แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โรงเรยี นบา้ นสรา้ งกอ่ สังกัด สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาอุดรธานี เขต 4 ************** (นางอุไรวรรณ ชมเชย) ครู ชำนาญการพิเศษ ผู้เสนอแผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 (นายด้วง เนื่องมจั ฉา) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ผู้เห็นชอบแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563 (นางสาวดารุณี อัคเทพ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นสร้างกอ่ ผู้อนุมัตแิ ผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2563
ก ความเห็นของประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พื้นฐาน เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสรา้ งก่อ ข้าพเจ้านายด้วง เน่ืองมัจฉา ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน โรงเรยี นบ้านสรา้ งก่อ ได้ พิจารณาแผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๓ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางการบรหิ ารงบประมาณของโรงเรยี นบา้ น สรา้ งก่อแลว้ มคี วามเห็นดงั นี้ เหน็ ชอบใหใ้ ช้แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ไม่เหน็ ชอบให้ใช้แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เน่ืองจาก........................... ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ..............
ข คำนำ โรงเรียนบา้ นสรา้ งก่อเป็นโรงเรียนขนาดกลางทีม่ ีภารกิจในการพฒั นานักเรยี นระดบั ปฐมวยั ประถมศึกษา และระดับมธั ยมศึกษาให้มีความสามารถ และคุณลักษณะท่สี งั คมต้องการ ในการปฏิบตั ิภารกิจดงั กลา่ วให้ บรรลผุ ลจำเป็นตอ้ งนำระบบการบรหิ ารจัดการเขา้ มาใช้ในการบรหิ ารงานดา้ นตา่ งๆ เพ่ือใหเ้ กดิ การทำงานทเ่ี ปน็ ระบบมีการวางแผนการทำงานและกำหนดทิศทางการทำงานท่ชี ัดเจน โรงเรียนบ้านสรา้ งก่อจงึ ได้จัดทำแผนปฏบิ ตั ิ การประจำปีงบประมาณ 2563 ขน้ึ เพื่อใช้เป็นค่มู อื สำหรับการดำเนินงานของโรงเรียน เพือ่ อำนวยประโยชนต์ อ่ การบรหิ ารจัดการภารกจิ ของโรงเรียน โดยในแผนปฏิบัตกิ ารฉบับน้ี จะบอกถึงขอ้ มูลพืน้ ฐานของโรงเรยี น ทิศ ทางการพฒั นารายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ การกำกบั ตดิ ตามประเมินผลและรายงา เอกสารแผนปฏบิ ัติการฉบบั น้ีจึงถือเปน็ เอกสารสำคญั ฉบับหนง่ึ ที่จะนำไปเป็นคู่มือสำหรับการบรหิ ารงาน ของกลุ่มงาน และกลมุ่ สาระการเรียนรตู้ า่ งๆใหไ้ ปบรรลุจดุ หมายของการจัดการศึกษาต่อไป โรงเรยี นบา้ นสร้างก่อ
สารบญั หนา้ เรื่อง ก ความเห็นชอบของประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ข คำนำ สารบญั 1 สว่ นท่ี 1 บทนำ 1 1.ขอ้ มลู พนื้ ฐาน 3 ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 3 ข้อมูลนักเรยี น 4 ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี 4 2.ผลการดำเนนิ การจัดการศกึ ษา 5 คุณภาพการศึกษาปฐมวัย 7 คุณภาพการจดั การศึกษาระดับประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 12 สว่ นท่ี 2 ทิศทางการดำเนนิ งาน ทศิ ทางการดำเนินงาน 44 สว่ นที่ ๓ ประมาณการงบประมาณรายรบั – รายจา่ ย 46 ประมาณการรายรับปีงบประมาณ 2563 โครงการตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของโรงเรียน 49 ส่วนท่ี ๔ รายละเอียดแผนงาน/โครงการ 107 งานบริหารงานวชิ าการ 134 งานบรหิ ารท่ัวไป 141 งานบรหิ ารงานบคุ คล งานบรหิ ารงบประมาณ ภาคผนวก คำสง่ั โรงเรียนบ้านสรา้ งกอ่ เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิ การประจำปงี บประมาณ 2563
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบา้ นสร้าบก่อ ส่วนที่ ๑ บทนำ 1.ข้อมลู พนื้ ฐำน โรบเรียนบ้านสร้าบก่อ สบั กดั สานกั บานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถาศกึ ษาอุดรธานีเขต 4 ตับ้ อยใู่ นเขตเทศบาลตาบลสร้าบก่อ หาู่ 1 ตาบลสร้าบก่อ อาเภอกุดจับจับหวัดอดุ รธานี เปน็ โรบเรยี น ประถาศกึ ษาขนาดกลาบ เปิดทาการสอน 3 ระดับการศึกษา คือ ระดับปฐาวัย ประถาศกึ ษา และ าัธยาศกึ ษาตอนตน้ (โรบเรยี นในโครบการขยายโอกาสทาบการศกึ ษา) รบั ผิดชอบในการให้บริการทาบ การศกึ ษาแก่บุตรหลานขอบประชาชนในตาบลสรา้ บก่อส่วนใหญา่ ฐี านะยากจน จานวน 4 หาบู่ า้ น คือ บ้านสร้าบก่อ หาู่ 1 บ้านบ่อเบนิ หาู่ 9 บ้านบ่อทอบ หาู่ 10 และบ้านบอ่ คาหาู่ 13 ผลการจดั การศึกษา เป็นที่ยอารบั ขอบหนว่ ยบานต้นสบั กัด และผู้ปกครอบนกั เรียนเปน็ อยา่ บาากโรบเรยี นาีผลบาน (Best Practice) ในระดบั ประเทศหลายรายการ เชน่ พฒั นากลุ่ายุวเกษตรกร สถานศกึ ษาพอเพยี บตน้ แบบ โรบเรียนดีศรตี าบล โรบเรยี นตน้ แบบการจดั กิจกรราสหกร ์ โรบเรยี นตน้ แบบโครบการเกษตรเพอ่ื อาหารกลาบวันอย่าบย่ับยนื เปน็ ต้น และโรบเรียนไดจ้ ดั ตั้บเป็นศนู ย์การพฒั นาภาษาอบั กฤษระดับประถาศึกษา(PEER Center) ขอบอาเภอกดุ จับ เป็นโรบเรียนในโครบการลดเวลาเรียนเพา่ิ เวลารู้ โรบเรียน 1 อาชพี 1 ผลติ ภั ฑ์ และโรบเรียนประชารฐั ขอบสานักบานค ะกรราการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ซึบ่ าีขอ้ าูลพืน้ ฐานในปงบบประาา 256๓ ดบั น้ี ๑.๑ข้อมูลครูและบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ ท่ี ช่ือ – ช่ือสกลุ อำยุ อำยุ ตำแหนง่ / วุฒิ วชิ ำ เอก สอนวิชำ/ช้ัน รำชกำร วทิ ยฐำนะ ๑ นาบสาวดารุ ี อัคเทพ ๕2 29 ผ้อู านวยการ กศ.า. การบริหาร _ ชานาญการพเิ ศษ การศกึ ษา 2 นายสุนทร ไชยสิบหาญ ๔8 23 ครูชานาญการพเิ ศษ กศ.า. การบรหิ าร ทุกกลาุ่ สาระ/ การศึกษา ป.๓/1 3 นายวลั ลภ อนิ ธกิ าย การบานอาชพี / 53 24 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. ประถาศึกษา พละศกึ ษา ป.6-า.๓ 4 นายสายศ พลค้อ ๕6 ๓6 ครชู านาญการพเิ ศษ ศศ.า. การสอน ภาษาอับกฤษ ป.4-๖/ ภาษาอับกฤษ ศิลปะ/ดนตราี .๑-๓ 5 นาบอพันตรี พนั ธุระ ๔8 ๒5 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. การศกึ ษา อนุบาล ๒/๒ ปฐาวยั 6 นาบบุญไทย พลคอ้ ๕7 ๓1 ครชู านาญการพเิ ศษ กศ.า. หลกั สตู รและ ทกุ กลุ่าสาระ/ การสอน ป.๑/๒ 7 นาบสภุ าพ ศรหี านลิ 43 ๑7 ครูชานาญการพเิ ศษ ค.บ. วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ท่ัวไป า. ๑-๓ 8 นาบรตั นา วบศห์ าจกั ร ๕6 ๒6 ครูชานาญการพเิ ศษ ศษ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย/ ป.๑/๑ 9 นาบสภุ าพร จนั เทศ 42 ๑7 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. ค ิตศาสตร์ ค ติ ศาสตร์ า. ๑-๓ ๑
แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรยี นบา้ นสร้าบก่อ ท่ี ชอ่ื – ชื่อสกลุ อายุ อายุ ตาแหน่บ/ วฒุ ิ วิชา เอก สอนวิชา/ชน้ั ราชการ วิทยฐานะ 10 นาบอรอุษา พนาหอา ๔6 22 ครูชานาญการ ค.บ. การศึกษา อนบุ าล ๒/๑ ปฐาวยั 11 นาบอไุ รวรร ชาเชย ๔9 ๒9 ครูชานาญการพเิ ศษ กศ.า. การบริหาร ทุกกลาุ่ สาระ การศึกษา ป. ๒/2 12 นาบแดบใหา่ บญุ เวิน ๕6 ๒6 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. การศึกษา อนบุ าล ๑/๑ ปฐาวัย 13 นาบประพนั ธ์ จันยทุ า ๕9 37 ครชู านาญการพเิ ศษ ค.บ. คหกรรา อนบุ าล ๑/๒ ศาสตร์ 14 นาบพรศรี ผิวผอ่ บ ๕7 34 ครชู านาญการพเิ ศษ ศษ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย ป. ๔-๖ 15 นาบปรยี าพร สาราญ ๔6 20 ครูชานาญการพเิ ศษ ศษ.บ. สุขศึกษา สขุ ศึกษา ป. ๕ - า.๓ 16 นาบสาวสุภาพร คาผาย 42 16 ครชู านาญการ ศษ.า. การบริหาร ภาษาอับกฤษ การศกึ ษา า.๑-๓ 17 น.ส. กรอบพรพรา 40 9 ครูชานาญการ ศษ.บ. ศลิ ปกรรา ทกุ กลาุ่ สาร ป.3/1 เพบ็ นวา 18 นาบอศุ นา พิบูลย์ศริ ิกุล 44 4 ครคู ศ.1 ศษ.บ. ภาษาไทยเพื่อ ทกุ กลาุ่ สาระ การสือ่ สาร ป.1/๒ 19 น.ส.ธานวรร ๓8 3 ครู คศ.1 ศษ.บ. สบั คาศึกษา ภาษาอับกฤษ วรร ประเสริฐ ป.1-3 20 น.ส.ชวลั ลักษ ์ 35 7 ครู ชานาญการ วท.บ วทิ ยาการ คอาพวิ เตอร์ โคตะพาจนั ทร์ คอาพวิ เตอร์ ป.๑-า. ๓ 21 นาบสาวยวุ รี จาปาาลู 33 9 ครชู านาญการพเิ ศษ ศษ.บ ค ติ ศาสตร์ ค ติ า.1-3 22 น.ส.วาสนา 33 1 ธุรการ บธ.บ. คอาพิวเตอร์ - ช้อนผักแว่น ธรุ กจิ 23 นาย ฐั พบษ์ วิชยั วบศ์ 28 3 ครพู ่เี ลยี้ บเดก็ พกิ าร ค.บ. พลศกึ ษา ป. 2/2 24 นายประจวบ 4 นกั การภารโรบ ป.6 - - พราสุวรร ์ ๒
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบา้ นสร้าบกอ่ ๑.๒ข้อมูลนักเรยี น ปีกำรศึกษำ 2562 ชาย หญบิ รวา 12 20 32 ช้นั 27 17 44 อนุบาล 2 39 37 76 อนุบาล 3 23 22 45 19 25 ๔4 รวาอนุบาล 21 27 48 ประถาศึกษาปทง ่ี ๑ 22 22 44 ประถาศึกษาปทง ี่ ๒ 26 17 43 ประถาศกึ ษาปงท่ี ๓ 17 13 30 ประถาศึกษาปงท่ี ๔ 128 ๑๒6 ๒54 ประถาศกึ ษาปทง ี่ ๕ 16 ๑7 33 ประถาศกึ ษาปงที่ ๖ 22 9 31 17 15 32 รวาชน้ั ประถาศึกษาปงท่ี ๑-๖ 55 41 ๙6 าัธยาศึกษาปทง ี่ ๑ 222 2๐4 426 าัธยาศกึ ษาปงท่ี ๒ าธั ยาศึกษาปทง ี่ ๓ จานวนหอ้ บ หาายเหตุ รวาาัธยาศกึ ษาปงที่ ๑-๓ 4 รวา ๘ ๙ 1.3 ข้อมูลอำคำรสถำนท่ี ๔ - อาคารสถานท่ี จานวนหลบั - 1.อาคารเรยี น - 1.1 อาคารแบบอาคารอนุบาล 1 ๑๖ 1.2 อาคารแบบแบบ สปช.105/26 1 - 1.3 อาคารแบบ สปช.2/28 1 ๑ 1.4 อาคารแบบ สปช.105/29 1 ๑ 2.ห้อบสาดุ 1 ๑ ๓.สนาากีฬา ๓ - 1 ๔.อาคารอเนกประสบค์ แบบ สปช.203/26 ๔ ๕.สว้ า ๑ ๖. ศนู ย์การเรียนรู้เกษตรพอเพียบ - ๗. ห้อบเรียนคอาพิวเตอร์ - ๘. ธนาคารโรบเรยี น - ๙. สหกร ์ร้านคา้ ๑ ๑๐. โรบอาหาร ๓
แผนปฏบิ ัติการประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรยี นบา้ นสรา้ บกอ่ ๒. ผลกำรดำเนินกำรจัดกำรศกึ ษำ ผลการดาเนินการจดั การศึกษาตาาแผนพัฒนาคุ ภาพการศึกษาขอบโรบเรยี นบา้ นสร้าบกอ่ 3 ปงการศึกษา ที่ผ่านาา โดยอา้ บอบิ จากรายบานผลการประเานิ คุ ภาพภายนอกรอบสาา (พ.ศ.2560-2562) ระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานขอบสานักบานรับรอบาาตรฐานและประเาินคุ ภาพการศึกษา (อบค์การาหาชน)สรปุ ดบั น้ี 2.1 คุ ภาพการศกึ ษาระดบั ปฐาวยั 2.1.1 จดุ เดน่ 1) เด็กาีพฒั นาการทาบดา้ นร่าบกาย ดา้ นอารา ์และจติ ใจ ดา้ นสับคา ด้านสติปญั ญา และาีควาาพร้อาศึกษาในชั้นต่อไป 2) าีการดาเนนิ บานในโครบการพเิ ศษเพ่ือสบ่ เสริาบทบาทขอบสถานศึกษา โครบการบ้าน นักวิทยาศาสตรน์ ้อย และโครบการโรบเรียนธนาคาร สาาารถดาเนนิ การเป็นแบบอยา่ บขอบการเปลย่ี นแปลบ ทดี่ ี และสาาารถเผยแพร่ต่อหน่วยบานอ่ืนได้ 2.1.2 จุดทค่ี วรพฒั นา 1) การพฒั นาาารยาททาบสับคา 2) ทักษะการเรียนรู้ดว้ ยตนเอบ 3) การดาเนนิ การดา้ นอตั ลกั ษ แ์ ละเอกลักษ ์ 2.1.3 โอกาสทาบการพัฒนา โรบเรียนตบั้ อยใู่ นชาุ ชนชนบททีป่ ระชากรนบั ถือศาสนาพุทธ าีกจิ กรราร่วากับทาบ พระพทุ ธศาสนา และร่วาบานบญุ ประเพ ตี าาวฒั นธรราทาบอีสานอยตู่ ่อเนอื่ บ รวาทบั้ โรบเรียนไดเ้ ขา้ รว่ า กิจกรราอย่าบสา่าเสาอ จึบาีควาาผูกพันใกล้ชดิ สาาารถส่ือสารควาาเปน็ ไปในโรบเรียนสชู่ ุาชนไดบ้ า่ ย รวาท้บั ค ะกรราการสถานศึกษาเป็นผ้นู าชุาชนเหน็ ควาาสาคญั ขอบการจัดการศึกษา ต้อบการให้บุตรหลานาีควาารู้ รว่ าาือกบั ทาบโรบเรียนระดาทนุ การศึกษา การทาผ้าปา่ การศกึ ษาขอบศษิ ยเ์ กา่ จากกรุบเทพาหานคร และ หน่วยบานต่าบๆใหค้ วาาร่วาาือ 2.1.4 อุปสรรคในการพัฒนา ผู้ปกครอบเดก็ บาบส่วนไปทาบานต่าบถิ่น ฝากลูกหลานไวก้ ับปู่ ยา่ ตา ยาย การให้ควาาอบอนุ่ และดแู ลได้ไา่ดีเท่าท่ีควร ผปู้ กครอบท่ีสบู วยั ากั ตาาใจบุตรหลานทาให้ขาดวินยั ในการประพฤติปฏบิ ตั ขิ อบเด็ก 2.1.5ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพจิ าร า โรบเรยี นใหเ้ ดก็ ไดเ้ รียนรู้กระบวนการทาบวิทยาศาสตรต์ าาโครบการนักวทิ ยาศาสตร์น้อย แหบ่ ประเทศไทยในาูลนิธสิ าเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ จดั ให้เดก็ ได้รู้จักการสับเกต การสารวจ การสอบถาา การวิเคราะห์ข้อาูล และการสรปุ ผล ดาเนนิ บานได้ตาาเก ฑท์ ี่าูลนธิ ิไดก้ าหนด คือ ทดลอบได้ 20 กิจกรรา ภายใน 1 ปงการศกึ ษา เดก็ ทั้บอนุบาล 1 และอนบุ าล 2 สาาารถอธบิ ายโครบบานการทดลอบท่ีตนเอบได้ ดาเนนิ การได้ถกู ต้อบโครบการธนาคารโรบเรียนสาาารถดาเนินการตาาเปา้ หาายทต่ี ั้บไว้สาหรับเด็กปฐาวยั คอื เด็กร่วากิจกรราการออา เด็กร้อยละ 90 ฝากเบนิ กบั ครู และผปู้ กครอบร้อยละ 90 เปดิ บญั ชีธนาคารใหก้ บั เดก็ ซึบ่ สาาารถบรรลตุ าาเป้าหาาย โดยเด็กได้นาเบนิ าาฝากครวู ันละ 2-10 บาท โดยฝากอยา่ บน้อย 3 คร้ับ ในหนบ่ึ สปั ดาห์ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ผู้ปกครอบเปิดบญั ชีธนาคารและนาเบินจากครูไปฝากเข้าบัญชธี นาคาร ชุาชนขอบหาบู่ า้ น ๔
แผนปฏิบตั ิการประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบา้ นสรา้ บกอ่ 2.2 คุ ภาพการจดั การศึกษาระดับประถาศึกษาและาธั ยาศึกษา 2.2.1 จุดเดน่ 1) ผู้เรยี นาีคุ ธรรา จริยธรราและคา่ นยิ าที่พบึ ประสบค์ ใฝร่ ู้และเรียนรอู้ ย่าบตอ่ เนือ่ บ 2) การดาเนินบานพัฒนาเอกลักษ ์ขอบโรบเรียน“ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียบ” เกิดผล กระทบที่ดตี อ่ ชาุ ชนและไดย้ อารบั การยอารบั จากอบคก์ รภายนอกสถานศกึ ษา 3) การดาเนินบานโครบการพิเศษเรอื่ บ การจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้าน และโครบการอาหาร กลาบวันแบบยบั่ ยนื สาาารถเปน็ แบบอย่าบทีด่ ใี นการแก้ปัญหาขอบโรบเรยี นและชุาชนรอบโรบเรยี น 2.2.2จุดทีค่ วรพฒั นา 1) การสบ่ เสราิ บานศิลปะดนตรี 2) การพฒั นาด้านคิดเป็น ทาเปน็ 3) การพัฒนาผลสัาฤทธ์ิทาบการเรียน โดยเฉพาะกลุ่าสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาษาไทย ค ิตศาสตร์ สบั คาศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรา การบานอาชพี และเทคโนโลยี 4) การดาเนินบานด้านอัตลกั ษ ์ 2.2.3 โอกาสในการพัฒนา โรบเรียนต้ับอยู่ในชุาชนชนบทที่ประชากรนับถือศาสนาพุทธ าีกิจกรราร่วากับทาบ พระพุทธศาสนา และร่วาบานบุญประเพ ีตาาวัฒนธรราทาบอีสานอยู่ต่อเน่ือบ รวาทั้บโรบเรียนได้เข้าร่วา กิจกรราอย่าบสา่าเสาอ จบึ าีควาาผูกพันใกลช้ ิด สาาารถสอ่ื สารควาาเปน็ ไปในโรบเรยี นสูช่ าุ ชนไดบ้ ่าย รวาทั้บ ค ะกรราการสถานศึกษาเป็นผู้นาชุาชนเห็นควาาสาคัญขอบการจัดการศึกษา ต้อบการให้บุตรหลานาีควาารู้ ร่วาาือกับทาบโรบเรียนระดาทุนการศึกษา การทาผ้าป่าการศึกษาขอบศิษย์เก่าจากกรุบเทพาหานคร และ หนว่ ยบานต่าบๆใหค้ วาารว่ าาือ 2.2.4 อปุ สรรค ผู้ปกครอบเดก็ บาบส่วนไปทาบานต่าบถนิ่ ฝากลูกหลานไว้กบั ปูย่ ่า ตายาย การให้ควาาอบอุ่น และดูแลได้ไา่ดีเท่าท่ีควร ผู้ปกครอบท่ีสูบวัยากั ตาาใจบุตรหลานทาให้ขาดวินัยในการประพฤตปิ ฏบิ ัตขิ อบเด็ก 2.2.5 ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา 1) ผูเ้ รียนควรได้รับการส่บเสริาการพัฒนาด้านผู้เรยี นดา้ นสนุ ทรียภาพเพ่ิาข้นึ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ สาั ผัสและรว่ ากจิ กรราดนตรีอยา่ บทัว่ ถึบและเลน่ ดนตรีได้อยา่ บนอ้ ย 1 ชนิด ครคู วรส่บเสราิ ใหผ้ ้เู รยี นไดเ้ รยี นรบู้ านศิลปะตาาหลกั สูตร จดั ให้ผ้เู รียนได้เรียนร้หู ลกั เก ฑ์ การจัดทาผลบานทาบศลิ ปะ ให้ถูกหลักวิชา าีการประกวดผลบานในกิจกรราวันสาคัญต่าบๆ าีหลักเก ฑ์การประเาิน และประเาินผลท่ี สาาารถนาผลประเานิ าาพฒั นาบานขอบผู้เรียนอย่าบสาา่ เสาอ 2) ผู้เรยี นควรได้รับการพฒั นาควาาสาาารถดา้ นการคิด การปรบั ตวั เข้ากับสบั คา โดยจัดสอดแทรกในกิจกรราการเรยี นรทู้ กุ กลุ่าสาระการเรียนรู้ าีการประเานิ ผลดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย รวาทบ้ั การประเานิ สารรถนะขอบผเู้ รยี นการกาหนดเก ฑ์ทเ่ี หาาะสา และผลประเาินท่ีนา่ เช่อื ถือ 3) ครูผู้สอนควรสารวจผเู้ รยี นทาี่ ีผลการเรยี นไา่ผา่ นเก ฑ์ในกล่าุ สาระการเรียนร้ตู ่าบๆ ในข ะประเาินผลระหว่าบเรียน ปลายภาคเรียน โดยจดั การสอนระหว่าบพักกลาบวนั หรือหลบั เลกิ เรยี น ให้ผเู้ รยี นได้ค้นคว้าควาารู้ ทาแบบฝกึ ทักษะ การบา้ น ท่พี ัฒนาควาารู้อยา่ บสา่าเสาอ ๕
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบา้ นสรา้ บกอ่ 4) ในกลาุ่ สาระการเรียนรทู้ ี่าผี ลสาั ฤทธ์ทิ าบการเรียนตา่ าาก ควรได้จัดครสู อนตรบตาา วิชาเอกหรอื ขอควาาร่วาาือจากวิทยากรนอกโรบเรียน เช่น ครูในกลุ่าเครือขา่ ย หรือภาู ิปัญญาท้อบถน่ิ 5) ผูเ้ รยี นทกุ ระดับชัน้ ควรไดร้ ับการพฒั นาผลสาั ฤทธ์ิทาบการเรยี นทกุ กลุ่าสาระการเรียนรู้ โดยจัดกจิ กรราการเรียนรู้ ให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รียนรู้สาระต่าบๆ ครบถ้วนตาาหลกั สตู รในแตล่ ะระดบั ชน้ั ก่อนสอบ ปลายภาคควรไดท้ บทวนควาารู้ท่ีได้เรยี นรู้าา และใหเ้ รียนรู้วธิ กี ารทาแบบทดสอบที่าุ่บเน้นการคดิ ให้าาก 6) โรบเรียนควรพฒั นาอัตลกั ษ ์ให้ครอบคลาุ คุ ลกั ษ ะขอบผเู้ รียนท่ีกาหนดในวสิ ัยทัศน์ ใน ประเดน็ เรื่อบการาีควาารโู้ ดยเพิ่านิยาาควาาหาาย กาหนดแผนพัฒนาอัตลักษ ์ และดาเนินการพัฒนาตาา ระบบคุ ภาพ 2.2.6 นวัตกรราหรอื ตัวอย่าบการปฏิบตั ทิ ดี่ ี (Good Practice) ๑) สถานศึกษาพอเพียบโรบเรียนดาเนินบาาตาานโยบายขอบกระทรวบศกึ ษาธกิ ารครบถ้วน ตาาเก ฑ์ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นการบริหารจดั การสถานศึกษา ด้านหลักสูตรและการจัดกจิ กรราการเรียนรู้ ดา้ นการจดั กิจกรราพฒั นาผู้เรยี น ดา้ นพัฒนาบคุ ลากรขอบสถานศกึ ษา และด้านผลลัพธ์/ภาพควาาสาเร็จ ดาเนินการโดยการใช้หลักการบริหารแบบาีสว่ นรว่ ากับผ้าู ีส่วนเกี่ยวข้อบทุกภาคส่วน ทบั้ ครู นักเรียน ผ้ปู กครอบนักเรียน ผู้นาชุาชนอบค์กรภาครฐั และเอกชนในทอ้ บถนิ่ จัดอาคารสถานทท่ี ี่เอือ้ อานวยต่อการ จดั การเรียนรู้และกิจกรราพัฒนาผ้เู รยี นตาาหลกั ปรชั ญาขอบเศรษฐกิจพอเพียบ ผบู้ ริหาร บคุ ลากรสถานศึกษา สาาารถจดั การทรพั ยากรและดาเนินชีวติ ดา้ นเศรษฐกจิ อยา่ บสอดคล้อบกบั หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี บอยู่ ร่วากบั ผู้อ่นื ในสับคาตาาหลกั เศรษฐกิจพอเพียบได้ สาาารถเป็นแบบอย่าบท่ีดใี นการปฏบิ ัติตนเพ่ือส่วนรวาและ สาธาร ประโยชน์ ผลการดาเนินบานโรบเรียนได้รับราบวัลสถานศกึ ษาแบบอย่าบการจัดกิจกรราการเรยี นรู้ และบรหิ ารจัดการการศึกษาตาาหลักปรชั ญาขอบเศรษฐกจิ พอเพียบ “สถานศกึ ษาพอเพียบ” ขอบหน่วยบาน กระทรวบศกึ ษาธกิ ารปง 2554 ราบวลั เหรยี ญทอบแดบหนึ่บโรบเรยี น หนบ่ึ นวัตกรรา สาขาแหล่บเรียนรู้ ระดับประเทศ ขอบหน่วยบานครุ สุ ภาปง 2555 ราบวลั โรบเรยี นตน้ แบบการจัดการเรยี นรูก้ ารสหกร ์ ขอบ หน่วยบานกราส่บเสริาสหกร ์ กระทรวบเกษตรและสหกร ป์ ง 2555 การดาเนนิ บานสบ่ ผลต่อผเู้ รียน คือ ราบวลั พระราชทาน กลาุ่ ยุวเกษตรดีเดน่ แหบ่ ชาติ ประจาปง 2555 ขอบหน่วยบานกระทรวบเกษตรและ สหกร ์ ราบวัลกลุ่าเด็กและเยาวชนดเี ดน่ แห่บชาติ สาขาอาชพี ประจาปง 2555 ขอบหนว่ ยบานกระทรวบ พฒั นาสับคาและควาาานั่ คบขอบานุษย์ และผบู้ ริหารไดร้ บั ราบวัลโลพ่ ระราชทาน ท่ปี รึกษากลุา่ ยุวเกษตรกร ดเี ดน่ แห่บชาติ ประจาปง 2555 ๒) โรบเรยี นดีศรีตาบล โรบเรียนดาเนินบานตาานโยบายขอบค ะกรราการสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวบศึกษาธิการตาาเก ฑ์การพัฒนาสถานศึกษาในระดับตาบลให้าีคุ ภาพเป็นที่ยอารับและเช่ือา่ันใน การจัดการศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านปัจจัย ด้านกระบวนการ (วิชาการ) ด้านกระบวนการ(คุ ธรรา) และ ด้านผลผลิต าุ่บหวับให้ผู้เรียนาีคุ ธรรานาวิชาการ เป็นเด็กดีศรีตาบล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลบขอบสับคา โลก และาีภูาิคุ้ากนั ตนเอบเพื่อรอบรบั การเปิดประตสู อู่ าเซยี นผูบ้ ริหารและครูเป็นตัวอย่าบขอบคนดี าีศีล 5 าี คุ ธรราวัตรปฏบิ ตั ทิ ้ับกาย วาจา ใจ เชื่อาโยบการาสี ่วนร่วาเครือขา่ ยบ้าน วดั โรบเรียน (บวร) เข้าด้วยกัน ในการพัฒนาสถานศึกษา ด้วยควาาร่วาาือขอบผู้เกี่ยวข้อบขอบทุกฝ่ายสาาารถพัฒนาโรบเรียนจนได้รับป้าย รับรอบต้นแบบโรบเรยี นดีศรตี าบล และโล่เชิดชูเกียรตใิ นปง 2556 ๖
แผนปฏิบัติการประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบ้านสรา้ บก่อ 2.3 ผลสัาฤทธิท์ าบการเรยี น 2.3.1 ตาราบแสดบการเปรยี บผลการประเาินการทดสอบควาาสาาารถด้านการอ่านขอบผู้เรยี น (Reading Test : RT) ระดับช้นั ประถาศึกษาปทง ่ี 1 การศึกษา 2561-2562 ควาาสาาารถ ปงการศึกษา ปงการศึกษา รอ้ ยละขอบผลตา่ บ 2561 2562 ระหว่าบปกง ารศึกษา ดา้ นการอ่านออกเสยี บ 63.77 91.04 ดา้ นการอ่านรเู้ ร่ือบ 68.66 79.64 27.27 66.21 85.34 10.98 รวมควำมสำมำรถทงั้ 2 ดำ้ น 19.13 2.3.2 ผลการประเานิ การทดสอบควาาสาาารถพน้ื ฐานขอบผเู้ รียนระดับชาติ (National Test: NT) ระดบั ชนั้ ประถาศึกษาปงที่ 3 1) ผลการประเานิ การทดสอบควาาสาาารถพน้ื ฐานขอบผู้เรียนระดบั ชาติ : NT ชัน้ ประถาศกึ ษาปงท่ี 3 ปงการศกึ ษา 2562 ผลกำรประเมนิ กำรทดสอบควำมสำมำรถพนื้ ฐำนของผเู้ รียนระดบั ชำติ (NT) ชั้นประถมศกึ ษำปที ี่ 3 54.93 54.31 55 53.68 54.5 54 53.5 53 ค ติ ศาสตร์ รวา 2 ดา้ น ภาษาไทย ๗
แผนปฏบิ ัติการประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรยี นบา้ นสรา้ บกอ่ 2) เปรียบเทยี บ ผลทดสอบควาาสาาารถพ้นื ฐานขอบผเู้ รียนระดบั ชาติ : NTชั้นประถาศึกษาปงท่ี 3 ปงการศกึ ษา 2561-2562 ผลกำรเปรยี บเทยี บปีกำรศกึ ษำ 2561 - 2562 60 56.51 54.93 53.68 54.31 50 44.73 48.98 40 30 20 10 0 ด้านค ิตศาสตร์ รวาทกุ ดา้ น ดา้ นภาษาไทย ปกง ารศกึ ษา 2561 ปงการศึกษา 2562 ตาราบแสดบการเปรยี บผลการประเานิ การทดสอบควาาสาาารถพน้ื ฐานขอบผู้เรยี นระดับชาติ (National Test: NT) ชั้นประถาศึกษาปงท่ี 3 การศกึ ษา 2561-2562 ควาาสาาารถ ปงการศกึ ษา ปกง ารศึกษา รอ้ ยละขอบผลต่าบ 2561 2562 ระหว่าบปงการศึกษา ด้านภาษา (Literacy) 56.51 54.93 ดา้ นคานว (Numeracy) 44.73 53.68 -1.58 ด้านเหตผุ ล (Reasoning Abilities) 45.71 - 8.95 48.98 54.31 รวมควำมสำมำรถทกุ ดำ้ น - 5.33 ๘
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบา้ นสรา้ บก่อ 2.3.3 ผลการทดสอบทาบการศึกษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-net) 1) ผลการทดสอบทาบการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-net) ช้ันประถาศกึ ษาปงท่ี 6 ปกง ารศึกษา 2562 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพ้ืนฐำน (O-net) ประถมศึกษำปีที่ 6 50 ภาษาไทย, 44.94 ค ติ ศาสตร์, 33.71 วิทยาศาตร์, 35.19 ภาษาอับกฤษ, 36.29 40 30 20 10 0 2) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทาบการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-net) ชัน้ ประถาศึกษาปงที่ 6 ปกง ารศกึ ษา 2561-2562 ผลกำรเปรียบเทยี บปีกำรศึกษำ 2561 - 2562 50 48.82 44.94 38.94 36.29 40 33.71 37.67 35.19 30.15 30 20 10 0 ค ติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอบั กฤษ ภาษาไทย ปงการศกึ ษา 2561 ปงการศึกษา 2562 ๙
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรียนบา้ นสร้าบก่อ ตาราบแสดบการเปรียบผลการทดสอบ O-Net ป.6 ประจาปงการศึกษา 2561-2562 โรงเรียน สพป.อด.4 สพฐ. ประเทศ ระดบั 2561 2562 ผลตำ่ ง 2562 ผลต่ำง 2562 ผลตำ่ ง 2562 ผลต่ำง กลมุ่ สำระ ภาษาไทย 48.82 44.94 -3.88 44.40 0.54 47.95 -3.01 49.07 -4.13 ค ติ ศาสตร์ 30.15 33.71 3.56 28.50 5.21 31.60 2.11 32.90 0.81 วทิ ยาศาสตร์ 37.67 35.19 -2.48 31.96 3.23 34.30 0.89 35.55 -0.36 ภาษาอับกฤษ 38.94 36.29 -2.65 28.15 8.14 30.86 5.43 34.42 1.87 คา่ เฉลย่ี 38.90 37.53 -1.36 33.25 4.28 36.18 1.36 37.99 -0.45 3) ผลการทดสอบทาบการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-net) ชัน้ าัธยาศึกษาปงท่ี 3 ปงการศกึ ษา 2562 ผลกำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-net) มัธยมศึกษำปีที่ 3 60 ภาษาไทย, 52.29 50 วิทยาศาตร์, 29.65 ภาษาอบั กฤษ, 34.25 40 ค ิตศาสตร์, 20.83 30 20 10 0 ๑๐
แผนปฏิบตั ิการประจาปงบบประาา 256๓ โรบเรยี นบ้านสร้าบกอ่ 4) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทาบการศึกษาระดบั ชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-net) ชนั้ าัธยาศึกษาปงที่ 3 ปกง ารศึกษา 2561-2562 ผลกำรเปรียบเทียบปีกำรศกึ ษำ 2561 - 2562 60 51.27 52.29 50 34.25 29.65 27.46 40 33.85 30 23.85 20.83 20 10 0 ค ิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอับกฤษ ภาษาไทย ปีกำรศึกษำ 2561 ปกี ำรศกึ ษำ 2562 ตาราบแสดบการเปรยี บผลการทดสอบ O-Net า.3 ประจาปงการศึกษา 2561-2562 ระดบั โรงเรียน สพป.อุดรธำนี สพฐ. ประเทศ กลมุ่ สำระ เขต 4 2561 2562 ผลตำ่ ง 2562 ผลต่ำง 2562 ผลต่ำง ภาษาไทย 51.27 52.29 1.02 2562 ผลต่ำง 55.91 -3.62 55.14 -2.85 ค ติ ศาสตร์ 23.85 20.83 -3.02 48.86 3.43 26.98 -6.15 26.73 -5.90 วทิ ยาศาสตร์ 33.85 29.65 -4.20 30.22 -0.57 30.07 -0.42 ภาษาอบั กฤษ 27.46 34.25 6.79 21.21 -0.38 32.98 1.27 33.25 1.00 คา่ เฉล่ยี 34.11 34.26 0.15 28.47 1.18 36.52 -2.27 36.30 -2.04 27.60 6.65 31.54 2.72 ๑๑
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสร้างกอ่ ส่วนที่ ๒ ทศิ ทางการดาเนินงาน ทิศทางการพฒั นาการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี รฐั บาลไดก้ าหนดวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ในการดาเนนิ งานไว้ ดงั น้ี วิสัยทศั น์“ประเทศไทยมีความมัน่ คง ม่ังคง่ั ยง่ั ยนื เปน็ ประเทศพฒั นาแล้วดว้ ยการพฒั นาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือเป็นคตพิ จนป์ ระจาชาติวา่ “ม่ันคง มั่งค่ัง ยง่ั ยนื ”เป้าหมายการพัฒนาประเทศ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสขุ เศรษฐกจิ พัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สงั คมเปน็ ธรรม ฐานทรพั ยากร ธรรมชาติย่งั ยนื ” นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ก. บทนา รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๕ หน้าทขี่ องรฐั มาตรา ๕๔ บญั ญตั วิ ่า “รฐั ต้องดาเนินการใหเ้ ด็กทกุ คนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ต้งั แตก่ ่อนวยั เรยี นจนจบการศึกษา ภาคบงั คับอยา่ งมีคณุ ภาพโดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย” และคาส่งั หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี ๒๘/๒๕๕๙ เรือ่ ง ให้จดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน ๑๕ ปี โดยไม่เกบ็ ค่าใช้จา่ ย ตามนยั ขอ้ ๓ กาหนดวา่ “ให้ส่วนราชการที่ เกีย่ วข้องกบั การจดั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานดาเนินการจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ๑๕ ปี ใหม้ ีมาตรฐานและ คณุ ภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ้ า่ ย” และตามหมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรฐั มาตรา ๖๕ บัญญัติวา่ “ใหร้ ฐั พึงจัด ให้มยี ทุ ธศาสตร์ชาตเิ ปน็ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ตามหลกั ธรรมาภิบาล เพื่อใชเ้ ปน็ กรอบ ในการจดั ทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกนั เพื่อใหเ้ กดิ การผลกั ดนั รว่ มกันไปสเู่ ปา้ หมายดงั กลา่ ว” อนงึ่ ยทุ ธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๘๐) ประกาศ ณ วนั ท่ี ๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ไดก้ าหนดวสิ ัยทัศน์ ในการพฒั นาประเทศ ดงั น้ี “ประเทศไทยมคี วามมนั่ คง มั่งคั่ง ยัง่ ยืน เป็นประเทศที่พฒั นาแล้ว ด้วยการ พฒั นาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” และได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศตาม วิสยั ทัศน์ไว้ ๖ ยทุ ธศาสตร์ คือ ๑. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมั่นคง ๒. ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน ๓. ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ า้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ๔. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๕. ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม ๖. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานได้ตระหนักถงึ ความสาคญั ของยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างยง่ิ เพราะเปน็ แนวทางในการพฒั นาประเทศที่ยง่ั ยนื โดยเฉพาะอย่างย่ิงยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการพฒั นาและ เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ซึ่งเป็นยุทธศาสตรท์ เ่ี น้นการวางรากฐานการพัฒนาทรพั ยากรมนุษยข์ อง ประเทศอยา่ งเป็นระบบ โดยม่งุ เน้นการพฒั นาและยกระดับคนในทุกมิตแิ ละในทุกช่วงวัยให้เปน็ ทรัพยากร มนุษย์ท่ีดี เก่ง และมีคุณภาพ พร้อมขับเคลือ่ นการพฒั นาประเทศไปข้างหน้าไดอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ ซง่ึ “คนไทยในอนาคตจะต้องมคี วามพร้อมท้งั กาย ใจ สติปญั ญา มพี ฒั นาการท่ดี ีรอบดา้ นและมีสขุ ภาวะที่ดีใน ทุกชว่ งวัย มีจติ สาธารณะ รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมและผู้อน่ื มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินยั รักษาศลี ธรรม ๑๒
แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสรา้ งก่อ และเปน็ พลเมอื งดีของชาติ มีหลกั คิดทถ่ี ูกต้อง มีทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทกั ษะส่ือสาร ภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ และอนรุ ักษภ์ าษาท้องถิน่ มนี สิ ัยรักการเรยี นรูแ้ ละการพัฒนาตนเองอยา่ ง ตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ สกู่ ารเป็นคนไทย ท่ีมที ักษะสงู เป็นนวตั กร นักคิด ผ้ปู ระกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละ อน่ื ๆ โดยมสี ัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง” ดงั นน้ั เพอื่ ให้การพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมา“ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมคี วามสขุ เศรษฐกจิ พัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรพั ยากร ธรรมชาติย่ังยืน” สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขน้ั พ้ืนฐาน จงึ กาหนดนโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ป(ี พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๘๐) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ แผนการปฏริ ูปประเทศ นโยบายรฐั บาลท่ไี ด้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เม่อื วันที่ ๒๕-๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ และนโยบายและจดุ เน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยได้กาหนดวสิ ัยทัศน์ พันธกจิ เป้าประสงค์ และมาตรการและแนวทางในการดาเนนิ การ ดังน้ี ข. วสิ ยั ทศั น์ “สรา้ งคุณภาพทุนมนษุ ย์ สู่สงั คมอนาคตทย่ี งั่ ยืน” ค. พนั ธกิจ ๑. จดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาติและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ ๒. พัฒนาผูเ้ รียนใหม้ คี วามสามารถความเปน็ เลศิ ทางวิชาการเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ๓. พฒั นาศักยภาพและคุณภาพผเู้ รยี นให้มสี มรรถนะตามหลกั สูตรและคุณลกั ษณะในศตวรรษท่ี ๒๑ ๔. สร้างโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอ่ื มล้า ใหผ้ ูเ้ รยี นทกุ คนไดร้ บั บริการทางการศึกษาอยา่ ง ท่ัวถึงและเท่าเทียม ๕. พัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาให้เปน็ มอื อาชีพ ๖. จดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และเปา้ หมายการพัฒนาท่ีย่ังยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) ๗. ปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจดั การศกึ ษาโดยใช้ เทคโนโลยี ดิจทิ ัล (Digital Technology) เพื่อพัฒนามุ่งสู่ Thailand ๔.๐ ง. เปา้ หมาย ๑. ผู้เรียนมีความรกั ในสถาบันหลักของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ มที ศั นคตทิ ่ีถูกตอ้ งต่อบ้านเมือง มีหลักคิดที่ถกู ต้อง และเป็นพลเมืองดขี อง ชาติ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีคา่ นิยมท่ีพึงประสงค์ มีจติ สาธารณะ รับผดิ ชอบตอ่ สังคมและผู้อืน่ ซ่อื สตั ย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศลี ธรรม ๒. ผเู้ รยี นทมี่ ีความสามารถพเิ ศษดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และอืน่ ๆ ได้รับการพฒั นาอย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ ๓. ผเู้ รียน เปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเริม่ และสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม มีความรู้ มที ักษะ มสี มรรถนะ ตามหลักสตู ร และคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ มีสุขภาวะทีเ่ หมาะสมตามวัย มีความสามารถใน การพึง่ พาตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเป็นพลเมืองพลโลกท่ดี ี (Global Citizen) พรอ้ มก้าวสู่สากล นาไปสูก่ ารสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ๑๓
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสรา้ งก่อ ๔. ผู้เรยี นท่ีมคี วามต้องการจาเป็นพิเศษ (ผูพ้ กิ าร) กลุ่มชาติพนั ธ์ุ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและกลุ่มที่ อยใู่ นพื้นทีห่ า่ งไกลทรุ กนั ดาร ได้รบั การศกึ ษาอยา่ งทั่วถึง เทา่ เทยี ม และมคี ุณภาพ ๕. ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ มคี วามรู้และจรรยาบรรณ ตามมาตรฐานวชิ าชีพ ๖. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพอ่ื การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาอย่างยั่งยนื ( Sustainable Development Goals: SDGs) และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่เี ปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ๗. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีสมดุล ในการบรหิ ารจดั การเชิงบรู ณาการ มีการกากับติดตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบขอ้ มลู สารสนเทศทีม่ ีประสิทธภิ าพ และการรายงานผลอย่างเป็นระบบ ใช้งานวิจยั เทคโนโลยีและนวตั กรรมในการขับเคล่อื นคณุ ภาพการศึกษา จ. นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ไดก้ าหนดนโยบายประจาปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๓ โดยยึดหลกั ของการพัฒนาที่ย่ังยนื และการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในอนาคต เป็น แนวทางในการจัดการศึกษาจัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานและสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑–๒๕๘๐ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๕) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐–๒๕๗๙ และม่งุ สู่ Thailand ๔.๐ ดงั น้ี นโยบายที่ ๑ ด้านการจดั การศึกษาเพ่ือความม่นั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ นโยบายที่ ๒ ดา้ นการจัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ นโยบายท่ี ๓ ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ นโยบายท่ี ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาทม่ี ีคุณภาพมมี าตรฐานและ ลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา นโยบายที่ ๕ ด้านการจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม นโยบายท่ี ๖ ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ฉ. มาตรการและแนวดาเนนิ การ บทนา นโยบายด้านการจดั การศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษยแ์ ละของชาติ เปน็ การจัดการศกึ ษา เพ่ือมุ่งเนน้ การพัฒนาผู้เรยี นทุกคน ให้มีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ ยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคตทิ ่ดี ตี ่อบ้านเมือง มหี ลกั คดิ ที่ถูกต้อง เปน็ พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ีดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีคณุ ธรรมอัตลักษณ์ มจี ติ สาธารณะ มจี ติ อาสา รับผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ซือ่ สัตย์ สจุ ริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ยั และรักษา ศีลธรรม เปน็ ผ้เู รียนท่ีมีความพร้อมสามารถรบั มอื กับภัยคุกคามรปู แบบใหม่ทุกรปู แบบ ทมี่ ีผลกระทบต่อ ความมนั่ คง เชน่ ภยั จากยาเสพติด ความรนุ แรง การคุกคามในชีวติ และทรัพยส์ นิ การคา้ มนุษย์ อาชญากรรม ไซเบอร์ และภัยพบิ ัติตา่ ง ๆ เป็นต้น ควบคไู่ ปกบั การป้องกันและแก้ไขปัญหาทีม่ ีอยู่ในปจั จุบนั และที่อาจจะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคต และเนน้ การจดั การศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับบรบิ ทของพื้นฐาน สภาพทางภมู ศิ าสตร์ ด้านเศรษฐกจิ และสังคม ซ่งึ มีความแตกต่างทางด้านสงั คม วัฒนธรรม เชื้อชาติ เชน่ การจดั การศกึ ษา ๑๔
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสร้างก่อ เขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดการศึกษาในเขตพ้นื ทีเ่ ฉพาะ กล่มุ ชาตพิ นั ธ์ุ กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส และกล่มุ ที่อยใู่ นพนื้ ทีห่ ่างไกลทุรกนั ดารพื้นท่สี งู ชายแดน ชายฝงั่ ทะเล และเกาะแกง่ เป็นตน้ เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้มีโอกาสได้รบั การพฒั นาสอดคล้องกับบรบิ ทของพน้ื ที่ ไดร้ บั การบริการดา้ น การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานท่ีมคี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ้ งการ เปน็ ต้น เปา้ ประสงค์ ๑. ผเู้ รียนทกุ คนท่ีมพี ฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความรักในสถาบนั หลกั ของชาติ ยึดม่นั การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ๒. ผ้เู รียนทุกคนมีทศั นคติทีด่ ตี ่อบ้านเมือง มหี ลักคดิ ที่ถูกต้อง เปน็ พลเมืองดขี องชาติ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี า่ นิยมที่พงึ ประสงค์ มีจิตสาธารณะ มจี ิตอาสา รบั ผิดชอบตอ่ ครอบครวั ผูอ้ ่ืน และสังคมโดยรวม ซอื่ สตั ย์ สจุ ริต มธั ยสั ถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวนิ ัย และรักษาศีลธรรม ๓. ผเู้ รยี นทุกคนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมคี วามพร้อมสามารถรับมือกับภยั คุกคามทุกรปู แบบทีม่ ีผล กระทบตอ่ ความมนั่ คง เชน่ ภยั จากยาเสพตดิ ความรุนแรง การคุกคามในชวี ติ และทรัพย์สนิ การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภยั พิบตั ติ ่าง ๆ เปน็ ต้น ๔. ผู้เรียนในเขตพน้ื ทเ่ี ขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ไดร้ บั โอกาส และการพฒั นา อย่างเต็มศกั ยภาพ และมคี ุณภาพสอดคล้องกับบรบิ ทของพนื้ ที่ ๕. ผู้เรียนในเขตพน้ื ทเี่ ฉพาะ กลุ่มชาตพิ นั ธุ์ กล่มุ ผูด้ ้อยโอกาส และกลมุ่ ท่ีอยใู่ นพืน้ ที่หา่ งไกลทุรกนั ดาร เช่น พ้ืนท่ีสูง ชายแดน ชายฝ่งั ทะเล และเกาะแก่ง เป็นต้น ไดร้ ับการบริการด้านการศึกษาข้นั พื้นฐาน ทีม่ ีคณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ ตวั ช้วี ดั ๑. ร้อยละของผู้เรยี นที่มีพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความรักในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมัน่ การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ๒. ร้อยละของผู้เรยี นที่มพี ฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการมีทัศนคติท่ดี ตี ่อบ้านเมืองมหี ลักคิดท่ีถกู ต้องเป็น พลเมอื งดีของชาติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีค่านิยมที่พงึ ประสงค์ มีคุณธรรม อัตลักษณ์ มจี ิตสาธารณะ มีจติ อาสา รบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัว ผ้อู ่ืน และสงั คมโดยรวม ซ่ือสัตย์ สุจริต มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินยั และรกั ษาศีลธรรม ๓. ร้อยละของผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรปู แบบที่ มผี ลกระทบต่อความม่นั คง เช่น ภยั จากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรพั ยส์ ิน การคา้ มนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพบิ ัตติ า่ ง ๆ เป็นต้น ๔. ร้อยละของผเู้ รียนในเขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ไดร้ ับโอกาส และการพัฒนา อย่างเตม็ ศกั ยภาพ และมีคณุ ภาพสอดคล้องกับบริบทของพืน้ ที่ ๕. ร้อยละของผเู้ รียนในเขตพน้ื ท่เี ฉพาะกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ กลุ่มผดู้ ้อยโอกาส และกลุ่มท่ีอยู่ในพ้ืนทห่ี า่ งไกล ทรุ กนั ดาร เชน่ พนื้ ท่ีสูง ชายแดน ชายฝง่ั ทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบริการด้านการศกึ ษา ข้ันพ้นื ฐาน ที่มคี ณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ สอดคล้องกับบริบทของพืน้ ที่ ๖. จานวนสถานศึกษาที่น้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร รามาธิบดีศรสี นิ ทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หวั และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามท่ีกาหนดได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๑๕
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสร้างกอ่ ๗. จานวนสถานศึกษาที่จัดบรรยากาศสิ่งแวดล้อม และจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ใหผ้ ู้เรยี นแสดงออกถึง ความรักในสถาบันหลกั ของชาติ ยึดมนั่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีทัศนคตทิ ี่ดีต่อบา้ นเมอื ง มีหลกั คิดท่ีถูกต้อง เป็นพลเมอื งดีของชาติ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มาตรการและแนวทางการดาเนนิ การ ๑. พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ พลเมอื งดขี องชาติและเปน็ พลโลกที่ดี เป็นมาตรการในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี วามรักในสถาบนั หลักของชาติ ยดึ มน่ั ในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข มที ศั นคตทิ ีด่ ตี ่อบ้านเมือง มีหลักคดิ ท่ถี กู ต้อง เป็นพลเมืองดขี องชาติ และพลเมอื งโลกที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มคี า่ นยิ มท่ีพงึ ประสงค์ มคี ณุ ธรรม อัตลักษณ์ มจี ติ สาธารณะ มีจิตอาสา รบั ผดิ ชอบต่อครอบครวั ชมุ ชน และสังคมและประเทศชาติ ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย และรักษาศลี ธรรม โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดังนี้ ๑.๑ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา สง่ เสริมสนบั สนุน กากบั ตดิ ตาม และประเมินสถานศกึ ษาตามมาตรการท่กี าหนด ๑.๒ สถานศึกษา (๑) พฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา โดยนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี ินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยหู่ วั และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปบรู ณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผ้เู รยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามที่กาหนด (๒) จดั บรรยากาศสง่ิ แวดล้อมและจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหผ้ ้เู รียนแสดงออกถึงความรักใน สถาบนั หลักของชาติ ยดึ มั่นการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขมที ัศนคติ ท่ีดีต่อบ้านเมือง มีหลักคิดทถี่ ูกต้อง เปน็ พลเมืองดีของชาติ และพลเมืองโลกท่ดี ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีค่านยิ มท่พี ึงประสงค์ มีคณุ ธรรมอัตลักษณ์ มีจิตสาธารณะ มีจติ อาสา รบั ผดิ ชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ซื่อสัตย์ สุจริต มธั ยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มวี ินยั และรักษาศีลธรรม ๒. พัฒนาผู้เรยี นมคี วามให้มีความพร้อมสามารถรบั มือกับภัยคกุ คามทุกรูปแบบ ทกุ ระดับความรนุ แรง ที่มผี ลกระทบตอ่ ความมั่นคงของประเทศ เปน็ มาตรการในการพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีความรู้ ความสามารถในการรับมือกับภัยคุกคามรปู แบบใหม่ ทกุ รูปแบบ ทุกระดับความรุนแรง เชน่ ภยั จากยาเสพติด ภยั จากความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและ ทรัพย์สนิ การค้ามนษุ ย์ อาชญากรรมไซเบอร์ และภัยพิบตั ิตา่ ง ๆ เป็นตน้ ควบคูไ่ ปกับการป้องกนั และ แก้ไขปญั หาท่ีมอี ยู่ในปัจจบุ ัน และที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดังน้ี ๒.๑ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน และสานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาส่งเสริม สนับสนนุ กากบั ตดิ ตาม และประเมินสถานศกึ ษาตามมาตรการท่ีกาหนด ๒.๒ สถานศกึ ษา (๑) พฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ เก่ียวกับภัยคุกคามที่มผี ลกระทบต่อความมนั่ คง ภัยจากยาเสพตดิ ความรุนแรง การคุกคามในชีวติ และ ทรัพยส์ ิน การค้ามนุษย์ อาชญากรรมไซเบอร์ ภัยพิบตั ิและภาวะฉกุ เฉินและภยั คกุ คามรูปแบบใหม่ ตลอดจน ร้จู กั วธิ กี ารปอ้ งกัน และแก้ไขหากได้รับผลกระทบจากภัยดังกล่าว ๑๖
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสรา้ งกอ่ (๒) มีมาตรการและแนวทางการป้องกนั ยาเสพติดในสถานศึกษาและชุมชน (๓) จัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาให้มีความมัน่ คงปลอดภัย (๔) มีระบบการดูแล ตดิ ตาม และชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี น ในการแก้ปัญหาต่างๆไดร้ ับคาปรึกษา ชแ้ี นะและความช่วยเหลอื อย่างทนั การณ์ ทันเวลา รวมท้งั การอบรมบม่ นิสัย ๓. การจัดการศึกษาในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ดาเนินแผนงาน โครงการตามยทุ ธศาสตรก์ ารศึกษา เขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) กระทรวงศึกษาธิการ ตามยทุ ธศาสตร์ ๖ ขอ้ คือ ๑. การศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความมน่ั คง ๒. การผลิตและพัฒนากาลงั คนให้มสี มรรถนะในการแขง่ ขนั ๓. การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ๔. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางการศึกษา ๕. การศึกษาเพ่ือเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม ๖. การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการศึกษา โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั น้ี (๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ดาเนินการจัดการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ในพืน้ ท่ี จังหวัดชายแดนภาคใตอ้ ยา่ งมีคุณภาพตามมาตรฐานบนพืน้ ฐานความหลากหลายในวฒั นธรรมท่ีสอดคล้อง กับอัตลักษณว์ ิถชี วี ิตและความตอ้ งการของชุมชน (๒) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ส่งเสริมและสรา้ งโอกาสให้ผู้เรยี นในพนื้ ที่จงั หวดั ชายแดนภาคใตไ้ ด้รบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานอย่างทว่ั ถึง (๓) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ส่งเสรมิ มาตรการการรกั ษาความปลอดภยั ของสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาในพืน้ ทจ่ี ังหวดั ชายแดนภาคใตใ้ หม้ ีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ นิ (๔) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เสรมิ สรา้ งสวัสดกิ ารให้ครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาให้มีขวญั และกาลังใจในการปฏบิ ัตงิ านในพ้ืนทีเ่ ส่ยี งภยั ๔. การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนในเขตพ้ืนทเี่ ฉพาะ เป็นมาตรการการจดั การศึกษาใหแ้ กผ่ ู้เรยี นท่ีอย่ใู นเขตพ้นื ที่เฉพาะ กลุม่ ชาติพันธุ์ กลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาส และกลุม่ ทีอ่ ยใู่ นพื้นท่หี ่างไกลทุรกนั ดาร เช่น พ้นื ท่สี ูง ชายแดน ชายฝัง่ ทะเล และเกาะแก่ง ได้รับการบริการ ดา้ นการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานท่ีมีคุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความต้องการ โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดังนี้ ๔.๑ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา (๑) สนบั สนนุ งบประมาณในการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาในพืน้ ท่ีสงู ในถ่นิ ทุรกันดาร ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง และท่ีดแู ลหอพกั นอนตามความจาเปน็ และ เหมาะสมกับบรบิ ท (๒) จัดสรรงบประมาณเพ่มิ เตมิ ให้สถานศกึ ษาในกลุ่มโรงเรยี นพนื้ ทสี่ ูงในถ่นิ ทุรกันดารชายแดน ชายฝัง่ ทะเล และเกาะแกง่ ใหจ้ ดั การเรียนรูท้ ี่มีคุณภาพและเกดิ จติ สานึกรักในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๑๗
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสร้างกอ่ (๓) สรา้ งเวทีการแลกเปลี่ยนเรยี นร้ใู นประเดน็ “การพฒั นาการจัดการศึกษาทเี่ หมาะสมกับสภาพ บรบิ ทของพน้ื ท่สี ูงในถ่นิ ทุรกันดาร ชายแดน ชายฝั่งทะเล และเกาะแก่ง ” ในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่น จดั เวที เสวนา การแสดงนิทรรศการ การตดิ ต่อสอื่ สารผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ ๔.๒ สถานศกึ ษา (๑) พัฒนารปู แบบและวิธีการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ และการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม สาหรบั การพัฒนาศักยภาพสงู สดุ ผ้เู รยี นกล่มุ ชาตพิ นั ธุ์ กล่มุ ผู้ดอ้ ยโอกาส และกลมุ่ ที่อยู่ในพนื้ ทหี่ ่างไกล ทุรกนั ดาร (๒) พฒั นาครูใหม้ ีทกั ษะการสอนภาษาไทยสาหรับเด็กที่ไมไ่ ด้ใชภ้ าษาไทยในชีวติ ประจาวนั (๓) ส่งเสริมการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ชมุ ชนเปน็ ฐาน ในการพัฒนาทักษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ติ ทักษะอาชพี และภาษาท่ี ๓ ท่สี อดคล้องและเหมาะสมกับสังคมพหวุ ฒั นธรรม นโยบายที่ ๒ ดา้ นการจัดการศึกษาเพอ่ื เพิม่ ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ บทนา ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ใหค้ วามสาคัญกับศกั ยภาพและคณุ ภาพของ ทรัพยากรมนษุ ยเ์ ป็นสาคัญ เนอ่ื งจาก “ทรพั ยากรมนุษย์เป็นปัจจยั ขบั เคล่อื นสาคญั ในการยกระดับการพฒั นา ประเทศในทกุ มติ ิไปสู่เปา้ หมายการเปน็ ประเทศที่พัฒนาแล้วมีขดี ความสามารถในการแข่งขนั กับนานา ประเทศ” ดงั นนั้ การพฒั นาศกั ยภาพและคุณภาพผู้เรียนให้มคี วามเป็นเลิศทางวชิ าการจงึ มีความจาเป็น อย่างย่งิ ทจี่ ะต้องดาเนินการให้สอดคล้องกนั โดยเนน้ ปรบั เปล่ยี นกระบวนการจัดการเรียนการสอนของ สถานศึกษาทจ่ี ดั การศึกษาระดบั มัธยมศึกษา ใหเ้ ปน็ สถานศึกษาทจ่ี ัดการเรยี นรู้ให้แก่ผูเ้ รยี นเชิงสมรรถนะ รายบุคคล ตามความสนใจ และความถนัด อย่างเต็มศักยภาพ มคี วามเป็นเลิศทางดา้ นวชิ าการ มีทักษะที่ จาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ มีความเป็นเลศิ ดา้ นทักษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาที่ ๓ มีทักษะ ความรูด้ า้ นดจิ ิทัล (Digital Literacy) เพ่ือใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือในการเรียนร้ไู ด้อยา่ งมีประสิทธิภาพ มนี สิ ยั รักการ เรียนรูแ้ ละการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ สูก่ ารเปน็ คนไทย ทม่ี ีทักษะวชิ าชพี ชน้ั สูง เปน็ นกั คิด เปน็ ผ้สู ร้างนวัตกรรม เปน็ นวัตกร เป็นผู้ประกอบการ เป็นเกษตรกรยุคใหม่ และอื่น ๆ สอดคล้องกบั ความ ต้องการของประเทศ มีความยดื หยุ่นทางดา้ นความคิด สามารถทางานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ภายใตส้ ังคมที่เป็น พหวุ ัฒนธรรม และมคี วามสามารถในการจดั การสุขภาวะของตนเองใหม้ สี ุขภาวะท่ดี ี สามารถดารงชีวิต อยา่ งมีความสขุ ทั้งด้านรา่ งกายและจิตใจ เปา้ ประสงค์ ๑. ผเู้ รียนทุกระดบั ให้มีความเปน็ เลศิ มีทกั ษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ ๒. ผเู้ รยี นมีความเป็นเลิศตามความถนดั และความสนใจ นาไปสู่การพัฒนาทักษะวชิ าชพี เป็นนักคดิ เป็นผู้สรา้ งนวัตกรรม เป็นนวัตกร ๓. ผ้เู รยี นได้รับโอกาสเข้าสู่เวทีการแขง่ ขนั ระดับนานาชาติ ตวั ชีว้ ัด ๑. จานวนผู้เรยี นมีความเปน็ เลิศทางด้านวชิ าการ มที ักษะความรูท้ สี่ อดคล้องกับทกั ษะท่จี าเป็น ในศตวรรษท่ี ๒๑ ๑๘
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสร้างก่อ ๒. ผเู้ รียนระดับมัธยมศึกษาผา่ นการประเมนิ สมรรถนะที่จาเปน็ ดา้ นการรูเ้ ร่ืองการอ่าน (Reading Literacy) ด้านการรู้เรอื่ งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และดา้ นการรู้เรื่องวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ตามแนวทางการประเมิน PISA ๓. รอ้ ยละของผเู้ รยี นที่มศี กั ยภาพไดร้ ับโอกาสเข้าส่เู วทกี ารแข่งขนั ระดับนานาชาติ มาตรการและแนวทางการดาเนนิ การ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน เตม็ ตามศักยภาพนาไปสู่ความเปน็ เลิศ ด้านวชิ าการตามความสามารถ ความสนใจ มีทกั ษะท่จี าเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ สร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ โดยมแี นวทางดาเนินการ ดงั นี้ ๑. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ๑.๑ ศึกษาวเิ คราะห์ วิจัยและพฒั นาเคร่ืองมือวัดแวว และรวบรวมเครอ่ื งมือวัดแววจากหนว่ ยงาน ตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องท้ังภาครฐั และเอกชน ๑.๒ ส่งเสรมิ สนบั สนุน ให้สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ดาเนินการวัดแววความถนัดทางการเรียน ของนักเรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ของโรงเรียนในเขตพ้ืนที่การศึกษาจัดกิจกรรมแนะแนวให้ผู้เรียนคน้ หา ตนเอง นาไปสู่การพฒั นาผเู้ รยี นให้มคี วามพร้อมทจี่ ะพฒั นาตอ่ ยอดไปสู่ความเปน็ เลศิ ดา้ นทักษะอาชพี ทตี่ รง ตามความต้องการและความถนัดของผเู้ รียน ๑.๓ ศกึ ษา วเิ คราะหค์ วามเหมาะสมของวธิ แี ละกระบวนการงบประมาณ ตง้ั แต่จานวนงบประมาณ ในการสนับสนนุ สถานศึกษาและผเู้ รยี นอยา่ งเพยี งพอ และเหมาะสม วิธกี ารจดั สรร วิธีการด้านระบบบัญชี การเบิกจ่าย และการติดตาม ตรวจสอบ เปน็ ต้น เพื่อกระจายอานาจให้สถานศึกษา มคี วามเปน็ อสิ ระในการ จัดการศึกษาเพ่อื พฒั นาผู้เรยี นอย่างเตม็ ศกั ยภาพ ๑.๔ ส่งเสริมสนับสนุนให้ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา และสถานศึกษาจดั ทาแผนงานโครงการ และ กจิ กรรม เพิ่มศักยภาพผู้เรียนตามความถนัด ความสนใจและความต้องการพัฒนา ทัง้ ดา้ นวชิ าการ ดา้ นอาชีพ และกิจกรรมเสริมหลักสตู ร ต้ังแตร่ ะดับสถานศึกษา เขตพื้นทก่ี ารศึกษา จงั หวดั ภูมิภาค ระดบั ประเทศ และ ระดบั นานาชาติ ๑.๕ กากบั ตดิ ตาม และใหค้ วามชว่ ยเหลอื สถานศกึ ษา พร้อมทงั้ รายงานผลการดาเนนิ งานต่อ กระทรวงศึกษาธกิ ารและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ๒. สถานศกึ ษา ๒.๑ ดาเนนิ การวดั แววผเู้ รียน และพัฒนาขดี ความสามารถของผู้เรยี นตามศกั ยภาพ และความถนดั โดยจัดการเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมการปฏิบตั จิ รงิ (Active Learning) เช่น การจัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการ ๕ ขั้นตอนหรอื บนั ได ๕ ขนั้ (Independent Study : IS) การเรยี นรูเ้ ชงิ บรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ เช่น สะเต็มศึกษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education :STEM Education) เป็นตน้ โดยสง่ เสริมใหค้ รจู ัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพฒั นาผู้เรยี นให้ผ้เู รียนเรียนร้ดู ว้ ยตนเองผ่านระบบดิจิทลั (Digital Learning Platform) ๒.๒ ปรบั เปลยี่ นอตั ลักษณ์ของสถานศึกษาใหม้ ุ่งเน้นการจัดการเรยี นรู้ใหผ้ ้เู รียนมีความเป็นเลิศ ทางวชิ าการตามความถนัด ความสามารถ ความสนใจของผู้เรียน และจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาสุขพลานามยั ให้เปน็ คนทีส่ มบูรณแ์ ข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ ๑๙
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสรา้ งกอ่ ๒.๓ สถานศึกษา พฒั นาหลกั สตู รและการจัดกิจกรรมกระบวนการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาผู้เรียน ใหม้ ีความเปน็ เลศิ ทางวิชาการตามความสนใจ และความถนัดเต็มตามศกั ยภาพ ๒.๔ สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รแู ละบุคลากรทาง การศึกษา ไดร้ บั การพฒั นาเพอ่ื ปรับเปลย่ี น กระบวนการจดั การเรยี นรูใ้ ห้แกผ่ ้เู รยี นโดยเน้นการจัดการเรียนรใู้ หแ้ กผ่ ้เู รียนเป็นรายบคุ คลตามความต้องการ และความถนดั ของผเู้ รียน ๒.๕ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ให้ผเู้ รียนมคี วามเป็นเลิศในทักษะสื่อสารภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาที่ ๓ เพิม่ เติมอย่างนอ้ ย ๑ ภาษา ๒.๖ ปรับเปล่ียนวิธกี ารวัด ประเมนิ ผลการเรียนของผูเ้ รยี น โดยมุ่งเน้นการวัดประเมนิ ตามสมรรถนะรายบุคคล โดยการจัดให้มีการวัดประเมินจากสว่ นกลางในชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ และชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ ๒.๗ สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานต่อสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาและหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง นโยบายที่ ๓ ด้านการพฒั นาและสรา้ งเสริมศกั ยภาพของทรพั ยากรมนุษย์ บทนา นโยบายดา้ นการพัฒนาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์ ม่งุ เนน้ การพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ เรม่ิ ตง้ั แต่ประชากรวยั เรียนทุกชว่ งวยั ตลอดจนการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา ดงั นี้ พัฒนาประชากรวัยเรยี นทกุ คนทุกชว่ งวัย ตั้งแตช่ ่วงปฐมวยั ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษา ผเู้ รยี น ทีม่ ีความต้องการดแู ลเปน็ พเิ ศษ ให้มคี วามพร้อมทง้ั ทางด้านร่างกายจติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ญั ญา มศี ักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มวี นิ ัย เรียนรู้ไดด้ ้วยตนเองมีความสามารถในการวางแผนชวี ิตและ การวางแผนทางการเงินท่ีเหมาะสม สามารถดารงชีวติ อย่างมีคุณค่า โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ ทีต่ อบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ มกี ารออกแบบระบบการเรยี นรูใ้ หม่ พัฒนาระบบ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ผู้เรยี นสามารถกากบั การเรียนร้ทู เี่ หมาะสมกับตนเองได้อย่างต่อเนื่องแมจ้ ะออกจาก ระบบการศึกษาแลว้ รวมถงึ ความตระหนักถงึ พหุปัญญาของมนุษยท์ หี่ ลากหลาย และการพฒั นาและรักษา กลุม่ ผู้มคี วามสามารถพิเศษของพหปุ ัญญาแต่ละประเภท เสรมิ สร้างให้ผเู้ รียนมีลักษณะนิสัย มคี วามรัก ในสุขภาพและพลานามัย และพฒั นาทักษะดา้ นกีฬาส่คู วามเปน็ เลศิ และกฬี าเพ่ือการอาชพี ครู และบคุ ลากร ทางการศกึ ษา เปน็ ผ้ทู ม่ี บี ทบาทสาคญั ในการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ให้คนไทยเปน็ คนดี คนเก่ง มคี ุณภาพ พร้อมสาหรับวถิ ชี ีวติ ในศตวรรษท่ี ๒๑ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา ต้องตระหนักถงึ ความสาคัญในอาชพี และหน้าท่ขี องตน โดย ครตู ้องมจี ติ วิญญาณของความเปน็ ครูมคี วามรคู้ วามสามารถอย่างแทจ้ ริง และ เป็นตน้ แบบด้านคุณธรรมและจรยิ ธรรมพฒั นาตนเองทางวชิ าชีพอยา่ งต่อเน่ืองเพ่อื ประโยชน์ในการพฒั นา ผูเ้ รียน เปลีย่ นโฉมบทบาท “คร”ู ให้เปน็ ครยู ุคใหม่ โดยปรับบทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรอื ผูอ้ านวยการการเรยี นรู้ทาหน้าที่กระต้นุ สร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรแู้ ละวิธีจัดระเบียบการสร้าง ความรู้ ออกแบบกจิ กรรมและสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรใู้ ห้ผู้เรยี น และมบี ทบาทเปน็ นกั วจิ ัยพฒั นา กระบวนการเรยี นรเู้ พ่ือผลสัมฤทธ์ขิ องผูเ้ รยี น เปา้ ประสงค์ ๑. หลักสูตรปฐมวยั และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน มกี ารพฒั นาที่สอดคลอ้ งกับแนวโนม้ การพัฒนาของประเทศ ๒๐
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสรา้ งก่อ ๒. ผเู้ รียนไดร้ บั การพฒั นาตามจดุ มงุ่ หมายของหลักสูตร และมที ักษะความสามารถทส่ี อดคล้องกบั ทกั ษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีความยืดหย่นุ ทางด้านความคดิ สามารถทางานรว่ มกับผ้อู ่ืนได้ ภายใต้ สงั คมทเี่ ป็นพหวุ ฒั นธรรม รวมถงึ การวางพนื้ ฐานการเรยี นรูเ้ พือ่ การวางแผนชีวิตทีเ่ หมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั และนาไปปฏบิ ตั ิได้ ๓. ผู้เรียนไดร้ ับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะนาไปสูก่ ารพัฒนานวตั กรรม ๔. ผเู้ รียนได้รับการพัฒนาเต็มตา มศี ักยภาพ เช่ือมโยงส่อู าชีพและการมงี านทามที ักษะอาชพี ที่ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของประเทศ ๕. ผเู้ รยี นไดร้ บั การพฒั นาให้มศี ักยภาพในการจดั การสุขภาวะของตนเองให้มสี ขุ ภาวะทีด่ ี สามารถดารง ชีวติ อยา่ งมคี วามสุขทง้ั ด้านรา่ งกายและจิตใจ ๖. ครู เปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผสู้ อน” เป็น “Coach” ผใู้ หค้ าปรกึ ษาข้อเสนอแนะการเรียนรู้หรือ ผู้อานวยการการเรียนรู้ ๗. ครู มคี วามรู้ความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนและเป็นแบบอย่างดา้ นคุณธรรมและจรยิ ธรรม ตัวชว้ี ัด ๑. ผู้เรียนทุกระดับมีสมรรถนะสาคัญตามหลักสตู ร มีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (3R8C) ๒. ร้อยละของผเู้ รยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓ ทม่ี ีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) ผ่านเกณฑ์ทีก่ าหนด ๓. ร้อยละของผู้เรยี นที่มคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-NET) มากกวา่ ร้อยละ ๕๐ ในแตล่ ะวชิ าเพม่ิ ข้ึนจากปีการศึกษาท่ีผ่านมา ๔. ร้อยละผ้เู รยี นทจี่ บการศกึ ษาชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ มีทักษะการเรียนรทู้ ่ีเช่ือมโยงสอู่ าชพี และการมีงานทา ตามความถนัด และความต้องการของตนเอง มที ักษะ อาชีพทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ วางแผนชีวิตและวางแผนทางการเงินที่เหมาะสมและนาไป ปฏบิ ัตไิ ด้ ๕. ผเู้ รียนทกุ คนมีทกั ษะพน้ื ฐานในการดารงชวี ิต สามารถดารงชวี ิตอยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสขุ มีความยดื หย่นุ ทางดา้ นความคดิ สามารถทางานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ ภายใต้สงั คมทีเ่ ป็น พหุวฒั นธรรม ๖. ผู้เรียนทกุ คนมีศักยภาพในการจดั การสขุ ภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะที่ดี สามารถดารงชวี ติ อยา่ งมีความสุขทั้งดา้ นรา่ งกายและจิตใจ ๗. ครู มกี ารเปล่ียนบทบาทจาก “ครผู ูส้ อน” เป็น “Coach” ผู้ให้คาปรึกษาข้อเสนอแนะการเรยี นรู้ หรือผอู้ านวยการการเรยี นรู้ มาตรการและแนวทางการดาเนินการ ๑. พัฒนาหลักสตู รทุกระดบั การศกึ ษาเป็นมาตรการสนบั สนนุ ให้มีการพฒั นาหลกั สูตรแกนกลาง ให้เปน็ หลักสตู รเชงิ สมรรถนะสอดคล้องกับทักษะท่จี าเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ เอื้อต่อการพัฒนาสมรรถนะ ผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลอย่างเหมาะสมทกุ ดา้ นทงั้ ทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา มีทักษะส่ือสารภาษาไทย มีแนวทางดาเนนิ การ ดังนี้ ๑.๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน และสานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ๒๑
แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสร้างก่อ (๑) พฒั นาหลกั สูตรทกุ ระดับเพ่ือใหผ้ ้เู รียนได้รับการพฒั นาทง้ั ๔ ดา้ น (รา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ และสตปิ ญั ญา) สอดคล้องกับทักษะทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ (๒) ส่งเสรมิ ใหค้ รูปรับเปล่ียนการจดั การเรยี นรู้ “ครผู ้สู อน” เป็น “Coach” ผู้อานวยการ การเรียนรู้ ผใู้ หค้ าปรึกษา หรือใหข้ ้อเสนอแนะการเรยี นรู้ และปรับระบบการวดั ประเมนิ ผลสัมฤทธผ์ิ ูเ้ รยี น ใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตร ๑.๒ สถานศึกษา พัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางเน้นการพฒั นา ผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล (หลกั สูตรเชิงสมรรถนะ) และปรบั เปลีย่ นการจดั การเรยี นร้ใู หต้ อบสนองตอ่ ความ ตอ้ งการของผเู้ รยี นและบริบทของพนื้ ที่ ๒. การพัฒนาศกั ยภาพ และคณุ ภาพของผู้เรยี น ๒.๑ การพัฒนาศกั ยภาพและคุณภาพของผู้เรยี นระดับปฐมวยั เดก็ ปฐมวัยไดร้ บั การพฒั นา เหมาะสมกบั วัยในทุกดา้ น ท้ังทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา มีวนิ ัย มที กั ษะสอ่ื สาร ภาษาไทย และมที ักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ (ฟัง พดู ) และทักษะดา้ นดิจิทลั พรอ้ มที่จะได้รบั การพัฒนา ในระดับการศกึ ษาท่สี งู ข้ึน โดยมีแนวทางดาเนินการ ดงั นี้ ๒.๑.๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และสานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา (๑) จดั ทาเคร่ืองมือประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยและประเมินพัฒนาการเดก็ ปฐมวัย ปเี วน้ ปี สรปุ และรายงานผลต่อกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง (๒) ส่งเสริมสนบั สนนุ การดาเนนิ งานของสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา และสถานศึกษา เพ่อื ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย และดาเนินการพฒั นาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ทง้ั ผู้บริหารสถานศึกษา ครแู ละบุคลากรปฐมวยั รวมทั้งผูป้ กครอง ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจการจดั การศึกษาปฐมวยั (๓) สนับสนนุ ให้สถานศกึ ษามีครูหรือครูผูช้ ว่ ยด้านปฐมวยั ตามมาตรฐานท่ีกาหนด (๔) ศึกษา วเิ คราะห์ วิจัย การจัดการศกึ ษาปฐมวัย แนวคิด ทฤษฎแี ละองคค์ วามรใู้ หมๆ่ เกีย่ วกบั การจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อบรกิ ารแกโ่ รงเรยี นและผสู้ นใจ (๕) กากับ ตดิ ตาม และให้ความช่วยเหลอื สถานศึกษา รวมทงั้ สรุปและรายงานผล การดาเนินงานต่อกระทรวงศึกษาธกิ าร และหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ๒.๑.๒ สถานศึกษา (๑) จัดกจิ กรรมพฒั นาเด็กปฐมวยั ในรูปแบบท่หี ลากหลาย จัดสภาพแวดล้อมท้งั ใน และ นอกห้องเรียนให้เอือ้ ต่อการพัฒนาการเรยี นรู้ (๒) จดั การเรียนรู้ สร้างประสบการณ์ เนน้ การเรียนเป็นเลน่ เรียนรู้อย่างมีความสุข (๓) ปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ี สิ่งอานวยความสะดวก สนามเดก็ เล่นใหไ้ ดม้ าตรฐาน มคี วามปลอดภยั สามารถจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี นได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ (๔) จัดหาสอื่ อุปกรณ์ ทีม่ ีคุณภาพเหมาะสม มีมาตรฐาน และความปลอดภัย (๕) อภิบาลเดก็ ปฐมวัยให้มสี ขุ ภาวะทดี่ ี ร่างกายสมบรู ณ์แข็งแรง ปราศจากโรค ภัย ไข้ เจ็บ (๖) สร้างความรู้ความเข้าใจแกผ่ ู้ปกครองในการจัดการศกึ ษาปฐมวัย เพื่อการมสี ่วนรว่ มและ การสนับสนนุ การดาเนนิ งานของสถานศึกษา ๒๒
แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสรา้ งก่อ (๗) สรุปและรายงานผลการดาเนินงานต่อสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาและหนว่ ยงาน ท่เี กย่ี วข้อง ๒.๒ การพัฒนาศักยภาพ และคุณภาพผเู้ รยี นระดับประถมศึกษาผูเ้ รยี นระดบั ประถมศกึ ษาไดร้ ับ การพฒั นาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา มีวนิ ยั มีทักษะท่จี าเปน็ ในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมีแนวทางดาเนินการ ดงั น้ี ๒.๒.๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และสานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา (๑) ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาและสถานศกึ ษาจัดการศึกษาพัฒนา ผู้เรียนให้มีพัฒนาการท่สี มวยั ทุกด้านท้ังทางด้านรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสตปิ ัญญาให้มีคุณลกั ษณะ - เป็นไปตามหลักสตู ร - มีทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ - มีทักษะการเรียนร้ทู ี่เชอ่ื มโยงสู่อาชพี และการมีงานทาสอดคล้องกับความตอ้ งการ ของประเทศ - มีความรู้ และทกั ษะด้านวิทยาศาสตรน์ าไปสู่การพฒั นานวัตกรรม - มคี วามรู้ความสามารถด้านดิจทิ ัล (Digital) และใช้ดิจิทัลเป็นเคร่อื งมอื ในการเรียนร้ไู ด้ อย่างมีประสิทธภิ าพ - มที ักษะทางดา้ นภาษาไทย เพ่ือใช้เป็นเครอื่ งมือในการเรียนรู้ มนี ิสัยรักการอ่านมที ักษะ สอ่ื สารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 (๒) จดั ทาเคร่ืองมือประเมินความสามารถพื้นฐานระดับชาติ (NT) นักเรียนชน้ั ประถมศึกษา ปที ี่ ๓ และดาเนนิ การประเมิน รวมทงั้ ประสานการดาเนินงานเพื่อทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET)นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ เพ่ือเป็นฐานการพฒั นานกั เรยี นทกุ ระดับชนั้ (๓) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหส้ านักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษาจัดกิจกรรมพฒั นา ผเู้ รยี นเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถงึ การวางพนื้ ฐาน การเรียนรเู้ พื่อการวางแผนชีวติ และวางแผนทางการเงนิ ที่เหมาะสมและนาไปปฏบิ ัติได้ (๔) สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือสง่ เสริมกระบวนการเรียนรูต้ าม สมรรถนะรายบุคคลและเตรียมความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพ (๕) ดาเนินการติดตาม และตรวจสอบให้ผ้เู รียนได้รับประทานอาหารอย่างครบถว้ นถูกตอ้ ง ตามหลักโภชนาการ (๖) กากับ ติดตาม และให้ความชว่ ยเหลอื สถานศกึ ษาในการจดั การศึกษาภาพรวม รวมทง้ั สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานต่อกระทรวงศึกษาธกิ าร และหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ๒.๒.๒ สถานศึกษา (๑) จดั การเรยี นรู้ท่ใี ห้ผูเ้ รียนไดเ้ รียนรู้ผา่ นกิจกรรมการปฏิบตั ิจริง (Active Learning) (๒) จดั การเรียนรอู้ ย่างเป็นระบบม่งุ เน้นการใชฐ้ านความรู้ และระบบความคดิ ในลักษณะ สหวิทยาการ (STEAM Education) เชน่ - ความรทู้ างวิทยาศาสตรแ์ ละการตั้งคาถาม - ความเข้าใจและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ความร้ทู างวศิ วกรรม และการคิดเพื่อหาทางแก้ปัญหา ๒๓
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสรา้ งก่อ - ความรู้และทกั ษะในดา้ นศลิ ปะ - ความรูด้ ้านคณิตศาสตร์และระบบคดิ ของเหตผุ ลและการหาความสัมพนั ธ์ (๓) จัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนเตม็ ตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและ ความสนใจ รวมถงึ กจิ กรรมการแนะแนวทั้งดา้ นศึกษาต่อและด้านอาชีพ เป็นการวางพนื้ ฐานการเรยี นรู้ การวางแผนชีวติ และวางแผนทางการเงินทเ่ี หมาะสมและนาไปปฏบิ ัติได้ (๔) จดั กิจกรรมการเรยี นร้เู พื่อสง่ เสริมสนับสนุนใหผ้ ้เู รียนมีทักษะพนื้ ฐานในการดารงชีวิต มสี ขุ ภาวะทีด่ ี สามารถดารงชีวิตอยา่ งมีความสุข (๕) จัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ ละพฒั นาดา้ นอารมณ์และสังคม(Social and Emotional Learning : SEL) (๖) จดั การเรียนการสอนเพ่อื เพิม่ ทักษะการคิดแบบมเี หตผุ ลและเปน็ ขนั้ ตอน (Coding) (๗) ดาเนนิ การใหผ้ ู้เรยี นไดร้ บั ประทานอาหารอย่างครบถ้วนถูกต้องตามหลกั โภชนาการ เปน็ ไปด้วยความถูกต้องตามระเบียบและวนิ ยั การคลงั (๘) สรุปและรายงานผลการดาเนินงานต่อสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาและหนว่ ยงาน ทเ่ี ก่ยี วข้อง ๒.๓ การพฒั นาศักยภาพ และคุณภาพผูเ้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษา ผูเ้ รียนระดับมธั ยมศกึ ษาได้รับการพัฒนาทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา มวี ินยั มีทกั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะดา้ นการคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ มที ักษะด้านภาษาไทย เพอ่ื ใช้ในการเรยี นรู้ มีทกั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓ มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี ได้รบั การพัฒนาทักษะ การเรยี นรู้ท่ีเชอื่ มโยงส่อู าชพี และการมงี านทา นาไปสู่การมที ักษะอาชีพทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ มีความยืดหยนุ่ ทางด้านความคิด สามารถทางานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ ภายใต้สงั คมท่ี เปน็ พหุวฒั นธรรม มที ักษะพื้นฐานในการดารงชีวติ มีสุขภาวะท่ดี ี สามารถดารงชีวติ อยา่ งมคี วามสขุ โดยมแี นวทางดาเนนิ การ ดงั น้ี ๒.๓.๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน และสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา (๑) ส่งเสริม สนบั สนุนใหส้ านักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา และสถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาผ้เู รียนให้มีพฒั นาการท่ีสมวัยในทุกด้านทง้ั ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญามีความ ยดื หยุน่ ทางดา้ นความคดิ สามารถทางานร่วมกับผู้อน่ื ได้ ภายใต้สังคมทีเ่ ปน็ พหวุ ัฒนธรรม ให้มคี ณุ ลักษณะ - เป็นไปตามหลกั สตู ร - มที ักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ - มที ักษะทางด้านภาษาไทย มีทกั ษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ ๓ เพอื่ ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ในการประกอบอาชีพ - มคี วามรู้ และทักษะด้านวิทยาศาสตร์นาไปสูก่ ารพฒั นานวตั กรรม - มีความสามารถด้านดิจิทัล (Digital) และใชด้ จิ ทิ ัลเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ - มที ักษะทางด้านภาษาไทย เพื่อใช้เป็นเครอื่ งมือ ในการเรยี นรู้ มีนสิ ัยรักการอา่ นมีทักษะ ส่ือสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี ๓ ๒๔
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสรา้ งก่อ (๒) ประสานการดาเนินงานเพ่ือทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ และช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ วเิ คราะห์ผล การประเมนิ เพือ่ เป็นฐานการพัฒนานกั เรยี น ทกุ ระดับชั้น (๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษาจัดกิจกรรมพฒั นา ผู้เรยี นเตม็ ตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดและความสนใจ รวมถึงการวางพน้ื ฐาน การเรียนร้เู พื่อการวางแผนชวี ติ และ วางแผนทางการเงินท่เี หมาะสมและนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ (๔) สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศึกษาเพ่ือส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ตาม สมรรถนะรายบุคคลและเตรียมความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพ (๕) จดั ทาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเพม่ิ ศักยภาพผูเ้ รยี นที่มคี วามรู้และทักษะดา้ น วทิ ยาศาสตร์ เปน็ นกั คิด นกั ปฏบิ ัติ นักประดิษฐ์ เปน็ นวัตกร นาไปสกู่ ารพฒั นานวัตกรรมในอนาคต รวมทัง้ จัดกิจกรรมกีฬา การออกกาลงั กาย และสนบั สนุนใหผ้ ูเ้ รยี น มีศักยภาพในการจัดการสขุ ภาวะ ของตนเองให้มสี ุขภาวะท่ีดี สามารถดารงชวี ติ อย่างมีความสุขทงั้ ด้านร่างกายและจติ ใจ (๖) กากบั ตดิ ตาม และใหค้ วามชว่ ยเหลือสถานศึกษา ๒.๓.๒ สถานศกึ ษา (๑) ส่งเสรมิ ครูให้จัดการเรียนรู้ท่ีใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ผา่ นกจิ กรรมการปฏิบัตจิ รงิ (Active Learning) (๒) สง่ เสรมิ ครใู หจ้ ัดการเรยี นรู้ตามกระบวนการ ๕ ขั้นตอน หรือบันได ๕ ข้ัน (Independent Study : IS) (๓) ส่งเสรมิ สนับสนุนครใู หจ้ ดั การเรียนรอู้ ย่างเปน็ ระบบมุ่งเนน้ การใช้ฐานความรู้และ ระบบความคิดในลกั ษณะสหวทิ ยาการ (STEAM Education) เช่น - ความรทู้ างวิทยาศาสตร์และการต้งั คาถาม - ความเข้าใจและความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี - ความรูท้ างวศิ วกรรม และการคิดเพื่อหาทางแก้ปญั หา - ความรแู้ ละทักษะในด้านศลิ ปะ - ความร้ดู ้านคณติ ศาสตร์และระบบคดิ ของเหตผุ ลและการหาความสัมพนั ธ์ (๔) จดั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี นที่มีความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เปน็ นกั คิด นกั ปฏบิ ตั ิ นกั ประดิษฐ์ เป็นนวตั กรรมนาไปสูก่ ารพฒั นานวัตกรรมในอนาคตรวมทัง้ จดั กิจกรรมกฬี า การออกกาลังกาย และสนบั สนนุ ให้ผู้เรียน มศี ักยภาพในการจัดการสขุ ภาวะของตนเองให้มีสุขภาวะทดี่ ี สามารถดารงชีวติ อยา่ งมีความสุขทั้งด้านรา่ งกายและจิตใจ เม่ือถึงชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลายสามารถวางแผนการศึกษาต่อหรอื การประกอบอาชพี ไดต้ ามความถนดั ความตอ้ งการ และความสนใจของตนเอง (๕) ส่งเสริมการเรียนร้แู ละพัฒนาด้านอารมณแ์ ละสังคม (Social and Emotional Learning : SEL) (๖) สรุปและรายงานผลการดาเนินงานต่อสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาและหนว่ ยงาน ทเ่ี ก่ียวข้อง ๒๕
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสร้างกอ่ ๒.๔ พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนทม่ี ีความต้องการดูแลเปน็ พิเศษ เป็นการจดั การศึกษาและพัฒนาสมรรถภาพสาหรบั เดก็ พกิ ารและเด็กดอ้ ยโอกาสในรปู แบบ ทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกบั บรบิ ท และความตอ้ งการจาเป็นพิเศษเฉพาะบุคคล โดยแนวทางการดาเนินการ (๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พฒั นาระบบการวดั และประเมินผล ตามสภาพจริงสาหรับเด็กพิการและเดก็ ด้อยโอกาส (๒) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษา รวมทั้งการพฒั นาหลกั สตู ร และสอ่ื การเรียนการสอนทเ่ี หมาะสมสาหรบั เด็กพิการและเด็กดอ้ ยโอกาส ในรูปแบบท่หี ลากหลายเหมาะสมกบั บริบท และความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษเฉพาะบคุ คล (๓) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ส่งเสรมิ สนับสนนุ การใหบ้ ริการ ช่วยเหลือระยะแรกเรม่ิ (Early Intervention : EI) (๔) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน สนับสนนุ ทรพั ยากร และจัดสรร งบประมาณดา้ นการศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกับบรบิ ทและความต้องการจาเปน็ พิเศษ (๕) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สง่ เสริมให้สถานศึกษานาระบบ เทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Technology) มาใช้ในการบรหิ ารจดั การ การให้บริการ และการเรยี นรู้ (๖) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปรบั ปรุงเกณฑ์อัตรากาลังครูและบุคลกร ใหม้ คี วามเหมาะสมกับภารงานในการจัดการศึกษาพิเศษ และเดก็ ด้อยโอกาส (๗) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สง่ เสริม สนบั สนุนใหม้ ีการพัฒนา ผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ใหม้ ีความรู้ทักษะ ประสบการณ์ มเี จตคติท่ดี ตี ่อการจัดการศึกษา สาหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส (๘) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พัฒนาระบบการให้บริการเทคโนโลยี สิ่งอานวยความสะดวก สอื่ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการ จาเป็นพิเศษ (๙) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สนับสนุนการพัฒนาภาคีเครือขา่ ย (Education Partnership) ให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาสาหรบั เด็กพิการและ เด็กด้อยโอกาส ๓. นาเทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology) มาใช้สนบั สนนุ การเรียนรใู้ หแ้ ก่ผู้เรยี นทุกระดบั การจัดการศึกษา เป็นมาตรการในการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล ในการสง่ เสริมสนบั สนนุ ใหผ้ ูเ้ รยี นพฒั นา วิธกี ารเรียนรขู้ องตนเอง ตามความต้องการ และความถนัด ของผู้เรยี นสามารถสร้างสังคมฐานความรู้ (Knowledge - Based Society) ของตนเอง เพ่อื ใหเ้ กดิ การเรียนรู้อยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชีวิต โดยแนวทางการดาเนินการ ดงั น้ี 3.1 สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน และสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา (๑) จดั หา พัฒนา ข้อมลู องค์ความรู้ ส่ือ วดิ โี อ และองคค์ วามรู้ประเภทต่าง ๆ หนังสอื แบบเรยี น ในรูปแบบของดจิ ิทัลเทคบุค๊ (Digital Textbook) ตามเน้อื หาหลกั สูตรทกี่ าหนด ๒๖
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสรา้ งก่อ (๒) พัฒนารูปแบบการเรยี นรู้ผ่านระบบดจิ ิทลั (Digital Learning Platform) เพื่อตอบสนอง ตอ่ การพฒั นาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล (๓) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนมอี ุปกรณ์ดิจิทลั (Digital device) เพ่อื เปน็ เคร่ืองมือ ในการเข้าถงึ องค์ความรู้ และการเรียนรผู้ า่ นระบบดจิ ิทลั อยา่ งเหมาะสมตามวยั (๔) สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือพฒั นาผเู้ รียนใหผ้ เู้ รยี นเรียนรู้ ด้วยตนเองผ่านการเรยี นรู้ผา่ นระบบดจิ ทิ ัล 3.๒ สถานศกึ ษา (๑) ประยกุ ตใ์ ชข้ อ้ มลู องค์ความรู้ ส่อื วิดีโอ และองค์ความรู้ประเภทตา่ งๆ หนังสือแบบเรยี น ในรูปแบบของดิจิทัลเทคบุค๊ (Digital Textbook) ตามเนอ้ื หาหลกั สูตรทก่ี าหนด (๒) จดั การเรียนรูผ้ ่านระบบดจิ ิทัล (Digital Learning Platform) เพ่ือตอบสนองต่อ การพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล (๓) จดั กิจกรรมการเรยี นรูเ้ พ่ือพัฒนาผูเ้ รียน ใหผ้ ้เู รียนเรยี นร้ดู ้วยตนเองผ่านการเรยี นรู้ ผ่านระบบดิจทิ ลั ๔. การพัฒนาคุณภาพครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา การพฒั นาคณุ ภาพครูจึงตอ้ งดาเนนิ การต้ังแต่การผลิตและการพฒั นาครูอย่างตอ่ เนื่องโดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานตอ้ งรว่ มมือกับสถาบันการผลิตครู ในการผลติ และพัฒนาครูใหเ้ ป็นไป ตามเป้าประสงค์ มกี ารดึงดูดคดั สรร ผมู้ คี วามสามารถสูงให้เข้ามาเปน็ ครูคณุ ภาพ มีระบบการพัฒนาศกั ยภาพ และสมรรถนะครูอยา่ งต่อเน่ืองครอบคลมุ ท้งั เงนิ เดือน เสน้ ทางสายอาชีพ การสนบั สนนุ สอ่ื การสอนและสรา้ ง เครอื ข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหว่างกันรวมถึงการพฒั นาครูท่มี ีความเชยี่ วชาญด้านการสอน มาเปน็ ผสู้ รา้ งครูรุ่นใหม่อยา่ งเปน็ ระบบและประเมนิ ครจู ากการวดั ผลงานการพฒั นาผเู้ รยี นโดยตรง ๔.๑ การผลติ ครทู ่ีมีคณุ ภาพ การผลติ ครทู ม่ี ีคุณภาพเป็นมาตรการการสร้างความร่วมมอื กบั สถาบันการผลิตครู ใหผ้ ลิตครทู มี่ ี จิตวญิ ญาณของความเป็นครู มคี วามรู้ความสามารถอย่างแทจ้ ริงและเปน็ ต้นแบบดา้ นคุณธรรมและจริยธรรม โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี_ (๑) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน สรา้ งความร่วมมือกับสถาบนั การ ผลิตครู วเิ คราะหค์ วามขาดแคลน ความต้องการครูของสถานศึกษา (๒) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ร่วมมอื กบั สถาบนั การผลติ ครวู างแผน วิเคราะห์หลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกับแผนความต้องการ (๓) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สนับสนุนทนุ การศึกษาใหน้ กั เรยี นระดบั มัธยมศกึ ษา ท่มี ีทศั นคติที่ดีต่ออาชีพครเู ข้ารบั การศึกษากับสถาบนั การผลิตครู (๔) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ตดิ ตาม และประเมินผล การผลิตครู อยา่ งเป็นระบบ ๔.๒ พฒั นาครู และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เป็นมาตรการทสี่ านกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ขัน้ พ้ืนฐาน จะต้องดาเนินการเพอ่ื ใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษาตระหนกั ถึงความสาคัญในอาชพี และ หน้าทีข่ องตน โดยพัฒนาใหเ้ ปน็ ครู เป็นครูยคุ ใหม่ ปรบั บทบาทจาก “ครูผู้สอน” เป็น “Coach” หรือ ๒๗
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสร้างก่อ “ผ้อู านวยการการเรยี นรู้” ปรบั วธิ สี อน ใหเ้ ด็กสามารถแสดงความคิดเหน็ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ และทากจิ กรรม ในช้ันเรยี น ทาหนา้ ท่ีกระตนุ้ สรา้ งแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรยี นรู้ และวธิ จี ัดระเบยี บการสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรม และสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นร้ใู ห้ผ้เู รยี น มีบทบาทเปน็ นักวิจยั พัฒนากระบวนการเรยี นรู้ เพอ่ื ผลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รียน โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดงั นี้ (๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานและสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา สง่ เสริมสนับสนุนใหค้ รู ศกึ ษาวิเคราะห์ ความต้องการจาเป็นในการพฒั นาตนเอง(Need Assessment) เพ่อื วางแผนการพฒั นาอย่างเป็นระบบและครบวงจร (๒) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา จัดใหม้ หี ลกั สตู รและกรอบแนวทางในการพฒั นาครู ทเ่ี ชื่อมโยงกบั ความกา้ วหนา้ ในวิชาชพี (Career Path) (๓) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และสานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประสานความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา สถาบันครุ พุ ฒั นา หรือหน่วยงานอน่ื ๆ จัดทาหลักสูตรการพัฒนา ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหต้ รงตามความต้องการและความขาดแคลน (๔) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน และสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา สนับสนนุ ให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาวางแผนและเขา้ รับการพัฒนาตามหลักสูตรท่ีกาหนดทเี่ ชอ่ื มโยง ความกา้ วหน้าในวิชาชพี (Career Path) (๕) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา สง่ เสรมิ และพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาในรูปแบบชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) (๖) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ใหม้ คี วามรทู้ ักษะด้านการรดู้ จิ ทิ ลั (Digital Literacy) การสอนดิจิทัล (Digital Pedagogy) ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ทกั ษะส่ือสารภาษาที่ ๓ สอดคลอ้ งกับ ภารกจิ หนา้ ทข่ี องตน (๗) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และสานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ส่งเสรมิ พัฒนา และยกระดับความรภู้ าษาอังกฤษของครูที่สอนภาษาอังกฤษ โดยใชร้ ะดบั การพัฒนาทาง ดา้ นภาษา (Common European Framework of Reference for Languages : CEFR) ตามเกณฑ์ ท่กี าหนดให้สามารถออกแบบการเรยี นรู้ การจดั การเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกบั การวดั ประเมินผลทเี่ นน้ ทักษะ การคิดขน้ั สงู (Higher Order Thinking) ผา่ นกจิ กรรมการปฏิบตั ิจริง (Active Learning) (๘) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ส่งเสรมิ และพฒั นาครใู หม้ ีความรู้และทักษะในการจดั การเรียนรู้สาหรับผูเ้ รยี นที่มีความแตกตา่ ง (Differentiated Instruction) (๙) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน และสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา สง่ เสริมและพฒั นาครูใหม้ ีความรแู้ ละทักษะในการสรา้ งเคร่ืองมือการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นทกั ษะ การคิดข้นั สูง (Higher Order Thinking) (๑๐) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ส่งเสรมิ และพัฒนาครู ให้มคี วามรู้ความสามารถจัดการเรยี นรู้ในโรงเรียนขนาดเลก็ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๒๘
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสร้างก่อ (๑๒) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมและพัฒนาครใู นการจัดการเรยี นรู้สาหรบั ผ้เู รยี นทมี่ ีความต้องการจาเปน็ พเิ ศษตามศกั ยภาพ ของผเู้ รียนแต่ละบคุ คล และตามสภาพและประเภทของความพิการ (๑๓) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาพฒั นาตนเองผ่านระบบ Online และแบบ Face - to -Face Training (๑๔) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา ปรบั ปรุงระบบตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมินประสิทธภิ าพและประเมินประสทิ ธผิ ล ครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความม่งุ หมาย และหลักการจดั การศึกษาข้อกาหนดดา้ นคุณภาพ และ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (๑๕) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน และสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา นาเทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital Technology) มาเป็นเคร่ืองมือในการบริหารจัดการครูและบคุ ลากรทาง การศกึ ษาทง้ั ระบบ ต้งั แตก่ ารจัดทาฐานขอ้ มลู ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จนถึงการพัฒนาครู และ บุคลากรทางการศึกษา โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดังน้ี ๑) พฒั นารปู แบบการพฒั นาครูผา่ นระบบดจิ ิทัล เพ่ือใช้ในการพฒั นาผู้บรหิ าร ครแู ละ บคุ ลากรทางการศึกษาทกุ ประเภททงั้ ระบบ ๒) พฒั นาหลกั สตู ร เนื้อหาดจิ ทิ ลั (Digital Content) ในสาขาท่ีขาดแคลน เช่น การพฒั นา ทักษะการคดิ ขน้ั สูง การจัดการศกึ ษาสาหรบั ผ้เู รียนท่ีมีความต้องการจาเป็นพเิ ศษ และผู้เรียนท่ีมีความ แตกต่าง เปน็ ต้น ๓) ส่งเสริม สนับสนนุ ใหผ้ บู้ ริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทพฒั นาตนเอง อยา่ งต่อเน่อื งผ่านระบบดิจิทัล ๔) พฒั นาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั ระบบบริหารจัดการผู้บรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ทุกประเภททั้งระบบ ๕) พัฒนาครใู ห้มีความชานาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) นโยบายที่ ๔ ดา้ นการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพ มีมาตรฐาน และ การลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา บทนา นโยบายการสรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศึกษาทีม่ ีคุณภาพและมีมาตรฐานและการลดความเหลื่อมล้า ทางการศึกษา เนน้ การสร้างโอกาสใหเ้ ด็กวัยเรียน และผเู้ รียนทกุ คนเขา้ ถงึ บริการการศึกษาทม่ี ีคณุ ภาพ ทเี่ ปน็ มาตรฐานเสมอกัน ไม่ว่าผ้เู รยี นจะยาก ดี มี จน จะอยใู่ นพื้นทใ่ี ดของประเทศ อยู่ในชมุ ชนเมอื ง พ้นื ทีห่ ่างไกล ทุรกันดาร หรือกลุม่ เป้าหมายทตี่ อ้ งการการดูแลเปน็ พิเศษ เพอ่ื ลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษาของประเทศ โดย สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยนื (Global Goals for Sustainable Development) สร้างกลไกความรว่ มมอื ของภาคส่วนตา่ งๆ ในทุกระดับต้ังแต่ ระดับองค์กรปกครองท้องถ่ินหรือตาบล ระดับอาเภอ ระดับจงั หวดั ระดับภมู ิภาค และสว่ นกลาง ๒๙
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสร้างกอ่ สรา้ งมาตรฐานสถานศึกษาตามบรบิ ทของพ้ืนที่ จัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพื่อสนับสนนุ ใหเ้ ดก็ วยั เรียนทุกคน ตง้ั แต่ระดบั ปฐมวยั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาอย่างเพียงพอและเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพข้อเทจ็ จริง โดยคานงึ ถงึ ความจาเป็นตามสภาพพ้ืนทภี่ ูมิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกิจ และท่ีต้ังของสถานศกึ ษา จัดหาทนุ การศกึ ษาเพมิ่ เติมเพ่ือช่วยเหลอื ผ้ขู าดแคลนทนุ ทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา จัดสรรงบ ประมาณ และทรัพยากรทางการศกึ ษาอื่นเปน็ พิเศษใหเ้ หมาะสม สอดคล้องกบั ความต้องการจาเป็นในการจัด การศึกษาสาหรบั ผเู้ รยี นท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษและจดั สรรงบประมาณเป็นคา่ ใช้จ่ายในการดาเนินการ และงบลงทุนให้สถานศึกษาตามความจาเป็น ตลอดจนนาเทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) มาใชเ้ ป็น เคร่อื งมือในการเรียนรู้ของผเู้ รียน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถใช้เปน็ เคร่ืองมอื ในการพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่อื ง ตลอดชีวติ รวมถงึ พฒั นาระบบการติดตาม สนบั สนนุ และประเมนิ ผลเพ่ือสร้างหลักประกันสิทธกิ ารไดร้ บั การศกึ ษาที่มีคุณภาพของประชาชน เป้าประสงค์ ๑. สถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อใหบ้ รรลุเปา้ หมายโลกเพ่ือการพัฒนาอย่างย่งั ยนื (Global Goals for Sustainable Development) ๒. สถานศกึ ษากบั องค์กรปกครองท้องถ่ิน ภาคเอกชน และหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องในระดบั พืน้ ท่ี รว่ มมือ ในการจดั การศกึ ษา ๓. สถานศกึ ษามีคุณภาพ และมีมาตรฐานตามบรบิ ทของพืน้ ที่ ๔. งบประมาณ และทรัพยากรทางการศึกษามเี พียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพขอ้ เท็จจรงิ โดยคานงึ ถึงความจาเป็นตามสภาพพืน้ ท่ีภมู ิศาสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ และที่ต้งั ของสถานศึกษา ๕. งบประมาณเพ่ือเปน็ คา่ ใชจ้ ่าย และงบลงทุนแก่สถานศึกษาอย่างเหมาะสมเพ่ือใหส้ ถานศึกษา บรหิ ารงานจัดการศึกษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ๖. นาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล (Digital Technology) มาเป็นเครือ่ งมอื ให้ผูเ้ รยี นไดม้ ีโอกาสเข้าถึงบรกิ ารดา้ น การศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๗. พัฒนาระบบการตดิ ตาม สนับสนุนและประเมนิ ผลเพื่อสร้างหลักประกันสิทธกิ ารได้รบั การศกึ ษาท่ี มีคณุ ภาพของประชาชน ตัวช้ีวัด ๑. ผูเ้ รยี นทกุ คนสามารถเข้าเรียนในสถานศึกษาที่มคี ุณภาพเป็นมาตรฐานเสมอกนั ๒. ผูเ้ รยี นทกุ คนไดร้ บั จัดสรรงบประมาณอุดหนุนอย่างเพียงพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ ข้อเทจ็ จรงิ โดยคานงึ ถงึ ความจาเปน็ ตามสภาพพ้ืนทภ่ี มู ศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ และท่ีต้ังของสถานศึกษา และความต้องการจาเป็นพิเศษสาหรับผูพ้ กิ าร ๓. ผเู้ รียนได้รับการสนับสนุน วัสดุ อปุ กรณ์ และอปุ กรณ์ดจิ ทิ ัล (Digital Device) เพอ่ื ใชเ้ ปน็ เครื่องมือ ในการเรียนร้อู ย่างเหมาะสม เพียงพอ ๔. ครูไดร้ บั การสนับสนุน วัสดุ อปุ กรณ์ และอุปกรณ์ดิจิทัล (Digital Device) เพอื่ ใช้เป็นเครอื่ งมือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนร้ใู หแ้ ก่ผูเ้ รยี น ๕. สถานศึกษาได้รบั การพัฒนาใหม้ ีมาตรฐานอยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ท ดา้ นประเภท ขนาด และพ้ืนที่ ๖. สถานศกึ ษานาเทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Technology) มาใชเ้ ป็นเครื่องมือในการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรู้ใหแ้ กผ่ เู้ รียนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓๐
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสรา้ งกอ่ ๗. สถานศกึ ษามรี ะบบการดแู ลช่วยเหลอื และคุม้ ครองนักเรียนและการแนะแนวทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ๘. สถานศึกษาทม่ี รี ะบบฐานขอ้ มูลประชากรวัยเรยี นและสามารถนามาใช้ในการวางแผนจดั การเรยี นรู้ ให้แกผ่ เู้ รียนได้อย่างมีประสิทธภิ าพ มาตรการและแนวทางการดาเนนิ การ ๑. สร้างความรว่ มมือกับองค์กรปกครองระดบั ท้องถิ่น ภาคเอกชน หน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องในการจดั การศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั บริบทของพ้ืนท่ี โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั น้ี ๑.๑ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน และสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา (๑) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหม้ คี วามร่วมมือกับองค์กรปกครองระดบั ท้องถิ่น ภาคเอกชน หนว่ ยงานท่ี เกีย่ วขอ้ งในการจดั การศึกษาใหส้ อดคล้องกบั บริบทของพน้ื ที่ ตลอดจนการกากับ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล (๒) จัดทาฐานขอ้ มูลประชากรวยั เรียน เพ่ือเก็บรวบรวม เช่ือมโยงข้อมลู ศกึ ษา วเิ คราะห์ เพอ่ื วางแผนการจดั บริการการเรยี นรู้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ๑.๒ สถานศกึ ษา (๑) ร่วมกับองค์กรปกครองระดบั พื้นที่ หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง และภาคเอกชน วางแผนการจดั การศกึ ษาให้สอดคล้องเหมาะสมกบั บริบทของพื้นทรี่ ับผิดชอบ (๒) ร่วมมือกบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ชมุ ชน เอกชน และหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้องระดบั พ้ืนที่ จัดทาแผนการรับนักเรียนทกุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดับปฐมวัย ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา (๓) ร่วมกบั องค์กรปกครองระดับพื้นท่ี จัดทาสามะโนประชากรวยั เรยี น (อายุ ๐ - ๖ ปี) เพอื่ นาไปใชใ้ นการวางแผนการจดั การศกึ ษา (๔) ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพื้นที่ ตดิ ตาม ตรวจสอบ เด็กวยั เรียนไดเ้ ข้าถึงบริการการเรยี นรู้ ได้อย่างทวั่ ถึงครบถว้ น (๕) รว่ มมอื กบั องค์กรปกครองระดบั พื้นที่ ชุมชน ภาคเอกชน และทุกภาคส่วนบรหิ ารจัดการ ทรพั ยากรในชุมชนให้สามารถใชร้ ่วมกับได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (๖) รว่ มมือกับองค์กรปกครองระดับพ้ืนที่ จดั อาหาร อาหารเสรมิ (นม) ให้ผเู้ รยี นอย่างเพยี งพอ มคี ณุ ภาพ (๗) รว่ มมือกับองคก์ รปกครองระดับพนื้ ท่ี สนบั สนุนให้ผูเ้ รียนท่อี ยหู่ า่ งไกล ไดเ้ ดนิ ทางไปเรยี น อย่างปลอดภยั ทง้ั ไปและกลบั ๒. การยกระดับสถานศึกษาในสังกัดทุกระดบั และทุกประเภท ใหม้ คี ุณภาพ และมาตรฐาน ตามบรบิ ทของพื้นที่ โดยมแี นวทางการดาเนินการ ดงั นี้ (๑) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐานและสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา จดั ทามาตรฐาน สถานศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพในด้านต่าง ๆ เช่น ๑) มาตรฐานด้านโครงสร้างพน้ื ฐานและ สงิ่ อานวยความสะดวก ๒) มาตรฐานด้านครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๓) มาตรฐานด้านระบบความปลอดภยั ของสถานศึกษา ๔) มาตรฐานด้านเทคโนโลยีดิจทิ ลั Digital Technologyเปน็ ต้น การกาหนดมาตรฐานสถานศึกษาด้านต่างๆ ดงั กล่าวใหพ้ ิจารณาตามบริบทของสภาพทางภมู ิศาสตร์ ประเภท และขนาดของสถานศึกษา เปน็ สาคัญ ๓๑
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสร้างก่อ (๒) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนนุ พฒั นาสถานศกึ ษาระดบั ตาบล ระดบั อาเภอ ระดบั จงั หวัด โรงเรยี นขนาดเล็ก และ สถานศึกษาประเภทอ่นื ใหม้ คี ณุ ภาพ และตามมาตรฐานท่ีกาหนด โดยเนน้ สถานศึกษาระดบั ตาบล โรงเรียนขนาดเลก็ ในพื้นท่หี า่ งไกล และโรงเรียนขนาดเล็กตามโครงการพิเศษ (๓) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน และสานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา ส่งเสริมสนบั สนุนสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาในการ ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ สถานศึกษาในทุกมิติ ๓. จัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ ผเู้ รยี นทกุ กลุ่มและสถานศกึ ษาทุกประเภทอยา่ งเหมาะสมและเพยี งพอ เป็นมาตรการเพื่อการลดความเหลื่อมลา้ และสรา้ งโอกาสให้ผเู้ รยี นเข้าถงึ การบรกิ ารการศึกษาท่มี ี คุณภาพ โดยการจดั สรรงบประมาณแผน่ ดนิ เพ่ือใหเ้ ด็กวัยเรียนทกุ คนตั้งแตร่ ะดบั ปฐมวัย ประถมศึกษา และ มัธยมศกึ ษา อยา่ งเพยี งพอ และเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพข้อเทจ็ จรงิ โดยคานงึ ถงึ ความจาเป็นตามสภาพ พ้ืนท่ีภมู ศิ าสตร์ สภาพทางเศรษฐกจิ และทตี่ ั้งของสถานศกึ ษา จดั หาทนุ การศึกษาเพิ่มเติมเพื่อชว่ ยเหลอื ผขู้ าดแคลนทุนทรพั ย์ จดั สรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอน่ื เปน็ พิเศษใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกับ ความตอ้ งการจาเป็นในการจัดการศึกษาสาหรบั ผู้เรยี นท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ และจดั สรรงบประมาณ เป็นค่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ การ และงบลงทนุ ให้สถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม และเพยี งพอ โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั นี้ (๑) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ศกึ ษาวิเคราะห์ ความเหมาะสมของงบประมาณในการสนบั สนนุ ให้กับผู้เรียน และสถานศึกษา อยา่ งเหมาะสม และเพยี งพอ สอดคลอ้ งกับสถานภาพและพ้ืนที่ (๒) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน และสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ส่งเสริมสนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาจดั ทาแผนงบประมาณการศกึ ษาอยา่ งอิสระ โดยรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของ ผู้เกยี่ วขอ้ งในพืน้ ท่ีประกอบการจัดทาแผนงบประมาณก่อนเสนอหนว่ ยงานต้นสังกัด (๓) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ประสานความรว่ มมือกับกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา เพ่ือจัดสรรงบประมาณให้เดก็ วยั เรยี น กลุม่ ขาดแคลนทนุ ทรัพย์ เพ่อื ลดความเหลือ่ มลา้ ทางการศึกษา (๔) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ส่งเสริมสนับสนนุ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา สนับสนุนกระบวนการจัดทาแผนงบประมาณ และ ตดิ ตาม กากบั การใช้จา่ ยงบประมาณของสถานศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและมีความโปรง่ ใส ๔. การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล(Digital Technology) เปน็ เครือ่ งมือในการพฒั นาคณุ ภาพ ของผู้เรยี น โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั นี้ (๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษามีระบบโครงข่ายส่ือสารโทรคมนาคมทม่ี ีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยสงู (๒) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน และสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา สง่ เสรมิ สนับสนุน ให้สถานศกึ ษามรี ะบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณท์ ี่ใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือในการพัฒนาทกั ษะ ดา้ นการรู้ ดิจทิ ัล (Digital Literacy) แก่ผเู้ รียน ๓๒
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสร้างกอ่ (๓) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และสานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ส่งเสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถานศึกษาปรับปรงุ พฒั นาห้องเรียนให้เป็นห้องเรยี นทีป่ ระยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology) ในการจดั การเรยี นรู้แกผ่ ้เู รยี น (๔) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน และสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา สง่ เสริมสนับสนุนอุปกรณ์ดจิ ิทลั (Digital Device) สาหรับผ้เู รยี นทกุ ระดับตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาอยา่ งเหมาะสม เพอื่ เปน็ เครื่องมือในการพัฒนาการเรียนรขู้ องตนเองนาไปสู่การสร้าง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต (๕) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา สง่ เสริมสนบั สนุนอุปกรณ์ดิจิทลั (Digital Device) และพัฒนาการสอนทักษะดิจทิ ลั (Digital Pedagogy) สาหรับครูอย่างเหมาะสม เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผ้เู รยี นได้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ (๖) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน และสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา สง่ เสริมสนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาใชเ้ ทคโนโลยีการเรยี นการสอนทางไกล เพ่อื พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น (Distance Learning Technology: DLT) นโยบายท่ี ๕ ด้านการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มติ รกับส่ิงแวดล้อม บทนา ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อมได้นอ้ มนา ศาสตร์ของ พระราชาสู่การพฒั นาทย่ี ่ังยืน โดยยึดหลกั ๓ ประการคือ “มคี วามพอประมาณ มีเหตุผล มีภมู ิคุ้มกัน” มาเป็นหลกั ในการจดั ทายุทธศาสตร์ชาตคิ วบคกู่ บั การนาเป้าหมายของการพัฒนาท่ีย่ังยืนทงั้ ๑๗ เปา้ หมาย มาเป็นกรอบแนวคิดทจ่ี ะผลักดนั ดาเนินการเพอ่ื นาไปสู่การบรรลุเปา้ หมายการพฒั นาที่ย่ังยนื ในทุกมติ ิ ทงั้ มิติ ด้านสังคม เศรษฐกิจ สงิ่ แวดลอ้ ม ธรรมาภบิ าล และความเป็นหุ้นส่วนความรว่ มมอื ระหวา่ งกนั ทง้ั ภายในและ ภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ โดยมีวิสัยทัศน์เพ่ือใหป้ ระเทศไทย “เป็นประเทศพัฒนาแลว้ มคี ณุ ภาพชีวิต และสงิ่ แวดลอ้ มท่ีดีทสี่ ดุ ในอาเซียนภายในปี พ.ศ. ๒๕๘๐” ดงั นัน้ นโยบายดา้ นการจัดการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน เพื่อรองรับวสิ ัยทศั น์ดังกลา่ ว จึงไดน้ ้อมนาศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และเปา้ หมายของ การพฒั นาท่ียั่งยืนท้ัง ๑๗ เปา้ หมาย มาเป็นหลักในการปรับปรงุ หลกั สูตร การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และ การจัดสภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา ให้สอดคล้องกบั หลกั การดังกล่าว บนพ้นื ฐานความเชือ่ ในการเติบโต รว่ มกัน ไมว่ า่ จะเปน็ ทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอ้ มและคณุ ภาพชีวติ โดยให้ความสาคญั กับการสร้างสมดุล ทัง้ ๓ ดา้ น ไมใ่ หม้ ากหรือนอ้ ยจนเกินไป อนั จะนาไปส่คู วามยั่งยนื เพื่อคนรุ่นต่อไปอยา่ งแท้จริง เป้าประสงค์ ๑. สถานศึกษา นักเรียนได้รบั การสง่ เสรมิ ด้านความรู้ การสร้างจติ สานึกดา้ นการผลิตและบริโภค ที่เปน็ มิตรกบั สง่ิ แวดล้อม ๒. สถานศกึ ษาสามารถนาเทคโนโลยมี าจดั ทาระบบสารสนเทศการเกบ็ ข้อมูลดา้ นความรู้ เรอื่ งฉลาก สเี ขียวเพ่อื สิง่ แวดล้อม ฯลฯ และสามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นทุกโรงเรียนตามแนวทาง Thailand ๔.๐ ๓. สถานศึกษามกี ารจัดทานโยบายจัดซ้อื จดั จา้ งท่เี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ๓๓
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสร้างกอ่ ๔. สถานศกึ ษามกี ารบรู ณาการหลักสตู ร กจิ กรรมเร่ืองวงจรชวี ิตของผลิตภัณฑ์การผลิตและบริโภค สู่การลดปริมาณคารบ์ อนในโรงเรยี นคาร์บอนต่าส่ชู ุมชนคาร์บอนต่า ๕. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา โรงเรียนทุกโรงเรียน ในสงั กัดมีการปรบั ปรงุ และพัฒนาเปน็ หนว่ ยงานต้นแบบสานักงานสีเขียว (GREEN OFFICE) เพื่อใหม้ ีบริบทที่ เปน็ แบบอยา่ งเอ้ือหรอื สนบั สนุนการเรียนรู้ของนักเรยี นและชุมชน ๖. สถานศกึ ษาในสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน จาก ๒๒๕ เขต มีนโยบายส่งเสริม ความรู้และสร้างจิตสานึกและจัดการเรียนรู้การผลติ และบริโภคทเ่ี ป็นมติ รกบั สิง่ แวดล้อม ๗. สถานศึกษาต้นแบบนาขยะมาใชป้ ระโยชนเ์ พ่ือลดปรมิ าณขยะ จานวน ๑๕,๐๐๐ โรงเรียน ๘. มสี ถานศึกษานวตั กรรมต้นแบบในการนา 3 RS มาประยกุ ต์ใชใ้ นการผลติ และบริโภคท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดลอ้ ม จานวน ๖,๐๐๐ โรงเรียน ๙. สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา ๒๒๕ เขต มกี ารทานโยบายการจัดซ้ือจดั จ้างท่เี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อม ตวั ชี้วัด ๑. สถานศกึ ษาในสงั กัดมีนโยบายและจัดกจิ กรรมให้ความรู้ ที่ถูกต้องและสรา้ งจิตสานกึ ด้านการผลิต และบรโิ ภคท่เี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อมนาไปปฏิบตั ิใช้ทบี่ า้ นและชุมชน เชน่ การส่งเสริมอาชพี ท่ีเปน็ มติ รกบั สง่ิ แวดล้อม การลดใชส้ ารเคมีจากปุ๋ยและยาฆ่าแมลง ฯลฯ ๒. สถานศึกษามีการนาขยะมาใชป้ ระโยชนใ์ นรูปผลิตภัณฑ์และพลงั งานเพือ่ ลดปริมาณขยะและส่งเสริม การคดั แยกขยะในชุมชนเพ่ือลดปรมิ าณคาร์บอนทโ่ี รงเรียนและชุมชน ๓. สถานศึกษามีการบรู ณาการเร่ืองการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมและการนาขยะมาใช้ประโยชนร์ วมท้งั สอดแทรกในสาระการเรียนรู้ทเี่ ก่ียวข้อง ๔. นักเรยี นเรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรู้ มีการขยายผลแหล่งเรยี นรู้ นักเรียน โรงเรยี น ชมุ ชนเรยี นรูด้ า้ นการ ลดใชพ้ ลงั งาน การจัดการขยะและอนรุ กั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มเพื่อเปน็ แหล่งเรยี นรู้ และตัวอย่างรปู แบบผลติ ภณั ฑ์ท่ี เป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม เชน่ โรงงานอตุ สาหกรรมสเี ขยี ว ฯลฯ ๕. นักเรียน สถานศกึ ษามกี ารเกบ็ ข้อมูลเปรียบเทยี บการลดปรมิ าณคารบ์ อนไดออกไซต์ ในการดาเนิน กิจกรรมประจาวันในสถานศึกษาและที่บา้ น และข้อมูลของ Carbon Footprint ในรปู แบบ QR CODE และ Paper less ๖. ครู มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถพัฒนาส่อื นวตั กรรม และดาเนนิ การจัดทางานวจิ ัยด้านการสร้าง สานกึ ด้านการผลิตและบรโิ ภคท่เี ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ มได้ ๗. ครู และนกั เรียนสามารถนาสอ่ื นวตั กรรมทผี่ ่านกระบวนการคิดมาประยุกตใ์ ช้ในโรงเรยี นการจดั การ เรยี นรู้ และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวันและชมุ ชนได้ตามแนวทางThailand ๔.๐ ๘. สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรงุ และพัฒนาบุคลากร และสถานที่ให้เปน็ สานกั งานสเี ขยี วต้นแบบมีนโยบายการจัดซื้อจัดจา้ งทีเ่ ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ มท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรยี น และชุมชน มาตรการและแนวทางการดาเนนิ การ ๑. จัดทา Road Map และแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อจัดแนวทางการดาเนนิ ทางการใหอ้ งคค์ วามรู้และสรา้ ง จติ สานกึ ด้านการผลติ และบริโภคทีเ่ ป็นมติ รกับส่ิงแวดลอ้ ม ๒. จัดทาคมู่ ือและพฒั นาสอ่ื นวตั กรรมในรปู แบบ QR CODE และสอ่ื ระบบ Multimedia และอื่น ๆ ๓๔
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสรา้ งกอ่ ๓. จัดทาเกณฑ์การประกวดโรงเรยี นคารบ์ อนต่าและชมุ ชนคาร์บอนตา่ และพัฒนาวิทยากรใหค้ วามรู้ เรอ่ื งวงจรชวี ติ ของผลิตภณั ฑ์ (LCA) สูส่ งั คมคาร์บอนตา่ ๔. พัฒนาวิเคราะหแ์ ผนการจัดการเรียนและจัดทาหน่วยการเรียนรูใ้ นเรอ่ื งการผลิตและบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อมต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ตัง้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนถงึ ระดบั มธั ยมศกึ ษาและ พฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศการเกบ็ ข้อมลู การลดก๊าซทมี่ ีผลต่อปรากฏการณ์ภาวะเรอื นกระจก เช่น คารบ์ อนไดออกไซด์ ในรูปแบบการเปรียบเทยี บและการลดการปลอ่ ยคาร์บอนไดออกไซด์ในการดาเนิน ชีวิตประจาวนั Carbon emission /Carbon Footprint ในสถานศึกษาสชู่ ุมชน ๕. จดั จา้ งผเู้ ชี่ยวชาญในการจดั ทา Road Map เป็นท่ปี รกึ ษาในการดาเนนิ การตามแผนปฏิบตั ิการ โรงเรียนคาร์บอนตา่ สู่ชุมชนคาร์บอนต่า ๖. พฒั นาต่อยอดและขยายผลศูนย์การเรยี นรู้ลดใชพ้ ลังงาน การจัดการขยะ และอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อม ใน ๖ ศูนย์ ๔ ภูมภิ าค ๗. พฒั นาเคร่ืองมือ และ กระบวนการให้ความรู้และแนวทางการจดั การเรียนรู้ กิจกรรมเรือ่ งการผลติ และบรโิ ภคท่เี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ มใน ๖ ภมู ภิ าค ๘. จัดสรรงบประมาณดาเนินการตาม Road map และแผนปฏิบัติการ ๒๕๕ เขต เพอ่ื ดาเนนิ การต่อ ยอดขยายความรแู้ ละสร้างเครอื ขา่ ยโรงเรยี น ชมุ ชน และเชื่อมต่อหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ๙. สนบั สนนุ ส่งเสริม พฒั นากระบวนการรณรงค์ให้มีการจัดซื้อจดั จ้างท่เี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมและ ยกระดบั สานักงานเขตพ้ืนทีต่ ้นแบบ ๒๒๕ เขต และสถานศึกษาด้านการบริหารจัดการสานกั งานสีเขียวและ สถานศกึ ษาทเ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม (Green office) ๑๐. พัฒนายกระดับสถานศึกษานาร่องขยายผล ส่งสถานศึกษาตน้ แบบดา้ นการพัฒนา ด้านการผลติ และบรโิ ภค ทีเ่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อมท้ังระบบ เชน่ การเลอื กซ้ือผลิตภณั ฑ์เบอร์ ๕ และผลิตภณั ฑท์ ่ีมฉี ลาก และสญั ลักษณเ์ บอร์ ๕ เพ่ือลดการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและลดปริมาณขยะในสานักงานและสถานศึกษา ๑๑. สง่ เสรมิ การพัฒนาส่ือนวัตกรรม และบูรณาการสาระการเรยี นรูแ้ ละแผนการจดั การเรียนรูเ้ รือ่ งการ ผลติ และบริโภคที่เป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ มต่อการเปลยี่ นแปลงภูมอิ ากาศ ๑๒. ขยายผลผา่ นระบบ DLTV สง่ เสริมความรเู้ รือ่ ง การผลติ และบรโิ ภคทีเ่ ป็นมติ รกับสิ่งแวดลอ้ มต่อ ความปลอดภยั และสขุ ภาพที่ดีสสู่ ังคมเมืองเชงิ นเิ วศและการจดั การมลพิษและส่งิ แวดลอ้ มท่ดี ีและการเลือก ผลติ ภณั ฑ์ บรรจุภณั ฑท์ ่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมและฉลากท่ีแสดงสัญลักษณ์ทเ่ี ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ๑๓. พัฒนานวัตกรรมโดยใชก้ ระบวนการ BBL/PLC และ Decision–Making การนาขยะมาใช้ ประโยชนใ์ นรปู แบบผลิตภัณฑ์และพลงั งานและลดประมาณขยะ การบาบัดนา้ เสีย ลดการใช้เผาและลดใช้ สารเคมี สโู่ รงเรียนปลอดภยั และเปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม ๑๔. ขยายผลจากโรงเรยี นคารบ์ อนตา่ สชู่ มุ ชนเชงิ นเิ วศและการจัดการมลพษิ และส่ิงแวดล้อมดี Green city ดา้ นพลังงาน การจัดการขยะและนา้ เสีย ชมุ ชนผลิตและบรโิ ภคท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ๑๕. สง่ เสรมิ สนบั สนุนและพัฒนาให้นักเรียน โรงเรียนไดศ้ ึกษา เรยี นรจู้ ากแหล่งเรียนรูโ้ รงงาน อุตสาหกรรม การผลติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั สง่ิ แวดล้อม ชุมชนเมืองนเิ วศ และหนว่ ยงานส่งเสริมการบรโิ ภคทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือนาความรู้มาประยุกตใ์ ช้และจดั ทาโครงงานดา้ นการอนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อม ๑๖. ส่งเสริมแนวทางการจดั การเรยี นรอู้ าชีพที่เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษาจดั คา่ ยเยาวชน วยั ซนลดคาร์บอนเพ่อื โลก ประกวดชมุ ชนต้นแบบทน่ี าความรู้จากโรงเรียนต่อยอดสู่ชมุ ชนนิเวศปลอดขยะ ๓๕
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสร้างกอ่ ปลอดสารพิษเป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ ม อยา่ งน้อย ๒,๐๐๐ ชมุ ชน ๑๗. จดั ทาระบบนิเทศ ติดตามผลการดาเนนิ งานในสถานศกึ ษาทง้ั ในระบบออนไลน์และนเิ ทศ เชิงคณุ ภาพพฒั นาการกรอกข้อมูลระบบการนเิ ทศติดตาม แลกเปล่ยี นนาเสนอผลงานและมอบรางวลั เกียรติยศ ประชาสัมพนั ธ์และจดั พิมพ์ เว็บไซต์ ผลงานเพือ่ เผยแพรแ่ ละเป็นต้นแบบ สรปุ ผลรายงาน นโยบายท่ี ๖ ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา บทนา นโยบายดา้ นการปรับสมดุลและพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การศึกษา เปน็ นโยบายจุดเนน้ ที่สาคญั เนื่องจาก เปน็ นโยบายที่กระจายอานาจการจัดการศึกษาให้สถานศึกษา หรอื กลุม่ สถานศึกษามีความเปน็ อิสระ ในการบริหารและจัดการศึกษา ครอบคลุมทั้งดา้ นการบริหารวชิ าการ ดา้ นการ บรหิ ารงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบุคคล และด้านการบรหิ ารงานทวั่ ไป และปรับบทบาทภารกิจของหน่วยงานทัง้ ระดับ สานักงานทั้งสว่ นกลาง และระดับภมู ภิ าค โดยปรบั โครงสรา้ งของหน่วยงานทกุ ระดบั ต้งั แตส่ ถานศกึ ษา สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา และสานักงานส่วนกลาง ให้มีความทันสมัย พรอ้ มท่ีจะปรับตัวใหท้ นั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา หนว่ ยงานสานกั งานเป็นหนว่ ยงานทมี่ ีหน้าทส่ี นับสนนุ ส่งเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพ่อื ให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษา ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ นาเทคโนโลยีดิจิทลั Digital Technology เชน่ Cloud Technology Big Data Technology และ Communication Technology เปน็ ต้น มาใช้ในการเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารงานทัง้ ระบบ มีความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ พร้อมทัง้ ปลกู ฝังค่านยิ มความซ่ือสตั ย์สุจริต ความมธั ยัสถ์และเปดิ โอกาสให้ทกุ ภาคสว่ นเข้ามามีส่วนร่วม เพ่อื ตอบสนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างสะดวกรวดเร็ว เป้าประสงค์ ๑. สถานศกึ ษาหรือกลุ่มสถานศกึ ษา มคี วามเปน็ อิสระในการบรหิ ารและจัดการศกึ ษาครอบคลุมด้าน การบรหิ ารวิชาการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป ๒. หน่วยงานส่วนกลาง และสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ตอ้ งปรบั เปลย่ี นใหเ้ ป็นหนว่ ยงานใหม้ คี วาม ทนั สมัย พรอ้ มท่จี ะปรับตวั ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลาเป็นหน่วยงานทม่ี ีหนา้ ทส่ี นบั สนุน สง่ เสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจดั การศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๓.หน่วยงานทกุ ระดบั มีความโปร่งใสปลอดการทจุ ริตประพฤติมชิ อบบริหารจดั การตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๔. หนว่ ยงานทุกระดบั มีกระบวนการ และการวิธงี บประมาณด้านการศกึ ษาเพื่อเพิ่มคณุ ภาพและ ประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษา โดยการจัดสรรงบประมาณตรงสูผ่ ู้เรยี น ๕. หน่วยงานทุกระดับ พัฒนานวตั กรรม และเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Technology)มาใชใ้ นการเพิ่ม ประสิทธภิ าพการบรหิ ารและการจดั การเรียนการสอนอยา่ งเป็นระบบ ตวั ช้วี ัด ๑. สถานศึกษาได้รับการกระจายอานาจการบริหารจัดการศึกษาอยา่ งเปน็ อิสระ ๒. สถานศกึ ษา สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา และสานักงานสว่ นกลางไดร้ ับการพัฒนาให้เปน็ หน่วยงาน ทม่ี คี วามทนั สมยั ยดื หยุน่ คล่องตัวสงู พร้อมท่ีจะปรบั ตวั ให้ทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของโลกอยตู่ ลอดเวลา เป็นหน่วยงานท่มี หี น้าทส่ี นับสนุน ส่งเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตามเพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพครอบคลุมทกุ ตาบล ๓๖
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสรา้ งกอ่ ๓. สถานศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสานักงานสว่ นกลาง นานวตั กรรม และเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั (Digital Technology) มาใช้ในการบรหิ ารจัดการและตดั สินใจ ทั้งระบบ ๔. สถานศึกษา และหน่วยงานในสงั กัดทุกระดับมคี วามโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล ๕. สถานศกึ ษา หน่วยงานในสังกดั ทกุ ระดับ ผ่านการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ๖. สถานศึกษาทกุ แห่งและหนว่ ยงานในสงั กัดมีระบบฐานข้อมูลสารสนเทศวชิ าการ ผูเ้ รยี น ครู บคุ ลากรทางการศึกษา สถานศกึ ษา หนว่ ยงานในสังกดั ๗. สถานศึกษาทุกแหง่ มขี ้อมูลผู้เรียนรายบคุ คลท่ีสามารถเชอื่ มโยงกบั ข้อมลู ต่างๆ นาไปสกู่ ารวิเคราะห์ เพอ่ื วางแผนการจัดการเรยี นร้สู ูผ่ ู้เรยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (Big Data Technology) ๘. สถานศกึ ษา สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา และสานกั งานส่วนกลางมีแพลตฟอร์มดิจิทัล (Digital Platform) เพ่อื สนบั สนุนภารกจิ ด้านบรหิ ารจดั การศึกษา ๙. สถานศกึ ษาทุกแห่งมรี ะบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถใช้ในการวางแผนการจดั การศกึ ษาได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ มาตรการและแนวทางการดาเนินการ ๑. ให้สถานศึกษา หรอื กล่มุ สถานศึกษา มคี วามเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารจดั การศึกษา เปน็ มาตรการกระจายอานาจใหส้ ถานศกึ ษา หรอื กลุ่มสถานศึกษามีความเป็นอสิ ระในการบริหาร และจัดการศึกษาครอบคลมุ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ดา้ นการบรหิ ารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทัว่ ไป โดยดาเนนิ การเปน็ รายสถานศกึ ษา หรือกลุม่ สถานศึกษา อาจดาเนินการเปน็ รายด้านหรือทุกด้านได้ โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั นี้ (๑) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ศึกษาวิเคราะห์ หลกั เกณฑ์ รูปแบบ หนา้ ท่ี อานาจ และโครงสรา้ งการกากับดแู ลของสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษา (๒) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ศึกษาวิเคราะหห์ น้าทีแ่ ละอานาจ องค์ปะกอบ จานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์และวธิ กี ารสรรหา การเลือกประธานและกรรมการ คณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษาหรือของกล่มุ สถานศกึ ษา โดยให้ คานึงถงึ หลักธรรมาภบิ าลและความเป็นอิสระของสถานศกึ ษาหรอื กลุ่มสถานศึกษา ใหม้ ีความหลากหลาย และความแตกตา่ งของสถานศึกษารวมถึงความต้องการและข้อจากดั ของแต่ละพ้ืนที่ (๓) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศึกษาจัดหาเจา้ หนา้ ท่ีเพื่อปฏิบัติหน้าท่สี นับสนุนงาน ดา้ นธรุ การ ดา้ นการเงินการบัญชีและพัสดุ และด้านบริหารงานบคุ คล เพือ่ มิให้งานดงั กล่าวเปน็ ภาระท่ี เกนิ สมควรแก่ครู ผู้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่กี ารจดั การเรียนรู้ให้แก่ผเู้ รียน (๔) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษาวเิ คราะห์ ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อปฏิบัตใิ ห้สอดคล้องกับการกระจายอานาจใหส้ ถานศึกษาหรอื กลุม่ สถานศึกษา มีความเป็นอสิ ระในการบริหารและจดั การศกึ ษา ๓๗
แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสร้างกอ่ (๕) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน และสานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา จัดทาแผนปฏบิ ัติการและดาเนินการส่งเสริม สนบั สนุน และพัฒนาสถานศึกษาหรือกลุ่มสถานศกึ ษา ให้มีความเปน็ อสิ ระในการบริหารจดั การศึกษา (๖) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน และสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา สง่ เสริมสนับสนนุ ให้โรงเรยี นขนาดเลก็ ใหม้ ีระบบการบริหารจดั การท่ีหลากหลาย เชน่ การบรหิ ารจัดการ แบบกลมุ่ โรงเรียน การสอนแบบบรู ณาการ คละช้ัน เป็นต้น (๗) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ยกระดบั สถานศกึ ษาให้เป็นแหลง่ เรียนรตู้ ลอดชวี ิตของทุกคนในชมุ ชน เป็นศนู ย์กลางในการพฒั นา ทักษะอาชีพ และทักษะชีวติ (๘) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา นาผลการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษามาใชใ้ นการวางแผนการปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบตดิ ตามเพื่อการปรบั ปรุง พัฒนาสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษา (๙) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา สง่ เสริมสนับสนุนใหม้ กี ารศึกษา วเิ คราะห์ ออกแบบ และพฒั นารปู แบบการระบบบริหารจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับการพัฒนาให้สถานศึกษามีอสิ ระในการบริหารจดั การศึกษา (๑๐) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา จัดอบรม พัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาใหม้ ีคุณสมบัติ สมรรถนะ และความร้คู วามเชยี่ วชาญ ประสบการณ์ ทจ่ี าเป็นสาหรบั การปฏบิ ตั หิ น้าท่ี (๑๑) สถานศกึ ษาหรือกล่มุ สถานศึกษาไดร้ บั การกระจายอานาจใหอ้ ยา่ งเปน็ อสิ ระในการบรหิ าร และจัดการศึกษาครอบคลมุ ดา้ นการบรหิ ารวิชาการ ด้านการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการบริหารงาน บุคคล และดา้ นการบรหิ ารงานทั่วไป โดยดาเนนิ การเปน็ รายสถานศกึ ษาหรือกลุ่มสถานศึกษาอาจดาเนนิ การ เป็นรายดา้ นหรือทุกดา้ นได้ (๑๒) สถานศกึ ษาหรือกล่มุ สถานศึกษา มคี ณะกรรมการสถานศกึ ษาของสถานศึกษา เพือ่ ทาหน้าที่ สง่ เสริม สนับสนุน กากบั ดูแลกจิ การและการประกนั คณุ ภาพของสถานศึกษา ๒. พฒั นาสานกั งานส่วนกลางและสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา เป็นหน่วยงานมคี วามทนั สมัย อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ มาตรการในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงานของสานักงานทั้งระดับสานักงานส่วนกลาง และสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ใหเ้ ป็นหนว่ ยงานทท่ี ันสมัย พร้อมทจี่ ะปรับตัวให้ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง ของโลกอยตู่ ลอดเวลา มีความโปร่งใส ปลอดการทจุ ริต และประพฤตมิ ชิ อบ บรหิ ารจดั การตามหลัก ธรรมาภิบาล เปน็ หน่วยงานท่ีมหี นา้ ที่สนบั สนุน ส่งเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจดั การศกึ ษาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี (๑) ศกึ ษา วเิ คราะห์ ปรับปรุง และพฒั นาสานักงานสว่ นกลาง และสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ให้เปน็ หน่วยงานท่ที ันสมัย มหี น้าท่ี สนบั สนุน กากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลสถานศกึ ษา เพ่ือการบริหารจดั การทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล ๓๘
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสร้างก่อ (๒) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้สานักงานสว่ นกลาง และสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาใช้ระบบ การบรหิ ารจดั การทมี่ ุ่งเน้นคุณธรรมและความโปร่งใสในการทางานตามหลักการประเมินคณุ ธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA) (๓) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ านักงานส่วนกลาง และสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษานานวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจทิ ลั (Digital Technology) มาใชใ้ นการบรหิ ารงาน (๔) สง่ เสรมิ การบริหารจัดการเขตพนื้ ที่การศึกษาโดยใช้พนื้ ทเี่ ป็นฐาน(Area-based Management) รปู แบบการบริหารแบบกระจายอานาจ “CLUSTERs” (๕) ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ ม จดั ทาแผนบรู ณาการจัดการศกึ ษาในระดับพื้นที่ (๖) สร้างความเข้มแขง็ ในการยกระดับคณุ ภาพการศึกษารปู แบบเครือขา่ ย เชน่ เครอื ข่ายสง่ เสริม ประสทิ ธิภาพการจดั การศึกษา ศนู ย์พฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้ สหวิทยาเขตกลุ่มโรงเรยี น ฯลฯ (๗) ส่งเสรมิ ใหท้ ุกภาคสว่ นของสังคมมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการที่ตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนและพ้ืนท่ี (๘) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ผู้ปกครอง ชุมชน สังคม และสาธารณชน ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจและ มีส่วนร่วมรับผดิ ชอบ (Accountability) ในการบรหิ ารจดั การศึกษา (๙) ส่งเสริมให้ทกุ ภาคสว่ นของสังคมเข้ามามีสว่ นรว่ มสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๓. ปฏิรูปการคลงั ด้านการศกึ ษา เพ่ือเพิ่มคุณภาพและประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษา โดยการจดั สรร งบประมาณตรงสู่ผู้เรยี น และสถานศึกษา เป็นมาตรการทเี่ น้นการนาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital Technology) มาใช้ในการจัดสรรงบประมาณ อดุ หนุนผเู้ รียนทุกคน สอดคล้องกบั ยุทธศาสตรช์ าติทตี่ ้องการปฏริ ปู การคลงั โดยการจัดสรรงบประมาณตรง ไปยังผู้เรยี น เทคโนโลยดี จิ ิทลั (Digital Technology) จะเปน็ เครื่องมอื สาคัญในการดาเนนิ การเพ่ือใหบ้ รรลุ เป้าประสงค์ดังกล่าว โดยสามารถพิสูจนต์ วั ตนของผเู้ รยี นที่รบั จัดสรรงบประมาณได้อย่างถูกต้อง ลดความ ซา้ ซอ้ นในการจัดสรรงบประมาณอดุ หนนุ ผเู้ รียน สามารถกาหนดเง่ือนไขการจัดสรรงบประมาณใหแ้ ก่ผู้เรยี น กลมุ่ ต่างๆ ได้อยา่ งถูกต้องและสามารถเช่ือมโยงข้อมลู กับระบบธนาคารในการจัดสรรงบประมาณตรงไปยัง ผูเ้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินการ ดงั นี้ (๑) ศกึ ษา วิเคราะห์ ออกแบบ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการงบประมาณ อุดหนุนผูเ้ รยี นและ สถานศึกษาโดยตรง (๒) พัฒนาแพลตฟอร์มดิจทิ ัล (Digital Platform) เพ่ือพฒั นาระบบการบริหารจัดการงบประมาณ อดุ หนนุ ผู้เรยี นและสถานศกึ ษาโดยตรง (๓) พัฒนาและประยุกต์ใชร้ ะบบไบโอเมทรกิ ซ์ (Biometric) ในการพสิ ูจนต์ วั ตนของผู้เรยี น เพ่ือลดความซา้ ซ้อนในการจดั สรรงบประมาณ โดยจะทาการแลกเปลยี่ นข้อมูลนักเรียนรายบคุ คลกับ กระทรวงมหาดไทย (๔) พฒั นาระบบเบิกจ่ายงบประมาณอดุ หนุนตรงไปยังผู้เรยี น และสถานศึกษาโดยผ่านระบบธนาคาร ๔. พฒั นานวัตกรรม เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Technology) และระบบการทางานท่เี ป็นดจิ ิทัล เขา้ มาประยกุ ต์ใชอ้ ย่างคุ้มคา่ และเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด ๓๙
แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสรา้ งกอ่ เปน็ มาตรการในการประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (Digital Technology) มาใช้ในการเพ่ิม ประสิทธภิ าพการบรหิ ารอย่างเป็นระบบ นาไปสู่การนาเทคโนโลยกี ารวิเคราะหข์ ้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Technology) เพอ่ื เชื่อมโยงข้อมูลด้านต่างๆ ตั้งแตข่ ้อมูลผู้เรยี น ขอ้ มลู ครู ขอ้ มูลสถานศึกษา ข้อมลู งบประมาณ และข้อมลู อ่นื ๆ ที่จาเปน็ มาวเิ คราะห์เพื่อให้สถานศึกษาสามารถจัดการเรยี นรเู้ พื่อพัฒนา ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลตามสมรรถนะและความถนัด และสามารถวเิ คราะหเ์ ป็นขอ้ มูลในการวางแผนการพฒั นา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ นา Cloud Technology มาใหบ้ ริการแก่หน่วยงานทุกระดับทง้ั ระดบั IaaS PaaS และ SaaS และพัฒนาแพลตฟอรม์ ดิจิทัล (Digital Platform) ระบบบรหิ ารงานสานักงาน เช่น ระบบ แผนงานและงบประมาณ ระบบบญั ชี ระบบพัสดุ ระบบสารบรรณ เปน็ ตน้ เพื่อเจ้าหน้าท่สี ามารถใช้ในการ ปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เชือ่ งโยงกันท้ังองคก์ ร โดยมแี นวทางการดาเนนิ การ ดงั นี้ (๑) ศกึ ษา วเิ คราะห์ นา Cloud Technology มาให้บริการหน่วยงานในสังกัดทุกระดบั ท้งั ในรปู แบบ Private Cloud Hybridge Cloud และ public Cloud ทั้งในระดบั IaaS Paas และ SaaS (๒) ศึกษา วเิ คราะห์ นา Big Data Technology มาใช้ในการเชื่อมโยงข้อมลู ของนักเรยี นใน ฐานข้อมลู ตา่ งๆ เพื่อนามาวเิ คราะห์ คณุ ภาพของผ้เู รยี นในมิติตา่ ง ๆ (๓) พฒั นาแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั (Digital Platform) เพอ่ื สนบั สนุนภารกิจด้านบริหาร จดั การศึกษาท้งั ระบบพร้อมใหบ้ ริการ (Services) เช่อื มโยงขอ้ มลู เพื่อแลกเปลยี่ นและบูรณาการข้อมลู ภาครัฐท้ังภายในและ นอกสงั กัดอีกทั้งยังเป็นระบบกลางสาหรับใชใ้ นการพิสูจนย์ ืนยันตัวตนเดยี วและรองรบั การทางานรว่ มกบั แพลตฟอรม์ ดิจิทลั ตา่ ง ๆ (๔) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ทรัพยากรมนุษย์ด้านการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ท่สี ามารถเชอื่ มโยงและ บรู ณาการข้อมูลด้านการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยร์ ะหว่างกระทรวงหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้อง โดยการเช่อื มโยง ข้อมลู รายบุคคลทีเ่ กย่ี วกบั การศึกษา การพฒั นาตนเองสุขภาพและการพฒั นาอาชพี ในตลอดชว่ งชวี ติ เป็นฐานขอ้ มูลการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ของประเทศไทยที่มีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล สามารถประเมนิ จุดออ่ น จุดแข็ง และศักยภาพบคุ คลของประเทศ นาไปสกู่ ารตัดสนิ ใจ ระดบั นโยบายและระดับปฏิบัติ (๕) พฒั นาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั (Digital Platform) ดา้ นการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนและบคุ ลากรทางการ ศึกษา ด้านการบรหิ ารงาน เชือ่ มโยงถึงการพัฒนาครู เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับความกา้ วหนา้ ในอาชีพตลอดจน พัฒนา ระบบข้อมลู สารสนเทศของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลตัง้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐานท่ี สามารถเช่ือมโยงกบั หนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง นาไปส่กู ารพฒั นาฐานข้อมลู ประชากรด้านการศกึ ษาของประเทศ ๔๐
แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบ้านสร้างกอ่ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 4 วิสยั ทัศน์ “สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาอดุ รธานี เขต 4 เปน็ องค์กรทีท่ ันสมยั และอัจฉรยิ ะ มงุ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษาสู่ความเปน็ เลิศในศตวรรษท่ี 21 Modern and intelligent Organization toward Excellent Education in Century 21” พนั ธกิจ 1. สง่ เสริมและสนบั สนุนผ้เู รยี นทกุ คนได้รบั โอกาสทางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานอยา่ งท่ัวถงึ และมีคณุ ภาพ 2. ยกระดบั ขีดความสามารถผูเ้ รยี นเต็มตามศักยภาพสมู่ าตรฐานสากล 3. ปลกู ฝังนักเรยี นใหม้ ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมีจติ สานึกความเป็นไทย 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา มีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 5. พฒั นาระบบบริหารจดั การศึกษาโดย มงุ่ สผู่ ลสมั ฤทธ์ิ เน้นการกระจายอานาจและการมีส่วนร่วม อตั ลกั ษณ์ “หนึง่ เดยี ว แนว่ แน่ พงุ่ ชนผลสมั ฤทธ์ิ” (Unity) “กลา้ คดิ กล้าทา กลา้ นาการเปลีย่ นแปลง” (Development) “องคก์ รมีชีวติ น้อมจติ บริการ มีขดี สมรรถนะสูง” Organic “ศตวรรษใหม่ ทันสมยั ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (New network) เป้าประสงค์ 1. ประชากรวยั เรียนทกุ คนไดร้ บั โอกาสทางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน 2. ผเู้ รียนมีคุณภาพและมาตรฐานตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและมีศักยภาพด้านภาษา วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละการอาชพี เพ่ือการพง่ึ ตนเอง 3. ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานวชิ าชพี 4. การบริหารจดั การศึกษามปี ระสิทธิภาพเนน้ การกระจายอานาจและการมีสว่ นร่วม จุดเน้นสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 4 11 จุดเนน้ 1. สถานศึกษาเสริมสรา้ งความม่นั คงของสถาบันหลักและการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2. สถานศึกษาปลูกฝงั ผูเ้ รียนด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ 3. สถานศึกษาเสรมิ สร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาผู้เรียนอย่างมีคณุ ภาพดว้ ยการปรบั หลกั สูตร การวัดและประเมินผลทีเ่ หมาะสม 4. สถานศกึ ษาพัฒนาคุณภาพกระบวนการเรยี นรู้ 5. สถานศึกษาสรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขนั 6. พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน 7. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท มสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มศี กั ยภาพ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม นา Digital technology มาใชใ้ นการบริหารและการจดั การเรยี นรู้ 8. สถานศึกษาลดความเหลอื่ มล้าทางการศึกษา 9. สถานศกึ ษาสรา้ งความเข้มแขง็ ของระบบการนเิ ทศภายใน 10. โรงเรยี นแห่งความสุข 11. สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาบริหารจดั การศึกษาสคู่ วามเป็นเลศิ โดยเนน้ การมีส่วนรว่ ม ๔๑
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสรา้ งก่อ โรงเรยี นบา้ นสร้างกอ่ วิสัยทัศน์ (Vision) “โรงเรยี นน่าอยู่ พฒั นาศูนยก์ ารเรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา นกั เรียนมที ักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาชาติ ครูและบคุ ลากร ปฏบิ ตั ิงานแบบมืออาชีพ” พันธกจิ (Mission) ๑. พฒั นาคณุ ภาพนกั เรียนตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ๒. พฒั นากระบวนการเรยี นรทู้ ี่สง่ เสริมการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สารในโรงเรียน ๓. พฒั นาทกั ษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ ๒๑ ทกั ษะทางวิชาการ ทักษะชวี ิตและทักษะอาชพี ของนักเรยี นด้วยกจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ีหลากหลาย ๔. พัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มและแหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียนให้มคี ุณภาพเอ้ือต่อการเรียนรู้ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. พัฒนาศักยภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาตามมาตรฐานวชิ าชพี เป้าประสงค์ (Goals) ๑. นักเรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ๒. นกั เรียนมที ักษะและความสามารถด้านการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ ๓. นักเรยี นมที กั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ มที กั ษะทางวิชาการ ทักษะชวี ิตและทกั ษะอาชพี ๔. โรงเรียนนา่ อยู่ มีแหล่งเรยี นรู้ สภาพแวดล้อมทส่ี ะอาด เป็นระเบยี บ สวยงาม ปลอดภยั เออื้ ต่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๕. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา มคี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี เอกลักษณ์ ศนู ยก์ ารเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง อัตลักษณ์ สรา้ งก่อพอเพียง คาขวัญ นสิ ยั ดี มคี วามรู้ อย่อู ย่างพอเพียง ๔๒
แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบ้านสร้างก่อ กลยทุ ธ์สถานศกึ ษา (Strategy) กลยุทธท์ ี่ 1 การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ท่ี 2 การพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธท์ ่ี 3 การพฒั นาระบบบริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล กลยุทธท์ ่ี 4 การพัฒนาครูและบุคลากรมืออาชพี แบบชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวชิ าชพี กลยุทธท์ ่ี 5 ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ มในการสนับสนุนและการจัดการศึกษา จุดเน้น จุดเนน้ ท่ี ๑ สถานศึกษาเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบนั หลกั และการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ จุดเนน้ ที่ ๒ สถานศึกษาปลูกฝงั ผเู้ รียนด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ จดุ เน้นท่ี ๓ สถานศกึ ษาเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ในการพฒั นาผู้เรยี นอยา่ งมีคณุ ภาพดว้ ยการปรับ หลกั สตู รการวัดและประเมินผลทเ่ี หมาะสม จุดเนน้ ที่ ๔ สถานศึกษาพัฒนาคณุ ภาพกระบวนการเรียนรู้ จุดเน้นที่ ๕ สถานศกึ ษาสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขัน จดุ เน้นท่ี ๖ พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายใน จุดเน้นท่ี ๗ ผู้บริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภท มสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ มีศกั ยภาพ มคี ุณธรรม จริยธรรม นา Digital Technology มาใชใ้ นการบรหิ ารและการ จัดการเรียนรู้ จุดเน้นที่ ๘ สถานศกึ ษาลดความเหล่อื มลาทางการศึกษา จดุ เน้นที่ ๙ สถานศกึ ษาสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบการนิเทศภายใน จดุ เนน้ ที่ ๑๐โรงเรียนแห่งความสุข ๔๓
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรยี นบา้ นสร้างกอ่ ส่วนที่ ๓ การประมาณการงบประมาณรายรับ – จา่ ย ประมาณการรายรับปีงบประมาณ 256๓ (ประมาณการรายรบั จากจานวนนักเรียนปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ขอ้ มลู ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒) รายการ จานวนเงนิ (บาท) ๑. งบนอกประมาณตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา 163,200 ต้ังแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 475,000 ๑.๑ ค่าจัดการเรยี นการสอน (รายหัว) 336,000 ๑.๑.๑ ระดบั กอ่ นประถมศึกษา 1,700 บาท/คน/ปี ๑.๑.๒ ระดับประถมศกึ ษา 1,900 บาท/คน/ปี 28,800 ๑.๑.๓ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ 3,500 บาท/คน/ปี 90,000 ๑.๒ คา่ เครื่องแบบนักเรียน 43,200 ๑.๒.๑ ระดับกอ่ นประถมศึกษา 300 บาท/คน/ปี ๑.๒.๒ ระดับประถมศกึ ษา 360 บาท/คน/ปี 19,200 ๑.๒.๓ ระดับมธั ยมศกึ ษา 450 บาท/คน/ปี 97,500 ๑.๓ ค่าอุปกรณ์การเรียน 40,320 ๑.๓.๑ ระดบั ก่อนประถมศึกษา 200 บาท/คน/ปี ๑.๓.๒ ระดับประถมศกึ ษา 390 บาท/คน/ปี 19,200 ๑.๓.๓ ระดับมธั ยมศกึ ษา420 บาท/คน/ปี 26,875 ๑.๔ คา่ หนังสอื เรยี น 30,950 ๑.๔.๑ ระดับก่อนประถมศึกษา 200 บาท/คน/ปี 27,368 ๑.๔.๒ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ 625 บาท/คน/ปี 28,266 ๑.๔.๓ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒ 619 บาท/คน/ปี 25,792 ๑.๔.๔ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓ 622 บาท/คน/ปี 31,902 ๑.๔.๕ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ 673 บาท/คน/ปี 25,212 ๑.๔.๖ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ 806 บาท/คน/ปี 28,941 ๑.๔.๗ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ 818 บาท/คน/ปี 28,470 ๑.๔.๘ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ 764บาท/คน/ปี ๑.๔.๙ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 877 บาท/คน/ปี 41,280 ๑.๔.๑๐ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ 949 บาท/คน/ปี 120,000 ๑.๕ คา่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 84,480 ๑.๕.๑ ระดับกอ่ นประถมศึกษา 430 บาท/คน/ปี ๑.๕.๒ ระดบั ประถมศึกษา 480 บาท/คน/ปี ๑.๕.๓ ระดับมธั ยมศกึ ษา 880 บาท/คน/ปี ๔๔
แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ 256๓ โรงเรียนบา้ นสรา้ งก่อ รายการ จานวนเงิน (บาท) 1,384,000 ๒. เงินนอกงบประมาณส่วนอ่ืน 57,992.46 ๒.๑ เงินสนบั สนนุ จากองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ๒.๒ เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา 3,253,948.46 ๒.๓ เงนิ บริจาค ๓. อ่ืนๆ รวม ประมาณการงบประมาณทไ่ี ด้รบั จัดสรรเพื่อใช้ในการบริหารโครงการตามแผนปฏบิ ัติการ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ที่ รายการ งบประมาณที่ได้รับจดั สรร (บาท) 1 ระดับชัน้ อนุบาล (ประมาณ) 163,200 2 ระดบั ช้นั ประถมศึกษา (ประมาณ) 475,000 ๓ ระดับชน้ั มัธยมศึกษา (ประมาณ) 336,000 ๙๗๔,๒๐0 รวม แนวทางในการใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี งบประมาณ ๒๕๖๓ ดงั นี้ ๑. งบประมาณปีงบประมาณ 256๓ จานวน ๙๗๔,๒๐0 บาท 2. งบสารอง คดิ เปน็ ร้อยละ ๑0 จานวน ๙๗,4๒0 บาท ๓. งบบรหิ ารโครงการตามแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี จานวน ๘๗๖,๗๘0 บาท ๓.1 โครงการงานบริหารวิชาการ จานวน ๕๒๖,๐๖๘ บาท ๓.2 โครงการงานบริหารทวั่ ไป งานบริหารบคุ คลและงานบรหิ ารงบประมาณ จานวน ๓๕๐,๗๑๒ บาท จานวนโครงการจาแนกตามโครงสร้างการบรหิ ารงานของโรงเรยี น ๔ ฝ่าย ท่ี ฝา่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบ จานวนโครงการ งบประมาณ 1 งานบริหารวิชาการ ๑๙ ๕๒๖,๐6๘ 2 งานบรหิ ารท่ัวไป ๙ ๒๗๕,๗๑๒ 3 งานบรหิ ารบคุ คล ๒ 7๐,๐๐๐ 4 งานบริหารงบประมาณ ๑ ๕,๐๐๐ ๘๗๖,๗๘0 รวม ๓๑ ๔๕
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152