ทำเนยี บทรัพยสนิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2563 RMUTT Intellectual Property 2020
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี Rajamangala University of Technology Thanyaburi
สารจากอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีถูกจัดวาเปนหนึ่งในมหาวิทยาลัยหลัก ในกลุม Technology & Innovation University เปนมหาวิทยาลัยที่สงเสริมและสนับสนุน การทำงานวิจยั สรางนวตั กรรมและเทคโนโลยใี หม ตามนโยบายการขับเคลอ่ื นมหาวิทยาลัย ไทยสูการเปนหนึ่งในการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสากล ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายหลัก ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยการจัดมหาวิทยาลัย ในประเทศออกเปน 5 กลุมหลัก เพื่อขับเคลื่อนความเปนสากลตามนโยบาย Reinventing University ที่จะชวยผลักดันมหาวิทยาลัยไทย มุงเนนพัฒนาทางดานเทคโนโลยีและ เสริมสรางนวัตกรรม เพื่อตอบโจทยการพัฒนาประเทศ สรางบัณฑิตที่มีทักษะ ความรู ความชำนาญ ใหสามารถนำองคความรูมาประยุกตใชในการสรางพัฒนา หรือตอยอด เปนนวัตกรรมใหม บมเพาะกลุมคน Start Up พรอมรวมมือกับภาคเอกชนและภาค อุตสาหกรรมในการสนับสนุนและพัฒนาเทคโนโลยีรวมกัน ซึ่งจะนำไปสูการพัฒนา เศรษฐกจิ สงั คมและอุตสาหกรรมของประเทศ ทรัพยสินทางปญญาถือเปนหนึ่งในกลไกที่ชวยสนับสนุนใหงานวิจัยและนวัตกรรม ที่มหาวิทยาลัยมีนั้นสามารถกาวเขาสูเชิงพาณิชยไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเปน หนึ่งในตัวชี้วัดในการประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัยในการจัดอันดับสากลอีกดวย มหาวิทยาลัยจึงมีการผลักดัน และสนับสนุนการคุมครองทรัพยสินทางปญญาของงานวิจัย มาอยางตอเนื่อง สำหรับเอกสารเผยแพรทำเนียบทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี ประจำป 2563 นับเปนอีกภารกจิ หนง่ึ ท่ีสำคัญในการรวบรวม ผลงานอันทรงคุณคาที่ไดรับจดทะเบียนดานทรัพยสินทางปญญาที่เกิดจากการสรางสรรค ของนักวิจัย อาจารย นักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อเปนการเผยแพร และประชาสัมพันธผลงานวิจัยและนวตั กรรมของมหาวิทยาลัยฯ สูภาคอุตสาหกรรมเปาหมาย หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีความสนใจ อีกทั้ง เพ่อื เปน การผลกั ดนั ใหเกิดงานวิจยั สิ่งประดิษฐ นวตั กรรม และงานสรางสรรคทีม่ ีศักยภาพ สามารถนำไปใชป ระโยชนใ นเชงิ พาณชิ ยไ ดอ ยา งเปน รปู ธรรมและนำผลงานไปใชป ระโยชน ตอไป รวมถึงเปนแนวทางในการพัฒนาและสรางความเปนเลิศทางดานทรัพยสินทาง ปญญาสืบไป (รองศาสตราจารย ดร.สมหมาย ผิวสอาด) อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
สารจากรองอธกิ ารบดี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนมหาวิทยาลัยที่มุงมั่นจัดการศึกษา และวิจัย ผลิตนวัตกรและนวัตกรรมที่ทรงคุณคาตอเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน มีพันธกิจที่เนนผลิตและการพัฒนากำลังคนใหมี ความสามารถทางวิชาการ วิชาชีพ คิดสรางสรรค และเรียนรูตลอดชีวิต สรางงานวิจัย สิ่งประดิษฐ งานสรางสรรค และนวัตกรรม สูการนำไปใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม สังคม ชมุ ชน หรอื สรา งมูลคาเชงิ พาณชิ ย เพือ่ พฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศตอไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของทรัพยสิน ทางปญญาที่เกิดจากการประดิษฐ คิดคน และสรางสรรคของนักวิจัย อาจารย นักศึกษา ตลอดจนบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั จงึ มนี โยบายสง เสรมิ และสนบั สนนุ งานดา นทรพั ยส นิ ทางปญญาเพื่อการคุมครองสิทธิ์ของเจาของผลงานในมหาวิทยาลัย โดยมีหนวยจัดการ ทรัพยสินทางปญญาและถายทอดเทคโนโลยี (TLO) ภายใตการดูแลของสถาบันวิจัย และพัฒนา รับผิดชอบดูแลตลอดกระบวนการการยื่นขอรับความคุมครอง ตั้งแตการให คำปรกึ ษา ตรวจ/แกไ ข ตลอดจนการตอ อายสุ ทิ ธบิ ตั ร/อนสุ ทิ ธบิ ตั ร นอกจากน้ี ยงั เลง็ เหน็ ถึงความสำคัญในการประชาสัมพันธงานทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาที่ไดรับการ จดทะเบยี นแลว จงึ ไดจ ัดทำเอกสารเผยแพรทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำป 2563 เพื่อเปนการรวบรวมและนำเสนอผลงาน อันเปนทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัย ประเภทสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ที่ไดรับ การจดทะเบยี นคุมครองในระหวางป พ.ศ. 2555-2563 ซ่งึ จัดทำเลม ทำเนียบฯ มาอยา ง ตอเนื่องเปนปที่ 5 แลว เพื่อเปนการประชาสัมพันธ และเผยแพรผลงานทรัพยสิน ทางปญ ญาของมหาวทิ ยาลยั ใหบ คุ คลภายนอก ทง้ั ภาครฐั เอกชน และภาคอตุ สาหกรรม ตอ ไป (รองศาสตราจารย ดร.กฤษชนม ภูมิกิตติพชิ ญ) รองอธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี
บทสรปุ ผูบรหิ าร
ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) จัดวาเปนทรัพยสินที่มีความสำคัญตอ การดำเนนิ การธรุ กจิ เทคโนโลยแี ละธรุ กจิ ทต่ี อ งอาศยั ผลงานนวตั กรรมในการสรา งมลู คา เพม่ิ ทางธุรกิจเปนอยางมาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีมีทรัพยสินทางปญญาที่ เกิดจากการวิจัยและประดิษฐคิดคนอยูเปนจำนวนมาก ไมวาจะอยูในรูปแบบของสิทธิบัตร อนสุ ทิ ธบิ ตั ร และทรพั ยส นิ ทางปญ ญาอน่ื ๆ ซง่ึ ทางมหาวทิ ยาลยั ไดใ หค วามสำคญั กบั การนำ ทรัพยสินทางปญญาไปใชประโยชนมากขึ้น ทั้งในสวนของการใชประโยชนจากผลงานวิจัย ที่ไมกอใหเกิดรายไดและแบบที่กอใหเกิดรายได หรือที่เรียกวาการนำไปใชประโยชนในเชิง พาณิชย ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ประจำป 2563 เปนเอกสารเผยแพรในรูปแบบของเลมเอกสารและไฟลหนังสืออิเลคทรอนิกส (e-Book) ที่สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดดำเนินการรวบรวม จากผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและงานสรางสรรคของมหาวิทยาลัยฯ เพื่อชวยใน การสงเสริมและสนับสนุนการนำผลงานวิจัยไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยใหเปนรูปธรรม มากยง่ิ ข้นึ รวบรวมผลงานวิจยั นวตั กรรม และงานสรา งสรรคที่ไดร ับการจดทะเบียนคมุ ครอง จากกรมทรัพยส ินทางปญ ญาประเภทสทิ ธิบัตรและอนุสทิ ธิบตั ร ในระหวางป 2555 - 2563 รวมทงั้ ส้ินจำนวน 178 ผลงาน ดงั นี้ ผลงานทรพั ยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2555 มีจำนวน 8 เร่อื ง ผลงานทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2556 มีจำนวน 2 เรื่อง ผลงานทรัพยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2557 มจี ำนวน 1 เรื่อง ผลงานทรพั ยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2558 มีจำนวน 12 เร่ือง ผลงานทรพั ยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2559 มจี ำนวน 25 เรือ่ ง ผลงานทรัพยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2560 มีจำนวน 9 เรอ่ื ง ผลงานทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2561 มีจำนวน 28 เรือ่ ง ผลงานทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2562 มจี ำนวน 30 เร่ือง ผลงานทรัพยสนิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2563 มีจำนวน 63 เรือ่ ง ดิฉนั ในนามคณะผูจัดทำ ขอแสดงความยนิ ดีกับนักวิจัยทกุ ทานทไี่ ดรับการจดทะเบียน คมุ ครองจากกรมทรัพยส ินทางปญญา ขอขอบคุณและขอชน่ื ชมในความวริ ิยะอตุ สาหะของ นักวิจัย บุคลากร และนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีทุกทานที่สามารถ สรางสรรคผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม ใหเปนที่ยอมรับและแสดงใหเห็นถึง ศักยภาพดานทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ สามารถเผยแพรและประชาสัมพันธ ไปยงั กลมุ ทมี่ ีความพรอ มในการขอรับการถา ยทอดเทคโนโลยที ่ีมีความสนใจตอไป (ผูช วยผศอู าำสนตวรยากจาารรสยถ ดาบร.นัวาวรจิ ุณยั แี อลระิยพวฒั ิรยินะานันท) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี
สารบญั ความรทู ัว่ ไปดา นทรัพยส ินทางปญญา หนา 1 ทรัพยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2555 5 6 1. เครื่องอัดชน้ิ งานเซรามกิ สทม่ี ีการควบคมุ การทำงานดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 7 2. เคร่ืองดดั โลหะขับเคลือ่ นโดยชดุ เฟองสะพานขบกับเฟอ งตรงควบคุมดว ยระบบ 8 9 ไฮดรอลกิ 10 3. ชดุ ยกและเคลื่อนยา ยผปู ว ย ควบคุมดว ยรีโมทคอนโทรล 11 4. เคก ขาวกลองนง่ึ 12 5. เครื่องผสมน้ำเคลอื บ ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร 6. อุปกรณเสรมิ เหล็กพยุงขาสำหรับชวยการเดินของผพู ิการ 7. รถเข็นคนพกิ ารแบบขบั ถายระบบไฟฟา ควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอร 8. เครอื่ งจับชนิ้ ทดสอบนำ้ เคลือบ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร ทรพั ยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2556 14 15 9. กรรมวธิ กี ารผลติ ตะขบอบแหง 10. กอ นดนิ ทม่ี สี ว นผสมของน้ำยางธรรมชาตแิ ละกระบวนการผลิต ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2557 17 11. สตู รผสมของวุนผลไมและกรรมวธิ กี ารผลติ ทรัพยสินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2558 19 20 12. ผลิตภัณฑเ กลอื สปาทม่ี ใี บสะเดาแหงบดเปน วัสดุขดั ผวิ 21 13. หมอ นึ่งลูกประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยบิ จบั งาย 22 14. กรรมวธิ ีการผลติ บล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต 23 15. บล็อกปูพืน้ ระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล 24 16. เคก ขาวธัญพืช 25 17. การใชน ้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผา บาติก 26 18. แบบพับกลอง 27 19. แบบพบั กลอง 28 20. กรรมวิธีในการผลิตกา นบัวแหง 29 21. เครอ่ื งใหบ ริการกระจายสัญญาณอินเตอรเน็ตแบบหยอดเหรียญ 30 22. กรรมวธิ กี ารผลิตบลอ กปพู ้นื จากเศษหนิ บะซอลต 23. กรรมวิธีการผลิตคอนกรตี ท่ีมีเศษหนิ บะซอลตเปน มวลรวม
ทรัพยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2559 หนา 24. กระเบอ้ื งหลงั คา 32 25. ลวดลายผา 33 26. ลวดลายผา 34 27. ลวดลายผา 35 28. ลวดลายผา 36 29. ลวดลายผา 37 30. ลวดลายผา 38 31. ลวดลายผา 39 32. ลวดลายผา 40 33. ลวดลายผา 41 34. กรรมวธิ ีการผลติ ผักแผนทีม่ ีแคลเซียมสูง 42 35. กรรมวธิ ีการเตรียมวสั ดนุ าโนจากแรแ ม็กเนติกลโู คซีน เพื่อใชเปนวสั ดุลดทอน 43 และปองกันรังสเี อก็ ซ (X-ray) 36. กรรมวิธกี ารเตรียมแผน บางขนาดนาโนจากแรอลิ เมไนท เพ่ือใชใ นการการขจดั สี 44 ในสียอ มนำ้ เสียจากสง่ิ ทอ 37. กรรมวิธกี ารเตรียมแผนบางขนาดนาโนจากแรแมก็ เนตกิ ลโู คซีน เพอื่ ใชเ ปน ตัวเรง 45 ปฏกิ ริ ยิ าโดยใชแสง 38. โคมไฟ 46 39. อุปกรณเพือ่ การชมทศั นียภาพใตนำ้ สำหรบั การดำน้ำตนื้ 47 40. ปุย อนิ ทรยี จ ากข้ีแดดนาเกลอื โดยใชจุลนิ ทรียเ ปนตวั เรง 48 41. กรรมวธิ ีการเตรียมกลองช้นิ งานกลวงจากวัสดผุ สมพลาสตกิ รไี ซเคลิ พอลเิ อทลิ นี 49 ความหนาแนนสูงและกากกาแฟโดยวธิ ีการขึน้ รูปแบบหมนุ 42. ชดุ อุปกรณผลิตกระแสไฟฟา จากการเคลือ่ นท่ขี องลฟิ ต 50 43. กระเบ้อื งหลังคา 51 44. กรรมวิธีการผลิตกะหร่ปี ป จากแปง ขาวสาลีผสมแปงขา วเจาท่ีใหพลงั งานต่ำ 52 45. กรรมวธิ ีการผลติ แยมนำ้ ผ้ึงจากนำ้ ผ้งึ ทานตะวัน 53 46. กรรมวธิ ีการผลติ วุน เสน แกน ตะวนั 54 47. กระเบอ้ื งหลังคา 55 48. เคร่อื งวัดคาการยุบตวั ของผิวทางแบบก่งึ อตั โนมตั ิ 56 ทรพั ยส ินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2560 49. กรรมวธิ กี ารผลติ เสนดา ยจากเสน ใยผักตบชวา 58 50. กรรมวธิ ีการผลิตไอศกรมี นม จากตน ออ นขาวพันธหุ อมมะลสิ ตู รปราศจากน้ำตาล 59 51. เข็มกลดั 60 52. กรรมวิธีการผลิตผลติ ภัณฑข าวไรซเบอรรีเ่ พาะงอกพรอมบริโภค 61 53. ชุดกระโปรง 62 54. ชุดกระโปรง 63
หนา 55. ชุดกระโปรง 64 56. กรรมวธิ ีผลิตเสน ดา ยจากเสน ใยมะพราวออ น 65 57. กรรมวิธกี ารเตรียมแผน ดดู ซบั คลืน่ แมเ หล็กไฟฟาโดยใชว สั ดุรีไซเคลิ ขวดพอลเิ อทลิ นี 66 ชนิดความหนาแนน สงู และวสั ดนุ าโนหรอื ไมโครจากแรร ูไทล ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2561 58. แบบพับกลอง 68 59. กระปุก 69 60. แบบพบั กลอ ง 70 61. พวงกุญแจ 71 62. พวงกุญแจ 72 63. พวงกญุ แจ 73 64. พวงกุญแจ 74 65. พวงกญุ แจ 75 66. พวงกญุ แจ 76 67. พวงกญุ แจ 77 68. พวงกญุ แจ 78 69. พวงกญุ แจ 79 70. พวงกญุ แจ 80 71. พวงกุญแจ 81 72. กรรมวิธีการเตรียมแคลเซียมคารบอเนตจากเปลือกหอยเชอรี่เพื่อใชเปน 82 สารเตมิ แตงในพอลิเมอร 73. กรรมวิธีการผลิตแผนผนังดินอัดสำเร็จรูปที่ตานทานการชะลางชนิดมีรูทะลุ 83 ถงึ กนั สองดา น 74. กรรมวิธีการผลติ เตา หแู ขง็ จากเมลด็ ฟกทอง 84 75. ลวดลายผา 85 76. ลวดลายผา 86 77. ลวดลายผา 87 78. ลวดลายผา 88 79. ลวดลายผา 89 80. หนุ ยนตส ำหรบั ตรวจวดั และปรับสภาพดินอัตโนมัติ 90 81. เครือ่ งแกะเปลอื กเมล็ดบัวหลวง 91 82. กรรมวิธกี ารสกดั พลาสติกชีวภาพชนิดโพลไี ฮดรอกซอี ัลคาโนเอตจากแบคทีเรยี 92 ดว ยซลิ กิ าเจล 83. สูตรผลิตภัณฑเม็ดสอดชองคลอดจากสารสกัดกระเทียมและขา และกรรมวิธี 93 การผลติ 84. สูตรน้ำตรีผลานานาผลไม และกรรมวธิ กี ารผลิต 94 85. ระบบฉดี พน สารเคมีแบบแปรผันอัตราไดรว มกบั เทคนิคการประมวลผลถายภาพ 95 สำหรับแปลงปลกู มะพราวทีเ่ กดิ โรค
ทรัพยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2562 หนา 86. สูตรและกรรมวิธกี ารผลิตลอดชอ งสงิ คโปรผสมงาดำ 97 87. แผนฟลมยึดติดเยือ่ บุเมอื กจากสารสกัดใบพญายอ และกรรมวธิ กี ารผลติ 98 88. สูตรผลติ ภณั ฑบราวน่ีแปง ขา วเหนียวดำ และกรรมวิธกี ารผลิต 99 89. สูตรชาสมนุ ไพรพันงูเขียวผสมดอกพิกุลและกรรมวธิ ีการผลิต 100 90. กรรมวิธกี ารสกัดสารสกัดจากเงาะสชี มพสู ำหรับใชเปนสว นผสมในผลติ ภณั ฑย า 101 เครื่องสำอาง และเสรมิ อาหาร 91. แผนรองเซน็ ชื่อสำหรับผูบ กพรอ งทางการเห็น 102 92. อปุ กรณด กั จง้ิ จก 103 93. ปยุ น้ำหมักชวี ภาพจากข้ีแดดนาเกลอื โดยใชจ ลุ ินทรยี เ ปน ตัวเรง 104 94. ระบบการอบแหง โดยใชพลงั งานแสงอาทิตยรว มกบั แกสชวี ภาพ 105 95. อปุ กรณร ะบายความรอ นของคอยลรอนโดยใชน ำ้ ทีก่ ลัน่ จากกระบวนการ 106 ควบแนน ท่ีคอยลเย็น 96. เครอ่ื งฉีกเสน หมฝู อย 107 97. เครื่องตดั ใบบัวหลวง 108 98. รังเลี้ยงชนั โรง กลุมขนาดเล็ก เพอ่ื การผลิตนำ้ ผงึ้ เชิงพาณชิ ย 109 99. สูตรการผลิตไมอดั จากตำแยแมวและกรรมวธิ กี ารผลิต 110 100. กลองจดหมายแจง เตอื นอัตโนมัติ 111 101. สูตรผลิตภณั ฑเ ครปเคกแปง ขา วไรซเบอรร ่ี และกรรมวธิ ีการผลติ 112 102. ระบบตรวจสอบโรคกลวยไมแ บบควบคุมระยะไกลรว มกบั เทคนคิ ประมวลผล 113 ภาพถายเพือ่ ควบคมุ การใหสารเคมีแบบแมน ยำสำหรบั โรงเรือนมาตรฐาน 103. แบบพบั กลอง 114 104. เคร่ืองกรองน้ำ 115 105. เครื่องกรีดและขูดไสกก 116 106. พวงกุญแจ 117 107. ลวดลายผา 118 108. ลวดลายผา 119 109. ลวดลายผา 120 110. ลวดลายผา 121 111. ลวดลายผา 122 112. เสอ้ื 123 113. เส้อื 124 114. เส้อื 125 115. เตาเผาเช้อื เพลงิ แขง็ แบบใชว ัสดพุ รนุ และมีการสลับทิศทางการไหลของแกส 126 เปน จังหวะ
ทรัพยส นิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2563 หนา 116. เครอ่ื งฝานกลวย 128 117. ของประดบั ตกแตง 129 118. กรรมวิธีการผลิตบรรจุภณั ฑกระดาษจากเยื่อพชื ผสมสารสมนุ ไพร 130 เพอ่ื ควบคมุ การเกดิ โรคของผลไม 119. เครื่องแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร 131 120. ผลิตภัณฑข นมชั้นจากใบยา นางและกรรมวธิ กี ารผลิต 132 121. ของประดบั ตกแตง 133 122. อุปกรณผลติ นำ้ บริโภคแบบพกพา 134 123. วิธกี ารแยกและปรบั ปรงุ คณุ ภาพเสน ใยกลวยใหน ุม เคร่ืองสำอาง และการเกษตร 135 124. เคร่ืองกำเนดิ ไอนำ้ แบบเผาไหมโ ดยตรง ทีม่ กี ารสง เสรมิ การถายโอนความรอน ดวยวัสดุพรนุ 136 125. สตู รผลติ ภัณฑผงน้ำพริกแกงเลยี งเสริมแคลเซียมจากกา งปลา และกรรมวิธี การผลติ 137 126. สูตรและกรรมวิธกี ารผลติ ขนมรงั นกทม่ี ีสว นประกอบของสมนุ ไพรจาก ขิง ตะไคร หอมแดง และใบมะกรูด 138 127. ระบบควบคมุ สำหรับโรงเพาะเห็ดถงั่ เชาแบบอัตโนมัติ 139 128. กรรมวธิ กี ารผลิต และสตู รแผนแปะผิวหนังบรรเทาอาการ เคล็ด ขัด ยอก ทม่ี ีสว นผสมของสารสกดั สมนุ ไพรไทย 140 129. เครื่องฝานผลไม 141 130. เครื่องเหวย่ี งแยกน้ำออกจากหนงั หมูสำหรบั ใชทำแคบหมู 142 131. เครื่องแยกของเหลวในอาหาร 143 132. เครอ่ื งกรดี ใบตอง 144 133. กรรมวิธกี ารเตรยี มสารสกัดจากบัวผนั 145 134. เคร่ืองขอดเกล็ดปลาสำหรับปลาทีม่ ีขนาดเลก็ 146 135. กรรมวิธีการผลติ ผงอนุภาคไมโครโปรตีนจากหอยเชอร่เี พอื่ ใชใ นงานดาน สง่ิ ทอ เคร่ืองสำอาง และการเกษตร 147 136. กระเปา 148 137. ชุดอุปกรณคัดแยกความสุกของเนือ้ สบั ปะรดโดยใชระดับสี 149 138. ตอู บขนมโดยใชร ะบบปด 150 139. เครือ่ งคัดขนาดเมลด็ บวั หลวง 151 140. กรรมวิธีการเตรยี มสารสกัดจากบัวผนั 152 141. กลองใสก ระดาษทชิ ชู 153 142. เครือ่ งอัดและรดั กระบะกาบมะพรา วดวยระบบนิวแมติกสสำหรับปลกู พชื รากอากาศ 154
หนา 143. ลวดลายผา 155 144. ปา ยแจง เตอื นความเร็วพลวตั แบบเคลือ่ นที่ 156 145. ลวดลายผา 157 146. โคมไฟ 158 147. นากิ า 159 148. สตู รแผน แปะผวิ หนังแกปวดจากสารสกัดใบพญายอ 160 149. วธิ ีการเตรยี มฟองอากาศขนาดเล็กในนำ้ 161 150. ขนมหมอแกงขา วแผน ทีม่ ีปริมาณน้ำตาลต่ำ 162 151. เครอื่ งขอดเกลด็ ปลา 163 152. โคมไฟ 164 153. กรรมวิธกี ารผลติ แคลลสั กานพลอู ดั เม็ดสำหรับพักและขนสงปลา 165 154. อุปกรณชวยในการระบายความรอนใหก บั คอยลร อนของเคร่อื งปรับอากาศ แบบแยกสวน 166 155. ลูกกลิ้งตัดผลผลติ ทางการเกษตร 167 156. กรรมวธิ กี ารสกัดสารสกดั จากวานเพชรหงึ สำหรับใชเ ปนสวนผสมในผลติ ภณั ฑย า เครอ่ื งสำอาง และเสรมิ อาหาร 168 157. สตู รและกรรมวิธีการผลติ ซอสผดั ไทยปราศจากนำ้ ตาลและมปี ริมาณโซเดยี มต่ำ 169 158. เสอื้ 170 159. ชดุ กระโปรง 171 160. ลวดลายบนวสั ดแุ ผน ผนื 172 161. เครอื่ งตัดใบบวั หลวงแบบกดตัด 173
ทรพั ยส ินทางปญ ญา Intellectual Property
ทรัพยสนิ ทางปญ ญา ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา หมายถงึ ผลงานอนั เกดิ จากประดษิ ฐ คดิ คน หรือสรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความ ชำนาญ โดยไมจำกัดชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออก ทรัพยสินทางปญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับตองได เชน สินคาตางๆ หรือในรูปแบบของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการแนวคิด ในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เปนตน ประเภทของทรพั ยส ินทางปญ ญา ทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ตามหลักสากล ไดแก ทรัพยสินทาง ปญญาทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์ ทรัพยส นิ ทางปญญาทางอตุ สาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสรางสรรคของมนุษยที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่งอาจ เปนความคิดในการประดิษฐคิดคน เชน กระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ได ปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือการออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรมที่เปน องคประกอบและรูปรางของตัวผลิตภัณฑ เปนตน จึงสามารถแบงออกไดดังนี้ • สิทธิบัตร (Patent) o สิทธิบัตรการประดิษฐ (Invention Patent)/ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) o สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ (Design Patent) • แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-design of Integrated Circuits) • เครื่องหมายการคา (Trademark) • ความลับทางการคา (Trade Secret) • สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical indications) ลิขสิทธ์ิ (Copyright) หมายถงึ สทิ ธแิ ตเ พยี งผเู ดยี วของผสู รา งสรรคท จ่ี ะกระทำการใดๆ กบั งานทผ่ี สู รา งสรรค ไดทำขึ้น โดยประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ที่กฏหมายกำหนดไว ไดแก งานวรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียง แพรภาพ หรอื งานอ่นื ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร หรอื แผนกศลิ ปะ ไมว า งาน ดงั กลาวจะแสดงออกโดยวิธีหรือรปู แบบอยางใด การคุม ครองลขิ สิทธไ์ิ มครอบคลุมถงึ ความคดิ ข้ันตอน กรรมวธิ ี ระบบวิธีใชหรอื วิธี ทำงาน แนวความคิด หลักการ การคน พบ หรือทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตรหรอื คณติ ศาสตร ทำเนยี บทรัพยสินทางปญ ญา 1 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2563
แผนภมู ิทรพั ยสนิ ทางปญญา สิทธบิ ตั รการออกแบบผลิตภัณฑ สทิ ธิบัตรการประดษิ ฐ อนสุ ิทธิบัตร Design Patent Invention Patent Petty Patent สPทิ aธtิบenัตtร แบบผังภมู ขิ องวงจรรวม InLtaeygoruatteDdeCsigircnuoitfs Cสoขิpสyrิทigธhิ์ t ทรพั ยสนิ เคร่ือTงraหdมeาmยaกrาkรคา ทางปญญา Intellectual Property ควาTมraลdับeทSาeงcกrาeรtคา Geสogิ่งบraง pชhท้ี icาaงlภInมู dศิ iaาcสaตtiรo ns การใหค วามคุมครองพันธุพ ืชใหม Protection of New Varieties of Plant *อยภู การยะใทตรก วางรกดาูแรลเกขอษงตกรรแมลวะชิสาหกการรณเก ษตร เครอ่ื งหมายการคา เครื่องหมายบรกิ าร เคร่อื งหมายรบั รอง เครือ่ งหมายรว ม Trademark Service Mark Certification Mark Collective Mark (ท่มี า : ความรเู บ้อื งตน ดา นทรพั ยสนิ ทางปญ ญา กรมทรพั ยสนิ ทางปญญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) 2 RInMteUlleTcTtual Property 2020
ความหมายของทรพั ยสนิ ทางปญญาประเภทสทิ ธบิ ตั ร (Patent) เปน การคมุ ครองการคดิ คน สรา งสรรคท เ่ี กย่ี วกบั การประดษิ ฐ (Invention) หรือการออกแบบผลิตภัณฑ (Industrial Design) ทมี่ ีลกั ษณะตามทีก่ ฏหมาย กำหนด ซึ่งจำแนกไดเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ สทิ ธิบตั รการประดิษฐ (Invention Patent) หมายถงึ การใหค วามคุมครอง การคิดคนเก่ียวกับลักษณะองคประกอบ โครงสราง หรือกลไกของผลิตภัณฑ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิต การ เก็บรักษา หรอื การปรบั ปรุงคณุ ภาพของผลิตภัณฑ อนสุ ิทธิบตั ร (Petty Patent) หมายถึง การใหการคุมครองการประดิษฐจากความคิดสรางสรรค ทมี่ ีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไมสูงมาก โดยอาจเปนการประดิษฐ คดิ คน ขน้ึ ใหมห รือปรบั ปรุงจากการประดษิ ฐท ่ีมีอยกู อนเพียงเลก็ นอย สทิ ธิบตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ (Design Patent) หมายถึง การใหความคุมครองความคิดสรางสรรคที่เกี่ยวกับรูปราง และลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ องคประกอบของลวดลายหรือ สขี องผลติ ภณั ฑ ซง่ึ สามารถใชเ ปน แบบสำหรบั ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได และแตกตางไปจากเดิม ผูทรงสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาด (ที่มา : ความรูเ บือ้ งตน ดานทรัพยสนิ ทางปญ ญา กรมทรัพยส ินทางปญญา กระทรวงพาณชิ ย, 2558) ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญ ญา 3 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2563
ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2555
อนุสทิ ธบิ ัตร 7486เลขที่ เคร�่องอดั ชนิ� งานเซรามิกสท ม่ี ีการควบคมุ การทำงาน ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วันท่จี ดทะเบยี น : 21 กันยายน 2555 ชื่อผปู ระดษิ ฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมอื งมีศรี สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การประดิษฐนี้จะทำใหสามารถอดั ชน้ิ งานเซรามกิ สท ีม่ ลี กั ษณะแบบเรียบ ไมว า จะ เปนทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม หรือทรงสี่เหลี่ยม สามารถกำหนดความหนาแนน ของชน้ิ งานไดจ ากการกำหนดความดนั ตง้ั แต 30, 40, 50, 60 บาร ดว ยระบบไฟฟา ซึ่งจะสงผลใหการนำชิ้นงานไปใชในการเคลือบมีมาตรฐานในการบันทึกผลการ ทดลอง การประดษิ ฐเ ครอ่ื งอดั ชน้ิ งานเซรามกิ สน ้ี มลี กั ษณะของการทำงานทค่ี วบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร ซึ่งเปนโปรแกรมการสั่งงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร ตัวโครงสรางเครื่องอัดชิ้นงานมีลักษณะเปนระบบไฮดรอลิกส การทำงานของระบบ กำหนดใหม คี วามเรว็ การเคลอื่ นท่ี 2 ระดับ กอนถึงการอัดชิ้นงาน และสามารถปรับความดันของ แรงดันขณะกดอัดชิ้นทดสอบ ไดตามความตองการของผูใช เพื่อใหเกิดการแนนของเนื้อดิน ที่ใชในการกดอัด ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญ ญา 5 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563
อนสุ ิทธบิ ตั ร 7565เลขท่ี เคร�่องดดั โลหะขบั เคล่ือนโดยชดุ เฟ�องสะพานขบ กบั เฟ�องตรงควบคมุ ดว ยระบบไฮดรอลกิ วนั ท่จี ดทะเบียน : 26 ตลุ าคม 2555 ชอ่ื ผูประดิษฐ : นายศริ ชิ ยั ตอสกลุ สงั กดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครื่องดัดโลหะขับเคลื่อนโดยชุดเฟองสะพานขบกับเฟองตรงควบคุมดวยระบบ ไฮดรอลิก เปนเครื่องที่สามารถทำการดัดโลหะที่มีรูปทรงกลมและโลหะแผน โดยใชแมพิมพมัลติฟงกชัน ที่สามารถถอดเปลี่ยนได ตามลักษณะชิ้นงานที่ ตอ งการดดั โดยมีแขนดัดที่สามารถปรบั ระยะเขา-ออก ของกระบอกสบู ไฮดรอลกิ ขบั เคลอ่ื นชดุ เฟอ งตรงทข่ี บกบั เฟอ งสะพาน สามารถหมนุ ดดั ทำมมุ ในการดดั สงู สดุ 90 ดวยใชสวิตซกด 2 ระบบพรอมกัน คือ กดดวยมือและเทาเหยียบเพื่อความ ปลอดภัยในการทำงาน 6 RInMteUlleTcTtual Property 2020
อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 7566เลขท่ี ชุดยกและเคลื่อนยายผปู ว ย ควบคมุ ดวยรโ� มทคอนโทรล วนั ทจ่ี ดทะเบยี น : 26 ตลุ าคม 2555 ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณธี รรม, ผศ.นพ.นิยม ละออปกษณิ สงั กัด : คณะครุศาสตรอ ตุ สาหกรรม, ศนู ยก ารแพทย สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี รายละเอยี ดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการชวยเหลือ ผูปวยใหสามารถเคลื่อนที่หรือขับถายไดโดยสะดวก ซึ่งจากเดิมการชวยเหลือ ของญาติจะใชการอุม หรือการยกซึ่งอาจจะทำใหผูปวยกระทบกระเทือนจาก การใชวิธีการที่ไมถูกวิธี และเพื่อใหผูปวยไดเคลื่อนที่หรือขับถายโดยไมเปนภาระ กบั ญาตหิ รอื ผชู ว ย การใชช ดุ ยกและเคลอ่ื นยา ยผปู ว ย ควบคมุ ดว ยรโี มทคอนโทรล ซึ่งสามารถเคลื่อนยายผูปวยเพื่อนำไปขับถายทั้งรูปแบบอุจจาระ และปสสาวะ ดังนั้นจึงไดนำเทคโนโลยีเพื่อการชวยเหลือรูปแบบใหมในการชวยเหลือผูปวย คือ นำเอาไมโครคอนโทรลเลอร มาควบคุมการยกและเคลื่อนยาย ผูปวย โดยเฉพาะผทู ป่ี ระสบปญหา การเคลื่อนไหว ตลอดจนผูทม่ี ี นำ้ หนกั มากไมส ามารถเคลอ่ื นทไ่ี ด การพัฒนาชุดยกและเคลื่อนยาย และควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล ซึ่งการประดิษฐงานชุดนี้สามารถ ทำใหผปู วยลดการกระทบกระเทือน และสงผลถึงการบาดเจ็บรางกาย และบาดแผล ตลอดจนทำใหผูปวย มสี ุขภาพจิตดีขึ้นและญาตไิ มเ หนื่อย อกี ดว ย ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 7 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2563
อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 7567เลขท่ี เคกขาวกลอ งน่ึง วนั ที่จดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2555 ชือ่ ผปู ระดษิ ฐ : นางสาวเดือนเตม็ ทิมายงค, ผูชว ยศาสตราจารยสิวลี ไทยถาวร สังกดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน จากความตองการใชประโยชนจากขาวกลองใหมากขึ้น ผูประดิษฐจึงศึกษาและ คดิ คน จนไดก ระบวนการผลิตเคก ขา วกลอ งนึ่ง ซงึ่ ประกอบดว ย แปง สาลี ขา วกลอง หัวกะทิ น้ำ ยีสต ไข และเกลือ เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีความหนึบจาก กากใยของขา วกลอ ง 8 RInMteUlleTcTtual Property 2020
อนสุ ทิ ธิบตั ร 7619เลขท่ี เครอ่� งผสมน้ำเคลือบควบคุม ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ที่จดทะเบยี น : 19 พฤศจกิ ายน 2555 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.เบญจลักษณ เมืองมีศรี สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครื่องผสมน้ำเคลือบนี้มีลักษณะที่เปนเครื่องที่ปนหมุนใหน้ำเคลือบผสมกัน ในอัตราสวนที่ทำการทดลอง โดยมีอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ดวยกดปุมสวิตซ หลงั จากนัน้ จะสงสญั ญาณอนิ พทุ ไปที่ไมโครคอนโทรลเลอร เพอ่ื ทำการประมวลผล และสงสัญญาณเอาตพุทไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร โดยระบบการ ขับเคลือ่ นจะมีทั้งแนวดิ่งและแนวราบ สำหรบั การเคลื่อนท่ีจะเปนแบบ 2 แกน คือ แกนแซดและแกนวาย โดยจะทำงาน อิสระตอกนั ในการเคลือ่ นท่ี ซึ่งเคร่ือง ผสมน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโคร คอนโทรลเลอร จะถูกออกแบบให เหมาะสมสำหรับการเคลือบน้ำยา ปริมาณนอย ลดขั้นตอนการทำงาน เคลื่อนยายสะดวกและสามารถปรับ ความเร็วของมอเตอรในขณะทำงาน ไดดวย ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญญา 9 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563
อนุสทิ ธบิ ัตร 7695เลขท่ี อปุ กรณเสร�มเหลก็ พยุงขา สำหรบั ชว ยการเดนิ ของผพู �การ วนั ที่จดทะเบยี น : 24 ธันวาคม 2555 ชือ่ ผูป ระดิษฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม สงั กัด : คณะครุศาสตรอสุ าหกรรม รายละเอียดผลงาน การประดิษฐอุปกรณเสริมเหล็กพยุงขา สำหรับชวยการใชเหล็กพยุงขา ใหการเดิน ของผูพิการสะดวกขึ้น จะเปนเหล็กพยุงขา ทม่ี ีใชอยูแลว โดยอุปกรณเสริมเหล็กพยุงขา นี้จะประกอบไปดวย 2 สวน คือ เบาสวม รองรบั สปรงิ และสปรงิ โดยสปรงิ จะมจี ำนวน ขด 4 ขด พับรอบนอกของเบาสวมรองรับ สปริง ทำใหสามารถพาอุปกรณพยุงปลาย เทาและนองยืดหดได ดังนั้นขณะที่ผูพิการ เดินจะสามารถงอหัวเขาและยืดหัวเขาได ในทวงทาที่ปกติหรือใกลเคียงกับคนปกติ ซึ่งจะแตกตางจากเหล็กพยุงขาของเดิม ที่ไมสามารถยืดหดหรือพับงอได 10 IRnMteUlleTcTtual Property 2020
อนสุ ทิ ธิบัตร 7696เลขที่ รถเขน็ คนพก� ารแบบขบั ถา ยระบบไฟฟา ควบคมุ ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วันทจี่ ดทะเบียน : 24 ธนั วาคม 2555 ชื่อผูประดิษฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม, ผชู วยศาสตราจารย นพ.นยิ ม ละออปก ษณิ สังกัด : คณะครุศาสตรอ สุ าหกรรม, ศูนยการแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี รายละเอียดผลงาน รถเข็นคนพิการแบบขับถายนี้มีลักษณะที่เปนรถเข็นที่อาศัยพลังงานที่สะสมใน แบตเตอรี่มาขับเคลื่อน รถเข็นนี้สามารถใชงานได 2 ลักษณะคือ ใชเปนรถเข็น ที่สามารถขับถายได และใชเปนรถเข็นที่เปนพาหนะไปที่ตางๆ ตามที่ตองการได โดยมีอุปกรณควบคุมที่เปนโปรแกรม เมื่อไดรับสัญญาณควบคุมจากกดปุมสวิตช จะทำการประมวลผลและสงสัญญาณไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร และ อุปกรณตางๆ โดยระบบการขับเคลื่อนจะมีการขับเคลื่อนแบบลอขับเคลื่อนหลัก แตละลอไมขึ้นตอกัน การเลี้ยวใชหลักการความแตกตางของความเร็วระหวางลอ ทั้งสองขาง และสามารถหมุนรอบตัวเอง 360 องศาได ใชหลักการการหมุนใน ทิศทางตรงกันขามของลอขับเคลื่อนทั้งสองขาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของรถจะ อาศัยตำแหนงของการกดปุมสวิตชเปนตัวกำหนดทิศทาง ความเร็ว และลักษณะ การวิ่งของรถ ซึ่งรถเข็นคนพิการแบบขับถายจะถูกออกแบบใหเหมาะสมสำหรับ เปน พาหนะสำหรบั คนพกิ ารท่ใี ชก าร ขับเคล่ือนในอาคารหรือรอบบรเิ วณ ภายนอกอาคาร และที่สำคัญคือ รถเข็นนี้ ผูปวยสามารถนั่งขับถาย บนรถเข็นได โดยมีระบบการทำ ความสะอาดกน ระบบสเปรยน้ำ ระบบเปาทำความสะอาดกน และ ระบบจดั เกบ็ ถงุ อุจจาระและปส สาวะ ทำใหผ ปู ว ย ผสู ูงอายุ ตลอดจนผดู แู ล ผูปวยมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 11ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563
อนสุ ิทธิบัตร 7697เลขที่ เคร�่องจับชนิ� ทดสอบนำ้ เคลือบ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ที่จดทะเบียน : 24 ธันวาคม 2555 ช่อื ผูประดิษฐ : ผชู วยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมอื งมศี รี สงั กดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาของการทดลองเคลือบดวยการชุบหรือ จุมชิ้นทดลอง แตละครั้งที่ผูทดลองตองใชมือจุมอาจทำใหเกิดอันตรายกับผูชุบ เคลือบสำหรับผูแพสารบางชนิด และเพื่อใหไดมาตรฐานในการควบคุมความหนา ของการเคลือบ และพื้นที่ในการเคลือบใหไดที่ผูทดลองกำหนด จะสงผลใหการ ทดลองนำ้ เคลอื บมคี วามเทย่ี งตรงและมคี วามเชอ่ื มน่ั ตอ การทดลองซำ้ ในการละครง้ั ของการทดสอบ และอีกประการคือ การใชเ ครอ่ื งมอื จบั ชน้ิ ทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร จะชวยลดความเมื่อยลาของผูทดลอง ชิ้นงานจำนวนหลายชิ้นตลอดจนได ความเที่ยงตรงแมนยำกับตำแหนง ความเร็วที่คงที่ตลอดเวลา และลด อุบัติเหตุลงดวย 12 IRnMteUlleTcTtual Property 2020
ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2556
อนุสิทธบิ ตั ร 8106เลขท่ี กรรมว�ธีการผลติ ตะขบอบแหง วนั ที่จดทะเบยี น : 20 มถิ นุ ายน 2556 ชื่อผปู ระดิษฐ : ดร.อรวัลภ อปุ ถัมภานนท สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน จะเห็นไดว าตะขบเปนผลไมท ่มี ีคุณคาทางโภชนาการในหลายๆ ดา น และมีปริมาณ สารอาหารสงู นอกจากนยี้ งั อาจมสี รรพคณุ ทางยาซ่ึงเปน วถิ ีการดำรงชีพแบบไทยๆ จงึ เปนผลไมพ น้ื บานท่ีนาจะสงเสรมิ ใหเ ปน ผลไมเศรษฐกจิ ได แตดวยอายกุ ารบริโภค ทส่ี น้ั มาก ดงั นน้ั การนำตะขบมาแปรรปู โดยการทำแหง เปน ผลติ ภณั ฑจ งึ เปน ทางเลอื ก ในการเพิ่มมูลคาและทำใหผูบริโภคไดรับคุณคาทางโภชนาการในหลายๆ ดาน รวมทั้งเหมาะสมกับวิถีการดำรงชีวิตตามแนวหลักเศรษฐกิจพอเพียง การทำแหง เปนการแปรรูปทีท่ ำไดง า ย ไมต องใชเทคโนโลยที ี่สงู มากนกั และงายตอ การสง เสริม ใหเปนระดับอุตสาหกรรมดังนั้นในการศึกษา ครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา ศักยภาพของผลไมพ ืน้ บานไทยเปนอาหารแปรรูปเพื่อนำมารับประทานเปนอาหาร 14 IRnMteUlleTcTtual Property 2020
อนสุ ิทธิบตั ร 8107เลขท่ี กอ นดินทม่ี สี ว นผสมของนำ้ ยางธรรมชาติ และกระบวนการผลติ วันที่จดทะเบียน : 20 มิถุนายน 2556 ชอื่ ผปู ระดิษฐ : นายประชมุ คำพฒุ , วา ท่ีรอ ยโทกิตตพิ งษ สุวโี ร สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนว ยจัดการทรัพยสนิ ทางปญญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กอนดินทีม่ ีสวนผสมของน้ำยางธรรมชาติ เปนการประดิษฐกอนดินสำหรับใชในงาน กอ สรา งอาคาร หรอื สว นประกอบของอาคาร ทท่ี ำจากดิน โดยผสมน้ำยางธรรมชาติ เพือ่ ชวยใหก อ นดินมีคุณสมบัติในการปองกนั การชะลา งและการดดู ซมึ นำ้ ทด่ี ขี น้ึ และมคี า ความตานทานแรงอัดและความตานทาน แรงดัดที่สูงขึ้น ซึ่งสวนผสมประกอบดวย ดิน น้ำ น้ำยางธรรมชาติ สารลดแรงตึงผิว วัสดุผสมเพิ่ม ผสมรวมกัน จากนั้นปนหรือ อัดเปนกอนแลวทำใหแหงในสภาพอากาศ ปกติหรือใหความรอนที่อุณหภูมิ 30-120 องศาเซลเซียส 15ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2563
ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา ประจำป พ.ศ. 2557
อนุสทิ ธิบัตร 8851เลขที่ สูตรผสมของวุนผลไมแ ละกรรมว�ธกี ารผลิต วันทจี่ ดทะเบียน : 8 พฤษภาคม 2557 ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นางสาวจีรวฒั น เหรยี ญอารยี , นายอภชิ าต โคเวยี ง สังกดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตวุนผลไมสำหรับตกเเตงอาหาร เปนการนำเจลาติน ผงวุน น้ำสะอาด เเละนำ้ ผลไม มาผสมเเละตมเคย่ี ว นำไปใสถงุ บบี ลงบนนำ้ มัน จากนัน้ นำไปเเชในตูเย็น เทผานกระชอน พักไวใหสะเด็ด เเลวนำวุนผลไมที่ไดไปเเช นำ้ เชอื่ ม เเละนำไปเเชเ ยน็ ทีอ่ ุณหภูมิ 0 องศาเซลเซยี ส ไดว นุ ผลไมส ำหรับตกเเตง อาหาร 17ทำเนียบทรพั ยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2563
ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2558
อนสุ ิทธิบัตร 9695เลขท่ี ผลิตภณั ฑเกลอื สปาที่มีใบสะเดาแหง บดเปนวัสดุขัดผวิ วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 26 มนี าคม 2558 ชือ่ ผปู ระดษิ ฐ : รองศาสตราจารย ดร.อญั ชลี สงวนพงษ สงั กดั : คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร รายละเอียดผลงาน ผลิตภัณฑเกลือสปาที่มีใบสะเดาเปนวัสดุขัดผิว ประกอบดวย เฟสของสวนผสม 2 สวน คือ สวนที่ 1 เรียกวา เฟสของแข็ง ที่ประกอบดวยเกลือทะเล ผสมอยูกับ ใบสะเดาบดแหง เปน ผง และสว นท่ี 2 เรยี กวา เฟสของเหลว ประกอบดว ยสว นผสม 7 ชนดิ คือ น้ำมันเงา ผสมปรุงแตงน้ำมนั มะกอกฝร่ัง นำ้ มันมะนาว น้ำมันเจอราเนยี ม น้ำมันลาเวนเดอร น้ำมันโรสแมรีและน้ำมันพัทโชลี เฟสทั้งสองของสวนผสม บรรจุ ในภาชนะแยกกนั และสามารถนำสว นผสมทั้งสองเฟสมาผสมกันตามความตองการ ไดผลติ ภัณฑเ กลอื สปาท่มี ผี ลทำใหเกิดความรูสึกสดชื่นภายหลังการใช สาขาเทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวของกับหมอ นง่ึ ลูกประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยิบจบั งา ย 19ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2562
อนุสทิ ธิบตั ร 9721เลขท่ี หมอ นึง่ ลูกประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยบิ จบั งาย วนั ที่จดทะเบียน : 27 มนี าคม 2558 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : นางสวุ รินทร ปทมวรคุณ, นายจตรุ พธิ เกราะแกว, นายไกรมน มณศี ลิ ป สังกดั : คณะวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน หมอนึ่งลูกประคบสมุนไพรแบบหยิบจับงาย เปนภาชนะที่มีลักษณะพิเศษคือ ใชนึ่งลูกประคบสมุนไพรไดจำนวนหนึ่งตามชองที่ใสลูกประคบ โดยไมขึ้นตอกัน สำหรับลูกประคบขนาดมาตรฐานที่มีการผลิตทั้งโดยชุมชนเพื่อการจำหนาย หรือการผลิตในครัวเรือนเพื่อใชสวนตัว โดยมีการประดิษฐใหฝาหมอนึ่งมีชอง ใหดามลูกประคบอยูพอดีตรงชองและฝาหมอออกมาได และโผลพนชองได ขึ้นกับความยาวดามลูกประคบ ทำใหลูกประคบเมื่อไดรับความรอนจากไอน้ำ ตรงดามจับจะไมร อ นเทาตัวลกู ประคบ ทำใหผ ูใชเปด ฝาหมอแปลงจับลูกประคบ สมนุ ไพรไดงา ย 20 IRnMteUlleTcTtual Property 2019
อนุสทิ ธบิ ตั ร 9970เลขที่ กรรมวธ� กี ารผลติ บล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต วันทจี่ ดทะเบียน : 10 มิถนุ ายน 2558 ชื่อผูประดิษฐ : นายประชุม คำพุฒ, วา ที่รอยเอกกิตติพงษ สวุ ีโร, นายอมเรศ บกสุวรรณ สงั กัด : คณะวิศวกรรมศาสตร, หนวยจดั การทรพั ยสินทางปญญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิต วสั ดกุ อ ผนงั ทม่ี สี ว นประกอบของปนู ซเี มนตป อรต แลนดป ระเภท 1 เศษหนิ บะซอลต เนื้อโพรงขาย และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากันกอนอัดขึ้นรูปดวยเครื่อง อัดบล็อกประสาน ไดบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลตที่มีลักษณะภายนอก สมบูรณไมแตกหักงาย ความตานทานแรงอัดสูง การดูดกลืนน้ำต่ำ น้ำหนักเบา และเปนฉนวนปองกันความรอนที่ดี สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม การกอสราง และการจัดสวนทั่วไป 21ทำเนียบทรพั ยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 2563
อนุสิทธบิ ัตร 10063เลขท่ี บลอ็ กปูพน�้ ระบายนำ้ ชนิดควบคุมทศิ ทางการไหล วันที่จดทะเบียน : 7 กรกฎาคม 2558 ชือ่ ผูประดิษฐ : นายประชุม คำพุฒ, นายกิตติพงษ สุวโี ร สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หจก. สยามอนิ โนเวชน่ั แอสโซซเิ อชน่ั รายละเอียดผลงาน บล็อกปูพื้นระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล เปนวัสดุ 2 ชั้น คือ ชั้นบน เปนคอนกรีตพรุนจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของหินมาก เพื่อใหเกิดชองวางของเนื้อวัสดุเมื่อแข็งตัว สำหรับใหน้ำระบายลงไปได ชั้นลาง เปนคอนกรีตกำลังสูงจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของ ปูนซเี มนตแ ละทรายมากกวา ชนั้ บน เพอื่ ใหท บึ นำ้ และแข็งแรง โดยขนึ้ รูปใหช ั้นลา ง ลาดเอยี งใหนำ้ ไหลไปในทิศทางท่ีตองการ 22 RInMteUlleTcTtual Property 2020
อนุสิทธบิ ตั ร 10199เลขท่ี เคกขาวธญั พ�ช วันทีจ่ ดทะเบยี น : 7 สิงหาคม 2558 ช่อื ผูประดิษฐ : นางสาวเดือนเตม็ ทิมายงค, วาทรี่ อ ยเอกกิตติพงษ สวุ โี ร สงั กัด : กรมพลาธิการทหารอากาศ, หนวยจัดการทรพั ยส ินทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน เคกขาวธัญพืช ประกอบดวย เเปงสาลี ขาวหุงสุก น้ำตาลทราย หัวกะทิ น้ำ ไขไก ยีสต และธัญพืชตมสุก เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีกากใย รสชาติ กลิ่น สี และเนื้อสัมผสั จากธญั พชื 23ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2563
อนุสทิ ธบิ ตั ร 10634เลขที่ การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเข�ยนผาบาติก วนั ท่ีจดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2558 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : ผูช ว ยศาสตราจารยส าคร ชลสาคร สังกดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน การใชน้ำยางธรรมชาติในงานเขียนผาบาติก เปนการนำน้ำยางธรรมชาติมาผสม เขากับแบะแซ และกาวลาเทกซ ใหเขากัน กอนนำไปใสในภาชนะทรงกรวยที่ สวนแหลมมีชองเปด-ปด แลวจึงนำไปเขียนเปนลวดลายบนผาเพื่อกั้นสำหรับ ทำผาบาติก กอนลางออกไดดวยน้ำ ซึ่งการใชน้ำยางธรรมชาตินี้ สามารถชวยให การเขียนลวดลายผาบาติก มีขั้นตอนที่งายและสะดวกมากกวาการเขียนลวดลาย บาติกดว ยนำ้ เทยี นท่ัวไป รวมทง้ั กระบวนการเขียนไมต อ งใชค วามรอน จงึ ประหยัด พลงั งานและชวยลดภาวะโลกรอนได 24 IRnMteUlleTcTtual Property 2020
สิทธบิ ตั รการออกแบบผลิตภณั ฑ 47102เลขท่ี แบบพับกลอ ง วันท่จี ดทะเบียน : 23 พฤศจกิ ายน 2558 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจริญพงษมาลา, นายคมสนั เรืองโกศล สังกดั : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสทิ ธใิ นแบบผลิตภัณฑ ซง่ึ ไดแ ก รูปรา ง ลักษณะ ของแบบพับกลอ ง ดงั มี รายละเอยี ดตามที่ปรากฏในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑ ซ่งึ ไดย่ืนมาพรอมนี้ 25ทำเนียบทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2563
สทิ ธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 47103เลขที่ แบบพบั กลอง วนั ทจี่ ดทะเบียน : 23 พฤศจิกายน 2558 ชื่อผูอ อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจริญพงษมาลา, นายคมสนั เรอื งโกศล สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถอื สิทธใิ นแบบผลติ ภัณฑ ซึ่งไดแก รปู รา ง ลักษณะ ของแบบพบั กลอง ดังมี รายละเอียดตามท่ปี รากฏในภาพแสดงแบบผลติ ภัณฑ ซง่ึ ไดย นื่ มาพรอ มนี้ 26 RInMteUlleTcTtual Property 2020
อนสุ ิทธบิ ัตร 10783เลขท่ี กรรมว�ธีในการผลิตกานบัวแหง วันทจ่ี ดทะเบยี น : 23 พฤศจิกายน 2558 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นางรุจิรา เดชสงู เนนิ สงั กัด : กองกลาง รายละเอียดผลงาน กรรมวิธีในการผลิตกานบัวแหง เปนการรักษาสภาพกานบัวสำหรับใชประดับ ตกแตง รว มกบั ดอกบวั แหง หรอื ไมด อกแหง ชนดิ ตา งๆ โดยใชก ระบวนการ ประกอบ ดว ย การแชก า นบวั ในกลเี ซอรนี และนำ้ อนุ กอ นนำไปผง่ึ ในทร่ี ม และเกบ็ ไวใ นกลอ ง ทใ่ี สซ ลิ ิกา เจล ไดก า นบัวแหงสำหรบั นำไปใชงาน 27ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563
อนสุ ิทธบิ ัตร 10882เลขที่ เคร�่องใหบรก� ารกระจายสัญญาณอินเตอรเน็ต แบบหยอดเหรย� ญ วนั ท่ีจดทะเบยี น : 14 ธนั วาคม 2558 ช่อื ผปู ระดิษฐ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.ชุติมา ประสาทแกว , นายสทิ ธิชยั หยองใหญ, นายแมคเครน สขุ ใจ, นายภมร บญุ พนั ธ, นางสาวขวญั ฤทยั อำนวยศลิ ป, นางสาวกนั ยารัตน ลีชวนคา สงั กดั : คณะวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน ลักษณะของเครื่องใหบริการกระจายสัญญาณอินเทอรเน็ตแบบหยอดเหรียญ ประกอบดว ยสว นผดู แู ลระบบ (Admin) ประดษิ ฐเ ครอ่ื งใหบ รกิ ารกระจายสญั ญาณ อินเทอรเน็ตแบบหยอดเหรียญสามารถใหบริการหลายคนในเวลาเดียวกัน และ การสั่งซื้อสามารถสั่งผานหนาจอแบบสัมผัส พรอมมีโปรแกรมประมวลผลและ โปรแกรมควบคุมผานคอมพิวเตอรที่อยูภายในเครื่อง เพื่อสั่งเครื่องใหบริการ กระจายสัญญาณอินเทอรเน็ตแบบหยอดเหรียญพิมพใบแจง Username และ password สำหรบั ใชง านในระบบหลายคนในเวลาเดยี วกนั ระบบทำการจบั เวลาใน การเขา ใชงาน และจะหยุดใหบ รกิ ารเมือ่ หมดเวลาใชง านตามจำนวนเงินท่ีสอดคลองกัน โดยอปุ กรณภ ายในจะมกี ารดแลนและตัวกระจายสัญญาณ สว นผใู ชบริการ (User) หยอดเหรียญเขาไปในเครือ่ งและเลือกการรบั บรกิ าร ผา นหนา จอสมั ผสั ตามจำนวนชว่ั โมงทต่ี อ งการใช สญั ญาณ Wi Fi โดยใส Username และ password ตามที่เครื่องพิมพพิมพออกมาเพื่อใชเขาสูระบบ ความมุงหมายของการประดิษฐนี้คือ เพื่อทำให เครื่องใหบริการกระจายสัญญาณอินเทอรเน็ต แบบหยอดเหรียญใชงานสะดวก งาย สามารถ ใหบริการสญั ญาณอินเทอรเ น็ตแบบหยอดเหรยี ญ กบั ลกู คาหลายคนในเวลาเดยี วกนั ได ใชใ นสถานการณ ที่ไมมีการใหบริการเชื่อมตออินเทอรเน็ตฟรี เชน โรงพยาบาล สถานขี นสง เปน ตน 28 RInMteUlleTcTtual Property 2020
อนุสิทธิบตั ร 10959เลขท่ี กรรมวธ� ีการผลิตบลอ็ กปูพน้� จากเศษหนิ บะซอลต วนั ท่จี ดทะเบียน : 30 ธนั วาคม 2558 ชื่อผูป ระดษิ ฐ : นางสมพิศ ตันตวรนาท, วาที่รอยเอกกติ ตพิ งษ สวุ โี ร, นายประชุม คำพฒุ สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรพั ยสินทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน ลักษณะของบล็อกปูพื้นจากเศษหินบะซอลต เปนวัสดุปูพื้นที่มีสวนประกอบของ ปูนซีเมนตปอรตแลนดป ระเภท 1 ปนู ซีเมนตขาวชนดิ ผสมซิลิกา, เศษหินบะซอลต และนำ้ ประปา ผสมสวนประกอบใหเขากนั กอนอัดขน้ึ รูปเปน 2 ช้ัน ดว ยเครอื่ งอัด บล็อกปพู ้นื (ช้นั ลา ง) และแบบถอดประกอบได (ช้นั บน) ไดบ ลอ็ กปพู นื้ จากเศษหนิ บะซอลต ที่มีลักษณะภายนอกสมบูรณไมแตกหักงาย ตานทานแรงดัดดีรับแรงอัดสูง มีอุณหภูมิผิวหนาต่ำ น้ำหนักเบา และซึมผานน้ำไดความมุงหมายของกรรมวิธี การผลิตบล็อกปูพื้นจากเศษหินบะซอลต เพื่อนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม การกอสราง 29ทำเนียบทรพั ยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2563
10960อนุสิทธเิบลขัตทรี่ กรรมวธ� กี ารผลิตคอนกรต� ทีม่ เี ศษหินบะซอลตเปนมวลรวม วันทจี่ ดทะเบยี น : 30 ธันวาคม 2558 ชอื่ ผูประดษิ ฐ : นางสาวนิรมล ปน ลาย, วา ท่ีรอ ยเอกกติ ตพิ งษ สวุ ีโร, นายประชมุ คำพฒุ สังกดั : คณะสถาปตยกรรมศาสตร, คณะวิศวกรรมศาสตร, หนว ยจดั การทรพั ยส ินทางปญ ญาและถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน ลักษณะของคอนกรีตที่มีเศษหินบะซอลตเปนมวลรวม เปนวัตสดุคอนกรีตที่มี สวนประกอบของปูนซีเมนปอรต แลนดป ระเภท1, ทรายหยาบ, เศษหินบะซอลต และน้ำประปา ผสมสวนประกอบใหเขากันไดคอนกรีตที่มีเศษหินบะซอลตเปน มวลรวม ที่มีน้ำหนกั เบา แขง็ แรง และเปน ฉนวนปอ งกันความรอน ความมุงหมายกรรมวิธีการผลิตคอนกรีตที่มีเศษหินบะซอลตเปนมวลรวม เพื่อ นำไปใชประโยชนอุสาหกรรมการกอสราง 30 IRnMteUlleTcTtual Property 2020
ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา ประจำป พ.ศ. 2559
สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 49608เลขที่ กระเบ้ืองหลงั คา วันทีจ่ ดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ชอ่ื ผอู อกแบบ : นายประชุม คำพุฒ, วาทีร่ อยตรีกิตตพิ งษ สุวีโร สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรัพยสินทางปญ ญา และถา ยทอดเทคโนโลยี รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก รูปราง ลักษณะ ของ กระเบื้องหลังคา ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฎในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑที่ไดเสนอมานี้ 32 RInMteUlleTcTtual Property 2020
สิทธบิ ตั รการออกแบบผลิตภัณฑ 49609เลขท่ี ลวดลายผา วันทีจ่ ดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ชื่อผูออกแบบ : ผูชว ยศาสตราจารยใ จภักด์ิ บุรพเจตนา สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก ลวดลายผา ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฎ ในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑที่ไดเสนอมานี้ 33ทำเนยี บทรัพยสินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2563
สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภณั ฑ 49610เลขท่ี ลวดลายผา วนั ท่ีจดทะเบยี น : 31 พฤษภาคม 2559 ชื่อผอู อกแบบ : ผชู วยศาสตราจารยใ จภักด์ิ บุรพเจตนา สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน ขอถือสิทธิในแบบผลิตภัณฑ ซึ่งไดแก ลวดลายผา ดังมีรายละเอียดตามที่ปรากฎ ในภาพแสดงแบบผลิตภัณฑที่ไดเสนอมานี้ 34 RInMteUlleTcTtual Property 2020
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192