Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย รวมผลงาน ITAP

ยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย รวมผลงาน ITAP

Published by IRD RMUTT, 2019-03-26 07:29:31

Description: ยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย รวมผลงาน ITAP

Search

Read the Text Version

ยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย : รวมผลงาน iTAP (Raising Technology Level of Thai SMEs Through the Works of iTAP) ทป่ี รึกษา : ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลศิ วรกุล ดร.ฐิตาภา สมิตนิ นท์ ผู้เขยี น : โครงการสนบั สนนุ การพฒั นาเทคโนโลยขี องอุตสาหกรรมไทย (Industrial Technology Assistance Program: ITAP) บรรณาธิการ : ชรัฐ ตามไท คณะท�ำงาน : ดร.ณฐั กา สงิ หวิลยั , ดร.นันทยิ า วิริยบณั ฑร, ดร.ทรงพล มน่ั คงสจุ รติ , พนิตา ศรปี ระย่า, ธรินทร์ญา ตามไท, จตรุ นต์ รตั นวราหะ ประสานงานการผลติ : จฬุ ารตั น์ นิม่ นวล งานออกแบบ ฝา่ ยสือ่ วิทยาศาสตร์ ISBN : 978-616-12-0333-7 พมิ พ์คร้งั ท่ี 1 จำ� นวน : 5,000 เลม่ ออกแบบรปู เล่ม : บริษทั ไทยเอฟเฟคทส์ ตดู โิ อ จ�ำกัด ผจู้ ัดทำ� : ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (iTAP) ส�ำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 111 อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต�ำบลคลองหนง่ึ อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธาน ี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7082, 0 2564 7003 เวบ็ ไซต์ : http://www.tmc.nstda.or.th/itap ยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย : รวมผลงาน iTAP (Raising technology level of Thai SMEs through the works of iTAP) / โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยขี องอตุ สาหกรรมไทย. พิมพ์ครัง้ ท่ี 1. ปทมุ ธานี : สำ� นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาต,ิ 2557. 136 หนา้ : ภาพประกอบ 1. ธุรกิจขนาดย่อม 2. ธุรกจิ ขนาดย่อม – การจัดการ 3. การบรหิ ารธุรกจิ I. ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (iTAP) II. ส�ำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ III. ชอ่ื เร่ือง HD62.7 658.022

สารจากผ้อู ำ�นวยการ โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย หรือ iTAP เป็นโครงการส�ำคัญ ของส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ท่ีช่วยเพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขันของ SMEs ไทย ดว้ ยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยไดเ้ รมิ่ ด�ำเนนิ การมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 และต่อมาในปี พ.ศ. 2549 ได้ขยายงานแบบเครือข่ายพันธมิตรซึ่งครอบคลุมท่ัว ประเทศจ�ำนวน 10 เครือข่าย จนถึงวันนี้ กว่า 21 ปี ที่ iTAP ได้ท�ำหน้าที่เป็นพันธมิตรทาง เทคโนโลยีด้วยการส่งมอบ Technology solution ให้แก่ SMEs ไทยกว่า 3,000 ราย (4,200 โครงการ) และมีผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่ดี ในปี พ.ศ. 2556 เพียงปีเดียว ไดส้ ร้างผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจและสังคมสูงถึง 2,100 ลา้ นบาท จากการอดุ หนนุ เงนิ งบประมาณ จากภาครัฐเพียง 100 ลา้ นบาท หนังสือเล่มน้ี จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือถ่ายทอดผลงานเด่นในช่วงสามปีที่ผ่านมา พ.ศ. 2554 ถึง 2556 ที่ iTAP ได้ช่วยเหลือผู้ประกอบการในการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ท้ังในระดับ รายบริษทั และระดบั กลมุ่ อตุ สาหกรรมทป่ี ระสบความสำ� เร็จรวมไปถงึ การยกระดบั อตุ สาหกรรม ชุมชน รวมตวั อย่างผลงานทงั้ หมด 8 กลุม่ อุตสาหกรรม และระดับบรษิ ทั จ�ำนวน 48 ราย โดย หนงั สือเลม่ นแี้ บ่งออกเป็นสสี่ ่วนหลักด้วยกัน 1. Technology Tailor-Made: การสรา้ งขีดความสามารถของ SMEs รายบรษิ ทั เมือ่ SMEs มี ปัญหาด้านเทคโนโลยีหรือต้องการท่ีจะยกระดับกิจการของตน iTAP จะเข้าไป “ร่วมคิด รว่ มทำ� ” เพอ่ื ใหไ้ ด้ Technology Solution ทีเ่ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของบริษทั 2. Technology Partner: ตวั อยา่ งของ SMEs ท่ีเข้าร่วมโครงการ iTAP อย่างตอ่ เน่ือง จนมกี าร เติบโตและ “ไต่ระดับเทคโนโลยี” ก้าวไปสู่การวิจัยและพัฒนาท่ีเข้มข้น โดยยึดหลักการ ด�ำเนนิ ธรุ กจิ บนพ้นื ฐานของความรแู้ ละเทคโนโลยี และพัฒนาจนเปน็ สังคมฐานความรู้ หรือ Knowledge-based society 3. Technology Influencer: การยกระดบั ความสามารถด้านเทคโนโลยีของกลุ่มอุตสาหกรรม โดย iTAP ได้นำ� องคค์ วามรแู้ ละประสบการณท์ ส่ี ง่ั สมในการแก้ไขปญั หาเทคโนโลยกี ับบริษัท รายย่อย มาสังเคราะห์ปัญหาและตอบสนองความต้องการเทคโนโลยีเฉพาะของกลุ่ม อุตสาหกรรม ลดความเส่ียงในการใช้เทคโนโลยี จนสามารถขยายผลได้ในวงกว้าง จึงช่วย “ผนกึ กำ� ลัง สรา้ งศักยภาพ” และสนับสนุนการสรา้ งคลสั เตอร์หรอื consortium ได้ 2 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

4. Technology for Community: ตัวอย่างการสนับสนุนอุตสาหกรรม ในระดับชมุ ชน ท่ี iTAP ได้น�ำเทคโนโลยี มาช่วย “ยกระดับคุณภาพชีวิต” ด้วยการผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ท�ำให้สามารถ เพิ่มรายได้ สร้างเศรษฐกิจชุมชนให้ดีข้ึน ส่งผลให้ชุมชนมีการพัฒนาอย่างเข้มแข็ง และยงั่ ยืน 01ขีดความสามารถของ iTAP เป็นที่ประจักษ์ ชัดท้ังผลงานและผลกระทบที่เกิดขึ้น และมี ก ร ะ บ ว น ก า ร ท� ำ ง า น ท่ี มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ปัจจุบัน iTAP มุ่งเน้นการท�ำงานแบบเครือ ข่ายพันธมิตร เพื่อให้เกิดการผนึกก�ำลังใน การยกระดบั เทคโนโลยใี ห้แก่ SMEs ในภาพ รวมของประเทศ จึงยังสามารถขยายการ ด�ำเนินงานได้อีกด้วยความร่วมมือกับ พันธมิตรที่มีอยู่ในปัจจุบันกว่า 25 องค์กร ทั้งในและต่างประเทศ iTAP จึงพร้อมท่ีจะ เป็นพันธมิตรกับทุกหน่วยงานท่ีมีเป้าหมาย ร่วมกันในการสร้างศักยภาพด้านเทคโนโลยี ให้กบั SMEs ไทย ดร.ทวศี กั ด์ิ กออนนั ตกลู ผ้อู �ำนวยการ สำ� นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ 3

ยกระดับเทคโนโลยี สร้าง SMEs ใหเ้ ขม้ แข็ง ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ด�ำเนินการวิจัยและพัฒนาทั้ง ด�ำเนินการวิจัยเองและให้ทุนสนับสนุนการวิจัย แต่การน�ำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ได้น้ัน จ�ำเป็น ต้องมีการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ศูนยบ์ รหิ ารจดั การเทคโนโลยี (ศจ.) เปน็ หน่วยงานภายใต้ สวทช. ซงึ่ มภี ารกจิ หลกั ในการบรหิ าร จัดการเทคโนโลยอี ย่างครบวงจร กำ� หนดโจทยว์ ิจยั บริหารงานวิจัย ถ่ายทอดเทคโนโลยี และน�ำ ผลงานวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ย์ โดย iTAP เปน็ กลไกสำ� คัญท่ีชว่ ยเพิ่มศักยภาพดา้ นการ วจิ ัยและพฒั นาใหก้ ับภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ SMEs เราทำ� งานอย่างใกล้ชดิ กบั SMEs เพื่อ มุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาทางเทคโนโลยีที่ตรงจุด iTAP รับโจทย์เทคโนโลยีจากอุตสาหกรรม วเิ คราะหป์ ัญหา และนำ� เสนอวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม รวมทั้งเช่อื มโยง SMEs ให้ เข้าถงึ องค์ความรทู้ ง้ั ใน สวทช. เอง จากสถาบนั วิจัยและมหาวิทยาลยั แนะน�ำ SMEs ให้เข้าถึง บริการสนบั สนุนการวิจยั และพัฒนาของ สวทช. อาทิ การถ่ายทอดเทคโนโลยี การบ่มเพาะธุรกิจ รวมท้ังเชอื่ มโยงไปสหู่ น่วยงานภายใน สวทช. ไดแ้ ก่ อทุ ยานวิทยาศาสตร์ ศนู ยว์ จิ ัยแหง่ ชาติ และ ศูนยท์ ดสอบทางอุตสาหกรรม เป็นต้น จากผลการดำ� เนนิ งานที่ผ่านมาของ iTAP กรณีตวั อยา่ งความสำ� เรจ็ ท่สี ร้างประโยชนเ์ ชงิ พาณชิ ย์ ได้จรงิ ทั้งจากผลงานวจิ ัยท่ถี กู นำ� ไปต่อยอดเพอ่ื สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ และโจทย์จากอตุ สาหกรรมที่ได้ รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว ท�ำให้บริษัทท่ีเข้าร่วมโครงการมีการยกระดับเทคโนโลยี จากท่ีส่วน มากใช้แรงงานและความช�ำนาญ มาเป็นการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นพนื้ ฐานส�ำคัญของการดำ� เนินธุรกจิ ก้าวต่อไปของ iTAP คอื การผนกึ ก�ำลังอย่างเหนียวแน่นกับพันธมิตรทางเทคโนโลยีท้ังจากภาครัฐและ ภาคเอกชน สนับสนุนการรวมกล่มุ ทางเทคโนโลยเี ฉพาะดา้ น เพอ่ื สร้าง ความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับภาคอุตสาหกรรม พัฒนาการเหล่าน้ีท่ีจะช่วยสร้างประโยชน์และผลกระทบในเชิงบวก ใหก้ ับภาคเศรษฐกจิ และอุตสาหกรรมไทยได้อย่างแทจ้ ริง ดร.ณรงค์ ศริ เิ ลศิ วรกลุ รองผอู้ �ำนวยการ ส�ำนักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ และผอู้ ำ� นวยการศนู ย์บริหารจดั การเทคโนโลยี 4 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iเTพA่อื Pน:ร่วพมันทธามงติ ขรอทงางSเMทคEsโนไโทลยยี“iTAP มีหลักการส�ำคัญในการด�ำเนินงาน คือ Client Focus ซึ่งได้ถูกสะท้อนออกมาเป็น แนวทางการท�ำงานของ iTAP ตลอด 21 ปที ่ีผ่านมา” ทุกโครงการของ iTAP ก่อนเริ่มด�ำเนินการ ท่ีปรึกษาเทคโนโลยี (Industrial Technology Advisor : ITA) จะต้องเข้าไปวิเคราะห์ความต้องการท่ีแท้จริง แล้วจึงคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญท่ีมี ประสบการณ์ตรงกับโจทย์ และประสานงานในโครงการเพ่ือให้บริษัทด�ำเนินโครงการได้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ การมี ITA ทำ� หน้าท่ีเป็นเพ่ือนคคู่ ดิ ให้ SME แต่ละราย นบั เป็นปัจจยั ทสี่ �ำคญั ที่จะท�ำให้เกิดความส�ำเร็จในการน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว&ท) ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ได้ 03อยา่งเป็นรูปธรรม iTAP มีความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยและสถาบันฯ ในภูมิภาคต่างๆ เพ่ือร่วมด�ำเนินงานใน รูปแบบเครอื ข่าย โดยปจั จบุ ันมี ITA 46 คน ท่ีพรอ้ มให้บรกิ าร SMEs ทัว่ ประเทศได้อย่างรวดเร็ว และมีประสทิ ธิภาพ และเพ่มิ การเชื่อมโยงระหว่าง SMEs และผู้เช่ยี วชาญในภมู ิภาค ในแตล่ ะปี iTAP วเิ คราะหป์ ัญหาให้ SMEs ได้ไมน่ ้อยกว่า 500 ราย และด�ำเนนิ โครงการพัฒนาเทคโนโลยใี ห้ SMEs ไดไ้ มน่ ้อยกวา่ 400 โครงการ นอกจากน้ี iTAP ยังมคี วามรว่ มมือกับหนว่ ยงานภาครฐั อ่ืนๆ เพอื่ นำ� กลไก iTAP ไปรว่ มในการสง่ เสรมิ SMEs ให้ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ในรปู แบบทห่ี ลากหลายขนึ้ ตวั อยา่ งผลงานของ iTAP ในหนงั สือเลม่ น้ี ชว่ ยแสดงให้เหน็ ว่า สามารถนำ� วและท ไปใชไ้ ด้ใน กระบวนการผลิตข้ันตอนต่างๆ และเปน็ กรณีตวั อย่างที่แสดงให้เห็นถงึ ผลท่ี ไดร้ ับจากความส�ำเรจ็ ของการประยุกตใ์ ช้ วและท ทเี่ หมาะสม iTAP ยังคงมุ่งมั่นท่ีจะเป็นเพื่อนคู่คิดในการวิเคราะห์และคัดเลือก เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมส�ำหรับ SMEs และมีเป้าหมายที่จะด�ำเนินงานร่วม กับพันธมิตรมากขึ้นเพ่ือร่วมสนับสนุน SMEs ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ครอบคลุมความตอ้ งการของ SMEs ได้ดยี ิ่งขนึ้ เพื่อเสรมิ สรา้ งความเข้ม แข็งให้ SMEs ไทยมีขีดความสามารถในการแขง่ ขนั เพม่ิ ขึน้ อยา่ งยงั่ ยืน และเป็นแกนหลกั ของเศรษฐกจิ ของประเทศไทยตอ่ ไป ดร.ฐติ าภา สมติ นิ นท์ ผูอ้ �ำนวยการ โครงการสนบั สนุนการพฒั นาเทคโนโลยี ของอุตสาหกรรมไทย 5

Cสoาnรtบenญั ts 02 สารจากผบู้ รหิ าร 08 Messages from the Executives 15 72 บรกิ ารและผลการดำ�เนนิ งานของ iTAP Services and Achievements of iTAP ผลงานเดน่ : ประเภทโครงการเดย่ี ว Technology Tailor-Made ตัวอยา่ งของการถา่ ยทอดเทคโนโลยที ีต่ อบสนองความต้องการ เฉพาะของแต่ละผู้ประกอบการ ผลงานเดน่ : ประเภทโครงการตอ่ เนอ่ื ง Technology Partner บอกเล่าเรอ่ื งราวของ SMEs ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ และมีการเตบิ โตอยา่ งต่อเน่อื ง เชน่ การยกระดับขดี ความสามารถทางเทคโนโลยจี าก Skill Intensive เปน็ R&D Intensive หรือ ยกระดับจากวิสาหกิจชมุ ชน เป็นบรษิ ัทสง่ ออก เปน็ ต้น • บริษัท บานาน่าโซไซตี้ จำ� กดั • บรษิ ทั แดร่ีโฮม จ�ำกัด • บริษัท โปรอาร์ กรปุ๊ จ�ำกดั • บริษัท มาสเตอรค์ ูล อินเตอร์เนช่ันแนล จำ� กัด • บริษัท สันตภิ าพ (เชียงใหม่ 1988) จำ� กัด • บริษัท อำ� พลฟดู สโ์ พรเซสซิ่ง จำ� กัด • บรษิ ทั เอส บี พี ทมิ เบอร์ กรุ๊ป จ�ำกัด • สวนกติ ต ิ

90 ผลงานเดน่ : ประเภทโครงการกลมุ่ อตุ สาหกรรม Technology Influencer 109 134 การถา่ ยทอดเทคโนโลยีทีต่ อบสนองความต้องการเฉพาะ ของกลุ่มอุตสาหกรรมตั้งแต่ ต้นน�้ำ กลางน�้ำ จนถงึ ปลายน้�ำ และสามารถ “ขยายผล” ไดใ้ นวงกวา้ ง • อุตสาหกรรมซอฟต์แวรไ์ ทยสู่เวทีโลกด้วยมาตรฐาน CMMI • RFID เทคโนโลยีสารพดั ประโยชน ์ • Smart Farming เทคโนโลยีเพอื่ การจัดการฟารม์ อยา่ งยั่งยืน • เตาประหยดั พลงั งานยกระดับกลมุ่ สหกรณย์ างแผ่นรมควันของไทย • ตอ่ ยอดอนาคต อุตสาหกรรมโรงสขี า้ วไทย • เกษตรปลอดภัย เพ่มิ มูลคา่ ผลผลิต ปลอดภัยต่อเกษตรกรและผูบ้ ริโภค • พฒั นาอุตสาหกรรมไหมไทย สกู่ ารแขง่ ขนั ในตลาดโลก • การพฒั นาอุตสาหกรรมไม้สกั รว่ มกับจังหวัดแพร่ ผลงานเดน่ : ประเภทโครงการวสิ าหกจิ ชมุ ชน Technology for Community การนำ� เทคโนโลยมี าช่วย “ยกระดบั คุณภาพชวี ติ ” ใหแ้ ก่ชมุ ชน ดว้ ยการผสมผสานภูมิปญั ญาท้องถ่นิ กับเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม กับสภาพแวดลอ้ ม สงั คม และวฒั นธรรม คณะผบู้ รหิ าร Management Team

โครงการสนบั สนนุ การพฒั นาเทคโนโลยขี องอตุ สาหกรรมไทย Industrial Technology Assistance Program (iTAP) ปัจจุบันภาวะการแข่งขันทางการค้าในตลาดโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็ว และคู่แข่ง สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้ง่ายข้ึน อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการไทยจ�ำนวนมากยังไม่สามารถเข้า ถึงงานวิจัยและน�ำองค์ความรู้ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการพัฒนาขีดความสามารถ การแข่งขันของผู้ประกอบการไทยให้สามารถแข่งขันได้และเติบโตอย่างยั่งยืนนั้น จ�ำเป็นอย่าง ยิ่งท่ีภาครัฐต้องพร้อมท่ีจะเข้าช่วยเหลือในด้านเทคโนโลยี การเชื่อมโยงระหว่างองค์ความรู้ การถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับความต้องการของผู้ประกอบการ กระตุ้นให้ภาคเอกชน ลงทุนดา้ นงานวจิ ัยและเทคโนโลยี โครงการสนบั สนนุ การพฒั นาเทคโนโลยขี องอตุ สาหกรรมไทย หรอื iTAP เปน็ กลไกหนง่ึ ท่ี สวทช. สร้างขึ้นเพ่ือท�ำหน้าที่ช่วยเหลือ SMEs โดยเป็นคนกลางท่ีช่วยบริหารโครงการ และประสาน ระหว่างองค์ความรูจ้ ากนักวิจยั ไปสผู่ ู้ประกอบการใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการ ศกั ยภาพ และ สามารถน�ำองค์ความรู้น้ันไปใช้ประโยชน์ได้จริงในเชิงพาณิชย์ ซ่ึงกลไก iTAP เป็นกลไกที่ได้รับ การยอมรับทั้งในและต่างประเทศว่ามีประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูง ซึ่งท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่ดีข้ึนในภาคการผลิตของไทย และมีตัวอย่างความส�ำเร็จมากมาย และเกิดการ สรา้ งรายได้อยา่ งเห็นผลชดั เจนและยง่ั ยืน โดยผลการด�ำเนินงานปี 2549-2556 พบว่า iTAP ได้พัฒนาเทคโนโลยีของ SMEs ได้อย่าง ครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศ เป็นจ�ำนวน 3,402 โครงการ จากผู้ประกอบการจ�ำนวน 2,226 ราย ซ่ึงจากผลการด�ำเนินงานปี 2556 สามารถเกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม คดิ เปน็ มลู คา่ 2,200 ลา้ นบาท จากการใชท้ นุ ดำ� เนนิ งาน 100 ลา้ นบาท และจากผลการดำ� เนนิ งาน ของ iTAP กอ่ ให้เกิดการลงทนุ ในการวิจัยและพฒั นา ของภาครัฐ:ภาคเอกชน ในสดั ส่วนร้อยละ 36:64 โดยการลงทุนวิจัยและพัฒนานั้นจะสามารถก่อให้เกิดการลงทุนต่อเนื่องและผลกระทบ ตอ่ ระบบเศรษฐกิจตามมา อาทิ เพม่ิ ยอดขาย เพ่ิมกำ� ไร ลดต้นทุน เพม่ิ การจา้ งงาน เปน็ ตน้ 8 iTAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

บรกิ ารของ iTAP iTAP ได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัย สถาบันต่างๆ ในการเข้าร่วมด�ำเนินงานในรูปแบบ เครอื ขา่ ย เพ่ือใหบ้ รกิ ารไดค้ รอบคลุมทุกภูมภิ าคของประเทศไทย ปัจจุบนั iTAP มสี ำ� นักงานใหญ่ อยูท่ ีอ่ ุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทมุ ธานี และมเี ครือขา่ ยจ�ำนวน 10 เครอื ข่าย และมีท่ี ปรึกษาเทคโนโลยหี รอื Industrial Technology Advisor (ITA) ให้บริการจ�ำนวน 46 คน รปู แบบของบรกิ าร iTAP 1. บริการทปี่ รกึ ษาทางเทคโนโลยี 2. สรรหาผเู้ ช่ียวชาญ ประสานงาน บรหิ ารจัดการโครงการ 3. วนิ ิจฉยั ปัญหาทางเทคนิคและแนวทางพฒั นาธรุ กิจ 4. ติดตามประเมินผลโครงการ 5. จดั ฝึกอบรมและสัมมนาวิชาการ 6. เสาะหาเทคโนโลยจี ากในและตา่ งประเทศ 7. บรกิ ารจบั คู่เจรจาธุรกิจเทคโนโลยี หลกั เกณฑก์ ารสนบั สนนุ 1. เปน็ ผู้มีความมุ่งม่นั ทีจ่ ะพัฒนาศักยภาพทางเทคโนโลยีการผลิต 2. เปน็ นิตบิ คุ คลท่มี ผี ถู้ อื หุ้นไทยไม่ต�่ำกวา่ 51% 3. เปน็ SME ทม่ี ีทุนจดทะเบียนไม่เกิน 200 ลา้ นบาท การสนบั สนนุ ทางการเงนิ 1. สนับสนุนค่าตอบแทนผู้เช่ียวชาญ 100% เพ่ือวินิจฉัยปัญหาทาง เทคนิคและแนวทางพัฒนาธรุ กจิ 2. สนับสนุนค่าใช้จ่ายสูงสุดไม่เกิน 50% ของงบประมาณโครงการ แต่ไม่เกิน 400,000 บาท โดยสนับสนุนได้ 2 โครงการ ตอ่ นติ บิ คุ คลต่อปี 9

ผลการดำ�เนนิ งาน การใหค้ �ำปรกึ ษาเชิงลึก กรณีที่กิจการมีปัญหาท่ีมีความซับซ้อนหรือต้องมีการท�ำวิจัยและพัฒนา เพ่ิมเติม ผู้เชี่ยวชาญจะจัดท�ำข้อเสนอโครงการให้วิสาหกิจพิจารณา และ หากวิสาหกจิ มีความพร้อมทจี่ ะด�ำเนนิ โครงการ iTAP จะดำ� เนนิ การขออนมุ ัติ การสนับสนุนโครงการน้ันๆ จากต้นสังกัดฯ และช่วยประสานงานในระหว่าง การด�ำเนินโครงการ เพ่ือให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ตรงตามแผน ในระหว่างปี พ.ศ. 2549 – 2556 iTAP ให้การสนับสนุนวิสาหกิจจ�ำนวน 2,226 กิจการ เป็นจ�ำนวนโครงการรวม 3,402 โครงการ โดยเป็น การสนับสนุนวิสาหกิจชุมชน จ�ำนวน 93 โครงการหรือคิดเป็นจ�ำนวน ประมาณ 425 โครงการตอ่ ปี ประเภทของอตุ สาหกรรมทมี่ กี ารพฒั นาเทคโนโลยผี า่ น iTAP อุตสาหกรรมอาหารเป็นอุตสาหกรรมท่ี iTAP ให้การสนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีเป็นอันดับสูงสุด โดยมีจ�ำนวนโครงการรวม 988 โครงการ (ประมาณ 29%) ลำ� ดบั ต่อไปคอื อตุ สาหกรรมเกษตรจำ� นวน 397 โครงการ (ประมาณ 12%) อตุ สาหกรรมไม้และเครอ่ื งเรือน 376 โครงการ (ประมาณ 11%) อุตสาหกรรมการแพทย์และสุขภาพ 286 โครงการ (ประมาณ 8%) สำ� หรับอตุ สาหกรรมอนื่ ๆท่มี กี ารพัฒนาเทคโนโลยผี า่ น iTAP ไดแ้ ก่ ซอฟตแ์ วร์ กอ่ สร้างและวัสดุก่อสรา้ ง ช้ินสว่ นยานยนต์ สงิ่ ทอ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ พลาสตกิ เครอ่ื งจักร โลหะ ธรุ กจิ บริการและขนสง่ บรรจุภณั ฑ์ และสิ่งพิมพ์ เคมีภัณฑ์ เซรามิกส์ อัญมณีและเคร่ืองประดับ พลงั งานและส่งิ แวดล้อม 10 iTAP กับการยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

เครอื ขา่ ยผเู้ ชย่ี วชาญ ผ้เู ชอย่ี8ิส%วรชะาญ ภส6วาย%ทใชน. ภ5าค%รฐั มหา5ว6ทิ %ยาลัย ทร่ี ว่ มงานกบั iTAP ภาคเอกชน จากการด�ำเนินงานปี พ.ศ. 2549-2556 25% ไดเ้ กดิ การรว่ มมอื ระหวา่ ง iTAP กบั ผเู้ ชย่ี วชาญ ท้ังหมด 1,116 คน (นับเฉพาะหัวหน้า โครงการ โครงการละ 1 ท่าน) โดยจ�ำนวน โครงการของแต่ละต้นสังกัดของผู้เช่ียวชาญ อั น ดั บ สู ง สุ ด เ ป ็ น ผู ้ เ ช่ี ย ว ช า ญ ที่ ม า จ า ก มหาวิทยาลัย จ�ำนวน 1,907 โครงการ (ประมาณ 56%) อนั ดบั 2 เปน็ ผเู้ ช่ียวชาญจาก ภาคเอกชน จำ� นวน 863 โครงการ (ประมาณ 25%) อนั ดบั 3 เปน็ ผู้เชีย่ วชาญอิสระ จำ� นวน 278 โครงการ (ประมาณ 8%) อันดับ 4 เปน็ ผู้เช่ียวชาญจากภายใน สวทช. จ�ำนวน 190 โครงการ (ประมาณ 6%) และผู้เชีย่ วชาญจาก ภาครัฐ 164 โครงการ (ประมาณ 5%) ประเภทของโครงการ พฒั นาเทคโนโลยีกเาครรป7่ือร%งคับจวปกัการรามุงร1เศป%กึน็ ษไปาได้ การฐทานด1ขส%อ้อบมลูแลกะรกะาบรว4ปน0รก%ับาปรรผุงลิต โครงการพัฒนาเทคโนโลยที ่ี iTAP สนับสนนุ ใน ระหวา่ งปี พ.ศ. 2549 – 2556 สว่ นใหญจ่ ะเป็น ดา้ นการปรับปรงุ กระบวนการผลิต เป็นจำ� นวน กมาาร1รตะพ9รบ%ัฒฐบานนา 1,374 โครงการ (ประมาณ 40%) ลำ� ดับถดั ไป เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จ�ำนวน 1,077 โครงการ (ประมาณ 32%) การพัฒนาระบบ มาตรฐาน 628 โครงการ (ประมาณ 19%) การปรับปรุงเคร่ืองจักร 244 โครงการ (ประมาณ 7%) และโครงการด้านการศึกษา กผาล3รติ พ2ภ%ัฒณั นฑา์ ความเป็นไปได้ การทดสอบและฐานข้อมูล รวม 79 โครงการ (ประมาณ 2%) 11

ผลของโครงการสามารถใชป้ ระโยชน์ ไดใ้ นเชงิ พาณชิ ยแ์ ละสรา้ งผลกระทบเชงิ เศรษฐศาสตร์ iTAP ได้เริ่มด�ำเนินการประเมินผลกระทบเชิง เศรษฐศาสตร์ของโครงการที่ iTAP ได้ให้การสนับสนุน ในปี พ.ศ. 2555 โดยเลือกจากโครงการที่ด�ำเนินการ เสร็จสน้ิ แลว้ อย่างน้อย 1 ปี จากผลการด�ำเนินงานของ iTAP ก่อให้เกิดผลกระทบ จากการลงทุนและการจ้างงานท่ีเกิดจากโครงการเป็น มลู ค่า 101.6 ลา้ นบาทในปี พ.ศ. 2555 และมลู ค่า 680.8 ล้านบาทในปี พ.ศ. 2556 ก่อให้เกิดผลกระทบด้านอ่ืน ได้แก่ การมีก�ำไรเพิ่มขึ้น ลดต้นทุน ลดการน�ำเข้า/เพ่ิม การส่งออก ฯลฯ คิดเป็นมูลค่า 701.5 ล้านบาท ใน ปี พ.ศ. 2555 และมลู คา่ 1,527.9 ลา้ นบาทในปี พ.ศ. 2556 ผลประโยชน์ทเี่ กิดขนึ้ ปี 2555 ปี 2556 จากการดำ� เนนิ งานของ iTAP ผลกระทบจากการลงทุนและ 101,630,088 บาท 680,759,153 บาท การจ้างงานทีเ่ กดิ จากโครงการ ผลกระทบท่เี กิดขึน้ จากโครงการ 701,494,113 บาท 1,527,868,920 บาท เช่น กำ� ไรเพิม่ ข้นึ ลดตน้ ทุน ลดการน�ำเข้า/ เพ่ิมการส่งออก เป็นต้น 803,124,201 บาท 2,208,628,072 บาท รวม 12 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

Output โครงการถ่ายทอดและวจิ ยั พัฒนาด้านเทคโนโลยี 3,402จ�ำนวน โครงการ 2,226จากผู้ประกอบการจ�ำนวน ราย Outcome ยกระดบั ขดี ความสามารถทางเทคโนโลยี โดยแบง่ ออกเปน็ 1,374การปรบั ปรงุ กระบวนการผลิต 1,077การพัฒนาผลติ ภัณฑ์ โครงการ โครงการ 628การพัฒนาระบบมาตรฐาน โครงการ 244การปรบั ปรงุ เครื่องจักร โครงการ 40การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ โครงการ 39การทดสอบและฐานขอ้ มลู โครงการ Impact การด�ำเนนิ งานปี 2556 สามารถสร้าง ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คม 2,200คิดเปน็ มูลค่า ลา้ นบาท จากการใช้ 100ทนุ ด�ำเนนิ งานประมาณ ลา้ นบาท 13

สำ�นกั งานใหญ่ และเครือข่ายภมู ภิ าค สเควรทอื ชข.เา่ คยรือiTขA่าPยภาคเหนอื เครือขา่ ย iTAP 2Eโชแโทท-3ลนั้ Mรร9ะสศ2เaถทาพัiอlนรคทา :นโ ์คนiหn00าโf้วรลo55ยสย@33แถี 22มกnา22บหว้nนัาr66ต.วn22ว.ิทสจิ66stเุยยั54ทdา,แพaล0ล.ัยoะอ5เพrช.3.เtัฒยีม2hงือ1นใงหา4วจม6ทิ . ่4เ ยช9าีย ศงใาหสมต่ร5์ 0200 มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น iTAP สำ�นักงานใหญ่ Eชโโคถทท-.นั้ณมMรระิตศส3aวรา ัพi lิศภรตท :วากึ ์กพitเ00รaพอรp44ยี ม.@33เรศมว33kาือจิ44kสงิตuต77ร.จ88aร . c์77ขม.99อtหhนาแวกทิ น่ ย า ล4ัย00ข0อ2นแก่น สำ�นักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์ เครอื ขา่ ย iTAP และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี Eโโต1ทท-1.คMรร1ลสศaออาัพilรุทงท ห:ย์ iนา00tนa่งึ 22pวอ55ทิ@.66คยt44ลาmอศ77cงา00.หสn08ตล20sวรtdตป์งอ่aรจ.ะo.1เปทr3.ท6tศhุม0ไทธ-1าย3นถ8ี 19.พ2ห12ล0โยธนิ โโเจE1ททท-1.นMครร1คสศโaนถราัพilร.ธรทมา :าห์ ชนit00าสีaอวมีp44ิทาา@44คย223sาา22u0รลส0tัย44.0รุa98พต0c21..ฒั 14สth,ุรนน0์ 1า4 ร 4ี อ2.2เม4ือ9ง47 เครอื ขา่ ย iTAP เครือข่าย iTAP มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พระจอมเกล้าธนบุรี ตEโโอจทท-.า.มขMรรคหาสศาaมาาพัรilเสรกรท :าลยี ์ รiุม่งt00คaวอาp44จิ ม.@33กยั 77นัแ4m55ล4ทsะ1ร44uป5ว77.0ชิaฏ88cยับิ88. tัต h ิการ ศเ1เโโEขพทท-2นู ตMอื่รร6ยทสศอa์บถางุ่พัุตilรูค.รสทปณ :รา์ ร ุtาหะ i00tกกกชeาร22ราcรงุ44อร@เเ77มทททุ k00ไพคิศmทโ99ฯยแนu22ข 1โt99 ลวt089.ยงa1 บี c4า.0tงhมด เครือขา่ ย iTAP เครอื ข่าย iTAP มหาวิทยาลัยศลิ ปากร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ภเมจโโคททท.ณหานครรคาะคศสโววนวราพั ชิิทศิปโรทายล วฐเ์ ายกทมล00อี รคยั 7ตุรโ33ศม3นส44ลิ0ศาโ22ลป0หา55ยส0ากทีกต99ร11รรารงแ์22มออ66ล.า เะ มหือารง อส8โชโทท5ัน้�ำ.วรรนาถสศ3กัร.าพัสงนิมราทถชห นล์ ำ�าอม00รวธาาิท44ิกบรย55า์คาจ43ร ล บ.53อตัยดุบ.33อเี ม43ลุบ53ือรล63างรชศ,,าธ00รชาไี ธค44นา55ีน334ี45313394305186 เครือข่าย iTAP เครือข่าย iTAP มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ สถาบนั ไทย-เยอรมนั 2โโจโททค2.นรรร2คงศส ก ราัพไาศรททรรย0์อธี0บุทร7รุร7ย5ีม5า6อร6น7.าท7วช3า่ทิ 3ศ5ย857าา07ล2ศ11าา6 ส 0ตรภ์ าคใต้ เศE ตโโลทท-.นู คMขรรยลทสศa์บอาพั่ีil7รรงทิก0ต : ์ า0s�ำ 000รd/หแ1_ร333ลtุห888gอะ929มi.พ@เ331ู่มฒั1hอื500oนนง101tาคิ302mจอ300ม.ุตชa-อต3สiลตุl9่อา.บcสหุรoตา1กีหmอ่72ร0ก0ร15ร0ม7ร00ม05อ,มตะนคร เครือขา่ ย iTAP มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 14 อโโชอททน้ัุท.หรรยาสศ1าดา2พั นใรทหวอ ์ทิาญ00คย่ าาจ77รศ.44สศา42งนูตข58รยล์99์ทมา33ร ห 22ัพ9า96ย0ว,,าิท100ก1ยร077ากล44ายั22ร18สเรง63ียข03นล01รา18ู้น ค รินทร์ iTAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

ตัวอยา่ งผลงานเดน่ : ประเภทโครงการเดี่ยว TTaeiclohrn-oMloagdye iTAP คอื เพอ่ื นค่คู ดิ ทางเทคโนโลยี เม่ือ SMEs มปี ัญหาด้านเทคโนโลยีหรือ ความฝันทจี่ ะยกระดับกจิ การของตน แต่ไมร่ ูว้ า่ จะเริม่ ต้นท่ไี หน เราจะเข้าไป “ร่วมคดิ รว่ มทำ� ” เปรียบเสมือนเป็นชา่ งตดั เสือ้ ฝมี อื ดี ท่ีเข้าใจความตอ้ งการของลูกค้า และสรรหาสิ่งท่ใี ช่

เส้นไหมคุณภาพระดับ 3A มาตรฐานระดบั สากล ทดแทนการขาดแคลนเส้นไหมในตลาดโลก “บรษิ ทั จลุ อนิ เตอรซ์ ลิ ค์ จำ�กดั รว่ มกบั ผเู้ ชย่ี วชาญญป่ี นุ่ พฒั นา คณุ ภาพเส้นไหมไทยอย่างครบวงจร เน้นการส่งออกและทดแทน การนำ�เขา้ ขยายตลาดไหมไทยสู่ Niche Market ผา่ นการสนบั สนนุ จาก iTAP” ปญั หาและความเปน็ มา บริษัท จุลอินเตอร์ซิลค์ จ�ำกัด เป็นบริษัทในกลุ่มจุลไหมไทย ซ่ึงเน้นการผลิตเส้นไหมเพื่อทดแทนการน�ำเข้า เน้นตลาดใน ประเทศเปน็ หลกั แตใ่ นปจั จบุ นั เสน้ ไหมในตลาดโลกอยใู่ นภาวะ ขาดแคลน บรษิ ทั จงึ มแี นวโนม้ ทจี่ ะทำ� การผลติ เสน้ ไหมเพอ่ื การ สง่ ออกมากขนึ้ โดยเฉพาะตลาดประเทศญปี่ นุ่ แตบ่ รษิ ทั ยงั ขาด เทคโนโลยกี ารผลติ เสน้ ไหมคณุ ภาพสงู อนั จะเปน็ การเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั เสน้ ไหมไทยในเวทตี ลาดโลก 16 iTAP กับการยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย

Technology Tailor-Made โครงการเดี่ยว iTAP ชว่ ยอะไร? บรษิ ทั จลุ อนิ เตอร์ ซลิ ค์ จ�ำกัด จากความตอ้ งการดงั กลา่ ว iTAP เครอื ขา่ ย สวทช. ภาคเหนอื จ.เพชรบรู ณ์ จงึ สนบั สนนุ บรษิ ทั ในการด�ำเนนิ โครงการพฒั นากระบวนการ ผลติ เสน้ ไหมดว้ ยเครอ่ื งจกั รเพอื่ การสง่ ออก โดยทป่ี รกึ ษาชาว ผู้ผลิตเส้นไหมยืนเพ่ือการส่ง ญป่ี นุ่ มาชว่ ยใหค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นการผลติ เสน้ ไหมคณุ ภาพสงู อยา่ ง ออกรายใหญ่ที่สุดในประเทศ ครบวงจร ตง้ั แตก่ ระบวนการเลย้ี งไหมของเกษตรกร เทคนคิ มีการเช่ือมโยงธุรกิจเข้ากับ การอบรงั ไหมทเ่ี หมาะสมกบั พนั ธไ์ุ หมและฤดกู าลในการเลย้ี ง สังคมรอบด้าน ผ่านมูลนิธิ ไหม รวมท้ังถ่ายทอดเทคนิคการต้มและการสาวไหมเพ่ือให้ จุลไหมไทย เพื่อให้ความรู้ สามารถผลิตเส้นไหมท่ีมีคุณภาพสูงข้ึนในระดับมาตรฐาน เกษตรกรด้านการปลูกหม่อน สากล เ ลี้ ย ง ไ ห ม ที่ มี คุ ณ ภ า พ แ ล ะ สร้างรายได้อยา่ งยั่งยืน ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น โทรศัพท์ 0 5677 1282 จากการขอรบั การสนบั สนนุ จากโครงการ iTAP ทำ� ใหบ้ รษิ ทั มี เวบ็ ไซต์ www.chulthai.com ความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการผลิต และการควบคุม คณุ ภาพเสน้ ไหมใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานทล่ี กู คา้ กำ� หนด และตรง “อยากให้..ผู้ประกอบการ ตามความต้องการของลูกค้ากลุ่มพิเศษเฉพาะ (Niche อีกหลายๆ ราย ในภาคเหนือ Market) สามารถผลิตเส้นไหมท่ีมีคุณลักษณะพิเศษ ทุกๆ จังหวัด เข้าขอรับการ ท่ีมีคุณภาพสูงมาตรฐานสากลในระดับมากกว่า 3A ด้วย บริการจาก iTAP เหมือน ผลผลติ ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ กวา่ รอ้ ยละ 80 สง่ ผลใหบ้ รษิ ทั สามารถขยาย กลุ่มจุลฯ เพ่ือส่งผลให้ ตลาดสง่ ออกเสน้ ไหม และแขง่ ขนั ดว้ ยคณุ ภาพอยา่ งยง่ั ยนื อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น ร ะ ดั บ ภมู ิภาค สามารถแขง่ ขัน อยา่ ง ย่ังยืนได้ตลอดไป และเพิ่ม รายได้ให้กับภาคเหนือรวมทั้ง เพิม่ รายได้ ให้กบั ประเทศชาติ ของเราดว้ ย” คณุ จงสฤษด์ิ ค้นุ วงศ์ ผู้จัดการทัว่ ไป บรษิ ทั จลุ อนิ เตอรซ์ ิลค์ จำ� กดั 17

ลดเงินทองรั่วไหลด้วยอีอาร์พี “บรษิ ทั ชายนน์ ง่ิ โกลด์ จำ�กดั รว่ มกบั iTAP ในการพฒั นาซอฟตแ์ วรโ์ อเพนซอรส์ ออี ารพ์ ี เพอ่ื ลดตน้ ทนุ การผลติ ทองไดก้ วา่ 50 ลา้ นบาทตอ่ ป“ี ปญั หาและความเปน็ มา บริษัท ชายน์น่ิง โกลด์ จ�ำกัด เป็นผู้ประกอบการผลิตและจ�ำหน่ายทองค�ำแท่งและทอง รูปพรรณ และด�ำเนินงานในลักษณะธุรกิจครอบครัว เนื่องจากธุรกิจมีการเติบโตอย่างต่อเน่ือง บริษัทเล็งเห็นถึงความจ�ำเป็นในการน�ำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการบริหารจัดการข้อมูล โดย เริ่มจากการใช้โปรแกรมบัญชีสำ� เร็จรูปส�ำหรับระบบการเงิน และโปรแกรมสเปรดชีตท่ีต้องพิมพ์ ขอ้ มลู ด้วยมอื จากแบบคำ� สั่งซอ้ื ของลูกค้าสำ� หรับข้อมลู การผลติ อยา่ งไรก็ตาม ข้อมูลของบรษิ ทั ผ่านระบบดังกล่าวยังขาดความต่อเนื่อง และมีความผิดพลาดสูง โดยเฉพาะข้อมูลการสูญเสีย ของผงทองระหว่างกระบวนการผลิตทองรูปพรรณ ที่ใช้การชั่งน�้ำหนักทองก่อนส่งเข้าและหลัง ส่งออกจากฝ่ายผลิต แล้วท�ำการกรอกข้อมูลรายงานผลด้วยมือ ซ่ึงมีความล่าช้าและเสี่ยงต่อ ความผิดพลาด 18 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเด่ียว บริษัทตระหนักถึงมูลค่าความสูญเสียของผงทองระหว่าง กระบวนการผลิตทองรูปพรรณแบบเดิมๆ บริษัทจึงติดต่อ บรษิ ัท ชายน์น่ิง โกลด์ กับ iTAP และได้รับค�ำแนะน�ำในการประยุกต์ใช้ระบบ จ�ำกดั ออี ารพ์ ี (Enterprise Resource Planning หรอื ERP) ซง่ึ เปน็ กรุงเทพมหานคร ระบบบริหารจัดการทรัพยากรขององค์กรด้วยซอฟต์แวร์ โอเพนซอร์ส การใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สช่วยให้บริษัท ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ สามารถพัฒนาระบบอีอาร์พีเป็นพิเศษส�ำหรับอุตสาหกรรม จ�ำหน่ายทองค�ำแท่งและทอง การผลิตทองโดยเฉพาะ และราคาของซอฟต์แวร์รวมกับการ รูปพรรณ ในรูปแบบค้าส่ง พัฒนาระบบยังมีราคาถูกกว่าการซ้ือซอฟต์แวร์อีอาร์พี ผ่านค�ำส่ังซ้ือและค้าปลีกผ่าน สำ� เรจ็ รูปเชิงพาณิชย์โดยทว่ั ไปอกี ด้วย ทางหน้าร้าน ผลประโยชนท์ ่ีเกดิ ขนึ้ โทรศพั ท์ 0 2904 6690 เวบ็ ไซต์ บริษัทสามารถลดต้นทุนการผลิตได้มากกว่า 50 ล้านบาท www.ShiningGold.com ตอ่ ปี เนอ่ื งจากมปี ระสิทธิภาพในการจดั การขอ้ มูลดีขน้ึ โดย มีระบบอีอาร์พีแจ้งข้อมูลการสูญเสียผงทองในกระบวนการ “iTAP ไม่เพียงให้ความช่วย ผลติ ตามเวลาท่ีเกดิ ข้นึ จริง (Real time) ทำ� ให้สามารถแจง้ เหลือทางด้านการเงิน แต่ยัง ไปยังแผนกที่เก่ียวข้องเพ่ือปรับปรุงการผลิตให้ลดการ ช่วยเหลือด้านวิชาการด้วย สูญเสียของผงทองได้ทันที ผู้บริหารของบริษัทสามารถ ท�ำให้การท�ำงานรวดเร็วข้ึน ตัดสินใจบนพ้ืนฐานของข้อมูลท่ีถูกต้องและรวดเร็ว อย่างเห็นได้ชัด และสามารถ นอกจากน้ี บริษัทยังมีการขยายธุรกิจโดยเปิดบริษัทซ้ือขาย รองรับการขยายงานออกไป ทองค�ำแท่งออนไลน์แห่งใหม่ ด้วยทุนจดทะเบียน 125 ได้อีกในอนาคต ที่จะน�ำเอา ล้านบาท โดยน�ำระบบอีอารพ์ ีท่ีพฒั นาขึ้นไปใชใ้ นบริษัทใหม่ Tablet หรอื smart phone แห่งน้ีด้วย มาช่วยในการออกบิลขายโดย การอ่านจากบาร์โค๊ด ท�ำให้ ก า ร อ อ ก บิ ล ร ว ด เ ร็ ว แ ล ะ ถูกต้อง จึงพร้อมที่จะเตรียม รับความเปลี่ยนแปลง และ พรอ้ มทีจ่ ะรบั AEC ในอนาคต ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี” คุณสมศักดิ์ ตณั ฑชน กรรมการผ้จู ัดการใหญ่ บรษิ ทั ชายนน์ ง่ิ โกลด์ จำ� กัด 19

ไบโอเวกก้ี ฉีกแนว Gummy จากผักและผลไม้ทางเลือกใหม่ของคนรักสุขภาพ “บรษิ ทั เชยี งใหมไ่ บโอเวก็ ก้ี จำ�กดั รว่ มกบั iTAP พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ใหมจ่ ากผกั และผลไมใ้ นประเทศ พรอ้ มรกุ ตตี ลาดเยลลใ่ี นประเทศไทย” ปญั หาและความเปน็ มา บรษิ ทั เชยี งใหมไ่ บโอเวกก้ี จำ� กดั มแี นวคดิ ทจ่ี ะเพ่มิ การผลติ ผลิตภณั ฑ์ท่ีใชผ้ กั และผลไมอ้ บแหง้ ให้ มากข้ึน เพ่ือเป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค ดังน้ันจึงได้ผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทลูกกวาด เช่น ลกู กวาด ลูกอม เยลล่ี และแยม ได้รบั ความนิยมอย่างมากและมีรสชาติหวานเปน็ ทนี่ ยิ มของ เด็กและวัยรุ่น จากการจำ� หนา่ ยพบวา่ ผลติ ภณั ฑป์ ระเภทเยลลไี่ ด้ส่วนแบ่งทางการตลาดประมาณ ครึ่งหน่ึงของตลาดลูกกวาดทั้งหมด และยังมีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ตลาดเยลล่ใี นประเทศไทยยงั มชี อ่ งวา่ งในการท�ำตลาด และมโี อกาสเติบโตได้อีกมาก โดยจะเหน็ จากการน�ำเข้าเยลล่ีจากต่างประเทศเข้ามาในตลาดไทยมากขึ้น บริษัทจึงมองเห็นทางเลือกใหม่ ทจี่ ะขยายตลาด โดยมีแนวคดิ ผลติ เยลล่ีที่ทำ� จากผักและผลไมใ้ นประเทศเปน็ หลัก 20 iTAP กับการยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเด่ยี ว สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญจากภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ บรษิ ัท เชยี งใหม่ เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ในรูปแบบ Gummy ท่ีใช้ผงผัก ไบโอเวกกี้ จำ� กัด และน�้ำผลไม้เป็นส่วนประกอบหลัก และมีการเติมวิตามินซี จ.เชยี งใหม่ เสริมเข้าไปด้วย เพ่ือเพ่ิมทางเลือกใหม่ให้แก่ผู้บริโภค โดยเฉพาะในกล่มุ ผูร้ ักสุขภาพ ผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ เสริมอาหารอัดเม็ดจากผัก ผลประโยชนท์ ีเ่ กิดขนึ้ และผลไม้ ภายใต้แบรนด์ “ไบโอเวกก้ี” ไดผ้ ลิตภัณฑต์ ้นแบบ Fruit Veggie Gummy Plus Vit.C ท่ี มีความสะดวกในการบริโภค ใช้ผักผงและน�้ำผลไม้เป็นส่วน โทรศพั ท์ 0 5302 2364-5 ประกอบหลัก และเป็นแหล่งของวิตามินซี เหมาะส�ำหรับ เวบ็ ไซต์ www.bioveggie ผ้บู ริโภคท่ใี สใ่ จสุขภาพ products.com ด้วยวิถีชีวิตในสภาวะของสังคมเช่นทุกวันน้ี คงเป็นการยาก “โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์นี้ ท่ีจะสามารถจัดสรรผักและผลไม้ รวมท้ังวิตามินที่จ�ำเป็นมา ประสบผลสำ� เร็จด้วยดี เพราะ รับประทานได้ครบถ้วน จึงนับเป็นทางเลือกใหม่ของ ได้รับการสนับสนุนจาก iTAP ผู้บริโภคในปัจจุบัน ท่ีจะบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารผัก ท้ังด้านเงินทุนในการวิจัยและ ผลไม้ในรูปแบบ Gummy ซึ่งถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง การจัดหานักวิจัยให้เชื่อมโยง ท่ีง่ายในการได้รับประโยชน์จากผักผลไม้หลากสี ซึ่งช่วย กบั ภาคอุตสาหกรรม เปน็ การ ให้ห่างไกลจากโรคเร้ือรงั เพือ่ ชีวติ และสุขภาพทด่ี ี พัฒนาศักยภาพทางด้านการ ผลิตให้เพ่ิมมากขนึ้ ” คุณเกษคง พรทววี ฒั น์ กรรมการผู้จดั การ บรษิ ัท เชยี งใหม่ไบโอเวกก้ี จำ� กัด 21

ผกั สะอาด ปลอดสารพิษ ดว้ ยเครอื่ งลา้ งผกั อัตโนมตั ิ “แซบซอย 9” จบั มอื iTAP พฒั นาเครอ่ื งลา้ งผกั อตั โนมตั ิ ยกระดบั มาตรฐานอาหารปลอดภยั สรา้ งความมน่ั ใจใหล้ กู คา้ ปญั หาและความเป็นมา แซบซอย 9 เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการรักษามาตรฐานอาหารท่ีจ�ำหน่าย จากข้อก�ำหนด ทางกระทรวงสาธารณสุขได้ก�ำหนดค่ามาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร โดยเฉพาะพืชผัก ซึ่งมักมีปัญหาเรื่องสารเคมีตกค้างท่ีต้องควบคุมเป็นพิเศษ ซ่ึงผู้ผลิตอาหารต้องปฏิบัติ และ มักประสบปัญหาในการล้างท�ำความสะอาดผักท่ีมีปริมาณการใช้เป็นจ�ำนวนมาก ประกอบกับ ต้องใช้แรงงานคน ท�ำให้ต้องล้างหลายคร้ังท�ำให้ส้ินเปลืองน้�ำ อีกท้ังผักบางชนิดอาจจะช�้ำและ ไมส่ ะอาด 22 iTAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดยี่ ว จากปัญหาดังกล่าว iTAP เครือข่ายมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี จึงใหก้ ารสนบั สนนุ ในโครงการวิจยั และพัฒนา ห้างหุ้นสว่ นจ�ำกัด เคร่ืองล้างผักอัตโนมัติต้นแบบใช้ระบบโอโซนร่วมกับการ แซบซอย 9 หมุนวนน�้ำ ขนาดความจุ 50 ลิตร ซึ่งสามารถใช้ได้กับผัก จ.อุบลราชธานี หลากหลายชนิด และใช้เวลาในการล้างไม่มาก รวมทั้ง วิเคราะห์ทดสอบหาสารปนเปื้อนในผักชนิดต่างๆ ได้แก่ ผู้ประกอบธุรกิจร้านอาหาร ยาฆา่ แมลง ฟอร์มาลีน โซเดียมไฮโดรซลั ไฟต์ (สารฟอกขาว) ต� ำ น า น เ น้ื อ โ ค ขุ น ป ร ะ จ� ำ กรดซาลิซิลิค (สารกันรา) สารบอแรกซ์ เพ่ือยืนยันความ จังหวัดอุบลราชธานี พัฒนา ปลอดภยั จากสารพษิ ตกคา้ งในผกั เคร่ืองล้างผักเพ่ือใช้ภายใน ร้าน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ผลประโยชน์ทเี่ กิดข้ึน การผลิต และสร้างมาตรฐาน ความปลอดภัยส�ำหรับอาหาร ได้ผักสะอาดผ่านค่ามาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร โทรศพั ท ์ 0 4528 5059 ตามข้อก�ำหนดทางกระทรวงสาธารณสุข ประหยัดน้�ำ และ 0 4531 5329 เวลาที่ใช้ในการล้างผัก และผลการวิเคราะห์สารพิษตกค้าง “จากท่ีได้เข้าร่วมโครงการ พบว่ามีปริมาณสารตกค้างน้อยลงเม่ือใช้เวลาการล้างผัก iTAP รู้สึกพึงพอใจในผลงาน มากข้ึนโดยผักใบใช้เวลาในการล้างคร้ังละ 5-10 นาที วิจัยอย่างมาก เคร่ืองต้นแบบ ถั่วงอกใช้เวลาครั้งละ 10 นาที ส่งผลให้ใช้แรงงานได้คุ้มค่า ท่ีได้ปัจจุบันใช้งานในร้าน การบริหารจัดการแรงงานง่ายขึ้น นอกจากใช้เองแล้ว สร้างความน่าเชื่อถือแก่ลูกค้า สามารถผลติ จำ� หน่ายทางการค้าได้ และโครงการ iTAP ช่วยให้ ผปู้ ระกอบการมกี ำ� ลงั ใจในการ คิดสรา้ งสรรค์นวตั กรรมใหม่ๆ ต่อไป” คณุ ฌานนท์ ศรีธัญรตั น์ หุ้นสว่ นผ้จู ดั การ หา้ งห้นุ สว่ นจำ� กัด แซบซอย 9 23

Spray Dryไพมัฒทนต์ า้ี สรา่วรมเตมิPแUตM่ง กลน่ิ อาหารด้วยเทคโนโลยี Encapsulation “บรษิ ทั ไมทต์ ้ี อนิ เตอรเ์ นชน่ั แนล จำ�กดั รว่ มกบั ผเู้ ชย่ี วชาญ PUM ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ พฒั นาสารแตง่ กลน่ิ Encapsulated Products สำ�หรบั อตุ สาหกรรมอาหาร เพม่ิ มลู คา่ ดว้ ยคณุ ภาพ” ปัญหาและความเปน็ มา บริษัท ไมท์ต้ี อินเตอร์เนช่ันแนล จ�ำกัด ผู้ผลิตผงปรุงรสในผลิตภัณฑ์อาหารชนิดต่างๆ มีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต่อยอด จากการใช้กระบวนการ Spray Dry ส�ำหรับการผลิต สารปรงุ แตง่ กลน่ิ ในอุตสาหกรรมอาหาร โดยใช้เทคโนโลยี Encapsulation ของวัตถดุ บิ ประเภท น�้ำมัน เพ่ือเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับผลิตภัณฑ์ของบริษัท เพ่ือรองรับการขยายตัวของ กล่มุ อุตสาหกรรมอาหาร 24 iTAP กับการยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดยี่ ว จากปัญหาดังกล่าว โครงการ iTAP เครือข่ายมหาวิทยาลัย ศิลปากร สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญจากองค์กร PUM ประเทศ บริษัท ไมท์ตี้ อนิ เตอร์ เนเธอร์แลนด์ (Netherlands senior experts) มาช่วย เนชนั่ แนล จ�ำกดั วิเคราะห์ปัญหา พัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิต จ.สมทุ รสาคร Encapsulated products โดยวธิ ี Spray drying ของวตั ถดุ บิ อาทิเช่น Flavor oil powder, Fat powder, Powdered ผู้ผลิตผงปรุงรสอาหารคาว probiotics เป็นต้น โดยเริ่มต้นจากการศึกษาสมบัติของ เครื่องปรุงรสอาหารชนิดผง วัตถุดิบและการเลือกใช้วัตถุดิบที่เหมาะสม การพัฒนาสูตร เช่น น้�ำปลา น้�ำมะขามเปียก ผสม วิธีการและเทคนิคการเตรียมอิมัลชันและการท�ำแห้ง เครื่องแกง เป็นต้น โดยผลิต แบบ Spray drying การวิเคราะห์ทดสอบ เพ่ือให้ได้ ให้กับอุตสาหกรรมอาหาร คณุ สมบัตขิ องผลิตภณั ฑต์ ามท่บี รษิ ัทตอ้ งการ ถือว่าเป็นผู้ผลิตสารเติมแต่ง กล่ินและรสชาติอาหารอันดับ ผลประโยชน์ท่เี กดิ ข้นึ ตน้ ๆ ของประเทศไทย โทรศพั ท์ 0 2933 1155 บริษัทได้รับการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จาก เวบ็ ไซต์ ผู้เชี่ยวชาญชาวเนเธอแลนด์ ที่มีความรู้และประสบการณ์สูง www.mightygroups.com เกี่ยวกับเทคโนโลยีการท�ำแห้งแบบ Spray drying ท�ำให้ “โครงการน้ีประโยชน์มากต่อ สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ ได้แก่ Encapsulated orange ผู้ประกอบการในประเทศไทย oil, Encapsulated fish oil และ Encapsulated probiotic เพราะผู้เช่ียวชาญจาก PUM ให้มีคุณภาพและคุณลักษณะตามต้องการ โดยมีช่วงเวลา ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้น�ำ ของความทนทานของผลิตภัณฑ์ท่ีเก็บได้นานบนช้ันวาง ความรู้และประสบการณ์ท่ี สินค้านานขึ้น และเกิดความคุ้มค่าสูงสุดของปัจจัยการผลิต ส่ั ง ส ม ม า อ ย ่ า ง ย า ว น า น ท่ีใช้ ส่งผลให้บริษัทสร้างความเข้มแข็งในการเป็นผู้น�ำด้าน ถ่ายทอดให้กับผู้ประกอบการ สารเติมแต่งในอุตสาหกรรมอาหารตอ่ ไป ภายในระยะเวลาอันส้ัน ซึ่งผู้ ประกอบการจะได้ความ เข้าใจในปัญหาที่เกิดข้ึน และ ได้ความรู้เพิ่มเติม อย่างครบ ถว้ น” คุณวสันต ์ รตั นานุภาพ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไมทต์ ้ี อนิ เตอร์ เนชนั่ แนล จำ� กดั 25

นวัตกฝรรมี มือแผคน่ นปดิไทแผยลนาโน “จดุ ประกายไอเดยี ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หม่ ทดสอบคณุ ภาพผลติ ภณั ฑเ์ พอ่ื ตอ่ ยอดขยายผลในเชงิ พาณชิ ย”์ ปญั หาและความเป็นมา บริษัท ไทยนาโนเซลลโู ลส จำ� กดั ก่อตัง้ ข้ึนโดย เภสัชกร สมบัติ รุ่งศลิ ป์ ในปี พ.ศ. 2548 โดยถอื เป็นบริษัทแรกของประเทศไทยที่สามารถผลิตเซลลูโลสชีวภาพจากการเพาะเล้ียงจุลินทรีย์ Acetobacter xylinum ในนำ้� สับปะรดและปลายข้าวเลบ็ นก จากองคค์ วามรู้ดังกล่าว บรษิ ัทได้ ท�ำการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์วัสดุปิดบาดแผลเซลลูโลสชีวภาพ ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษคือ เส้นใยขนาดเล็กระดับนาโนเมตร อุ้มน้�ำสูง สีขาวนวล สัมผัสนุ่ม แนบเนื้อ ยึดหยุ่นสูง ให้ความ รู้สึกเย็นเมื่อสัมผัส และคงตัวต่อรังสี ความร้อน และสารเคมี โดยบริษัทต้องการทดสอบ ประสทิ ธิภาพของแผน่ ปดิ บาดแผลเซลลโู ลสชวี ภาพ เพ่อื น�ำข้อมูลที่ไดไ้ ปพฒั นาตอ่ ยอดผลิตภณั ฑ์ เพ่ือขยายผลในเชิงพาณชิ ย์ตอ่ ไป 26 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดี่ยว iTAP ให้ค�ำแนะน�ำและให้การสนับสนุนเจ้าหน้าท่ีในการ ด�ำเนินโครงการทดสอบผลิตภัณฑ์วัสดุปิดบาดแผลเซลลูโลส บริษทั ไทยนาโน ชีวภาพของบริษัทกับผู้ป่วยจริง โดยท�ำการเปรียบเทียบการ เซลลโู ลส จำ� กัด หายของแผลเฉียบพลันระหว่างกลุ่มผู้ป่วยท่ีท�ำแผลด้วยวัสดุ จ.พทั ลงุ ปิดบาดแผลเซลลูโลสชีวภาพของบริษัทกับกลุ่มผู้ป่วยที่ท�ำ แผลด้วยแผ่นปิดแผลไฮโดรคอลลอยด์ที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไป ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ โดย iTAP ไดช้ ว่ ยจดั หาคณะแพทย์ พยาบาล และเจา้ หนา้ ท่ี จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพท่ี เทคนคิ การแพทย์ เพอ่ื เปน็ ทมี ทป่ี รกึ ษาใหก้ บั บรษิ ทั โดยไดร้ บั มีเซลลูโลสชีวภาพเป็นแกน ความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ในการ โดยมีผลิตภัณฑ์เด่น ได้แก่ เอื้อเฟื้อสถานท่ี บุคลากร เคร่ืองมือ และผู้ป่วยนอก แผ่นมาส์กหน้า แผ่นปิดใต้ (ทม่ี บี าดแผลถลอก) ซงึ่ เขา้ รบั การรกั ษาจากโรงพยาบาลเปน็ ขอบตา ภายใต้เครื่องหมาย กลมุ่ ตวั อยา่ งในการทดลอง การคา้ แผ่นปดิ อเนกประสงค์ Difference และ แผ่นปิด ผลประโยชน์ท่เี กดิ ขน้ึ บาดแผล GauzDex ผลจากการทดสอบพบว่าวัสดุปิดบาดแผลเซลลูโลสชีวภาพ โทรศพั ท์ 0 7462 0742 ของบริษัท สามารถน�ำมาใช้รักษาแผลเฉียบพลันได้อย่าง เวบ็ ไซต์ www.thaitnc.com ปลอดภัย มีระยะการหายของบาดแผลเป็นที่น่าพอใจ คุณสมบัติการเก็บรักษาความชุ่มช้ืนของเซลลูโลสชีวภาพ “ชอบ iTAP ครับ เพราะ ทำ� ใหร้ สู้ กึ เยน็ เมอ่ื สมั ผสั สง่ ผลใหล้ ดอาการปวดบาดแผล วสั ดุ ติดต่อ เข้าถึงได้ง่าย เป็นมิตร ไม่ติดแผลขณะแกะออก ท�ำให้ผู้ป่วยไม่เจ็บและแผลหายเร็ว รวดเร็ว เบด็ เสรจ็ ณ จุดเดยี ว ขึ้นโดยผู้ป่วยไม่จ�ำเป็นต้องท�ำแผลทุกวัน ซ่ึงจากผลการ ครบั ” ทดสอบดงั กลา่ ว บรษิ ทั สามารถขยายผลเชงิ พาณชิ ย์ โดยการ ตอ่ ยอดการพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากเซลลโู ลสชวี ภาพ ทงั้ ในตลาด เภสชั กร สมบตั ิ รุง่ ศลิ ป์ ผลติ ภณั ฑท์ างการแพทย์ และตลาดผลติ ภณั ฑเ์ สรมิ ความงาม บรษิ ทั ไทยนาโนเซลลโู ลส จำ� กดั 27

ไทย-ออสท์ พัฒนาผลติ ภัณฑ์ประตูหน้าตา่ ง อะลมู ิเนยี มมาตรฐานสากล แห่งแรกในประเทศไทย iTAP หนนุ บรษิ ทั ไทย-ออสท์ อะลมู เิ นยี ม จำ�กดั รว่ มกบั คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ (กำ�แพงแสน) พฒั นาหอ้ งทดสอบโครงกระจกอะลมู เิ นยี ม เพม่ิ คณุ ภาพของ ผลติ ภณั ฑเ์ ทยี บเทา่ มาตรฐานสากลแหง่ แรกในประเทศไทย ปญั หาและความเปน็ มา บริษัท ไทย-ออสท์ อะลูมิเนียม จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายประตูและหน้าต่างอะลูมิเนียม ส�ำเรจ็ รูป มคี วามต้องการพฒั นาผลิตภัณฑ์ให้มีคณุ ภาพเทยี บเทา่ มาตรฐานการสากล แต่ในขณะ เดียวกันยังไม่มีมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย รวมถึงไม่มีห้องทดสอบโครงกระจก อะลูมิเนียมในประเทศไทย ท�ำให้บริษัทฯ จึงต้องส่งผลิตภัณฑ์ไปทดสอบยังต่างประเทศซ่ึงใช้ เวลานานและมีค่าใช้จ่ายสูง จึงมีแนวความคิดในการสร้างห้องทดสอบเพ่ือใช้ในการทดสอบและ พัฒนาผลติ ภณั ฑแ์ ละใชเ้ ป็นขอ้ มูลในสร้างมาตรฐานผลติ ภัณฑใ์ นอนาคต 28 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเด่ยี ว จากความต้องการดังกล่าว iTAP จึงให้การสนับสนุน โครงการสร้างห้องทดสอบโครงกระจกอะลูมิเนียมในอาคาร บรษิ ทั ไทย-ออสท์ (บ้านพักอาศัย) โดยผู้เช่ียวชาญจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ อะลูมิเนยี ม จำ� กดั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ก�ำแพงแสน) ใช้ระยะเวลาการ จ.กาญจนบุรี วิจัยและพัฒนาห้องทดสอบถึง 3 ปี ตั้งแต่การออกแบบ จดั สรา้ ง และทดสอบระบบตา่ งๆ ในหอ้ งทดสอบ จนสามารถ ผู้ผลิตสินค้าจากอะลูมิเนียม ท�ำการวิเคราะห์ทดสอบการโก่งงอ การร่ัวซึมของอากาศ ประกอบส�ำเรจ็ รูปจากโรงงาน การซึมผ่านของน้�ำ การทดสอบแรงท่ีใช้ในการท�ำงาน และ เพื่อการก่อสร้าง และที่อยู่ การทดสอบการเปิด-ปิดของบานประตู หน้าต่าง ส่งผลให้ อาศัย โดยใช้สินค้าภายใต้ช่ือ บริษัทสามารถรับประกนั คณุ ภาพผลติ ภัณฑไ์ ดน้ าน 5-10 ปี Trustand (ทรสั แสตนด)์ ผลประโยชน์ที่เกดิ ขึ้น โทรศัพท์ 0 3462 5239-41 เวบ็ ไซต์ www.thaiaust.com บริษัทมีห้องทดสอบมาตรฐานโครงกระจกประตู หน้าต่าง อะลูมิเนียม ท่ีมีมาตรฐานเทียบเท่าผลิตภัณฑ์สากลแห่งแรก ในประเทศไทยลดค่าใช้จ่ายในการส่งผลิตภัณฑ์ไปทดสอบ ยังต่างประเทศเหลือเพียงหลักหม่ืนบาท และใช้เวลาในการ ทดสอบเพยี ง 1 สปั ดาหเ์ ทา่ นั้น ท�ำใหบ้ ริษทั สามารถพัฒนา ผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงออกสู่ตลาดได้อย่างต่อเนื่อง สร้าง ความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค และกระตุ้นยอดขายของบริษัท ได้หลายร้อยล้านบาทต่อปี และจากการพัฒนาห้องทดสอบ ท� ำ ใ ห ้ บ ริ ษั ท มี ค ว า ม พ ย า ย า ม ที่ จ ะ ผ ลั ก ดั น ม า ต ร ฐ า น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ประตู หน้าต่างอะลูมิเนียม ซ่ึงหากส�ำเร็จจะเป็นรายแรกของ ประเทศไทยทไี่ ดร้ ับการรับรองอีกดว้ ย 29

“แคปซูลไม้ I-MAC” นวตั กรรมวสั ดุเพอื่ ฟื้นฟปู า่ ชายเลน “iTAP หนนุ บรษิ ทั นกั วจิ ยั ไทยรนุ่ ใหม่ พฒั นานวตั กรรมกระบอกไมป้ ระกอบพลาสตกิ เพอ่ื อนบุ าลตน้ โกงกางรกั ษาระบบนเิ วศนท์ อ้ งทะเลไทย” ปญั หาและความเป็นมา บรษิ ทั เปน็ ผผู้ ลติ ไมป้ ระกอบพลาสตกิ ในประเทศภายใตแ้ บรนด์ “Artowood” ซง่ึ เปน็ วสั ดทุ เี่ ปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม มีความมุ่งม่ันที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่วัสดุเหลือใช้ต่างๆ จากอุตสาหกรรม แปรรูปไม้และพลาสติกโดยการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่เพ่ือส่ิงแวดล้อม และได้เล็งเห็นถึง ความส�ำคัญของการลดลงของพื้นท่ีป่าชายเลนของไทย ซ่ึงส่งผลกระทบกับส่ิงแวดล้อมทั้งด้าน ความสมดุลของระบบนิเวศน์ รวมทั้งวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรในพ้ืนที่ จึงได้ สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมชว่ ยชะลอและปอ้ งกนั การกดั เซาะปา่ ชายเลน ภายใตช้ อ่ื แคปซลู ไม้ I-MAC 30 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร Technology Tailor-Made โครงการเดี่ยว บรษิ ทั ขอรบั การสนบั สนนุ โครงการ iTAP ในการออกแบบและ พัฒนาต้นแบบชิ้นงาน ในรูปแบบของเสาสลายก�ำลังเพ่ือให้ บรษิ ทั อารโ์ ตว้ ู๊ด สามารถลดแรงปะทะของคลนื่ และลดการชะลา้ งตะกอนดนิ (ไทยแลนด)์ จำ� กดั ทรายลงสู่ทะเล อีกท้ังยังช่วยในการอนุบาลต้นกล้าของ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ต้นโกงกาง และช่วยผยุงล�ำต้นในระหว่างท่ีรากค้�ำยันยังไม่ สามารถยดึ กบั พนื้ เลนไดอ้ ยา่ งมน่ั คง จนเมอื่ ลำ� ตน้ และรากไม้ “ ผู ้ น� ำ ด ้ า น ง า น วิ จั ย ไ ม ้ แขง็ แรงดแี ลว้ ใชเ้ วลาประมาณ 5 ปี กจ็ ะยอ่ ยสลายไดเ้ องตาม ประกอบพลาสติก WPC ธรรมชาติ (Wood-Plastic Composite) เพื่อนวัตกรรมสีเขียว ส�ำหรับ ผลประโยชนท์ ี่เกดิ ขนึ้ อุตสาหกรรมการก่อสร้าง และตลาดวัสดุทดแทนงานไม้ จากการพฒั นา แคปซลู ไม้ I-MAC รว่ มกบั ผเู้ ชย่ี วชาญ ทำ� ให้ ภายใตแ้ บรนด์ Artowood” บริษัทได้ต้นแบบที่สามารถใช้งานได้และพร้อมที่จะขยายผล ใหเ้ กดิ ในวงกวา้ ง โดยการนำ� ไปทดลองในพนื้ ทปี่ า่ ชายเลน ซง่ึ โทรศัพท์ 09 5708 9990 พบว่าพ้ืนที่ทดลองสามารถดักตะกอนได้มากข้ึนและมีอัตรา การรอดของต้นโกงกางสูงข้ึนอีกด้วย และนอกจากนี้ยัง “การวิจัยและพัฒนาสินค้า สามารถผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การบรู ณาการแนวทางปอ้ งกนั การกดั ใหม่ไม่เพียงแต่จะมุ่งเร่ืองผล เซาะชายฝั่งที่มีประสิทธิภาพทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อมและ ประโยชน์ส่วนตนเท่านั้นแต่ ภูมิสังคมได้มากที่สุด ส่งเสริมและพัฒนาระบบนิเวศน์และ ยั ง ต ้ อ ง มี ส� ำ นึ ก ต ่ อ ส ภ า พ สิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน นอกจากนี้ บริษัท แวดล้อมของโลกที่เราอาศัย สามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ท่ีมีความ ด้วยถึงจะเหมาะกับค�ำว่า ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ มี เ อ ก ลั ก ษ ณ ์ น วั ต ก ร ร ม ไ ท ย มี ดี เ พ่ื อ สิ่ ง โดดเดน่ และเปน็ ผนู้ ำ� นวตั กรรม แวดล้อม และ iTAP เองก็ ผลิตภัณฑ์ไม้ประกอบของไทย ให้การสนับสนุนโครงการดีๆ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แบบนี้เร่ือยมา เย่ียมมาก ครับ” ดร.ธนดล สตั ตบงกช กรรมการผจู้ ัดการ บรษิ ัท อารโ์ ตว้ ๊ดู (ไทยแลนด์) จำ� กัด 31

กย่ีทกอรมะอื ดอับัตผโา้นไมทัตยิ “iTAP ใหก้ ารสนบั สนนุ บรษิ ทั เนเชอรลั ณชิ จำ�กดั พฒั นาตน้ แบบกท่ี อมอื อตั โนมตั เิ พม่ิ ผลผลติ และคณุ ภาพผา้ ไทย” ปัญหาและความเปน็ มา การทอผ้ายกดอกพื้นเมืองของไทยซ่ึงมีลวดลายสวยงามและสลับซับซ้อนเป็นงานฝีมือที่นับวัน จะหาช่างทอผ้าด้วยกี่ทอมือท่ีมีความสามารถในการทอได้ยากข้ึน เน่ืองจากช่างทอผ้าต้องมี ความช�ำนาญสงู ในการจดจำ� ต�ำแหน่งขาเหยยี บทีส่ อดคล้องกับตะกอ (ส่วนของเส้นด้ายท่ีรอ้ ยกับ กรอบไม้ สําหรับแยกเส้นด้ายยืนให้ขึ้นลงเพ่ือให้ขัดกับเส้นด้ายพุ่ง ท�ำให้เกิดลายบนผ้าทอ) นอกจากนี้ ช่างทอผ้ายังต้องท�ำการหย่อนผ้าเพ่ือคายและม้วนเข้าใหม่ในการทอผ้าที่ความยาว ทกุ ๆ 1 – 2 ฟตุ วา่ ที่ รต.ณฐั วชั ร นธิ ทิ องสกลุ ผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั เนเชอรลั ณชิ จำ� กดั มแี นวคดิ ใน การวิจัยและพัฒนาก่ีทอมือ โดยเน้นที่ระบบยกตะกอและระบบม้วนผ้าอัตโนมัติ ซ่ึงเป็นปัญหา หลกั ของกท่ี อผ้าดงั ท่ไี ดก้ ล่าวมาข้างตน้ 32 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดยี่ ว บริษัทได้รับการสนับสนุนเพ่ือพัฒนาและผลิตต้นแบบ ก่ีทอมืออัตโนมัติ โดยการใช้ความรู้ด้านเคร่ืองกลจากทีม บริษัท เนเชอรลั ณิช ผู้เช่ียวชาญจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จำ� กดั ระบบอัตโนมัติดังกล่าว ประกอบด้วย ระบบการยกตะกอที่ กรุงเทพมหานคร สามารถทอผา้ ยกดอกได้ 20 ตะกอด้วยการบงั คบั ขาเหยียบ เพียงสองขาเหยยี บเทา่ นั้น (จากเดมิ ที่เป็นแบบหน่ึงตะกอต่อ ผู้ประกอบการผลิตกี่ทอผ้า หนึ่งขาเหยียบ) ส่งผลให้สามารถข้ึนลวดลายบนผืนผ้าได้ แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ ส่ิ ง ท อ จ า ก อย่างละเอยี ดมากขน้ึ ระบบการมว้ นผ้าและคายผา้ อตั โนมัติ เส้นใยธรรมชาติ ประเภทผ้า ท�ำให้ลายผ้าและความหนาของผ้ามีความสม่�ำเสมอ โดย ผืนส�ำหรับบุเฟอร์นิเจอร์และ กลไกอัตโนมัติท้ังหมดที่ใช้เป็นระบบเครื่องกลแบบที่ไม่ใช้ ผา้ ม่าน กระแสไฟฟ้า ท�ำให้สามารถใช้งานได้ในทุกสถานที่โดยไม่ ต้องพ่งึ ระบบไฟฟา้ และดูแลรกั ษาง่าย โทรศพั ท์ 0 2875 5374 ผลประโยชน์ทเี่ กิดขึ้น “iTAP เป็นหน่วยงานที่ช่วย ให้ความฝันของนักประดิษฐ์ ก่ีทอมืออัตโนมัติที่พัฒนาข้ึนสามารถควบคุมคุณภาพของผ้า สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ท อ มื อ ใ ห ้ ไ ด ้ เ ที ย บ เ ท ่ า กั บ ก า ร ท อ ผ ้ า ด ้ ว ย เ ค ร่ื อ ง จั ก ร เป็นจริงได้ตามฝัน และช่วย อุตสาหกรรม นอกจากน้ียังเพ่ิมประสิทธิภาพของการทอผ้า ให้ผู้ประกอบการขนาดเล็กท่ี โดยใช้ระยะเวลาทอต่อผืนลดลง และมีคุณภาพสูงขึ้นอย่าง มีงบประมาณน้อยในการท�ำ สม�่ำเสมอ โดยสามารถเพ่ิมผลผลิตต่อวันได้อย่างน้อย R&D ได้พัฒนาให้สามารถ รอ้ ยละ 15 – 20 ตอ่ วัน นอกจากนี้ กท่ี อมอื อตั โนมตั ิดังกลา่ ว ผลิตผลิตภัณฑ์หรือสินค้าให้ ยังช่วยพัฒนาวิธีการในการทอผ้าที่เป็นงานยากส�ำหรับ เปน็ ที่ยอมรบั ของตลาดได้” ผู้ไม่เคยทอให้ฝึกและทอได้ง่ายขน้ึ วา่ ที่ รต. ณัฐวชั ร นิธิทองสกลุ ผบู้ รหิ าร บริษทั เนเชอรัล ณิช จำ� กัด 33

เทคโนโลยีทำ�ลายมอด สใน่งไอมอ้ยกาขงอพงารเลาเพ่น่อื เกดาก็ ร PlanToys พฒั นาเทคโนโลยที ำ�ลายมอดและไขม่ อด ในเนอ้ื ไมก้ อ่ นการสง่ ออก เพอ่ื ความปลอดภยั จาก การใชส้ ารเคมี และรกั ษาคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ ปญั หาและความเป็นมา บริษัท แปลนครีเอชั่นส์ จ�ำกัด ผู้ผลิตของเล่นเด็กส่งออกต่างประเทศ ใช้วัตถุดิบหลักคือ ไมย้ างพาราแปรรูปที่ผ่านการอบแห้ง โดยไม่ผ่านกระบวนการใชส้ ารเคมเี พอ่ื ปอ้ งกันรักษาเนอ้ื ไม้ เพื่อความปลอดภัยตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ประกอบกับพื้นท่ีต้ังโรงงานผลิต อยู่แถบภาคใต้ สภาวะอากาศท่ีร้อนชื้นก่อให้เกิดปัจจัยเอ้ือต่อการเจริญเติบโตของมอดใน ผลิตภัณฑ์ ท�ำให้บริษทั ตอ้ งหาแนวทางการแกไ้ ขก่อนส่งจ�ำหน่ายยงั ต่างประเทศ 34 iTAP กับการยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดยี่ ว จากความต้องการดังกล่าว iTAP เครือข่ายมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ จึงจัดหาผู้เชี่ยวชาญ ท�ำการวิจัยและพัฒนา บรษิ ทั แปลนครเี อชน่ั ส์ เทคโนโลยีการให้ความร้อนด้วยคล่ืนไมโครเวฟ เพื่อท�ำลาย จำ� กดั ไข่และตัวมอดในของเล่นจากไม้ยางพารา ซึ่งผู้เช่ียวชาญได้ จ.ตรัง ท�ำการวิเคราะห์หาเง่ือนไขที่เหมาะสมของเวลาและก�ำลัง คลื่นไมโครเวฟในการเพิ่มอุณหภูมิภายในไม้ยางพาราให้ ผู้ผลิตของเล่นเด็กจากไม้ มากกว่า 60 องศาเซลเซียส รวมทั้งออกแบบระบบการให้ ยางพารา ภายใต้แบรนด์ ความร้อนด้วยไมโครเวฟส�ำหรับท�ำลายไข่และตัวมอดของ PlanToys เป็นผลิตภัณฑ์ ผลติ ภณั ฑ์ซ่งึ บรรจใุ นกล่อง ก่อนท่ีจะน�ำเข้าตู้คอนเทนเนอร์ ข อ ง บ ริ ษั ท ที่ ใช ้ ค ว า ม คิ ด สร้างสรรค์เพ่ือออกแบบโดย ผลประโยชนท์ เ่ี กดิ ขนึ้ เน้นประโยชน์ท่ีจะเกิดกับ พัฒนาการของเด็กท่ีจะได้รับ จากการด�ำเนินโครงการ บริษัทสามารถพัฒนาเคร่ืองต้น เป็นส�ำคัญและให้ความส�ำคัญ แบบท่ีใช้เทคโนโลยีคลื่นไมโครเวฟ เพ่ือท�ำลายไข่และตัว กับความปลอดภัยเป็นอย่าง มอดในผลิตภัณฑ์ของเล่นไม้ยางพารา ซ่ึงสามารถขยายผล ยง่ิ ตอ่ ผใู้ ชผ้ ลติ ภณั ฑ์ ให้สามารถใช้งานได้จริงในระดับอุตสาหกรรม ที่ผ่านการ ทดสอบการท�ำลายมอดและไข่มอดหลังจากผ่านคลื่น โทรศัพท์ 0 2237 9070 ไมโครเวฟได้ผลถึง 100% รวมท้ังสามารถรักษาคุณภาพ เวบ็ ไซต์ th.plantoys.com มาตรฐานด้านความปลอดภยั สงู สุด ดว้ ยการไม่ใช้สารเคมีใน ทุกกระบวนการผลิต เพ่ิมความเช่ือมั่นให้กับผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ “เป็นโครงการท่ีดี และมี ทวั่ โลก ประโยชน์มากกับบริษัทฯ ท่ี ไ ด ้ น� ำ เ อ า น วั ต ก ร ร ม แ ล ะ พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ มา ประยุกต์และสามารถใช้งาน ได้จริง มีประสิทธิภาพในการ แก้ปัญหาเกี่ยวกับเร่ืองมอด และไข่มอดในเน้อื ไม้ เปน็ การ สร้างความแตกต่างของ ผลิตภัณฑ์ในด้านความเป็น มิตรต่อสง่ิ แวดล้อม” คณุ วิมล วริ ะพรสวรรค์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท แปลนครีเอชัน่ ส์ จ�ำกดั 35

ยางพารา นวตั กรรมใหม่ ส่คู รมี บำ�รงุ ผิวหนา้ ไลโปโซม “บรษิ ทั พ.ี เอส.ยู นวตั วาณชิ ย์ จำ�กดั รว่ มกบั iTAP ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยไี ลโปโซมในครมี บำ�รงุ ผวิ หนา้ จากสารสกดั ยางพารา เพม่ิ การซมึ ซาบสชู่ น้ั ผวิ ไดล้ กึ และเรว็ ยง่ิ ขน้ึ สผู่ วิ หนา้ ขาวใส” ปัญหาและความเป็นมา ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางพาราจ�ำนวนมาก นอกจากภาคใต้ท่ีรายได้หลักมาจากการท�ำสวน ยางพาราแลว้ ปัจจุบนั ไดข้ ยายไปส่หู ลายพืน้ ที่ทั้งภาคตะวันออก ภาคอสี าน และภาคเหนอื ท�ำให้ ประเทศไทยกลายเป็นประเทศผู้ส่งออกน้�ำยางในอันดับต้นๆ ของโลกเป็นผลให้บริษัท พี.เอส.ยู นวัตวาณิชย์ จ�ำกัด ได้คิดค้นการเสริมสร้างศักยภาพของน้�ำยางพาราให้มากกว่าท่ีจะเป็นเพียง น�้ำยางพาราอย่างเดียว โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหมจ่ ากสารสกดั จากยางพาราคอื Hb (Hevea brasiliensis) Extract Liposome Cream เพ่ือตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ทหี่ นั มาใส่ใจดา้ นสขุ ภาพและผวิ พรรณมากขน้ึ 36 iTAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iTAP ชว่ ยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดีย่ ว สนับสนุนผู้เช่ียวชาญจากภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขต บริษัท พ.ี เอส.ยู หาดใหญ่ เพื่อวจิ ยั การนำ� ระบบน�ำส่งไลโปโซมมาประยุกต์ใช้ นวัตวาณิชย์ จ�ำกดั สำ� หรบั การเตรยี ม Hb Extract ในรูปแบบส�ำหรับใช้เฉพาะที่ จ.สงขลา เพ่ือช่วยเพ่ิมการซึมผ่านผิวหนังของสารให้มีปริมาณท่ีเพียง พอตอ่ การออกฤทธใ์ิ นการรกั ษาเพมิ่ ความขาวใหก้ บั ผวิ พรรณ ผปู้ ระกอบการผลติ ผลติ ภณั ฑ์ และทดลองวิจัยเพื่อศึกษาผลทางห้องปฏิบัติการในการ บ�ำรุงผิวหน้าที่ผลิตจากสาร ประเมินประสิทธิภาพในด้านการเป็นรูปแบบผลิตภัณฑ์ท่ี สกดั ยางพารา ภายใตแ้ บรนด์ เพิ่มการซึมผ่านสารส�ำคัญที่ช่วยในการบ�ำรุงผิวหน้าให้ “POS” สามารถผ่านเข้าสู่ผิวหนังในปริมาณที่มากเพียงพอและ ระดับลึกที่ช่วยให้เกิดประสิทธิผลท่ีแท้จริงของสารส�ำคัญ โทรศัพท์ 0 7428 6820 เหลา่ น้ีตอ่ ผวิ หนัง เวบ็ ไซต์ www.psu-itc.com ผลประโยชน์ทีเ่ กดิ ขน้ึ “เพื่อนคู่คิด SME แก้ไข ปญั หาเทคโนโลยีดว้ ย iTAP” ได้ผลิตภัณฑ์ครีมไลโปโซมสารสกัดจากยางพารา และ เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไลโปโซมในการน�ำส่งสาร คณุ ปุณณาพัฒน์ เนตโิ พธิ์ ส�ำคัญเพื่อช่วยเพ่ิมการซึมผ่านผิวหนังของสารให้มีปริมาณท่ี กรรมการผจู้ ดั การ เพียงพอต่อการออกฤทธ์ิในการรักษา ทั้งยังซึมซาบลงสู่ชั้น บริษทั พ.ี เอส.ยู ผิวได้ลึกและเร็วย่ิงข้ึน ไม่เหนียวเหนอะหนะและมี นวัตวาณิชย์ จำ� กดั ประสิทธภิ าพท่ีดีตอ่ ผิว นับเป็นสุดยอดนวัตกรรมที่ช่วยยกระดับและเพิ่มราคาให้น�้ำ ยางพารา แถมได้ผลิตภัณฑ์บ�ำรุงผิวหน้าที่มีคุณสมบัติเทียบ ช้ันเมอื งนอกแตร่ าคาไทยๆ ตอบโจทย์กล่มุ ผรู้ กั สุขภาพผิวใน ราคาประหยดั 37

เทคโนโลยเี สริมสร้างเอกลักษณ์ชาพื้นถนิ่ ล้านนา ชาหอมเป่ยี มความสขุดว้ ย Encapsulation: เทคโนโลยีเพือ่ เพ่ิมคุณภาพผลติ ภณั ฑช์ าและสมุนไพร โดยผู้เชีย่ วชาญจากประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ (PUM Netherlands Senior Experts) “พัฒนาวิธีสกัดและปรับแต่งกล่ินให้กับชาสมุนไพรด้วย เทคโนโลยกี ารหอ่ หมุ้ สารสำ�คญั (Encapsulate) ทห่ี อ่ หมุ้ กลน่ิ ไว้ ชว่ ยรกั ษากลน่ิ ชาใหด้ ขี น้ึ และทำ�ใหก้ ลน่ิ ไมห่ ายไปกบั ความรอ้ น แตใ่ หก้ ลน่ิ กระจายคงตวั อยใู่ นนำ้ � ใหค้ วามหอม ทนนาน เพอ่ื ใหผ้ บู้ รโิ ภคทซ่ี อ้ื ชาไปไดค้ รบทกุ ดา้ นทง้ั รสชาติ กลน่ิ และความสขุ ” ปญั หาและความเปน็ มา ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ไฟว์สตารส์ เฮอเบิล แกลเลอร่ี เป็นผู้ผลิตใบชาและสมุนไพรทุกชนิด โดยใช้ ภูมิปัญญาท้องถ่ินต่อยอดจากยาแผนโบราณต�ำรับล้านนาผสมกับองค์ความรู้จากการผลิตชา โดยมีพ้ืนที่ในการเพาะปลูกใบชาทั้งที่จังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ รวมกันประมาณ 400 ไร ่ โดยทจี่ ังหวดั เชยี งใหมป่ ลูกชาอัสสัม และจังหวัดเชยี งรายปลูกชาอูหลง ส่วนโรงงานผลิต ต้งั อยู่ทีจ่ ังหวัดเชยี งใหม่ ท�ำการผลติ ใบชาสง่ ออก 80 % อีก 20 % น�ำมาแปรรูปเปน็ ผลติ ภัณฑ์ บรรจุซอง โดยใช้เทคโนโลยีการผลติ จากไตห้ วัน ผู้บริหารมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาและสมุนไพรเพ่ือให้ได้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพ และดีที่สุดส�ำหรับผู้บริโภค จากการศึกษาผลิตภัณฑ์ชาในตลาดพบว่า บริษัทที่ท�ำชา 38 iTAP กับการยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

รายใหญ่ๆ ทั่วโลก จะมีช่ือเสียงในด้านของชากลิ่นต่างๆ Technology Tailor-Made ดั ง น้ั น ห า ก ท า ง โ ร ง ง า น จ ะ ท� ำ ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ ต ่ อ ย อ ด โครงการเดย่ี ว ผลิตภัณฑ์ชาให้มีกลิ่นจากวัตถุดิบที่มีภายในประเทศ เพ่ือสร้างเอกลักษณ์เฉพาะและคุณภาพท่ีดีให้กับผลิตภัณฑ์ หา้ งหนุ้ ส่วนจ�ำกดั โดยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคส่วนใหญ่ ไฟว์สตารส์ เฮอเบลิ ได้ น่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพเพื่อการแข่งขันกับผลิตภัณฑ์ แกลเลอรี่ ชาน�ำเขา้ จากตา่ งประเทศได้ จ.เชียงใหม่ iTAP ช่วยอะไร? โทรศัพท์ 0 5311 6818 iTAP จึงประสานความร่วมมือกับโครงการ Netherlands “ด้วยความท่ีกิจการเป็นเพียง Senior Experts (PUM) ซง่ึ เปน็ องคก์ รท่ไี ดร้ ับการสนบั สนุน SME เล็กๆ จึงแอบคิดฝัน ด้านการเงินจากรัฐบาลประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ น�ำผ้เู ชย่ี วชาญ และตั้งเป้าหมายระยะยาว ด้านกลิ่นจากประเทศเนเธอร์แลนด์เข้ามาช่วยในการสกัด เอาไว้ว่าอยากท�ำให้สินค้ามี และปรับแต่งกลิ่นให้กับชาสมุนไพร จากดอกไม้และผลไม้ที่ คุณภาพ และมาตรฐานอยู่ใน มีอยู่ภายในประเทศ รวมทั้งเทคนิคในการกักเก็บกลิ่น ระดับสากล เป็นท่ียอมรับท้ัง สมุนไพรในใบชาได้นานข้ึนขณะชงด่ืม ด้วยเทคโนโลยีการ ในประเทศ และต่างประเทศ ห่อหุ้มสารส�ำคัญ (Encapsulation) เพ่ือให้เกิดความคงทน จ น ไ ด ้ รั บ ค� ำ แ น ะ น� ำ จ า ก ของสารหรือกล่ินหอม ท�ำให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ชา สวทช. ทม่ี ีโครงการดีๆ พร้อม สมุนไพรที่มีกล่ินและรสชาติได้หลากหลายมากย่ิงขึ้นภายใต้ สนับสนุนความคิดและความ คา่ ใช้จ่ายและต้นทุนท่เี หมาะสม ฝันให้เกิดเป็นการปฏิบัติท่ี สามารถน�ำมาใช้ได้จริงและ ผลประโยชนท์ เี่ กดิ ขึน้ เกิดผลที่ดีท�ำให้เป้าหมายที่ เคยคิดว่าอีกยาวไกลนั้นบรรลุ หลังจากการพัฒนาผลิตภัณฑ์แล้ว สิ่งท่ีผู้บริหารได้เดินหน้า ผลได้ไม่ไกลเกินเอ้ือมอีกต่อ ต่อคือ การสร้างมาตรฐานการผลิตที่ผู้บริโภคยอมรับ ซ่ึงได้ ไปขอขอบคุณ สวทช. ท่ีมี รับความช่วยเหลือจาก iTAP อย่างต่อเนื่อง ในการจัดท�ำ ส่วนช่วยท้ังทนุ ทรัพย์ และค�ำ ระบบ HACCP และ ISO 22000:2005 เพ่ือรับรองความ ปรกึ ษาที่ดตี ลอดมาค่ะ” ปลอดภัยในด้านคุณภาพการผลิตและการน�ำไปบริโภค สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิตได้ 5% คุณสุวลี เกียรตก์ิ รัณย์ และ หลงั จากผลติ ภัณฑอ์ อกสูต่ ลาด พบว่าไดร้ ับการตอบรับ กรรมการผจู้ ดั การ อย่างดีจากกลุ่มผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ ท�ำให้ยอด หา้ งหนุ้ ส่วนจำ� กดั ขายเพ่มิ ขน้ึ กว่า 30% ไฟวส์ ตารส์ เฮอเบลิ แกลเลอรี่ 39

เป๋าฮือ้ ภูเกต็ ธรุ กจิ ไทยกา้ วไกลในเวทีโลก กลมุ่ บรษิ ทั ภเู กต็ เปา๋ ฮอ้ื ผนู้ ำ�ระดบั โลก ดา้ นผลติ ภณั ฑน์ วตั กรรมเทคโนโลยชี วี ภาพจากหอยเปา๋ ฮอ้ื เพอ่ื สขุ ภาพและความงาม เขม้ แขง็ ดว้ ยงานวจิ ยั และพฒั นา ปญั หาและความเปน็ มา กลุ่มบริษัท ภูเก็ต เป่าฮื้อ เป็นกลุ่มบริษัทที่ท�ำการศึกษาหอยเป๋าฮื้อ ซึ่งเป็นหอยท่ีมีคุณค่าทาง โภชนาการสูงและมีสารประกอบพิเศษหลายชนิด โดยเริ่มต้ังแต่วิธีการเพาะเลี้ยงในพ้ืนท่ีจังหวัด ภูเก็ตท่ีมีความเหมาะสม ซึ่งถือเป็นผู้ผลิตหอยเป๋าฮื้อเพื่อการพาณิชย์ รายแรกและรายเดียวใน ประเทศไทย จนถงึ การนำ� ไปแปรรปู เป็นผลิตภณั ฑท์ ี่มคี ณุ คา่ สูง ซ่ึงบริษทั มีแผนการพฒั นาธรุ กจิ เพื่อตอบสนองกลุ่มอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและความงาม เวชส�ำอางและการแพทย์ โดยใช้สารชีวโมเลกุลจากหอยเป๋าฮ้ือเป็นวัตถุดิบหลัก จึงต้องการวิเคราะห์หาสารประกอบท่ีอยู่ ในสว่ นตา่ งๆ ของหอยเพ่ือพัฒนาเปน็ ผลิตภัณฑต์ อ่ ไป 40 iTAP กับการยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเด่ยี ว บริษัทได้ขอรับการสนับสนุนจากโครงการ iTAP หลาย โครงการต่อเน่ือง เพื่อวิเคราะห์หาคุณประโยชน์จากการน�ำ กลุ่มบริษทั เอาส่วนประกอบต่างๆ ของหอยเป๋าฮื้อ อาทิ เมือกหอย ภูเกต็ เป๋าฮื้อ (Mucin) ไข่หอย (Cavier) และเปลือกหอย (Shell) จ.ภูเก็ต มาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ในกลุ่มสุขภาพและ ความงาม เวชส�ำอางและการแพทย์หลากหลายชนิด เช่น กลุ่มบริษัทที่ท�ำการศึกษา เคร่ืองดื่มคอลลาเจน ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมเพื่อสุขภาพ หอยเป๋าฮื้อซึ่งเป็นหอยที่มี ครีมบ�ำรุงผิว โลชั่น อายเซรั่ม เป็นต้น เพ่ือใช้ในการดูแล คุณค่าทางโภชนาการสูงและ ผิวพรรณและรูปร่างตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า โดยมี มีสารประกอบพิเศษหลาย การประเมินประสิทธิภาพ ความคงตัว และความพึงพอใจ ชนิด โดยเริ่มตั้งแต่วิธีการ ของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มคอลลาเจนที่พัฒนาขึ้น เพาะเลี้ยง ตลอดจนถงึ การน�ำ รวมทั้งสารสกัดจากหอยเป๋าฮ้ือ “ไกลโคสะมิโนไกลแคน ไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทาง (GAGs)” ท่ชี ่วยดูแลกระดูกไขข้อของขาและเทา้ เพอื่ สุขภาพ นวตั กรรมคณุ ค่าสงู ที่ดี นอกจากนี้ยังมีสารส่งอนุภาคยาขนาดนาโนเพื่อการ โทรศัพท์ 0 7625 2799 รกั ษาทางการแพทย์ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึนอีกดว้ ย เวบ็ ไซต์ www.phuketabalone.com ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น “นวตั กรรม แบง่ แยกผนู้ ำ� ออก จากผตู้ าม (สตฟี จอบส)์ ” จากการด�ำเนินโครงการร่วมกับ iTAP อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้ บริษัทสามารถท�ำการวิจัยและพัฒนาคุณสมบัติของ น.สพ.สิทธิศักดิ์ เหมืองสิน ผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ของสารสกัด กรรมการผ้จู ดั การ ชีวโมเลกุลเข้าไว้ด้วยกัน เกิดเป็นเคร่ืองด่ืมคอลลาเจน (Abalone Collagen) ระดับพรีเมี่ยม ซ่ึงเป็นตลาดท่ีมี กล่มุ บรษิ ัท ภูเก็ต เป๋าฮอ้ื แนวโน้มเติบโตอย่างรวดเร็ว และยังพัฒนางานวิจัยอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อก้าวสู่การเป็นผู้น�ำด้านผลิตภัณฑ์นวัตกรรม 41 เทคโนโลยีชวี ภาพจากหอยเปา๋ ฮอื้ ระดบั โลก

คุณคา่ ยกกำ�ลังสอง จากยปคู ยุ๋ าเปลลิปอื ตกไัสม้ “บรษิ ทั สวุ รรณภมู วิ ดู๊ ชพิ จำ�กดั รว่ มกบั iTAP พฒั นาสตู รปยุ๋ อนิ ทรยี จ์ ากเปลอื กไมเ้ หลอื ทง้ิ เพม่ิ มลู คา่ ใหส้ นิ คา้ ของบรษิ ทั และ เพม่ิ คณุ คา่ ใหแ้ กด่ นิ แหง่ ทงุ่ กลุ ารอ้ งไห”้ ปญั หาและความเปน็ มา บริษัท สุวรรณภูมิวู๊ดชิพ จ�ำกัด มีเปลือกไม้ยูคาลิปตัสเป็นวัสดุเหลือท้ิงจากการผลิตช้ินไม้และ เปลือกไม้สับเป็นปริมาณมากถึง 20,000 ตันต่อปี บริษัทจึงต้องการเพ่ิมมูลค่าและขยาย โอกาสทางธรุ กจิ ดว้ ยการนำ� เปลอื กไมย้ คู าลปิ ตสั ไปผลติ เปน็ ปยุ๋ อนิ ทรยี เ์ พอื่ ใชก้ บั ดนิ ในเขตพน้ื ทท่ี งุ่ กลุ ารอ้ งไห้ ครอบคลุมพนื้ ท่ีจงั หวัดสรุ นิ ทร์ จงั หวัดมหาสารคาม จังหวัดบรุ ีรัมย์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยโสธร และจังหวัดร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นเขตพ้ืนที่ต้ังของบริษัท ลักษณะสภาพดินของทุ่ง กุลาร้องไห้เป็นดินร่วนปนทรายหรือดินทรายท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ต่�ำ ท�ำให้การปลูกข้าว ได้ผลผลิตไม่ดี เกษตรกรจึงมีความต้องการปุ๋ยที่มีคุณภาพสูงและมีปริมาณธาตุอาหารที่เหมาะ สม บริษัทได้ท�ำการทดลองผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเปลือกไม้ยูคาลิปตัสด้วยการหมักร่วมกับมูลสัตว์ โดยใช้เช้ือจุลินทรีย์จากกรมพัฒนาท่ีดิน แต่บริษัทพบว่าปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตด้วยวิธีดังกล่าวยังมี คณุ ภาพไม่ได้มาตรฐานและไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของเกษตรกรในพื้นทไี่ ด้ 42 iTAP กับการยกระดับเทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดย่ี ว iTAP แนะน�ำทีมผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี ในการวิจัยและพัฒนาสูตรการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จาก บรษิ ทั สวุ รรณภมู ิ เปลือกไม้ยูคาลิปตัสให้กับบริษัทด้วยวิธีการหมักแบบ ว๊ดู ชพิ จ�ำกดั กลับกอง หากบริษัทตดั สินใจทจ่ี ะลงทนุ เพือ่ ผลิตป๋ยุ ในระดบั จ.ร้อยเอ็ด อุตสาหกรรม บริษัทสามารถประยุกต์ใช้กระบวนการและ สตู รการผลิตปุ๋ยดังกลา่ วกับโรงผลติ ป๋ยุ ได้ ผู้ประกอบการผลิตช้ินไม้สับ เปลอื กไม้ และถา่ นหุงตม้ จากไม้ ผลประโยชน์ท่ีเกิดขน้ึ ยูคาลิปตัส รวมทั้งวัสดุอินทรีย์ เพือ่ ใช้ในการผลิตปุย๋ อินทรีย์ บริษัทได้กรรมวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากเปลือกไม้ยูคา ลิปตัสท่ีมีมาตราฐานตามพระราชบัญญัติปุ๋ยอินทรีย์ โทรศัพท์ 08 1879 3416 พ.ศ. 2518 (แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2535) ส่งผลให้บริษัท ส า ม า ร ถ น� ำ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ์ นี้ ข้ึ น ท ะ เ บี ย น ปุ ๋ ย อิ น ท รี ย ์ กั บ กรมวิชาการเกษตร เป็นการขยายโอกาสทางธุรกิจด้าน ตลาดป๋ยุ อนิ ทรีย์ให้แก่บรษิ ทั นอกจากน้ี โครงการนี้ยังส่งผลให้บริษัทได้ท�ำการจด ทะเบียนบริษัทใหม่เพ่ิมข้ึนในนาม บริษัท คลัสเตอร์ต้นน้�ำ ทุ่งกุลาออรแ์ กนิกส์ จำ� กดั เพอื่ รองรบั การเพมิ่ กำ� ลังการผลติ และการจำ� หนา่ ยปุ๋ยอินทรียจ์ ากเปลอื กไมย้ คู าลปิ ตสั 43

ฮาวายไทย ผ้นู ำ�เฟอรน์ เิ จอรจ์ กั สานและถักทอ จดุ ไอเดยี ตอ่ ยอดวสั ดทุ ดแทนหวายธรรมชาติ “บรษิ ทั ฮาวายอนิ ดสั ทรี จำ�กดั รว่ มกบั iTAP เพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั ผลติ ภณั ฑเ์ ฟอรน์ เิ จอรห์ วายจากเสน้ ใยสงั เคราะห์ ดว้ ยเศษวสั ดเุ หลอื ใชจ้ ำ�พวกขเ้ี ลอ่ื ย ตอบโจทยก์ ระแสสนิ คา้ สเี ขยี ว” ปญั หาและความเปน็ มา บรษิ ทั ฮาวายอนิ ดสั ทรี จำ� กดั กอ่ ตงั้ ปี 2499 โดยผลติ เฟอรน์ เิ จอรแ์ ละวสั ดถุ กั ทอจากเสน้ หวาย ธรรมชาติ แตเ่ มอื่ หวายธรรมชาตหิ ายากมากขน้ึ บรษิ ทั จำ� เปน็ ตอ้ งหาวสั ดอุ นื่ มาทดแทน เปน็ ทมี่ า ของการสรา้ งนวตั กรรมเสน้ ใยสงั เคราะหท์ ม่ี ลี กั ษณะภายนอกเหมอื นหวายธรรมชาติ โดยใชว้ สั ดไุ ม้ ผสมกบั พลาสตกิ ทมี่ คี ณุ สมบตั ยิ ดื หยนุ่ มากกวา่ หวายธรรมชาติ มคี วามคงทนตอ่ รงั สยี วู แี ละความ รอ้ นไดด้ ี บรษิ ทั จงึ ไดเ้ นน้ ผลติ เฟอรน์ เิ จอรก์ ลางแจง้ จงึ เปน็ ทมี่ าทบ่ี รษิ ทั ตอ้ งการพฒั นาตอ่ ยอดวสั ดุ ไม้ผสมกับพลาสติก โดยน�ำเศษวัสดุเหลือใช้จ�ำพวกขี้เลื่อยมาประดิษฐ์ไม้เทียมชนิดไม้พอลิเมอร์ คอมพอสทิ (WPC) และใชพ้ อลเิ อทธลิ ลนี ความหนาแนน่ สงู (HDPE) เนอื่ งจาก HDPE สามารถทน ตอ่ สภาพอากาศกลางแจง้ ไดด้ กี วา่ วสั ดพุ อลโิ พรพลิ นี (PP) แต่ HDPE กย็ งั มขี อ้ ดอ้ ยทตี่ อ้ งปรบั ปรงุ ให้ สงู เทยี บเทา่ PP เชน่ อณุ หภมู กิ ารบดิ งอ 44 iTAP กับการยกระดบั เทคโนโลยขี อง SMEs ไทย

iTAP ชว่ ยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดย่ี ว สนับสนุนผู้เช่ียวชาญจากสาขาวิชาวิศวกรรมพอลิเมอร์ ส�ำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี บรษิ ทั ฮาวายอนิ ดสั ทรี เพ่ือพัฒนาสูตรการเตรยี มไม้ประดิษฐ์ WPC ของ HDPE ให้ จำ� กดั มีค่าคุณสมบัตเิ ชงิ กลและอุณหภูมิการบดิ งอสงู ท่ีสามารถนำ� จ.ปราจนี บรุ ี ไปผลิตไดจ้ รงิ ในเชงิ อตุ สาหกรรม ผู้ประกอบการผลิตและส่ง ผลประโยชน์ทเ่ี กิดขน้ึ ออกเฟอร์นิเจอร์และวัสดุถัก ทอจากเส้นหวายธรรมชาติ ได้สูตรการประดิษฐ์ไม้เทียมชนิด WPC โดยใช้ HDPE ท่ี และหวายจากเส้นใย สามารถนำ� ไปผลติ จรงิ ดว้ ยการพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หมช่ นดิ ไม้ สังเคราะห์ ภายใต้แบรนด์ พ ล า ส ติ ก ส� ำ ห รั บ ใ ช ้ เ ป ็ น วั ต ถุ ดิ บ ต ้ น น้� ำ ช นิ ด ห นึ่ ง ข อ ง “ฮาวายไทย” (HAWAII THAI) เฟอรน์ เิ จอรห์ วายจากเสน้ ใยสงั เคราะห์ อกี ทง้ั เปน็ การนำ� เศษ วัสดุเหลือใช้จ�ำพวกข้ีเลื่อยหรือแกลบมาแปรรูปให้เกิดมูลค่า โทรศพั ท์ 0 2376 0100-3 นอกจากนนั้ ยงั สามารถนำ� เศษของเสยี จากขวด PET มายอ่ ย เวบ็ ไซต์ www.hawaiithai.com เพื่อเติมลงไปกับส่วนผสมไม้ประดิษฐ์เทียมน้ีได้อีก 10 ส่วน โดยที่ความแข็งแรงลดลงไม่มากแต่คุณสมบัติในการหน่วง “iTAP เป็นหน่วยงานท่ี ตดิ ไฟดขี น้ึ ทำ� ใหส้ ามารถลดตน้ ทนุ การผลติ ไดอ้ กี ทางหนง่ึ บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ห น ท า ง น� ำ เทคโนโลยีและบุคลากรใน ปัจจุบันรูปแบบการใช้ชีวิตของคนเปลี่ยนไป ต้องการความ ด ้ า น เ ท ค โ น โ ล ยี ม า เ ป ็ น สะดวกสบายมากขึน้ ดังน้นั การพฒั นาเฟอรน์ ิเจอรก์ ลางแจง้ ประโยชน์ต่อทางโรงงานและ จากเส้นใยสังเคราะห์ โดยน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมา บริษัทได้อย่างแท้จริงและได้ ใช้ จงึ เป็นอีกทางเลือกหนึง่ ทน่ี ่าสนใจ ผล..ขอชนื่ ชม” คุณวชิ ัย วภิ วพาณิชย์ กรรมการผจู้ ดั การ บริษัท ฮาวายอนิ ดสั ทรี จำ� กัด 45

เพิ่มมูลค่าสมุนไพรไทยด้วยการวจิ ยั และ พัฒนา บริษทั เดอะ กฟี ว่ิง ที จำ�กัด “โครงการพฒั นาผลติ ภณั ฑช์ าสมนุ ไพรเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ สมนุ ไพรพน้ื บา้ นในผลติ ภณั ฑช์ าเพอ่ื สขุ ภาพ” ปญั หาและความเปน็ มา ประเทศไทยมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพสงู โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ พชื สมนุ ไพร ประกอบกบั ความ หลากหลายทางภูมิปัญญาไทยที่ผนวกเอาความรู้พ้ืนบ้านทางการแพทย์มาใช้กับสมุนไพรเพื่อ ปอ้ งกนั บรรเทา หรอื รกั ษาโรค จงึ นบั เปน็ ประเทศทมี่ ศี กั ยภาพสงู ในการสรา้ งสรรคผ์ ลติ ภณั ฑเ์ พอื่ สุขภาพจากสมุนไพร ด้วยการใช้สมุนไพรที่รู้จักกันดีเพียงไม่กี่ชนิด ท�ำให้ทรัพยากรสมุนไพรที่มี ประสทิ ธภิ าพสงู ถกู มองขา้ มคณุ คา่ ทแี่ ทจ้ รงิ ไป บรษิ ทั เดอะ กฟี วงิ่ ที จงึ มคี วามสนใจอยา่ งยงิ่ ในการ สนบั สนนุ ดา้ นการศกึ ษาวจิ ยั สมนุ ไพรและการพฒั นาผลติ ภณั ฑจ์ ากสมนุ ไพรไทยสตู่ ลาดสากล 46 iTAP กบั การยกระดบั เทคโนโลยีของ SMEs ไทย

iTAP ช่วยอะไร? Technology Tailor-Made โครงการเดีย่ ว บริษทั จงึ ขอรับการสนบั สนุนจากโครงการ iTAP เพือ่ พัฒนา ต�ำรับผลิตภัณฑ์ชาสมุนไพรเพื่อเพ่ิมมูลค่าสมุนไพรพื้นบ้าน บรษิ ัท เดอะ กฟิ วิง่ ที ในผลิตภัณฑ์ชาเพื่อสุขภาพ โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากสถาบัน จำ� กัด วจิ ยั วลยั รกุ ขเวช มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม เปน็ ทปี่ รกึ ษา ทมี กรงุ เทพมหานคร ผู้วิจัยเข้ามาช่วยคิดค้นพัฒนาสูตรและปรับปรุงกระบวนการ ผลิตเชิงอุตสาหกรรมจนบริษัทสามารถผลิตชาเบลนด์รูป โทรศัพท์ 08 1844 4124 แบบใหม่ท่ีเป็นที่นิยมในต่างประเทศจากสมุนไพรพ้ืนบ้าน “ขอขอบคุณ iTAP ท่ี ภายในประเทศ แตส่ ิ่งท่ีแปลกใหม่และทำ� ใหผ้ ลิตภณั ฑ์ แตก สนับสนุนการท�ำโครงการรวม ต่างอย่างชัดเจนคือ คุณประโยชน์ทางร่างกายท่ีมีผลวิจัย ถึงการได้รับโอกาสสนับสนุน รองรบั ผลิตภณั ฑ์ท่โี ดดเดน่ ท่ีสดุ และได้รับผลตอบรบั อย่างดี เงินทุนในการลดความเส่ียง จากตลาดในประเทศและต่างประเทศคือ ชาเคลนซิ่ง จากการวิจัยและพัฒนา ซึ่ง (Cleansing) ท่ีมีส่วนผสมของ ย่านางแดง รางจืดและ การพัฒนาท่ีดีต้องสร้างมูลค่า ใบมะรุม เพื่อชว่ ยขับสารพิษตกคา้ งไม่ให้สะสมในร่างกาย เพ่ิมจากทรัพยากรและองค์ ความรู้ที่มีอยู่ เราต้องการ “การพัฒนาสูตรชาสมุนไพรของบริษัทยากกว่าการคิดค้น พัฒนาสินค้าจากสิ่งท่ีมีใน สูตรยาแผนโบราณมากนัก เพราะยาแค่กลืนลงคอ ไม่ต้อง ประเทศเพื่อสร้างแบรนด์ของ หอมอร่อยและสวยงาม ขอให้มีผลทางยาเท่าน้ัน ส่วนการ ค น ไ ท ย ใ ห ้ เ ป ็ น ท่ี รู ้ จั ก แ ล ะ ผลิตชา นอกจากสรรพคุณที่ต้องรักษาสารส�ำคัญเอาไว้แล้ว สามารถแข่งขันกับแบรนด์ ยังต้องมีรสชาติดี มีกล่ินหอมและท่ียากไปกว่านั้นคือต้อง ตา่ งประเทศได้” สวยงาม ทั้งสว่ นผสมในซองและสีน้�ำชา เพราะบริษัทใชซ้ อง ชาที่มองเห็นส่วนผสมข้างในเพ่ือเพ่ิมอรรถรสในการดื่มและ คณุ วีรยา รวชิ ุตวิ รรณ ใหเ้ ห็นว่า ไรส้ ิ่งเจือปน” กรรมการ ผลประโยชน์ที่เกิดข้นึ บริษัท เดอะ กีฟวิ่ง ที จำ� กัด ความส�ำเร็จในคร้ังน้ี ท�ำให้ตลาดสินค้าสุขภาพมีผลิตภัณฑ์ที่ ดีให้ผู้บริโภค ช่วยเพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกิจของทรัพยากร ภายในประเทศ และที่ส�ำคัญ ช่วยสร้างความแตกต่างและ เพ่ิมศักยภาพของบริษัทในการแข่งขันอย่างเหนือช้ัน บริษัท วางแผนขยายสายการผลิตโดยเน้นผลิตภัณฑ์จากโครงการ และตอ่ ยอดสูก่ ารแข่งขันระดับโลก 47

เชศูแษบกรระนจดกส์ ูห่“Eนิ ปcรoะดSบั tตoกnแeต”่ง นวตั กรรมเกร๋ กั ษส์ ิง่ แวดล้อม “บรษิ ทั ไทยเทคโนกลาส จำ�กดั ผผู้ ลติ กระจกตกแตง่ อาคาร รว่ มกบั iTAP สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมใหมจ่ ากแกว้ พรนุ เหนอื คแู่ ขง่ ดว้ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากวสั ดุ ทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม และสง่ กลน่ิ หอมไลย่ งุ ได้ ซง่ึ ถอื เปน็ การพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หมจ่ ากเศษวสั ดุ โดยไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งลงทนุ ซอ้ื เครอ่ื งจกั รใหม่ หรอื เปลย่ี นแปลง กระบวนการผลติ ไปจากเดมิ ” 48 iTAP กบั การยกระดับเทคโนโลยีของ SMEs ไทย

ปัญหาและความเปน็ มา Technology Tailor-Made โครงการเดี่ยว บริษัท ไทยเทคโนกลาส จ�ำกัด เริ่มต้นจากธุรกิจครอบครัว ตง้ั แตป่ ี 2540 จากการผลติ กระจกรถยนต์ ขยบั ขยายกจิ การ บรษิ ทั ไทยเทคโนกลาส มาเปน็ กระจกตกแตง่ อาคารใน 10 ปถี ดั มา เพอื่ หนคี แู่ ขง่ ใน จ�ำกดั ตลาดกระจกรถยนตท์ เ่ี พมิ่ ขน้ึ ทำ� ใหแ้ ตล่ ะเดอื นตอ้ งซอื้ กระจก จ.นครปฐม มาผลติ ถงึ 400 ตนั และมเี ศษกระจกเหลอื ทง้ิ ทต่ี อ้ งขายคนื โรง หลอ่ กระจกมากถงึ 40 ตนั ในฐานะทายาทของธรุ กจิ พว่ งดว้ ย ผู้ประกอบการผลิตและจัด ตำ� แหนง่ ผจู้ ดั การฝา่ ยนวตั กรรมของบรษิ ทั คณุ พลฏั ฐ์ เลยี วกจิ จ� ำ ห น ่ า ย ก ร ะ จ ก ต ก แ ต ่ ง สริ ิ จงึ มแี นวคดิ ทจี่ ะพฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หมๆ่ จากเศษกระจกท่ี อาคาร กระจกแฟบริคกลาส, ตกคา้ งมาจากรนุ่ คณุ พอ่ เพอื่ แกป้ ญั หาใหแ้ กบ่ รษิ ทั จงึ เกดิ แนว กระจกโคง้ , กระจกนริ ภยั เทม ความคิดท่ีจะพัฒนาเศษกระจกเหล่านั้นไปท�ำเป็นแก้วพรนุ เปอร์และลามิเนต ภายใต้ หรอื หนิ ฟองนำ�้ สำ� หรบั ใชป้ ระดบั ตกแตง่ ตน้ ไมแ้ ละสวนสวย แบรนด์ “BSG GLASS” iTAP ช่วยอะไร? โทรศัพท์ 0 3429 1640-3 เวบ็ ไซต์ www.bsgglass.com สนับสนุนผู้เช่ียวชาญจากศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) เพื่อสร้างนวัตกรรมท่ีท�ำให้เกิดมูลค่าเพ่ิมให้กับ “พอมาตดิ ตอ่ งานกับ iTAP มี แกว้ พรุน “Eco Stone” ดว้ ยการอัดน�้ำมันตะไครห้ อมลงใน ความเป็นมืออาชีพมาก ท�ำให้ แกว้ พรนุ ดว้ ยนาโนเทคโนโลยี บริษัทอยากที่จะลองเส่ียง วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่ง ผลประโยชนท์ ่ีเกิดขนึ้ ทางทีมงาน iTAP ก็จะเข้ามา ช่วยในการประสานงานกับ ได้ผลิตภณั ฑ์ใหม่จากแกว้ พรนุ “Eco Stone” ที่สามารถสง่ นักวิจัย และท�ำให้งานวิจัย กลิ่นน้�ำมันตะไคร้หอมไล่ยุงได้นาน 2 เดือน ช่วยต่อยอด เดินหน้าไปได้ตามท่ีฝันไว้ ซึ่ง ประโยชนก์ ารใชง้ านและสรา้ งมูลค่าเพ่มิ ให้ผลติ ภณั ฑ์ การท�ำงานวิจัยไม่ใช่เรื่องยาก แต่ต้องตั้งโจทย์ให้ชัดเจน และจากการเข้าร่วมโครงการ กับ iTAP และนาโนเทค บริษัทไม่ได้แค่งานวิจัยอย่าง เดยี วแตไ่ ด้การประชาสัมพันธ์ ด้วย ถือว่าลงทุนครั้งเดียวแต่ ไดป้ ระโยชน์ถงึ สองทาง” คุณพลฏั ฐ์ เลียวกิจสิริ ผูจ้ ดั การฝ่ายนวัตกรรม บรษิ ทั ไทยเทคโนกลาส จ�ำกัด 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook