ แหลง่ โดย ๖ แหล่งมีการเปล่ียนแปลง การอพยพของชนดิ พันธุ์ แนวต้นไม้) 20 การเปลยี่ นแปลงรูปแบบการตกของฝน •การเปลย่ี นแปลงรปู แบบการตกของฝนและการเกดิ ภยั แลง้ (๑๑แหลง่ ) 11 และภยั แล้ง • ความถข่ี องการเกิดไฟปา่ (๙ แหล่ง) ความถี่ของการเกดิ ไฟปา่ • การฟอกขาวของปะการงั (๖ แหลง่ ) 12 การฟอกขาวของปะการัง • การกัดเซาะชายฝงั่ (๔ แหลง่ ) 17 การกดั เซาะชายฝ่งั • การเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู แิ ละความเคม็ ของนำ้� ทะเล (๑ แหลง่ ) อน่ื ๆ • เฮอริเคน พายุ ไซโคลน (๑ แหลง่ ) ภัยคุกคามของการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มรี ายงานว่ามีผลตอ่ ทรัพยส์ นิ มรดกโลกทางวฒั นธรรม การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศถกู รายงานวา่ เปน็ ภยั คกุ คามตอ่ 4 ความถ่ใี นการเกดิ เฮอรเิ คน แหลง่ มรดกโลกทางวฒั นธรรม จำ� นวน ๔๖ แห่ง โดยแหล่งทาง 4 3 11 และพายุ วฒั นธรรมเกอื บทง้ั หมดเปน็ การสรา้ งโดยฝมี อื มนษุ ย์ เชน่ ซากทาง 4 9 การสูงขึ้นของระดับนำ�้ ทะเล โบราณคดี โบสถ์ มสั ยดิ วดั ปอ้ มปราการ และอนื่ ๆ มเี พยี ง ๔ แหลง่ ที่ 7 การกดั เซาะ ถกู เปน็ ภมู ทิ ศั นท์ างวฒั นธรรม (ในจำ� นวนนี้ มี ๒ แหลง่ ทเี่ ปน็ ระบบ อทุ กภยั เกษตรกรรมด้ังเดมิ ) การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการตกของฝน 8 ความเสียหายต่อภาพวาดภายนอก ภัยแล้ง อื่นๆ

การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศที่มีต่อมรดกโลก ๒ ผลสืบเนือ่ งทมี่ ีตอ่ อนุสญั ญาคุ้มครองมรดกโลก๑๑ นอ้ ยกวา่ ๑ เกณฑแ์ ละผา่ นการประเมนิ ภาวะความบรบิ รู ณ๑์ ๓ และ 29 บทนำ� หากแหลง่ มรดกถกู คกุ คามโดยภยั ทรี่ า้ ยแรงและเจาะจง – ทง้ั ภยั อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก เปน็ ความตกลงดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มระหวา่ ง อนั ตรายทจี่ ะเกดิ แนน่ อน และ/หรอื ทเ่ี ปน็ ไปได้ – จะตอ้ งถกู บรรจุ ประเทศทม่ี ลี กั ษณะเฉพาะ เนอ่ื งจากมรดกทางวฒั นธรรมและทาง ในบญั ชรี ายชอ่ื มรดกโลกในภาวะอนั ตราย (ยอ่ หนา้ ๑๘๐ ของ แนว ธรรมชาตสิ ว่ นหนงึ่ มคี ณุ คา่ โดดเดน่ ในระดบั สากล ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ ที่ ปฏบิ ตั )ิ อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกยงั คงกลา่ ววา่ หากทรพั ยส์ นิ จะตอ้ งอนรุ กั ษไ์ วเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของมรดกของมนษุ ยชาติ การทดสอบ มรดกสญู เสยี คณุ ลกั ษณะทร่ี บั รองในการขน้ึ ทะเบยี นเปน็ แหลง่ มรดก ประการหลกั ในการขนึ้ บญั ชที รพั ยส์ นิ มรดกทางวฒั นธรรมและทาง โลก แหลง่ นน้ั สามารถถกู ถอดถอนจากบญั ชรี ายชอื่ (ยอ่ หนา้ ๑๗๖ ธรรมชาตเิ ขา้ ไวใ้ นบญั ชรี ายชอ่ื มรดกโลก คอื ตอ้ งผา่ นหลกั เกณฑว์ า่ (e) ของแนวปฏบิ ตั )ิ นอกจากนน้ั รฐั ภาคขี องอนสุ ญั ญาคมุ้ ครอง ดว้ ยคณุ คา่ ทโ่ี ดดเดน่ ในระดบั สากล (Outstanding universal value: มรดกโลกมหี นา้ ทใ่ี นการปกปอ้ ง อนรุ กั ษแ์ ละสง่ ผา่ นทรพั ยส์ นิ มรดก OUV) ซงึ่ จะถกู ประเมนิ ผา่ นกระบวนการประเมนิ ทเ่ี ขม้ งวดโดย ทต่ี ง้ั อยภู่ ายใตอ้ ธปิ ไตยของตนไปสคู่ นรนุ่ ตอ่ ไปในอนาคต (มาตรา ๔) องคก์ รทใ่ี หค้ ำ� ปรกึ ษาของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก เมอ่ื ทรพั ยส์ นิ ดงั นนั้ ภายใตบ้ รบิ ทของกรอบการดำ� เนนิ งานตามกฎหมายของ ดงั กลา่ วไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกโลก จะไดร้ บั ประโยชนจ์ าก อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศได้ อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกซง่ึ เปน็ เครอื่ งมอื ทส่ี ำ� คญั สำ� หรบั ความรว่ มมอื ก่อให้เกดิ ประเด็นคำ� ถามที่ส�ำคัญหลายประเดน็ : ระหวา่ งประเทศ อยา่ งไรกต็ าม การอนรุ กั ษแ์ ละบรหิ ารจดั การเปน็ • เมอื่ ทราบวา่ คณุ ค่าทโี่ ดดเด่นเปน็ สากลอาจสูญหายเนือ่ งจาก ความรบั ผดิ ชอบหลกั ของรฐั ภาคที ที่ รพั ยส์ นิ นน้ั ตงั้ อยู่ (มาตรา ๔) ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แหลง่ มรดกนนั้ ทรพั ยส์ นิ มรดกโลกทางธรรมชาตจิ ะเปน็ ตวั แทนของกลมุ่ ยอ่ ยทโ่ี ดดเดน่ ควรได้รับการข้ึนทะเบยี นในบญั ชรี ายชื่อมรดกโลกหรือไม่ ของเครอื ขา่ ยระดบั โลกในเรอ่ื งพน้ื ทอี่ นรุ กั ษก์ วา่ ๑๐๐,๐๐๐ แหง่ • แหลง่ มรดกควรถกู ขน้ึ ทะเบยี นในบญั ชรี ายชอื่ มรดกโลกในภาวะ เม่ือแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติมีการกระจายตัวไปท่ัวโลก อนั ตราย หรอื ถอดถอนจากบญั ชรี ายชอื่ มรดกโลก เนอ่ื งมาจาก และแสดงใหเ้ หน็ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ แหลง่ เหลา่ น้ี อทิ ธพิ ลของผลกระทบทเี่ กนิ กวา่ การควบคมุ ของรฐั ภาคนี นั้ ๆ หรอื ไม่ เปดิ รบั อทิ ธพิ ลของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในประเภท • รฐั ภาคอี าจใชม้ าตรา ๖(๓) ของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกเพอ่ื ระดบั ความรุนแรง และอตั ราที่แตกตา่ งกนั กลา่ วโทษรฐั ภาคอี นื่ ในความรบั ผดิ ชอบตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพ ภยั คกุ คามของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทกี่ ำ� ลงั มตี อ่ มรดกโลก ภูมอิ ากาศได้หรือไม่ ผลกระทบในปจั จบุ นั และทอ่ี าจมใี นอนาคตของการเปลยี่ นแปลง • อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกและแนวปฏิบัติท่ีเกี่ยวข้องควร สภาพภมู อิ ากาศตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพและระบบนเิ วศไดม้ ี พจิ ารณาอยา่ งจรงิ จงั หรอื ไมถ่ งึ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี า่ อาจเปน็ ไปไมไ่ ดท้ ี่ การศึกษาและรายงานเป็นอย่างดี ผลกระทบจ�ำนวนมากของ ทรพั ยส์ นิ ทางธรรมชาตบิ างแหง่ จะคงสภาพคณุ คา่ ทโ่ี ดดเดน่ เปน็ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทกี่ ลา่ วในตอนท่ี ๒.๑.๑ กำ� ลงั สากลดง้ั เดมิ ตามทไี่ ดข้ นึ้ ทะเบยี นในบญั ชรี ายชอ่ื มรดกโลก แมว้ า่ เกดิ ขนึ้ หรอื คาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ภายในระยะเวลาอนั สน้ั หรอื ปานกลางใน จะมีการใช้กลยุทธ์เพ่ือการปรับตัวและลดผลกระทบที่มี แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตหิ ลายแหลง่ ๑๒ การเปลยี่ นแปลงสภาพ ประสทิ ธภิ าพ ดงั นน้ั จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารประเมนิ คณุ คา่ ทโี่ ดดเดน่ ภมู อิ ากาศจะทวคี วามรนุ แรงของปญั หาดา้ นการบรหิ ารจดั การทม่ี อี ยู่ เป็นสากลที่ในลักษณะก�ำลังพัฒนาออกไป (‘evolving’ ในปจั จบุ นั และเปน็ ภยั คกุ คามทส่ี ง่ ผลถงึ ความบรบิ รู ณข์ องทรพั ยส์ นิ assessment of OUV values) ตา่ งๆ เชน่ การเปลย่ี นแปลงชนดิ พนั ธแ์ุ ละถนิ่ อาศยั การใชป้ ระโยชน์ คำ� ถามทเ่ี กดิ ขนึ้ ขา้ งตน้ มคี วามนา่ สนใจ เพราะแทบไมม่ ขี อ้ สงสยั เลยวา่ ทรพั ยากร การบรหิ ารจดั การทไ่ี มม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ชนดิ พนั ธท์ุ รี่ กุ ราน การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะมผี ลกระทบตอ่ คณุ คา่ และ และในบางกรณี ความขดั แยง้ ทางการทหาร นอกจากนนั้ ทรพั ยส์ นิ ความบรบิ รู ณต์ ามธรรมชาตขิ องแหลง่ มรดกโลก และยอ่ มสง่ ผลตอ่ มรดกโลกทางธรรมชาตสิ ว่ นหนงึ่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความออ่ นไหวตาม คณุ คา่ ทโ่ี ดดเดน่ เปน็ สากลและตอ่ การขน้ึ ทะเบยี นเปน็ แหลง่ มรดกโลก ธรรมชาตแิ ละความสามารถทจี่ ะรบั มอื ตอ่ ผลกระทบทางสงั คมและ ทางธรรมชาติ หากแหลง่ มรดกไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นเนอ่ื งจากธาร สง่ิ แวดลอ้ มในระดบั ตำ�่ สง่ิ เหลา่ นเี้ นน้ ยำ้� ถงึ ความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งมี นำ้� แขง็ ของแหลง่ เมอ่ื ธารนำ้� แขง็ ละลาย จะถอื วา่ การไมม่ ธี ารนำ�้ แขง็ กลไกการบรหิ ารจดั การเพอ่ื การปรบั ตวั ในเชิงนวตั กรรม คือไมม่ แี หลง่ มรดกโลกหรือไม่ ปัญหาเชน่ นอ้ี าจเกดิ ข้ึนกับกรณี ผลสืบเนอ่ื งในบรบิ ทของอนุสัญญาคมุ้ ครองมรดกโลก การเสอื่ มโทรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของ ในบรบิ ทเฉพาะของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก การเปลย่ี นแปลง ระบบนเิ วศชายฝง่ั อนั เนอ่ื งจากการเพมิ่ ขน้ึ ของระดบั นำ้� ทะเล ภยั พบิ ตั ิ สภาพภมู อิ ากาศเปน็ ปจั จยั ทเ่ี พมิ่ ความวติ กกงั วลถงึ ความวกิ ฤตใน ทางธรรมชาตทิ ถ่ี กู ชกั นำ� โดยเหตสุ ภาพอากาศทรี่ นุ แรงอาจกอ่ ใหเ้ กดิ การอนวุ ตั อิ นสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกในอนาคต แหลง่ มรดกโลก ผลกระทบทร่ี า้ ยแรงและไมอ่ าจยอ้ นกลบั สภาพเดมิ ไดข้ องมรดกทาง ทางธรรมชาตจิ ะไดร้ บั การขน้ึ ทะเบยี นในบญั ชรี ายชอื่ มรดกโลกหาก ธรณวี ทิ ยา ธรณสี ณั ฐาน ภมู ศิ าสตรก์ ายภาพ (เกณฑท์ ี่ ๘) ประการท่ี แหลง่ เหลา่ นน้ั ผา่ นเกณฑว์ า่ ดว้ ยคณุ คา่ ทโี่ ดดเดน่ ในระดบั สากลไมน่ อ้ ย สำ� คญั ทส่ี ดุ คอื การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพและชวี ภาพมผี ลตอ่ กระบวนการทางนเิ วศวทิ ยาและชวี วทิ ยาทกี่ ำ� ลงั ดำ� เนนิ อยแู่ ละยงั มผี ล ๑๑.ประเดน็ สว่ นใหญท่ กี่ ลา่ วถงึ ในสว่ นน้ี (จดั เตรยี มโดย IUCN) อา้ งองิ ถงึ ทรพั ยส์ นิ ตอ่ ถน่ิ ทอี่ ยตู่ ามธรรมชาตผิ า่ นการเปลย่ี นแปลงของพสิ ยั ของชนดิ พนั ธ์ุ มรดกทางธรรมชาติ ในขณะเดยี วกนั เนอ้ื หาโดยสว่ นใหญส่ ามารถปรบั ใชส้ ำ� หรบั และการสญู พนั ธ์ุ เกดิ การเปลยี่ นแปลงองคป์ ระกอบและโครงสรา้ งใน มรดกทางวฒั นธรรมได้ สงั คมสง่ิ มชี วี ติ (เกณฑท์ ี่ ๙ และ ๑๐) เปน็ ไปไดว้ า่ บญั ชรี ายชอื่ มรดก โลกทร่ี จู้ ักในปจั จุบนั อาจมีการเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรนุ แรง ๑๒.Dudley, 2003. No Place to Hide: Effects of Climate Change on Protected Areas. WWF Climate Change Programme, Berlin. ๑๓. ตามย่อหนา้ ที่ ๗๗ – ๗๘ และ ๘๗ – ๙๕ ของแนวปฏบิ ัติเพอื่ การด�ำเนินการ ตามอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก. Online: whc.unesco.org/en/guidelines. Online: www.worldwildlife.org/climate/pubs.cfm.

๒ การคาดการณ์และการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศท่ีมตี อ่ มรดกโลก 30 การด�ำเนนิ กลยุทธ์เพือ่ การบรหิ ารจัดการทีเ่ หมาะสม UNFCCC ตระหนกั วา่ ระบบภมู อิ ากาศเปน็ ทรพั ยากรทใ่ี ชร้ ว่ มกนั ตามทเี่ หตกุ ารณส์ ภาพอากาศทร่ี นุ แรง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ และการปลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละก๊าซเรอื นกระจกอ่นื ๆ มี และชีวภาพ และแรงกดดันท่ีเพิม่ ข้ึนจากการกระท�ำของมนษุ ย์ ผลตอ่ เสถยี รภาพของระบบ รฐั บาลตา่ งๆ จำ� เปน็ ตอ้ งรว่ มมอื กนั ทเี่ กดิ ขน้ึ ในขณะเดยี วกนั มผี ลตอ่ สภาวะความบรบิ รู ณข์ องทรพั ยส์ นิ และแบง่ ปนั ขอ้ มลู เกยี่ วกบั การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกและนโยบาย การบรหิ ารจดั การเพอื่ การปรบั ตวั และลดผลกระทบทเี่ หมาะสมยอ่ ม ระดับชาติ จึงมีการออกยุทธศาสตร์ระดับชาติเพ่ือแก้ปัญหา เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ ดงั นนั้ ขอ้ กำ� หนดเพอื่ การบรหิ ารจดั การรปู แบบใหมค่ วร การปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยมีวัตถุประสงค์สูงสุดคือ ถกู พจิ ารณาใหเ้ ปน็ ขอ้ กำ� หนดเบอ้ื งตน้ ของแหลง่ ทจ่ี ะผา่ นเกณฑส์ ภาวะ ‘เพอ่ื ใหบ้ รรลถุ งึ […]การรกั ษาระดบั ความเขม้ ขน้ ของกา๊ ซเรอื นกระจก ความบรบิ ูรณห์ รอื ไม่ ความบรบิ รู ณอ์ ันเปน็ สิง่ จำ� เปน็ ต่อการข้นึ ในบรรยากาศใหค้ งท่ี อยใู่ นระดับทปี่ ลอดภัยจากการแทรกแซง ทะเบยี นแหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาติ อาจไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ สง่ิ ของมนษุ ยท์ ีเ่ ป็นอันตรายตอ่ ระบบภมู ิอากาศ […] ในระยะเวลา ทม่ี คี ณุ คา่ เพราะภมู ทิ ศั นบ์ นบกและทะเลทสี่ มบรู ณด์ จี ะมผี ลในการ เพียงพอที่จะให้ระบบนิเวศปรับตัว โดยไม่คุกคามต่อการ ชว่ ยบรรเทาปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบ ผลิตอาหารของมนุษย์ และให้การพัฒนาการทางเศรษฐกิจ ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศมแี นวโนม้ ทจี่ ะชว่ ยยกระดบั ดำ� เนินต่อไปไดใ้ นลักษณะท่ียง่ั ยืน’ (มาตรา ๒ ของ UNFCCC) ความสำ� คญั ของแนวกนั ชนทม่ี กี ารบรหิ ารจดั การและออกแบบทด่ี ี ภาระหนกั ทสี่ ดุ ในการตอ่ สกู้ บั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตก ซ่ึงจะเปน็ สง่ิ ทเ่ี ชือ่ มแหล่งมรดกโลกเข้ากับภูมปิ ระเทศโดยรอบ อยู่ กบั ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ เนอื่ งจากความจรงิ ทว่ี า่ ประเทศทมี่ ี ผลสืบเนื่องท่ีเป็นไปไดต้ ่อแนวปฏบิ ัติ การพฒั นาการทางเศรษฐกจิ ตำ�่ กวา่ จะมกี ารปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วขา้ งตน้ การคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ อนั เนอ่ื งมาจากความจำ� เปน็ ในการพฒั นาทางเศรษฐกจิ สภาพภมู อิ ากาศในการประเมนิ การตรวจตดิ ตามการรายงาน และ กรอบการด�ำเนินงานเป็นเอกสารที่ถูกแก้ไขและเพิ่มเติมใน การอนรุ กั ษแ์ หลง่ มรดกโลกเปน็ ภาระทส่ี ำ� คญั และอาจมผี ลสบื เนอ่ื ง ระยะเวลาทีผ่ า่ นมา การเพ่มิ เตมิ แรกคือพธิ ีสารเกยี วโต (Kyoto ถงึ กระบวนการทำ� งานของคณะกรรมการมรดกโลก Protocol ค.ศ. ๑๙๙๗) ดังน้ัน ภายใต้การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงเป็นความ แผนการดำ� เนนิ งาน (บวั โนสไอเรส) เรยี กรอ้ งใหม้ กี ารดำ� เนนิ งาน เหมาะสมทจ่ี ะประเมนิ ความพอเพยี งของกระบวนการทำ� งานทรี่ ะบุ เพิม่ เตมิ โดยรวมถึงกิจกรรมดังน:ี้ ในแนวปฏบิ ตั เิ พอื่ การดำ� เนนิ การตามอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก • จดั ทำ� ขอ้ มลู และแบบจำ� ลอง การประเมนิ และการดำ� เนนิ งานดา้ น (Operational Guidelines for the Implementation of the ความเปราะบางและการปรับตัว World Heritage Convention) และเพอื่ ทำ� ความเขา้ ใจบทบาทของ • ให้กองทุนสิ่งแวดล้อมโลกรายงานในเร่ืองการสนับสนุนแผน อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกและคณะกรรมการในการรบั มอื กบั การดำ� เนนิ งาน ประเด็นน้ี และยังเป็นการด�ำเนินงานที่เหมาะสมแก่เวลาและ •ใหส้ ำ� นกั เลขาธกิ ารUNFCCCจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารระดบั ภมู ภิ าคเพอื่ ความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งเตรยี มยทุ ธศาสตรด์ า้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพ อำ� นวยความสะดวกในการแลกเปลย่ี นขอ้ มลู และการประเมนิ แบบ ภมู อิ ากาศทีเ่ หมาะสมส�ำหรบั มรดกโลก เบด็ เสรจ็ เรอื่ งการปรบั ตวั ทส่ี ะทอ้ นการใหค้ วามสำ� คญั ภายในภมู ภิ าค อะไรคอื สงิ่ ทด่ี ำ� เนนิ การไดใ้ นเรอ่ื งการเปลย่ี นแปลงสภาพ องคก์ รยอ่ ยดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (Subsidiary Body for ภมู อิ ากาศและมรดกโลก Scientific and Technological Advice—SBSTA) ไดร้ บั การรอ้ งขอให้ ประสบการณแ์ ละบทเรยี นจากการแกป้ ญั หาดา้ นการเปลย่ี นแปลง พฒั นาแผนการดำ� เนนิ งานระยะ ๕ ปี ในเรอ่ื งผลกระทบ ความเปราะบาง สภาพภมู อิ ากาศไดเ้ นน้ ยำ้� ถงึ ความจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งใชก้ ารตอบสนองดา้ น และการปรบั ตวั รา่ งรายชอ่ื กจิ กรรม (ค.ศ. ๒๐๐๖ - ๒๐๐๘) รวมถงึ การบรหิ ารจดั การทห่ี ลากหลายทงั้ ในระดบั ชาตแิ ละทอ้ งถน่ิ การตอบสนอง วธิ กี ารและเครอื่ งมอื ขอ้ มลู และการสงั เกตการณ์ การทำ� แบบจำ� ลองทาง เหลา่ นส้ี ามารถนำ� ไปปรบั ใชไ้ ดภ้ ายใตบ้ รบิ ทของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครอง ภมู อิ ากาศและการยอ่ สว่ นขอ้ มลู ลงในพนื้ ทข่ี นาดเลก็ (Downscaling) มรดกโลก และมกี ารวเิ คราะหแ์ นวทางเลอื กทเ่ี ปน็ ไปไดใ้ นยทุ ธศาสตร์ ขดี จำ� กดั ขอ้ มลู ทางสงั คม-เศรษฐกจิ แนวปฏบิ ตั ดิ า้ นการปรบั ตวั หลกั ทจี่ ะนำ� เสนอในสว่ นที่ ๓ และมบี รรยายรายละเอยี ดตามดา้ นลา่ ง การวจิ ยั เวทกี ารปรบั ตวั และการทำ� ใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางเศรษฐกจิ อนสุ ัญญาระหว่างประเทศ ในขณะเดยี วกนั มกี องทนุ ใหมถ่ กู ตง้ั ขนึ้ มา ๓ กองทนุ มกี ารจดั ทำ� การแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศในระดบั ต่างๆ ฐานขอ้ มลู เรอ่ื งยทุ ธศาสตรก์ ารรบั มอื ในระดบั ทอ้ งถน่ิ มคี วามตกลงใน ต้องการการพัฒนาการประสานก�ำลังและการเป็นหุ้นส่วน กรอบการดำ� เนนิ งานเรอื่ งการพฒั นาขดี ความสามารถ คณะผเู้ ชย่ี วชาญ ความรว่ มมอื กบั ความตกลงและขอ้ รเิ รม่ิ พหภุ าคดี า้ นสงิ่ แวดลอ้ มอนื่ ๆ สำ� หรับการหารอื (Consultative Group of Experts—CGE) ที่มีความสนใจในประเด็นเดียวกัน ดังน้ัน สิ่งส�ำคัญส�ำหรับ ได้พัฒนาเอกสารส�ำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ (hands-on คณะกรรมการมรดกโลก คอื การทำ� ใหม้ กี ารเชอื่ มโยงการทำ� งานที่ training) และมกี ารสมั มนาวา่ ดว้ ยการพฒั นาและถา่ ยทอดเทคโนโลยี ใกลช้ ดิ กนั เกดิ ขน้ึ ระหวา่ งแผนการดำ� เนนิ งานและขอ้ รเิ รมิ่ อนื่ ๆ ดงั น้ี สำ� หรบั การปรับตวั ในเดือนมถิ ุนายน ค.ศ. ๒๐๐๕ UNFCCC และพิธีสารเกียวโต คณะกรรมการมรดกโลกสามารถร่วมมือกับส�ำนักเลขาธิการ ความส�ำเร็จท่ีส�ำคัญของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย UNFCCC ในประเดน็ ดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโดย การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (United Nations Framework การนำ� เสนอขอ้ มูลในทีป่ ระชุมรัฐภาคีอนุสญั ญา (Conference Convention for Climate Change: UNFCCC, ค.ศ. ๑๙๙๒) of the Parties— COP)ในทปี่ ระชมุ องคก์ รยอ่ ย การเขา้ ไปรว่ ม คือการท�ำให้มีการตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ในแผนการดำ� เนนิ งานระยะ ๕ ปกี ารสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารแลกเปลย่ี น ภมู อิ ากาศ ในชว่ งตน้ ครสิ ตท์ ศวรรษ ๑๙๙๐ ซง่ึ ยงั มหี ลกั ฐานทาง ผู้เช่ียวชาญ และโดยการใช้แนวการด�ำเนินงานของ UNFCCC วทิ ยาศาสตรใ์ นเรอ่ื งการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจำ� นวนนอ้ ย หน่วยประสานงานกลางแห่งชาติของท้ังสองอนุสัญญาอาจ ทำ� งานรว่ มกนั ในประเดน็ ดา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

การคาดการณ์และการบริหารจัดการผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศที่มตี อ่ มรดกโลก ๒ แผนการท�ำงานของยูเนสโกว่าดว้ ยมนษุ ย์ ภมู อิ ากาศกำ� ลงั เกดิ ขน้ึ และอาจมผี ลอยา่ งมากมายตอ่ ลกั ษณะทาง 31 และชวี มณฑล (UNESCO’s นเิ วศวทิ ยาของพน้ื ทช่ี มุ่ นำ�้ และการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยงั่ ยนื ’ และ Programme on Man and the Biosphere—MAB) ‘…ดงั ทพ่ี น้ื ทชี่ มุ่ นำ้� อาจมบี ทบาทในการปรบั ตวั ตอ่ และการบรรเทา การวจิ ยั บนฐานระบบนเิ วศของMABมงุ่ เนน้ การวจิ ยั ประเดน็ ความยงั่ ยนื ผลกระทบที่เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ’ การลดความสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพและการดดู ซบั องคป์ ระกอบหลกั เพอ่ื การปรบั ตวั ทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั ความสนใจ คารบ์ อน โดยไดร้ ะบชุ นดิ ระบบนเิ วศทตี่ อ้ งใหค้ วามสำ� คญั คอื ระบบ ต่อไป คอื การประเมินความเปราะบางของพื้นทีช่ ุ่มน�ำ้ ตอ่ การ นเิ วศภเู ขา พนื้ ทที่ แ่ี หง้ แลง้ และเปน็ กรด เขตรอ้ นชนื้ เขตชายฝง่ั และ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ พนื้ ทชี่ มุ่ นำ�้ จำ� นวนมากเปราะบาง เกาะขนาดเล็ก รวมถึงบริเวณเมือง พ้ืนท่ีสงวนชีวมณฑล ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศไมว่ า่ จะเปน็ เนอ่ื งจากความ (biosphere reserves) ถกู นำ� มาใชเ้ ปน็ เครอื ขา่ ยสำ� หรบั การทดสอบ ออ่ นไหวของระบบทมี่ ตี อ่ การเปลยี่ นแปลงดา้ นอทุ กวทิ ยา และ/หรอื และเปน็ วธิ กี ารเพอื่ การลดการสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ เน่อื งจากแรงกดดันอ่ืนๆ จากกจิ กรรมของมนุษย์ (เปา้ หมายปี ค.ศ. ๒๐๑๐) และเพอ่ื รบั มอื กบั ภยั คกุ คามและโอกาส ความทา้ ทายในการบรหิ ารจดั การรวมถงึ การรบั มอื กบั ผลกระทบจาก ทมี่ าพรอ้ มกับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ แรงกดดนั ทห่ี ลากหลาย ในขณะทก่ี ารเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ความออ่ นไหวตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มในระดบั สงู ของระบบระหวา่ งมนษุ ย์ เปน็ แรงกดดนั ทเ่ี พม่ิ เตมิ อกี ประการหนง่ึ พน้ื ทช่ี มุ่ นำ�้ เปราะบางตอ่ และสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทภี่ เู ขาเปน็ บรบิ ททดี่ สี ำ� หรบั การศกึ ษาการ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมขี ดี ความสามารถในการปรบั ตวั เปลย่ี นแปลงของโลก แผนการดำ� เนนิ งาน UNESCO MAB รว่ มกบั ทจ่ี ำ� กดั ดงั นนั้ แนวทางแกไ้ ขเชงิ นวตั กรรมจงึ มคี วามจำ� เปน็ การวางแผน ขอ้ รเิ รมิ่ การวจิ ยั ภเู ขา (Mountain Research Initiative—MRI) บรหิ ารจดั การตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพ ไดเ้ รมิ่ ดำ� เนนิ โครงการวา่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงของโลกในเขตภเู ขา ภมู อิ ากาศและผลจากแรงกดดนั อน่ื ๆ และตอ้ งลดการเปลยี่ นแปลงทาง (Global Change in Mountain Regions—GLOCHAMORE) อทุ กวทิ ยาจากกจิ กรรมอนื่ ๆของมนษุ ย์ ลดแรงกดดนั ทไ่ี มเ่ กยี่ วกบั โดยพยายามท่ีจะรับมือกับประเด็นการเปล่ียนแปลงของโลก สภาพภมู อิ ากาศ และตอ้ งตรวจตดิ ตามการเปลยี่ นแปลงเหลา่ นด้ี ว้ ย โดยการทบทวนงานวจิ ยั ดา้ นสถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลงของโลก การตรวจตดิ ตามควรเปน็ สว่ นหนง่ึ ของยทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารจดั การ ในพน้ื ทสี่ งวนชวี มณฑลภเู ขาทค่ี ดั เลอื ก แลว้ นำ� มาใชใ้ นพน้ื ทศ่ี กึ ษา เพ่ือการปรับตัวด้วยเป็นส่ิงส�ำคัญในการพิจารณาระดับความมี นำ� รอ่ งสำ� หรบั การดำ� เนนิ กจิ กรรมทจี่ ะชว่ ยประเมนิ ผลกระทบของ ประสทิ ธภิ าพของทางเลอื กและระดบั ขนั้ ในการปรบั ตวั เพอื่ ใหส้ ามารถ การเปลยี่ นแปลงของโลกทม่ี ตี อ่ สงิ่ แวดลอ้ มภเู ขาและผคู้ น พน้ื ทสี่ งวน แก้ไขผลกระทบดา้ นลบทอ่ี าจเกิดขึ้น ขอ้ จำ� กดั ทส่ี ำ� คญั ของการ ชีวมณฑลที่ได้รับการคัดเลือกให้ร่วมโครงการในระยะแรก ดำ� เนนิ งานตามทางเลอื กการปรบั ตวั และการบรรเทาผลกระทบใน ของโครงการได้รวมถึงแหล่งมรดกโลกจ�ำนวนหนึ่ง๑๔ ดังน้ัน พนื้ ทช่ี มุ่ นำ้� คอื การขาดองคค์ วามรใู้ นเรอื่ งอทุ กวทิ ยา การทำ� งาน การ อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกและแผนการดำ� เนนิ งาน UNESCO MAB ใชป้ ระโยชน์ การบรหิ ารจดั การในอดตี และปจั จบุ นั ของพน้ื ทชี่ มุ่ นำ�้ จะสามารถรว่ มมอื และประสานงานในการทำ� กจิ กรรมในพน้ื ทเ่ี พอ่ื โครงการวจิ ยั นำ� รอ่ ง ณ แหลง่ มรดกโลกทเ่ี ปน็ พน้ื ทชี่ มุ่ นำ้� และเปน็ การพฒั นาและดำ� เนนิ การแนวทางตดิ ตามตรวจสอบ การปรบั ตวั แหล่งแรมซารอ์ าจชว่ ยเตมิ เต็มชอ่ งวา่ งเหล่านไ้ี ด้ และการบรรเทาผลกระทบสำ� หรบั แหลง่ มรดกโลกและพน้ื ทสี่ งวน รฐั ภาคสี มาชกิ ของอนสุ ญั ญาแรมซารต์ อ้ งบรหิ ารจดั การพนื้ ทช่ี มุ่ นำ�้ เพอื่ ชวี มณฑลในระบบนิเวศภเู ขา ยกระดบั ความตา้ นทานตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและตวั แปร มากไปกวา่ นนั้ ยงั มคี วามรว่ มมอื และการดำ� เนนิ งานทท่ี บั ซอ้ นกนั อนื่ (เหตกุ ารณท์ างภมู อิ ากาศทรี่ นุ แรง เชน่ นำ�้ ทว่ มหรอื ภยั แลง้ ) และ ระหวา่ งพนื้ ทสี่ งวนชวี มณฑลและแหลง่ พน้ื ทชี่ มุ่ นำ้� (Ramsar sites) สง่ เสรมิ การปกปอ้ งและฟน้ื ฟพู นื้ ทชี่ มุ่ นำ�้ และลมุ่ นำ�้ อนสุ ญั ญาแรมซาร์ (๘๕ แหลง่ ) พน้ื ทส่ี งวนชวี มณฑลและแหลง่ มรดกโลก (๗๔ แหลง่ ) ตระหนกั วา่ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะแตกตา่ ง และทงั้ สามรว่ มกนั (๑๘ แหลง่ ) ซง่ึ อาจใชเ้ ปน็ แนวทางการพฒั นาท่ี ระหวา่ งพนื้ ทช่ี มุ่ นำ�้ ประเภทตา่ งๆ และแนวทางการปรบั ตวั ทคี่ รอบคลมุ ยงั่ ยนื เพอื่ การยกระดบั การดดู ซบั คารบ์ อน ชวี ติ ความเปน็ อยู่ และ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ อกี ทง้ั ขดี ความสามารถของแตล่ ะภมู ภิ าคในการปรบั ตวั การลดความสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพ ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศขนึ้ อยกู่ บั ระดบั การพฒั นาทาง อนสุ ญั ญาแรมซารว์ า่ ดว้ ยพนื้ ทช่ี มุ่ นำ�้ (Ramsar Convention สงั คม-เศรษฐกจิ และระดบั การเปดิ รบั ตอ่ แรงกดดนั ทางภมู อิ ากาศทง้ั ใน on Wetlands (ค.ศ. ๑๙๗๑)) ปจั จบุ นั และอนาคต โดยทว่ั ไป ศกั ยภาพในการปรบั ตวั มคี วามจำ� กดั ยง่ิ ความสนใจในประเดน็ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเตบิ โตขนึ้ ในประเทศกำ� ลงั พฒั นาซง่ึ มแี นวโนม้ ทต่ี อ้ งเผชญิ ผลกระทบดา้ นลบจาก มากในกรอบการดำ� เนนิ งานของอนสุ ญั ญาแรมซาร๑์ ๕ นำ� ไปสกู่ าร การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศในระดบั ท่สี งู ยงิ่ กวา่ ประชมุ รฐั ภาคอี นสุ ญั ญาสมยั ที่ ๘ (COP8, Valecia ค.ศ. ๒๐๐๒) แหลง่ มรดกโลกจำ� นวนหนงึ่ เปน็ แหลง่ แรมซาร์๑๗และกลยทุ ธเ์ พอื่ การ และเอกสารทม่ี กี ารจดั ทำ� เพอื่ การประชมุ รวมถงึ ‘การเปลยี่ นแปลง ตอบสนองสำ� หรบั แหลง่ มรดกโลกทเี่ ปน็ พนื้ ทช่ี มุ่ นำ้� ควรสรา้ งบนฐานของการ สภาพภมู อิ ากาศและพนื้ ทช่ี มุ่ นำ�้ : ผลกระทบการปรบั ตวั และการ ดำ� เนนิ งานทผ่ี า่ นมา โดยเฉพาะการดำ� เนนิ งานภายใตอ้ นสุ ญั ญาแรมซาร์ บรรเทาผลกระทบ’ (Climate Change and Wetlands: Impacts, แหลง่ มรดกโดยทว่ั ไป รวมถงึ ดนิ ดอนสามเหลย่ี มแมน่ ำ�้ ดานบู (Danube Adaptation and Mitigation)๑๖ Delta) อทุ ยานแหง่ ชาตเิ อเวอรเ์ กลดส์ (Everglades) อทุ ยานแหง่ ชาติ มกี ารวางแผนเพอ่ื การปรบั ปรงุ และการคน้ หาแหลง่ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ใน ดอนญานา (Doñana National Park) ทะเลสาบไบคาล (Lake Baikal) เรอ่ื งระบบนเิ วศและชนดิ พนั ธใ์ุ นพนื้ ทชี่ มุ่ นำ้� โดยครอบคลมุ พน้ื ทชี่ มุ่ นำ�้ อนสุ ญั ญาแรมซารม์ งุ่ ความสนใจในการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งชาญฉลาดและ ในแผน่ ดนิ และชายฝง่ั รวมถงึ พนื้ ทพี่ รุ ขอ้ มตทิ ี่ VIII.3 ทไี่ ดร้ บั การ ยง่ั ยนื ผา่ นวธิ กี ารทางระบบนเิ วศความยง่ั ยนื ของพน้ื ทช่ี มุ่ นำ้� มคี วามออ่ นไหว รบั รองโดยรฐั ภาคสี มาชกิ ระบวุ า่ ‘…ดงั ทกี่ ารเปลยี่ นแปลงสภาพ ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของตวั แปรทางภมู อิ ากาศใดๆ เชน่ อณุ หภมู แิ ละ ปรมิ าณนำ้� ฟา้ มากไปกวา่ นนั้ ในปี ค.ศ. ๒๐๘๐ รอ้ ยละ ๒๐ ของ ๑๔. www.unesco.org/mab/mountains/home.htm. พื้นท่ีชุ่มน�้ำชายฝั่งในปัจจุบันอาจสูญหายเน่ืองจากการเพิ่มขึ้น ๑๕. IUCN, 1999. Wetlands and Climate Change. Exploring Collaboration ของระดับน้�ำทะเล between the Convention on Wetlands (Ramsar, Iran, 1971) and ๑๗. www.ramsar.org/world_heritage.htm. the UN Framework Convention on Climate Change. Online: www.ramsar.org/key_unfccc_bkgd.htm. ๑๖. Ramsar, 2002. Climate Change and Wetlands: Impacts, Adaptation and Mitigation. Ramsar COP 8 DOC 11. Online: www.ramsar.org/cop8/cop8_doc_11_e.htm.

๒ การคาดการณแ์ ละการบริหารจัดการผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อมรดกโลก 32 อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพ (Convention อีกประการส�ำคัญ คือ UNEP ได้พัฒนาขอ้ ริเริม่ ‘Issue Based on Biological Diversity—CBD) Modules (IBM)’ โดยความรว่ มมอื กบั UNEP-WCMC และ IUCN อนสุ ญั ญาฉบบั นค้ี รอบคลมุ ประเดน็ อยา่ งกวา้ งขวางทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การดำ� เนนิ งานทแ่ี นบแนน่ สำ� หรบั ความตกลงพหภุ าคดี า้ น การอนรุ กั ษแ์ ละการใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งยง่ั ยนื ของความหลากหลาย สง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพ (biodiversity- ทางชวี ภาพ ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ related Multilateral Environmental Agreements—MEAs) ความหลากหลายทางชวี ภาพไดร้ บั การตระหนกั อยา่ งดภี ายใตอ้ นสุ ญั ญา โครงการระยะนำ� รอ่ งไดร้ ะบุ ‘การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ’ เปน็ วา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพโดยในปีค.ศ.๒๐๐๐ทปี่ ระชมุ รฐั ภาคี หนง่ึ ในสปี่ ระเดน็ ของหลกั สตู ร IBM โดยหลกั สตู ร IBMs ไดร้ วบรวม ของอนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยความหลากหลายทางชวี ภาพไดใ้ หค้ วามสนใจตอ่ ขอ้ ตดั สนิ ใจภายใต้ MEAs เฉพาะในประเดน็ ทสี่ นใจอยา่ งเจาะจงและ ผลกระทบทร่ี นุ แรงตอ่ การสญู เสยี ความหลายหลายทางชวี ภาพในระบบ ให้ข้อแนะน�ำตอ่ รัฐภาคีส�ำหรบั การด�ำเนินการ นเิ วศบนบกและในทะเลและตอ่ วถิ คี วามเปน็ อยขู่ องประชาชนและรอ้ งขอ การออกแบบแผนบริหารจัดการที่ค�ำนึงถึงประเด็นการ ใหอ้ งคก์ รยอ่ ยทใี่ หค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นวทิ ยาศาสตร์ดา้ นเทคนคิ และเทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ของอนสุ ัญญา (Subsidiary Body on Scientific, Technical หากแผนบริหารจัดการได้รับการออกแบบและจัดท�ำอย่าง and Technological Advice—SBSTTA) กอ่ ตง้ั คณะผเู้ ชยี่ วชาญ เฉพาะเจาะจงเพอ่ื ใหเ้ ปน็ เอกสารการทำ� งานทส่ี ามารถปรบั ปรงุ ได้ ดา้ นเทคนคิ เฉพาะกจิ เพอื่ ทำ� การประเมนิ เชงิ ลกึ ตอ่ ความเกยี่ วขอ้ ง เปน็ ระยะแลว้ สง่ิ นจี้ ะเปน็ เครอ่ื งมอื ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการดแู ล เชอ่ื มโยงระหวา่ งความหลากหลายทางชวี ภาพและการเปลยี่ นแปลง แหล่งมรดกโลกภายใต้ภัยคุกคามด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ สภาพภมู อิ ากาศ ยงั คงมโี อกาสอยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทจ่ี ะบรรเทาปญั หาและ ภมู อิ ากาศ และกจิ กรรมทจ่ี ะใชร้ บั มอื กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพ ปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ควบคไู่ ปกบั การสง่ เสรมิ ภมู ิอากาศจะสามารถนำ� มารวมในเอกสารได้อย่างเหมาะสม การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพ รายงานดงั กลา่ วยงั ไดร้ ะบุ กจิ กรรมทเี่ ฉพาะเจาะจงสำ� หรบั การปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพ เครอื่ งมอื ทชี่ ว่ ยผทู้ มี่ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจในการประเมนิ ผลกระทบและ ภมู อิ ากาศดงั ตอ่ ไปน้ี อาจมคี วามสำ� คญั ในระดบั ภมู ภิ าคและทอ้ งถนิ่ เลือกแนวทางด�ำเนินโครงการด้านการบรรเทาผลกระทบและ ทง้ั นี้ ควรมกี ารพจิ ารณาทบทวนการกำ� หนดยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรบั ตวั การปรับตวั บนพ้ืนฐานของการได้รับขอ้ มลู ใหมเ่ ปน็ ระยะ ตามการคาดการณด์ า้ นภมู อิ ากาศทชี่ ดั เจนยงิ่ ขนึ้ : ในปี ค.ศ. ๒๐๐๔ ทปี่ ระชมุ รฐั ภาคสี มยั ที่ ๗ (กวั ลาลมั เปอร,์ ค.ศ. ๒๐๐๔) • การยกระดับการศึกษาและทกั ษะด้งั เดมิ อยา่ งเหมาะสม ไดเ้ สรมิ สรา้ งความรว่ มมอื ในระหวา่ งกจิ กรรมเพอื่ รบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลง • การตรวจติดตามและการบำ� รงุ รกั ษาที่เข้มงวด สภาพภมู อิ ากาศตา่ งๆเชน่ การกลายสภาพเปน็ ทะเลทรายและความเสอื่ ม- • งานวิจัยเพ่ือสนบั สนุนการตดั สนิ ใจในระดบั ประเทศ/ภูมิภาค โทรมของทด่ี นิ การอนรุ กั ษแ์ ละการใชป้ ระโยชนค์ วามหลากหลายทาง • การวางแผนรับมือภาวะฉกุ เฉนิ ชวี ภาพอยา่ งยง่ั ยนื และการพฒั นา ผา่ นยทุ ธศาสตรก์ ารอนรุ กั ษใ์ น • การทบทวนการประเมนิ ระดบั ความสำ� คญั ในการบรหิ ารจดั การใน ระดบั ประเทศทอ่ี อกแบบอยา่ งเจาะจงเพอื่ สรา้ งภมู ติ า้ นทานตอ่ การตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศภายในปีค.ศ.๒๐๑๐และไดม้ กี ารกอ่ ตงั้ • การฝกึ อบรมในเรอื่ งปญั หาทหี่ ลากหลายและการตอบสนองท่ี คณะผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นความหลากหลายทางชวี ภาพและการปรบั ตวั ตอ่ เปน็ ไปไดต้ อ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในหลากหลายมติ ิ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเพมิ่ ขน้ึ อกี ๑คณะเพอ่ื ทำ� การประเมนิ ใน ของการดำ� เนนิ กจิ กรรมดา้ นการอนรุ กั ษ์ เชน่ การพฒั นาทกั ษะ รายละเอยี ดโดยพบวา่ ระบบนเิ วศทางธรรมชาตแิ ละระบบทมี่ กี ารบรหิ าร ด้ังเดิม การตรวจติดตาม การบริหารจัดการและการเตรียม จดั การยงั คงมคี วามสามารถในการปรบั ตวั ดว้ ยตนเองเพอ่ื รบั มอื ความพรอ้ มเผชิญภาวะฉุกเฉิน การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศไมเ่ พยี งพอทจี่ ะหยดุ ยงั้ อตั ราการสญู เสยี ระดบั ของการปฏบิ ตั กิ าร (ระดบั แหลง่ ทอ้ งถนิ่ ภมู ทิ ศั น์ รฐั ภาคี ความหลากหลายทางชวี ภาพและควรมกี ารสง่ เสรมิ การปรบั ตวั เพอ่ื ใหร้ ะบบ ภูมิภาคหรอื รายประเดน็ ระดบั โลก) และการสร้างเครือข่าย นเิ วศมภี มู ติ า้ นทานทเี่ พม่ิ ขน้ึ หากพจิ ารณาตวั อยา่ งประเดน็ การเปลย่ี นแปลง การมสี ่วนรว่ มของชมุ ชนทอ้ งถ่ิน พสิ ยั ของชนดิ พนั ธ์ุ แมว้ า่ การเปลย่ี นแปลงของโลกในอดตี นำ� มาซง่ึ สงิ่ สำ� คญั ทค่ี วรไดร้ บั ความสนใจคอื ระบบองคค์ วามรทู้ อ้ งถน่ิ และวถิ ี การเปลยี่ นแปลงพสิ ยั ชนดิ พนั ธข์ุ องสงิ่ มชี วี ติ และชวี นเิ วศครงั้ ใหญ่ ของทอ้ งถนิ่ ทเี่ ขา้ ใจการเปลย่ี นแปลงของภมู อิ ากาศและปรบั ตวั ตอ่ แตก่ ารเปลยี่ นแปลงในอดตี นน้ั เกดิ ในระดบั ภมู ปิ ระเทศโดยรวมซงึ่ ยงั ไมแ่ ยก การเปลี่ยนแปลงนั้น ชุมชนจ�ำเป็นต้องเข้าเป็นส่วนหนึ่งของ แตกออกเปน็ ผนื เลก็ ๆเชน่ ในปจั จบุ นั ประกอบกบั แรงกดดนั จากกจิ กรรม กระบวนการทั้งหมดในการท�ำความเข้าใจและรับมือกับ ของมนษุ ยท์ น่ี อ้ ยกวา่ ในปจั จบุ นั ดงั นน้ั สงิ่ หนงึ่ ทอ่ี ยใู่ นกระแสความสนใจ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (เชน่ ทกี่ ลา่ วไวใ้ นกรณศี กึ ษาอทุ ยาน หลกั ของ CBD จงึ รวมถงึ การสรา้ งระเบยี งเชอ่ื มระหวา่ งพนื้ ท่ี (corridors) แหง่ ชาตวิ าสการาน, ดกู ลอ่ งขอ้ ความท่ี ๔ ในหนา้ ๒๒) ภาคสว่ นทมี่ ี เพอ่ื ปกปอ้ งความหลากหลายทางชวี ภาพจากผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง อทิ ธพิ ลในระดบั ทอ้ งถน่ิ ควรเขา้ มามสี ว่ นในกระบวนการเชน่ กนั เชน่ สภาพภมู อิ ากาศ และเพอ่ื สรา้ งความตระหนกั ในบทบาทสำ� คญั ของพนื้ ท่ี ภาคการทอ่ งเทยี่ ว (เชน่ อุทยานทางทะเลเกรทแบรร์ เิ ออรร์ ฟี , อนรุ กั ษท์ ม่ี สี ว่ นชว่ ยบรรเทาผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ดูกล่องข้อความท่ี ๕ ในหน้า ๒๒) หรือภาคอตุ สาหกรรม (เช่น การคน้ พบเหลา่ นนี้ ำ� มาซงึ่ คำ� ปรกึ ษาและขอ้ แนะนำ� ตอ่ วธิ กี ารในการเสรมิ การทำ� เหมอื งในอทุ ยานแหง่ ชาตวิ าสการาน, ดกู ลอ่ งขอ้ ความท่ี ๔ ใหป้ ระเดน็ ความหลากหลายทางชวี ภาพเปน็ สว่ นสำ� คญั ของกจิ กรรมดา้ น ในหน้า ๒๒) การมีส่วนร่วมรวมถึงในการวางแผนและ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ทง้ั ในระดบั ชวี กายภาพ (biophysical การด�ำเนนิ งานบริหารจัดการ การตรวจตดิ ตามและอ่ืนๆ level)และระดบั เครอ่ื งมอื และแนวทางการปฏบิ ตั ิขอ้ มลู นอี้ าจนำ� ไปปรบั แนวทางการดำ� เนนิ งานทม่ี งุ่ เนน้ ภมู ทิ ศั น์ (Landscape-based ใชก้ บั การบรหิ ารจดั การพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษโ์ ดยทว่ั ไปและตอ่ แหลง่ มรดกโลกเพอ่ื approach) การบรรเทาผลกระทบและการปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภยั คกุ คามทเี่ ปน็ ไปไดจ้ ะมใี นหลายรปู แบบและจะกระทบแตล่ ะ ความเชอื่ มโยงระหว่างอนสุ ญั ญา ประเภทของมรดกในลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ดงั นน้ั แหลง่ มรดกจงึ ขอ้ รเิ รมิ่ ใดๆ ทเี่ กยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมรดกโลก ควรถกู มองใหเ้ ปน็ ไปในลกั ษณะผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั กบั ภมู ทิ ศั น์ ควรมกี ารเชอ่ื มโยงรว่ มกบั อนสุ ญั ญาหรอื แผนการทำ� งานทกี่ ลา่ วไป ขา้ งตน้ อยา่ งใกลช้ ดิ และมปี ระสทิ ธภิ าพ การหารอื รว่ มกบั สำ� นกั เลขาธกิ ารของอนสุ ญั ญาและแผนการทำ� งานดงั กลา่ วตอ่ ไปเปน็ สงิ่ สำ� คญั

การคาดการณแ์ ละการบริหารจดั การผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศท่ีมีต่อมรดกโลก ๒ การตงั้ ถน่ิ ฐาน (เมอื งและชนบท) อาคาร และวตั ถแุ ละเครอ่ื งสะสม การฝึกอบรมด้านการบ�ำรุงรักษา และพิจารณาริเร่ิมหุ้นส่วน ดังนั้น แหล่งมรดกควรจะได้รับการพิจารณาภายในบริบท ความรว่ มมอื กบั มหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบนั ทมี่ คี วามโดดเดน่ ดา้ น สงิ่ แวดลอ้ มทกี่ วา้ งขวางและเชอื่ มโยงกบั การวางแผนของทงั้ ระบบ งานวิจัยเพ่ือให้ม่ันใจว่างานวิจัยน้ันรับมือกับปัญหาด้านการ การสรา้ งเครอื ข่าย เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จะมีต่อมรดกทางวัฒนธรรม ‘ระบบทางธรรมชาตแิ ละสงั คมของแต่ละภมู ิภาคมีคุณลักษณะ งานวจิ ยั ทรพั ยากร และสถาบนั ทหี่ ลากหลาย และยงั ตอ้ งเผชญิ กบั แรงกดดนั งานวจิ ยั ในเรอื่ งผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ ทงั้ ทหี่ ลากหลายสง่ ผลใหเ้ กดิ ความแตกตา่ งกนั ในความออ่ นไหวและขดี ลกั ษณะของมรดกทางกายภาพและกระบวนการทางสงั คมและ ความสามารถในการปรับตัว’ (บทสรุปเชิงวิชาการของคณะ วฒั นธรรมควรจะมมี ากขนึ้ คณะกรรมการระหวา่ งรฐั บาลวา่ ดว้ ยเรอื่ ง กรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ซงึ่ จดั ตงั้ เมอ่ื ปี ค.ศ. ๑๙๘๘ ไดใ้ ช้ ภมู อิ ากาศ (IPCC Technical Summary), หนา้ ที่ ๔๔) คำ� กลา่ วน้ี ผลงานของผเู้ ชย่ี วชาญจากทว่ั โลกเพอ่ื ใหข้ อ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ดา้ นการ ระบชุ ดั เจนถงึ ผลกระทบในระดบั โลกของการเปลยี่ นแปลงสภาพ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทตี่ รงตามวตั ถปุ ระสงคแ์ กผ่ จู้ ดั ทำ� ภมู อิ ากาศ อยา่ งไรกต็ าม ความทา้ ทายนต้ี อ้ งไดร้ บั การแกไ้ ขในระดบั นโยบาย รายงานการประเมนิ (Assessment report) ของ IPCC ให้ ภมู ภิ าค โดยความรบั ผดิ ชอบในการปรบั ตวั ตกอยใู่ นระดบั ทอ้ งถน่ิ ขอ้ มลู ผลกระทบและการตอบสนองทเี่ ปน็ ไปไดด้ า้ นการเปลยี่ นแปลง แผนผงั ดา้ นลา่ ง (รปู ท่ี ๑) แสดงถงึ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งผลกระทบ สภาพภมู อิ ากาศในเชงิ วชิ าการ เชงิ วทิ ยาศาสตร์ และเชิงสงั คม- ความทา้ ทาย และการตอบสนอง ซงึ่ เสนอแนะวา่ ผทู้ จี่ ดั การในระดบั เศรษฐกจิ รายงานแตล่ ะฉบบั จะประกอบดว้ ยบทสรปุ สำ� หรบั ผกู้ ำ� หนด ทอ้ งถนิ่ จำ� เปน็ ตอ้ งศกึ ษาศกั ยภาพในการพฒั นาหรอื ปรบั แผนและ นโยบาย รายงานการประเมนิ ฉบบั ท่ี ๓ ถกู จดั ทำ� ในปี ค.ศ. ๒๐๐๑ กจิ กรรมการบรหิ ารจดั การในปจั จบุ นั ใหต้ อบสนองตอ่ ความทา้ ทาย และรายงานฉบบั ท่ี ๔ จะได้รับการตพี มิ พ์ในปี ค.ศ. ๒๐๐๗ ดา้ นการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ผลกระทบ ในระดบั โลก ปญั หาในภูมิภาค ๑ ปัญหาในภูมภิ าค ๒ ปญั หาในภูมภิ าค ๓ ทรัพยากรส�ำหรบั ทรพั ยากรสำ� หรับ ทรพั ยากรส�ำหรับ การบรหิ ารจดั การ การบรหิ ารจัดการ การบริหารจัดการ พฒั นา / ปรบั ใชแ้ ผนการบรหิ ารจดั การทมี่ ีอยู่ / ปฏิบัตกิ าร โดย: การตรวจตดิ ตาม; การจัดการขอ้ มูล; การเตรียมพร้อมรบั มือกับภัยคกุ คาม รปู ท่ี ๑: แผนผงั แสดงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งผลกระทบและการตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในระดบั โลก ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั ทอ้ งถน่ิ ไมม่ ผี ใู้ ดสามารถดำ� เนนิ งานทซ่ี บั ซอ้ นนโี้ ดยโดดเดย่ี วได้ การเสรมิ คณะทำ� งานชดุ ที่ ๒ ของ IPCC ไดร้ บั มอบหมายใหป้ ระเมนิ ผลกระทบ 33 ความแขง็ แกรง่ ของเครอื ขา่ ยทมี่ อี ยแู่ ลว้ เปน็ สงิ่ สำ� คญั รว่ มกบั การทำ� การปรบั ตวั และความเปราะบางของสงั คมตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพ ใหม้ นั่ ใจวา่ ประเดน็ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะเปน็ สว่ นหนงึ่ ภมู อิ ากาศ ตวั รายงานมงุ่ เนน้ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพ ของการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ภายในเครอื ขา่ ยเหลา่ นน้ั อทิ ธพิ ลของ ภมู อิ ากาศตามรายสาขา เชน่ ระบบนเิ วศ สงั คมและการตง้ั ถนิ่ ฐาน และ สง่ิ แวดลอ้ มตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม เชน่ การเปลย่ี นแปลงสภาพ ผลกระทบในระดบั ภมู ภิ าคซงึ่ โดยทว่ั ไปเปน็ การรายงานในระดบั ทวปี ภมู อิ ากาศ เกดิ ขน้ึ ในลกั ษณะขา้ มพรมแดน อยา่ งนอ้ ยทส่ี ดุ เครอื ขา่ ย ศนู ยม์ รดกโลกของยเู นสโกสามารถมสี ว่ นรว่ มกบั นกั วจิ ยั หลกั ดา้ น ระดบั ภมู ภิ าคจำ� เปน็ ตอ้ งถกู เสรมิ ใหแ้ ขง็ แกรง่ และมงุ่ ความสนใจไปยงั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจาก IPCC เพ่ือสนับสนุนให้ การปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สำ� นกั งานยเู นสโก นกั วจิ ยั เหลา่ นน้ั มงุ่ ในประเดน็ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั มรดกทางวฒั นธรรมให้ ในระดับภูมิภาคควรสนับสนุนข้อริเร่ิมในระดับท้องถิ่น เช่น มากขนึ้ เพอื่ ใหม้ น่ั ใจวา่ ขอ้ มลู ทางภมู อิ ากาศทเี่ กย่ี วขอ้ งโดยตรงกบั ความตระหนกั รขู้ องทอ้ งถน่ิ การเตรยี มความพรอ้ มเผชญิ ภาวะฉกุ เฉนิ มรดกโลกไดร้ บั ความสนใจในระดับท่เี หมาะสม

๒ การคาดการณ์และการบริหารจัดการผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศที่มตี อ่ มรดกโลก 34 มสี ถาบนั และองคก์ รดา้ นวจิ ยั และการศกึ ษาจำ� นวนมากทว่ั โลก๑๘ ที่ • หนา้ สมั ผสั (Interface) ระหวา่ งวสั ดทุ เี่ ปราะแตกงา่ ย (fragile) เกย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาวจิ ยั ดา้ นผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพ และแข็งแกร่งมาก (very robust) ภมู อิ ากาศ จงึ มคี วามจำ� เปน็ ยง่ิ ทยี่ ทุ ธศาสตรด์ า้ นมรดกของชาตติ อ้ ง ความคลมุ เครอื ในเรอื่ งการรกั ษามรดกทางวฒั นธรรมทงั้ หมดไว้ สร้างแผนการด�ำเนินงานเพอ่ื รว่ มมอื กนั กบั องค์กรเหล่านน้ั ภายใตก้ ารเผชญิ หนา้ กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ตอ้ ง การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู การสอื่ สาร และการสรา้ งการสนบั สนนุ แกป้ ญั หาโดยใชข้ อ้ มลู วา่ ดว้ ยความหมายและความบอบบางของ จากภาคสาธารณะและการเมือง มรดกทางวฒั นธรรม ซงึ่ รวมถงึ การปรบั ตวั การสญู เสยี และการ การเสริมขีดความสามารถเป็นส่ิงส�ำคัญส�ำหรับการรับมือกับ ละทิง้ ที่จะเกดิ ขน้ึ ภายใต้สภาพอากาศที่รนุ แรง ผลกระทบดา้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และสำ� คญั สำ� หรบั การสอื่ สารและการสรา้ งแรงสนบั สนนุ จากภาคสาธารณะและการเมอื ง แผนการดำ� เนนิ งานดา้ นการสอ่ื สารและการสรา้ งความตระหนกั ทดี่ ี การขบั เคลอ่ื นการสนบั สนนุ จากภาคสาธารณะและการเมอื งตอ่ อกี ทง้ั มคี วามจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งมกี ารรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ใหด้ ี ประเดน็ การปรบั ตวั และบรรเทาผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง ยิ่งข้ึนเพื่อจ�ำแนกปัจจัยที่เปล่ียนแปลงไปท่ีเกี่ยวข้องกับ สภาพภมู อิ ากาศทงั้ ภายในและภายนอกแหลง่ มรดกโลกเปน็ สง่ิ สำ� คญั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การดำ� เนนิ การนจ้ี ำ� เปน็ ตอ้ งมี ซง่ึ ตอ้ งครอบคลมุ ทงั้ แนวทางในระดบั ทอ้ งถนิ่ ไปจนถงึ ระดบั ภมู ภิ าค การพฒั นาระบบตดิ ตามตรวจสอบทเ่ี หมาะสมในทท่ี ย่ี งั ไมม่ ี และ และระดบั โลก และตอ้ งดงึ มาตรการทห่ี ลากหลายเขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง ปรับปรุงระบบตดิ ตามตรวจสอบท่ีมอี ยแู่ ล้วใหด้ ียง่ิ ข้นึ เชน่ การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร งานแสดงและนทิ รรศการ สอื่ รณรงค์ การบรหิ ารจดั การขอ้ มูล อปุ กรณโ์ สตทศั นปู กรณ์ และสอื่ สง่ิ พมิ พท์ ไ่ี ดร้ บั ความนยิ ม ซงึ่ จะ ความเขา้ ใจในวทิ ยาศาสตรข์ องวสั ดแุ ละสว่ นประกอบดง้ั เดมิ เปน็ รากฐาน เชอื่ มโยงปรากฏการณด์ า้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในระดบั ของการบรหิ ารจดั การแหลง่ มรดกโลกอยา่ งยง่ั ยนื ภายใตส้ ภาพอากาศท่ี โลกให้ลงมาสู่บริบทของท้องถ่ินและภูมิภาค โดยส่วนใหญ่ กำ� ลงั เปลย่ี นแปลง (ครอบคลมุ ถงึ การแผอ่ ทิ ธพิ ลของฝนอณุ หภมู สิ งู ใน การสนบั สนนุ ในระดบั สงู สดุ จะไดม้ าจากการเชอื่ มโยงผลกระทบใน ฤดรู อ้ น และการเพม่ิ ขน้ึ ของคลอไรด)์ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการตรวจตดิ ตาม ระดบั ทอ้ งถนิ่ และภมู ภิ าคไปยงั ระดบั ปจั เจก และรวมถงึ การเชอื่ มโยง โดยการลงพน้ื ทตี่ อ้ งสอดคลอ้ งกบั ขนาดและระยะเวลาของปญั หา ในทางกลับกัน ตัวอย่างแนวทางในการส่ือสารที่เรียบง่ายและ และข้อเสนอแนะตอ้ งออกแบบมาเพ่ือการนัน้ โดยเฉพาะ ตรงไปตรงมาในเรอื่ งผลกระทบ และผลสบื เนอ่ื งของการเปลยี่ นแปลง ไมเ่ พยี งเหตกุ ารณร์ นุ แรงเทา่ นนั้ ทคี่ วรไดร้ บั การบนั ทกึ ไว้ แตค่ วรจะมี สภาพภมู อิ ากาศ ในบรบิ ททอ้ งถน่ิ และภมู ภิ าคทด่ี งึ ดดู ความสนใจจาก การบนั ทกึ วฏั จกั รการเปลย่ี นแปลงระยะสน้ั ซง่ึ สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ สาธารณะและการเมอื งเกดิ ในเขตพชื เคปในแอฟรกิ าใต้ (ดกู ลอ่ ง การเปลยี่ นแปลงสะสมทม่ี นี ยั สำ� คญั ตอ่ มรดกทางวฒั นธรรมเชน่ กนั ขอ้ ความท่ี ๒ ในหนา้ ๒๑) ซงึ่ ไดผ้ ลประโยชนท์ ต่ี ามมาตอ่ งานวจิ ยั การบันทึกการเปล่ียนแปลงของวัฏจักรระยะส้ันจะค่อยๆ ให้ การตดั สนิ ใจในระดบั นโยบาย การวางแผนและการบรหิ ารจดั การ๑๙ ความกระจา่ งในเรอื่ งผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ หนง่ึ ในขอ้ เรยี กรอ้ งของคณะกรรมการในขอ้ ตดั สนิ ใจที่๒๙Com๗B.aท่ี ที่มีต่อมรดกทางวัฒนธรรม และจะช่วยเพ่ิมพูนความเข้าใจใน เกย่ี วกบั การใช้เครอื ข่ายมรดกโลกระบวุ ่า ‘เพ่อื แสดงให้เห็นถึง ปรากฏการณน์ ้ี ประเดน็ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นมากยงิ่ กวา่ ทยี่ งั ตอ้ งการ การดำ� เนนิ การบรกิ ารจดั การทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งกระทำ� เพอื่ รบั มอื กบั ภยั คกุ คาม การสนบั สนนุ จากงานวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ คอื การบนั ทกึ รวบรวม [จากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ]ทงั้ ภายในทรพั ยส์ นิ และในบรบิ ทที่ กระบวนการทเ่ี กดิ อยา่ งสะสมซงึ่ จะนำ� ไปสกู่ ารเตมิ เตม็ ขอ้ มลู บน กว้างข้ึน’ เพื่อท่ีจะด�ำเนินการตามประเด็นในข้อตัดสินใจนี้ พื้นฐานของเหตกุ ารณ์ต่างๆ (events-based data) มขี อ้ เสนอใหใ้ ชแ้ หลง่ มรดกโลกบางแหลง่ เปน็ แบบสาธติ สำ� หรบั ประเทศและ ขอ้ มลู ในแตล่ ะดา้ นทจ่ี ำ� เปน็ ดงั ตอ่ ไปนี้ จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารเผยแพร:่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ ในการออกแบบยุทธศาสตร์การปรับตัว • แบบจำ� ลองทางการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการตรวจ และการบรรเทาผลกระทบสำ� หรบั แหลง่ มรดกโลกทป่ี ระสบความทา้ ทายดา้ น ติดตามทป่ี รบั ใหเ้ หมาะสมตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ อาจเกดิ การสอื่ สารในประเดน็ นี้ ใน ๒ • การพยากรณก์ ารทรดุ ตวั และการพองตวั ของพน้ื ดนิ เนอื่ งจากสภาพ ระดบั ในระดบั แรกคอื ระดบั ทอ้ งถนิ่ และภมู ภิ าคทซี่ งึ่ แหลง่ มรดกโลกถกู ใช้ อากาศท่ีรนุ แรง เปน็ ดงั ทย่ี ดึ เหนย่ี วในการสรา้ งความตระหนกั และยทุ ธศาสตรใ์ นเชงิ พน้ื ท่ี • การท�ำความเข้าใจกลไกการท�ำความเสียหายและการฟื้นตัว และในระดบั ประเทศ(มกี ารรวมกลมุ่ ระหวา่ งองคก์ รเอกชนภาคการศกึ ษา เน่อื งจากสภาพอากาศทรี่ ุนแรง และนกั วจิ ยั ในพนื้ ท)่ี ในระดบั ทสี่ อง คอื ระดบั โลก ในการเผยแพร่ • การทำ� ความเขา้ ใจ อทิ ธพิ ลของฝนุ่ และมลพษิ ทพี่ ดั พามาโดยลมใน ยทุ ธศาสตรท์ พี่ ฒั นาขนึ้ มาใหมไ่ ปยงั คณะกรรมการมรดกโลกรฐั ภาคสี มาชกิ ระดับทอ้ งถนิ่ ท่นี ำ� ไปสูก่ ารกดั เซาะและผกุ ร่อน และผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งผา่ นทางเครอื ขา่ ยNGO(องคก์ รทใี่ หค้ ำ� ปรกึ ษาและ • การทำ� ความเขา้ ใจอทิ ธพิ ลของการอพยพของศตั รพู ชื และการทำ� ให้ NGOดา้ นการอนรุ กั ษ)์ เครอื ขา่ ยการศกึ ษาและองคก์ รของสหประชาชาติ ตดิ เช้ือในรูปแบบใหม่ เช่น ปลวก ดังนน้ั แหล่งมรดกโลกจึงมบี ทบาททง้ั ในฐานะ “แหล่งเจา้ บ้าน • การท�ำความเข้าใจความต้านทานต่อน�้ำของวัสดุและเทคนิค (host sites)” ทม่ี กี ารออกแบบพฒั นาและด�ำเนินการโครงการ ในการก่อสร้าง นำ� รอ่ งในพน้ื ที่ และในฐานะ “แหลง่ เมลด็ พนั ธ์ุ (seed sites)” ทซ่ี งึ่ • การประเมนิ ปรมิ าณสำ� รองของวสั ดทุ ดแทนและการพฒั นาเทคโนโลยี ข้อความเก่ียวกับมาตรการตอบสนองที่ประสบความส�ำเร็จถูก แบบเกา่ เชน่ เทคโนโลยกี ารใชป้ ูนขาว (Lime technology) แพรก่ ระจายออกไป หากเปน็ ไปได้ กจิ กรรมทดี่ ำ� เนนิ การกบั แหลง่ • สมรรถนะในการรบั มอื กบั สงิ่ แวดลอ้ มของอาคารทางประวตั ศิ าสตร์ มรดกโลกควรพฒั นาบนฐานขององคค์ วามรทู้ ม่ี อี ยเู่ ดมิ กจิ กรรมควรมี ภายใตส้ ภาพอากาศรนุ แรง ความจำ� เพาะทงั้ เชงิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละตอ่ ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง และให้ ๑๘. Centre for Ecological Sciences (India), The United Kingdom ๑๙. Bomhard, B., Midgley, G.F., 2005. Securing Protected Areas in the Meteorological Office, the South African National Biodiversity Face of Global Change: Lessons Learned from the South African Institute, the Australian Institute for Marine Science, etc. Cape Floristic Region. A Report by the Ecosystems, Protected Areas, and People Project. IUCN, Bangkok and SANBI, Cape Town. Online: www.iucn.org/themes/wcpa/pubs/theme.htm#climate

การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศทมี่ ตี ่อมรดกโลก ๒ กรอบการดำ� เนนิ งานดา้ นการประสานความรว่ มมอื โดยรฐั ภาคสี มาชกิ และ • ตอ้ งดำ� เนนิ การตดิ ตามตรวจสอบการเปลยี่ นสภาพของวสั ดใุ น 35 ผจู้ ดั การแหลง่ โดยสว่ นใหญถ่ กู คาดหวงั วา่ จะใหค้ วามรว่ มมอื ในการพฒั นา มรดกทางวฒั นธรรม โดยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งเขม้ งวด และดำ� เนนิ โครงการนำ� รอ่ งในแหลง่ มรดกโลกของตนโดยเฉพาะกรณที มี่ ี • ตอ้ งตระหนกั วา่ มาตรการบำ� รงุ รกั ษาจะถกู ตรวจสอบอยา่ งเขม้ งวด การสนบั สนนุ เงนิ ทนุ จากภายนอก มขี อ้ เสนอแนะวา่ รฐั ภาคอี าจถกู ขอให้ มากขน้ึ เนอ่ื งจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และอาจตอ้ ง จดั เตรยี มขอ้ มลู และแหลง่ มรดกสำ� หรบั การทำ� โครงการนำ� รอ่ ง รบั รอง ใช้ทรัพยากรในสดั สว่ นท่มี ากขน้ึ ต่อการดำ� เนินการดังกล่าว ขอ้ เสนอโครงการสรา้ งแรงสนบั สนนุ จากภาคสาธารณะและการเมอื งรเิ รมิ่ • ต้องออกแบบวัตถุประสงค์การวางแผนการบริหารจัดการท่ี โครงการนำ� รอ่ งดว้ ยความรว่ มมอื กบั ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง หรอื จดั เตรยี ม ยดื หยนุ่ เพอ่ื ใหก้ ารจดั ลำ� ดบั ความสำ� คญั สามารถถกู ทบทวนได้ การเงนิ การรว่ มทนุ หรอื การสนบั สนนุ ทไ่ี มอ่ ยใู่ นรปู ของตวั เงนิ (in-kind เพ่อื ใหต้ อบสนองตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ support) เช่น เจา้ หนา้ ที่ สำ� นกั งาน และยานพาหนะ • ต้องมีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาความเข้าใจและ อกี หนงึ่ ขอ้ เรยี กรอ้ งจากคณะกรรมการมรดกโลกในการประชมุ สมยั ท่ี องคค์ วามรู้ เพอื่ สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในระดบั ทอ้ งถนิ่ และภมู ภิ าค ๒๙ (เดอรบ์ นั , ค.ศ. ๒๐๐๕) มเี กย่ี วกบั การเผยแพรข่ อ้ มลู ในเรอ่ื ง และเพอ่ื ดำ� รงคณุ คา่ และความสำ� คญั ทางวฒั นธรรมไวใ้ นบรบิ ท ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ แหลง่ มรดกโลก ของสงั คม/ส่งิ แวดลอ้ มนั้นๆ โดยให้ “เขา้ ถงึ สาธารณะในวงกวา้ ง เพอื่ ทจี่ ะระดมการสนบั สนนุ ทาง ในประเดน็ การสอ่ื สารน้ี อาจมกี ารสรา้ งความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานท่ี การเมอื งสำ� หรบั กจิ กรรมทต่ี อ่ ตา้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เกยี่ วขอ้ ง (เชน่ มลู นธิ สิ หประชาชาติ (United Nations Foundation)) และเพอื่ ปกปกั รกั ษาวถิ กี ารดำ� รงชวี ติ ของประชาชนทย่ี ากจนทสี่ ดุ ใน มลู นธิ สิ หประชาชาตมิ คี วามเชยี่ วชาญในการใชเ้ ครอื ขา่ ยขององคก์ ร โลกของพวกเรา” ตามทมี่ รดกโลกผกู พนั อยกู่ บั สถานทที่ น่ี า่ จดจำ� มี ทอ้ งถน่ิ ในการทำ� งานรว่ มกบั สอื่ และขา้ ราชการเพอ่ื สรา้ งความเชอื่ มน่ั ชอ่ื เสยี ง โดง่ ดงั และนา่ ชนื่ ชมทส่ี ดุ ทว่ั โลก สถานทเี่ หลา่ นบ้ี างแหง่ จงึ และการสนบั สนนุ ใหแ้ กส่ หประชาชาติ ในระดบั โลก อาจมกี ารสรา้ ง ถกู เสนอแนะใหใ้ ชเ้ พอื่ การสอื่ สารขอ้ มลู วา่ ดว้ ยผลกระทบโดยตรง ความรว่ มมอื กนั ของกลมุ่ ผสู้ นบั สนนุ (ประเทศตา่ งๆ องคก์ รของ ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เพอ่ื ทจ่ี ะเขา้ ถงึ สาธารณะและ สหประชาชาติ NGOs และอนื่ ๆ) เพอื่ รว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมสู่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ในการทำ� กจิ กรรมโดยยทุ ธศาสตรแ์ ละกจิ กรรม ภายนอก ทงั้ ลกั ษณะกจิ กรรมอสิ ระหรอื กระทำ� รว่ มกนั เพอื่ ทำ� ให้ ควรมกี ารพฒั นาขนึ้ มาในระดบั ตา่ งๆ การพฒั นากรณศี กึ ษาวา่ ดว้ ย ประเด็นการสอื่ สารนี้ ถูกขบั เคลอ่ื นไปขา้ งหน้า ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ แหลง่ มรดกโลกที่ การประเมนิ ความเปราะบาง มชี อ่ื เสยี งบางแหง่ อาจเรยี กรอ้ งความสนใจจากสาธารณะ สอื่ และ มรดกทางธรรมชาติ ผมู้ อี ำ� นาจในการออกนโยบาย การคดั เลอื กแหลง่ ทจ่ี ะทำ� กรณศี กึ ษา การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศมีอิทธิพลต่อชีวนิเวศอย่าง ยอ่ มตอ้ งผา่ นการหารอื ในระยะตอ่ ไปรว่ มกบั รฐั ภาคสี มาชกิ และ กวา้ งขวาง อทิ ธพิ ลทเ่ี ปน็ ไปไดข้ องการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภายในคณะกรรมการมรดกโลก ทม่ี ตี ่อความหลากหลายทางชีวภาพบนบก มีดงั น้ี แหลง่ ทจี่ ะไดร้ บั การคดั เลอื กควรเปน็ ตวั แทนทคี่ รอบคลมุ ลกั ษณะ การประเมนิ ความเปราะบางของแหลง่ มรดกโลกและการพฒั นา ต่างๆ มากท่ีสดุ กล่าวคอื : ยทุ ธศาสตร์เพอื่ แหลง่ มรดกโลกทไ่ี ด้รับความเสยี่ งสงู ทสี่ ุด • ประเภทของแหลง่ (มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ทิ ศั นท์ างวฒั นธรรม แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตมิ คี วามเปราะบางเนอื่ งมาจากการมโี อกาส มรดกทางธรรมชาต)ิ เสย่ี งภยั และขดี ความสามารถในการปรบั ตวั ตอ่ ผลกระทบของการ • คณุ คา่ และความสำ� คัญ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ใี นปจั จบุ นั และทเี่ ปน็ ไปไดใ้ นอนาคต • ความเสยี หายทเี่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ วตั ถปุ ระสงคโ์ ดยทวั่ ไปในการประเมนิ ความเปราะบาง คอื เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู • การแทรกแซงทตี่ ง้ั ใจ/เพอ่ื การบรหิ ารจดั การ หรอื การตอบสนอง แกผ่ มู้ อี ำ� นาจตดั สนิ ใจในการเลอื กแนวทางทเ่ี จาะจงในการบรรเทาหรอื เพอ่ื การปรบั ตวั เชน่ แผนหรอื มาตรการเพอ่ื ตอบโตภ้ ยั คกุ คามจาก ปรบั ตวั ตอ่ ผลของการเปลยี่ นแปลงของโลก๒๐ ดว้ ยความเปราะบางที่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ หลากหลายอยา่ งมากในแตล่ ะสถานทต่ี งั้ ทำ� ใหจ้ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี าร • การดำ� เนนิ งานในอนาคตทง้ั ระยะสนั้ กลาง และระยะยาว เพอื่ วเิ คราะหใ์ นระดบั พนื้ ท่ี โดยยงั คงตอ้ งมกี ารเชอ่ื มโยงการวเิ คราะห์ ปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ ควบคไู่ ปกบั แหลง่ อนื่ และขอบเขตการวเิ คราะหอ์ น่ื ดว้ ย๒๑ แนวทางน้ี แนวปฏบิ ัตทิ ่ีเปน็ เลิศ สามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาติ ดว้ ยวา่ ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ควรจะมเี ขา้ มามสี ว่ นอยา่ งใกลช้ ดิ กบั กระบวนการ มรดกโลกกา้ วขา้ มขอบเขตเชงิ พน้ื ทท่ี งั้ หมด ดว้ ยแตล่ ะแหลง่ มขี นาด ตรวจสอบผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และ ทแี่ ตกตา่ งกนั ฝงั ตวั อยใู่ นระบบนเิ วศทงั้ บนบกและในทะเลทหี่ ลาก การพฒั นายทุ ธศาสตรก์ ารปรบั ตวั ความเชอื่ มโยงทแ่ี นน่ แฟน้ ระหวา่ ง หลาย กระจายอยทู่ วั่ โลก ดว้ ยศาสตรใ์ นปจั จบุ นั ของการประเมนิ มรดกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติอาจสะท้อนออกมาผ่าน ความเปราะบาง ได้ให้กรอบการด�ำเนินงานส�ำหรับประเมิน กรณศี กึ ษาเหลา่ นคี้ วรเปน็ โอกาสทจี่ ะแสดงใหเ้ หน็ วา่ มาตรการการ ความเปราะบางของแหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาติ บนพน้ื ฐานของ ปรบั ตวั สามารถพฒั นาใหเ้ กดิ ขน้ึ โดยหลกี เลย่ี งสถานการณท์ ไี่ มไ่ ดร้ บั การประเมินท้ังในเชิงวิทยาศาสตร์ และจากผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ความรว่ มมอื จากภาคสาธารณะตอ่ ประเดน็ การเปลยี่ นแปลงสภาพ ในดา้ นการเปดิ รบั ความออ่ นไหว และความสามารถในการปรบั ตวั ภมู อิ ากาศไดอ้ ย่างไร ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารประเมนิ น้ี กรณศี กึ ษาเหลา่ นี้ อาจสามารถใชเ้ ปน็ แหลง่ นำ� รอ่ งเพอ่ื การทดสอบใน ภายใต้อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลกจะมีอิทธิพลอย่างมากใน พน้ื ทจี่ รงิ ในการพฒั นายทุ ธศาสตรท์ เี่ หมาะสม จากตวั อยา่ งเหลา่ นี้ ระดับชาตแิ ละระหวา่ งประเทศ สามารถดงึ หลกั การสำ� คญั สำ� หรบั การพฒั นาแนวทางการตอบสนองเพอื่ การปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศอยา่ งยง่ั ยนื ออกมาได้ ๒๐. Schröter et al., 2005. Assessing vulnerabilities to the effects of ดงั นี้: global change: an eight step approach. Mitigation and Adaptation • ตอ้ งทำ� ใหม้ น่ั ใจวา่ การพฒั นาการศกึ ษาและการสอนทกั ษะดงั้ เดมิ ถกู ปรบั Strategies for Global Change 10, 573-596. ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความจำ� เปน็ ในเรอื่ งสงิ่ แวดลอ้ มทก่ี ำ� ลงั เปลยี่ นแปลง ๒๑. Turner et al., 2003. A framework for vulnerability analysis in sustainability science. PNAS 100, 8074-8079.

๒ การคาดการณ์และการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ีตอ่ มรดกโลก 36 แนวทางการดำ� เนนิ งานทง้ั สองดา้ นจงึ มคี วามจำ� เปน็ กลา่ วคอื แนวทางที่ ๕. หาตวั ชวี้ ดั สำ� หรบั องคป์ ระกอบตา่ งๆ ของความเปราะบาง หนงึ่ รฐั ภาคคี วรประเมนิ ความเปราะบางของแหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาติ • ตวั ชว้ี ดั การเปิดรับ ซงึ่ กำ� ลงั ตกอยภู่ ายใตค้ วามเสย่ี ง และควรมกี ารออกแบบและดำ� เนนิ • ตัวช้ีวดั ความออ่ นไหว กลยทุ ธเ์ พอื่ ลดผลกระทบและปรบั ตวั ในระดบั แหลง่ มรดกรว่ มกบั • ตัวชว้ี ัดขดี ความสามารถในการปรบั ตัว ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง แนวทางทสี่ อง รฐั ภาคแี ละผจู้ ดั การแหลง่ มรดก จำ� เปน็ ตอ้ งมองไปยงั ระดบั ทสี่ งู กวา่ เพยี งแหลง่ มรดกเดย่ี วๆ และ ๖. ใช้แบบจ�ำลองเพื่อจำ� ลองความเปราะบางในปัจจบุ ัน พฒั นาและดำ� เนนิ การยทุ ธศาสตรก์ ารลดผลกระทบและการปรบั ตวั • ใชแ้ บบจำ� ลองเพื่อถว่ งนำ้� หนักและประกอบช้ีวดั เขา้ ในระดบั ภมู ภิ าคและ/หรอื ขา้ มพรมแดนซง่ึ จะลดความเปราะบางของ ดว้ ยกัน แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตใิ นบรบิ ทของภมู ปิ ระเทศและภมู ทิ ศั น์ • ใชแ้ บบจำ� ลองเพอ่ื สรา้ งหนว่ ยวดั ของความเปราะบางใน ทางทะเลทก่ี วา้ งขวางยง่ิ ขน้ึ แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตติ อ้ งถกู มอง ปจั จบุ นั ในลกั ษณะเปน็ แกนกลางภายในเครอื ขา่ ยระดบั ภมู ภิ าคทท่ี ำ� งานเรอื่ ง • ตรวจสอบผลลพั ธก์ ับผมู้ ีสว่ นเก่ยี วขอ้ งและฝ่ายอน่ื ๆ พน้ื ทอี่ นรุ กั ษ์ เรอ่ื งระเบยี งเพอื่ การอนรุ กั ษ์ และเปน็ ขนั้ ตอนเพอื่ ให้ บรรลสุ เู่ ปา้ หมาย (stepping-stones) แหลง่ มรดกโลกท่ี ‘มสี ขุ ภาพด’ี ๗. คาดการณค์ วามเปราะบางในอนาคต จะประกอบเปน็ ภมู ทิ ศั นท์ างบกและทางทะเลท่ี ‘มสี ขุ ภาพด’ี ซง่ึ จะ • เลอื กภาพฉายอนาคตรว่ มกับผ้มู สี ว่ นเก่ยี วข้อง สามารถเปน็ แนวกนั ชนตอ่ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพ • ภาพฉายอนาคตควรแสดงให้เหน็ ถึงแนวโนม้ ทอี่ าจเกดิ ภมู อิ ากาศไดด้ กี วา่ ศนู ยม์ รดกโลกและองคก์ รทใี่ หค้ ำ� ปรกึ ษาของ ขน้ึ ทั้งหมด อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกควรสง่ เสรมิ รฐั ภาคแี ละผจู้ ดั การแหลง่ มรดก • ใชแ้ บบจำ� ลองเพอื่ สรา้ งหนว่ ยวดั ของความเปราะบางใน ใหร้ ว่ มมอื กบั สถาบนั การศกึ ษาและการวจิ ยั ในการทำ� งานเหลา่ นใ้ี หส้ ำ� เรจ็ อนาคต และเผยแพรอ่ งคค์ วามรูพ้ รอ้ มประสบการณเ์ รื่องการปรับตัว ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและการบรรเทาผลกระทบ ๘. สื่อสารเรอื่ งความเปราะบางอย่างสร้างสรรค์ แนวทาง ๘ ขน้ั ไดร้ บั การพฒั นาเพอื่ เปน็ แนวในการประเมนิ ความ • ใชส้ ื่อทีต่ อบโต้กันไดห้ ลากหลายชอ่ งทาง เปราะบางของระบบทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งมนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม • ให้ความชัดเจนเกย่ี วกับความไมแ่ น่นอน (coupled human-environment systems) (ดกู ลอ่ งขอ้ ความที่ ๙) • เชือ่ มน่ั ในผูม้ ีสว่ นเกยี่ วขอ้ ง แนวทางนอ้ี าจประยกุ ตใ์ ชโ้ ดยงา่ ยสำ� หรบั แหลง่ มรดกโลกและสามารถ ใชช้ แี้ นะการทำ� งานระยะตอ่ ไปในเรอ่ื งความเปราะบางภายใตอ้ นสุ ญั ญา การประเมนิ ความเปราะบางทงั้ หมดเปน็ งานทย่ี ากลำ� บากเนอื่ งจาก คมุ้ ครองมรดกโลก สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ในการประเมนิ ความเปราะบาง ความซบั ซอ้ นของปจั จยั กระบวนการ และการตอบสนองทเี่ กดิ ใน คอื ไมค่ วรมองผลของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศแยกออกมา ระบบทอ่ี ยรู่ ว่ มกนั ระหวา่ งมนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม๒๓ และอาจเปน็ สง่ิ ที่ จากสงิ่ อน่ื แตค่ วรประเมนิ ความเปราะบางของแหลง่ มรดกโลกตอ่ อยเู่ หนอื ขดี ความสามารถของรฐั ภาคแี ละผจู้ ดั การแหลง่ มรดกจำ� นวน ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงของโลกในภาพรวม เนอื่ งจากแตล่ ะ มากในปจั จบุ นั ดงั นนั้ บทบาทของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกทเ่ี ปน็ ปจั จยั กจิ กรรมมคี วามเกย่ี วขอ้ งระหวา่ งกนั อยา่ งมาก กญุ แจสำ� คญั คอื การสรา้ งความเชอื่ มโยงกบั องคก์ รและสถาบนั ที่ ดำ� เนนิ งานในประเดน็ ดา้ นการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทอี่ ยใู่ น กลอ่ งขอ้ ความท่ี ๙ ประเทศของตนหรอื ในภมู ภิ าค การปรบั แนวทางทรี่ ะบขุ า้ งตน้ ให้ แนวทาง ๘ ขนั้ ตอนเพอื่ การประเมนิ ความเปราะบาง๒๒ เหมาะสมกบั ความตอ้ งการทเี่ จาะจงของแตล่ ะประเทศเปน็ สงิ่ ท่ี สำ� คญั กรอบแนวคดิ โดยทว่ั ไปทนี่ ำ� เสนอในทนี่ ไี้ ดใ้ หจ้ ดุ เรม่ิ ตน้ ทม่ี ี ๑. กำ� หนดพนื้ ทกี่ ารศกึ ษารว่ มกบั ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งและเลอื ก ประโยชนใ์ นการประเมนิ ความเปราะบางของแหลง่ มรดกโลก โดย ขอบเขตเชงิ พน้ื ทแี่ ละเวลา กรอบแนวคดิ นสี้ มควรไดร้ บั การปรบั ปรงุ (ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจไดง้ า่ ย) เพอ่ื ให้ ๒. ทำ� ความรจู้ กั พนื้ ทท่ี ท่ี ำ� การศกึ ษา โดยการทบทวนจากเอกสาร เหมาะสมกบั ความเฉพาะเจาะจงของแตล่ ะพน้ื ท่ี การติดต่อและท�ำงานร่วมกับนักวิจัย การใช้เวลาในพ้ืนที่ การประเมนิ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในอนาคตผา่ น ร่วมกบั ผู้มสี ว่ นเกีย่ วข้อง และการประเมินพืน้ ท่โี ดยรอบ การใช้เครอ่ื งมอื และคูม่ ือที่เหมาะสม ๓. สร้างสมมตฐิ านว่าใครมคี วามเปราะบางตอ่ อะไร: IPCC๒๔ ๒๕ไดจ้ ดั ทำ� ชดุ คมู่ อื เชงิ วชิ าการเพอื่ การประเมนิ ผลกระทบ มุ่งเปา้ หมายไปทีผ่ ู้มีสว่ นเกีย่ วข้องกล่มุ ยอ่ ยและจ�ำแนก ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและยทุ ธศาสตรก์ ารตอบสนอง แรงตงึ เครยี ดตวั ทเี่ ปน็ ตวั ขบั เคลอื่ น (driving stresses) และ ในภาพรวม ซง่ึ ไดร้ บั การทบทวนจากมมุ มองจากภาคสว่ นชายฝง่ั ปฏิสมั พันธ์ระหว่างแรงตงึ เครยี ดตวั ตา่ งๆ ทะเลเรยี บร้อยแล้ว๒๖ และเมื่อไมน่ านมาน้ีไดม้ ีการอภิปรายใน ๔. พฒั นาแบบจาํ ลองเชงิ สาเหตุ (Causal model) ในเรอื่ งความ รายละเอยี ดวา่ ดว้ ยผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เปราะบาง และยุทธศาสตร์การตอบสนองส�ำหรับหม่เู กาะ๒๗ • โอกาสเสย่ี งภยั (Exposure) ความออ่ นไหว (Sensitivity) และ ขดี ความสามารถในการปรับตวั (Adaptive capacity) ๒๓.Turner et al., 2003. Illustrating the coupled human-environment • จดั ทำ� ใหอ้ ยูใ่ นรูปแบบของแบบจ�ำลอง system for vulnerability analysis: three case studies. PNAS 100, 8080-8085. ๒๒. สำ� หรบั การอภปิ รายในรายละเอยี ดโปรดดใู น Schröter et al. (2005, Assessing ๒๔.Carter et al., 1994. IPCC Technical Guidelines for Assessing Climate vulnerabilities to the effects of global change: an eight step approach. Change Impacts and Adaptations. Department of Geography, University College London, London. Mitigation and Adaptation Strategies for Global Change 10, 573-596). ๒๕.Parry & Carter, 1998. Climate Impact and Adaptation Assessment: a ส�ำหรับการประเมินความเปราะบาง บทบาทของแบบจ�ำลองทางตัวเลขคือ Guide to the IPCC Approach. Earthscan, London. การคาดการณส์ ภาวะในอนาคตของระบบ ในทีน่ ี้ ขั้นตอนที่ ๑ – ๓ จะเกิด ๒๖.Klein et al., 1999. Coastal adaptation to Climate Change: can the กอ่ นการท�ำแบบจำ� ลอง ในขณะทีข่ ้นั ตอนที่ ๔ – ๘ เกดิ ขน้ึ เปน็ สว่ นหนึ่งของ IPCC Technical Guidelines be applied? Mitigation and Adaptation การท�ำแบบจ�ำลองและกระบวนการ modeling refinement Strategies for Global Change 4, 239-252. ๒๗.Tompkins et al., 2005. Surviving Climate Change in Small Islands: a Guidebook. Tyndall Centre for Climate Change Research, Norwich. Online: www.tyndall.ac.uk/publications/surviving.pdf.

การคาดการณแ์ ละการบริหารจดั การผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี ่อมรดกโลก ๒ สำ� หรบั ระบบทางธรรมชาติ๒๘และพน้ื ทอี่ นรุ กั ษ์๒๙๓๐ ไดม้ บี ทเรยี น แหลง่ มรดกโลก อยา่ งไรกด็ ี การปกปอ้ งคณุ คา่ ของแหลง่ มรดกโลก 37 และคมู่ อื ในเบอื้ งตน้ แตย่ งั ตอ้ งไดร้ บั การปรบั ปรงุ เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั และการบรหิ ารจัดการท่ดี นิ ภายในพื้นที่ ขน้ึ อย่กู บั การระบุและ ทรพั ยส์ นิ ของมรดกโลก การใชค้ มู่ อื เหลา่ นใี้ นการประเมนิ ผลกระทบ การแยกแยะประเดน็ การบรหิ ารจัดการทเี่ ปน็ กญุ แจสำ� คัญ ในระดบั ภมู ภิ าคและทอ้ งถน่ิ ยงั คงเปน็ ความทา้ ทาย ดงั นน้ั อนสุ ญั ญา • ประเดน็ การบรหิ ารจดั การทเี่ ปน็ กญุ แจสำ� คญั ครอบคลมุ ถงึ ขอ้ มลู คมุ้ ครองมรดกโลกควรสง่ เสรมิ การพฒั นาและการทดสอบคมู่ อื ทมี่ อี ยู่ เชิงพรรณาที่ใช้ในการระบุประเด็นทุกประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับ เทยี บกบั ประสบการณท์ ม่ี อี ยใู่ นปจั จบุ นั เชน่ ‘การประเมนิ ผลกระทบ ความจำ� เป็นในการบริหารจัดการ (management needs) ของการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ ความหลากหลายทาง • การประเมนิ เหตผุ ลทแ่ี หลง่ มรดกโลกออ่ นไหวและเปราะบางตอ่ ชวี ภาพในระดบั ภมู ภิ าค: แนวทางสำ� หรบั ผจู้ ดั การพนื้ ทอ่ี นรุ กั ษ’์ ของ แรงกดดนั ทางการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ครอบคลมุ ถงึ WWF และรวมถงึ ผลจากโครงการของ IUCN ในประเทศเนปาล วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการแหล่งมรดกโลกบนพื้นฐาน (อทุ ยานแหง่ ชาตสิ คารมถะ) และเปรู (อทุ ยานแหง่ ชาติ Tambopata การมองไปในอนาคตระยะ ๒๐, ๒๕ หรอื ๓๐ ปี และวตั ถปุ ระสงค์ และพนื้ ทส่ี งวนชวี มณฑล Inambar) ทซี่ งึ่ มกี ารพฒั นาระบบการ ระยะกลาง ๕ ถงึ ๑๐ ปี สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจบนพนื้ ฐานของคอมพวิ เตอร์ (computer- แผนท่คี วามเส่ยี งและความเปราะบาง based Decision Support System—DSS) เพือ่ ประเมนิ การ เราไมส่ ามารถรอใหม้ กี ารวจิ ยั ทสี่ มบรู ณเ์ พอื่ ชแ้ี นะการบรหิ ารจดั การ เปลย่ี นแปลงไปของระบบนเิ วศทต่ี อบสนองตอ่ ปจั จยั ตา่ งๆ ทางสงั คม มรดกทางวัฒนธรรมภายใต้เง่ือนไขการเปลี่ยนแปลงสภาพ และส่งิ แวดล้อม ภมู อิ ากาศ การจดั ทำ� แผนท่คี วามเสยี่ งและความเปราะบางของ มรดกทางวฒั นธรรม มรดกโลกในภมู ภิ าคและอนภุ มู ภิ าคทเ่ี ปรยี บเทยี บซอ้ นกนั ระหวา่ ง แนวทางระดับภูมภิ าคและรายประเดน็ ขอ้ มลู ทางภมู อิ ากาศและตำ� แหนง่ ทต่ี ง้ั ของแหลง่ มรดกจงึ เปน็ สง่ิ ยทุ ธศาสตรร์ ะดบั ภมู ภิ าคใหค้ วามเชอื่ มโยงระหวา่ งขอ้ รเิ รมิ่ ดา้ น สำ� คญั เพอ่ื จะไดม้ าซง่ึ ภาพรวมของความเสย่ี งในแตล่ ะมติ ขิ องมรดก การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในระดบั โลกและแผนการบรหิ ารจดั การ ทางวฒั นธรรม ยุทธศาสตร์เพอื่ การปรบั ตวั ทลี่ งรายละเอียดจะ ในระดบั ทอ้ งถนิ่ เนอ่ื งจากขอ้ มลู ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สามารถถูกพฒั นาขนึ้ มาไดโ้ ดยใช้ข้อมลู เหลา่ นี้ อยบู่ นพนื้ ฐานของภาพฉายอนาคตในระดบั ภมู ภิ าค ดงั นนั้ จงึ เปน็ การ การตดิ ตามตรวจสอบ เหมาะสมทจ่ี ะใชข้ อ้ มลู ทม่ี อี ยแู่ ละผลติ ขอ้ มลู ทมี่ คี วามสนใจรว่ มกนั รปู แบบการตดิ ตามตรวจสอบทเี่ รยี บงา่ ยทส่ี ดุ รปู แบบหนงึ่ คอื การ ระหวา่ งแหลง่ มรดกโลกในภมู ภิ าค ยทุ ธศาสตรร์ ะดบั ภมู ภิ าคอาจแปล ตรวจตดิ ตามโดยชมุ ชนและโดยสาธารณะทวั่ ไป อยา่ งไรกด็ ี เพอื่ ให้ ความจากขอ้ มลู ของ IPCC เพอ่ื ใหเ้ กย่ี วขอ้ งกบั สถานการณใ์ นระดบั เปน็ ไปโดยมปี ระสทิ ธภิ าพ การตรวจตดิ ตามประเภทนจี้ ำ� เปน็ ตอ้ งมี ทอ้ งถน่ิ อาจสง่ เสรมิ การจดั ทำ� แผนทคี่ วามเปราะบางในภมู ภิ าคหรอื แผนการดำ� เนนิ งานดา้ นการยกระดบั ความตระหนกั ในนยั สำ� คญั ของ อนภุ มู ภิ าค และอาจใหค้ ำ� ชแี้ นะในเรอ่ื งแผนการดำ� เนนิ การตรวจ มรดกและความส�ำคัญของการจดบันทึกและการรายงานการ ตดิ ตามทจ่ี ะเหมาะสมกบั แหลง่ มรดกโลกในภมู ภิ าคซงึ่ ไดร้ บั ผลกระทบ เปลย่ี นแปลง เพอื่ ความยง่ั ยนื ของมรดกทางวฒั นธรรมภายใตก้ าร ตา่ งๆ กนั จากแตล่ ะตวั แปรทางภูมิอากาศ อาจให้มกี ารจดั กล่มุ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ จงึ เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ ยง่ิ ทชี่ มุ ชนจะตอ้ งสอื่ สาร แหลง่ มรดกตามประเภททม่ี แี นวโนม้ ประสบภยั คกุ คามคลา้ ยคลงึ กนั ไปยงั คนอกี รนุ่ หนงึ่ ผา่ นการจดบนั ทกึ เหตกุ ารณท์ างภมู อิ ากาศในอดตี เชน่ แหลง่ มรดกทางโบราณคดี แหลง่ มรดกทเ่ี คลอื่ นยา้ ยได้ แหลง่ มรดก และผลกระทบทม่ี ตี อ่ มรดกทางวฒั นธรรม สงิ่ นจี้ ะเปน็ ตวั ชว่ ยใหค้ นรนุ่ ทางชายฝ่ัง ภูเขา และทางทะเล ปจั จบุ นั เรยี นรจู้ ากอดตี และสง่ ตอ่ องคค์ วามรใู่ นเรอื่ งวฒั นธรรมทเ่ี จาะจง แนวทางระดบั ทอ้ งถ่ิน ของสถานทนี่ นั้ และขดี ความสามารถในการปรบั ตวั ไปยงั คนรนุ่ ตอ่ ไปใน ขอ้ บงั คบั ภายใตอ้ นสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกในการพฒั นาระบบ อนาคต การบรหิ ารจดั การแหลง่ มรดกโลก เปน็ โอกาสในการผนวกมาตรการ มกี ารรบั รใู้ นวงกวา้ งถงึ ความจำ� เปน็ ในเรอื่ งทกั ษะงานฝมี อื ในการใช้ การปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเข้าไปใน วสั ดแุ ละระบบกอ่ สรา้ งแบบดงั้ เดมิ สง่ิ ทเ่ี ปน็ ความจำ� เปน็ เรง่ ดว่ นคอื กระบวนการ โดยเอกสารตา่ งๆ เชน่ แผนการบรหิ ารจดั การควรมี การตรวจตดิ ตามความสำ� เรจ็ และความลม้ เหลวของกระบวนการ ขอ้ ความระบวุ ตั ถปุ ระสงคค์ วามจำ� เปน็ ในการอนรุ กั ษแ์ หลง่ มรดกโลก ภายใตก้ ารเผชญิ กบั ปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และ และลกั ษณะภมู ทิ ศั นใ์ นระยะยาว โดยมคี วามมงุ่ หมายเพอ่ื สรา้ ง การวจิ ยั ในเรอ่ื งระบบการกอ่ สรา้ งและเรอ่ื งวสั ดดุ ง้ั เดมิ ทอี่ าจจะ ความสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์ การเขา้ ถงึ โดยสาธารณะ และ ไดร้ บั การปรบั ปรงุ ใหส้ ามารถรบั มอื กบั สภาวะรนุ แรงหรอื การเปลยี่ นแปลง ผลประโยชนข์ องบคุ คลทอี่ าศยั และทำ� งานอยใู่ นพนื้ ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ ของภมู ิอากาศท่ีฉบั พลนั ได้ ดังกลา่ วอาจอยู่บนพ้ืนฐานของ: ในขณะเดยี วกนั ควรมกี ารมงุ่ เปา้ ไปยงั กลยทุ ธเ์ พอื่ การตรวจตดิ ตาม • การระบคุ ณุ คา่ ทโี่ ดดเดน่ เปน็ สากลของแหลง่ มรดกโลก รวมถงึ เหตผุ ล อยา่ งมอื อาชพี มคี วามจำ� เปน็ ในการใชก้ ารสำ� รวจระยะไกล เชน่ ทที่ ำ� ใหแ้ หลง่ มรดกโลกมคี วามพเิ ศษและไดร้ บั การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ การใชเ้ ทคโนโลยดี าวเทยี ม เทคนคิ แบบไมท่ ำ� ลาย (non-destructive techniques) ตวั ตรวจวดั ทางชวี ภาพ (biosensing) เพอ่ื ประเมนิ ๒๘. Hansen et al., 2003. Buying Time: a User’s Manual for Building ความเสยี หายทางชวี ภาพของวสั ดุ และการใชเ้ ครอ่ื งมอื จำ� ลองแบบ Resistance and Resilience to Climate Change in Natural Systems. (simulation) เพอ่ื การพยากรณผ์ ลกระทบของการเปลยี่ นแปลง WWF Climate Change Programme, Berlin. สภาพภูมอิ ากาศ ต่อพฤตกิ รรมของวัสดใุ นมรดกทางวฒั นธรรม Online: www.worldwildlife.org/climate/pubs.cfm. ระบบและผลิตภัณฑ์ท่ใี ชเ้ ทคโนโลยีขั้นสูงอาจรวมถึง: ๒๙. Barber et al. (eds.), 2004. Securing Protected Areas in the Face of • เครอื่ งมอื สำ� หรบั การตรวจตดิ ตามความลม้ เหลวของสง่ิ แวดลอ้ ม/ Global Change: Issues and Strategies. A Report by the Ecosystems, องคป์ ระกอบ/ระบบ Protected Areas, and People Project. IUCN, Gland and Cambridge. Online: www.iucn.org/themes/wcpa/pubs/theme.htm#climate. ๓๐. Bomhard & Midgley, 2005. Op. Cit.

๒ การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่ีมีต่อมรดกโลก 38 • ผลติ ภณั ฑด์ า้ นการส�ำรวจระยะไกล การปรบั ตวั ตอ่ การละลายของธารนำ�้ แขง็ ในพน้ื ทภ่ี เู ขาถกู กำ� หนดโดย • เทคนคิ แบบไมท่ ำ� ลายวสั ดุ สำ� หรบั การตรวจวเิ คราะหก์ ารสลายตวั ขอบเขตของการลดลงของภยั จากเหตอุ ทุ กภยั จากการพงั ทลายของ ทางชวี วทิ ยา (bio-degradation) โครงสรา้ ง (structure) และ ทะเลสาบธารนำ้� แขง็ (Glacial Lake Outburst Floods—GLOF) โครงสรา้ งพืน้ ฐาน (infrastructure) โดยความพยายามเชงิ ปอ้ งกนั ในการระบายนำ�้ ออกจากทะเลสาบ ดงั ที่ • การสอ่ื สารไรส้ าย การปรบั ตวั ของกระบวนการแบบไรส้ ายของ ดำ� เนนิ การในอทุ ยานแหง่ ชาตสิ คารมถะ (Sagarmatha National การตรวจวดั อาคารและแหลง่ มรดกเชน่ อปุ กรณส์ ำ� รวจการตดิ เชอ้ื Park) ในปี ค.ศ. ๑๙๙๘ - ๒๐๐๒ (กลอ่ งขอ้ ความท่ี ๑๐ ดา้ นลา่ ง) การสงั เกตการณก์ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในระดบั ภมู ภิ าค จะเปน็ โอกาสใหส้ ถาบนั คลงั สมอง (think-tanks) ในหลากหลาย กล่องขอ้ ความที่ ๑๐ สาขาวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับท้ังมรดกทางวัฒนธรรมและมรดกทาง การลดความเส่ียงของการเกิดเหตุ GLOF ธรรมชาติ เขา้ มามบี ทบาทในการเตอื นภยั เหตรุ นุ แรงทางสภาพอากาศ ในอุทยานแหง่ ชาตสิ คารมถะ (เนปาล)๓๓ ลว่ งหนา้ และทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ จดุ ศนู ยร์ วมของเครอื ขา่ ยดา้ นขอ้ มลู ท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั การเตรยี มรบั มอื การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและ โครงการทะเลสาบธารนำ้� แขง็ Tsho Rolpa (Tsho Rolpa glacial เหตฉุ กุ เฉนิ และจะเปน็ ผชู้ น้ี ำ� ใหเ้ กดิ การฝกึ อบรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ lake project) เปน็ หนง่ึ ในตวั อยา่ งทช่ี ดั เจนของการวางแผน ด้านอ่ืนทเี่ กี่ยวขอ้ งแก่ผู้จัดการแหล่งมรดก ล่วงหนา้ จากหลายฝ่าย ทั้งรฐั บาล หนว่ ยงานผ้บู รจิ าค และ การปรับตวั ผเู้ ชยี่ วชาญ ในการบรรเทาผลกระทบจากการเกดิ เหตกุ ารณ์ GLOF มรดกทางธรรมชาติ มกี ารประมาณการวา่ ทะเลสาบธารนำ�้ แขง็ Tsho Rolpa เกบ็ กกั นำ�้ มคี วามจำ� เปน็ ทตี่ อ้ งเชอ่ื มโยงทรพั ยส์ นิ ของมรดกโลกใหเ้ ขา้ กบั ระเบยี ง ไวป้ ระมาณ ๙๐ – ๑๐๐ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร จงึ เปน็ ภยั พบิ ตั ทิ ตี่ อ้ ง การเชอื่ มโยง (corridors) และการใชท้ ด่ี นิ /นำ�้ อยา่ งเปน็ มติ รกบั ไดร้ บั ความสนใจโดยเรง่ ดว่ น เขอื่ นจากกองตะกอนธารนำ้� แขง็ สงู การอนุรักษ์ภายใต้กรอบการด�ำเนินงานด้านการวางแผนและ ๑๕๐ เมตร เปน็ ตวั โอบอมุ้ ทะเลสาบไว้ หากมรี อยแตกสามารถทำ� ให้ การบรหิ ารจดั การภูมทิ ศั นท์ างบกและทางทะเล เกดิ เหตกุ ารณ์ GLOF ซง่ึ นำ้� ในทะเลสาบจำ� นวนหนง่ึ ในสามหรอื ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การตอบสนองทท่ี ำ� ใหพ้ น้ื ทอี่ นรุ กั ษแ์ ละเครอื ขา่ ยของ มากกวา่ นน้ั จะไหลลงทว่ มพนื้ ทป่ี ลายนำ้� ภยั คกุ คามนี้ ไดน้ ำ� มาซง่ึ พน้ื ทอ่ี นรุ กั ษส์ ามารถปรบั ตวั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การปฏบิ ตั กิ ารดว้ ยความรว่ มมอื ระหวา่ งรฐั บาลเนปาลและองคก์ ร ไดเ้ นน้ ยำ�้ ความสำ� คญั ของแนวทางการดำ� เนนิ งานทเี่ หนอื กวา่ การ พฒั นาของเนเธอรแ์ ลนด์ (Netherlands Development Agency) ดำ� เนนิ งานในระดบั แหลง่ มรดกแหลง่ เดยี่ ว๓๑๓๒ แหลง่ มรดกโลกโดย โดยไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ทางวชิ าการจาก Reynolds Geo-Sciences สว่ นใหญต่ งั้ อยหู่ า่ งไกลจากกนั และกนั อยภู่ ายใตค้ วามแตกตา่ งทงั้ ทาง Ltd. ซงึ่ สนบั สนนุ โดยกรมเพอื่ การพฒั นาระหวา่ งประเทศของ ชวี ภมู ศิ าสตรแ์ ละสถาบนั การปกครอง และไมไ่ ดม้ รี ะบบหรอื โครงสรา้ ง สหราชอาณาจกั ร (United Kingdom Department for การบรหิ ารจดั การทเี่ ปน็ ไปในรปู แบบเดยี วกนั เมอ่ื ตอ้ งเผชญิ หนา้ กบั International Development) เพ่ือบรรเทาความเสย่ี งนี้ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แหลง่ มรดกโลกจำ� เปน็ ตอ้ งถกู กลมุ่ ผเู้ ชย่ี วชาญเสนอแนะใหล้ ดระดบั ทะเลสาบลง ๓ เมตร โดย พจิ ารณาภายใตบ้ รบิ ททแ่ี วดลอ้ มดว้ ยการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ประเภท การตดั ชอ่ งเปดิ ในกองตะกอนธารนำ�้ แขง็ มากไปกวา่ นนั้ ใหม้ กี าร ตา่ งๆ และพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษอ์ น่ื ๆ กลยทุ ธก์ ารตอบสนองในการปรบั ตวั โดย สรา้ งประตเู พอ่ื ใหส้ ามารถระบายนำ�้ ไดเ้ มอ่ื จำ� เปน็ ในขณะทกี่ าร สว่ นใหญท่ ไ่ี มไ่ ดต้ ระหนกั ถงึ ความจำ� เปน็ นมี้ กั ประสบความลม้ เหลว ระบายนำ้� ออกจากทะเลสาบกำ� ลงั ดำ� เนนิ ไป ไดม้ กี ารตดิ ตงั้ ระบบ การประยกุ ตใ์ ชก้ ารตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การเพอื่ การ การแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ ใน ๑๙ หมบู่ า้ นของ Rolwaling Khola ท่ี ปรบั ตัว อยปู่ ลายนำ�้ ซงึ่ ตงั้ อยบู่ นแมน่ ำ�้ Bhote/Tama Koshi เพอ่ื แจง้ เตอื น ในหลายพน้ื ที่ ไดม้ กี ารพฒั นาและดำ� เนนิ การตอบสนองทเ่ี ขม้ แขง็ ใน ภยั หากมเี หตกุ ารณ์ GLOF เกดิ ขนึ้ ในทะเลสาบธารนำ้� แขง็ Tsho ดา้ นการบรหิ ารจดั การ มวี ธิ แี กป้ ญั หาทหี่ ลากหลายตอ่ สภาพปญั หา Rolpa ชาวบ้านในท้องถ่ินได้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันใน ตา่ งๆ ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศใหห้ ยบิ นำ� ไปใชไ้ ด้ อกี ทงั้ ใน การออกแบบระบบนแี้ ละมกี ารดำ� เนนิ การขดุ เจาะตามเวลาทกี่ ำ� หนด บางกรณยี งั มวี ธิ กี ารเชงิ เทคนคิ ใหน้ ำ� ไปใช้ แตว่ ธิ เี หลา่ นน้ั อาจไม่ ธนาคารโลกไดใ้ หเ้ งนิ กยู้ มื เพอื่ การสรา้ งระบบน้ี โครงการ Tsho สามารถนำ� ไปใชไ้ ดจ้ รงิ หรอื สามารถลงทนุ ไดจ้ รงิ สำ� หรบั ทกุ ๆ กรณี และ Rolpa สำ� เรจ็ ในเดอื นธนั วาคม ค.ศ. ๒๐๐๒ ใชร้ ะยะเวลา ๔ ปี อาจเปน็ ขอ้ ถกเถยี งเมอื่ นำ� มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั แหลง่ มรดกโลก เนอ่ื งจาก เปา้ หมายของการลดระดบั ทะเลสาบไดบ้ รรลใุ นเดอื นมถิ นุ ายน อาจมผี ลกระทบตอ่ สภาวะความบรบิ รู ณข์ องแหลง่ มรดก ตวั อยา่ งเชน่ ค.ศ. ๒๐๐๒ ซง่ึ ลดความเสย่ี งในการเกดิ GLOF ไดร้ อ้ ยละ ๒๐ ในพน้ื ทช่ี ายฝง่ั บางแหง่ อาจมกี ารพจิ ารณาสรา้ งเขอ่ื นกน้ั นำ�้ และระบบ การปอ้ งกันการเกดิ GLOF ในทะเลสาบธารน้ำ� แขง็ Tsvkho ระบายนำ�้ เพอื่ รบั มอื กบั การสงู ขน้ึ ของระดบั นำ้� ทะเล ในขณะทใี่ นพนื้ ที่ Rolpa อยา่ งสมบรู ณจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารลดระดบั นำ�้ ในทะเลสาบลง ชายฝง่ั อน่ื ๆ การบรหิ ารจดั การอาจโนม้ เอยี งไปทางการวางแผนลา่ ถอย ไปอกี อาจละตอ้ งลดลงมากถงึ ๑๗ เมตร คณะผเู้ ชยี่ วชาญกำ� ลงั มี การตง้ั ถนิ่ ฐานออกมาจากพนื้ ทรี่ ะดบั ตำ่� ระดบั นำ้� ในพน้ื ทชี่ มุ่ นำ�้ บาง การศกึ ษาเพมิ่ เตมิ แตเ่ ปน็ ทชี่ ดั เจนวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยในการลดความ แหลง่ สามารถถกู ควบคมุ โดยการควบคมุ การไหลเขา้ และออกของนำ้� เสย่ี งในการเกดิ GLOF เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยจำ� นวนมาก และตอ้ งใช้ โดยใชเ้ ขอื่ น แตอ่ ณุ หภมู ทิ เ่ี พม่ิ สงู ขนึ้ และปรมิ าณนำ้� ฟา้ ทล่ี ดลงในหลาย ระยะเวลา อยา่ งไรกด็ ี คา่ ใชจ้ า่ ยนกี้ ย็ งั ตำ่� กวา่ ความเสยี หายทอ่ี าจ พน้ื ทจ่ี ะสง่ ผลใหม้ กี ารแยง่ นำ้� ทรี่ นุ แรงระหวา่ งมนษุ ยแ์ ละธรรมชาติ เกดิ หากปลอ่ ยใหเ้ หตกุ ารณด์ งั กลา่ วเกดิ ขนึ้ จรงิ ทงั้ จากการสญู เสยี ชีวติ ชมุ ชน การถดถอยในการพฒั นา และการผลติ พลงั งาน ๓๑. Barber et al. (eds.), 2004. Securing Protected Areas in the Face of Global Change: Issues and Strategies. A Report by the Ecosystems, มีความพยายามในการออกแบบและด�ำเนินงานเครือข่ายพ้ืนท่ี Protected Areas, and People Project. IUCN, Gland and Cambridge. อนรุ กั ษใ์ นระดบั ประเทศ ทง้ั พนื้ ทบี่ นบกและในทะเล เพอื่ ใหเ้ กดิ Online: www.iucn.org/themes/wcpa/pubs/theme.htm#climate. ความตา้ นทาน (resistance) และความยดื หยนุ่ (resilience) ตอ่ ๓๒. Bomhard & Midgley, 2005 OP. Cit. การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (เชน่ เขตพชื เคป ดกู ลอ่ งขอ้ ความ ท่ี ๒ หนา้ ๒๑ หรอื แนวปะการังใหญ่เกรตแบรร์ เิ ออรร์ ีฟ ดูกลอ่ ง ขอ้ ความท่ี ๕ หนา้ ๒๒) แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตคิ วรเปน็ เสา หลักของเครอื ขา่ ยดังกลา่ ว ทางเลอื กการดำ� เนินการที่เป็นไปได้ ปรากฏตามกล่องขอ้ ความท่ี ๑๑ ฝ่ังตรงขา้ ม ๓๓. OECD report on ‘Development and Climate Change in Nepal: Focus on Water Resources and Hydropower’, http://www.oecd.org/dataoecd/6/51/19742202.pdf

การคาดการณ์และการบรหิ ารจัดการผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทม่ี ตี ่อมรดกโลก ๒ กลอ่ งขอ้ ความท่ี ๑๑ สง่ิ ปลกู สร้าง และจะมีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนและ ทางเลอื กสำ� หรบั การวางแผนและการบรหิ ารจดั การ การอพยพของประชากร ดงั นนั้ ผลกระทบตอ่ มรดกทางวฒั นธรรม พน้ื ทอี่ นรุ กั ษท์ ตี่ อ้ งเผชญิ กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพ จึงกว้างขวางต้ังแต่การพังทลายของโครงสร้างทางกายภาพ ภูมิอากาศ และการแตกหกั ทางสงั คมและชมุ ชนทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ การคงอยู่ ของแหล่งมรดกโลก การละท้ิง และสูญเสียความทรงจ�ำทาง • สร้างพ้นื ท่อี นุรักษแ์ ห่งใหม่ วัฒนธรรมในท้ายทสี่ ดุ • ขยายพ้นื ทีอ่ นรุ กั ษท์ ่ีมีอยเู่ ดมิ การบรรเทาผลกระทบ • สร้างพน้ื ที่ท่เี หมอื นกบั พ้นื ทอ่ี นรุ กั ษท์ ่มี อี ยู่เดิม การบรรเทาผลกระทบรวมอยใู่ นการแทรกแซงโดยกจิ กรรมของ • กำ� หนดพื้นท่อี นุรักษ์ท่ีเปน็ ข้ันตอนเพ่อื ใหบ้ รรลสุ ู่เป้าหมาย มนษุ ยใ์ นการลดแหลง่ ปลอ่ ยหรอื การเพมิ่ แหลง่ เกบ็ กา๊ ซเรอื นกระจก (stepping-stone) หรอื เปน็ พืน้ ท่อี นรุ ักษส์ �ำหรับการเปน็ อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ระเบยี งเช่ือม (corridor) เปน็ เครอื่ งมอื ระหวา่ งประเทศทไ่ี ดร้ บั การยอมรบั ในการใชบ้ รรเทา • สรา้ งแนวกนั ชน (buffer zones) ของถน่ิ อาศยั ตามธรรมชาติ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในระดบั โลกและ ลอ้ มรอบพนื้ ท่ีอนรุ ักษ์ ระดบั รฐั ภาคี อยา่ งไรกต็ าม การดำ� เนนิ การเพอ่ื บรรเทาผลกระทบ • เพม่ิ ความหลากหลายของถน่ิ อาศยั ภายในพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ (เชน่ บางประการสามารถพิจารณาได้ภายใต้บริบทของอนุสัญญา ความสงู จากระดบั นำ�้ ทะเลแนวเหนอื ใต้หรอื ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ) คุ้มครองมรดกโลกในระดับของแหล่งมรดกโลก • ฟื้นฟู ควบคมุ หรือรักษาระดบั ปัจจยั รบกวน ประการแรก โดยการสำ� รวจวา่ แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาตมิ ผี ล • กำ� จดั ชนิดพนั ธุต์ ่างถิ่นทีร่ ุกราน หรอื ทำ� ใหล้ ดจ�ำนวนลง มากนอ้ ยเทา่ ไรในการสะสมคารบ์ อนไดออกไซด์ ดงั ทไ่ี ดก้ ลา่ วขา้ งตน้ • ลดความเครยี ดดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มอน่ื ๆ แหล่งมรดกโลกจ�ำนวนมากเป็นพ้ืนที่สงวนชีวมณฑล จึงเป็น • ฟืน้ ฟูหรอื ทำ� ใหถ้ ิน่ อาศยั ตามธรรมชาตกิ ลบั ส่สู ภาพเดมิ การเหมาะสมอย่างยิ่งที่จะด�ำเนินการประเมินโดยร่วมมือกับ • การเคลอื่ นย้ายชนดิ พันธ์ุ นำ� ชนดิ พนั ธุก์ ลับเข้ามาอีกครั้ง UNESCO MAB Programme หรือนำ� ชนิดพนั ธ์ุเขา้ มาใหม่ ประการทสี่ อง ศนู ยม์ รดกโลกดแู ลโครงการอนรุ กั ษจ์ ำ� นวนมากที่ • การขยายขอบเขตการท�ำบญั ชีรายช่อื การท�ำแบบจ�ำลอง มุ่งหมายฟื้นฟูถิ่นอาศัยท่ีเสื่อมโทรมแล้วในแหล่งมรดกโลกทาง การตรวจตดิ ตาม การวิเคราะห์ความเปราะบาง และอื่นๆ ธรรมชาติ กจิ กรรมนี้ มผี ลโดยออ้ มในการเพม่ิ การสะสมคารบ์ อน และสามารถตรวจวดั เชิงปริมาณในรายละเอยี ดตอ่ ไปได้ จากกลอ่ งขอ้ ความน้ี เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ อยา่ งยง่ิ ทตี่ อ้ งเนน้ ยำ้� วา่ ในความเปน็ เพอื่ ใหม้ มุ มองอยบู่ นฐานแหง่ ความจรงิ พวกเราตอ้ งตระหนกั วา่ จรงิ แลว้ กลยทุ ธเ์ พอื่ การตอบสนองจะวางแผนขนึ้ มาไมไ่ ดโ้ ดยปราศจาก คารบ์ อนไดออกไซดโ์ ดยรวมทส่ี ะสมในแหลง่ มรดกโลกมขี อบเขต การพจิ ารณาเรอ่ื งผลกระทบของความเครยี ดจากสงิ่ ทนี่ อกเหนอื จาก จ�ำกัดเน่ืองจากต้องพิจารณาในพื้นที่ที่ก�ำหนด ประโยชน์ของ ปจั จยั ภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ ระบบนเิ วศ เชน่ การทถี่ นิ่ อาศยั ถกู แบง่ ออกเปน็ การบรรเทาผลกระทบในระดบั แหลง่ มรดกโลกจงึ ดเู หมอื นไมส่ ำ� คญั ผนื เลก็ ๆ หรอื สญู หายไป ชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถนิ่ และรกุ ราน การใชป้ ระโยชน์ ในเชงิ ปรมิ าณ แตเ่ มอื่ พจิ ารณาลกั ษณะเชงิ สญั ลกั ษณข์ องแหลง่ มากเกินไป มลภาวะ การสะสมของตะกอน ฯลฯ ซ่ึงกีดขวาง มรดกโลกและเครอ่ื งมอื แหง่ การสอื่ สารอนั ทรงพลงั ของเครอื ขา่ ย ยทุ ธศาสตรก์ ารปรบั ตวั และบรรเทาผลกระทบตามธรรมขาตอิ ยา่ ง มรดกโลก กจ็ ะเปน็ ประโยชนท์ ส่ี ดุ ในการโฆษณาแนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ รนุ แรง ดงั นน้ั อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งยกระดบั เลศิ ออกไป ในประเดน็ เดยี วกนั อาจมงุ่ เปา้ ไปทส่ี มดลุ ของคารบ์ อน การดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในการประเมนิ การบรหิ ารจดั การและ (carbon balance) ในแหลง่ มรดกโลกโดยการสนบั สนนุ ผา่ นทาง สภาวะแหง่ ความบรบิ รู ณข์ องทรพั ยส์ นิ มรดกโลก ทงั้ ผา่ นการตรวจ เครอื ขา่ ยมรดกโลก ใหม้ กี ารใชเ้ ทคโนโลยที ปี่ รบั ปรงุ ใหมเ่ พอื่ ลด ตดิ ตามและการรายงานตามระยะเวลา การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก มรดกทางวฒั นธรรม การตรวจติดตามและการบรหิ ารจัดการเพือ่ การปรับตวั อาจเปน็ ไปไดท้ จี่ ะปรบั ตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศโดย การตรวจตดิ ตามผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การเคลอื่ นยา้ ยมรดกทางวฒั นธรรมทส่ี ามารถเคลอื่ นยา้ ยไดใ้ หอ้ อกไป เปน็ ประเดน็ ทสี่ ำ� คญั ยง่ิ ตามทไ่ี ดก้ ลา่ วในบททวี่ า่ ดว้ ย ‘งานวจิ ยั ’ จากพน้ื ที่ แตก่ ารกระทำ� ดงั กลา่ วอาจมผี ลเชงิ ลบในภาพรวมตอ่ คณุ คา่ และ ‘การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู ’ แต่ตอ้ งมกี ารวางแผนการตรวจ ของแหลง่ มรดก ดงั นน้ั แมเ้ ปน็ ความจรงิ ทวี่ า่ แหลง่ มรดกโลกอาจตอ้ ง ตดิ ตามมาตรการการบรหิ ารจดั การเพอื่ การปรบั ตวั อยา่ งรอบคอบ เผชญิ กบั การเปลย่ี นแปลงทร่ี นุ แรงยง่ิ ขน้ึ ของปจั จยั แวดลอ้ มทง้ั ดา้ น ภายใตบ้ รบิ ทของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมรดกโลก ภมู อิ ากาศ สงั คม หรอื วฒั นธรรม แหลง่ มรดกซง่ึ เปน็ อยโู่ ดยสภาพ การตรวจตดิ ตามสภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบของสภาพภมู อิ ากาศ ธรรมชาตติ า่ งๆ อนั เคลอื่ นยา้ ยไมไ่ ด้ การปรบั ตวั กจ็ ะตอ้ งเกดิ ในสถานท่ี และการตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การ เปน็ สง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ เพอื่ ทจ่ี ะ แหง่ นน้ั อยา่ งไรกต็ าม ภายใตบ้ รบิ ทของการกลายสภาพเปน็ ทะเลทราย สามารถสามารถบอกได้ว่าการตอบสนองอย่างไรจะได้ผลและ ท่ีเขม้ ขน้ ขน้ึ การละทิ้งมรดกทางวฒั นธรรมเปน็ ส่ิงท่ีต้องเตรยี ม อยา่ งไรไมไ่ ดผ้ ล แตม่ าตรการการตรวจตดิ ตามในปจั จบุ นั มเี พยี ง การปอ้ งกนั ไวล้ ว่ งหนา้ แมว้ า่ ปจั จยั ทเ่ี ปน็ สาเหตหุ ลกั ของการกลาย จ�ำนวนน้อยที่ถูกปรับให้เข้ากับประเด็นการปรับตัวและการลด สภาพเปน็ ทะเลทรายยงั คงไมช่ ดั เจนระหวา่ งปจั จยั ทางภมู อิ ากาศและ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในพน้ื ทอ่ี นรุ กั ษ์ ปจั จยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากกจิ กรรมของมนษุ ย์ แตม่ หี ลกั ฐานทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ การเพมิ่ ขนึ้ ของพายฝุ นุ่ กอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ การตงั้ ถนิ่ ฐานและ ๓๔. Shafer, 1999. National park and reserve planning to protect biological 39 diversity: some basic elements. Landscape and Urban Planning 44, 123-153.

๒ การคาดการณแ์ ละการบริหารจัดการผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่มี ีต่อมรดกโลก การสรา้ งขดี ความสามารถ เชน่ สำ� หรบั กรณที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การบรหิ าร • การทำ� ใหม้ นั่ ใจวา่ การลดความเสยี่ งของภยั พบิ ตั เิ ปน็ ความสำ� คญั จดั การไฟและความเสยี่ ง การสรา้ งขดี ความสามารถกำ� ลงั ดำ� เนนิ ไป ลำ� ดบั สงู ในระดบั ประเทศและทอ้ งถนิ่ พรอ้ มทงั้ มพี น้ื ฐานการจดั ในหลายพน้ื ที่ ในบางครง้ั มกี ารเชอื่ มโยงกบั ปญั หาอน่ื ๆ ทเ่ี กดิ จากหรอื องคก์ รทเี่ ขม้ แขง็ สำ� หรบั การปฏบิ ตั ิ โดยการเสรมิ ความเขม้ แขง็ ถูกเร่งโดยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในหลายกรณี ของการสนบั สนนุ ภายในองคก์ รทเ่ี กยี่ วขอ้ งในระดบั โลก ภมู ภิ าค การบรหิ ารจดั การเพอื่ การปรบั ตวั จะเปน็ การบรรเทาผลกระทบของ ประเทศ และท้องถน่ิ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศหากมีการด�ำเนินการอย่าง • ระบุ ประเมนิ และตดิ ตาม ความเสย่ี งของภยั พบิ ตั ิ รวมทงั้ สง่ เสรมิ เหมาะสม การบรหิ ารจดั การเพอื่ การปรบั ตวั เปน็ กระบวนการเชงิ การเตอื นภัยล่วงหน้าในทรพั ย์สินของมรดกโลก ระบบของการปรบั ปรงุ นโยบายและแนวปฏบิ ตั อิ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยใช้ • ใช้ความรู้ นวัตกรรม และการศึกษาเพ่ือสร้างวัฒนธรรม การเรยี นรู้จากผลของการดำ� เนนิ งานท่ีผ่านมา การวางแผนภยั พบิ ตั ิ ความปลอดภยั และการคนื สสู่ ภาพเดมิ ได้ การขาดความตระหนกั วสิ ยั ทศั น์ และการประสานงานเปน็ สงิ่ จำ� กดั อย่างรวดเรว็ ในทรพั ยส์ ินของมรดกโลก การพฒั นาและการดำ� เนนิ งานตามยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การรบั มอื กบั • ลดปัจจยั ของความเสย่ี งทแี่ ทจ้ รงิ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ผลทตี่ ามมาคอื เงนิ ทนุ ทอี่ ดุ หนนุ • ยกระดบั การเตรยี มพรอ้ มเผชญิ ภยั พบิ ตั ขิ องทรพั ยส์ นิ ของมรดกโลก ให้แก่ประเด็นดังกล่าวยังไม่เพียงพอ ส่งผลถึงการลดต่�ำของ ใหเ้ ขม้ แขง็ เพอ่ื ตอบโตภ้ ยั พบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพในทกุ ระดบั ความสามารถในการรบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กระบวนการระบุยุทธศาสตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ อยา่ งไรกต็ าม วสิ ยั ทศั นแ์ ละความตระหนกั ทฝี่ งั รากในบรบิ ทของ ภมู อิ ากาศทส่ี อดคลอ้ งกนั สำ� หรบั มรดกทางวฒั นธรรมและทาง ทอ้ งถนิ่ มแี นวโนม้ ทจี่ ะใหผ้ ลทด่ี มี ากกวา่ โครงการนำ� รอ่ งทป่ี ระสบ ธรรมชาติ ความสำ� เรจ็ ทไี่ ดด้ ำ� เนนิ การในแหลง่ มรดกโลกรว่ มกบั ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง ในการพฒั นายทุ ธศาสตรด์ า้ นการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศท่ี หลากหลายอาจเปน็ ตวั อยา่ งของแนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ และจะไดร้ บั สอดคลอ้ งกนั มคี วามจำ� เปน็ ทป่ี ญั หา แนวทางแกไ้ ข ตวั อยา่ ง และ การใหค้ ณุ คา่ ทางสาธารณะทกี่ วา้ งไกลกวา่ ระดบั ของแหลง่ มรดกโลก แนวปฏิบัติที่ดีเลิศ ต้องถูกพัฒนาขึ้นมาภายใต้กระบวนการใน น้ันๆ เพยี งแหล่งเดียว ลักษณะเดียวกันส�ำหรับทั้งแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและทาง การเตรียมพร้อมรบั มอื กับความเส่ียง ธรรมชาตทิ ข่ี นึ้ ทะเบยี นในบญั ชรี ายชอื่ มรดกโลก แผนภาพดา้ นลา่ ง ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ รบั มอื กบั ภยั พบิ ตั ทิ เี่ กดิ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพ (รูปที่ ๒) ไดเ้ สนอแนะกระบวนการดังกลา่ ว เรม่ิ จากดา้ นซ้าย: ภูมิอากาศควรเชื่อมโยงกับความพยายามในการวางแผนและ • แหลง่ ตวั แทนของมรดกทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติถูก ยทุ ธศาสตรเ์ พือ่ รับความเสี่ยงของภยั พิบัตใิ นภาพกวา้ ง รวมถึง คดั เลือกจากแต่ละภมู ภิ าคของมรดกโลก ‘ยทุ ธศาสตรเ์ พอื่ การลดความเสย่ี งจากภยั พบิ ตั ใิ นทรพั ยส์ นิ มรดก • อธบิ ายถงึ ปญั หาทสี่ งั เกตไดห้ รอื ไดร้ บั การพสิ จู นว์ า่ เกดิ ขน้ึ จาก โลก’ ซง่ึ จดั เตรยี มโดย ICOMOS, ICCROM และศนู ยม์ รดกโลกเพอ่ื การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ การพจิ ารณาของคณะกรรมการมรดกโลกในการประชมุ สมยั ท่ี ๓๐ • ระบุแนวทางต่างๆ ที่เป็นไปได้ในการตอบสนองต่อการ (WHC-06/30.COM/7.) หลกั การของยทุ ธศาสตรน์ เี้ ปน็ ไปตามการให้ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยอาจแตกต่างกันระหว่าง ความสำ� คญั ของการปฏบิ ตั กิ ารภายใตก้ รอบการปฏบิ ตั กิ ารเฮยี วโกะ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและแหล่งมรดกทางธรรมชาติ ค.ศ. ๒๐๐๕ – ๒๐๑๕ (Hyogo Framework for Action 2005- การตอบสนองน้อี าจรวมถงึ การตรวจติดตาม การบำ� รุงรกั ษา 2015) กลา่ วคอื : การบรหิ ารจดั การ และ/หรอื การทำ� วจิ ยั เพม่ิ เตมิ – ทง้ั หมดอยภู่ ายใต้ กรอบการดำ� เนนิ งานของระบบการบรหิ ารจดั การของแหลง่ มรดก ในจุดนี้ อาจมีการพิจารณาแนวปฏิบตั ิที่ดีเลิศ จำ� เป็นต้องทำ� อะไรส�ำหรับมรดกทางวฒั นธรรม? (ตรวจตดิ ตาม บำ� รุงรักษา ศกึ ษาวจิ ยั ฯ) จดุ เร่มิ ตน้ จดุ สนิ้ สดุ คดั เลอื กแหลง่ อธบิ ายหลกั ฐานทเ่ี กดิ จากการ ระบุการตอบสนองตอ่ การ พฒั นาแนวปฏบิ ัติท่ีดีเลิศ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ จ�ำเป็นตอ้ งท�ำอะไรส�ำหรบั มรดกทางธรรมชาต?ิ (การบริหารจัดการฯ) รปู ท่ี ๒: กระบวนการการตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ข้อควรจ�ำ: ผลสบื เน่ืองของกระบวนการการตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ คือ จ�ำเป็นตอ้ งมกี ารดำ� เนินงานด้านการตรวจตดิ ตาม การศกึ ษาวิจัย และการบำ� รงุ รกั ษาสำ� หรับมรดกทางวฒั นธรรมมากยิ่งกวา่ ส�ำหรบั มรดกทางธรรมชาตซิ ึ่งได้รบั ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง สภาพภมู ิอากาศทช่ี ัดเจนในแหลง่ มรดกโลก 40

ยุทธศาสตร์เพือ่ ช่วยเหลอื รฐั ภาคี ๓ ในการดำ� เนินการตอบสนอง ด้านการบรหิ ารจดั การทเ่ี หมาะสม เขตพืชเคป, แอฟริกาใต้ © UNESCO / Norman Guy Palmer

๓ ยทุ ธศาสตร์เพื่อช่วยเหลอื รฐั ภาคใี นการดำ� เนินการตอบสนองดา้ นการบริหารจัดการทีเ่ หมาะสม 42 ยทุ ธศาสตรต์ ามดา้ นลา่ งนี้ ไดร้ บั การพฒั นาหลงั จากการวเิ คราะห์ เปน็ สง่ิ ทน่ี า่ สงั เกตวา่ มคี วามเชอ่ื มโยงทชี่ ดั เจนระหวา่ งมรดกทาง ในรายละเอียดของแต่ละประเด็นท่ีกล่าวไปในรายงาน วัฒนธรรมและธรรมชาติ และประเด็นการเปล่ียนแปลงสภาพ ‘การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง ภมู ิอากาศอาจถูกน�ำมาใช้เป็นโอกาสสำ� หรับให้ท้งั สองส่วนของ สภาพภมู อิ ากาศทมี่ ตี อ่ มรดกโลก’ (สว่ นที่ ๒) ขอ้ แนะนำ� อยา่ ง อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกไดใ้ กลช้ ดิ กนั มากยงิ่ ขน้ึ ดงั นนั้ แมว้ า่ ละเอยี ดของแตล่ ะประเดน็ ยทุ ธศาสตรศ์ กึ ษาไดใ้ นรายงานดงั กลา่ ว ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศจะแตกตา่ งกนั สำ� หรบั บทน�ำ: วตั ถปุ ระสงคแ์ ละสิง่ ทีต่ อ้ งดำ� เนนิ การ มรดกโลกทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ยทุ ธศาสตรท์ นี่ ำ� เสนอควรจะ ผลกระทบทเี่ ปน็ ไปไดข้ องการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศมที ง้ั ตอ่ มติ ดิ า้ น สามารถแกป้ ญั หาในทรพั ยส์ นิ มรดกโลกทง้ั ๒ ประเภทรว่ มกนั ได้ กายภาพ สงั คม และวฒั นธรรม โดยในเรอ่ื งมรดกทางธรรมชาตนิ น้ั ดงั นนั้ เนอ่ื งดว้ ยวา่ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ชวี นเิ วศสว่ นมากอาจไดร้ บั ผลดา้ นลบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพ จะแตกตา่ งกนั ไปสำ� หรบั มรดกโลกทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรม ภมู อิ ากาศประสบการณแ์ ละบทเรยี นทไี่ ดร้ บั จากการจดั การกบั ผลกระทบ ยทุ ธศาสตรท์ เ่ี สนอขนึ้ มาควรครอบคลมุ การแกไ้ ขปญั หาของทรพั ยส์ นิ ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเนน้ ยำ�้ ความจำ� เปน็ ในการใช้ มรดกโลกทงั้ สองประเภทไปพรอ้ มกนั ทา้ ยทสี่ ดุ การเปลย่ี นแปลง การตอบสนองทางการบรหิ ารจดั การทหี่ ลากหลายในระดบั ประเทศและ สภาพภูมิอากาศเป็นหนึ่งในความเส่ียงท่ามกลางความท้าทาย ระดบั ทอ้ งถนิ่ อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกไดใ้ หโ้ อกาสในการพฒั นา มากมายท่ีแหล่งมรดกโลกก�ำลังเผชิญ ภัยคุกคามนี้ควรได้รับ กลยทุ ธใ์ นการดำ� เนนิ การทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทรพั ยส์ นิ ของมรดกโลกทาง การพจิ ารณาในบรบิ ททก่ี วา้ งขวางเพอื่ การอนรุ กั ษแ์ หลง่ มรดกเหลา่ นี้ วฒั นธรรมและทางธรรมชาตทิ ถี่ กู คกุ คามโดยการเปลยี่ นแปลงสภาพ การปฏบิ ัตกิ ารเชิงป้องกัน ภมู อิ ากาศ เมอื่ คำ� นงึ ถงึ ความซบั ซอ้ นของประเดน็ นแ้ี ลว้ รฐั ภาคอี าจ การตรวจตดิ ตามและการรายงาน* รอ้ งขอคำ� แนะนำ� จากคณะกรรมการมรดกโลกในการดำ� เนนิ การตอบสนอง ก. การปฏบิ ตั กิ ารในระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก): ดา้ นการบรหิ ารจดั การทเี่ หมาะสมในการเผชญิ ภยั คกุ คามทเ่ี กดิ จาก การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ ทรพั ยส์ นิ ทางธรรมชาตแิ ละทาง i. การรวมประเด็นผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพ วฒั นธรรมทีไ่ ด้รบั การข้นึ ทะเบียนในบัญชมี รดกโลก ภมู อิ ากาศไวใ้ นการทำ� รายงานตามระยะเวลาและการตรวจ ดงั นนั้ วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของยทุ ธศาสตรน์ คี้ อื เพอ่ื ทบทวนประเดน็ หลกั ที่ ตดิ ตามของมรดกโลก (World heritage periodic reporting ควรไดร้ บั การพจิ ารณาเมอื่ เตรยี มดำ� เนนิ การตอบสนองดา้ นการบรหิ าร and reactive monitoring) และรวมถงึ กระบวนการตรวจ จดั การเชงิ ปอ้ งกนั และ/หรอื เชงิ แกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง เพอ่ื การรบั มอื ผลกระทบ ตดิ ตามอน่ื ๆ เพอื่ ทจ่ี ะสามารถทำ� การประเมนิ ในระดบั โลกได้ ทางลบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ii. เชอ่ื มโยงกระบวนการรายงานและตรวจตดิ ตามทกี่ ำ� ลงั ดำ� เนนิ การอนุรักษ์เป็นการบริหารจัดการความเปล่ียนแปลง และ การอยู่ เขา้ กบั กระบวนการระหวา่ งประเทศอน่ื ๆ ซง่ึ รวมถงึ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเปน็ หนง่ึ ในความทา้ ทายทสี่ ำ� คญั ของ การตอ่ ยอดการทำ� งานของคณะทำ� งานดา้ นตวั ชวี้ ดั ของIPCCเพอื่ จะพฒั นา โลกทมี่ ตี อ่ สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ มในวนั น้ี การปฏบิ ตั กิ ารทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ ง ตวั ชวี้ ดั สำ� หรบั มรดกโลกและการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ กระทำ� เพอื่ คุ้มครองมรดก ประกอบด้วย ๓ สว่ น: ข. การปฏบิ ตั กิ ารระดบั ภมู ภิ าค (ระหวา่ งรฐั ภาค)ี / ตามรายประเดน็ : ก. การปฏบิ ตั กิ ารเชงิ ปอ้ งกนั (Preventive actions): การตรวจ i. การรวมประเดน็ ผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงสภาพ ตดิ ตาม การรายงาน และการลดผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง ภมู อิ ากาศไวใ้ นกระบวนการทำ� รายงานตามระยะเวลาและ สภาพภมู อิ ากาศ ผา่ นแนวทางและการตดั สนิ ใจทเี่ ปน็ มติ รตอ่ การตรวจตดิ ตามของมรดกโลก (World heritage periodic สง่ิ แวดลอ้ ม ในหลากหลายระดบั ทงั้ ระดบั ปจั เจก ชมุ ชน สถาบนั reporting and reactive monitoring) สำ� หรับทรัพย์สนิ (institutional) และหน่วยงาน (corporate) มรดกโลกในปจั จบุ นั และในอนาคต เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถทำ� การ ข. การปฏบิ ตั กิ ารเชงิ แกไ้ ข (Corrective actions): การปรบั ตวั ตอ่ ประเมินในระดบั ภูมภิ าค / ตามรายประเดน็ ได้ ความเปน็ จรงิ ของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศผา่ นมาตรการ ii. ระบตุ วั ชวี้ ดั และแนวโนม้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระดบั ภมู ภิ าค / ตาม ระดับโลกและภมู ภิ าค และการบรหิ าจัดการในระดบั ทอ้ งถิน่ รายประเดน็ ค.การแบ่งปันองค์ความรู้: รวมถึงแนวปฏิบัติท่ีดีที่สุด (best ค. การปฏบิ ัตกิ ารระดบั รฐั ภาคี / แหล่งมรดก: i. สนบั สนนุ ใหผ้ จู้ ดั การแหลง่ มรดกตรวจตดิ ตามตวั แปรทางสภาพ practices) งานวจิ ยั การสอ่ื สาร การสนบั สนนุ จากภาคสาธารณะ ภมู อิ ากาศทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และรายงานยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การปรบั ตวั และการเมือง การศึกษาและการฝึกอบรม การสร้างขีด ทงั้ นี้ ใหด้ ำ� เนนิ การเทา่ ทเ่ี ปน็ ไปไดแ้ ละภายในทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ ii. ลดปัจจัยความตงึ เครยี ดท่ีไมไ่ ด้เกิดจากภูมิอากาศทม่ี ีตอ่ ความสามารถ การสรา้ งเครือข่าย และอื่นๆ แหลง่ มรดก เพือ่ ยกระดับภูมิตา้ นทานตอ่ ผลกระทบของ ย่ิงไปกว่านี้ ยทุ ธศาสตร์ใดๆ ก็ตาม ควรท่จี ะ: การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ก. สามารถท�ำให้ส�ำเร็จจรงิ ได้ การบรรเทาผลกระทบ (Mitigation)** ข. จัดการปญั หาได้ในระดับทก่ี ว้างขวาง UNFCCC เปน็ เครอ่ื งมอื ขององคก์ ารสหประชาชาติ ซงึ่ ดแู ลดา้ น ค. เชื่อมโยงการสนบั สนนุ กับข้อรเิ ริ่มอนื่ ๆ ยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื การบรรเทาปญั หาในระดบั โลกและระดบั รฐั ภาคี ง. อำ� นวยความสะดวกในการแบง่ ปนั ขอ้ มลู และความเชยี่ วชาญ อยา่ งไรกต็ าม ชมุ ชนมรดกโลกอาจสามารถมสี ว่ นรว่ มในการชะลอ จ. เปน็ การดำ� เนนิ การทป่ี ฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ และทบทวนทรพั ยากรตา่ งๆ ปญั หาการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในระดบั ของมรดกโลกผา่ น ที่มีอยแู่ ลว้ และ การดำ� เนนิ การ ดงั ตอ่ ไปนี้: ฉ. ครอบคลมุ การปฏบิ ัติการเฉพาะหนา้ (ระยะส้นั ) ระยะกลาง และระยะยาว * ดหู นา้ ๓๕ (การตรวจติดตาม) ** ดูหนา้ ๓๗ (การบรรเทาผลกระทบ)

ยทุ ธศาสตรเ์ พ่ือช่วยเหลอื รัฐภาคใี นการด�ำเนินการตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การท่เี หมาะสม ๓ ก. การปฏบิ ตั กิ ารในระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก): iii. พัฒนาแผนการด�ำเนินงาน (รวมถงึ แนวทางข้อเสนอแนะ 43 i. ให้ขอ้ มลู ตอ่ IPCC และ UNFCCC ในเรื่องผลกระทบของ การช่วยเหลือทางการเงินเพ่ือพัฒนาขีดความสามารถ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีมีต่อแหล่งมรดกโลก หรอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในการพฒั นาขอ้ เสนอโครงการ) เพ่ือช่วยเหลือท้ังสององค์กรในการปรับยุทธศาสตร์เพื่อ ที่ปรับให้เข้ากับบริบทที่เจาะจงของแต่ละแหล่งมรดก การบรรเทาปัญหาการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การดำ� เนนิ การโครงการนำ� รอ่ งในแหลง่ มรดกทไี่ ดร้ บั คดั เลอื กเปน็ ขน้ั ตอนสำ� คญั ในการพฒั นาการตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การ ข. การปฏิบตั กิ ารในระดับรัฐภาคี / ระดับแหลง่ : ท่ีเหมาะสมและประสบความส�ำเร็จ i. ระบแุ ละสง่ เสรมิ การประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งการปรบั ตวั การร่วมมือกัน การท�ำงานร่วมกัน และการแบ่งปันแนว และการบรรเทาปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ปฏิบตั ทิ ีด่ ีเลศิ และองค์ความรู้ (อาทิ มาตรการการปรับตัวใดที่อาจน�ำใช้เพ่ือการบรรเทา การท�ำงานร่วมกันในระดับนานาชาติร่วมกับอนุสัญญา ปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศได)้ เครือ่ งมอื และองคก์ รอนื่ ๆ** ii. สนบั สนนุ ใหผ้ จู้ ดั การแหลง่ มรดกลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก ก. การปฏบิ ตั กิ ารในระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก): ภายในแหลง่ มรดก i. ทำ� งานตอ่ ยอดขอ้ รเิ รม่ิ ทมี่ อี ยแู่ ลว้ ตามทเี่ หมาะสมของ UNFCCC, CBD, UNCCD๓๕, MAB, IOC, Ramsar, แผนการดำ� เนนิ งานดา้ น การปฏบิ ัติการเชงิ แกไ้ ข: การบริหารจดั การ การปรบั ตวั และ มติ ขิ องมนษุ ยน์ านาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลย่ี นแปลงสงิ่ แวดลอ้ มของ การบริหารจัดการความเสย่ี ง* โลก (International Human Dimensions Programme on รัฐภาคีจ�ำเป็นต้องระแวดระวังต่อความเสี่ยงที่เกิดจากการ Global Environmental Change—IHDP), อนสุ ญั ญายเู นสโก เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดังน้ัน การปฏิบัติการระยะสั้น วา่ ด้วยมรดกทางวัฒนธรรม (UNESCO conventions on ท่ชี ัดเจนจงึ เปน็ สง่ิ ทีจ่ �ำเปน็ และเป็นไปไดท้ ่จี ะต้องดำ� เนนิ การ: cultural heritage) คณะกรรมการระหวา่ งประเทศแหง่ Blue ก. การปฏบิ ตั กิ ารในระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก): Shield (International Committee of the Blue Shield) องคก์ ารเมอื งมรดกโลก (Organization of World Heritage i. การรวมใหป้ จั จยั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเปน็ อกี แหลง่ Cities) โดยใหเ้ ปน็ ไปตามอำ� นาจหนา้ ทข่ี ององคก์ รดงั กลา่ ว ของความตงึ เครยี ด (stress) ในยทุ ธศาสตรว์ า่ ดว้ ยการลดความ ii. ทำ� ความเขา้ ใจกบั กลมุ่ ผปู้ ระสานงานดา้ นความหลากหลายทาง เสย่ี งจากภยั พบิ ตั ใิ นแหลง่ มรดกโลกทถ่ี กู นำ� เสนอในเอกสาร ชวี ภาพ (หวั หนา้ ฝา่ ยของสำ� นกั เลขาธกิ ารของ ๕ อนสุ ญั ญา) การทำ� งาน (working document) (WHC-06/30.COM/7.2) ในเร่ืองมรดกโลกและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ และรวมถงึ ในแนวทางการประเมินความเปราะบาง iii.แจ้งท่ีประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาและองค์กรย่อยด้าน ii. รอ้ งขอใหแ้ หลง่ มรดกแหลง่ ใหมแ่ ละแหลง่ ในปจั จบุ นั ผนวก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของอนุสัญญาที่เกี่ยวข้อง ประเด็นเร่อื งการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศในแผนการ ใหท้ ราบในเรอ่ื งมรดกโลกและการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ บรหิ ารจดั การฉบบั ใหมแ่ ละฉบบั ปรบั ปรงุ (ตามความเหมาะสม) iv. ส�ำรวจช่องทางการสนับสนุนทางการเงิน รวมถึงจาก โดยให้รวมถึง การเตรียมความพร้อมเผชิญความเส่ียง ภาคเอกชน กองทนุ สิง่ แวดลอ้ มโลก (GEF) องคก์ ารอาหาร การออกแบบเชงิ ปรบั ตวั และการวางแผนการบรหิ ารจดั การ และการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ส�ำหรบั ภูมิทศั น์ ข. การปฏิบตั กิ ารระดบั ภมู ภิ าค (ระหว่างรัฐภาค)ี / ตามราย ทางการเกษตร และอนื่ ๆ ประเด็น: ข. การปฏิบัตกิ ารระดับภูมิภาค (ระหวา่ งรัฐภาค)ี / ตามราย i. ผนวกการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเขา้ ในแผนการบรหิ าร ประเด็น: จดั การระดบั ภมู ภิ าคในรายประเดน็ ทงั้ ฉบบั ใหมแ่ ละฉบบั ทม่ี อี ยเู่ ดมิ i. ระบคุ วามพยายามดำ� เนนิ การในปจั จบุ นั ทง้ั ระดบั ภมู ภิ าค/ รวมทงั้ ผนวกเขา้ ในแผนการทำ� งานและการจดั กจิ กรรมตา่ งๆดว้ ย รายสาขา เพือ่ จะท�ำการสำ� รวจในแต่ละภูมิภาค ii. การระบภุ ยั คกุ คามจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศให้ ii. เชอื่ มโยงสถาบนั ทม่ี อี ยใู่ นระดบั ภมู ภิ าค รวมถงึ เครอ่ื งมอื อน่ื ๆ เจาะจงตอ่ มิติในระดับภมู ภิ าค / ตามรายประเดน็ ทไ่ี ดม้ าตรฐานในระดบั ภมู ภิ าค เขา้ กบั แผนงานระดบั ภมู ภิ าค ค. การปฏิบัตกิ ารระดบั รฐั ภาคี / แหลง่ มรดก: ของมหาวิทยาลยั แหง่ สหประชาชาติ i. การดำ� เนนิ การวเิ คราะหค์ วามเปราะบางตอ่ การเปลยี่ นแปลง iii.ส�ำรวจชอ่ งทางการสนบั สนุนทางการเงนิ จาก GEF สภาพภมู ิอากาศ การประเมนิ ความเสีย่ ง การปรบั ตัว และ ค. การปฏิบัตกิ ารระดบั รัฐภาคี / แหลง่ มรดก: พฒั นาแผนการบรหิ ารจัดการที่เหมาะสม i. เชอ่ื มโยงหนว่ ยประสานงานกลางของแตล่ ะอนสุ ญั ญาและ ii. พจิ ารณาการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและความทา้ ทายอนื่ ๆ แตล่ ะแผนการดำ� เนนิ งาน เมอื่ ดำ� เนนิ การเตรยี มการเสนอชอื่ – เชน่ โดยการทำ� ใหม้ นั่ ใจวา่ มี ii. สำ� รวจช่องทางการสนบั สนนุ ทางการเงินจาก GEF เพอื่ การเชอ่ื มโยงภมู ปิ ระเทศใหเ้ ขา้ ถงึ กนั โดยการกำ� หนดเขตแดนและ การดำ� เนินงานโครงการน�ำร่องในแหล่งมรดก แนวกนั ชนใหเ้ หมาะสม เพอ่ื จะไดส้ ามารถทนทานและตา้ นทานตอ่ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากขึ้น ๓๕. อนุสญั ญาสหประชาชาติว่าดว้ ยการตอ่ ตา้ นการแปรสภาพเปน็ ทะเลทราย (United Nations Convention to Combat Desertification) * ดูหน้า: ** ดหู น้า ๒๘ (อนสุ ัญญาระหวา่ งประเทศ). - ๓๐ (การออกแบบแผนการบริหารจัดการทค่ี ำ� นึงถึงประเดน็ การเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ), - ๓๓ (การประเมนิ ความเปราะบาง), - ๓๖ (การปรบั ตวั ), - ๓๗ (การตรวจติดตามและการบรหิ ารจัดการเพอื่ การปรับตัว), - ๓๘ (การเตรยี มพร้อมรบั มอื กบั ความเสีย่ ง).

๓ ยทุ ธศาสตร์เพอ่ื ช่วยเหลอื รัฐภาคีในการดำ� เนนิ การตอบสนองดา้ นการบรหิ ารจดั การท่เี หมาะสม 44 การสอ่ื สาร การศกึ ษา การฝกึ อบรม การพฒั นา ขดี ความสามารถ ii. ทำ� งานรว่ มกบั องคก์ รผบู้ รจิ าคระหวา่ งประเทศเพอ่ื สง่ เสรมิ การเพม่ิ ความตระหนกั และการแบง่ ปนั แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี ขอ้ มลู และ งานวจิ ัยในมิตกิ ายภาพ วัฒนธรรมและสังคม องคค์ วามรู้ * iii. พฒั นาแนวทางการประสานงานเพอื่ การวจิ ยั ดา้ นผลกระทบ ก. การปฏบิ ตั กิ ารในระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก): ของการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลกทาง วัฒนธรรม ซงึ่ รวมถงึ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทาง i. แจง้ UNFCCC ใหท้ ราบในเรอ่ื งผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง สงั คม (เชน่ การเคลอ่ื นยา้ ยของประชากร การละทงิ้ ถน่ิ ฐาน สภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก เพอื่ ใหร้ วมมติ เิ หลา่ นใ้ี นคมู่ อื ของ ของชมุ ชน แนวปฏบิ ตั ขิ องชมุ ชน และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง การจดั ท�ำรายงานแหง่ ชาติ ชมุ ชนและมรดกของชมุ ชน) ii. ทำ� ใหม้ นั่ ใจวา่ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ข. การปฏบิ ตั กิ ารระดบั ภมู ภิ าค (ระหวา่ งรฐั ภาค)ี / ตามรายประเดน็ : และการศกึ ษาดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ถกู สอดแทรกอยใู่ นแผนการ i. สง่ เสรมิ การพฒั นาแผนทคี่ วามเสย่ี งและความเปราะบางใน ด�ำเนินการฝึกอบรมโดยท่ัวไป (ของศูนย์มรดกโลกและ ระดบั ภมู ภิ าคและอนภุ มู ภิ าคทเี่ ปรยี บเทยี บซอ้ นกนั ระหวา่ ง องค์กรที่ปรึกษา) ทั้งการจัดเตรียมเอกสารการฝึกอบรม ข้อมลู ดา้ นภมู ิอากาศและสถานท่ีของแหลง่ มรดกโลก และมหี ลกั สตู รทเ่ี จาะจงในเรอ่ื งผลกระทบของการเปลยี่ นแปลง ค. การปฏบิ ัตกิ ารระดับรัฐภาคี / แหลง่ มรดก: สภาพภมู ิอากาศ i. เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมูลว่าด้วยผลกระทบของ iii. เฝา้ สงั เกตการจดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารระหวา่ งประเทศ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในอดีตและปัจจุบันต่อ เพอื่ ใหม้ กี ารพฒั นาการสรา้ งเครอื ขา่ ยและแบง่ ปนั ประสบการณ์ แหล่งมรดกโลก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ระหวา่ งรฐั ภาคเี หนอื -ใต้ (north-south) ii. ทบทวนรายงานตามระยะเวลา (periodic report) ทผี่ า่ นมา และ ใต-้ ใต้ (south-south) เนื่องจากอาจน�ำไปสู่การระบุผลกระทบในอดีตของ iv. พฒั นากลยทุ ธใ์ นการสอ่ื สารโดยใชป้ ระโยชนจ์ ากภาคเี ครอื ขา่ ย การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก ซง่ึ ณ เวลาที่ ทวั่ โลกของมรดกโลก เพอ่ื แจง้ ใหส้ าธารณชนและผวู้ างนโยบาย ท�ำรายงานน้ันอาจไม่ได้คาดมาก่อนว่าเป็นผลจาก ทราบเกย่ี วกบั ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตอ่ แหลง่ มรดกโลก และสรา้ งแรงสนบั สนนุ จากภาคสาธารณะ iii. ประเมินผลความมปี ระสทิ ธิภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ งของทกั ษะ และการเมอื งสำ� หรบั การดำ� เนนิ การเพอ่ื รบั มอื กบั เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ดง้ั เดมิ และการใชว้ สั ดแุ ละแนวปฏบิ ตั ดิ ง้ั เดมิ ซง่ึ อาจใชเ้ ปน็ ข. การปฏบิ ตั กิ ารระดบั ภมู ภิ าค (ระหวา่ งรฐั ภาค)ี / ตามรายประเดน็ : พน้ื ฐานในการพฒั นาขอ้ เสนอเพอ่ื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการรบั มอื กบั i. ยกระดบั ความตระหนกั ภายในองคก์ รและสถาบนั การฝกึ อบรม การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และระหวา่ งรัฐภาคี iv.ประสานความร่วมมือกับสถาบันวิจัยในระดับประเทศ ii. ท�ำให้ม่ันใจวา่ หลักสูตรการฝึกอบรมว่าดว้ ยการประเมิน ภมู ิภาค และระดบั โลกในประเด็นที่เฉพาะเจาะจง ความเสยี่ ง การรายงาน การปรบั ตวั และการตรวจตดิ ตาม ประเดน็ ทางกฎหมาย มกี ารประสานรว่ มกันกบั สถาบนั ระหว่างประเทศ องคก์ ร หลงั จากทไ่ี ดม้ กี ารพจิ ารณาถงึ การดำ� เนนิ งานทห่ี ลากหลายภายใต้ ทีใ่ ห้ค�ำปรกึ ษา และส�ำนกั เลขาธิการของอนสุ ญั ญาอืน่ ๆ กรอบการบรหิ ารจดั การผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพ ค. การปฏิบตั กิ ารระดับรัฐภาคี / แหล่งมรดก: ภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ มรดกโลก คณะผเู้ ชยี่ วชาญพจิ ารณาวา่ อาจหารอื i. ใหข้ อ้ มลู แกผ่ กู้ ำ� หนดนโยบาย ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ถึงความเป็นไปได้ท่ีจะน�ำมิติในด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ ผใู้ ชแ้ หลง่ มรดก ผจู้ ดั การแหลง่ มรดก และผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นมรดก ภมู อิ ากาศเขา้ มารวมดว้ ย เมอ่ื แนวปฏบิ ตั ฯิ ไดร้ บั การทบทวนในครง้ั ในเรอื่ งผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ แหลง่ ถัดไป มรดก การตอบสนองเพอ่ื การบรหิ ารจดั การ ความชว่ ยเหลอื ที่ เปน็ ไปได้ เครอื ขา่ ยทม่ี ใี นปจั จบุ นั หลกั สตู รการฝกึ อบรมใน เรอ่ื งน้ี และโอกาสต่างๆ ในการเรยี นรรู้ ะยะไกล ii. สนบั สนนุ ใหผ้ จู้ ดั การแหลง่ มรดกใหข้ อ้ มลู กลบั แกผ่ เู้ ชยี่ วชาญใน ระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก) เชน่ โดยการพฒั นา กรณีศึกษาในเร่อื งแนวปฏบิ ัตทิ ่ดี ีเลิศและบทเรียนที่ไดร้ บั เพือ่ นำ� ไปแบ่งปนั กบั ผู้จัดการแหล่งมรดกอืน่ ๆ การวิจยั ** ควรมกี ารสำ� รวจในทกุ ระดบั ถงึ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งการวจิ ยั และ การปฏิบตั ิการตรวจติดตาม ก. การปฏบิ ตั กิ ารในระดบั โลก (อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก): i. กอ่ ตั้งความร่วมมือกบั IPCC เพ่อื ประเมินผลกระทบของ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก และสำ� รวจ ความเป็นไปไดท้ ี่จะใหป้ ระเดน็ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั มรดกโลก ถูกกล่าวถึงในรายงานการประเมนิ ผลกระทบจาก การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศในอนาคต * ดูหนา้ : - ๓๐ (ระดับของการปฏบิ ตั กิ ารและการสร้างเครือข่าย). - ๓๒ (การบริหารจัดการข้อมูล การสอื่ สารและการสร้างแรงสนบั สนนุ จากภาค สาธารณะและการเมือง) ** ดหู น้า ๓๑ (งานวจิ ัย)

ภาคผนวก บทสรุป และกา้ วตอ่ ไป อทุ ยานแห่งชาตวิ าสการา, เปรู © Renzo Uccelli

๔ บทสรปุ และก้าวต่อไป ในขณะทม่ี กี ารรบั รองรายงานและยทุ ธศาสตรน์ ใ้ี นการประชมุ สมยั ที่ ๓๐ ทางคณะกรรมการมรดกโลกมคี วามปรารถนาว่า เอกสารเหล่านี้จะได้รับการเผยแพร่อย่างกว้างขวางไปยัง ชมุ ชนมรดกโลกและสาธารณะในวงกวา้ ง โดยมคี วามหวงั วา่ สิ่งตีพิมพ์ฉบับน้ีจะรองรับวัตถุประสงค์ที่กว้างขวางร่วมกับ ส่ิงตีพิมพ์อีกฉบับหน่ึงซึ่งศูนย์มรดกโลกเผยแพร่ออกไปเม่ือ ไม่นานมาน้ี โดยเป็นการรวบรวมกรณีศึกษาที่เน้นให้เห็น ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ ทรพั ยส์ นิ มรดกโลก คอื กรณศี กึ ษาวา่ ดว้ ยมรดกโลกและการเปลย่ี นแปลง สภาพภมู อิ ากาศ (Case Studies on World Heritage and Climate Change), ยเู นสโก, มีนาคม, ค.ศ. ๒๐๐๗ มากไปกว่านั้น ตามค�ำสง่ั ของคณะกรรมการ ได้มกี ารจดั เตรียม รา่ งเอกสารนโยบายในหวั ขอ้ ดงั กลา่ วสำ� หรบั การพจิ ารณาในทป่ี ระชมุ สมยั ท่ี ๓๑ (๒๓ มถิ นุ ายน – ๒ กรกฎาคม ค.ศ. ๒๐๐๗) และเพอ่ื การรบั รองในการประชมุ สมชั ชาทวั่ ไปของรฐั ภาคอี นสุ ญั ญาในชว่ งหลงั ของปเี ดยี วกนั องคป์ ระกอบตา่ งๆ ของยทุ ธศาสตรไ์ ดถ้ กู ทำ� ใหเ้ ปน็ กระแสหลกั ในกระบวนการตา่ งๆ ภายใตอ้ นสุ ญั ญา ครอบคลมุ ถงึ การ เสนอชอื่ การตรวจตดิ ตาม (reactive monitoring) การรายงานตาม ระยะเวลา (periodic reporting) การชว่ ยเหลอื ระหวา่ งประเทศ การพัฒนาขีดความสามารถและรวมถึงในยุทธศาสตร์ว่าด้วย การลดความเส่ียงจากภัยพบิ ัติในทรัพยส์ นิ มรดกโลก ในขณะทมี่ ศี กึ ษาความเปน็ ไปไดร้ ว่ มกบั ผบู้ รจิ าคในการสนบั สนนุ การดำ� เนนิ การโครงการนำ� รอ่ งการประเมนิ ความเปราะบางและ การปรบั ตวั ในแหลง่ มรดกโลกบางแหลง่ การรบั มอื ตอ่ ผลกระทบของ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสามารถเกดิ ไดเ้ มอ่ื ยทุ ธศาสตรท์ รี่ ะบใุ นสงิ่ ตพี มิ พไ์ ดถ้ กู นำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นระดบั พนื้ ทเี่ ทา่ นนั้ ยทุ ธศาสตรเ์ หลา่ นจ้ี งึ มเี พอื่ ใหค้ ณะกรรมการมรดกโลก รอ้ งขอใหท้ กุ รฐั ภาคแี ละทกุ หนุ้ สว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ งนำ� กลยทุ ธเ์ หลา่ นไ้ี ป ดำ� เนนิ การเพอ่ื ปกปอ้ งคณุ คา่ ทโ่ี ดดเดน่ เปน็ สากล ความบรบิ รู ณ์ และความเปน็ ของแทข้ องแหลง่ มรดกโลก จากอทิ ธพิ ลดา้ นลบของ การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ โดยให้ด�ำเนินการในระดบั ท่ี เปน็ ไปได้และภายในทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ ไมม่ อี งคก์ รหนง่ึ องคก์ รใดทสี่ ามารถรบั มอื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ความทา้ ทายสำ� คญั อนั เกดิ จากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ี ตอ่ แหลง่ มรดกโลก สงิ่ นเ้ี รยี กรอ้ งการตอบสนองอยา่ งมสี ว่ นรว่ มโดย ทกุ ฝา่ ย และอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก ซงึ่ มบี ทบาทสง่ เสรมิ ความ รว่ มมอื ระหวา่ งประเทศเพอ่ื การอนรุ กั ษม์ รดก สามารถเปน็ กลไก ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการระดมการสนบั สนนุ จากองคก์ ร อนสุ ญั ญา และกระบวนการที่เกยี่ วข้องได้ ๔๔

ภาคผนวก มัสยดิ ชนิ เกตต,ิ มอริตาเนยี © UNESCO / Galy Bernard

ภาคผนวก ในทป่ี ระชมุ ประกอบดว้ ยผเู้ ชยี่ วชาญจาก ๑๕ รฐั ภาคี โดยมภี มู หิ ลงั ท่ี การประชมุ ผเู้ ชย่ี วชาญของอนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก หลากหลาย ทงั้ นกั วจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเดน็ การเปลยี่ นแปลงสภาพ วา่ ดว้ ยผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภมู อิ ากาศไปจนกระทง่ั ผจู้ ดั การแหลง่ มรดก จากอนสุ ญั ญาระหวา่ ง ต่อมรดกโลก ประเทศทเ่ี กย่ี วขอ้ งอนื่ ๆ รวมถงึ UNFCCC๓๖ อนสุ ญั ญาแรมซาร์ วา่ ดว้ ยพนื้ ทช่ี มุ่ นำ�้ CBD๓๗ จากแผนการดำ� เนนิ งานระหวา่ งประเทศ คณะกรรมการมรดกโลกในที่ประชมุ สมยั ท่ี ๒๙ (เดอรบ์ นั , ค.ศ. ตา่ งๆ เชน่ UNEP๓๘, IPCC๓๙, UNESCO MAB๔๐ และ IOC๔๑ และ ๒๐๐๙) รอ้ งขอใหศ้ นู ยม์ รดกโลก โดยความรว่ มมอื กบั องคก์ รทใี่ หค้ ำ� ผู้แทนจาก ๗ องค์กรเอกชน (NGOs) ปรกึ ษา รฐั ภาคที ส่ี นใจ และผทู้ รี่ อ้ งเรยี นตอ่ คณะกรรมการในเรอ่ื งน้ี พธิ เี ปดิ : Mr Francesco Bandarin (ผอู้ ำ� นวยการศนู ยม์ รดกโลก) จัดประชุมคณะท�ำงานของผู้เชี่ยวชาญว่าด้วยผลกระทบของ กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม และ Ms Ina Marčiulionyte การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก (ขอ้ ตดั สนิ ใจ 29 COM (ประธานคณะกรรมการมรดกโลก) เปดิ การประชมุ Mr Martin Parry 7B.a) คณะกรรมการหยบิ ยกขอ้ ตดั สนิ ใจนี้ ซง่ึ รบั ทราบ ‘วา่ ผลกระทบ (ประธานรว่ มของคณะทำ� งานท่ี ๒ ของ IPCC) กลา่ วคำ� ปราศรยั ของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศสง่ ผลและมแี นวโนม้ สง่ ผลถงึ หลกั วา่ ดว้ ยผลสบื เนอ่ื งจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ ทรพั ยส์ นิ มรดกโลกจำ� นวนมาก ทง้ั ทางธรรมชาตแิ ละทางวฒั นธรรม มรดกโลก Mr Kishore Rao (รองผ้อู �ำนวยการศนู ย์มรดกโลก) ในชว่ งอนาคตทจี่ ะถงึ น’ี้ คณะกรรมการจงึ รอ้ งขอใหค้ ณะทำ� งานของ น�ำเสนอภาพรวมของข้อตัดสินใจของคณะกรรมการมรดกโลก ผเู้ ชี่ยวชาญในการ: วาระการประชุม วัตถุประสงค์ของการประชุม ความต้องการ • ทบทวนลกั ษณะตามธรรมชาตแิ ละขอบเขตของความเสย่ี งทมี่ ตี อ่ เชงิ ยทุ ธศาสตร์ และรายงานผลของการทำ� แบบสำ� รวจเรอื่ งการ ทรพั ยส์ นิ มรดกโลกทเี่ กดิ โดยเฉพาะเจาะจงจากการเปลยี่ นแปลง เปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศที่รวบรวมจากรฐั ภาคี สภาพภมู อิ ากาศ; การนำ� เสนอตอ่ ทปี่ ระชมุ เตม็ คณะ: มกี ารนำ� เสนอกจิ กรรมดา้ น • รว่ มกนั พฒั นายทุ ธศาสตรเ์ พอื่ ชว่ ยเหลอื รฐั ภาคใี นการดำ� เนนิ การ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศของอนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศท่ี ตอบสนองเพือ่ การบรหิ ารจดั การท่เี หมาะสม; และ เกยี่ วขอ้ งตอ่ ทป่ี ระชมุ Mr Ahmed Djoghlaf (เลขาธกิ าร CBD) กลา่ ว • จดั เตรยี มรายงานรว่ มวา่ ดว้ ย ‘การพยากรณแ์ ละการบรหิ ารจดั การ ถอ้ ยแถลงในนามของ CBD Ms Habiba Gitay (สถาบนั ทรพั ยากร ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลก ของโลก-WRI) นำ� เสนอกจิ กรรมทด่ี ำ� เนนิ การโดยอนสุ ญั ญาแรมซาร์ (Predicting and managing the effects of climate change on Mr Festus Luboyera (UNFCCC) นำ� เสนอกรอบอนสุ ัญญา World Heritage)’ เพอ่ื รบั การวนิ จิ ฉยั จากคณะกรรมการในการ สหประชาชาติ วา่ ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และ Mr ประชุมสมัยที่ ๓๐ (วลิ นอี ุส, ค.ศ. ๒๐๐๖) Natarajan Ishwaran (UNESCO) แนะน�ำแผนการด�ำเนินงาน คณะกรรมการมรดกโลกยงั ไดย้ อมรบั การใหด้ ว้ ยอธั ยาศยั ไมตรจี าก MAB ของยเู นสโก Ms May Cassar (University College London) สหราชอาณาจกั รในการเปน็ เจา้ ภาพจดั การประชมุ คณะทำ� งานของ เปน็ ผกู้ ลา่ วสนุ ทรพจนห์ ลกั วา่ ดว้ ยผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง ผเู้ ชยี่ วชาญดงั กล่าว สภาพภมู อิ ากาศตอ่ มรดกโลกทางวฒั นธรรม และ Mr Dinu Bumbaru การประชมุ ผเู้ ชย่ี วชาญภายใตอ้ นสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลกวา่ ดว้ ย (ICOMOS) นำ� เสนอแนวทางเครอื ขา่ ยของ ICOMOS วา่ ดว้ ยการ ‘การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและมรดกโลก’ ซง่ึ ไดร้ บั การกอ่ ตง้ั เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โครงสร้าง แหล่งและพ้ืนที่ของ ตามยอ่ หนา้ ที่ ๗ และ ๙ ของขอ้ ตดั สนิ ใจที่ ๒๙ COM 7B.a ซง่ึ ไดก้ ลา่ ว มรดก และผเู้ ชย่ี วชาญทเ่ี กย่ี วขอ้ งนำ� เสนอกรณศี กึ ษาวา่ ดว้ ยผลกระทบ ไปขา้ งตน้ แลว้ โดยจดั เมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ และ ๑๗ มนี าคม ค.ศ. ๒๐๐๖ ของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศตอ่ แหลง่ มรดกโลกทางธรรมชาติ ณ ส�ำนกั งานใหญย่ เู นสโก กรุงปารสี และทางวฒั นธรรม๕แหลง่ ทป่ี ระชมุ เตม็ คณะสรปุ ทา้ ยดว้ ยการนำ� เสนอ การประชมุ ถกู จดั เตรยี มขน้ึ ภายหลงั กระบวนการหารอื ทเ่ี ขม้ ขน้ และ ของ Ms Erika Harms (UNF) วา่ ดว้ ยการยกระดบั ความตระหนกั รู้ ครอบคลมุ ระหวา่ งกลมุ่ แกนนำ� ซงึ่ ประกอบดว้ ยศนู ยม์ รดกโลก องคก์ ร ของสาธารณะและสรา้ งแรงสนับสนุนทางการเมือง ทใี่ หค้ ำ� ปรกึ ษา และผเู้ ชยี่ วชาญจากสหราชอาณาจกั ร โดยมลู นธิ ิ ทป่ี ระชมุ คณะทำ� งาน: กลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญไดแ้ ยกการทำ� งานออกเปน็ สหประชาชาติ (United Nations Foundation) ใหก้ ารสนบั สนนุ ทาง ๒การประชมุ คขู่ นานในประเดน็ มรดกทางวฒั นธรรมและทางธรรมชาติ การเงินที่ส�ำคัญให้กับศูนย์มรดกโลกเพ่ือให้การเตรียมการและ เพอ่ื ทบทวนรา่ งกรอบยทุ ธศาสตรเ์ พอ่ื ชว่ ยเหลอื รฐั ภาคใี นการดำ� เนนิ การ การดำ� เนนิ การตดิ ตามผลเกดิ ขน้ึ มาได้ วาระการประชมุ รายชอื่ ตอบสนองเพอ่ื การบริหารจดั การทเ่ี หมาะสม และเพ่ือทบทวน ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ และเอกสารภมู หิ ลงั สำ� หรบั การประชมุ ผเู้ ชยี่ วชาญ รา่ งเอกสารภมู หิ ลงั ทจ่ี ดั เตรยี มลว่ งหนา้ เพอื่ การผลติ รายงานฉบบั ถกู จดั เตรยี มผา่ นการประสานงานกนั ระหวา่ งกลมุ่ แกนนำ� เอกสารภมู ิ สมบรู ณว์ า่ ดว้ ย ‘การคาดการณแ์ ละการบรหิ ารจดั การผลกระทบของ หลงั ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ในเรอื่ งการประเมนิ และการบรหิ ารจดั การ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ มรดกโลก (Predicting and ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศในบรบิ ทของมรดกโลก managing the effects of climate change on World Heritage)’ ผู้เช่ียวชาญจ�ำนวนมากได้น�ำส่งกรณีศึกษาในเร่ืองผลกระทบ คณะทำ� งานรายงานตอ่ ทปี่ ระชมุ เตม็ คณะ Mr Alexander Gillespie ของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทม่ี ตี อ่ แหลง่ มรดกโลกอยา่ ง (ผบู้ นั ทกึ การประชมุ ของคณะกรรมการมรดกโลก) สรปุ ผลลพั ธข์ อง เฉพาะเจาะจงเพือ่ การพิจารณาของผเู้ ข้าร่วมการประชมุ การประชมุ และ Ms Ina Marciulionyte น�ำเสนอขั้นตอนต่อ ไปในกระบวนการ 48 ๓๖. อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๓๗. อนุสญั ญาวา่ ด้วยความหลากหลายทางชวี ภาพ ๓๘. โปรแกรมสิ่งแวดล้อมแหง่ สหประชาชาติ ๓๙. คณะกรรมการระหวา่ งรฐั บาลวา่ ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๔๐. แผนการท�ำงานของยเู นสโกว่าด้วยมนุษยแ์ ละชวี มณฑล ๔๑. คณะกรรมาธิการสมุทรศาสตรร์ ะหว่างประเทศแหง่ ยูเนสโก

ภาคผนวก วาระการประชมุ ผเู้ ชี่ยวชาญว่าดว้ ยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและมรดกโลก การประชมุ ผ้เู ช่ียวชาญแหง่ อนสุ ญั ญาคมุ้ ครองมรดกโลก: การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและมรดกโลก สำ� นักงานใหญย่ ูเนสโก, ปารสี (ฝรงั่ เศส) ๑๖ – ๑๗ มนี าคม ค.ศ. ๒๐๐๖ ... 49

ภาคผนวก ... 50