Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสารวิจัย มทร.ธัญบุรี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563)

วารสารวิจัย มทร.ธัญบุรี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563)

Published by IRD RMUTT, 2021-01-28 08:05:27

Description: วารสารวิจัย มทร.ธัญบุรี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563)

Search

Read the Text Version

94 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 7. จิรันดร บู๊ฮวดใช้. แนวทางการพัฒนาต้นแบบ แชทบอทสำหรับให้คำแนะนำระบบขอทุนอุดหนุน การวิจัย งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม. ใน: เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม “พัฒนางานวจิ ยั สรางสรรคอุดมศกึ ษาไทย กาวไกล สู Thailand 4.0”. ประกอบการประชุมวิชาการ ระดับชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม “พัฒนางานวิจัย สรางสรรคอุดมศกึ ษาไทย กาวไกล สู Thailand 4.0”; 28-29 ก.ย. 2560; มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม. นครปฐม: โรงพิมพมหาวิทยาลัย ศิลปากร; 2560. น. 1906-13. 8. MICE INTELLIGENCE CENTER. ปัญญาประดิษฐ์ (AI) คือกุญแจสู่อนาคตสำหรับธุรกิจไมซ์ [อินเทอร์เน็ต]. 2561; [สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2562]. จาก: https://intelligence. businesseventsthailand .com/th/pdfviews/57315573724821.pdf.

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 95 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) การจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายในห้องปฏิบัติการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ Management of Chemicals and Hazardous Waste in Environmental Engineering Laboratory Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi ปิตพิ ร มโนคุ้น และ ภทั รมาศ เทยี มเงนิ * Pitiporn Manokhun and Phattharamat Thiamngoen * สาขาวิขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ศูนย์นนทบุรี อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี 11000 Department of Environmental Engineering, Faculty of Engineering and Architecture, Rajamangala University of Technology Suvanabhumi, Nonthaburi Campus, Meung, Nonthaburi 11000, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: Chemicals are used in studies, experiments, and research from Received: 28 May, 2020 the laboratory called chemical wastes, that may be in the form of solids, Revised: 19 June, 2020 liquids, or gases. In case of improper handling, these wastes probably Accepted: 6 August, 2020 affect human health and contaminate the environment. This project Available online: 20 October, 2020 was studied at the environmental engineering laboratories of the DOI: 10.14456/rj-rmutt.2020.21 Rajamangala University of Technology Suvarnabhumi. The purpose of Keywords: chemical, this project is to create a management system for chemicals and hazardous wastes, hazardous wastes from laboratories, and to evaluate the knowledge of management, laboratory students who are laboratory users. This study can be divided into 3 parts that are chemical management in the laboratory, hazardous waste management, and prevention of hazards in the laboratory. The information systems and chemical storage platform using the GHS systems (Globally Harmonized System for Classification and Labeling of Chemicals) were investigated and were able to classify the 3 types of chemicals according to hazards in the laboratory that were physical hazards, health hazards, and environmental hazards. For chemical

96 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) waste management, the studied laboratory generated hazardous liquid wastes which were collected into corrosion-resistant containers, and hazardous solid wastes were managed by preparing a suitable container in order to collect wastes during waiting for appropriate disposal. The aspect of safety and prevention of the hazards in laboratories was developed the media to communicate to all laboratory users that are signboard and video regarding to hazard types, chemical waste types, and laboratory safety. The researcher evaluated the comprehension of 48 students by conducting pre-test and post-test in 3 studied parts. The results showed that students had more knowledge in all aspects. The increase of knowledge for chemical management in the laboratory, hazardous waste management, and prevention of hazards in the laboratory was 36%, 27%, and 24, respectively. This obviously indicates that the students understand the laboratory management system, which leads to use the laboratory much more correctly and safely. บทคดั ยอ่ แยกตามประเภทเพื่อรวบรวมส่งกำจัดอย่างถูกวิธี แนวทางการปอ้ งอันตรายในห้องปฏบิ ตั กิ าร ผศู้ กึ ษาจดั ทำ การใชส้ ารเคมใี นการเรียน การทดลองและวจิ ยั ป ้ า ย ใ ห ้ ค ว า ม ร ู ้ แ ละว ิ ด ี โอ เ ก ี่ ย ว ก ับ ป ระ เ ภท ค ว ามเป็น ทำใหเ้ กิดสารเคมีเหลอื ทิง้ หรือปนเปอ้ื นท่เี รยี กวา่ ของเสีย อันตราย ประเภทของเสยี เคมแี ละวิธีการป้องกนั อนั ตราย เคมี อาจอยู่ในรูปของของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ของ ในการใช้ห้องปฏิบัติการ ทำการประเมินความรู้ ความ เสยี เหล่านี้หากไม่ได้จัดการอยา่ งถูกวิธีอาจเกิดผลกระทบ เข้าใจของนักศึกษาจำนวน 48 คน แบ่งการทดสอบเป็น ต่อสขุ ภาพมนุษย์และปนเป้อื นสสู่ งิ่ แวดลอ้ มได้ การจัดทำ 3 ด้าน ดังน้ี 1. การจัดเกบ็ สารเคมีในห้องปฏบิ ตั ิการ จาก โครงงานคร้งั นีม้ ีวตั ถุประสงค์ เพอ่ื จัดทำระบบการจัดการ ผลการทดสอบนักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 36 สารเคมีและของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ 2. การจัดการของเสียในห้องปฏิบัติการ จากผลการ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและประเมินผลความรู้นักศึกษา ทดสอบนักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 26.5 และ สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3. การป้องกันอันตรายในห้องปฏิบัติการ จากผลการ 3 ด้าน คอื การจัดการสารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ดา้ นการ ทดสอบนักศึกษามีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.9 ซึ่งแสดง จัดการของเสียอนั ตราย การหาแนวทางป้องกันอันตราย ให้เห็นว่านักศึกษามีความเข้าใจในการใช้ห้องปฏิบัติการ อันเกิดจากห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาการจัดเก็บ อยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัยมากยง่ิ ข้ึน สารเคมีโดยใช้หลกั จเี อชเอส สามารถจำแนกสารเคมีตาม ความเป็นอันตรายออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้าน คำสำคัญ: สารเคมี ของเสียอันตราย การจัดการ กายภาพ 2. ด้านสุขภาพ และ 3. ด้านสิ่งแวดล้อม การ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร จัดการของเสียเคมี สามารถแบ่งประเภทของเสียได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. ของเสยี อันตรายชนิดของเหลว 2. ของ เสียอันตรายชนิดของแข็ง โดยจัดเตรียมภาชนะรองรับ

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 97 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) บทนำ 2. ของเสียประเภทที่เป็นอนั ตราย ได้แก่ ของเสยี ประเภท สารละลายกรดหรือสารละลายดา่ ง ของเสียประเภทกรด สารเคมีนับว่ามีความสำคัญในการทดลองและ ที่มีโลหะผสมอยู่ ของเสียประเภทสารอินทรีย์ที่มีสาร การทำงานวิจัยในห้องปฏิบัติการมีหลายชนิดขึ้นอยู่กับ ฮาโลเจนผสมอยู่ ของเสียประเภทสารอินทรีย์ที่ไม่มีสาร วัตถปุ ระสงคข์ องการทดลองในปฏิบัติการและงานวจิ ยั โดย ฮาโลเจนผสมอยู่ โดยการจัดการของห้องปฏิบัติการส่วน แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 2 กลุ่ม คือ สารประกอบอินทรีย์ ใหญ่จะใช้หลักการแยกเก็บของเสียตามประเภทการ และสารประกอบอนินทรีย์ (1) การจำแนกความเป็น วิเคราะห์ (7) หรือแยกเก็บตามประเภทที่เป็นอันตราย อนั ตรายของสารเคมีที่นิยมใชก้ ันอย่างแพรห่ ลายคือ ระบบ (6) แลว้ จึงรวบรวมเพือ่ สง่ กำจดั ต่อไป นอกจากน้ียังมีการ การจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบ ทำให้เป็นกลางโดยเฉพาะของเสียประเภทของเหลวที่มี เดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonised System for สภาพเป็นกรด หรือด่างเข้มข้น การนำกลับมาใช้ซ้ำหรือ Classification and Labeling of Chemicals, GHS) (2) นำกลับมาใช้ใหม่ เช่น ตัวทำละลายที่ไม่มีสิ่งเจือปนที่ ระเหยอยู่มากนัก หรืออะซิโตนที่ใช้ล้างภาชนะสามารถ การใช้สารเคมีในการเรียน การสอน รวมถึง รวบรวมนำไปกลั่นลำดับส่วนเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้ งานวิจัยต่าง ๆ ทำให้เกิดสารเคมีเหลือทิ้งหรือปนเปื้อน การตกตะกอนโลหะหนักในน้ำเสียเพื่อแยกออกการส่ง เรียกว่า ของเสียอันตรายจากห้องปฏิบัติการ ซึ่งได้แก่ กำจัด รวมถึงการลดปริมาณตัวอย่างที่ใช้ (7) เพื่อให้เกิด สารเคมีเหลือใช้ในห้องปฏบิ ัติการเคมี สารเคมีท่ีไม่ทราบ ของเสียอันตรายจากหอ้ งปฏิบัตกิ ารน้อยท่ีสดุ ชื่อ สารเคมีที่หมดอายุหรือเสื่อมสภาพ สารเคมีที่ หกรั่วไหลและเก็บกลับคืนมา ตัวทำละลายอินทรยี ์ กล่าว ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม โดยสรุปคือทุกสิ่งที่ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อีก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จัดตั้งขึ้น ต่อไปในห้องปฏิบัติการเคมีและจำเป็นต้องกำจัดทิ้งโดย เพื่อประกอบการเรียน การสอน ในวิชาต่าง ๆ เช่น วิชา วิธีใดวิธีหนึ่ง (3-5) นอกจากนี้ยังรวมถึงวัตถุอื่น ๆ ที่ถูก ปฏิบัติการเคมีสำหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ปฏิบัติการ ปนเปื้อน เช่น ถุงมือ กระดาษ เป็นต้น (6) จัดว่าเป็นของ ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม โครงงานทางวิศวกรรม เสียอันตรายทั้งสิ้น ของเสียอันตรายประเภทของเสีย สิ่งแวดล้อม เป็นต้น ห้องปฏิบัติการนับเป็นแหล่ง สารเคมีส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้เกี่ยวข้องและ ก่อให้เกิดของเสียอันตรายซึ่งยังไม่มีการจดบันทึกให้เห็น สิง่ แวดล้อม เพราะการศกึ ษาวิจยั มักต้องใช้สารเคมีที่มีท้ัง ถึงชนดิ และปริมาณของของเสยี สารเคมที ี่เกดิ ขึ้นแน่ชัดใน คณุ และโทษมากมาย ผปู้ ฏบิ ตั งิ านและผ้เู กี่ยวขอ้ งจงึ ไดร้ ับ แต่ละปีจนถึงปัจจุบัน และยังไม่มีการจำแนกประเภทของ ผลกระทบทั้งจากการเป็นผู้ที่ใช้สารเคมีเองโดยตรงและ เสียท่ีเกิดจากห้องปฏิบตั กิ ารอย่างชัดเจน รวมถงึ แนวทาง หรือผลกระทบทางออ้ มจากมลภาวะทีม่ ีในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร จัดการของเสียสารเคมที ี่ถกู ต้องและเหมาะสม งานวิจัยน้ี เพราะการทงิ้ โดยไม่แยกกลมุ่ แยกประเภทอาจทำให้ได้รับ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางจัดการสารเคมี และ อันตรายจากของเสียนัน้ เชน่ การระเบดิ เพราะสารเคมใี น ของเสียอันตรายที่เกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการวิศวกรรม ของเสียทำปฏิกิริยากันและอาจเป็นช่องทางของการ สิ่งแวดลอ้ มในการจัดเกบ็ และรอการกำจัดอย่างเหมาะสม ร่วั ไหลแพร่กระจายสสู่ งิ่ แวดลอ้ ม (2) ตลอดจนการป้องกนั อนั ตรายและแกไ้ ขปญั หาอันเกิดจาก ของเสียเคมีจากห้องปฏิบัติการ พร้อมทั้งถ่ายทอดองค์ ปจั จบุ ันกรมควบคมุ มลพษิ ได้กำหนดวิธกี ารคดั ความรู้ ความเข้าใจในการจัดการของเสียเคมีแก่นักศึกษา แย กปร ะ เ ภ ทข องเ ส ีย ห้อง ปฏ ิบัต ิการ ส ิ่ งแวด ล ้ อ ม ไ ว้ และผทู้ ่เี กย่ี วข้องท่ีปฏบิ ตั งิ านในห้องปฏบิ ัตกิ าร 2 ประเภท ดังนี้ 1. ของเสียประเภทที่ไม่เป็นอันตราย ได้แก่ ของเสียทั่วไป กระดาษ/พลาสติกทีร่ ีไซเคลิ ได้ แก้ว ของเสียที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว สารละลายมาตรฐาน

98 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) วธิ ีดำเนินการวจิ ยั การดำเนินการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ส่วน รปู ที่ 1 สญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตราย 9 รูป ประกอบด้วย ส่วนที่ 1. การศึกษาการจัดการสารเคมี ส่วนที่ 2. การศึกษาประเภทและจัดการของเสียเคมีใน ตารางที่ 1 แบบฟอร์มในการจำแนกสารเคมีใน หอ้ งปฏิบตั กิ าร และสว่ นท่ี 3. การหาแนวทางการป้องกัน หอ้ งปฏิบตั กิ าร อันตรายอันเกิดจากของเสียจากห้องปฏิบัติการ โดยมี รายละเอยี ด ดังนี้ ชื่อสาร ประเภท สญั ลกั ษณ์ ตเู้ กบ็ รหสั ความเป็น แสดงความ สารเคมี 1. การศึกษาการจัดการสารเคมี โดยทำการ อนั ตราย เป็นอนั ตราย สำรวจชนิดของสารเคมีในห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม และจำแนกสารเคมีโดยใช้ระบบการจำแนก 3. การหาแนวทางการป้องกันอันตรายอันเกิด ประเภทและการตดิ ฉลากสารเคมีทเ่ี ป็นระบบเดียวกันท่ัว จากของเสียจากห้องปฏิบัติการ โดยจัดทำป้ายและสื่อให้ โลก (Globally Harmonized System for Classification ความรู้แก่นักศึกษา ทำการประเมินผลความรู้โดยใช้ and Labeling of Chemicals, GHS) เป็นระบบการ แบบทดสอบ ทำการทดสอบก่อนและหลังการให้ความรู้ จำแนกประเภท การติดฉลาก และการแสดงรายละเอยี ด แก่นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ในเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ จำนวน SDS) ของสารเคมีและเคมภี ณั ฑ์ที่องค์การสหประชาชาติ 48 คน (ทดสอบ 100 เปอร์เซ็นต์) ศึกษาในระดับชั้นปีท่ี พัฒนาขึ้นเพื่อให้ใช้สื่อสารและมีความเข้าใจเกี่ยวกับ 1-4 แบ่งการทดสอบเป็น 3 ดา้ น ได้แก่ 1. ด้านการจัดเกบ็ อันตรายที่เกิดจากสารเคมีนั้น ๆ ในทิศทางเดียวกันโดย สารเคมีในห้องปฏิบัติการ 2. ด้านการจัดการของเสียใน ระบบนี้มีการจัดแบ่งความเป็นอันตรายออกเป็น 3 ด้าน ห้องปฏิบัติการ และ 3. ด้านการป้องกันอันตรายใน คือ ด้านกายภาพ ด้านสุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อม แต่ ห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติ ละด้านแบ่งย่อยเป็นชนิดต่าง ๆ และใช้สัญลักษณ์แสดง พรรณนาและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยวิธีการ ความเปน็ อันตราย 9 รูป ดังรูปท่ี 1 โดยแสดงนยั ถึงความ จำแนกเป็นความเรียง รุนแรงของอันตรายของสาร ดังนั้นสารที่อยู่ในกลุ่มที่มี ความเป็นอันตรายอย่างเดียวกัน อาจใช้สัญลักษณ์ไม่ ผลการศึกษาและอภิปรายผล เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับความรุนแรงของอันตราย ประเภทนั้น ๆ (8) โดยการติดฉลากแสดงความเป็น 1. การจัดการสารเคมีในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ อันตรายบนภาชนะบรรจุสารเคมีและจัดเก็บตาม หมวดหมู่อักษรในตู้เก็บสารเคมี ตัวอย่างแบบฟอร์มใน สารเคมีที่ใช้ภายในห้องปฏิบัติการวิศวกรรม การจำแนกสารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ัติการแสดงดงั ตารางที่ 1 สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ 2. การศกึ ษาประเภทและจัดการของเสยี เคมใี น ห้องปฏิบัติการ ทำการศึกษาประเภทของของเสียที่ เกิดขึ้นจากการทดลอง วิจัย ในห้องปฏิบัติการ จากน้ัน จัดแยกประเภทของของเสีย รวมทั้งจัดหาภาชนะรองรับ แยกตามประเภท กำหนดจุดทิ้งและรวบรวมเพื่อรอการ กำจัด

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 99 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ส่วนใหญ่ แบ่งเป็นสารเคมีที่ใช้ในการเรียน การสอน หยิบใช้ ทำการแยกเกบ็ สารเคมีชนดิ ของแข็งและสารเคมี ปฏิบัติการพื้นฐานและปฏิบัติการทางด้านวิศวกรรม ชนิดของเหลวออกจากกัน ส่วนสารละลายทีเ่ ตรียมข้นึ ใน สิ่งแวดล้อมร้อยละ 70 รวมถึงการศึกษาโครงงานของ ห้องปฏิบัตกิ ารจากการเรียนและการจดั ทำโครงงานนนั้ ผู้ นักศึกษาร้อยละ 30 แต่เดิมมีการจัดเก็บภายในตู้เก็บ เตรียมต้องติดฉลากไว้ข้างขวด โดยมีรายละเอียดต่าง ๆ สารเคมแี บ่งแยกตามตวั อักษร แยกสารเคมที ่ีเปน็ ของแขง็ ได้แก่ ชนิดของสาร วันที่เตรียม วันหมดอายุ เพื่อใหผ้ ู้อ่นื และของเหลวออกจากกัน โดยไม่มีการระบุความเป็น ทราบและทำการแยกเกบ็ ในต้เู ก็บสารเคมีอีกตู้หนงึ่ อันตรายของสารเคมี การดำเนินการศึกษาได้ทำการ จำแนกประเภทความเปน็ อนั ตรายของสารเคมีตามระบบ ตารางที่ 2 จำนวนชนิดสารเคมีในห้องปฏิบัติการแบ่ง สากล GHS ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร ตามประเภทความเปน็ อันตราย จากการศึกษาชนิดสารเคมีในห้องปฏิบัติการ สาขาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม พบสารเคมใี นห้องปฏิบัติการ ประเภท จำนวนชนดิ ทั้งหมด 101 ชนิด สามารถแยกประเภทความเป็น อันตรายได้ 81 ชนิด ไม่จัดเปน็ สารเคมอี ันตราย 20 ชนดิ การระคายเคือง 34 เมื่อนำมาแยกประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมี ตามระบบ GHS จำแนกออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้าน เป็นอนั ตรายต่อสขุ ภาพ 19 กายภาพ แบ่งประเภทความเป็นอันตรายออกเป็น 3 ประเภท คอื 1) สารไวไฟ 2) สารกัดกร่อน และ 3) สาร สารกัดกรอ่ น 17 ออกซิไดซ์ 2. ด้านสุขภาพ แบ่งประเภทความเป็น อันตรายออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) การระคายเคือง 2) พษิ เฉยี บพลัน 16 ความเป็นพิษเฉียบพลัน และ 3) สารกัดกร่อน และ 3.ด้านสิ่งแวดล้อม แบ่งประเภทความเป็นอันตราย อันตรายตอ่ สิ่งแวดล้อม 13 ออกเป็นความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งพบว่า สารเคมีประเภทการระคายเคืองมีจำนวนมากเป็นอันดับ สารไวไฟ 10 หน่งึ มจี ำนวน 34 ชนดิ โดยจำนวนชนดิ สารเคมีแบ่งตาม ความเปน็ อนั ตรายแสดงดงั ตารางที่ 2 และรูปท่ี 1 สารออกซไิ ดซ์ 6 ทั้งนี้สารเคมีบางชนิดอาจจำแนกประเภทความ รูปที่ 2 ร้อยละของความเป็นอันตรายของสารเคมี อันตรายได้หลายประเภทและพบว่ามีสารเคมีบางชนิดไม่ ประเภทตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในห้องปฏิบัติการ จดั เป็นสารประเภทที่มคี วามเป็นอนั ตราย ซ่ึงเปน็ สารเคมี ที่ใช้สำหรับการเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อในการวิเคราะห์ 2. การจัดการของเสยี ในห้องปฏบิ ตั กิ าร ชนดิ และหาปริมาณของจุลินทรยี ์ จากน้ันทำการตดิ ฉลาก แสดงความเปน็ อนั ตรายของสารเคมีโดยระบบ GHS และ จากการศึกษาของเสียในห้องปฏิบัติการ จดั วางสารเคมีเป็นหมวดหมอู่ ักษรโดยตดิ ปา้ ยแสดงลำดับ วิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ก่อนดำเนินการศึกษาไม่มีการแยก ของสารไว้ที่ขวดและจัดวางแยกตามหมวดหมู่ตัวอักษร ประเภทและสถานที่จัดเก็บของเสียชนิดของแข็งอย่าง ติดป้ายรายการบรเิ วณหน้าตู้เก็บสารเคมแี สดงลำดบั สาร ชัดเจน ส่วนของเสียสารเคมีที่เป็นของเหลวมีถังแยกของ ชื่อสารเคมี แยกตามหวดหมู่อักษรเพื่อสะดวกต่อการ เสียที่มีฤทธ์ิเป็นกรดและดา่ งออกจากกนั เทา่ นั้น ไม่มีถาด พลาสติกรอง (Secondary Container) เพื่อป้องกันการ

100 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) หก รั่วไหลของของเสีย ไม่มีป้ายบอกรายละเอียดข้อมูล ขนาดบรรจุ 10-20 ลิตร ท่ีถังรองรับมีขีดบอกปริมาตรใน ต่าง ๆ จากการดำเนินการศึกษาพบว่าของเสียที่เกิดขึ้น การเทของเสีย โดยปริมาณของเสียไมค่ วรเกิน 80% ของ ในห้องปฏิบัติการแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ของเสีย ความจุของภาชนะ เพื่อความปลอดภัยในการเก็บและ สารเคมีที่เป็นของเหลวและของเสียชนิดของแข็ง ซึ่งแต่ การเคลื่อนย้าย จัดเตรียมถาดพลาสติก (Secondary ละประเภทมกี ารจัดการ ดังนี้ Container) รองถังที่บรรจุของเสีย เพื่อป้องกันการหก รัว่ ไหลของของเสยี รปู ที่ 3 ถังทีเ่ ตรียมไว้รองรับของเสยี สารเคมชี นดิ ของเหลว 2.1 ของเสยี สารเคมที ่เี ปน็ ของเหลวท่ีเกิดขึ้นใน 2.2 ประเภทของของเสียชนิดของแขง็ ที่เกดิ ขึน้ ในห้องปฏิบตั กิ าร ไดแ้ ก่ ห้องปฏิบัติการมาจากการศึกษาในรายวิชาปฏิบัติทีม่ ีการ ทดลองการวิเคราะห์งานวิจัยต่าง ๆ เมื่อทำการทดสอบ 1. ขวดแก้ว ขวดสารเคมีที่ใช้หมดแล้ว ค่าความเป็นกรดด่าง ของเสียเคมีที่เกิดขึ้นส่วนมาก มีค่า เช่น ขวดแก้วเปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีทั้งชนิดของเหลว ความเป็นกรดเท่ากับ 0 แสดงว่าเป็นกรดแก่และค่าความ และ ของแข็ง ขวดพลาสติกเปล่าที่เคยบรรจุสารเคมีท้ัง เป็นด่างสูงซึ่งจัดเป็นของเสียประเภทเคมีกัดกร่อน ชนิดของเหลวและของแขง็ (Corrosive Chemical) ผู้ศึกษาจึงจัดเตรียมภาชนะ รองรับของเสียสารเคมีที่เปน็ ของเหลวแยกเป็น 3 ภาชนะ 2. เครื่องแก้ว หรือขวดสารเคมีแตก เช่น ได้แก่ ถังประเภทกรด ถังประเภทด่าง และถังที่รองรับ ปิเปต บิวเรต หลอดทดลอง บกี เกอร์ท่แี ตกหกั ชำรุด ของเสียจากการวิเคราะห์ COD (Chemical Oxygen Demand) ซึ่งมกี รดซลั ฟวิ รกิ และโครเมียม (9) เจือปนใน 3. ขยะปนเปื้อนสารเคมี ได้แก่ ขยะที่มี ของเสียและมีปริมาณการวิเคราะห์มากกว่าพารามิเตอร์ การปนเปื้อนสารเคมี หรือบรรจุภัณฑ์ที่ปนเปื้อนสารเคมี อื่นในห้องปฏิบัติการ แสดงดังรูปที่ 3 โดยมีป้ายแสดง เช่น กระดาษชำระที่เช็ดสารเคมีหก ถุงมือ เศษผ้า ความเป็นอันตรายของของเสียเคมี ข้อมูลที่ระบุบนป้าย หนา้ กาก ประกอบด้วย ประเภทของของเสีย ชื่อห้องปฏิบัติการ วันที่เริ่มบรรจุ และวันที่หยุดบรรจุของเสีย ประเภทของ การวางภาชนะรองรับของเสียชนิดของแข็ง เสีย/ประเภทความเป็นอันตราย ส่วนประกอบของของ ได้แก่ อุปกรณ์เครื่องแก้วแตก ขวดแก้วและภาชนะบรรจุ เสีย (เท่าที่ระบุได้) โดยถังที่ใช้รองรับของเสียเป็นถัง สารเคมีใช้แล้วและสารเคมีหมดอายุทำการรวบรวมบน พลาสติกประเภท HDPE PP หรือ PE ที่มีฝาปิดมิดชิด ชั้นวางด้านหน้าห้องปฏิบัติการ ในส่วนของเครื่องแก้วที่ แตกจัดเตรยี มถงั พลาสติกแบบมีฝาปิดรองรับ ส่วนขยะท่ี มีการปนเปอื้ นสารเคมี เช่น กระดาษชำระ ถุงมอื ท่ใี ชแ้ ล้ว ทิ้งลงในถังขยะบริเวณจุดล้างอุปกรณ์ซึ่งแยกออกจากถัง ขยะทั่วไป มีฝาปิดมิดชิดและเก็บรวบรวมทุกวันโดย จัดเกบ็ ในพน้ื ทจี่ ดั เก็บที่ได้เตรียมไวเ้ พ่ือรอการนำไปกำจัด อยา่ งถูกวธิ ี 3. การหาแนวทางป้องกันอันตรายอันเกิดจาก ห้องปฏิบตั ิการ ก่อนการดำเนินการศึกษา แนวทางป้องกัน อันตรายอันเกิดจากห้องปฏิบัติการมีเพียงการแนะนำ กฎระเบียบ ข้อควรปฏิบัติในการใช้ห้องปฏิบัติการจาก อาจารย์ผู้สอนในแต่ละวิชาเท่านั้น เมื่อมีการดำเนินการ

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 101 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ศึกษาจึงได้จัดทำป้ายและสื่อเพื่อใช้เป็นแนวทางป้องกัน ป้องกันบางส่วนเท่านั้น เช่น การสวมเสื้อกาวน์ หรือ อันตราย ดังนี้ ถุงมือเพียงอย่างเดียว ทั้งนี้ขึ้นกับการใช้สารเคมีแต่ละ ประเภทที่แตกต่างกันออกไปตามความอันตราย 3.1 จัดทำป้ายให้ความรู้ ผู้ศึกษาได้จัดทำ แต่อย่างไรก็ตามหากมีการทำการศึกษาที่เกิดปฏิกิริยา โปสเตอร์ให้ความรู้ในเรื่องประเภทของสารเคมี ประเภท รุนแรง หรือเกิดก๊าซที่เป็นอันตราย จำเป็นต้องแต่งกาย ของของเสียเคมี และมาตรการเชิงป้องกันเกี่ยวกับ และสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลให้เหมาะสม เพ่ือ สารเคมีอันตราย ติดในห้องปฏิบัติการบริเวณที่ง่ายต่อ ป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดจากปฏิบัติการ โดยมีการ การอ่านและการสงั เกต สวมใส่หน้ากากป้องกันไอระเหยจากสารเคมี แว่นตา ถุงมือยาง ใหเ้ หมาะสมกบั การปฏิบัตงิ านน้นั ๆ ดงั รปู ที่ 4 3.2 จัดทำสื่อให้ความรู้แก่นักศึกษา สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สื่อให้ความรู้เป็นวิดีโอที่เกี่ยวกับ ประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมี ประเภทของของ เสียเคมีตามระบบ GHS การจัดการของเสีย และแนวทาง การปอ้ งกันอนั ตรายในห้องปฏบิ ัติการ ความยาว 4.56 นาที ได้เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าถึง ขอ้ มูลได้ง่าย รูปท่ี 5 ภาชนะบรรจุทรายสำหรับซับสารเคมี รูปที่ 4 การแต่งกายป้องกนั ส่วนบคุ คล 3.4 การจัดเตรียมอปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายที่จะ เกิดขึ้นในห้องปฏิบัติการ ผู้ศึกษาทำการเตรียมอุปกรณ์ 3.3 การป้องกันส่วนบุคคล จากการสำรวจการ ป้องกันอุบัติเหตุ ได้แก่ ถังใส่ทรายสำหรับซบั สารเคมี (8) ใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลนักศึกษาในห้องปฏิบัติการ ที่หกหรือรั่วไหลลงตามพื้นเพื่อป้องการแพร่กระจายของ สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ซึ่งปัจจุบันนักศึกษาที่เข้ามา สารเคมี ในการดูดซับสารเคมีประเภทตัวทำละลาย กรด ใช้ห้องปฏิบัติการในการทำการทดลอง ในการเรียน หรือ หรือด่าง เนื่องจากทรายเป็นวัสดุดูดซับที่มีความเฉื่อยไม่ การศึกษาปริญญานิพนธ์ พบว่าร้อยละ 73 มีการสวมใส่ ว่องไวในการทำปฏิกิริยาเคมี อุปกรณ์แสดงดัง อุปกรณ์ป้องกันครบถ้วน รอ้ ยละ 37 มกี ารสวมใส่อปุ กรณ์ รูปที่ 5 ซึ่งวิธีการใช้อุปกรณ์ได้แสดงในสื่อที่ใช้ในการให้ ความรู้แก่นักศึกษา และทำการติดตั้งถังดับเพลิงชนิด ผงเคมีแห้งซึ่งเหมาะกับการดับเพลิงที่เกิดจากวัสดุทั่วไป จากน้ำมันเชื้อเพลิง ก๊าซ หรือของเหลวที่ไวไฟ และการ ลุกไหม้จากไฟที่เกิดจากไฟฟ้า จำนวน 2 จุด คือ บริเวณ หน้าห้องปฏิบัติการและบริเวณผนังใกล้ห้องชีววิทยา เพราะเป็นบริเวณที่สังเกตเห็นได้ง่าย สะดวกต่อการใช้ งาน นอกจากน้ไี ด้จัดทำแผนผงั การวางถงั ดบั เพลงิ และจุด

102 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) วางภาชนะรองรับของเสยี ต่าง ๆ ในห้องปฏบิ ตั กิ าร แสดงดัง ดับเพลิงเบื้องต้นและการซ้อมหนีไฟให้แก่นักศึกษาเป็น รปู ที่ 6 โดยถงั ดับเพลิงผ่านการตรวจสภาพถังทกุ 6 เดือน ประจำทกุ ปี พร้อมวิธีใช้งาน ซึ่งทางคณะจัดการอบรมเรื่องการ รปู ที่ 6 แผนผงั การวางถงั ดับเพลงิ และภาชนะรองรับของเสยี ในห้องปฏิบัติ รปู ที่ 7 เปรียบเทียบความแตกต่างของผลการทดสอบ แบ่งเป็น 3 ด้าน เพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจของ กอ่ นและหลังให้ความรู้ นักศึกษาหลังจากได้รับชมสื่อและป้ายให้ความรู้ โดยมี คำถามด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการจัดเก็บสารเคมีใน 3.5 ประเมินผลความรู้ของนักศึกษาสาขาวิชา หอ้ งปฏบิ ตั ิการ มจี ำนวน 10 ข้อ ตัวอย่างเช่น การจำแนก วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม จำนวน 48 คน เป็นเพศชาย 19 คน ประเภทของสารเคมีตามระบบ GHS ประกอบด้วย เพศหญิง 29 คน ที่เข้าใช้ห้องปฏิบัติการ โดยทำ สญั ลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อนั ตรายก่ีประเภท ระบบ GHS แบบทดสอบก่อนและหลังการจัดการอบรมให้ความรู้ แบ่งประเภทความเป็นอันตรายเป็นกี่ด้านอะไรบ้าง ระยะเวลาดำเนินการทดสอบห่างกัน 1 สัปดาห์ โดย Safety Data Sheet (SDS) คืออะไร การเก็บรักษา แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยจำนวนทั้งหมด 30 ข้อ สารเคมีข้อใดถูกต้อง ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการ จัดเก็บสารเคมีในบรรจุภัณฑ์ที่มีวัสดุเหมาะสม 2. ด้าน การจดั การของเสยี อนั ตราย มีจำนวน 10 ขอ้ ตวั อย่างเช่น ของเสียภายในห้องปฏิบัติการหมายถึงอะไร ของเสีย สารเคมีกัดกร่อนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่างเท่าไหร่ การ ติดฉลากบนภาชนะบรรจขุ องเสยี ควรคำนึงถงึ อะไร ข้อใด คือข้อควรปฏิบัติและข้อควรระวังในการจัดการของเสีย 3. ด้านการป้องกันอันตรายในห้องปฏิบัติการมีจำนวน 10 ข้อ ตัวอยา่ งเชน่ การเตรียมสารเคมีประเภทกรด ด่าง หรือสารระเหยควรทำอย่างไร หากผิวหนังเราโดนกรด

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 103 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ควรทำอย่างไรเป็นลำดับแรก ถ้ากรดที่เตรียมหกลงพื้น ออกเป็น 1. ขวดแกว้ ขวดสารเคมีทใี่ ช้หมดแลว้ 2. เคร่ือง ควรทำอย่างไร เป็นต้น เมื่อทำการวิเคราะห์ผลประเมิน แก้ว หรือขวดสารเคมีแตก 3. ขยะปนเปื้อนสารเคมี โดย แบบทดสอบในแต่ละด้านโดยนำร้อยละจำนวนนักศึกษา จัดภาชนะรองรบั ของเสยี แต่ละชนิดให้เหมาะสมและมชี น้ั ที่ตอบถูกมาทำการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของผลการ วางแยกประเภทชัดเจน ทำการประเมินความรู้ ความ ประเมินแบบทดสอบทั้งก่อนและหลังให้ความรู้ พบว่า เข้าใจของนักศึกษาจำนวน 48 คน แบ่งการทดสอบเป็น หลังจากได้ให้ความรู้ในแต่ละด้านผลที่ได้คือ ด้านที่ 1 3 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1) การจัดเก็บสารเคมีใน เรอื่ งการจดั เก็บของเสยี มี จำนวนนกั ศึกษาท่ีตอบถูกก่อน ห้องปฏิบัติการ จากผลการทดสอบนักศึกษามีความรู้ ให้ความรู้คิดเป็นร้อยละ 55 หลังจากให้ความรู้จำนวน เพิ่มขึ้นร้อยละ 36 ด้านที่ 2) การจัดการของเสียใน นักศึกษาที่ตอบถูกคิดเป็นร้อยละ 91 ด้านที่ 2 เรื่องการ ห้องปฏิบัติการ จากผลการทดสอบนักศึกษามีความรู้ จัดการของเสียอันตราย จำนวนนักศึกษาที่ตอบถูกก่อน เพิ่มขึ้นร้อยละ 27 ด้านที่ 3) การป้องกันอันตรายใน ให้ความรู้คิดเป็นร้อยละ 62 หลังจากให้ความรู้จำนวน ห้องปฏิบัติการ จากผลการทดสอบนักศึกษามีความรู้ นักศึกษาที่ตอบถูกคิดเป็นร้อยละ 89 ด้านที่ 3 เรื่องการ เพิ่มขึ้นร้อยละ 24 เมื่อเปรียบเทียบนักศึกษามีความรู้ ป้องกันในห้องปฏิบัตกิ าร จำนวนนักศึกษาทีต่ อบถูกก่อน ความเข้าใจในเรื่องการจัดเก็บสารเคมีเพิ่มมากขึ้นมาก ให้ความรู้ร้อยละ 65 หลังจากให้ความรู้จำนวนนักศึกษา ที่สุด รองลงมาคือ เรื่องการจัดการของเสียอันตราย ส่วน ทต่ี อบถกู คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89 แสดงดังรูปท่ี 7 โดยภาพรวม เรื่องการป้องกันอันตรายในห้องปฏิบัติการจำเป็นต้องให้ ของการทดสอบหลังได้รับความรู้ พบว่านักศึกษา ความรู้ในเรื่องนเ้ี พิ่มเติม สาขาวชิ าวศิ วกรรมสง่ิ แวดล้อมมีความรู้ ความเขา้ ใจ สงู กวา่ แนวทางป้องกันอันตรายอันเกิดจากห้อง ร้อยละ 80 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก อีกกว่า ปฏิบัติการ ผู้ศึกษาได้จัดทำป้ายให้ความรู้เรื่องและส่ือ ร้อยละ 10 ที่นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไม่ วิดีโอที่เกี่ยวกับประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมี เข้าใจ เชน่ เรื่องความรู้เก่ียวกับระบบ GHS ประเภทของ ประเภทของของเสียเคมี และวิธีการป้องกันอันตรายใน ของเสียเคมี การรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายนั้น ภายหลัง การใช้ห้องปฏิบัติการ โดยสิ่งสำคัญสำหรับนักศึกษาที่ใช้ จากประเมินผลแบบทดสอบแล้ว ผู้ศึกษาดำเนินการจัด ห้องปฏิบัติการควรคำนึงเป็นอันดับแรกคือ การแยกของ ประชุมเพื่อสรุปผลการทดสอบ แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น เสียอันตรายออกจากของเสียไม่อันตรายเพื่อช่วยลด และให้ความรู้ในเรื่องที่นักศกึ ษาไม่เข้าใจดังกล่าวข้างตน้ ปริมาณของเสียอันตราย ระมัดระวังการรั่วไหลหรือหก เพื่อใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจอย่างถูกต้อง หล่นซึ่งอาจทำให้เกิดปฏิกิริยารุนแรงจนก่อให้เกิดเพลิง สรปุ ผล ไหม้หรือระเบิดซึ่งเป็นอันตรายต่อตัวเองและสถานศึกษา ได้ สถานท่ีเก็บรวบรวมของเสียควรเก็บในที่มิดชดิ ไม่ควร การจัดการระบบข้อมูลและการจัดการสารเคมี เกบ็ ไว้ใกลท้ ่อระบายน้ำเพ่ือป้องกันการรั่วไหล รวมทั้งการ จำแนกประเภทของสารเคมีตามระบบ GHS ใน สวมอปุ กรณ์ป้องกนั ส่วนบคุ คลเพื่อปอ้ งกนั อนั ตรายอนั เกิด ห้องปฏิบัติการ แยกประเภทความเป็นอันตรายของ จากหอ้ งปฏิบัติการ สารเคมีตามระบบ GHS ออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้าน ข้อเสนอแนะในการดำเนินงานขั้นต่อไปควร กายภาพ 2. ด้านสุขภาพ และ 3. ด้านสิ่งแวดล้อม การ จัดทำระบบจัดเก็บข้อมูลสารเคมีให้สามารถตรวจสอบ จัดการของเสียประเภทของเสียสารเคมีที่เป็นของเหลวที่ ข้อมูล เช่น ปริมาณ จำนวน วันหมดอายุของสารเคมีที่มี เกิดขึ้นในห้องปฏิบตั ิการสว่ นใหญ่จัดเปน็ ของเสยี ประเภท ในห้องปฏิบัติการ จัดทำข้อมูลความปลอดภัยสารเคมีท่ี เคมีกัดกร่อน ประเภทของของเสียชนิดของแข็ง แบ่ง ผใู้ ชห้ ้องปฏบิ ัติการสามารถเขา้ ถึงไดง้ ่าย เป็นต้น

104 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) กติ ตกิ รรมประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. โครงงานฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณา 2547. และความช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจากกองทุนส่งเสริมงานวิจัย 7. นภัสนันท์ จันทรา. การจัดการของเสียอันตรายของ เพื่อยกระดับปริญญานิพนธส์ ู่งานวจิ ัย ประจำปีงบประมาณ ห้องปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารทะเล พ.ศ. 2562 ขอขอบคณุ สถาบันวิจยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัย เครือบริษัทพัฒนากรุ๊ฟ [วิทยานิพนธ์ปริญญา เทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ ทสี่ นับสนนุ ทนุ วจิ ยั ในครงั้ นี้ มหาบัณฑติ ]. สงขลา: มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์; เอกสารอ้างอิง 2554. 8. โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย 1. Walters AUC, Lawrence W, Jalsa NK. ห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. แนวปฏิบัติเพื่อ Chemical laboratory safety awareness, ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ [อินเทอร์เน็ต]. attitudes and practices of tertiary students. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ; 2555 [สืบคน้ Safety Sci. 2017;96:161-71. เ ม ื ่ อ ว ั น ท ี ่ 5 เ ม . ย . 2 5 6 3 ]. จ า ก : 2. โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัย http://esprel.labsafety.nrct.go.th/home.asp. ห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. แนวปฏิบัติเพื่อ 9. ธีรยุทธ วิไลวัลย์, สุชาตา ชินะจิตร, จุฑามาศ ทรัพย์ ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ. พิมพ์ครั้งที่ 1. ประดิษฐ์. ของเสียจากห้องปฏิบัติการที่นักเคมี(มัก) กรุงเทพฯ. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ; มองข้าม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ 2555. มหาวิทยาลัย; 2560. 3. Winder C, Azzi R, Wagner D. The development of the globally harmonized system (GHS) of classification and labelling of hazardous chemicals. J Hazardous Mater. 2005;125(1):29-44. 4. เสาวนีย์ สัตยดิษฐ์. การจัดการของเสียชีวภาพและ ของเสียสารเคมีในห้องปฏิบัติการวิจัยวิทยาศาสตร์ ท า ง ส ั ต ว แ พ ท ย์ ค ณ ะ ส ั ต ว แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. Journal of Safety and Health. 2013;6(23):15-23. 5. วรพจน์ กนกกันฑพงษ์. การจัดการของเสียอนั ตราย ในห้องปฏิบัติการ. วารสาร มฉก.วิชาการ. 2550;11(21):95-102. 6. กรมควบคุมมลพิษ. คู่มือการจัดการของเสีย ห้องปฏิบัติการสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร:

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 105 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) การแปลงข้อมูลการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศไทย: กรณีศึกษาประเทศ อาเซียน Transformations Foreign Direct Investment Data in Thailand: Case Study of ASEAN Countries ลัคนา วฒั นะชวี ะกลุ Lakhana Watthanacheewakul สาขาวชิ าสถติ ิ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ ต.หนองหาร อ.สนั ทราย จ.เชยี งใหม่ 50290 Program in Statistics, Faculty of Science, Maejo University, Nonghan, Sansai, Chiang Mai 50290, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: Foreign direct investment (FDI) data in Thailand of the Received: 28 May, 2020 countries in Asian (12 months) are symmetry, left-skewed or right- Revised: 13 July, 2020 skewed. The normally distributed data are an important assumption in Accepted: 10 August, 2020 the statistical analysis methods. If the data do not correspond with the Available online: 20 October, 2020 assumption, data transformation will be used. The objective of this DOI: 10.14456/rj-rmutt.2020.22 research is to compare six transformation methods: square root Keywords: Box-Cox transformation, logarithm base ten transformation, inverse transformation, exponential transformation, Box-Cox transformation, Exponential transformation, transformation, Yeo-Johnson and Yeo-Johnson transformation. The results reveal that square root transformation, coefficient of transformation can transform FDI data of Laos and Myanmar to skewness, normally distributed symmetry and normally distributed data. Logarithm base ten transformation can transform FDI data of Cambodia and Myanmar to symmetry and normally distributed data. Inverse transformation can transform FDI data of Vietnam to near symmetry and normally distributed data. Box-Cox transformation can transform FDI data of Cambodia Laos Myanmar Vietnam and Singapore to symmetry and normally distributed data. Exponential transformation can transform FDI data of Cambodia Laos and Myanmar to symmetry and normally

106 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) distributed data. Yeo-Johnson transformation can transform FDI data of Cambodia Laos Myanmar and Singapore to symmetry and normally distributed data. Reflect technique can adjust left-skewed data to right- skewed data. If data are both negative and positive value, they should be adjusted to the positive value before transforming data. บทคดั ยอ่ สมมาตรและการแจกแจงปรกติ การใช้เทคนิคการ สะท้อนกลบั จะทำให้ขอ้ มูลเบซ้ ้ายเปลี่ยนเปน็ ขวา ในกรณี ข้อมูลการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่เข้า ที่ข้อมูลมีค่าบวกและลบผสมกันปรับค่าให้เป็นบวกท้ัง มาลงทุนในประเทศไทยของประเทศในกลุ่มอาเซียน หมดแล้วจงึ แปลงข้อมูล (ระยะ 12 เดอื น) มที ้งั สมมาตร เบข้ วา หรือเบ้ซา้ ย วิธีการ วิเคราะห์ทางสถิติมีข้อสมมติที่สำคัญคือข้อมูลมีการแจก คำสำคัญ: การแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ การแปลงเลขชี้ แจงปรกติ หากข้อมลู ไมไ่ ด้มกี ารแจกแจงปรกติ การแปลง กำลัง การแปลงของยอ-จอห์นสัน สัมประสิทธิ์ความเบ้ ข้อมูลจะถูกนำมาใช้ โดยการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ การแจกแจงปรกติ เปรียบเทียบประสิทธิภาพการแปลงทั้ง 6 วิธี ได้แก่ การ ถอดรากที่สอง การใช้ลอการิทึมฐานสิบ การใช้ส่วนกลับ บทนำ การแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ การแปลงเลขชี้กำลัง และ การแปลงของยอ-จอห์นสัน ผลจากการวิจัย ณ ระดับ ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยอาศัย นัยสำคัญ 0.05 พบว่า วิธีการแปลงโดยการถอดรากท่ี วิธีการทดสอบทางสถิตินั้น วิธีการทดสอบทางสถิติส่วน สองสามารถแปลงข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศลาว ใหญ่มีข้อสมมติที่สำคัญข้อหนึ่งว่า “ข้อมูลต้องมีการแจก และประเทศเมียนมาร์ ให้มีความสมมาตรและการแจก แจงปรกติ” เช่น การประมาณค่าและการทดสอบ แจงปรกติ วิธีการแปลงโดยการใช้ลอการิทึมฐานสิบ สมมติฐานค่าเฉลี่ยของประชากร การวิเคราะห์ความ สามารถแปลงข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศกัมพูชา แปรปรวน และการวิเคราะห์การถดถอย ดังนั้น หากจะใช้ และประเทศเมียนมาร์ ให้มีความสมมาตรและการแจก วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล จึงควรมีการ แจงปรกติ วธิ กี ารแปลงโดยการใช้ส่วนกลบั สามารถแปลง ตรวจสอบก่อนว่าข้อมูลมีการแจกแจงปรกติหรือไม่ ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศเวียดนาม ให้ใกล้เคียง การตรวจสอบสามารถทำได้หลายวิธีทั้งการใช้กราฟ เช่น ความสมมาตรและการแจกแจงปรกติ วิธีการแปลงของ ฮิสโทแกรม แผนภาพกล่อง การเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย บ็อกซ์-ค็อกซ์ สามารถแปลงข้อมูลการลงทุนฯ ของ มัธยฐานและฐานนิยม หรือการใช้วิธีการทดสอบทางสถิติ ประเทศกมั พชู า ประเทศลาว ประเทศเมียนมาร์ ประเทศ เช่น การทดสอบของโคลโมโกรอฟ-สมีร์นอฟ การทดสอบ เวียดนาม และประเทศสิงคโปร์ ให้มีความสมมาตรและ ของชาปิโร-วิลค์ หากใช้วธิ ีการวิเคราะห์ทางสถิติกับข้อมูล การแจกแจงปรกติ วธิ กี ารแปลงเลขชกี้ ำลงั สามารถแปลง ที่มีการแจกแจงไม่สอดคล้องกับข้อสมมติ อาจทำให้เกิด ข้อมลู การลงทนุ ฯ ของประเทศกมั พชู า ประเทศลาว และ ข้อสรุปและการตัดสินใจที่ผิดพลาด ดังที่ (1) พบว่าข้อมูล ประเทศเมียนมาร์ ให้มีความสมมาตรและการแจกแจง ลักษณะคุณภาพที่ไม่ได้มีการแจกแจงปรกติจะส่งผล ปรกติ และวิธีการแปลงของยอ-จอห์นสัน สามารถแปลง ก ร ะ ท บ ต ่ อ ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห ์ ข ้ อ ม ู ล แ ล ะ ข ้ อ ส ร ุ ป โ ด ย ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศกัมพูชา ประเทศลาว (2) แนะนำว่า หากข้อมูลไม่สอดคล้องกับข้อสมมติของ ประเทศเมียนมาร์ และประเทศสิงคโปร์ ให้มีความ วธิ กี ารวเิ คราะห์ สามารถดำเนินการได้ 2 วธิ ี คือ การแปลง

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 107 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ข้อมูลให้สอดคล้องกับข้อสมมติ หรือ การพัฒนาวิธีการ การแจงแจงของข้อมูลทางสถิติ ตัวอย่างเช่น (9) พบว่า วิเคราะห์ขึ้นมาใหม่ หากเลือกใช้การแปลงอย่างเหมาะสม วิธีการแปลงข้อมูลที่มีการแจกแจงปัวซง ������ = √������ + 3/8 การแปลงข้อมูลจะง่ายกว่าการพัฒนาวิธีการวิเคราะห์ จะทำให้ข้อมูลที่แปลงแล้วมีการแจกแจงปรกติด้วยความ ขึ้นมาใหม่ แปรปรวนคงที่ (10) พบว่าวิธีการแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ เหมาะสมกับข้อมูลที่มีการแจกแจงไวบูลในแง่สัดส่วนของ การที่ข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงปรกติแสดงว่า ข้อมูลที่แปลงแล้วมีการแจกแจงปรกติ (11) พบว่าวิธีการ ข้อมูลนั้นเบ้ซ้าย หรือ เบ้ขวา การพิจารณาความเบ้ แปลงเลขชี้กำลัง การแปลงของยอ-จอห์นสนั และการแปลง นอกจากจะใช้กราฟแล้วยังสามารถใช้สัมประสิทธิ์ความเบ้ ของเนลสนั มปี ระสทิ ธภิ าพไมแ่ ตกต่างกันในแง่ของข้อมูลที่ ถ้าค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้มีค่าเป็นบวกแสดงว่าข้อมูลเบ้ แปลงแล้วมีการแจกแจงปรกติและอัตราส่วนสมรรถนะ ขวา ถ้าค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้มีค่าเป็นลบแสดงว่าข้อมูล กระบวนการไมแ่ ตกต่างกัน เบ้ซ้าย ข้อมูลที่มีความเบ้ส่วนใหญ่เป็นข้อมูลเบ้ขวา เช่น ข้อมูลอายุการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้า ข้อมูลราคาบ้าน การวิจัยนี้จะมุ่งเน้นที่การเปรียบเทียบ ข้อมูลรายได้ของประชาชนในประเทศที่กำลังพัฒนา ประสิทธิภาพการแปลงโดยการใชฟ้ ังก์ชันคณิตศาสตร์อย่าง ในขณะที่ข้อมูลเบ้ซ้ายจะพบได้น้อยกว่า เช่น ข้อมูลอายุ ง่าย รวมทั้งการแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ การแปลงเลขช้ี ของผู้เสียชีวิตในประเทศที่พัฒนาแล้ว ข้อมูลคะแนนสอบ กำลัง และการแปลงของยอ-จอห์นสันโดยการวัด ของนักเรียนในวิชาทีข่ ้อสอบงา่ ย สำหรบั ข้อมูลที่มีลักษณะ ประสิทธิภาพจะพิจารณาจากการสัมประสิทธิ์ความเบ้และ เป็นอนกุ รมเวลา เช่น ข้อมลู ทางการเงินทีม่ กี ารรายงานเป็น การทดสอบการแจกแจงปรกติของข้อมูลที่แปลงแล้วโดย รายเดือน หรือรายไตรมาส มีทั้งข้อมูลเบ้ซ้าย เบ้ขวา หรือ ข้อมลู ท่ีนำมาใช้ในการวจิ ยั เป็นข้อมลู การลงทนุ โดยตรงจาก สมมาตร ตัวอย่างเช่น ข้อมูลรายได้ที่ไม่ใช่ดอกเบี้ยมี ประเทศอาเซียนที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยในแต่ละ ลกั ษณะเบข้ วา ขอ้ มูลค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานมีลักษณะ เดือนของปี พ.ศ. 2562 การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ เบ้ซ้าย และกำไรจากการดำเนินงานก่อนรายการหนี้สูญ (Foreign Direct Investment: FDI) เปน็ ธรุ กรรมการลงทุน และหนส้ี งสยั จะสญู มลี กั ษณะสมมาตร (3) ที่ผู้ลงทุนที่มีถิ่นฐานจากต่างประเทศมีต่อธุรกิจที่มีถิ่นฐาน ในประเทศประกอบด้วยเงินลงทุนในทุนเรือนหุ้น (Equity สำหรับการเลือกใช้วิธีการแปลงกับข้อมูลที่มี Capital) ซึ่งหมายถึงการลงทุนด้วยการถือหุ้นที่มีสิทธิ์ร่วม ความเบ้ (4) แนะนำว่าในกรณีข้อมูลเบ้ขวา ฟังก์ชันทาง ในการบริหารกิจการตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป การกู้ยืม คณติ ศาสตร์อยา่ งง่าย เชน่ การใชล้ อการิทึม การถอดรากที่ ระหว่างบริษัทในเครือ กำไรที่นำกลับมาลงทุน ตราสารหนี้ สอง จะถูกนำมาใช้ ในกรณีข้อมูลเบ้ซ้าย เทคนิคการ และสินเชื่อการค้าที่เป็นธุรกรรมระหว่างบริษัทในเครือ สะท้อนกลับจะถูกนำมาใช้ในการสะท้อนข้อมูลเบ้ซ้าย ด้วยกัน โดยตัวเลขบวก หมายถึง มีการลงทุนเพิ่มสูงกว่า เปลี่ยนเป็นเบ้ขวา โดยการนำค่าที่สูงกว่าค่าสูงสุดของชุด การลดการลงทุน ขณะที่ตัวเลขติดลบ หมายถึง ในช่วง ข้อมูลลบค่าแต่ละค่าของข้อมูลชุดนั้น นอกจากนี้วงศ์การ เวลานั้น ๆ มีการเพิ่มการลงทุนต่ำกว่าการลดการลงทุน แปลงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งท่ีถูกนำมาใช้ในการแปลงข้อมูล (12) สำหรับประเทศไทย อุตสาหกรรมที่ได้รับเงินลงทุน ในอดีตอาจเป็นเรื่องยากในการใช้วงศ์การแปลงเพราะต้อง จากต่างประเทศมากทีส่ ุดได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์และ มีการคำนวณหาค่าพารามิเตอร์การแปลงซึ่งก็คือเลขยก ชิ้นส่วนยานยนต์ (13) ซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากรถยนต์หลาย กำลังนั่นเอง โดยปัจจุบันโปรแกรม R (5) มีการแปลงของ ยี่ห้อที่มีนักลงทุนจากหลายประเทศเข้ามาทำธุรกรรม บ็อกซ์-ค็อกซ์ (6) การแปลงเลขชี้กำลัง (7) และการแปลง นอกจากนี้ ในประเทศอาเซียน ตัวอย่างเช่น นักธุรกิจของ ของยอ-จอห์นสัน (8) จากงานวิจัยที่ผ่านมาได้มีการ ประเทศมาเลเซียเข้ามาร่วมลงทุนทำธุรกิจสายการบินไทย เปรียบเทียบประสิทธิภาพการแปลงข้อมูลโดยมีการระบุ

108 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) แอร์เอเชีย นักธุรกิจของประเทศอินโดนีเซียเข้ามาร่วม ������ = exp (������������)−1 , ������ ≠ 0 (5) ลงทุนทำธุรกิจสายการบินไทยไลอ้อนแอร์ นักธุรกิจของ ������ ประเทศสิงคโปร์เข้ามาร่วมลงทุนทำธุรกิจโรงแรมใน { ประเทศไทย โดยข้อมูลการลงทุนโดยตรงของประเทศ ������ , ������ = 0 อาเซียนที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมีจุดเด่นคือ ข้อมูล บางเดือนมีค่าติดลบ และมีทั้งข้อมูลที่มีความสมมาตร และการแปลงของยอ-จอหน์ สัน เบ้ขวาและเบ้ซ้าย ดังนั้นในการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาและเปรียบเทียบการแปลงที่เหมาะสมกับข้อมูลการ (������+1)������−1 , ������ ≥ 0, ������ ≠ 0 ลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศทีเ่ ข้ามาลงทุนในประเทศไทย , ������ ≥ 0, ������ = 0 กรณีศึกษาประเทศอาเซียน ผลสรุปที่ได้จะนำไปสู่การ ������ , ������ < 0, ������ ≠ 2 เลือกใช้วิธีการแปลงให้เหมาะสมกับข้อมูลและใช้วิธีการ , ������ < 0, ������ = 2 วิเคราะห์อย่างเหมาะสม ในกรณีข้อมูลที่แปลงแล้วไม่ได้มี ������ = ln(������ + 1) (6) การแจกแจงปรกติ สถติ ิไม่องิ พารามเิ ตอรจ์ ะเปน็ ทางเลอื ก −[(−������+1)2−������]−1 2−������ {− ln(−������ + 1) เปรียบเทียบในแง่ความปรกติของข้อมูล พิจารณาทั้งสัมประสิทธิ์ความเบ้ (Coefficient of Skewness: C.S.) ดว้ ยวธิ ีโมเมนต์ (14) ������. ������. = 1 ∑������������=1(������������ −������̅)3 (7) ������ [���1��� ∑������������=1(������������−������̅)2]3⁄2 และทดสอบการแจกแจงปรกติด้วยการทดสอบของ วิธดี ำเนินการวจิ ัย ชาปโิ ร-วิลค์ (15) คา่ สถิตทิ ดสอบคำนวณจาก รูปแบบการวิจัย ������ = (∑������������=1 ������������������(������))2 (8) ∑������������=1(������������−������̅)2 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยจะทำ เม่อื ������(������) หมายถึง สถติ ลิ ำดับท่ี i การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการแปลง 6 วิธี แต่ ละวิธแี สดงดว้ ยฟังก์ชันคณิตศาสตรด์ ังน้ี โดย ������������ หมายถึง สมั ประสิทธ์ขิ องการทดสอบของชาปโิ ร-วิลค์ กำหนดให้ x หมายถงึ ข้อมูลเดมิ การเก็บรวบรวมข้อมูล y หมายถงึ ขอ้ มลู ทแ่ี ปลงแลว้ λ หมายถึง พารามิเตอร์การแปลง การวิจัยนี้ใช้ข้อมูลระยะสั้นของการลงทุน การใชล้ อการทิ ึมฐานสบิ โดยตรงจากประเทศในกลุ่มอาเซียน ได้แก่ สิงคโปร์ อนิ โดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิ ปิ ปินส์ บรู ไน เวียดนาม เมยี นมาร์ การถอดรากทีส่ อง ������ = ������������������10������ (1) ลาวและกัมพูชา ที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยจากเว็บไซต์ ������ = √������ (2) ของธนาคารแห่งประเทศไทย (12) ตั้งแต่เดือนมกราคมถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 เป็นระยะเวลา 12 เดือนข้อมูล การใชส้ ว่ นกลับ การลงทุนฯ ในบางเดือนมีค่าตดิ ลบ แสดงว่ามีการไหลออก ของเงินทุนมูลค่าสูงหน่วยการวดั ของข้อมลู การลงทุนฯ คือ ลา้ นเหรียญสหรฐั อเมรกิ า ������ = 1 (3) การวิเคราะห์ขอ้ มูล ������ การวจิ ยั น้ีใชโ้ ปรแกรม R ในการวิเคราะห์ข้อมูลและ ประมวลผลขอ้ มลู มีขน้ั ตอนในการวเิ คราะหข์ ้อมูลดงั น้ี การแปลงของบ็อกซ-์ ค็อกซ์ 1. ตรวจสอบว่าข้อมลู การลงทนุ โดยตรงจากแตล่ ะ ������ = ������������−1 , ������ ≠ 0 , ������ > 0 (4) ประเทศในกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมี การแจกแจงปรกติหรือไม่ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดย { ������ ������������������, ������ = 0 การแปลงเลขช้กี ำลงั

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 109 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ใช้การทดสอบของชาปิโร-วิลค์ เนื่องจากเป็นข้อมลู ระยะ กลางแต่ในความเป็นจริงอาจเป็นข้อมูลที่มีการแจกแจง สั้น ขนาดของข้อมูลน้อยกว่า 50 ค่า และเทียบค่า p กับ ปรกตสิ ามารถตรวจสอบโดยการทดสอบการแจกแจงปรกติ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ถ้าค่า p สูงกว่า 0.05 แสดงว่า ขอ้ มลู มีการแจกแจงปรกติ 3. ทำการแปลงข้อมลู เฉพาะข้อมลู ท่มี คี วามเบ้ซ้าย 2. ถ้าผลการตรวจสอบสรุปได้ว่าข้อมูลไม่มีการ และเบ้ขวา ด้วยวิธีการแปลงทั้ง 6 วิธี โดยกำหนดให้ วิธีท่ี แจกแจงปรกติจะพิจารณาความเบ้ของข้อมลู วา่ เบ้ซ้ายหรือ เบ้ขวา โดยการวัดค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ ความหมายของ 1 หมายถึง ลอการิทึมฐานสิบ วิธีที่ 2 หมายถึง ถอดรากที่ สมั ประสทิ ธิค์ วามเบ้ ดังตารางท่ี 1 สอง วิธีที่ 3 หมายถึง ส่วนกลับ วิธีที่ 4 หมายถึง บ็อกซ์- ตารางท่ี 1 ความหมายของสมั ประสิทธ์ิความเบ้ ค็อกซ์ วิธีที่ 5 หมายถึง เลขชี้กำลัง วิธีที่ 6 หมายถึง ยอ- สมั ประสทิ ธ์ิความเบ้ ความหมาย จอหน์ สัน -0.5 ถงึ 0.5 หรือใกลเ้ คียง สมมาตร (ปรกติ) 4. ตรวจสอบข้อมูลที่แปลงแล้วว่ามีการแจกแจง -1 ถงึ -0.5 หรอื ใกล้เคียง เบ้ซ้ายปานกลาง ปรกติ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 และความเบ้ลดลงในระดับ สมมาตรหรือไม่ 0.5 ถงึ 1 หรอื ใกล้เคียง เบ้ขวาปานกลาง 5. เปรียบเทยี บประสิทธิภาพวิธีการแปลงทั้ง 6 วิธี -2 ถงึ -1 หรอื ใกล้เคียง เบ้ซา้ ยมาก จำแนกตามลักษณะความเบ้ของขอ้ มูล 1 ถึง 2 หรือใกลเ้ คยี ง เบ้ขวามาก 6. นำข้อมูลการลงทุนโดยตรงจากประเทศในกลุ่ม อาเซียนที่มีการแปลงค่าให้มีแจกแจงปรกติบางประเทศไป -3 ถึง -2 หรอื ใกลเ้ คียง เบ้ซา้ ยสุดขดี สร้างช่วงความเชื่อมั่น 95% ของการประมาณค่าเฉลี่ยการ ลงทนุ โดยตรงจากต่างประเทศในแตล่ ะเดอื น 2 ถึง 3 หรอื ใกล้เคียง เบข้ วาสดุ ขดี ������ ท่ีมา: ดัดแปลงจาก (16) ���̅��� ± ������������⁄2 √������ , ������. ������. = ������ − 1 จากตารางที่ 1 ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าสัมประสิทธ์ิ เพื่อแสดงการนำไปใช้ประโยชน์ และการแปลง ความเบ้เท่ากับ -0.6 ข้อมูลชุดนั้นน่าจะมีความเบ้ซ้ายปาน ค่ากลับหน่วยการวดั เดมิ ตารางที่ 2 ข้อมูลการลงทุนโดยตรงจากประเทศในกลุ่มอาเซียนที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 (หน่วย: ล้าน เหรียญสหรัฐอเมรกิ า) เดือน บรูไน กมั พชู า อินโดนเี ซยี ลาว มาเลเซีย เมียน ฟลิ ิปปนิ ส์ เวียดนาม สงิ คโปร์ มาร์ มกราคม 0.34 0.22 -24.02 0.52 27.85 -0.15 -3.35 0.21 255.63 กุมภาพนั ธ์ 032 0.20 15.09 0.48 2.77 -0.15 2.07 0.09 96.12 มีนาคม 0.34 0.06 32.25 0.52 25.03 -0.15 8.61 0.10 140.23 เมษายน -0.01 1.03 -2.58 1.14 4.52 0.26 -0.57 0.12 1386.42 พฤษภาคม -0.07 0.36 1.30 0.30 9.38 0.22 1.82 2.31 479.22 มิถุนายน -0.07 0.22 -27.77 0.30 2.22 0.21 -2.50 0.03 -109.61 กรกฎาคม 0.11 0.77 0.18 0.23 -24.78 0.11 -5.70 0.05 -39.93 สงิ หาคม 0.10 0.73 23.76 0.22 -9.98 0.11 -4.07 0.05 -449.27 กนั ยายน 0.29 3.50 -2.06 1.18 -3.48 0.12 0.87 0.18 3093.06 ตุลาคม 0.06 1.27 -8.87 0.08 20.50 0.08 6.66 0.02 171.47 พฤศจิกายน 0.03 0.97 -13.29 0.03 -6.67 0.08 1.33 0.02 129.70 ธนั วาคม 0.13 2.02 -5.84 0.18 64.14 0.08 -0.73 0.03 197.07

110 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ผลการศกึ ษาและอภิปรายผล ขอ้ มูลการลงทนุ ฯทไ่ี มไ่ ด้มีการแจกแจงปรกตจิ ะ ถูกแปลงด้วยวิธีการแปลงทั้ง 6 วิธี และนำเสนอแยก จากข้อมูลการลงทุนโดยตรงจากประเทศในกลุ่ม ตารางสำหรับแต่ละประเทศ อาเซียนที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทย เดือนมกราคม ถึง เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2562 ดงั ตารางที่ 2 เมอื่ ตรวจสอบการ ตารางที่ 5 สัมประสิทธิ์ความเบ้ ค่า p ของข้อมูลการ แจกแจงปรกติของข้อมูลการลงทุนฯ พบว่า ข้อมูลการ ลงทุนฯ ของประเทศบูรไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ลงทุนฯ ที่แปลงค่าแล้ว และค่าพารามิเตอร์การแปลง ฟิลปิ ปนิ ส์ มีการแจกแจงปรกติ ณ ระดบั นัยสำคัญ 0.05 ดงั ตารางที่ 3 คา่ สัมประสทิ ธ์ิความเบข้ องข้อมลู การลงทุนฯ ที่ สำหรับประเทศกัมพชู า ไม่ได้มีการแจกแจงปรกติดังตารางที่ 4 ซึ่งจะเห็นได้ว่า ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศเมียนมาร์เบ้ซ้ายปานกลาง วธิ กี าร สมั ประสิทธิ์ ค่า p คา่ พารามิเตอร์ ขณะที่ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศกัมพูชาและลาวมี ความเบ้ขวามาก ส่วนสิงคโปร์ และเวียดนามมีความเบ้ขวา แปลง ความเบ้ การแปลง สุดขดี วิธที ่ี 1 -0.3177 0.8709 - วิธที ี่ 2 0.7199 0.4792 - วธิ ีที่ 3 -2.3191 0.0003 - วิธที ี่ 4 -0.1002 0.9482 0.10 วธิ ีที่ 5 0.3147 0.5586 -0.80 ตารางที่ 3 ค่า p ของการทดสอบการแจกแจงปรกติของ วธิ ีท่ี 6 0.1425 0.7201 -0.97 ขอ้ มลู การลงทุนฯ จำแนกตามประเทศ จากตารางที่ 5 พบว่าการใช้วิธีส่วนกลับในการ แปลงข้อมูลการลงทุนโดยตรงของประเทศกัมพูชาที่เข้า ประเทศ คา่ p มาลงทนุ ในประเทศไทยไม่ได้ทำให้ข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมี การแจกแจงปรกติ และถึงแม้ว่าการใช้วิธีการแปลงด้วย บรไู น 0.1179 รากที่สองข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมีการแจกแจงปรกติแต่ ระดับความเบ้ที่ลดลงนั้นยังคงมีความเบ้ขวา ในขณะท่ี กัมพชู า 0.0105 การใช้วิธีการแปลงด้วยลอการิทึมฐานสิบการแปลงของ บ็อกซ์-ค็อกซ์ การแปลงเลขชี้กำลัง และการแปลงของ อินโดนีเซยี 0.7176 ยอ-จอห์นสัน ทำให้ข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมีการแจกแจง ปรกติ และความเบ้สมมาตร ลาว 0.0202 จากตารางที่ 6 พบว่าการใช้วิธีส่วนกลับในการ มาเลเซีย 0.2280 แปลงข้อมูลการลงทุนโดยตรงของประเทศลาวที่เข้ามา ลงทุนในประเทศไทยไม่ได้ทำให้ข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมี เมียนมาร์ 0.0385 การแจกแจงปรกติ และถึงแม้ว่าการใช้วิธีการแปลงด้วย ลอการิทึมฐานสิบข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมีการแจกแจง ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 0.6490 ปรกติแต่ความเบ้จากเบ้ขวากลายเป็นเบ้ซ้าย ในขณะที่ การใช้วิธีการแปลงด้วยรากที่สอง การแปลงของบ็อกซ์- เวียดนาม 0.0000 ค็อกซ์ การแปลงเลขช้กี ำลงั และการแปลงของยอ-จอห์น สัน ทำให้ข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมีการแจกแจงปรกติ และ สิงคโปร์ 0.0007 ความเบ้สมมาตร ตารางท่ี 4 คา่ สมั ประสทิ ธ์ิความเบ้ของข้อมลู การลงทนุ ฯ ทีไ่ ม่ได้มกี ารแจกแจงปรกติ ประเทศ คา่ สมั ประสิทธค์ิ วามเบ้ ลักษณะ กมั พชู า 1.5892 เบ้ขวามาก ลาว 1.1320 เบ้ขวามาก เวยี ดนาม 2.9653 เบข้ วาสุดขดี มาก สงิ คโปร์ 2.0817 เบข้ วาสุดขดี เมยี นมาร์ -0.5539 เบซ้ า้ ยปานกลาง

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 111 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางท่ี 6 สัมประสทิ ธค์ิ วามเบ้ คา่ p ของขอ้ มลู การ จากตารางที่ 7 พบว่ามีเพียงการใช้วิธีการแปลง ของบ็อกซ์-ค็อกซ์ในการแปลงข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ ลงทนุ ฯ ท่ีแปลงคา่ แลว้ และค่าพารามเิ ตอรก์ ารแปลง ประเทศเวียดนามที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยที่ทำให้ ข้อมูลที่แปลงค่าแล้วมีการแจกแจงปรกติและความเบ้ สำหรบั ประเทศลาว สมมาตร และถงึ แมว้ ่าการใช้วธิ ีการแปลงดว้ ยส่วนกลับและ ลอการิทึมฐานสิบข้อมลู ที่แปลงคา่ แล้วมีการแจกแจงปรกติ วธิ กี าร สมั ประสิทธ์ิ คา่ p คา่ พารามิเตอร์ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 แต่ระดับความเบ้ที่ลดลงนั้นยังคง มคี วามเบ้ขวาปานกลางสำหรับการแปลงด้วยส่วนกลับและ แปลง ความเบ้ การแปลง เบ้ขวามากสำหรบั การแปลงด้วยลอการทิ มึ ฐานสบิ วิธที ่ี 1 -0.6722 0.4727 - จากตารางที่ 8 พบว่าวิธีการแปลงด้วยส่วนกลับ เท่านั้นที่สามารถใช้กับข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศ วิธีที่ 2 0.4445 0.4871 - สิงคโปร์ได้ เนื่องจากลักษณะข้อมูลการลงทุนฯ ของ ประเทศสิงคโปร์มีทั้งค่าบวกและค่าลบในชุดเดียวกัน แต่ วิธที ี่ 3 2.4745 0.0000 - ความเบ้ของข้อมูลที่แปลงค่าแล้วเป็นเบ้ซ้าย และข้อมูลที่ แปลงค่าแล้วไม่ได้มีการแจกแจงปรกติ ณ ระดับนัยสำคัญ วิธที ่ี 4 0.0402 0.7816 0.30 0.05 เพื่อให้สามารถแปลงข้อมูลด้วยวิธีการแปลงอื่น ๆ ได้ จำเป็นต้องมีการปรับค่าด้วยการบวกค่าแต่ละค่าในข้อมูล วธิ ีท่ี 5 0.2352 0.6674 -1.78 การลงทุนฯ ด้วยค่าใด ๆ ที่ทำให้ข้อมูลทั้งชุดมีค่ามากกว่า ศูนย์ ในท่นี น้ี ำเสนอการบวกดว้ ยสองเทา่ ของคา่ เฉลี่ยข้อมูล วิธที ่ี 6 0.1296 0.7528 -1.84 ซึ่งการปรับค่านี้จะไม่ทำให้สัมประสิทธิ์ความเบ้และค่า p สำหรับการทดสอบการแจกแจงปรกติของข้อมูลชุดใหม่ ตารางที่ 7 สัมประสิทธิ์ความเบ้ ค่า p ของข้อมูลการ เปลี่ยนแปลงไปจากข้อมูลชุดเดิม ดังนั้นข้อมูลการลงทุนฯ ของสงิ คโปร์ที่ปรับค่าแลว้ ดงั ตารางท่ี 9 ลงทุนฯ ที่แปลงค่าแล้ว และค่าพารามิเตอร์การแปลง จากตารางที่ 9 สัมประสิทธิ์ความเบ้และค่า p สำหรับประเทศเวียดนาม ของข้อมลู การลงทุนฯ ของสงิ คโปร์ท่ปี รับคา่ แล้ว ยังคงมีค่า เทา่ เดมิ คือ 2.0817 และ 0.0007 ตามลำดับ วธิ กี าร สัมประสิทธ์ิ คา่ p ค่าพารามิเตอร์ ตารางที่ 9 ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศสิงคโปร์ที่ปรับ แปลง ความเบ้ การแปลง ค่าแลว้ (หน่วย: ลา้ นเหรยี ญสหรฐั อเมรกิ า) วธิ ที ี่ 1 1.2675 0.0680 - เดอื น การลงทุน เดือน การลงทุน วธิ ที ี่ 2 2.6066 0.0000 - มกราคม 1088.755 กรกฎาคม 782.075 กมุ ภาพนั ธ์ 1021.385 สิงหาคม 1370.905 วธิ ที ่ี 3 0.6563 0.0919 - มนี าคม 1063.155 กันยายน 2278.105 เมษายน 3984.745 ตุลาคม 1031.915 วิธที ่ี 4 0.1282 0.7439 -0.40 พฤษภาคม 442.415 พฤศจกิ ายน 987.805 มถิ ุนายน 851.755 ธนั วาคม 1147.315 วธิ ที ี่ 5 1.5438 0.0124 -3.55 วิธที ่ี 6 2.9653 0.0000 -5.00 ตารางที่ 8 สมั ประสทิ ธค์ิ วามเบ้ คา่ p ของขอ้ มูลการ ลงทนุ ฯ ทีแ่ ปลงค่าแล้ว และค่าพารามิเตอรก์ ารแปลง สำหรับประเทศสิงคโปร์ วิธีการ สมั ประสิทธ์ิ คา่ p คา่ พารามเิ ตอร์ แปลง ความเบ้ การแปลง วธิ ที ี่ 1 - - - วธิ ีท่ี 2 - - - วธิ ที ี่ 3 -1.7105 0.0109 - วิธีท่ี 4 - - - วธิ ที ี่ 5 - - - วิธที ่ี 6 - - -

112 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางที่ 10 สัมประสิทธิ์ความเบ้ ค่า p ของข้อมูลการ ที่นี้จะใช้ 0.36 ลบด้วยค่าแต่ละค่าของข้อมูลชุดเดิม แต่ เทคนิคการสะท้อนกลับจะทำให้ความเบ้เป็นเบ้ขวา ลงทุนฯ ที่ปรับค่าและแปลงค่าแล้วและคา่ พารามิเตอร์การ ดังนั้นข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศเมียนมาร์ที่ปรับค่า แล้ว ดงั ตารางที่ 11 แปลงสำหรับประเทศสงิ คโปร์ จากตารางที่ 11 ค่า p ของข้อมูลการลงทุนฯ วธิ กี าร สมั ประสิทธิ์ ค่า p ค่าพารามิเตอร์ ของประเทศเมยี นมารท์ ี่ปรบั คา่ แล้ว ยงั คงมคี ่าเท่าเดิมคือ 0.0385 ในขณะทสี่ ัมประสิทธ์คิ วามเบเ้ ท่ากบั 0.5539 แปลง ความเบ้ การแปลง วิธีท่ี 1 0.7824 0.1174 - วิธที ่ี 2 1.5637 0.0093 - วธิ ีท่ี 3 1.2119 0.0439 - ตารางที่ 12 สัมประสิทธิ์ความเบ้ ค่า p ของข้อมูลการ วิธที ่ี 4 -0.0126 0.2528 -0.40 ลงทุนฯ ที่แปลงค่าแล้ว และค่าพารามิเตอร์การแปลง วธิ ที ่ี 5 - - * สำหรับประเทศเมียนมาร์ วธิ ที ี่ 6 -0.0515 0.2521 -0.42 วิธีการ สมั ประสทิ ธิ์ ค่า p ค่าพารามิเตอร์ * โปรแกรม R ไม่สามารถคำนวณหาค่าพารามิเตอร์การแปลง แปลง ความเบ้ การแปลง สำหรับวธิ ีการแปลงดว้ ยเลขชีก้ ำลงั วธิ ีท่ี 1 -0.2205 0.2050 - ตารางที่ 11 ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศเมียนมาร์ที่ วธิ ที ่ี 2 0.2092 0.1274 - ปรบั คา่ แลว้ (หนว่ ย: ลา้ นเหรยี ญสหรฐั อเมรกิ า) วธิ ีท่ี 3 1.1164 0.0327 - เดอื น การลงทุน เดือน การลงทนุ วธิ ที ี่ 4 -0.0412 0.1894 0.20 มกราคม 0.28 กรกฎาคม 0.15 วิธที ่ี 5 0.1138 0.1531 -2.37 กมุ ภาพันธ์ 0.28 สงิ หาคม 0.14 วิธีที่ 6 0.0774 0.1624 -2.26 มีนาคม 0.28 กันยายน 0.10 เมษายน 0.24 ตลุ าคม 0.51 จากตารางที่ 12 พบว่าการใช้วิธีส่วนกลับใน การแปลงข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศเมียนมาร์ ที่ พฤษภาคม 0.25 พฤศจกิ ายน 0.51 ปรับค่าด้วยเทคนิคการสะท้อนกลับ ไม่ได้ทำให้ข้อมูลที่ แปลงค่าแล้วมีการแจกแจงปรกติ ณ ระดับนัยสำคัญ มิถนุ ายน 0.25 ธันวาคม 0.51 0.05 และ ในขณะที่วิธีการแปลงอื่น ๆ ทำให้ข้อมูลท่ี แปลงค่าแล้วมีการแจกแจงปรกติ ณ ระดับนัยสำคัญ จากตารางที่ 10 พบว่าวิธีการแปลงด้วยการ 0.05 และความเบส้ มมาตร แปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ และการแปลงของยอ-จอห์นสัน ทำให้ข้อมูลที่ปรับและแปลงค่าแล้วมีการแจกแจงปรกติ ตัวอยา่ งการนำไปใชป้ ระโยชน์ ณ ระดบั นยั สำคญั 0.05 และความเบส้ มมาตร แตว่ ธิ กี าร แปลงดว้ ยลอการทิ มึ ฐานสบิ ทำใหข้ อ้ มลู ทป่ี รบั และแปลง จากตารางที่ 11 ข้อมูลที่ปรับค่าด้วยเทคนิค ค่าแลว้ มกี ารแจกแจงปรกติ ณ ระดับนยั สำคญั 0.05 โดย สะท้อนกลับจะถูกแปลงค่าด้วยวิธีการแปลงลอการิทึม ความเบ้ของขอ้ มลู ทีแ่ ปลงคา่ แลว้ ยงั คงเบข้ วา ฐานสิบ การแปลงด้วยรากที่สอง การแปลงของบ็อกซ์- ค็อกซ์ การแปลงเลขชก้ี ำลงั และการแปลงของยอ-จอห์น เนื่องจากลักษณะข้อมูลการลงทุนฯ ของ สัน ข้อมูลที่แปลงค่าแล้วสมมาตรและมีการแจกแจง ประเทศเมียนมาร์มีทั้งค่าบวกและค่าลบในชุดเดียวกัน ปรกติ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยหน่วยของข้อมูลท่ี และมีความเบ้ซ้ายดังนั้นจะปรับค่าโดยใช้เทคนิคการ แปลงคา่ แล้วจะเป็นไปตามวธิ กี ารแปลง เชน่ วธิ ีการแปลง สะท้อนกลับดังที่ได้กล่าวไว้ในบทนำ โดยการใช้ค่าท่ี มากกว่าค่าสูงสุดของข้อมูลลบด้วยค่าของข้อมูลเดิม ใน

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 113 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ด้วยรากที่สองหน่วยของข้อมูลจะถูกถอดรากที่สองด้วย การแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ จากข้อมูลที่ปรับและแปลงค่า ข้อมลู ท่ีแปลงค่าแล้วดังตารางที่ 13 แล้วด้วยการแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ (วิธีที่ 4) ในตารางที่ 13 ค่าเฉลี่ยเท่ากับ -1.16 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ ตารางที่ 13 ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศเมียนมาร์ที่ 0.40 ขนาดตัวอยา่ งเทา่ กับ 12 และ t0.025,11 = 2.201 ปรบั และแปลงค่าแลว้ เดือน วิธีท่ี 1 วิธีที่ 2 วิธที ี่ 4 วธิ ีที่ 5 วธิ ที ่ี 6 ������ 0.40 ���̅��� ± ������������⁄2 = (−1.16) ± (2.201 × ) √������ √12 มกราคม -1.27 0.53 -1.12 0.20 0.19 กุมภาพันธ์ -1.27 0.53 -1.12 0.20 0.19 ดังนั้นค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ปรับและแปลงค่าแล้วอยู่ มนี าคม -1.27 0.53 -1.12 0.20 0.19 เมษายน -1.43 0.49 -1.24 0.18 0.17 ระหว่าง -1.41และ-0.91 โดยค่าพารามิเตอร์การแปลง พฤษภาคม -1.39 0.50 -1.21 0.19 0.18 มถิ ุนายน -1.39 0.50 -1.21 0.19 0.18 เทา่ กับ 0.2 จากการแปลงของบอ็ กซ์-ค็อกซ์ กรกฎาคม -1.89 0.38 -1.58 0.13 0.12 สงิ หาคม -1.97 0.37 -1.63 0.12 0.11 ������ = ������������−1 กนั ยายน -2.30 0.32 -1.85 0.09 0.09 ตุลาคม -0.67 0.71 -0.63 0.29 0.27 ������ พฤศจิกายน -0.67 0.71 -0.63 0.29 0.27 ธันวาคม -0.67 0.71 -0.63 0.29 0.27 สำหรับค่า -1.41 ; −1.41 = ������0.2−1 0.2 (−1.41 × 0.2) + 1 = ������0.2 1 ������ = 0.7180.2 = 0.19 แต่มีการสะท้อนกลับขอ้ มูล ������ = 0.36 − ������������������������ หมายเหตุ วิธีที่ 3 ไม่สามารถแปลงขอ้ มูลให้มีการแจกแจงปรกตไิ ด้จึงไม่ ������������������������ = 0.36 − 0.19 = 0.17 แสดงในตาราง น่นั คือสำหรับคา่ -1.41 แปลงคา่ กลับได้เทา่ กับ 0.17 ในทำนอง ตารางท่ี 14 ชว่ งความเชื่อม่ัน 95% สำหรับการประมาณ เดยี วกนั สำหรบั คา่ -0.91 แปลงคา่ กลบั ไดค้ ่าเทา่ กบั -0.01 ค่าเฉลี่ยการลงทุนจากประเทศเมียนมาร์ในแต่ละเดือน จำแนกตามวธิ กี ารแปลงและการไม่ใชว้ ิธีการแปลงข้อมลู นอกจากนี้ในเปรียบเทยี บการแจกแจงของข้อมูล ก่อนและหลังการแปลงข้อมูลอาจใช้ Normal Q-Q Plot วิธกี ารแปลง ชว่ งความเชือ่ ม่นั 95% สำหรับ FDI ซึ่งเป็นกราฟที่ใช้ในการพิจารณาข้อมูลว่ามีการแจกแจง ปรกติหรือไม่ ดังรูปที่ 1- 6 โดยจะใช้ข้อมูลการลงทุน วธิ ีท่ี 1 ระหว่าง 0.26 และ 0.34 ล้านเหรยี ญสหรฐั อเมริกา โดยตรงจากประเทศลาวซ่งึ มีลกั ษณะเบข้ วามาก วธิ ีท่ี 2 ระหวา่ ง 0 และ 0.17 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั อเมริกา วิธีท่ี 4 ระหวา่ ง -0.01 และ 0.17 ลา้ นเหรียญสหรัฐอเมรกิ า วิธที ่ี 5 ระหวา่ ง 0.01 และ 0.16 ลา้ นเหรียญสหรัฐอเมรกิ า วธิ ีท่ี 6 ระหวา่ ง 0 และ 0.18 ล้านเหรียญสหรฐั อเมริกา ไม่แปลงข้อมลู ระหวา่ ง -0.02 และ 0.16 ล้านเหรยี ญสหรฐั อเมริกา ข้อมูลท่แี ปลงค่าแล้วในตารางที่ 13 (ผลลัพธ์จาก รปู ท่ี 1 การแจกแจงของข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ โปรแกรม R มีทศนิยมมากกว่า 2 ตำแหน่ง) จะถูกนำมา ประเทศลาวที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ สร้างช่วงความเชื่อมั่น 95% สำหรับการประมาณค่าเฉล่ีย เดือนมกราคมถึงเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2562 การลงทุนจากต่างประเทศในแต่ละเดือนซึ่งแต่ละวิธีได้ช่วง ความเช่อื มั่นภายหลังจากการแปลงค่าและหน่วยของข้อมูล กลับคืน และเปรียบเทียบกับการไม่ใช้วิธีการแปลง ดัง ตารางท่ี 14 สำหรับรายละเอียดการคำนวณ จะยกตัวอย่าง

114 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) รูปท่ี 2 การแจกแจงของข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ รปู ท่ี 5 การแจกแจงของข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ ประเทศลาวที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ ประเทศลาวที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ที่ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ท่ี แปลงค่าดว้ ยการใช้ลอการิทึมฐานสิบ แปลงค่าด้วยการแปลงเลขช้ีกำลัง รปู ท่ี 3 การแจกแจงของข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ รปู ที่ 6 การแจกแจงของข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ ประเทศลาวที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ ประเทศลาวที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ท่ี เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ที่ แปลงค่าด้วยการถอดรากทีส่ อง แปลงคา่ ดว้ ยการแปลงของยอ-จอหน์ สนั รูปที่ 4 การแจกแจงของข้อมูลการลงทุนโดยตรงของ จากรูปที่ 1 แสดงให้เห็นว่าข้อมูลการลงทุน ประเทศลาวที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ โดยตรงของประเทศลาวทเ่ี ขา้ มาลงทุนในประเทศไทยตั้งแต่ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ที่ เดือนมกราคมถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 มีค่าสังเกต แปลงคา่ ด้วยการแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ 2 คา่ ท่ีอยูน่ อกแนวเสน้ การแจกแจงปรกติ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างรูปที่ 1 และรูปที่ 2-6 จะเห็นได้ว่าการแปลงข้อมูลสามารถทำให้ค่าที่แปลงแล้ว อยู่ในแนวเส้นของการแจกแจงปรกติได้มากขึ้น และหาก พิจารณาเทียบกับตารางที่ 6 จะเห็นได้ว่ารูปที่ 2-6 จะ สอดคล้องกับค่า p นั่นคือ ถ้าค่า p สูง (แปลงค่าด้วยการ แปลงของบอ็ กซ-์ คอ็ กซ์ การแปลงเลขชีก้ ำลงั และการแปลง ของยอ-จอห์นสัน) คา่ ท่ีแปลงจะอยู่ในแนวเส้นการแจกแจง

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 115 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ปรกติมากกว่าค่า p ต่ำ (แปลงค่าด้วยการใช้ลอการิทึม ของบ็อกซ์-ค็อกซ์ สามารถใช้ได้กับความเบ้ทุกระดับแต่ ฐานสิบและการถอดรากทสี่ อง) ข้อด้อยคือใช้ได้กับข้อมูลที่มีค่ามากกว่าศูนย์เท่านั้น ส่วน วิธีการแปลงเลขชี้กำลังไม่เหมาะสมในการใช้กับข้อมูลที่มี สรปุ ผล ค่ามากเช่น ข้อมูลการลงทุนของประเทศสิงคโปร์ วิธีการ แปลงเลขชี้กำลังและวิธีการแปลงของของยอ-จอห์นสันไม่ ในการวจิ ัยเร่อื งนม้ี ีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ เหมาะสมกับข้อมูลเบ้ขวาสุดขีดมาก เช่น ข้อมูลการลงทุน ประสิทธิภาพการแปลงทั้ง 6 วิธี ได้แก่ การถอดรากที่สอง ของประเทศเวียดนาม ทั้งนี้หากนำข้อมูลทีแ่ ปลงค่าแล้วไป การใช้ลอการิทึมฐานสิบ การใช้ส่วนกลับ การแปลงของ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเมื่อสิ้นสุดการวิเคราะห์หากยังมี บ็อกซ์-ค็อกซ์ การแปลงเลขชี้กำลัง และการแปลงของ หน่วยการวัดจะต้องแปลงค่าผลลัพธ์สุดท้ายกลับด้วย ยอ-จอห์นสัน ในแง่ของข้อมูลที่แปลงแล้วต้องมีการแจก ถึงแม้ว่าผลลัพธ์ที่ได้จากข้อมูลที่แปลงแล้วเทียบกับข้อมูล แจงปรกติและมีลักษณะสมมาตรหรอื ใกล้เคียง ผลการวิจยั จริงไม่แตกต่างกันมาก แต่หากหน่วยการวัดที่มีค่าสูงเช่น ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 พบว่า วิธีการแปลงโดยการถอด การวิจัยนี้ ก็อาจส่งผลต่อการสรุปและตัดสินใจได้ อีกท้ัง รากท่ีสองสามารถแปลงข้อมลู การลงทุนฯ ของประเทศลาว การแปลงข้อมลู เป็นการดำเนินการท่ีทำใหข้ ้อมูลสอดคล้อง และประเทศเมียนมาร์ ให้มีความสมมาตรและการแจกแจง กบั ข้อสมมติของวิธีการวิเคราะหท์ างสถติ ิ ปรกติ วิธีการแปลงโดยการใช้ลอการิทึมฐานสิบ สามารถ แปลงข้อมูลการลงทนุ ฯ ของประเทศกมั พชู า และเมียนมาร์ เอกสารอา้ งอิง ให้มีความสมมาตรและการแจกแจงปรกติ วิธีการแปลงโดย การใช้ส่วนกลับสามารถแปลงข้อมูลการลงทุนฯ ของ 1. Pyzdek T. Normal Distributions Aren't [All ประเทศเวียดนาม ให้ใกล้เคียงความสมมาตรและการแจก that Normal]. Qual Eng. 1995;7(4):769-77. แจงปรกติวิธีการแปลงของบ็อกซ์-ค็อกซ์ สามารถแปลง ข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ 2. Tukey JW. On the Comparative Anatomy of เวียดนาม และสงิ คโปร์ ใหม้ ีความสมมาตรและการแจกแจง Transformations. Ann Math Stat. ปรกติ วิธีการแปลงเลขชี้กำลัง สามารถแปลงข้อมูลการ 1957;28(3):602-32. ลงทุนฯ ของประเทศกัมพูชา ลาว และเมยี นมาร์ ให้มีความ สมมาตรและการแจกแจงปรกติ และวิธีการแปลงของยอ- 3. Tisco financial group. Financial Summary จอห์นสัน สามารถแปลงข้อมูลการลงทุนฯ ของประเทศ [Internet]. 2020. [cited 17 Jul 2020]. Availability กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และสิงคโปร์ ให้มีความสมมาตร from: https://bit.ly/3bUYTfF และการแจกแจงปรกติ การใช้เทคนิคการสะท้อนกลับจะ ทำใหข้ ้อมลู เบ้ซา้ ยเปล่ยี นเป็นขวา ในกรณที ี่ข้อมูลมีค่าบวก 4. Wuensch KL. Transforming to Reduce Negative และลบผสมกันปรับค่าให้เป็นบวกทั้งหมดแล้วจึงแปลง Skewness [Internet]. 2017. [cited 14 Jan 2020]. ข้อมูล ซึ่งผลการวิจัยสอดคล้องกับคำแนะนำของ (4) ท่ี Availability from: http://core.ecu.edu/psyc/ ฟงั กช์ ันทางคณิตศาสตร์อยา่ งง่ายสามารถใช้แปลงข้อมูลเบ้ wuenschk/StatHelp/NegSkew.pdf ขวาและเบ้ซ้ายที่มีการสะท้อนกลับ แต่ในงานวิจัยจะใช้ได้ ภายใต้ระดับความเบ้ที่แตกตา่ งกัน เชน่ วิธีการแปลงโดยใช้ 5. R Core Team. R: A language and environment ส่วนกลับเหมาะสมกับข้อมูลเบ้ขวาสุดขีดมาก เช่น ข้อมูล for statistical computing. R Foundation for การลงทุนของประเทศเวียดนาม ในขณะที่วิธีการแปลง Statistical Computing, Vienna, Austria [Internet]. 2 0 1 9 . [ cited 1 2 Feb 2 0 2 0 ] . Availability from: https:// www.R-project.org/

116 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 6. Box EP, Cox DR. An Analysis of 15. Shapiro-Wilk test. Wikipedia [Internet]. 2020. Transformations (with discussion). J R Stat [cited 24 Jan 2020]. Availability from: https:// Soc B. 1964;26(2):211-52. en.m. wikipedia.org 7. Manly BFJ. Exponential Data Transformations. 16. Jain D. Skew and Kurtosis: 2 Important Statistics J Roy Sat Soc D-Sta. 1976;25(1):37-42. terms you need to know in Data Science [Internet]. 2018. [cited 5 Jan 2020]. Availability 8. Yeo I, Johnson NR. A New Family of Power from: https://codeburst.io/2 - important- Transformations to Improve Normality or statistics–terms–you–need–to–know–in–data– Symmetry. Biometrika. 2000;87(2):954-9. science–skewness–and–kurtosis–388fef94eeaa 9. อุไรวรรณ เจริญกีรติกุล, ลี่ลี อิงศรีสว่าง. ตัวแบบการ แปลงค่าข้อมูลที่ให้ความแปรปรวนคงที่โดยประมาณ สำหรับข้อมูลปัวซง. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 2553;15(1):105-13. 10. Chortirat T, Chomtee B, Sinsomboonthong J. Comparison of Four Data Transform-ation Methods for Weibull Distributed Data. Kasetsart Journal (Natural Sciences). 2011;45:366-83. 11. Watthanacheewakul L. Calculating the Process Capability Ratio for Weibull Data. Naresuan University Journal: Science and Technology. 2017; 25(1):44-56. 12. Bank of Thailand (Statistical Data) [Internet]. 2020. [cited 5 Jan 2020]. Availability from: https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statist ics/ReportPage.aspx?reportID=6 4 5 &language= eng 13. ดวงรัตน์ ประจักษ์ศิลป์ชัย. การลงทุนโดยตรงจาก ต่างประเทศ [อินเทอร์เน็ต]. สำนักงานเลขาธิการสภา ผ้แู ทนราษฎร. 2557. [สืบค้นเม่ือวันท่ี 16 ม.ค. 2563]. จาก http://www.parliament.go.th/library 14. Doane DP, Seward LE. Measuring Skewness: A Forgotten Statistics?. Stat Educ. 2011;19(2):1-18.

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 117 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) การศึกษาเปรียบเทียบการปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัล ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการก้คู ืน ขอ้ มูลของซอฟต์แวรน์ ิตวิ ิทยาศาสตร์ A Comparative Study of Digital Anti-Forensic Techniques Affecting the Effectiveness of Forensic Data Recovery Software ทรงวฒุ ิ นาคศลิ ป์ และ วรธัช วิชชวุ าณิชย์* Songwut Naksilp and Woratouch Vichuwanich* คณะนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนนายรอ้ ยตำรวจ อ. สามพราน จ. นครปฐม 73110 Faculty of Forensic Science, Royal Police Cadet Academy, Sam Phran, Nakhon Pathom 73110, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: This research aims (1) to examine anti-forensic techniques Received: 5 June, 2020 affecting data recovery software and (2) to compare each anti-forensic Revised: 31 July, 2020 technique with impacts on efficiency of forensic data recovery Accepted: 11 August, 2020 software. The researcher conducted an experiment by utilizing simple Available online: 20 October, 2020 and common digital anti-forensic techniques including delete, format DOI: 10.14456/rj-rmutt.2020.23 and overwrite. After that, three forensic data recovery programs: Keywords: anti-forensic, EnCase Imager, FTK Imager and ProDiscover, were exercised to digital evidence, forensic recover digital evidence and to compare the effectiveness in software recovering data of the forensic software from each anti-forensic technique on data storage devices containing NTFS file system on Windows 7 operating system. The research findings revealed that the three forensic programs had similar effectiveness of forensic data recovery as follows. (1) The anti-forensic technique with commands “Delete” and “Format” without switching modes could recover digital evidence with 100% perfect condition because it was a technique that corrected or destroyed data in MFT Entry without getting involved with raw data in the file. (2) The anti-forensic technique with command “Format” and switching modes as Format

118 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Drive: /P: Passes and overwrite could partially recover digital evidence for undestroyed raw data in the file or it was irrecoverable once the raw data in the file was demolished because the raw data in the file was damaged with overwriting. The success of data recovery was accounted for 35%, 50% and 75% from the original file. Therefore, to conclude, success of digital evidence recovery depended on the original raw data in the file. บทคดั ย่อ ที่ทำให้เนื้อไฟล์เสียหายด้วยการเขียนข้อมูลอื่นทับ ความสำเร็จของการกู้คืนข้อมูลคิดเป็นร้อยละจากขนาด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษา ไฟลต์ น้ ฉบับ เชน่ 35% 50% และ 75% เปน็ ต้น จงึ สรุปได้ เทคนิคการปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัลที่ส่งผลต่อการกู้ ว่าความสำเร็จของการกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลขึ้นอยูก่ บั คืนข้อมูลของซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ (2) เพื่อ เนอื้ ไฟลต์ น้ ฉบบั เปรียบเทียบเทคนิคการปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัลแต่ ละเทคนิคที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการกู้คืนข้อมูลของ คำสำคัญ: การปกปิดร่องรอยหลักฐาน หลักฐานดิจิทลั ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ โดยผู้วิจัยได้ทดลองปกปิด ซอฟตแ์ วรน์ ติ ิวิทยาศาสตร์ ร่องรอยหลักฐานดิจิทัล ด้วยเทคนิคที่ไม่ซับซ้อนแต่เป็น เทคนิคที่พบเห็นได้โดยทั่วไป ได้แก่ Delete, Format และ บทนำ Overwrite จากนั้นจึงใช้ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ จำนวน 3 โปรแกรม คือ EnCase Imager, FTK Imager ในอดตี อาชญากรรม จะปรากฏให้เห็นในรูปแบบ และ ProDiscover กู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัล เพื่อ ของอาชญากรรมพื้นฐานหรือที่เรียกว่าอาชญากรรม เปรียบเทียบประสิทธิผลในการกู้คืนข้อมูลของซอฟต์แวร์ ข้างถนน (Street Crime) ซึ่งเป็นอาชญากรรมที่สามารถ นิติวิทยาศาสตร์จากเทคนิคการปกปิดร่องรอยหลักฐาน พบเห็นได้โดยทั่วไปมีรูปแบบของการก่ออาชญากรรมที่ไม่ ดิจิทัลแต่ละเทคนิคบนอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีระบบไฟล์ สลับซับซ้อน สามารถกระทำได้โดยบุคคลเพียงคนเดียว แบบ NTFS ภายใต้ระบบปฏิบัติการ Windows 7 ผลจาก และถึงแม้จะมีการรวมกลุ่มในการกอ่ อาชญากรรมก็จะเปน็ การวิจัยพบว่า ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 โปรแกรม การรวมกลุ่มกันในจำนวนที่ไม่มากนัก ผู้ที่ก่ออาชญากรรม มีประสิทธิผลในการกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลไม่ต่างกัน ส่วนใหญ่มักจะเป็นผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคม ไม่มีการศึกษา คือ (1) การปกปดิ ร่องรอยหลักฐานด้วยคำส่ัง Delete และ และไม่มีการใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการก่ออาชญากรรม คำสั่ง Format แบบไม่ระบุ Switch สามารถกู้คืนข้อมูล ตวั อย่างของอาชญากรรมในอดีต ได้แก่ ลกั ทรพั ย์ ชิงทรัพย์ หลักฐานดิจิทัลได้ในสภาพที่สมบูรณ์ 100% เนื่องจากเป็น ว่งิ ราว จี้ ปล้น ทำร้ายรา่ งกาย ข่มขืน ฆาตกรรม เป็นตน้ เทคนิคที่แก้ไขหรือทำลายข้อมูลใน MFT Entry โดยไม่ยุ่ง เกี่ยวกับเน้ือไฟล์ (2) การปกปิดรอ่ งรอยหลักฐานด้วยคำสัง่ ปัจจุบันรูปแบบของการก่ออาชญากรรมได้ Fomat แบบระบุ Switch คำสั่งเป็น Format Drive: /P: เปลี่ยนแปลงไป การก่ออาชญากรรมมีความสลับซับซ้อน Passes และการ Overwrite สามารถกู้คืนข้อมูลหลักฐาน มากขึ้น มีการรวมตัวกันของอาชญากร โดยจัดตั้งขึ้นเป็น ดิจิทัลได้ในส่วนที่เนื้อไฟล์ไม่ถูกทำลาย หรือไม่สามารถ กลุ่มในลักษณะองค์กร เรียกว่า องค์กรอาชญากรรม กคู้ ืนได้หากเน้อื ไฟลท์ ัง้ หมดถกู ทำลาย เน่ืองจากเป็นเทคนิค (Organized Crime) ทำให้ปัญหาการก่ออาชญากรรมใน ป ั จจ ุ บ ั นม ี แนวโ น ้ ม ความ รุ นแร งม ากข ึ ้ นกว ่ าในอดี ต

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 119 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) นอกจากนี้ในการก่ออาชญากรรมสมัยใหม่ก็มีการนำเอา การตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล ( Digital นวตั กรรมทอี่ าศัยเทคโนโลยชี ัน้ สูง (High Technology) มา Forensics) มาใช้อ้างอิงอาจเกิดข้อโต้แย้งเกี่ยวกับความ ใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนในการก่ออาชญากรรม ซ่ึง น่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้มาว่ามีความครบถ้วนสมบูรณ์ เครื่องมือเหลา่ น้ันก็คืออุปกรณ์ดิจิทัลประเภทต่าง ๆ ได้แก่ หรือไม่ ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับการถูกเปลี่ยนแปลงข้อมูล คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) ดิจิทัลในระหว่างกระบวนการรวบรวมพยานหลักฐาน คอมพิวเตอร์แบบพกพา (Laptop) คอมพิวเตอร์แบบรับ หรือข้อโต้แย้งเรื่องความน่าเชื่อถือของผลการวิเคราะห์ ข้อมูลดว้ ยการเขยี นบนจอภาพ (Tablet) โทรศพั ท์ประเภท และตรวจพสิ จู นพ์ ยานหลักฐานดิจิทัล ซง่ึ หัวใจสำคญั ทจี่ ะ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เป็นตน้ ทำให้ผลการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัลได้รับการ ยอมรับในชั้นศาลโดยไม่ถูกโต้แย้งก็คือจะต้องสามารถ ในอนาคตการสืบสวนเพื่อหาตัวผู้กระทำผิดท่ี ยืนยันได้วา่ พยานหลักฐานดจิ ิทัลที่นำมาใช้อา้ งอิงน้นั เปน็ แท้จริงมาลงโทษตามกระบวนการยุติธรรม จึงมีความ หลกั ฐานชน้ิ เดียวกับทเ่ี กบ็ รวบรวมได้จากสถานที่เกิดเหตุ จำเป็นที่จะต้องนำเอาความรู้ทางนิติวิทยาศาสตร์ จริงและไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลใด ๆ ไปจากเดิม ( Forensic Science) ม า ป ร ะย ุกต์ใช้ เ พื ่ อพิสูจน์ ปัจจัยที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือมีผู้พัฒนาโปรแกรม ข้อเท็จจริงแห่งคดีและเพื่อบังคับใช้กฎหมายในการ สำหรับใช้ปกปิดร่องรอยหลักฐาน (Anti-forensic) ท่ี ลงโทษทางอาญาแก่ผู้กระทำความผิด แต่เนื่องจากการ บนั ทึกไวใ้ นคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์เพื่อให้ ก่ออาชญากรรมมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบไปจากเดิม ยากต่อการสืบสวนคดีที่ต้องใช้พยานหลักฐานดิจิทัล โดยมี ดังน้นั ขอ้ มูลหรือวัตถุพยานต่าง ๆ ทใ่ี ช้เป็นเบาะแส หรือ การนำโปรแกรมเหล่านี้ออกแจกจ่ายให้ใช้โดยไม่มีการเสีย ถูกนำมาใช้เป็นหลักฐานในการสืบสวนหาตัวผู้กระทำผิด ค่าตอบแทนแต่อย่างใด (Freeware) บางโปรแกรมสามารถ จึงมีความสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น เช่น การเผยแพร่ภาพ นำไปใช้งาน ศึกษา แก้ไข และเผยแพร่ได้อย่างเสรี ลามกอนาจารโดยใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์ดิจิทัลเป็น ปราศจากเงื่อนไขเพิ่มเติม (Open Source License) เครื่องมือในการกระทำความผิด กรณีนี้การติดตาม ตัวอย่างของวิธีการที่ใช้ในการปกปิดร่องรอย ผู้กระทำผิด จึงจำเป็นจะต้องหาร่องรอยข้อมูลหลักฐาน พยานหลักฐานดิจิทัล ได้แก่ การเข้ารหัสข้อมูล จากอุปกรณ์ดิจิทัลที่ใช้ในการก่ออาชญากรรมทาง (Encryption) การเขียนข้อมูลใหม่ทับข้อมูลเก่าเพื่อไม่ให้ อินเทอร์เน็ต ดังนั้น พยานหลักฐานดิจิทัล (Digital สามารถกู้คืนได้ (Overwrite) การแก้ไขข้อมูลเมทาดาต้า Evidence) จึงเป็นหลักฐานที่สำคัญมากสำหรับการ (Metadata) ของไฟล์ หรือการปลอมแปลงไฟล์ เป็นตน้ ก่ออาชญากรรมในลักษณะนี้ แต่เน่ืองจากพยานหลักฐาน ดิจิทัลมีลักษณะเฉพาะคือสามารถถูกเปลี่ยนแปลงแก้ไข จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าการ ได้ง่าย และการแก้ไขนั้นอาจไม่เหลือร่องรอยให้ สืบสวนที่ต้องนำพยานหลักฐานดิจิทัลไปใช้ในการพิสูจน์ ตรวจสอบในภายหลัง ทำให้การดำเนินการกับ ข้อเท็จจริง จะต้องคำนึงถึงการรักษาคุณค่าของพยาน พยานหลักฐานดิจิทัลจำเป็นต้องมีกระบวนการจัดเก็บ หลักฐานและการแสดงความน่าเชื่อถือในกระบวนการท่ี ตรวจค้น วเิ คราะห์ และรายงานผลท่ีไดม้ าตรฐาน เพ่ือให้ เกี่ยวข้องกับการจัดการพยานหลักฐานอย่างสมเหตุสมผล พยานหลกั ฐานดิจทิ ลั คงไว้ซึง่ ความน่าเช่ือถือและสามารถ เนื่องจากพยานหลักฐานดิจิทัลมีความเปราะบางและ รับฟังได้ในการพิจารณาคดีชั้นศาล ถึงแม้ว่าในปัจจุบัน ซับซ้อน โดยมีลักษณะเฉพาะคือสามารถถูกเปลี่ยนแปลง ศาลไทยจะให้การยอมรบั และรับฟงั พยานหลกั ฐานดิจิทัล แกไ้ ขไดง้ ่าย และเมื่อข้อมูลดิจทิ ลั ถกู เปลี่ยนแปลงแก้ไขแล้ว แล้วก็ตาม แต่เนื่องจากข้อมูลดิจิทัลเป็นสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง อาจไม่เหลือร่องรอยให้ตรวจสอบได้ในภายหลัง จึงนับว่า และไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้โดยตรง การนำผล เป็นเรื่องที่ยากต่อการตรวจสอบทางนิติวิทยาศาสตร์ หาก

120 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) หลักฐานดิจิทัลเหล่านั้นถูกปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วย - โปรแกรม FTK Imager 3.1.2.0 เทคนิคต่าง ๆ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจเกี่ยวกับ - โปรแกรม ProDiscover 7.0.0.3 “การศึกษาเปรียบเทียบการปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัล จากแนวคิดข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ออกแบบการ ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการกู้คืนข้อมูลของซอฟต์แวร์นิติ ทดลองกู้คืนข้อมูลดิจิทัลโดยพิจารณาคัดเลือกเทคนิคการ วิทยาศาสตร์” โดยคาดหวังว่าผลการวิจัยครั้งนีจ้ ะสามารถ ปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทลั ที่ไม่ซบั ซ้อนแต่เปน็ เทคนิคที่ นำไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนามาตรฐานการกู้คืนข้อมูล พบเห็นโดยทั่วไป จำนวน 3 เทคนิค ได้แก่ การปกปิด ดิจิทัลในงานตรวจพิสูจน์หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ ร่องรอยหลักฐานด้วยคำสั่ง Delete การปกปิดร่องรอย ตอ่ ไปในอนาคต หลักฐานด้วยคำสั่ง Format และ การปกปิดร่องรอย หลกั ฐานดว้ ยการเขียนทับหรอื Overwrite แสดงดังรปู ท่ี 1 ตวั แปรอิสระ หรอื ตวั แปรตน้ (Independent Variable) Hard disk วธิ ีการปกปดิ รอ่ งรอยหลักฐานดจิ ิทัล Master Boot Record - คำสัง่ Delete Boot Sector - คำสั่ง Format - การเขยี นขอ้ มลู ทับ (Overwrite) Ntldr ซอฟต์แวร์นิตวิ ทิ ยาศาสตร์ทใี่ ชก้ ้คู นื ข้อมลู ดิจทิ ัล NTFS.sys Ntoskrnl.exe - EnCase Imager 7.10.00.10. - FTK Imager 3.1.2.0 - ProDiscover 7.0.0.3 ตัวแปรตาม Operating Kernel Mode (Dependent Variable) System User Mode ประสทิ ธผิ ลในการกู้คนื ข้อมลู Applications ของซอฟต์แวร์นติ ิวิทยาศาสตร์ รปู ท่ี 2 สถาปัตยกรรม NTFS (1) รูปท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย งานวิจัยนี้ได้ทำการทดลองกับอุปกรณ์บันทึก งานวิจัยนี้มีแนวคิดว่าเมื่อข้อมูลดิจิทัลถูกปกปิด ข้อมูลที่เป็น USB Flash Drive มีระบบไฟล์แบบ NTFS ร่องรอยหลักฐานด้วยเทคนิคที่ต่างกันย่อมส่งผลต่อการกู้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการ Windows 7 จึงได้มีการศึกษา คืนข้อมูลเหล่านั้นด้วย โดยทำการเปรียบเทียบกันระหว่าง คน้ ควา้ และทบทวนวรรณกรรม ดงั นี้ ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ที่ได้รับความนิยมใช้เป็น เครื่องมือในการสืบสวน (Investigation Tools) และเป็น สถาปัตยกรรม NTFS ในระหว่างการสร้าง ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในหน่วยงานทมี่ ีหน้าท่พี ิสจู นห์ ลักฐานดิจิทัล พาร์ติชันให้กับฮาร์ดิสก์ โปรแกรมที่ใช้สร้างพาร์ติชันจะ การวจิ ัยคร้ังนผี้ วู้ ิจยั ไดเ้ ลือกใชซ้ อฟตแ์ วรน์ ิติวทิ ยาศาสตร์ใน สร้างมาสเตอร์บูตเรกคอร์ด (MBR) ซึ่งภายในบันทึก รุ่นที่เปิดให้ผู้ที่สนใจสามารถนำไปทดลองใช้เพื่อการศึกษา ตารางพาร์ติชัน และโค้คสำหรับสั่งให้โปรแกรมทำงานที่ โดยไมม่ ีคา่ ใชจ้ า่ ย จำนวน 3 โปรแกรมประกอบด้วย เรียกว่ามาสเตอร์บูตโค้ดเอาไว้ ดังนั้นเมื่อเปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์ BIOS จะตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์ - โปรแกรม EnCase Imager 7.10.00.103 ที่เชื่อมต่ออยู่บนเมนบอร์ด โดยอ่านค่าจาก MBR และ เรียกใช้มาสเตอร์บูตโค้ดภายในตัวมันเอง แล้วส่งต่อการ ควบคุมไปยังบูตเซกเตอร์ในฮาร์ดดิสก์ หลังจากน้ัน

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 121 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ระบบปฏิบัติการจะถูกทำการบูต เพื่อเริ่มใช้งานต่อไป อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบ SSD เป็นเทคโนโลยีที่ แสดงดังรูปท่ี 2 คาดว่าจะมาแทนทีเทคโนโลยีฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ โดยใน ปัจจุบัน NAND Flash ถูกนำไปใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญ โดยในระบบไฟลแ์ บบ NTFS ประกอบด้วยส่วน ของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบ SSD เนื่องจาก NOR Flash สำคัญ 4 ส่วน คือ NTFS Boot Sector เป็นส่วนที่เก็บ มีความจุต่ำ และราคาสูง NAND Flash ประกอบด้วยส่วน เค้าโครงและโครงสร้างระบบไฟล์ Master File Table สำคญั 4 สว่ น คอื Die Plane Block และ Page โดย Page (MFT) เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่จำเป็นในการจัดเก็บไฟล์ คือหน่วยที่เล็กที่สุดที่สามรถติดตั้งโปรแกรมหรือเขียน และเข้าถึงไฟล์ของระบบ NTFS ทั้งหมด File System ข้อมูลได้ ส่วนการลบข้อมูลสามารถทำได้ในระดับ Block Data เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลอื่นที่ไม่มีใน MFT และ เท่านน้ั โครงสร้างของ NAND Flash แสดงดงั รูปท่ี 4 Master File Table Copy เป็นส่วนที่ใช้ในการทำสำเนา ทีจ่ ำเป็นจาก MFT สำหรับกู้คืนระบบไฟล์ ในกรณีที่ MFT รปู ที่ 4 โครงสร้างของชปิ NAND Flash (3) มีปัญหา ดังนั้น MFT จึงนับว่ามีความสำคัญอย่างยิ่ง Shimpi AL. (4) อธบิ ายถงึ ลักษณะทางกายวิภาค เพราะเป็นส่วนที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลพร้อมทั้งแสดง ส่วนของ Header และระบตุ ำแหน่งของขอ้ มูลท้ังหมดโดย ของ SSD ว่าในปัจจุบันมาตรฐานของ SSD จะมีขนาดของ จะเก็บข้อมูลเป็น Entry โดยข้อมูลภายใน MFT Entry ของ Page เท่ากับ 4 กิโลไบต์ (KB) โดย Page จะถูกจัดกลุ่มเข้า ไฟล์พื้นฐานทุกไฟล์ Carrier B. (2) อธิบายว่าข้อมูลภายใน ด้วยกันเป็น Block แต่ละ Block มีจำนวน 128 Page MFT Entry ประกอบด้วย MFT Entry Header เป็นส่วนท่ี (1 Block มีขนาด 512 กิโลไบต์) Block เป็นโครงสร้างท่ี มีหน้าที่อธิบายถงึ โครงสร้างข้อมูลของแตล่ ะ MFT Entry เล็กที่สุดในหน่วยความจำ NAND Flash ที่สามารถลบ มีข้อมูลเริ่มตน้ เป็น ASCII String โดย “FILE” เป็นข้อมูล ข้อมูลได้ ดังนั้น ในขณะที่ทำการอ่านหรือเขียนข้อมลู บน ที่เรียกว่า Signature และในส่วนของเนื้อหา (Attribute Page ผู้ใช้งานจะสามารถลบข้อมูลใน Block ได้ครั้งละ Content) ประกอบด้วย $STANDARD INFORMATION, 128 Page เท่านั้น $DATA และ $FILE_NAME แสดงดงั รปู ท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย MFT Entry 3234 เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการทดลอง 1. อุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้ในการทดลอง คือ MFT Entry $FILE_NAME (48) $DATA (128) SignaturHe:eFaILdEer Attribute Id: 2 Attribute Id: USB Flash Drive ซง่ึ เปน็ อปุ กรณ์บันทึกข้อมลู แบบ SSD (Solid State Drive) เนื่องจากในการทดลองแต่ละครั้งมี Flags: Inuse Resident 3 ความจำเป็นต้องทำสำเนาหลักฐานดิจิทัลเพื่อใช้ในการ Link: 1 Resident Flags: Archive $STANDARD_ Name: boot.ini INFORMATION (16) Parent MFT Entry: 5 Created: Attribute Id: 0 Resident Thu Jun 26 10:22:46 2003 File Modified: Flags: Archive Security ID: 271 Thu Jun 26 10:22:46 2003 Created: MFT Modified: Thu Jun 26 10:22:46 Thu Jun 26 10:22:46 2003 2003 Accessed: File Modified: Thu Jun 26 10:22:46 2003 Thu Jun 26 15:31:43 2003 MFT Modified: Thu Nov 18 11:03:53 2003 Accessed: Sat Oct 23 04:53:36 2003 รูปที่ 3 ข้อมูลภายใน MFT Entry (2)

122 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) วิเคราะห์ข้อมูล และป้องกันไม่ให้หลักฐานต้นฉบับเกิด 5. ไฟล์ขอ้ มูลตน้ ฉบบั ทีใ่ ชใ้ นการทดลอง เพื่อให้ ความเสียหาย ประกอบกับการทำสำเนาหลักฐานดิจิทัล การทดลองเกิดความหลากหลายผู้วิจัยจึงได้สร้าง เป็นการทำสำเนาแบบบิตต่อบิต หรือที่เรียกว่า “Bit- ไฟล์ข้อมูลที่มีส่วนขยายของไฟล์ในรูปแบบต่าง ๆ stream Copy” เพื่อทำให้สำเนาเหมือนกับต้นฉบับ ประกอบดว้ ย Adobe Acrobat Document (.pdf), File ทุกประการ จึงต้องใช้เวลาในการทดลองค่อนข้างนาน folder, PNG image (.png), Microsoft Excel ดังนั้น ในการทดลองครั้งนี้ผู้วิจัยจึงเลือกใช้ USB Flash Worksheet (.xlsx), JPEG image (.jpg), Microsoft Drive ซึ่งมีความจุไม่มากนัก และการเข้าถึงข้อมูลจาก Word Document (.docx) และ GIF image (.gif) อุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบ SSD ใช้เวลาน้อยกว่าอุปกรณ์ แบบหวั อ่าน รปู แบบการทดลอง 2. ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System: OS) ผู้วิจัยได้ออกแบบการทดลองกู้คืนข้อมูลที่ถูก ที่ใช้คือ Windows 7 เนื่องจากเป็นระบบปฏิบัติการที่ ปกปดิ ร่องรอยหลักฐานดิจิทลั ดังน้ี นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย จากผลการสำรวจของ NetMarketShare.com (5) ระหว่างมี.ค. 2018 - ก.พ. การทดลองท่ี 1 กู้คืนข้อมูลที่ถูกปกปิดร่องรอย 2019 พบว่าระบบปฏิบัติการ Windows7 มีส่วนแบ่ง หลักฐานด้วยคำสั่ง Delete ซึ่งเป็นคำสั่งพื้นฐานของ การตลาดของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบปฏิบตั ิการ Windows 7 ไม่ต้องตดิ ตั้งเพิ่มเตมิ เพื่อ (Desktop/Laptop) เป็นอันดับ 1 ของโลก คิดเป็นร้อย ทดสอบว่าซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์สามารถกู้คืนข้อมูล ละ 40.17 จากยอดการใช้งานท้งั หมด ท่ีถกู ปกปดิ ร่องรอยหลกั ฐานจากการ Delete ได้จริง และ เพื่อค้นหาตำแหน่งของข้อมูล (Physical Sector) ที่ถูก 3. ระบบไฟล์ (File System) ในการติดตั้ง ลบบนอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้เป็นหลักฐานดิจิทัล อุปกรณ์บันทึกข้อมูลใหม่ลงบนคอมพิวเตอร์ จำเป็น (Digital Evidence) ว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง จะต้องจัดระบบโครงสร้างพื้นฐานด้วยการจัดระเบียบ ข้อมูลโดยการฟอร์แมท ซึ่งระบบไฟล์แบบ NTFS ถูก การทดลองที่ 2 กู้คืนข้อมูลที่ถูกปกปิดร่องรอย ออกแบบให้มีคุณสมบตั ิหลายอย่างที่เหมาะกับการติดตั้ง หลักฐานด้วยคำสั่ง Format ซึ่งเป็นกระบวนการในการ ระบบปฏิบัติการ Windows 7 จัดรูปแบบของอุปกรณ์ที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เพื่อให้มี คุณสมบัติเหมาะสมกับระบบปฏิบัติการที่ใช้ โดยการล้าง 4. ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทดลอง แบ่งออกเป็น ไฟล์ระบบเก่า แล้วสร้างไฟล์ระบบใหม่ขึ้นมา เพี่อทดสอบ 2 ประเภท คือ ซอฟตแ์ วรน์ ติ ิวทิ ยาศาสตร์ และซอฟตแ์ วร์ ว่าเมื่อใช้คำสั่ง Format แล้ว สามารถพบร่องรอยของ ทใี่ ชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการปกปิดรอ่ งรอยหลักฐาน ข้อมูลที่ต้องการกู้คืน และเพื่อทดสอบว่าอุปกรณ์บันทึก ข้อมูลที่เป็นหลักฐานดิจิทัลเมื่อผ่านกระบวนการในการ - ซอฟต์แวร์นิตวิ ิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ ซอฟต์แวรท์ ่ี จัดรูปแบบระบบไฟล์ใหม่แล้วยังสามารถกู้คนื ข้อมูลได้โดย นิยมใช้ในหน่วยงานพิสูจน์หลักฐานคอมพิวเตอร์ เป็นรุ่น จำนวนคร้ังในการใชค้ ำสงั่ Format มีผลตอ่ การกู้คนื ขอ้ มลู ที่ให้ใช้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษา จำนวน 3 โปรแกรมได้แก่ EnCase Imager 7.10.00.103, FTK การทดลองที่ 3 กู้คืนข้อมูลที่ถูกปกปิดร่องรอย Imager 3.1.2.0 และ ProDiscover 7.0.0.3 หลักฐานดว้ ยการ Overwrite ซึ่งเป็นวธิ ีการเขียนขอ้ มลู อืน่ ๆ ทับลงไปบนข้อมูลที่ต้องการปกปิดร่องรอยหลักฐาน - ซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการปกปิด ป้องกันไม่ให้สามารถนำข้อมูลดังกล่าวกลับไปใช้ได้อีก รอ่ งรอยหลกั ฐาน (Anti-forensic Tools) ได้แก่ Sdelete เพื่อหาความเป็นไปได้ในการลบข้อมูลแบบถาวร และเพ่อื 2.02 และ Eraser 6.2.0.2986 ทดสอบว่าอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้เป็นหลักฐานดิจิทัล

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 123 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) เมอ่ื ถกู เขยี นข้อมลู อนื่ ๆ ทบั ลงไปในตำแหน่งของข้อมูลซึ่ง - Overwrite แบบไม่ใช้ซอฟต์แวร์ โดยทำการ เปน็ หลกั ฐานดจิ ทิ ลั แลว้ ไมส่ ามารถกู้คืนขอ้ มลู ได้ ลบข้อมูลหลักฐานดิจิทัลทั้งหมดแล้วบันทึกไฟล์ข้อมูลอ่ืน ลงบนอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้เป็นหลักฐานดิจิทัลทีละ วิธีการทดลอง ไฟลจ์ นกวา่ จะไม่สามารถกคู้ ืนหลกั ฐานดจิ ทิ ัลได้ ขั้นตอนการกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลจากการ 2. สร้างสำเนาข้อมูลดิจิทัลแบบ Bit-stream ปกปดิ รอ่ งรอยหลักฐานด้วยเทคนคิ ตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย Copy ด้วยซอฟต์แวร์นิติวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื ให้สำเนาดิจิทัล ทส่ี ร้างขน้ึ เหมือนกับตน้ ฉบบั ทุกประการ 1. ใช้เทคนิคการปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัล แต่ละเทคนิคกับไฟล์ข้อมูลดิจทิ ัลตน้ ฉบบั ที่เตรยี มไว้ ดงั น้ี 3. นำสำเนาหลักฐานดจิ ิทลั ไปทำการกู้คืนข้อมูล ดว้ ยซอฟตแ์ วร์นิติวิทยาศาสตร์ ท้ัง 3 โปรแกรม การทดลองที่ 1 คำสง่ั Delete เปน็ คำส่งั พื้นฐาน ไม่ต้องติดตั้งเพิ่มเติม เรียกใช้คำสั่งได้จาก Command 4. เปรียบเทียบประสิทธิผลในการกู้คืนข้อมูล Line หรอื GUI (Graphic-User Interface) ดว้ ยการกดปุม่ ของซอฟต์แวรน์ ิตวิ ิทยาศาสตร์ ท้งั 3 โปรแกรม Shift+Delete หรือกดปุ่ม Shift พร้อมทั้งใช้เมาส์ลาก ข้อมูลทีต่ ้องการลบไปท่ี Recycle Bin ผลการศกึ ษาและอภิปรายผล การทดลองที่ 2 คำสั่ง Format ให้ทำการ การกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลที่ถูกปกปิด ทดลอง Format จำนวน 1 ครั้ง, 3 ครั้ง, 5 ครั้ง และ 7 รอ่ งรอยหลักฐาน สามารถอธบิ ายผลการทดลองได้ ดังนี้ คร้ัง ตามลำดับ แบ่งออกเปน็ 2 กรณี คือ ผลการทดลอง - Format โดยไม่ระบุคำสั่งย่อย (Switch) เรียกใช้คำสั่งได้จาก Command Line โดยมีรูปแบบ การทดลองปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัลด้วย คำสั่งคือ Format drive: หรือ GUI ด้วยการคลิกขวา การ Delete, Format และ Overwrite มีผลการทดลอง ไดร์ฟที่ต้องการ Format แล้วเลือกคำสั่ง Format จาก ตามตาราง ดงั ต่อไปนี้ Context Menu ตารางท่ี 1 การกู้คืนขอ้ มลู จากคำสง่ั Delete - Format ระบุ Switch ไมส่ ามารถเรียกใชค้ ำสง่ั จาก GUI ได้ ต้องเรียกใช้คำสั่งจาก Command Line ชนดิ ข้อมูล ผลการกคู้ ืนข้อมลู จากคำสง่ั Delete เท่านั้น โดยมีรูปแบบคำส่ังคือ Format drive: /P:Passes EnCase FTK ProDiscover เช่น Format G: /P:5 หมายถึงการสั่งให้ Format ไดร์ฟ Imager Imager 7.0.0.3 G: แล้วเขียน 0 ทับลงในทุกตำแหน่งของไดร์ฟ G: ตาม จำนวนครั้งท่ีกำหนด คือ 5 คร้งั 7.10.00.103 3.1.2.0 การทดลองที่ 3 การ Overwrite เป็นการเขียน PDF    ขอ้ มูลอื่นทบั ลงบนตำแหน่งเดมิ ของขอ้ มูลทีต่ ้องการปกปิด FILE    ร่องรอยหลักฐาน แบ่งออกเปน็ 2 กรณี คอื FOLDER XLSX    - Overwrite แบบใช้ซอฟต์แวร์ปกปิดร่องรอย PNG    หลักฐาน ได้แก่ Sdelete 2.02 และ Eraser 6.2.0.2986 JPG    โดยตงั้ คา่ การเขยี นทบั ตั้งแต่ 1 ครงั้ แล้วเพิ่มขนึ้ ทลี ะ 1 จน DOCX    ซอฟต์แวร์นติ ิวทิ ยาศาสตร์ทัง้ 3 โปรแกรมไมส่ ามารถกู้คืน GIF    ข้อมลู หลักฐานดิจิทลั ได้

124 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) จ า ก ต า ร า ง ท ี ่ 1 พ บ ว ่ า ซ อ ฟ ต ์ แ วร ์ นิ ติ ใชค้ ำส่งั Format ในรปู แบบ Format drive: /P:1 พบว่า วทิ ยาศาสตร์ทง้ั 3 โปรแกรม สามารถกู้คืนข้อมลู หลักฐาน การ Format โดยกำหนดให้ P มีค่าเท่ากับ 1 ไม่สามารถ ดจิ ิทลั ไดใ้ นสภาพท่สี มบูรณ์ 100% กู้คืนข้อมูลได้ ดังนั้น จึงไม่ได้ทำการทดลองกำหนดให้คา่ P เท่ากับ 3 5 และ 7 ตามทีไ่ ดอ้ อกแบบการทดลองไว้ ตารางที่ 2 การกู้คนื ข้อมลู จากคำส่ัง Format ชนดิ ข้อมลู ผลการกคู้ นื ข้อมูลจากคำส่ัง ตารางที่ 3 การกคู้ ืนข้อมลู จากการ Overwrite Format 1, 3, 5, 7 ครั้ง ชนิดข้อมูล ใช้ซอฟตแ์ วร์ในการ EnCase FTK ProDiscover Overwrite จำนวน 1 ครั้ง Imager Imager 7.0.0.3 EnCase FTK ProDiscover 7.10.00.103 3.1.2.0 Imager Imager 7.0.0.3 PDF    7.10.00.103 3.1.2.0 FILE    PDF    FOLDER FILE    XLSX    FOLDER PNG    XLSX    JPG    PNG    DOCX    JPG    GIF    DOCX    GIF    ตารางที่ 2 (ต่อ) ตารางที่ 3 (ตอ่ ) ชนิดขอ้ มลู ผลการกู้คนื ข้อมลู จากคำสั่ง ชนดิ ข้อมลู Format drive: /P: 1 ผลการกคู้ นื ข้อมลู จากการ EnCase FTK ProDiscover Overwrite โดยไมใ่ ช้ซอฟตแ์ วร์ Imager Imager 7.0.0.3 EnCase FTK ProDiscover Imager Imager 7.0.0.3 7.10.00.103 3.1.2.0 7.10.00.103 3.1.2.0 PDF    ลบข้อมลู ทง้ั หมด คร้งั ที่ 1 เขียนข้อมลู ทบั 324 MB FILE    PDF    FOLDER FILE    FOLDER XLSX    XLSX    PNG    PNG    JPG    JPG    DOCX    DOCX    GIF    GIF    จากตารางที่ 2 พบว่าเมือ่ ใช้คำสั่ง Format โดย ไมร่ ะบคุ ำสง่ั ย่อย (Switch) จำนวน 1 ครงั้ , 3 ครง้ั , 5 ครง้ั และ 7 ครั้ง ตามลำดับ ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 โปรแกรม สามารถกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ แต่กรณี

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 125 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ชนดิ ขอ้ มูล ผลการก้คู ืนข้อมูลจากการ ครง้ั ที่ 2 บนั ทึกไฟลข์ ้อมูลอื่นเพมิ่ ขนาด 281 MB สามารถ Overwrite โดยไม่ใชซ้ อฟตแ์ วร์ กู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ 5 ไฟล์ ครั้งที่ 3 บันทึก ไฟล์ข้อมูลอื่นเพิ่มขนาด 336 MB ไม่สามารถกู้คืนข้อมูล EnCase FTK ProDiscover หลักฐานดิจิทลั ได้ Imager Imager 7.0.0.3 7.10.00.103 3.1.2.0 อภปิ รายผล ลบข้อมลู ท้ังหมด คร้ังที่ 2 เขยี นข้อมลู ทบั เพ่ิม 281 MB ผลการวิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบการ ปกปิดรอ่ งรอยหลกั ฐานดจิ ทิ ัล ท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลการ PDF    กู้คืนข้อมูลของซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ มีประเด็นที่ FILE    สามารถนำมาอภปิ รายผลได้ ดงั นี้ FOLDER XLSX    1. วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 ที่ว่า “เพื่อ PNG    ศึกษาเทคนิคการปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัล ที่ส่งผล JPG    ต ่ อ ก า ร ก ู ้ ค ื น ข ้ อ ม ู ล ข อ ง ซ อ ฟ ต ์ แ ว ร ์ น ิ ต ิ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ” DOCX    สามารถอธิบายได้จากเทคนคิ การปกปดิ รอ่ งรอยหลักฐาน ลบขอ้ มลู ทงั้ หมด ครัง้ ท่ี 3 เขยี นข้อมลู ทับเพิม่ 336 MB ดิจิทัลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 3 เทคนิค PDF    ประกอบดว้ ย FILE    FOLDER - การปกปดิ ร่องรอยหลักฐานด้วยคำสัง่ Delete XLSX    ผลการวิจัยพบว่าการลบไฟลบ์ นระบบไฟลแ์ บบ NTFS นั้น PNG    ระบบปฏิบัติการจะทำการเปลี่ยนค่าใน MFT Header JPG    ของ MFT Entry ให้เป็น “0” ซึ่งหมายถึงไฟล์ถูกลบจาก DOCX    ค่าปกติคือ “1” ดังนั้น ข้อมูลไฟล์ที่ถูกลบจึงไม่ได้ถูกลบ ออกจากไดรฟ์ หรืออุปกรณ์บันทึกข้อมลู จริง ๆ ด้วยเหตผุ ล จากตารางที่ 3 พบว่าในกรณีปกปิดร่องรอย ดังกล่าวทำให้สามารถกู้คืนข้อมูลที่ถูกปกปิดร่องรอย หลักฐานด้วยการ Overwrite โดยใช้ซอฟต์แวร์ปกปิด หลักฐานด้วยคำสั่ง Delete ในระบบไฟล์แบบ NTFS ร่องรอยหลักฐาน 2 โปรแกรม คือ Eraser 6.2.0.2986 ภายใต้ระบบ ปฏิบัติการ Windows 7 กลับมาได้ในสภาพ และ Sdelete 2.02 และ ซึ่งตั้งค่าให้แต่ละโปรแกรมทำ ทสี่ มบรู ณ์ซ่ึงผลการวจิ ยั น้สี อดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ Lin X การเขียนทับ จำนวน 1 ครั้ง ผลการทดลองพบว่า (6) ที่พบว่าการลบไฟล์ในระบบไฟล์แบบ NTFS ถ้าหาก ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 โปรแกรม ไม่สามารถกู้ ข้อมูลเน้ือไฟล์ที่ ถูกลบยังไมถ่ กู เขียนทบั ด้วยไฟล์ข้อมูลอื่น คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ สำหรับกรณี Overwrite รายการดัชนีใน MFT Entry ยงั สามารถใช้อา้ งอิงไฟล์ท่ีถูก แบบไม่ใช้ซอฟต์แวร์ โดยทำการลบข้อมูลหลักฐานดิจิทลั ลบได้ และทราบขนาดของคลัสเตอร์ ย่อมกู้คืนไฟล์ข้อมลู ทั้งหมดแล้วบันทึกไฟล์ข้อมูลอื่นลงบนอุปกรณ์บันทึก ได้สำเร็จ โดยมีขั้นตอนในการกู้คืนไฟล์ข้อมูล 2 ขั้นตอน ขอ้ มูลท่ใี ช้เปน็ หลักฐานดจิ ิทลั ทีละไฟล์ ผลการกู้คืนข้อมูล คือ ขั้นตอนที่ 1 ต้องกู้คืนข้อมูลในส่วนที่เป็นเนื้อหาของ หลักฐานดิจิทัลของซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 ไฟล์ โดยทำการสแกนรายการใน MFT ทีละรายการเพ่ือ โปรแกรม คือ ครั้งที่ 1 เมื่อบันทึกไฟล์ข้อมูลอื่นขนาด รวบรวมรายการของ Entry ที่ถูกทำเครื่องหมายแสดงว่า 324 MB สามารถกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ 6 ไฟล์ ถูกลบ (Deletion Marker) ไว้ (ไบต์ที่ 22-23 ของ MFT

126 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Entry คือ 0x0000) จากนั้นให้วิเคราะห์แอตทริบิวต์ นี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ Wright C, Kleiman D, $DATA เพื่อตรวจสอบสถานะในการจัดสรรคลัสเตอร์ Sundhar S (8) ที่พบว่าการเขียนทับเพียงครั้งเดียวก็ หากสถานะเป็น 1 หมายความว่ากลุ่มข้อมูลเหล่านั้นถูก เพียงพอแล้วที่จะลบข้อมูลเพ่ือไม่ให้สามารถกูค้ ืนได้ และ เขียนทบั ด้วยขอ้ มลู ใหม่ อธิบายเพิ่มเติมว่าบ่อยครั้งที่เกิดข้อโต้แย้งกันเกี่ยวกับ จ ำ น ว น ค ร ั ้ ง ท ี ่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร เ ข ี ย น ข ้ อ ม ู ล ทั บ - การปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยคำสั่ง (Overwriting) ซึ่งขัดแย้งกับผลการวิจัยของ ปีเตอร์ กัท Format จากผลการทดลองพบว่าการใช้คำสั่ง Format แมนน์ ท่ีพบว่าตอ้ งทำการเขยี นทบั มากถึง 35 คร้ัง ข้อมูล แบบไม่ระบุคำสั่งย่อยเพื่อปกปิดร่องรอยหลักฐานดิจิทัล จงึ จะปลอดภยั จากการเข้าถึงของบุคคลทไี่ ม่ไดร้ บั อนุญาต จำนวน 1 3 5 และ 7 ครั้ง ตามลำดับ สามารถค้นพบ โดยอธิบายว่าเมื่อเขียนข้อมูลใหม่ทับข้อมูลเดิมบนไดร์ฟ ร่องรอยของขอ้ มลู ดิจทิ ัลทถี่ ูกปกปดิ รอ่ งรอยหลักฐานด้วย แบบแมเ่ หล็ก ข้อมูลใหมท่ ่เี ขยี นไปยังไดรฟ์ อาจไมส่ ามารถ คำสั่ง Format จึงกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ โดย เขียนกลับไปยังตำแหน่งที่แน่นอนของข้อมูลต้นฉบับได้ จำนวนครั้งของการใช้คำสั่ง Format ไม่มีผลต่อการกู้คืน โดยการเปลี่ยนบิตของข้อมูลเดิมจะไม่ได้เปลี่ยนจาก 0 ข้อมูลแต่อย่างใด ซึ่งผลการวิจัยนี้สอดคล้องกับรายงาน เป็น 1 หรือจาก 1 เป็น 0 พอดี แต่จะมีส่วนที่เหลื่อมกัน ของ Blancco Technology Group (7) ที่พบว่าผลการ เช่น เปลี่ยนจาก 1 เป็น 0.95 หรือ 1.05 เป็นต้น ดังน้ัน สำรวจข้อมูลของเจ้าหน้าที่ฝ่ายไอทีมากกว่า 400 คน ถ้าสามารถอ่านข้อมูลดิบที่อยู่บนไดร์ฟ แล้วนำไป จากประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก สหราช วเิ คราะหร์ ปู แบบ (Pattern) การเปลี่ยนคา่ บติ ของข้อมูล อาณาจักร เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น จีน และอินเดีย ได้ จะทำให้ทราบว่าข้อมูลที่ถูกเขียนทับมีค่าเปน็ อะไรมา เกีย่ วกบั แนวทางการทำลายข้อมลู จากไดรฟ์ ท่ไี ม่ได้ใช้งาน ก่อน โดยสามารถใช้กลอ้ งจุลทรรศน์แรงแมเ่ หลก็ (MFM: แล้วมีเจ้าหน้าที่ไอทีร้อยละ 53 ซึ่งเกินกว่าครึ่งหนึ่งของ Magnetic Force Microscope) ตรวจดูค่าการจัดเรียง ผู้เชี่ยวชาญด้านไอทีจากทั่วโลก ลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ของสนามแม่เหล็กบนพื้นผิวของไดร์ฟได้ แต่ในงานวิจัย แล็ปท็อป ไดร์ฟภายนอก และเซิร์ฟเวอร์ ด้วยวิธีที่ ไม่ไดย้ ืนยนั ว่าสามารถกูค้ นื ขอ้ มลู ได้จรงิ เพยี งแตบ่ อกว่ามี สามารถ กู้คืนได้ง่าย โดยร้อยละ 31 ใช้วิธี Delete โดย ความเปน็ ไปได้เท่านั้น นอกจากนี้ Feenberg D (9) ยงั ได้ ลากไฟล์ไปที่ Recycle Bin และร้อยละ 22 ใช้วิธี ศึกษาเกี่ยวกับการอ่านข้อมูลที่เขียนทับของหน่วยงาน Format ไดรฟ์ ทั้งหมด ซง่ึ การลบข้อมลู ทั้งสองวธิ ีสามารถ ขา่ วกรอง โดยกลา่ วว่างานวิจัยของกทั แมนน์ ถูกใช้อา้ งอิง กู้คืนข้อมูลได้ สำหรับกรณีใช้คำสั่ง Format ที่ระบุ มาหลายสิบปีทำใหเ้ กิดความเช่ือที่ว่าหนว่ ยงานข่าวกรอง Switch โดยมีรูปแบบคำสั่งเป็น Format drive: /P:1 ของสหรัฐอเมริกามีเครื่องมือที่สามารถกู้คืนข้อมูลที่ถูก เป็นการสั่งให้จัดรูปแบบของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่เป็น เขียนทับได้ แต่จนถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีข้อพิสูจน์หรือการ ห ล ั กฐา นด ิ จ ิ ทั ล ให ้ ม ี ร ะ บ บ ไ ฟล ์ ที ่ เ ห ม า ะ กั บ ยืนยันอย่างเป็นทางการวา่ สามารถทำไดจ้ รงิ ประกอบกับ ระบบปฏิบัติการที่ใช้ พร้อมทั้งเขียน 0 ซึ่งเป็นตัวเลข ในปี 2003 กัทแมนน์ได้ออกมายอมรับว่าในส่วนท่ี แสดงสถานะว่าเป็นพื้นที่ว่าง ลงบนทุกตำแหน่งบน เกีย่ วกบั การเขยี นข้อมลู ทับ (Overwritten Sectors) บน อุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้เป็นหลักฐานดิจิทัล ซึ่งคำส่ัง ไดร์ฟสมัยใหม่ (Modern Drives) ไม่สามารถอ่านค่าโดย Format drive: /P: 1 มีลักษณะเหมือนกันกับการปกปิด ใช้เทคนิคที่ระบุไว้ในงานวิจัยของเขาในปี 1996 ได้ แต่ ร่องรอยหลักฐานด้วยการ Overwrite ดังนั้น ถึงแม้จะ เขาไม่ได้ถอนการอ้างสิทธิ์ในงานวิจัยที่เกี่ยวกับไดร์ฟรุ่น เป็นการเขยี นทบั เพียงครั้งเดยี วแตก่ ็ทำให้ทกุ ตำแหน่งของ เกา่ ดังน้นั การกขู้ ้อมูลที่ถกู เขยี นทบั ไปแลว้ ดว้ ยการส่องดู ข้อมูลเนื้อไฟล์เดิมที่ต้องการกู้คืนถูกแทนที่ด้วย 0 จึงไม่ สนามแม่เหล็กจึงไม่สามารถทำได้บนไดร์ฟสมัยใหม่ สามารถกคู้ ืนข้อมลู ที่เปน็ หลกั ฐานดจิ ิทลั ได้ ซึง่ ผลการวจิ ยั

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 127 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ในทางปฏิบัติหากต้องการทำลายข้อมูลเก่า การเขียน 2. จากวัตถปุ ระสงค์ของการวิจัยในข้อที่ 2 ทีว่ ่า ขอ้ มูลทบั ครงั้ เดียวในตำแหนง่ ทถี่ ูกตอ้ งกท็ ำให้ไม่สามารถ “เพื่อเปรียบเทียบเทคนิคการปกปิดร่อยรอยหลักฐาน ก้คู นื ขอ้ มลู ได้แล้ว ดิจิทัลแต่ละเทคนิคที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการกู้คืน ข้อมูลของซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์” เนื่องจากเป็น - การปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยการ งานวิจัยที่ต้องการสังเกตว่าการปกปิดร่องรอยหลักฐาน Overwrite แบ่งเป็น 2 กรณี คือ ในกรณีใช้ซอฟต์แวร์ ดิจทิ ัลแต่ละเทคนิคส่งผลตอ่ การกูค้ ืนขอ้ มูลของซอฟตแ์ วร์ ปกปิดร่องรอยหลักฐาน พบว่าการตั้งค่าให้ซอฟต์แวร์ให้ นิติวิทยาศาสตร์อย่างไร หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ เขียนข้อมูลทับ 1 ครั้ง ทำให้ไม่สามารถกู้คืนข้อมูล ต้องการทราบถึงผลการกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลที่ถูก หลักฐานดิจิทัลได้ เนื่องจากเป็นเขียนข้อมูลทับทุก ปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยเทคนิคต่าง ๆ เท่านั้น จึง ตำแหน่งบนอุปกรณ์บันทึกข้อมูลโดยมีการกำหนด ไม่ได้ พิจารณาในด้านประสทิ ธภิ าพของซอฟต์แวร์ ไดแ้ ก่ รูปแบบ การเปลี่ยนค่าบิตของข้อมูลในการเขียนทับไว้ หลายรูปแบบ ซึ่งผลการวิจัยนีส้ อดคล้องกับงานวิจัยของ - ด้านความคุ้มค่า เช่น เป็นซอฟต์แวร์ที่มี Yusof NA, Abdullah S, Senan MF, Abidin NZ, Sahri ฟงั กช์ ันหลากหลายเม่ือเทยี บกบั ราคา MB, Binti SN (10) ที่พบว่าการทำลายข้อมูลให้ไม่ สามารถกู้คืนได้ (Data sanitization) ใช้วิธีการเขียนทับ - ด้านคุณภาพ เช่น เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถ ในการทำลายขอ้ มลู โดยกำหนดรปู แบบการเปลี่ยนคา่ บติ สแกนหาไฟล์ที่ถูกลบได้อย่างรวดเร็ว ไม่สิ้นเปลือง ของข้อมูล (Logical Data Bit Pattern) ในการเขียนทับ ทรัพยากร (Resource) ของระบบ (ใช้พื้นที่ในการติดต้ัง ไว้หลายรูปแบบ เพื่อให้แน่ใจว่าตำแหน่งของข้อมูลที่ โปรแกรมน้อย ใชห้ นว่ ยความจำนอ้ ย) ต้องการทำลายทั้งหมดถูกแทนที่ด้วยรูปแบบบิตการ เขียนทับข้อมูลที่เลือกใช้ โดยกล่าวว่าการลบ 35 คร้ัง - ด้านอื่น ๆ เช่น สร้างระบบป้องกันการ แบบกัทแมนน์ใช้เวลานานเกินไป นอกจากนี้ Kissel R, เขียนทับข้อมูลแบบซอฟต์แวร์ หรือ Software Write Regenscheid A, Scholl M, Stine K (11) ฝ ่ า ย ค วา ม Blocker ได้ วิเคราะห์ระบบอิมเมจไฟล์ได้ รองรับ ปลอดภัยคอมพิวเตอร์ของ NIST ได้จัดทำคู่มือเป็น ภาษาไทย เป็นต้น เอกสารเผยแพร่ NIST 800-88 (Guidelines for Media Sanitization) เพื่อยืนยันว่าการเขียนทับข้อมูลครั้งเดียว ดังนั้น ประสิทธิผลในการกู้คืนข้อมูลหลักฐาน เพียงพอต่อการป้องกันข้อมูลที่ถูกลบจากการพยายามกู้ ดจิ ทิ ลั ของซอฟต์แวรน์ ติ ิวทิ ยาศาสตร์ทัง้ 3 โปรแกรมจงึ ไม่ คืนข้อมูลใด ๆ สำหรับกรณีการ Overwrite โดยการลบ แตกตา่ งกัน น่นั คือ ไฟลข์ อ้ มูลทยี่ งั ไม่ถูกเขยี นทับสามารถ ข้อมูลทั้งหมดแล้วเขียนข้อมูลอื่นทับทีละไฟล์ ผลการ กคู้ ืนได้ ส่วนไฟลข์ อ้ มลู ทถ่ี กู เขียนทับแล้วบางส่วนหรือถูก ทดลองพบว่าเมื่อเขียนข้อมูลอื่นลงบนอุปกรณ์บันทึก เขียนทับทั้งหมดไม่สามารถกู้คืนได้ แต่ในความเป็นจริง ข้อมูลจนเกือบเต็มความจุแล้วจะทำให้ไม่สามารถกู้คืน ซอฟตแ์ วรน์ ติ วิ ิทยาศาสตร์ยงั มีช่องทางสำหรับให้ผู้ใช้งาน ข้อมูลได้ เนื่องจากไฟล์ข้อมลู หลักฐานดิจิทัลถูกเขียนทบั ที่มีความสามารถด้านการเขียนโปรแกรมทำการพัฒนา ด้วยไฟล์อื่นทำให้เนื้อไฟล์เสียหาย จึงสรุปได้ว่าในระบบ ซอฟต์แวร์ได้ตามความต้องการ เช่น โปรแกรม EnCase ไฟล์แบบ NTFS เมื่อมีการ ลบไฟล์ข้อมูลแล้วสามารถกู้ รองรับการเขียนโปรแกรมสคริปต์ชื่อว่า EnScript ที่ คืนได้ หากยังไม่มีการบันทกึ ไฟล์ข้อมูลอื่นทับในตำแหนง่ อนุญาตให้ผู้ใช้งานสร้างสคริปต์ด้วยการใช้ภาษา C++ ของไฟล์ขอ้ มูลเดมิ หรือ JavaScript สำหรับใช้ในการตรวจสอบค้นหาไฟลท์ ี่ ต้องการเฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษ และมี API ซึ่งบรรจุ ชุดคำสั่งต่าง ๆ เอาไว้ภายในเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรม สามารถเรียกใช้งานได้ทันที โดยไม่จำเป็นต้องเขียน โปรแกรมในสว่ นนั้น ๆ เองทัง้ หมด หรือหากใชซ้ อฟต์แวร์

128 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) นิตวิ ทิ ยาศาสตรป์ ระเภท Commercial Ware จะทำให้กู้ จริง ๆ ทำให้สามารถกู้คืนข้อมูลที่ถูกปกปิดร่องรอย คืนข้อมูลเนื้อไฟล์ที่ยังไม่ถูกเขียนทับหรือมีร่องรอยให้ หลักฐานด้วยคำสั่ง Delete กลับมาได้ในสภาพที่สมบูรณ์ กู้คืนได้บางส่วนโดยคิดเปน็ ร้อยละจากขนาดไฟล์ข้อมูลท่ี 100% Physical Sector หรือตำแหน่งของข้อมูล ก่อนใช้ กู้คืนได้ เช่น กู้คืนได้ 35% 50% หรือ 75% เป็นต้น ซ่ึง คำสั่ง Delete และหลังจากใช้คำสั่ง Delete คือตำแหน่ง สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ ศุภชัย หว่ันแสง (12) ท่ีอธิบาย เดิมไม่มีการเปลย่ี นแปลง แสดงดังรปู ที่ 5 ไว้ว่าซอฟต์แวร์กู้คืนข้อมูลที่ใช้สำหรับพิสูจน์หลักฐาน ดิจิทัล (Digital Forensic) เปิดช่องให้ผู้ใช้งานปรับปรุง การใช้งานเพิ่มเติมหรือที่เรียกว่า Plugin ได้โดยจะต้อง ทำการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมเอง ซึ่งจะสะดวกกว่าการ เขียนโปรแกรมตั้งแต่แรก เนื่องจากจะมี Application Programming Interface (API) โดยในส่วนนี้ผู้ที่ใช้งาน จำเป็นจะต้องเข้าใจทั้งในส่วนของ API และกระบวนการ ทำงานของระบบจดั การไฟลเ์ พ่ือให้สามารถกู้คืนข้อมูลได้ อย่างถูกต้อง สรุปผล จากผลการศึกษาพบว่าการปกปิดร่องรอย รปู ท่ี 5 ตำแหน่งของขอ้ มูลบนหลักฐานดจิ ิทลั หลักฐานแต่ละเทคนิคส่งผลต่อประสิทธิผลในการกู้คืน ขอ้ มลู หลักฐานดิจทิ ลั ดังนี้ 2. การปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยคำสั่ง Format แบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีใช้คำสั่ง Format 1. การปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยคำส่ัง แบบไม่ระบุคำสั่งย่อย (Switch) เมื่อทำการ Format Delete สามารถกู้ข้อมูลคืนได้ในสภาพที่สมบูรณ์ 100% จำนวน 1 3 5 และ 7 ครั้ง ตามลำดับ พบว่าสามารถพบ และตำแหน่งของข้อมูล (Physical Sector) ในหลักฐาน ร่องรอยของขอ้ มูล โดยสามารถกู้คนื ขอ้ มลู จากการใชค้ ำสั่ง ดิจิทัลที่ถูก Delete ไม่มีการเปลี่ยนตำแหน่ง เนื่องจาก Format ได้จริง และจำนวนครั้งในการ Format ไม่มีผล ระบบไฟลแ์ บบ NTFS ภายใต้ระบบปฏบิ ตั ิการ Windows ต่อการกู้คืนข้อมูลแต่อย่างใด สำหรับกรณีใช้คำส่ัง 7 จะสรา้ ง Master File Table (MFT) ขนึ้ มาโดยอตั โนมัติ Format แบบระบุ Switch โดยกำหนดรูปแบบคำสั่งเป็น MFT เป็นส่วนที่ใช้เก็บข้อมูลรายละเอียดของไฟล์และ Format drive: /P:1 (1 คือจำนวนครั้งในการ Format) ไดเร็กทอรี่ทั้งหมด โดยมีการเก็บข้อมูลเป็น Entry หรือท่ี พบว่าไม่สามารถกู้คืนข้อมลู หลักฐานดิจิทัลได้ จากผลการ เรียกว่า MFT Entry ข้อมูลรายละเอียดของ MFT Entry ทดลองดังกล่าวอธิบายได้ว่าการใช้คำสั่ง Format โดยไม่ ถูกเรียกว่าเมทาดาต้า (Metadata) เก็บไว้ในไฟล์ $MFT ระบุคำสั่งย่อยสามารถกู้คืนข้อมูลดิจิทัลได้โดยมีช่ือ ส่วนข้อมูลเนื้อไฟล์เก็บใน $DATA การลบไฟล์บนระบบ แตกต่างจากไฟลข์ ้อมูลต้นฉบับเนื่องจากทุกครัง้ ที่ใชค้ ำส่งั ไฟล์แบบ NTFS นัน้ Huang W, Meisheng Y (13) อธบิ าย Format จะมีการสร้างไฟล์ $MFT ใหม่ ไปแทนไฟล์ ว่าระบบ ปฏิบัติการจะทำการเปลี่ยน Flag ในตำแหน่ง $MFT เดิม ทำให้ข้อมูลภายใน $MFT เดิมถูกทำลาย ไบตท์ ี่ 16 ใน MFT Header ของ MFT Entry ให้เปน็ “0” ไฟล์ขอ้ มูลหลกั ฐานดจิ ิทลั ทก่ี ้คู ืนได้จึงมีชอื่ แตกต่างกันตาม ซง่ึ หมายถึงไฟล์ถูกลบจากค่าปกติคือ “1” ข้อมูลไฟล์ที่ถูก ลบจึงไม่ได้ถูกลบออกจากไดร์ฟหรืออุปกรณ์บันทึกข้อมูล

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 129 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ที่ใช้ในการกู้คืนข้อมูล ซ่ึง ที่ชัดเจนว่าไดรฟ์ได้รับการลบข้อมูลด้วยวอฟต์แวร์ล้าง สอดคล้องกับงานวิจัยของ ศุภชัย หวั่นแสง (12) เกี่ยวกับ ดิสก์ หลักฐานแสดงการล้างข้อมูลในอุปกรณ์บันทึกข้อมูล การกู้คืนข้อมูลจากซอฟต์แวร์คงสภาพฮาร์ดดิสก์ ซึ่งจาก ด้วยคำสง่ั Format drive: /P:1 แสดงดงั รูปท่ี 6 ผลการวิจัยพบวา่ การกูค้ ืนขอ้ มูลทห่ี ลงเหลือจากซอฟต์แวร์ คงสภาพฮาร์ดิสก์ เมื่อกู้คืนข้อมูลได้ทั้งในส่วนของข้อมูล รปู ที่ 6 การลา้ งข้อมูลด้วยคำสัง่ Format MFT Entry และข้อมูลเนื้อไฟล์จะทำให้สามารถนำมาหา 3. การปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยการ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล MFT Entry และข้อมูลเน้ือ ไฟล์ด้วยขนาดและชนิดของไฟล์ ดังนั้น จึงทำให้สามารถ Overwrite จากผลการทดลองพบว่าข้อมูลดิจิทัลที่ถูก ทราบได้ว่าเนื้อไฟล์ที่กู้คืนมาได้นั้นมีชื่อไฟล์และ ปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยการ Overwrite เป็นการลบ รายละเอียดท่เี ก่ยี วข้องกับไฟล์หรือไม่ ข้อมูลแบบถาวร และไม่สามารถกู้คืนข้อมูลซึ่งเป็น หลักฐานดิจิทัลได้ โดยแบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีใช้ สำหรับกรณีการใช้คำสั่ง Format drive: /P:1 ซอฟต์แวร์ที่มีความสามารถในการ Overwrite เป็น เป็นการสงั่ ให้จัดรูปแบบของอุปกรณบ์ ันทึกข้อมูลที่ใช้เป็น เครื่องมือในการปกปิดร่องรอยหลักฐาน จำนวน หลักฐานดิจิทลั ใหม้ รี ะบบไฟล์ท่ีเหมาะกับระบบปฏิบัติการ 2 โปรแกรม คือ Sdelete 2.02 และ Eraser 6.2.0.2986 ที่ใช้พร้อมทั้งเขียน 0 ซึ่งเป็นตัวเลขแสดงสถานะว่าเป็น พบว่าซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 โปรแกรม ไม่ พื้นที่ว่างลงบนทุกตำแหน่งของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้ สามารถกู้คืนข้อมูลที่ถูกปกปิดร่องรอยหลักฐานด้วยการ เป็นหลักฐานดิจิทัล จำนวน 1 ครั้ง ทำให้ตำแหน่งของ Overwrite จำนวน 1 รอบได้ เน่ืองจากการปกปดิ รอ่ งรอย ข้อมูลเนื้อไฟล์เดิมที่ต้องการกู้คืน ถูกแทนที่ด้วย 0 จึงไม่ หลักฐานด้วยการ Overwrite ใช้วิธีการเขียนข้อมูลอื่น ๆ สามารถกู้คืนข้อมูลที่เป็นหลักฐานดิจิทัลได้แม้จะถูก ทับลงไปบนตำแหน่งของข้อมูลเดิมเพื่อป้องกันไม่ให้ เขียน 0 ทับเพียง 1 ครั้ง แต่เป็นการเขียนทับทุกตำแหนง่ สามารถนำข้อมูลเดิมกลับไปใช้ได้อีก ทำให้ข้อมูลในส่วน บนอุปกรณ์บันทึกข้อมูล ซึ่งสามารถสังเกตได้จากผลการ ของ MFT และขอ้ มูลเน้ือไฟล์ถูกทำลาย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ที่แสดงผล ในรูปแบบของค่า Hex (เลขฐานสิบหก) เมื่อใช้คำส่ัง กรณี Overwrite ด้วยวิธีลบข้อมูลหลักฐาน Format drive: /P:1 จะมชี ุดตวั เลข 0 ตอ่ เนื่องกัน จงึ เป็น ดิจิทัลทั้งหมดแล้วเขียนข้อมูลอื่นทับลงไปทีละไฟล์จน หลักฐานสำคัญที่ทำให้ทราบว่าอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้ เกือบเต็มความจุของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่ใช้เป็น เป็นหลักฐานดิจทิ ัลถูกล้างข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์หรือคำส่ัง หลักฐานดิจิทัล โดยมีขั้นตอนการทดลองคือ นำ USB ล้างข้อมูล สอดคล้องกับที่ แดนเนียล แอลอี (14) อธิบาย Flash drive ขนาดความจุ 1 GB ซึ่งใช้เป็นหลักฐาน ไว้ และสุนีย์ สกาวรัตน์ ได้นำมาแปลลงในหนังสือการ ดิจิทัลไปลบข้อมูลทั้งหมด แล้วบันทึกไฟล์ข้อมลู อื่นลงไป ตรวจพิสูจน์หลักฐานดิจิทัลสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพ ทลี ะไฟล์ จำนวน 3 คร้ัง คือ กฎหมาย: เข้าใจพยานหลักฐานดิจิทัลจากขั้นตอนหมาย ถึงหอ้ งพิจารณาคดี ว่าซอฟตแ์ วรล์ บลา้ งขอ้ มูลถูกใช้ในการ ทำลายข้อมูลเพื่อที่จะทำให้ไม่สามารถกู้คืนได้โดยวิธีการ ตรวจพิสูจน์พยานหลักฐาน ซึ่งสามารถทำได้โดยการ เขียนทับเซกเตอร์ ด้วยเลขหนึ่งหรือเลขศูนย์หรือข้อมูล แบบสุ่ม หากสังเกตเห็นชุดตัวเลขศูนย์ต่อเนื่องแล้ว สำหรับผู้พิสูจน์พยานหลกั ฐาน ย่อมถือได้ว่าเป็นหลักฐาน

130 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) - ครัง้ ท่ี 1 NewFile_1.mp4 ขนาด 324 MB เอกสารอ้างองิ - ครง้ั ที่ 2 NewFile_2.mp4 ขนาด 281 MB 1. Microsoft Docs. How NTFS Works [Internet]. - ครั้งที่ 3 NewFile_3.mp4 ขนาด 336 MB Redmond, WA: Microsoft Corporation; 2009 พบว่าเมื่อทำการบันทึกไฟล์อื่นลงบนอุปกรณ์ [cited 2019 Sep 17]. Available from: บนั ทึกข้อมลู ทเ่ี ป็นหลักฐานดจิ ทิ ัลคร้ังท่ี 1 แล้วนำไปกู้คืน https://bit.ly/2RmmbBz ข้อมูลด้วยซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสาตร์ทั้ง 3 โปรแกรม สามารถกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ 6 ไฟล์ เมื่อบันทึก 2. Carrier B. File System Forensic Analysis. New ไฟล์อื่นเพิ่มลงไปในอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่เป็นหลักฐาน Jersey: Addison-Wesley Professional; 2005. ดิจิทัลครั้งที่ 2 แล้วนำไปกู้คืนด้วยซอฟต์แวร์นิติ 3. Painter Z. Silicon Power Blog [Internet]. Taipei: วทิ ยาศาสตรท์ ัง้ 3 โปรแกรม สามารถกูค้ ืนข้อมูลหลกั ฐาน Silicon Power. 2018 [cited 2020 April 15]. ดจิ ทิ ัลได้ 5 ไฟล์ และเมอ่ื บนั ทึกไฟลอ์ ืน่ เพ่มิ ลงบนอปุ กรณ์ Available from: https://bit.ly/3jhEP9c บนั ทึกข้อมลู ท่เี ป็นหลักฐานดิจิทัลครั้งที่ 3 แล้วนำไปกู้คืน 4. Shimpi AL. The SSD Anthology: Understanding ด้วยซอฟต์แวร์นิติวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 โปรแกรม พบว่าไม่ SSDs and New Drive from OCZ [Internet]. 2009 สามารถกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลได้ เนื่องจากในแต่ละ [cited 2020 April 3]. Available from: ครงั้ ที่เขียนไฟล์ทับลงไปในอุปกรณ์บันทึกข้อมลู ตำแหน่ง https://www.anandtech.com/Show/Index/27 ของไฟลใ์ หมไ่ ปทบั ตำแหน่งของไฟล์ข้อมลู หลักฐานดิจิทัล 38?cPage=4&all=False&sort=0&page=5 ที่ต้องการกู้คืน ทำให้เนื้อไฟล์ข้อมูลหลักฐานดิจิทัลเกิด 5. NetMarketShare.com [Internet]. Newport ความเสียหาย จนไมส่ ามารถกคู้ ืนได้ จากการวิจัยครั้งนี้จึงสรุปได้ว่าเทคนิคการ Beach, CA: Net Applications; 2017. [updated ปกปิดรอ่ งรอยหลกั ฐานดิจทิ ลั บนอปุ กรณ์บนั ทึกข้อมูลที่มี 2019 Feb 28; cited 2019 Mar 1]. Available ระบบไฟลแ์ บบ NTFS ภายใต้ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows from: https://netmarketshare.com/ 7 การกู้คืนข้อมูลหลักฐานดิจิทัลจะสำเร็จหรือไม่น้ัน 6. Lin X. Introductory Computer Forensics: A ขึน้ อยู่กบั วา่ เทคนิคนั้นทำใหเ้ นื้อไฟลเ์ สียหายหรือไม่ หาก hands-on Practical Approach. Basel: Springer เป็นเทคนิคที่แก้ไขเฉพาะในส่วนของเมทาดาต้า โดยไม่ Nature Switzerland AG; 2018. ทำให้เนือ้ ไฟล์เสียหายการกู้คืนขอ้ มูลหลกั ฐานดิจทิ ัลย่อม 7. Blancco Technology Group. Improper Data ประสบผลสำเร็จ แต่ถ้าหากทำให้เนื้อไฟล์เกิดความ Removal & Poor Enforcement of Data เสียหายย่อมไม่สามารถกู้คนื ขอ้ มลู ดิจิทัลน้ันได้ Retention Policies Create the ‘Perfect Storm’ กติ ติกรรมประกาศ for Data Breaches [Internet]. Austin, TX: ขอขอบคุณคณะนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียน Blancco; 2016 [cited 2018 Mar 1]. Available นายร้อยตำรวจที่สนับสนุนสถานที่ในการวิจัย และ from: https://bit.ly/3bUe5JT ขอขอบคุณกรมสรรพสามิตท่ีสนับสนุนทุนการศึกษา 8. Wright C, Kleiman D, Sundhar S. Overwriting Hard Drive Data: The Great Wiping Controversy. ICISS. 2008;4:243-57.

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 131 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 9. Feenberg D. Can Intelligence Agencies Read Overwritten Data? [Internet]. Cambridge, MA: National Bureau of Economic Research; 2013 [cited 2020 April 15]. Available from: https://www.nber.org/sys-admin/overwritten- data-gutmann.html 10. Yusof NA, Abdullah S, Senan MF, Abidin NZ, Sahri MB, Binti SN. Data Sanitization Framework for Computer Hard Disk Drive: A Case Study in Malaysia. IJACSA. 2019;10:398- 406. 11. Kissel R, Regenscheid A, Scholl M, Stine K. Guidelines for Media Sanitization [Internet]. Maryland: National Institute of Standards and Technology; 2014 [cited 2020 April 15]. Available from: http://dx.doi.org/10.6028/ NIST.SP.800-88r1/. 12. ศุภชัย หวั่นแสง. การกู้คืนข้อมูลจากซอฟต์แวร์คง สภาพฮาร์ดดิสก์ [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร; 2557. 13. Huang W, Meisheng Y. The Quickly Solving Method of File Recovery in Windows Environment. CSSE. 2008;3:859-62. 14. แดนเนียล แอลอี. การตรวจพิสูจน์หลักฐานดิจิทัล สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมาย: เข้าใจ พยานหลักฐานดิจิทัลจากขั้นตอนหมาย ถึงห้อง พจิ ารณาคดี. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยเู คชัน่ ; 2559.

132 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ผลของความเข้มข้นสารละลายออสโมตกิ ต่อการถ่ายเทมวลสารและคุณภาพของเมล่อนหลัง การออสโมซสิ Effect of Osmotic Solution Concentration on Mass Transfer and Quality of Melon after Osmosis สนุ ัน ปานสาคร* จตรุ งค์ ลังกาพนิ ธ์ุ ศุภณฐั พรกิ บญุ จันทร์ และ อาทพิ ัฒน์ ศรีชมุ พล Sunan Parnsakhorn*, Jaturong Langkapin, Supanut Phriknunchan and Artipat Srichumpol ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี จ.ปทมุ ธานี 12110 Department of Agricultural Engineering, Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thanyaburi, Pathumthani 12110, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: This research was to study the effect of osmotic solution Received: 8 May, 2020 concentration on mass transfer and quality of melon after osmosis. Melon Revised: 21 August, 2020 cubes (2x2x2 cm) were immersed in glucose at the concentration of 40, Accepted: 3 September, 2020 50 and 60°Brix for 0-5 hr. After the osmosis process for 5 hr, mass transfer Available online: 21 October, 2020 parameters namely, water loss (WL) solid gain (SG) and weight reduction DOI: 10.14456/rj-rmutt.2020.24 (WR), were evaluated. The result showed that concentrations of glucose Keywords: melon, osmosis, affected mass transfer. The use of a 60°Brix glucose solution showed the mass transfer, glucose highest (p0.05) water loss (21.81%), solid gain (5.31%) and weight reduction (16.44%). Thus, this sample had lower moisture content and higher total soluble solid content when compared with a fresh melon. The good qualities of melon were presented for all 3 concentrations solution was 5 hr. Then, the effect of the osmotic solution on the quality of the melon osmosis product was investigated. The melon which was immersed in 60°Brix glucose solution had the highest value in term of hardness as 27.20 N, lightness as 49.63 and total soluble solid as 34.20°Brix (p0.05) but the lower total color difference (∆E*) as 12.10, water activity (aw) as 0.899 and moisture content 76.34%wb than others.

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2019 133 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) บทคดั ย่อ ผา่ นกระบวนการแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ เช่น เมล่อน อบแห้ง เมล่อนแช่อิ่ม ไอศกรีมเมล่อน เป็นต้น เพื่อยืด งานวิจยั นม้ี วี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือศกึ ษาผลของความ อายการเก็บรักษาและเพิ่มความสะดวกในการขนส่ง อีก เข้มข้นสารละลายออสโมติกต่อการถ่ายเทมวลสารและ ทั้งในเมล่อนยังมีเอนไซม์ที่มีชื่อว่า Superoxide คุณภาพของเมล่อนหลังการออสโมซิส โดยนำเมล่อน Dismutase มีสรรพคุณช่วยต้านอนุมูลอิสระและลด ลูกบาศก์ (2x2x2 cm) มาแช่ในสารละลายนำ้ ตาลกลูโคส กระบวนการทางเคมภี ายในร่างกาย มวี ติ ามินซี วติ ามินเอ ที่ระดับความเข้มข้น 40, 50 และ 60°Brix เป็นเวลา เบต้าแคโรทีน แคลเซียม และธาตุเหล็ก ซึ่งสารอาหาร 0-5 ชั่วโมง หลังการออสโมซิสเมล่อนเป็นเวลา 5 ชั่วโมง ดังกล่าวล้วนแล้วแต่มีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อ คำนวณค่าการถ่ายเทมวลสาร ได้แก่ ปริมาณน้ำที่สูญเสีย ร่างกาย อีกทั้งเมล่อนนั้นเป็นผลไม้ที่ไม่มีไขมัน (WL) ปริมาณของแข็งทเ่ี พ่มิ ขึ้น (SG) และปริมาณน้ำหนกั คอลเรสเตอรอล แคลอรี่ต่ำ เหมาะสำหรับผู้ที่ดูแลสขุ ภาพ ที่ลดลง (WR) ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าความเข้มขน้ และผูท้ ก่ี ำลังควบคมุ น้ำหนกั เป็นอย่างย่ิง (1-3) นอกจากน้ี น้ำตาลกลูโคสมีผลต่อการถ่ายเทมวลสาร การใช้ ยังเป็นที่นิยมนำไปปลูกในกลุ่มเกษตรเนื่องจากเป็นพืชที่ สารละลายกลูโคส 60°Brix ทำให้เมล่อนมีปริมาณน้ำท่ี ใช้น้ำน้อย ราคาจำหน่ายอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างสงู อย่างไร สูญเสีย (21.81%) ปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น (5.31%) ก็ตามเมล่อนเป็นผลไม้ที่มีองค์ประกอบของน้ำสูง ดังนั้น และปริมาณน้ำหนักที่ลดลง (16.44%) มากที่สุด อายุการเก็บรักษาจึงส้ัน ประกอบกบั ในช่วงฤดูร้อนพบวา่ (p<0.05) ส่งผลให้เมล่อนมีปริมาณความชื้นลดลงแต่มี ผลผลิตเมล่อนจากเกษตรกรในแต่ละแห่งมีคุณภาพ ปริมาณของแข็งที่ละลายได้สูงขึ้นเมื่อเทียบกับเมล่อนสด ค่อนข้างต่ำกว่าเมล่อนในช่วงฤดูการอื่น ๆ ดังนั้นการนำ โดยเวลาที่ส่งผลต่อคุณภาพที่ดีของเมล่อนหลังการหลัง เมล่อนที่คุณภาพต่ำไม่ได้มาตรฐานเชน่ ค่าความหวานต่ำ การออสโมซิสในสารละลายทั้ง 3 ความเข้มข้นคือ ขนาดของผลเลก็ มาผา่ นกระบวนการแปรรูปเพ่ือเป็นการ 5 ชั่วโมง จากนั้นศึกษาผลของสารละลายออสโมติกต่อ เพิ่มมูลค่าหรือช่วยยืดอายุการเก็บรักษาจึงเป็นเรื่องท่ี คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์เมลอ่ นออสโมซสิ เมล่อนทผ่ี ่านการ น่าสนใจ หนึ่งในกระบวนการนั้นคือ “การออสโมซิส แช่ในสารละลายกลูโคส 60°Brix มีค่าต่างๆ สูงสุดดังน้ี (Osmosis)” หรือทรี่ จู้ ักกันคือ “การแชอ่ ิ่ม” วิธีการนี้เป็น ความแข็ง 27.20 N, ค่าความสว่าง 49.63 และปริมาณ การดึงน้ำออกบางส่วนจากชิ้นผักผลไม้ทำให้น้ำในผลไม้ ของแข็งทลี่ ะลายนำ้ ได้ 34.20°Brix (p0.05) แตม่ ีคา่ การ ลดลง โดยไม่จำเป็นต้องใช้ความร้อนสูงจึงเป็นวิธีลด เปลี่ยนแปลงของสี (∆E*) เท่ากับ 12.10, ค่าวอเตอร์ ปริมาณน้ำในผักผลไม้ที่ไม่รุนแรงและช่วยลดการ แอคติวิตี้ (aw) 0.899 และความชื้น 76.34%wb ต่ำกว่า เปลี่ยนแปลงลักษณะด้านสี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และ (p0.05) ตวั อย่างอืน่ คุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ได้ดีขึ้นเมื่อจะนำไป แปรรูปร่วมกับเทคนิคอื่น ๆ เช่น การอบแห้ง การทอด คำสำคัญ: เมล่อน ออสโมซสิ การถา่ ยเทมวลสาร กลโู คส และการแช่เยือกแขง็ เป็นตน้ (4-6) บทนำ การดึงน้ำออกจากอาหารด้วยวิธีออสโมซิส สามารถทำได้โดยส่วนใหญ่มักดำเนินการกับผักผลไม้ ซึ่ง เมล่อน (Cucumismelo var. inodorus) เป็น สามารถกำจัดน้ำออกจากอาหารโดยการนำอาหารแช่ใน ผลไม้ที่อยู่ในตระกูลแตงและมีการบริโภคกันอย่าง สารละลายที่มีความเข้มข้นสูง หรือมีคาวอเตอรแอคติวติ ้ี แพร่หลายทั้งในประเทศและส่งออกไปยังต่างประเทศ (Water activity: aw) ต่ำกวา่ อาหารนน้ั สารละลายที่นยิ ม เนื่องด้วยรสชาติที่หวาน มีกลิ่นหอม แถมยังมีสีสันที่ ใช้ ได้แก่ น้ำตาล (กลูโคส, ซูโครส, ฟรุคโตส) หรอื เกลือมา สวยงามน่ารับประทาน จึงนิยมนำมาบรโิ ภคสดหรอื นำมา

134 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ใช้ เตรียมเป นสารละลายออสโมติกอย่างกว้าง ข ว า ง วธิ ีดำเนินการวจิ ยั เนื่องจากมขี ้อดีหลายประการ เชน่ มีความสามารถในการ ละลายสูง ราคาถูก มีประสิทธิภาพที่ดีในการดึงน้ำออก ข้นั ตอนการเรียมวตั ถดุ บิ จากชิ้นอาหารและช่วยปรับปรุงรสชาติของอาหารหลัง การออสโมซิส (7, 8) นอกจากนี้ยังมีการนำกระบวนการ จัดซื้อเมล่อน (Cucumismelo var. indorus) ออสโมซิสมาใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพือ่ สุขภาพในอีก พันธุ์กรีนเน็ต ที่มีขนาดสม่ำเสมอไม่มีรอยตำหนิ วัดค่า หลายรปู แบบ เช่น ใช้นำ้ ตาลโอลโิ กฟรกุ โตสในการออสโม ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ระหว่าง 11-13°Brix นำมา ซิสมะเขือเทศ (9) การเติมแร่ธาตุหรือสารต้านอนุมูล ล้างด้วยน้ำสะอาด ปอกเปลือกผ่าครึ่งตัดส่วนที่เป็นเมล็ด อิสระในสารละลายออสโมติกในแอปเปิล (10) และการ ออกจากนั้นตัดเมล่อนเป็นชิ้นรูปลูกบาศก์เมตรขนาด เสริมสารประกอบฟีนอลิกจากเมล็ดองุ่นในแอปเปิล 2x2x2 cm. และนำไปวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและ กล้วย และ มันฝรั่ง (11) เป็นต้น ความแตกต่างระหว่าง เคมีเบอ้ื งต้น ความดันออสโมติกของสารละลายกับอาหารทำให้เกดิ แรง ขับ (Driving Force) ซึ่งทำให้เกิดการถ่ายเทมวลสาร ข้ันตอนการออสโมซิส ระหวา่ งสารละลายและอาหาร โดยนำ้ จะเกิดการเคล่อื นท่ี ออกจากสารละลายที่เจือจางผ่านเยื่อเลือกผ่าน นำเมล่อนที่ได้เตรียมไว้จากขั้นตอนแรกแช่ใน (Semipermeable Membrane) ในที่นี้คือเยื่อหุ้มเซลล์ สารละลายแคลเซียมคลอไรด์ 1% เป็นเวลา 10 นาที เพื่อ ไปสู่สารละลายที่มคี วามเข้มข้นมากกว่า ที่ล้อมรอบอยู่ใน ชว่ ยรกั ษาคุณภาพของช้ืนเมล่อนป้องกันความผิดปกติทาง ขณะเดียวกันจะเกิดการแพรของของแข็งจากสารละลาย สรีรวทิ ยา จากน้ันล้างดว้ ยนำ้ สะอาดและทงิ้ ไว้ให้สะเด็ดน้ำ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ไปยังชิ้นอาหาร (6, 12) ซึ่งการมีความ ทำการชั่งน้ำหนักและทดสอบปริมาณความชื้นของช้ิน เข้าใจเกี่ยวกับถ่ายเทมวลสารระหว่างสารละลายและ เมล่อนเริ่มต้นและนำเมล่อนไปแช่ในสารละลายกลูโคสที่ อาหารในระหว่างกระบวนการออสโมซิสเป็นสิ่งที่สำคัญ ได้จัดเตรียมไว้ 3 ระดับความเข้มข้น ได้แก่ 40, 50 และ สำหรับผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ทง้ั นีม้ รี ายงานวจิ ัยท่ที ำการศกึ ษาการ 60°Brix ในอัตราส่วนระหว่างเมล่อนและสารละลาย ถ่ายเทมวลสารระหว่างการออสโมซิสผลมะกรูด แตงไทย ออสโมติกเปน 1:10 (โดยน้ำหนัก) ที่อุณหภูมิห้อง โดย กล้วยไข่ (13-15) แต่ยังไม่มีรายงานวิจัยชัดเจนในส่วน ระหว่างการแช่เมล่อนในสารละลายกลูโคสทำการวัดการ ของการทำการศึกษาการถ่ายเทมวลสารระหว่างการ เปลี่ยนแปลงของน้ำหนักชิ้นเมล่อนเป็นเวลา 1, 2, 3, 4, ออสโมซิสเมล่อน ดังนั้นเพื่อทำความเข้าใจถึงพฤติกรรม และ 5 ชั่วโมง เมื่อครบเวลาที่กำหนดนำชิ้นเมล่อน ออก การถ่ายเทเทมวลสารในการออสโมซิสงานวิจัยนี้จึงมี จากสารละลายแลวล้างโดยให้น้ำไหลผ่านชิ้นเมล่อนเป็น วัตถุประสงค์ศึกษาผลของความเข้มข้นสารละลาย เวลา 30 วินาที วางพักบนตะแกรงให้สะเด็ดน้ำเป็นเวลา ออสโมติกต่อการถ่ายเทมวลสาร ได แก ปริมาณน้ำท่ี 2 นาที แลวซับให้แหงด้วยกระดาษ ชั่งน้ำหนักและหา สูญเสีย ปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น และปริมาณน้ำหนักที่ ความชื้นหลังการออสโมซิส (14) จากนั้นคำนวณหา ลดลง ในระหว่างการออสโมซิสและคุณภาพของเมล่อน ปริมาณการถ่ายเทมวลสารประกอบด้วย ปริมาณน้ำที่ หลงั การออสโมซสิ สูญเสีย (Water Loss; WL) ปริมาณของแข็งที่เพิ่มข้ึน (Solid Gain; SG) และปริมาณน้ำหนักที่ลดลง (Weight Reducing; WR) (16) ปริมาณนำ้ ทสี่ ญู เสยี (Water Loss; WL) คำนวณ ได้จากสมการที่ 1 WL(%) = (������������������������−������������������������) ������100 (1) ������������

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2019 135 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ปริมาณของแขง็ ทเ่ี พิม่ ข้ึน (Solid Gain; SG) สีเฉพาะเจาะจงโดยที่ค่า L* คือ ค่าความสว่าง คำนวณไดจ้ ากสมการท่ี 2 (Lightness) มคี ่าตัง้ แต่ 0-100 โดย 0 คอื สีดำ และ 100 คือ สีขาว สำหรับค่า a* คือค่าความเป็นสีเขียว SG(%) = [������������(1−������������)−������������(1−������������)] ������100 (2) (Greenness) เมื่อมีค่าเป็นลบและมีค่าความเป็นสีแดง ������������ (Redness) เมอ่ื มีค่าเปน็ บวก และคา่ b* คือ ค่าความเป็น ปรมิ าณน้ำหนกั ท่ีลดลง (Weight Reducing; สีเหลือง (Yellowness) เมื่อมีค่าเป็นบวกและค่าความ เป็นสีน้ำเงนิ (Blueness) เมื่อมีค่าเป็นลบ ซึ่งก่อนทำการ WR) คำนวณได้จากสมการท่ี 3 วัดค่าสี เครื่องวัดสีจะถูกปรับเทยี บความเท่ียงตรงของค่า สีด้วย Standard Calibration Plate ค่า L*,a* และ b* WR(%) = (������������−������������) ������100 (3) เท่ากับ 98.11, -0.11 and -0.08 ตามลำดับ โดยท่ี ������������ 4. การหาคา่ ความแตกต่างสโี ดยรวม (E*) ทำการเก็บข้อมูลค่า L*, a*, b* ที่วัดจาก ������������ คือ น้ำหนกั ตัวอยา่ งเริม่ ตน้ (g) เครื่องวัดคา่ ในแตล่ ะสภาวะการทดสอบโดยวดั คา่ สีเร่ิมต้น และภายหลงั การเปลีย่ นแปลงทเี่ วลาในการแช่สารละลาย ������������ คอื น้ำหนักตัวอย่างหลงั การออสโมซสิ ทเ่ี วลาใด ๆ (g) ท่ีระดับต่างๆ จากนั้นนำมาคำนวณหาค่าความแตกต่างสี โดยรวมด้วยสมการท่ี 5 (18) ������������ คือ ปริมาณความชื้นของตัวอย่างเริ่มต้น (g water/ E∗ = [(������∗0 − ������∗)2 + (������0∗ − ������∗)2 + (������0∗ − ������∗)2]1/2 g sample) (5) ������������ คือ ปริมาณความชน้ื ของตวั อยา่ งหลังการออสโมซิสท่ี โดยที่ เวลาใด ๆ (g water/g sample ) E∗ คอื ค่าความแตกต่างสีโดยรวม ������∗0, ������0∗,������0∗ คือ ค่าความสว่าง ค่าความเป็นสีแดง และค่า การวิเคราะหส์ มบัติทางกายภาพและเคมี ความเป็นสีเหลืองของเมล่อนสดที่ไม่ผ่าน 1. ปริมาณความช้ืน (Moisture Content) กระบวนการออสโมซสิ อ้างอิงวิธีการทดสอบจากมาตรฐาน AOAC ������∗, ������∗, ������∗ คือ ค่าความสว่าง ค่าความเป็นสีแดง และค่า (17) โดยการชั่งน้ำหนักตัวอย่าง 2 g (น้ำหนักก่อนอบ) ความเป็นสีเหลืองของเมล่อนที่ผ่าน อบแห้งด้วยตู้อบลมร้อน (Binder, Model FD 115, กระบวนการออสโมซิส Germany) ทีอ่ ุณหภูมิ 105°C เป็นเวลา 16 hr จากนนั้ นำ ตัวอย่างพร้อมภาชนะใส่ในโถดูดความชื้นทันทีเป็นเวลา 5. คา่ ความแขง็ (Hardness) 30 min และชั่งน้ำหนักหลังการอบ คำนวณหาค่า ทดสอบวัดคา่ โดยใชแ้ รงเฉือน (Shear force) ดว้ ย ความช้นื ด้วยสมการที่ (4) รายงานผลในหน่วยเปอร์เซ็นต์ เครือ่ งวดั เน้ือสัมผสั (Instron Universal Tester Machine, มาตรฐานเปยี ก (%wb) Model LRX Plus, UK) โดยใช้หัวตัด Warner Bratzler Blade ตัดตัวอย่างให้ขาดด้วยความเร็ว 50 mm/min ตัด %������������ = (������������−������������) ������100 (4) บริเวณด้านกลางของชิ้นเมล่อน และพิจารณาถึงค่าความ แข็ง (Maximum force) ของตัวอย่างจากการตัดเฉือนใน โดยท่ี ������������ หน่วยนิวตนั (N) ทำการทดลอง 3 ซำ้ ในแตล่ ะตัวอย่าง 6. ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ (Total ������������ คือ น้ำหนักตัวอย่างกอ่ นอบ (g) Soluble Solid, TSS) ������������ คือ น้ำหนักตัวอยา่ งหลังอบ (g) 2. ปรมิ าณน้ำอสิ ระ (aw) หาปริมาณน้ำอิสระ (aw) ด้วยเครื่องวัดปริมาณ น้ำอิสระ (AquaLab, 3TE, USA) 3. คา่ สี (Color) วัดค่าสีด้วยเครื่อง Color Difference Meter (Minolta, Model JC801, Tokyo, Japan) รายงานผล ในรูปของ L*, a*, b* ซึ่งทั้ง 3 ค่าเป็นการแสดงการวดั ค่า

136 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) คั้นน้ำจากตัวอย่างและวัดค่าปริมาณของแข็งที่ ซึ่งเกิดจากความแตกต่างของแรงดันออสโมติกระหว่าง ละลายน้ำได้ด้วยเครื่อง Hand Refractometer (Optika, ภายในเซลลข์องอาหารและสารละลายออสโมติกเกิดเป็น Model HR-190, Italy) ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส แรงขับ (Driving Force) ทำให้มีการถ่ายโอนมวลสาร บันทกึ คา่ จากน้นั ทำซำ้ อกี 2 ครง้ั ระหว่างเซลล์ของอาหารและสารละลายออสโมติก ใน การวเิ คราะหข์ ้อมูล ลักษณะสวนทางกันผ่านเยื้อหุ้มเซลล์ซึ่งทำหน้าที่เป็นเยื่อ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์ผลการ เลือกผา่ น (Semi-permeable Membrane) (19) ดังน้นั เมอ่ื ทดลองที่ระดับความแตกต่างทางสถิติ 95% (One–way นำเมล่อนมาผ่านกระบวนการออสโมซิสหรือที่เรียกว่าว่า analysis of variance (ANOVA)) และทำการเปรยี บเทยี บ “การแช่อิ่ม” เพื่อเป็นการถนอมอาหารโดยนำเมล่อนไปแช่ ค่าเฉลี่ยตามวิธีของ Duncan New’s Multiple Range ในสารละลายน้ำตาลกลูโคสที่มีความเข้มขน้ สูงพบว่าจะเกิด Test (DMRT) การถ่ายเทมวลสารด้านปริมาณน้ำที่สูญเสีย (Water Loss; WL) ปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น (Solid Gain; SG) และ ผลการศึกษาและอภปิ รายผล ปริมาณน้ำหนักที่ลดลง (Weight Reducing; WR) ในชิ้นเม การดึงน้ำออกดว้ ยวธิ ีการออสโมซิสเป็นการอาศัย ลอ่ นแสดงดังรูปที่ 1 ถงึ รูปท่ี 3 หลักการการเคลื่อนย้ายน้ำบางส่วนออกจากเนื้อเยื่ออาหาร รูปท่ี 1 ร้อยละการสูญเสยี นำ้ ของเมลอ่ นระหวา่ งกระบวนการออสโมซสิ 0-5 ชัว่ โมง จากการทดสอบผลของความเข้มข้นสารละลาย พบว่าร้อยละการสูญเสียน้ำของเมล่อนทั้ง 3 ระดับความ ออสโมติกต่อการถ่ายเทมวลสารในชิ้นเมล่อนดังรูปที่ 1 เข้มข้นของน้ำตาลกลูโคสมีแนวโน้มเข้าสู่สภาวะเริ่มคงตวั พบว่ารอ้ ยละการสูญเสียน้ำของเมล่อนเพม่ิ ขนึ้ ระหว่างการ ทั้งนี้เมื่อพิจารณาถึงระดับความเข้มข้นของสารละลาย แช่ในสารละลายกลูโคส 40-60oBrix โดยในช่วง 0-2 กลูโคสหลังการแช่เมล่อนเป็นเวลา 5 ชั่วโมง พบว่าท่ี ชั่วโมงแรก ที่มีการแช่เมล่อนในสารละลายกลูโคสทั้ง 3 60oBrix ให้ค่าร้อยละการสูญเสียน้ำสูงสดุ ที่ 21.81% และ ระดับความเข้มข้นมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นของร้อยละการ ลดหลั่นลงมาที่ 50oBrix และ 40oBrix เท่ากับ 19.32% สูญเสียน้ำอย่างรวดเร็วในลักษณะใกล้เคียงกัน โดยที่ 40, และ 17.68% ตามลำดบั เน่ืองจากน้ำจะเคลอ่ื นที่ผ่านเย้ือ 50 และ 60oBrix ให้ค่ารอ้ ยละการสญู เสียน้ำหลงั การแช่ใน หุ้มเซลล์ออกจากสารละลายที่เจือจางภายในเซลล์ไปสู่ สารละลายกลูโคส 2 ชั่วโมง เท่ากับ 9.13, 9.67 และ สารละลายน้ำตาลที่มีความเข้มข้นสูงมากกว่าที่ล้อมรอบ 10.67% ตามลำดับ จากนั้นที่การแช่เมล่อน 3-5 ชั่วโมง อยูด่ า้ นนอก ดงั นั้นจากการทีน่ ำเมลอ่ นไปแชใ่ นสารละลาย

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2019 137 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) น้ำตาลเข้มข้นจงึ ส่งผลให้ร้อยละการสูญเสียน้ำของเมล่อน เพ่ิมขึ้นหรอื ความชน้ื ลดลง (6, 12) รปู ที่ 2 รอ้ ยละปริมาณของแข็งทีเ่ พม่ิ ขึ้นของเมล่อนระหวา่ งกระบวนการออสโมซสิ 0-5 ชวั่ โมง รูปที่ 3 ร้อยละปริมาณนำ้ หนักที่ลดลงของเมล่อนระหว่างกระบวนการออสโมซิส 0-5 ช่วั โมง จากรูปที่ 2 แสดงการเปลี่ยนแปลงร้อยละ 0-2 ชั่วโมงแรก ให้ค่าร้อยละปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น ปริมาณของแข็งทีเ่ พิ่มขึน้ ของเมล่อนระหว่างกระบวนการ อย่างรวดเร็ว และมีค่าสูงกว่าการแช่เมล่อนในสารลาย ออสโมซิส 0-5 ชั่วโมง ซึ่งสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง กลูโคส 40oBrix และ 50oBrix ตลอดระยะเวลาของการแช่ ของร้อยละการสูญเสยี น้ำของเมล่อนระหว่างกระบวนการ อย่างไรก็ตามการแช่เมล่อนในสารละลายกลูโคส 50oBrix ออสโมซิส เนื่องจากการออสโมซิสทำให้เกิดการแพร่ของ ใหค้ ่าร้อยละปริมาณของแขง็ ทีเ่ พ่ิมขน้ึ ตามเวลาของการแช่ น้ำออกจากเซลล์เมล่อนไปยังสารละลายกลูโคส แต่กลับพบว่ามีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นที่น้อยกว่าการแช่เม ขณะเดียวกันตัวถูกละลายจากสารละลายแพร่เข้าสู่เซลล์ ล่อนในสารลายกลูโคส 40oBrix และ 60oBrix ทั้งนี้อาจ ของเมล่อนทำให้มีปริมาณน้ำลดลงและปริมาณของแข็ง เนื่องมาจากการเลือกชิ้นส่วนของเมล่อนที่นำมาทดสอบ เพิ่มขึ้น (20) จากรูปที่ 2 พบว่าระดับความเข้มข้นของ เปน็ บริเวณทแ่ี ตกตา่ งกันความหนาแนน่ ของชิน้ เมล่อนอาจ สารละลายกลูโคสมีผลต่อปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้นโดยที่ เกิดความแตกต่างจึงส่งผลต่ออัตราการออสโมซิสและ การแช่เมล่อนในสารลายกลูโคส 60oBrix ในช่วง อัตราการเพิ่มขึ้นของปริมาณของแข็ง ซึ่งการเลือกใช้

138 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) สารละลายออสโมติกความเข้มข้นสูงทำให้เกิดความ มากขึ้น น้ำในเนื้อเยื่อสามารถแพร่ออกมาในอัตราสูง แตกต่างของแรงดันออสโมติกมาก สามารถเร่งอัตราการ โดยเฉพาะในช่วงแรก ซ่ึงแสดงใหเ้ หน็ อย่างชัดเจนในรปู ที่ 3 ถา่ ยเทมวลสารในระหวา่ งการออสโมซิสได้ (15, 21) ในช่วง 0-3 ชั่วโมง ของท้งั 3 ความเข้มข้น แตอ่ ย่างไรก็ตาม จากรูปที่ 3 โดยภาพรวมของการทดลองพบว่า เมื่อเวลาผ่านไปช่วงหนึ่งน้ำจะแพร่ออกมาในอัตราที่ลดลง การใช้น้ำตาลกลูโคสความเข้มข้น 40, 50 และ 60oBrix ทั้งนี้เนื่องมาจากในช่วงแรกของการออสโมซิสเกิดความ ส่งผลให้รอ้ ยละปริมาณน้ำหนักที่ลดลงของเมล่อนหลังผา่ น แตกต่างของแรงดันออสโมติกระหว่างเซลล์เมล่อนกับ กระบวนการออสโมซิส 5 ชั่วโมง มีค่าเพิ่มขึ้นที่ 12.65%, สารละลายกลโู คสมากทำให้เกิดแรงขับสูงที่จะเกิดการถา่ ย 15.95% และ 16.44% ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าการแช่ โอนมวลมากและรวดเร็ว เมื่อเวลาในการออสโมซิสนานขน้ึ เมล่อนในสารละลายความเข้มข้นสูงทำให้เกิดการถ่ายเท ความเข้มข้นบริเวณรอบ ๆ ชิ้นเมล่อนจะลดลงเนื่องจากน้ำ มวลสารที่สูงกว่าการการแช่ในสารละลายความเข้มข้นต่ำ ภายในชิ้นเมล่อนแพร่ออกมาสู่สารละลายกลูโคสมากข้ึน อย่างไรก็ตามเวลาในการแช่ก็ส่งผลต่อการถ่ายเทมวลสาร สารละลายกลูโคสจึงมีความเข้มข้นลดลงกว่าช่วงแรกจึงทำ เช่นกัน ซึ่งพบว่าการใช้เวลาในการแช่เมลอ่ นในสารละลาย ให้แรงดันออสโมติกมคี ่าน้อยลงมีผลให้เกดิ แรงขับที่จะถ่าย กลูโคสนานมีโอกาสให้ชิ้นของเมล่อนสัมผัสกับสารละลาย โอนมวลน้อยและชา้ ลง (9, 19, 22) ตารางที่ 1 เปรียบเทียบปริมาณน้ำที่สูญเสีย ปริมาณของแข็งที่เพิม่ ข้ึน และปริมาณน้ำหนักท่ีลดลง หลังการออสโมซสิ เมลอ่ นท่เี วลา 5 ชวั่ โมง ความเขม้ ขน้ สารละลาย ปรมิ าณน้ำท่ีสญู เสีย คา่ เฉลยี่ ±SD ปรมิ าณน้ำหนกั ท่ลี ดลง กลโู คส (oBrix) WL (%) ปรมิ าณของแขง็ ทีเ่ พ่มิ ขนึ้ WR (%) SG (%) 40 17.68±0.87c 4.77±0.23b 12.65±0.78c 50 19.32±0.76b 3.03±0.11c 15.95±0.56b 60 21.81±0.34a 5.31±0.12a 16.44±0.32a * คา่ เฉลยี่ จากการทดลอง 3 ซ้ำ (ค่าเฉลย่ี ±SD.) ab อักษรที่แตกต่างกันในคอลัมน์เดียวกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT (mean± SD) จากตารางที่ 1 แสดงค่าการถ่ายเทมวลสารหลัง ความเข้มข้นสารละลายกลูโคส (40, 50 และ 60oBrix) การออสโมซิสเมล่อนในสารละลายกลูโคสทั้ง 3 ระดับ ทั้งนี้เนื่องจากที่ระดับดังกล่าวมีความเข้มข้นสูงจึงเกิด ความเข้มข้นเป็นเวลา 5 ชั่วโมง ซึ่งให้ค่าปริมาณน้ำท่ี แรงดันออสโมติกมาก นอกจากนี้การแช่เมล่อนใน สูญเสีย ปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น และปริมาณน้ำหนักที่ สารละลายออสโมติกความเข้มข้นสูงเป็นเวลานานทำให้ ลดลง สูงที่สุดเมื่อเทียบกับที่เวลา 0-4 ชั่วโมง ใน เกิดปรากฏการณ์พลาสโมไลซิส มีผลทำให้ความแข็งแรง ขณะเดียวกันท่ีการแช่เมล่อนในสารละลายกลโู คส 60oBrix ของผนังเซลล์ลดลงส่งผลให้เยื่อหุ้มเซลล์ยอมให้เกิดการ ให้ค่าปริมาณน้ำที่สูญเสีย ปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น และ ถ่ายเทมวลสารได้มาก (23) ในขณะเดียวกันพบว่าที่ระดับ ปริมาณน้ำหนักที่ลดลงสูงที่สุดที่ 21.81%, 5.31% และ ความเข้มขน้ ของสารละลายกลโู คส 40oBrix ใหค้ า่ ปริมาณ 16.44% ตามลำดับ และพบความแตกต่างอย่างมี น้ำที่สูญเสีย และปริมาณน้ำหนักที่ลดลงที่เวลาการแช่เม นยั สำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมอ่ื เทียบกนั ของทง้ั 3 ระดับ ล่อน 5 ชั่วโมงต่ำสุดท่ี 17.68% และ 12.65% ตามลำดบั

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2019 139 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Agarry and Owabor (24) ออสโมซิสต่ำมีผลให้เกิดการถ่ายเทมวลสารได้น้อยถึงแม้ ที่ศึกษาการออสโมซิสในกระเจี๊ยบเขียวพบว่าการใช้ จะใชเ้ วลาในการออสโมซสิ นาน สารละลายความเข้มข้นต่ำทำให้แรงขับในกระบวนการ ตารางท่ี 2 คา่ ความสว่าง (L*) คา่ ความเปน็ สแี ดง (a*) ค่าความเปน็ สีเหลือง (b*) ค่าการเปลย่ี นแปลงของสี (∆E*) ค่าวอ เตอร์แอคติวิตี้ (aw) และคา่ ปริมาณของแขง็ ที่ละลายน้ำได้ของเมลอ่ นหลังการออสโมซสิ 5 ชั่วโมง เมื่อแปรความเขม้ ขน้ ของสารละลายกลูโคส ความเขม้ ขน้ สารละลาย ค่าสี E* วอเตอร์แอคตวิ ติ ้ี ปริมาณของแข็ง กลูโคส (oBrix) a* ท่ลี ะลายน้ำได้ L* b* aw oBrix เมลอ่ นสด 60.32±0.56a -5.60±0.23c 27.81±0.80a - 0.906±0.005a 11.20±0.98d 40 44.63±1.35c -2.80±0.53b 26.63±1.01a 15.98±1.75a 0.887±0.003b 21.60±1.08c 50 45.07±1.96c -2.57±0.98ab 25.03±1.68a 15.79±2.85a 0.798±0.001c 26.87±0.95b 60 49.63±1.51b -1.53±0.02a 23.87±1.56a 12.10±2.06b 0.762±0.006d 34.20±0.99a * ค่าเฉล่ียจากการทดลอง 3 ซำ้ (คา่ เฉล่ยี ±SD.) ab อักษรที่แตกต่างกันในคอลัมน์เดียวกันมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT (mean± SD) 2 จุดมุ่งหมายหลักของการออสโมซิส คือการกำจัด ออสโมซิสเป็นการแปรรูปแบบไม่รุนแรง ซึ่งมีส่วนช่วยใน น้ำบางสว่ นออกจากผกั ผลไม้ แต่อย่างไรกต็ ามตอ้ งพจิ ารณา การรักษาการเปลี่ยนแปลงสีได้ดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ ลักษณะคุณภาพของผลิตภัณฑ์หลังการออสโมซิสร่วมด้วย การใช้ความร้อน (25) ความเข้มข้นของสารละลาย ดังนั้นจากตารางที่ 2 จึงแสดงค่าความสว่าง (L*) ค่าความ ออสโมติกเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อคุณภาพด้านสีของช้ิน เป็นสีแดง (a*) ค่าความเป็นสีเหลือง (b*) ค่าการ ผลไมห้ ลังการออสโมซสิ จากตารางท่ี 2 พบวา่ ค่าความสว่าง เปลี่ยนแปลงของสี (∆E*) ค่าวอเตอร์แอคติวิตี้ (aw) และค่า (L*) และค่าความเป็นสีแดง (a*) มีแนวโน้มลดลงอย่างมี ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้ของเมล่อนหลังการ นัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) หลังการออสโมซิสที่ความ ออสโมซิส 5 ชั่วโมง เมื่อแปรความเข้มข้นของสารละลาย เข้มข้นทั้ง 3 ระดับ เมื่อเทียบกับเมล่อนสด ในขณะที่มีการ กลูโคส (40, 50 และ 60oBrix) พร้อมทั้งเปรียบเทียบกับเม ลดลงของค่าความเป็นสีเหลือง (b*) เช่นกันแต่ไม่พบความ ล่อนสด ซึ่งพบว่าเมล่อนสดมีค่าปริมาณของแข็งที่ละลาย แตกต่างอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ทั้งนี้ยังสังเกต นำ้ ได้เท่ากับ 11.20oBrix ค่าวอเตอรแ์ อคติวติ ี้ 0.906 และมี พบว่าหลังการแช่เมล่อนที่ความเข้มข้นของสารละลาย ค่าสี L*, a* และ b* เท่ากับ 60.32, -5.60 และ 27.81 กลูโคสสูงขึ้นระหว่าง 40 ถึง 60oBrix ส่งผลต่อการเพิ่มข้ึน ตามลำดับ เมื่อนำเมล่อนสดไปผ่านการแช่ในสารละลาย ของค่า L* หรืออาจกล่าวได้ว่าเมล่อนหลังการออสโมซิส กลูโคสทค่ี วามเขม้ ขน้ ต่างๆ พบการเปล่ยี นแปลงดงั นี้ สวา่ งมากข้ึนไม่คลำ้ มสี เี หลืองลดลงและเม่ือพิจารณาค่าการ ปัจจัยแรกในการพิจารณาได้แก่ค่าสี เนื่องจากสี เปลี่ยนแปลงของสี (∆E*) พบว่ามีแนวโน้มลดลง (15.98- เป็นสมบัติกายภาพของอาหารที่มีผลต่อคุณภาพและการ 12.10) โดยไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ยอมรับของผู้บริโภค สีของอาหารมักเกิดการเปลี่ยนแปลง (p>0.05) ทก่ี ารแช่เมลอ่ นในสารละลายกลูโคสความเข้มข้น ไปได้ง่าย ในระหว่างกระบวนการแปรรูปอาหาร แต่การ 40oBrix และ 50oBrix ในขณะที่พบการลดลงอย่างมี

140 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) นัยสำคญั ทางสถิติ (p0.05) ของคา่ การเปล่ยี นแปลงของสี โดยตรงกบั ประสิทธภิ าพการแพร่ของนำ้ และตวั ถกู ละลาย (∆E*) เท่ากับ 12.10 ในการแช่เมล่อนในสารละลายกลูโคส โดยมีแนวโน้มคือเมื่อเพิ่มความเข้มข้นของสารละลาย ความเข้มข้น 60oBrix ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการออสโมซิส ออสโมติกส่งผลให้อัตราการถ่ายโอนมวลสารของน้ำและ สามารถช่วยลดการเปลี่ยนแปลงสีของผลิตภัณฑ์ได้ ตัวถูกละลายมีคา่ เพิ่มข้ึนและมีผลทำใหผ้ ลิตภัณฑ์สดุ ท้าย เนื่องจากสารละลายกลูโคสที่มีความเข้มข้นสูงโดยน้ำตาล มีคา่ ค่าวอเตอร์แอคติวิตี้ (aw) ต่ำลง (27) ดงั นั้นจงึ พบว่าที่ ทำหน้าที่เคลือบชิ้นเมล่อนไม่ให้สัมผัสกับออกซิเจนใน ความเข้มข้นของสารละลายกลูโคส 60oBrix ให้ค่า อากาศจึงมีสมบัติในการป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดชันทำให้ วอเตอร์แอคตวิ ิตี้ต่ำสุด ลดการเกดิ สีน้ำตาลท่เี กิดขึน้ รอบ ๆ ชน้ิ เมล่อนได้ (26) จากตารางท่ี 2 พบแนวโน้มของการเพิ่มขึ้น ค ่ า ว อ เ ต อ ร ์ แ อ ค ต ิ ว ิ ตี้ ข อ ง เ ม ล ่ อ น ห ล ั ง ก า ร อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ (p0.05) ของปริมาณของแขง็ ออสโมซิสมีแนวโน้มลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทีล่ ะลายน้ำได้เมอ่ื เทยี บระหว่างเมลอ่ นสดและหลังการแช่ (p0.05) ระหว่าง 0.906-0.762 ซึ่งสอดคล้องกับการ ในสารละลายกลูโคส โดยที่หลังการแช่เมล่อนใน ลดลงของปริมาณความชื้นเนื่องจากในการออสโมซิสจะ สารละลายกลูโคสความเข้มข้น 40, 50 และ 60oBrix มี ใช้สารละลายออสโมติกที่มีความเข้มข้นสูงกว่าความ ค่าปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้เท่ากับ 21.60, 26.87 เข้มข้นภายในชิ้นผักผลไม้เพื่อให้เกิดความแตกต่างของ และ 34.20oBrix ตามลำดับ นั้นคือการใช้สารละลาย แรงดันเกิดเป็นแรงขับให้มีการถ่ายโอนมวลสาร ระดับ ออสโมติกความเข้มข้นสูงมีผลทำให้เมล่อนมี ปริมาณ ความเข้มข้นของสารละลายออสโมติกจึงเกี่ยวข้อง ของแขง็ ทลี่ ะลายนำ้ ได้สูงหรือกลา่ วได้ว่าหวานขึ้นนน้ั เอง รูปที่ 4 ค่าความแขง็ และปรมิ าณความช้ืนของเมล่อนหลงั การออสโมซิส 5 ชั่วโมง เม่อื แปรความเข้มขน้ ของสารละลายกลโู คส ab อักษรที่แตกต่างกันในแต่ละสภาวะทดสอบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบโดย DMRT (mean± SD) รปู ท่ี 4 แสดงค่าความแขง็ และปรมิ าณความชื้น ล่อนในสารละลายกลูโคสความเข้มข้น 40, 50 และ ของเมล่อนหลังการออสโมซิส 5 ชั่วโมง เมื่อแปรความ 60oBrix มคี ่าความแข็งเทา่ กบั 12.85, 19.48 และ 27.20 เข้มข้นของสารละลายกลูโคส พบว่าเนื้อสัมผัสเป็นอีก N ตามลำดบั ทั้งนี้สอดคล้องกับปริมาณของแขง็ ทีล่ ะลาย หนึ่งในคุณสมบัติท่ีสำคัญของผลไม้ ดังนั้นค่าความแข็ง น้ำได้ที่เพิ่มขึ้นหลังการออสโมซิส เนื่องจากโมเลกุล ของเมล่อนสดมีค่า 11.44 N ซึ่งมีค่าต่ำสุดและมีแนวโน้ม นำ้ ตาลสามารถแทรกเข้าไปอยู่ในช่องว่างของเซลล์ ซึ่งทำ ให้เซลล์เมล่อนมีปริมาณของแข็งเพิ่มขึ้นจึงมีส่วนช่วยให้ เพิ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) หลังการแช่ม

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2019 141 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ชิ้นเมล่อนมีความแน่นเนื้อมากขึ้น นอกจากนี้อาจเป็นไป 60.32, -5.60 และ 27.81 ตามลำดับ เมื่อนำเมลอ่ นสดไป ได้ว่าโมเลกุลของกลูโคสที่แพร่เข้าไปในเซลล์ผลไม้ ผ่านการแช่ในสารละลายกลูโคสที่ความเข้มข้นต่าง ๆ สามารถสร้างพันธะไฮโดรเจนกับโพลีแซกคาไรด์ในผนัง พบว่าค่า L*, a* และ b* มีแนวโน้มลดลงหลังการ เซลล์ทำให้ผนังเซลล์มีความแข็งแรงมากขึ้นส่งผลให้เนื้อ ออสโมซสิ ทคี่ วามเข้มข้นทั้ง 3 ระดับ ในขณะเดียวกันท่ีค่า สมั ผัสของเมลอ่ นหลงั การออสโมซิสยังคงมคี วามแน่นเน้ือ การเปลี่ยนแปลงของสี (∆E*) พบว่ามีค่าลดลง (15.98- ดี (15, 28) 12.10) เช่นกัน หลังการแช่เมล่อนในสารละลายกลูโคส ความเข้มข้น 40-60oBrix มีผลทำให้เมล่อนมีปริมาณ ในขณะที่พบการลดลงของความชื้นเมล่อนหลงั ของแข็งที่ละลายน้ำได้สูงขึ้นซึ่งผลที่ได้เป็นไปในทิศทาง การออสโมซิสโดยเมล่อนสดมีค่าความชื้น 88.25%wb. เดียวกับค่าความแข็งของเมล่อนสดมีค่า 11.44 N และ เพม่ิ ข้นึ เท่ากับ 12.85, 19.48 และ 27.20 N หลงั การแชม่ และลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p0.05) หลังการ ล่อนในสารละลายกลูโคสความเข้มข้น 40, 50 และ แช่เมล่อนในสารละลายกลโู คสความเข้มข้น 40, 50 และ 60oBrix ตามลำดบั 60oBrix มีค่าชื้นเท่ากับ 81.87, 78.47 และ 76.34%wb ตามลำดับ ทั้งนี้เนื่องมาจากการออสโมซิสส่งผลให้น้ำ กิตตกิ รรมประกาศ ภายในเซลล์ของเมลอ่ นจะแพร่ออกจากเซลล์สู่สารละลาย กลูโคสในขณะที่ตัวถูกละลายหรือน้ำตาลจะแพร่เข้าสู่ ขอขอบคณุ สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร ภาควิชา ภายในเซลล์เมล่อน และสารบางอยา่ งท่ีมีอยู่ภายในเซลล์ วิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่สนับสนุน เมล่อน เช่น กรด อินทรีย์และเกลือแร่ จะแพร่ออกจาก สถานที่ในการทำวิจัย และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช เซลล์สู่สารละลายกลโู คส ทง้ั น้ีการถา่ ยโอนมวลสารหลักที่ มงคลธญั บุรที ี่สนับสนนุ ทนุ วจิ ยั และวสั ดอุ ุปกรณ์ เกิดขึ้นคือการเคลื่อนย้ายของน้ำภายในเซลล์ของเมล่อน จึงทำให้ความชืน้ ลดลง (12, 19) เอกสารอา้ งองิ สรปุ ผล 1. Wolbang CM, Fitos JL, Treeby MT. The effect of high pressure processing on nutritional การแช่เมล่อนชิ้นรูปลูกบาศก์เมตรขนาด value and quality attributes of Cucumis 2x2x2 cm ดว้ ยสารละลายออสโมติกท่ีเตรยี มจากกลูโคส melon. Innov Food Sci Emerg Technol. ความเข้มข้น 40, 50 และ 60oBrix เป็นเวลา 5 ชั่วโมง มี 2008;9(2):196-200. ผลต่อค่าการถ่ายเทมวลสาร โดยที่การแช่เมล่อนใน สารละลายกลูโคส 60oBrix ให้ค่าปริมาณน้ำที่สูญเสีย 2. Laur LM, Tian L. Provitamin A and vitamin C ปริมาณของแข็งที่เพิ่มขึ้น และปริมาณน้ำหนักที่ลดลงสงู contents in selected California-grown ที่สุดที่ 21.81%, 5.31% และ 16.44% ตามลำดับ และ cantaloupe and honeydew melons and การออสโมซิสยังส่งผลต่อคุณภาพเมล่อนโดยเมล่อนสดมี imported melons. J Food Compos Anal. ค่าปริมาณของแข็งท่ลี ะลายนำ้ ได้เท่ากบั 11.20oBrix และ 2011; 24(2):194-201. เพิ่มขึ้นเท่ากับ 21.60, 26.87 และ 34.20oBrix หลังการ ออสโมซิส ค่าวอเตอร์แอคติวิต้ีของเมล่อนสดเท่ากับ 3. กุณฑล เทพจิตรา. แหล่งผลิตเมล่อนของดีที่แม่จัน. 0.906 และมีแนวโน้มลดลงระหว่าง 0.906-0.762 หลัง ใน: พานิชย์ ยศปญั ญา. นติ ยสารเทคโนโลยชี าวบา้ น. การออสโมซิสซึ่งสอดคล้องกับการลดลงของปริมาณ สำนักพิมพ์มติชน; ปีที่ 31 เล่มที่ 702 1 กันยายน ความชื้นเช่นกัน เมล่อนสดมีค่าสี L*, a* และ b* เท่ากบั 2562. น. 76-77.

142 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2020 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 4. Torregiani D. Osmotic Dehydration in Fruit 12. Chandra S, Kumari D. Recent development in and Vegetable Processing. Food Res Int. osmotic dehydration of fruit and vegetables: 1993;26:59-69. A Review. Critical Reviews in Food Science & Nutrition. 2015;55(4):552-61. 5. Ikoko J, Kuri V. Osmotic pre-treatment effect on fat intake reduction and eating quality of 13. สิริมา ชินสาร, อังคณา เปลี่ยนศรี, ปิยรัฐ มโนมัย deep-fried plantain. Food Chem. หทัยทิพย์. ผลของสารละลายออสโมติกต่อการ 2007;102:523-31. ถา่ ยเทมวลสารและคุณภาพของผลิตภณั ฑผ์ ลมะกรดู กึ่งแห้ง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 2556;44(2) 6. อาภัสสร ศิริจริยวัตร. อิทธิพลของการออสโมซิส (พเิ ศษ):1-4. ก่อนการแช่เยือกแข็งต่อคุณภาพเมล่อน. วารสาร วทิ ยาศาสตรบ์ รูพา. 2558;20(2):118-30. 14. วรัญญา ค้ำชู, วิชมณี ยืนยงพุทธกาล. ผลของการใช้ น้ำตาลทรายและเกลือต่อการถ่ายเทมวลสาร 7. Sacchetti G, Gianotti A, Dalla RM. Sucrose- ระหว่างวิธีออสโมซิสแตงไทย. วารสารวิทยาศาสตร์ salt combined effect on mass transfer เกษตร. 2550;38(6)(พิเศษ):91-94. kinetics and product acceptability, Study on apple osmotic treatments. J Food Eng. 15. สุภาพรรณ คงสมเพ็ชร, วิชมณี ยืนยงพุทธกาล. ผล 2001;49:163-73. ของความเข้มข้นของโอลิโกฟรุคโตสและซูโครสต่อ ลักษณะคุณภาพของกล้วยไข่หลังการออสโมซิส. 8. Ferrari CC, Hubinger MD. Evaluation of the การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์วิจัย” mechanical properties and diffusion ครั้งที่ 6; วันที่ 20 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2557; coefficients of osmodehydrated melon cubes. มหาวทิ ยาลยั บูรพา; 2557. Int J Food Sci Tech. 2008;43(11): 2065-74. 16. El-Aouar AA, Azoubel PM, Barbosa Jr JL, Murr 9. Dermesonlouoglou EK, Giannakourou MC, FEX. Influence of the osmotic agent on the Taoukis PS. Stability of dehydrofrozen osmotic dehydration of papaya (Carica tomatoes pretreated with alternative papaya L.). J Food Eng. 2006;75:267-74. osmotic solutes. J Food Eng. 2007;78:272-80. 17. AOAC. Official methods of analysis of the 10. Barrera C, Betoret N, and Fito P. Ca2+ and Fe2+ association of official analytical chemists. influence on the osmotic dehydration (18th ed). Gaithersburg, MD: Association of kinetics of apple slices (var. Granny Smith). J Official Analytical Chemists; 2005. Food Eng. 2004;65:9-14. 18. Rhim JW, Nunes RV, Jones VA, Swartzel KR. 11. Rozek A, Garcia-Perez J, Lopez F, Guell C, Kinetics of color change of grape juice Ferrando M. Infusion of grape phenolics into generated using linearly increasing fruits and vegetables by osmotic treatment: temperature. J Food Sci. 1889;54(3):776–7. Phenolic stability during air drying. J Food Eng. 2010;99:142-50.

Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 19, Issue 2, 2019 143 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 19. วิชมณี ยืนยงพุทธกาล. ปัจจัยที่มีผลต่อการดึงน้ำ 28. งามจิตร โล่วิทูร. การปรับปรุงคุณภาพของเงาะแช่ ออกด้วยวิธีออสโมซิสของผักและผลไม้. วารสาร เยือกแข็งโดยวิธีออสโมดีไฮเดรชันด้วยน้ำตาลบาง วทิ ยาศาสตรบ์ ูรพา. 2556;18(1):226-33. ชนิด [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต] กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน; 20. Azoubel PM, Murr FEX. Mass transfer kinetics 2551. of osmotic dehydration of cherry tomato. J Food Eng. 2010;61:291-5. 21. Chavan UD. Osmotic dehydration process for preservation of fruit and vegetables. J Food Res. 2012;1(2):202-9. 22. Kowalska H, Lenart A. Mass exchange during osmotic pretreatment of vegetable. J Food Eng. 2001;49:137-40. 23. นวภัทรา หนูนาค, อมรรัตน์ มุขประเสริฐ. จลนศาสตร์การถ่ายเทมวลในระหว่างกระบวนการ ออสโมติคไชโป๊วหวาน. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยขอนแกน่ . 2554;38(1):53-63. 24. Agarry SE, Owabor CN. Statistical optimization of process variables for osmotic dehydration of Okra (Abelmoschus esculentus) in sucrose solution. Niger J Tech. 2012;31(3):370-82. 25. Tortoe C. A review of osmodehydration for food industry. Afr J Food Sci. 2010;4(6):303- 24. 26. Khan MR. Osmotic dehydration technique for fruit preservation-A review. Pakistan J Food Sci. 2012;22(2):71-85. 27. Sankat CK, Castaigne F, Maharaj R. The air drying behavior of fresh and osmotically dehydrated banana slices. Int J Food Sci Technol. 1996;31:123-35.